สารบัญ
29 ความสัมพันธ์: ชวน หลีกภัยพ.ศ. 2497พรรคสามัคคีธรรมพรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)กร ทัพพะรังสีการทุจริตทางการเมืองรสนา โตสิตระกูลรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทยศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20สมศักดิ์ เทพสุทินสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข15 กันยายน
ชวน หลีกภัย
วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและชวน หลีกภัย
พ.ศ. 2497
ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและพ.ศ. 2497
พรรคสามัคคีธรรม
รรคสามัคคีธรรม (Justice Unity Party) พรรคการเมืองไทยที่ก่อตั้งขึ้นตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 เป็นลำดับที่ 30/2535 เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและพรรคสามัคคีธรรม
พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)
รรคเสรีธรรม (Liberal Integrity Party) เป็นพรรคการเมืองของประเทศไทยในอดีต จดทะเบียนเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 มีสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 113/1617 ถนนเทอดดำริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและพรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)
กร ทัพพะรังสี
นายกร ทัพพะรังสี (14 กันยายน 2488 -) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาราช อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เป็นบุตรของ นายอรุณ ทัพพะรังสี (บุตร พระยานราธรหิรัญรัฐ กับคุณหญิงหวาน) และ นางพร้อม ทัพพะรังสี (สกุลเดิม "ชุณหะวัณ" เป็นบุตรีของจอมพลผิน ชุณหะวัณ) เนื่องจากสืบเชื้อสายจากนักการเมืองซอยราชครู ทำให้ได้รับการขนานนามให้เป็น “ทายาทราชครู รุ่นที่ 3” ด้านครอบครัวสมรส กับ ระพีพรรณ ทัพพะรังสี มีบุตรชื่อ กฤตพณ ทัพพะรังสี และ กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี โดย กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี บุตรชายสมรสกับ อุษณา มหากิจศิริ บุตรสาว ประยุทธ มหากิจศิริ ในปี..
ดู รักเกียรติ สุขธนะและกร ทัพพะรังสี
การทุจริตทางการเมือง
การทุจริตทางการเมือง (political corruption, ภาษาปากในภาษาไทยเรียกทับศัพท์ว่า "คอร์รัปชัน") คือการใช้ตำแหน่งหรืออำนาจทางราชการและการเมือง หรือในองค์กรของเอกชน เพื่อให้ได้มาซึ่งรายได้ หรือการฉ้อโกงเอาเงินสาธารณะมาเป็นของตนและพรรคพวก หรือหาประโยชน์อื่นๆ ซึ่งการทุจริตนี้อาจมิใช่เป็นตัวเงิน วิธีการที่ใช้อาจจะผิดกฎหมายหรือไม่ผิดก็ได้ แต่เป็นพฤติกรรมซึ่งสาธารณชนจะไม่พอใจหรือผิดจากจารีตประเพณีนิยม เนื่องจากเป็นการกระทำที่ขัดกับความคาดหวังของสาธารณชน เรื่องมาตรฐานจริยธรรมและพฤติกรรมที่ดีของบุคคลสาธารณะ (ข้าราชการและนักการเมืองหรือองค์กรเอกชน) คำจำกัดความส่วนหลังนี้ เขียนไว้เพื่อเปิดช่องให้มีการตีความพฤติกรรมการทุจริตที่อาจจะแตกต่างกันในแต่ละสังคม หรือแม้แต่ในสังคมเดียวกัน.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและการทุจริตทางการเมือง
รสนา โตสิตระกูล
รสนา โตสิตระกูล นางสาวรสนา โตสิตระกูล (27 กันยายน พ.ศ. 2496 -) เป็นนักรณรงค์ด้านสุขภาพและสิทธิผู้บริโภค มีบทบาทสำคัญในการเปิดโปงขบวนการทุจริต กรณีการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ในกระทรวงสาธารณสุข เมื่อ พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและรสนา โตสิตระกูล
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย
รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย
รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ของไท.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย
รายนามรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไท.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย
ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
แผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในศาลฎีกา เป็นแผนกที่จัดตั้งขึ้นใหม่ในศาลฎีกา เกิดขึ้นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ส่วนที่ 3 มาตรา 272 โดยระบุให้มีแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองขึ้นในศาลฎีกา ให้องค์คณะผู้พิพากษาประกอบด้วย ผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกา จำนวน 9 คน ซึ่งได้รับเลือกโดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาโดยวิธีลงคะแนนลับ และให้เลือกเป็นรายคดี อำนาจหน้าที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง อย่างไรก็ตามในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550) ก็ยังคงแผนกนี้ไว้เช่นเดียวกัน.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 (24 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 324 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 347 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 357 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17 (22 มีนาคม พ.ศ. 2535 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 17
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 (13 กันยายน พ.ศ. 2535 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 393 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20
สมศักดิ์ เทพสุทิน
นายสมศักดิ์ เทพสุทิน แกนนำกลุ่มสามมิตร หรือ กลุ่มวังน้ำยม และ กลุ่มมัชฌิมาเดิม กลุ่มอดีต..
ดู รักเกียรติ สุขธนะและสมศักดิ์ เทพสุทิน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี
มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี มี 9 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 9 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..
ดู รักเกียรติ สุขธนะและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์
นายธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 2) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคกิจสังคม.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50
ณะรัฐมนตรี คณะที่ 50 ของไทย (23 กันยายน พ.ศ. 2535 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) ชวน หลีกภัย เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศนายมารุต บุนนาค ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 50
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51
นายบรรหาร ศิลปอาชา''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 51 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 51 ของไทย (13 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 51
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52
ลเอกชวลิต ยงใจยุทธ''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 22 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 52 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 52 ของไทย (25 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 52
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53
นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 (14 พฤศจิกายน 2540 - 9 พฤศจิกายน 2543) นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53
ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเลย พรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ พรรคพลังประชาชน.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
15 กันยายน
วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.
ดู รักเกียรติ สุขธนะและ15 กันยายน