โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

ดัชนี รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

130 ความสัมพันธ์: ช.การช่างชานชาลาด้านข้างชานชาลาต่างระดับชานชาลาเกาะกลางฟอร์จูนทาวน์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554กรกฎาคม พ.ศ. 2547กรุงเทพมหานครการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยการขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานครการขนส่งระบบรางในประเทศไทยการขนส่งในประเทศไทยการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมิวเซียมสยามระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครระบบขนส่งมวลชนเร็วรายชื่อสะพานในประเทศไทยรายชื่ออุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทยรายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยารางที่สามรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมรถไฟฟ้ากรุงเทพรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าสายสีฟ้ารถไฟฟ้าสายสีทองรถไฟฟ้าสายสีเหลืองรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรถไฟฟ้าโมโนเรล สายจุฬาฯ-สยามสแควร์รถไฟฟ้าโมโนเรล สายแกรนด์สแควร์ พระราม 9รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทยวัน แบงค็อกสวนจตุจักรสิรินธรสถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีบางแคสถานีพระราม 9สถานีพรานนกสถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีกำแพงเพชรสถานีภาษีเจริญ...สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมืองสถานีรัชดาภิเษกสถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)สถานีราชเทวี (รถไฟฟ้าบีทีเอส)สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อสถานีรถไฟกรุงเทพสถานีลาดพร้าวสถานีลุมพินีสถานีวัดมังกรสถานีศาลาแดงสถานีศิริราช (รถไฟฟ้าสายสีส้มและสายสีแดงอ่อน)สถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยสถานีสวนจตุจักรสถานีสามยอดสถานีสามย่านสถานีสุทธิสารสถานีสุขุมวิทสถานีสีลมสถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีสนามไชยสถานีหมอชิตสถานีหลักสองสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีห้วยขวางสถานีอิสรภาพสถานีอโศกสถานีท่าพระสถานีคลองเตยสถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร)สแตนดาร์ดเกจสโรชา พรอุดมศักดิ์จอดแล้วจรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถนนพรานนกถนนรัชดาภิเษกถนนลาดพร้าวถนนสุทธิสารวินิจฉัยถนนสนามไชยถนนอิสรภาพถนนจรัญสนิทวงศ์ถนนเพชรเกษมทรูมูฟ เอชดุสิต เซ็นทรัล ปาร์คตลาดบางแคตลาดนัดจตุจักรซีคอนบางแคซีเมนส์ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทรประตูกั้นชานชาลาประเทศไทยใน ค.ศ. 2017แยกบางขุนนนท์แยกบางโพแยกพาณิชยการธนบุรีแยกวิทยุแยกสามยอดแยกห้วยขวางแยกท่าพระแยกไฟฉายแยกเทียมร่วมมิตรแขวงบางอ้อโรงเรียนหอวังโรงเรียนเทพลีลาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดาโครงการรถไฟฟ้าลาวาลินโครงการโฮปเวลล์ไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร)เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์เมษายน พ.ศ. 2546เรือด่วนเจ้าพระยาเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555เทอร์มินอล 21 อโศกเขตบางซื่อเขตพระนครเขตภาษีเจริญเขตห้วยขวางเขตดินแดงเขตคลองเตย11 สิงหาคม3 กรกฎาคม ขยายดัชนี (80 มากกว่า) »

ช.การช่าง

ริษัท.การช่าง จำกัด (มหาชน) (CH. ชื่อย่อ: CK) เป็นหนึ่งในผู้รับเหมาก่อสร้างรายใหญ่ 3 รายที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่งมีลักษณะการประกอบธุรกิจที่แตกต่างจากบริษัทรับเหมาก่อสร้างแห่งอื่น โดยมีโครงสร้างทางธุรกิจหลักของบริษัท 2 ประเภทด้วยกัน คือ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง และธุรกิจการลงทุนในโครงการสาธารณูปโภค แบบรายงาน 56-1.การช่าง จำกัด (มหาชน) ประจำปี:2557 ในส่วนของธุรกิจรับเหมาก่อสร้างนั้น.การช่างสามารถดำเนินการก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ในหลายรูปแบบ อาทิ รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน, ท่าอากาศยาน, โรงไฟฟ้าพลังน้ำ, โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์, ทางด่วน, ท่าเรือน้ำลึก และในส่วนของธุรกิจการลงทุนในโครงการสาธารณูป.การช่างได้มีการเข้าไปลงทุนในธุรกิจทั้งหมด 3 ด้านคือ ธุรกิจด้านการคมนาคมขนส่ง ธุรกิจด้านระบบน้ำและธุรกิจด้านพลังงาน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและช.การช่าง · ดูเพิ่มเติม »

ชานชาลาด้านข้าง

แผนผังชานชลาด้านข้างและสะพานลอย ชานชาลาด้านข้าง เป็นรูปแบบชานชลาสถานีรถไฟซึ่งมี 2 ชานชลา ตั้งอยู่ตรงข้ามกัน โดยมีรางรถไฟเป็นตัวแบ่ง ส่วนใหญ่มักใช้แบ่งเป็นชานชลารถเที่ยวขึ้น-ล่อง การก่อสร้างชานชลาลักษณะนี้ไม่ยุ่งยาก แต่มีประสิทธิภาพน้อย เพราะไม่สะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ หรือเปลี่ยนเส้นทาง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและชานชาลาด้านข้าง · ดูเพิ่มเติม »

ชานชาลาต่างระดับ

นชาลาต่างระดับ หรือ ชานชาลาซ้อนกัน (Stack Platform) เป็นรูปแบบชานชาลาสถานีรถไฟซึ่งมี 2 ชานชาลา ตั้งอยู่คนละระดับ การก่อสร้างชานชาลาลักษณะนี้ค่อนข้างยุ่งยาก เนื่องจากต้องใช้รางรถไฟคู่ลด/เพิ่ม ระดับออกจากกัน จะใช้ก่อสร้างในกรณีที่ไม่มีพื้นที่ในการก่อสร้างเพียงพอ เนื่องจากสภาพภูมิประเทศบังคับ เช่น การสร้างสถานีใต้ดิน ที่มีข้อจำกัดจาก ท่ออุโมงค์ส่งน้ำ เสาเข็มยาวของสะพานลอย และอาคารสูง เป็นต้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและชานชาลาต่างระดับ · ดูเพิ่มเติม »

ชานชาลาเกาะกลาง

นชาลาเกาะกลางของสถานีปูฮัง ในเส้นทางรถไฟใต้ดินเปียงยาง ชานชาลาเกาะกลาง (Island platform) เป็นรูปแบบชานชลาสถานีรถไฟซึ่งมีชานชาลาเดียว ตั้งอยู่ตรงกลาง โดยมีรางรถไฟขนาบอยู่สองข้าง การก่อสร้างชานชาลาลักษณะนี้ค่อนข้างยุ่งยาก เนื่องจากต้องใช้รางรถไฟคู่เบี่ยงออกจากกัน แต่มีประสิทธิภาพสูง เพราะสะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ หรือเปลี่ยนเส้นทาง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและชานชาลาเกาะกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ฟอร์จูนทาวน์

ฟอร์จูนทาวน์ (Fortune Town) เป็นศูนย์การค้า อาคารสำนักงาน และโรงแรมขนาดใหญ่ ตั้งอยู่หัวมุมถนนรัชดาภิเษก ติดถนนอโศก-ดินแดง และตรงข้ามกับเซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 เป็นทั้งศูนย์การค้า และศูนย์ไอทีแบบครบวงจรแห่งเดียวบนถนนรัชดาภิเษก ภายใต้การบริหารงานของเครือเจริญโภคภัณฑ์ โดยมีแนวคิด "ศูนย์กลางแห่งวิวัฒนาการเทคโนโลยีชั้นสูง" แห่งเดียวในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและฟอร์จูนทาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 (Celebration on the Auspicious Occasion of His Majesty the King's 7th Cycle Birthday Anniversary, 5th December 2011) เป็นชื่องานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในโอกาสที่มีพระชนมายุครบ 7 รอบ แปดสิบสี่พรรษาใน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2547

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและกรกฎาคม พ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. (Mass Rapid Transit Authority of Thailand ย่อว่า MRTA) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภาระหน้าที่ในการจัดให้มี และให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รฟม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานคร

สถานีรถไฟกรุงเทพ การขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและการขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศไทย

รถไฟฟ้าบีทีเอส การขนส่งระบบรางในประเทศไทย คือ การขนส่งระบบรางที่มีอยู่ในประเทศไทยในปัจจุบัน ทั้งรถไฟทางไกลและรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและการขนส่งระบบรางในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งในประเทศไทย

การจราจรแออัดในชั่วโมงเร่งด่วนในกรุงเทพมหานคร รถสามล้อหรือรถตุ๊กตุ๊ก รูปแบบการขนส่งอย่างหนึ่ง การขนส่งในประเทศไทย มีความหลากหลายและยังไม่มีความเป็นระเบียบ การขนส่งแต่ละประเภทไม่มีความโดดเด่นมากนัก ได้แก่ ระบบการขนส่งทางถนน ที่เป็นหลักของการขนส่งสินค้าทั่วประเทศ การขนส่งทางรถประจำทางที่มีการขนส่งระยะไกลไปยังจังหวัดต่าง ๆ มีการใช้รถจักรยานยนต์เพื่อใช้การเดินทางระยะสั้นแทนการใช้จักรยาน การใช้รถยนต์ส่วนตัวซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมีส่วนทำให้การจราจรเกิดความแออัดทั้งในกรุงเทพมหานครและเมืองสำคัญต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังมีการขนส่งระบบรางที่เชื่อมต่อไปยังภูมิภาคต่าง ๆ แต่ยังมีความล่าช้า ถึงแม้จะมีแผนขยายการให้บริการที่มีรถไฟความเร็วสูงไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศก็ตาม การขนส่งทางอากาศภายในประเทศ ซึ่งในปัจจุบันยังมีสายการบินไม่มากนัก แต่ยังมีความโดนเด่นด้วยวิธีการขนส่งที่มีความแปลกใหม่จากสายตาของชาวต่างประเทศ เช่น รถตุ๊กตุ๊ก รถสองแถว เป็นต้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและการขนส่งในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รับสนองพระบรมราชโองการเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย ที่พรรคประชาธิปัตย์ นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในหัวข้อ การศึกษาไร้พรมแดน เพื่อพลเมืองและผู้นำโลกในอนาคต พร้อมฟังการอภิปราย และถามคำถาม ในงานนิทรรศการศึกษาต่อสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2552 ในวันพุธที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 หรือ จามจุรีเกมส์ 38 เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างเหล่านิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดขึ้น ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 15 - 24 มกราคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Srinakharinwirot University; ชื่อย่อ: มศว - SWU) ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง" ซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ · ดูเพิ่มเติม »

มิวเซียมสยาม

มิวเซียมสยาม หรือ พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ (Museum Siam, Discovery Museum) เป็นพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่บนถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2551 เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ใช้เทคนิคการเล่าเรื่องแบบโต้ตอบโดยใช้ตัวละคร 7 ตัวเป็นตัวกลาง มิวเซียมสยามดูแลโดยสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้นี้ ถือเป็นแหล่งการเรียนรู้หนึ่งที่เน้นจุดมุ่งหมายในการแสดงตัวตนของชนในชาติ ซึ่งจะทำให้ผู้เข้าชม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เข้าชมที่อยู่ในวัยเด็กและเยาวชน ได้เรียนรู้รากเหง้าของชาวไทย โดยเน้นไปที่กลุ่มชนในเขตเมืองบางกอก หรือที่เรียกในปัจจุบันว่า กรุงเทพมหานคร เป็นสำคัญ เนื่องจากตัวมิวเซียมสยามแห่งนี้ได้ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร แต่มิได้หมายความว่าถ้าเป็นคนไทยต่างจังหวัด จะไม่สามารถมาเรียนรู้จากพิพิธภัณฑ์นี้ได้ ด้วยเพราะสิ่งที่จัดแสดงในมิวเซียมสยามนี้ แสดงถึงความเป็นมาของชนชาติไทย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ผ่านการนำเสนอด้วยสื่อผสมหลายรูปแบบ ทำให้มีความน่าสนใจ และดึงดูดใจผู้เข้าชมได้เป็นอย่างยิ่ง ทั้งยังตั้งอยู่ในสถานที่สวยงาม ปัจจุบัน ได้ทำการปรับปรุงนิทรรศการชุด เรียงความปะรเทศไทย เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ต่อมาได้มีการจัดทำนิทรรศการชุดใหม่โดยมีจุดประสงค์ให้มีเนื้อหาเท่าทันสมัย และตอบโจทย์ความต้องการของผู้เข้าชม มีชื่อชุดว่า นิทรรศการ "ถอดรหัสไทย" นำเสนอภายใน 14 ห้องนิทรรศการ ที่จะพาไปเรียนรู้ทุกมุมมองความเป็นไทย และพัฒนาการความเป็นไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อาทิ เรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรมประเพณี อาหารการกิน การแต่งกาย สำหรับ นิทรรศการ "เรียงความประเทศไทย" ได้ทำการจัดแสดงกับ Muse Mobile มิวเซียมติดล้อ เป็นการจัดนิทรรศการในตู้คอนเทนเนอร์เคลื่อนที่ไปจัดแสดง ในสถานที่ต่างๆ โดยเล่าถึงประวัติศาสตร์ของประเทศและคนไทย ผ่านรูปแบบนิทรรศการที่ทันสมัยในตู้คอนเทนเนอร์ขนาดใหญ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและมิวเซียมสยาม · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (Bangkok Mass Transit, BMT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร (กทม., BMA) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด (KT) โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบรถไฟฟ้ามหานคร ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) โดยระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีรถไฟฟ้าใต้ดิน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและระบบขนส่งมวลชนเร็ว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสะพานในประเทศไทย

รายชื่อ สะพานในประเทศไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรายชื่อสะพานในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทย

อุบัติเหตุ หมายถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดหวังและไม่ตั้งใจในเวลาและสถานที่แห่งหนึ่ง เกิดขึ้นโดยไม่มีสิ่งบอกเหตุล่วงหน้าแต่มีสาเหตุและส่งผลกระทบที่สามารถชี้วัดได้ อุบัติเหตุเป็นผลเชิงลบของความเป็นไปได้อย่างหนึ่ง ซึ่งควรจะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันไว้แต่แรก โดยพิจารณาจากปัจจัยสาเหตุต่างๆ อันที่จะนำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ อุบัติเหตุทางรถไฟ หมายถึง อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบนรถไฟ สถานีรถไฟ หรือในที่ดินของการรถไฟแห่งประเทศไทย ปัจจุบันมีอุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทยมานับแล้วครั้งไม่ถ้วน ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สารบัญ: 2440 - 2500 • 2501 - 2545 • 2546 • 2547 • 2548 • 2549 • 2550 • 2551 • 2552 • 2553 • 2554 • 2555 • 2556 • อ้างอิง • แหล่งข้อมูลอื่น -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรายชื่ออุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา

รายชื่อสะพานข้ามหรืออุโมงค์ลอดแม่น้ำเจ้าพระยา เรียงลำดับจากเหนือน้ำไปท้ายน้ำ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

รางที่สาม

รางที่สามที่สถานีใกล้กรุงวอชิงตัน ดีซี มีแรงดันที่ 750V DC รางที่สามอยู่บนสุดของภาพมีกันสาดสีขาว สองรางล่างเป็นรางวิ่งทั่วไป กระแสจากรางที่สามวิ่งกลับสถานีจ่ายไฟด้วยรางวิ่งนี้ รางที่สาม เป็นรางตัวนำลักษณะกึ่งแข็งที่มีกระแสไฟฟ้าเพื่อจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับขบวนรถไฟอย่างต่อเนื่อง รางนี้จะถูกวางที่ด้านข้างหรือระหว่างรางวิ่งของรถไฟ โดยทั่วไปมันมักจะถูกใช้ในระบบขนส่งมวลชนหรือระบบรถไฟฟ้าขนส่งความเร็วสูง ส่วนใหญ่รางที่สามจะจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ระบบรถไฟฟ้ามหานครกรุงเทพ ใช้ไฟ 750 VDC ระบบรางที่สามของการจ่ายไฟฟ้าโดยทั่วไปไม่มีความเกี่ยวข้องกับระบบรางที่สามที่ใช้ในการรถไฟ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรางที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

250px รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นแผนงานโครงข่ายระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือบีอาร์ที (BRT) ที่ภาครัฐพยายามนำมาใช้เสริมโครงข่ายระบบขนส่งมวลชน เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรและพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะโดยเฉพาะระบบรถประจำทาง ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จัดทำโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กรุงเทพมหานครได้เปิดให้บริการ รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ ตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 (จากกำหนดเดิมในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) โดยโครงการสายอื่นนั้นยังอยู่ในขั้นตอนการวางแผน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน หรือ รถไฟชานเมืองสายตะวันออก-ตะวันตก เป็นโครงการรถไฟชานเมืองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศตะวันตก-ตะวันออก โดยตามแผนแม่บท พื้นที่โครงการจะมีระยะทาง 127.5 กิโลเมตรคำนวณระยะทางจาก ช่วงนครปฐม-ตลิ่งชัน 43 กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ากรุงเทพ

ริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BANGKOK METRO PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ: BMCL) บริษัก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ากรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ามหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีฟ้า

รถไฟฟ้าสายสีฟ้า (ดินแดง-สาทร) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าสายสีฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีทอง

รงการระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง สายสีทอง (สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี-สำนักงานเขตคลองสาน-ประชาธิปก) เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนรองบนพื้นที่ฝั่งธนบุรี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) มีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางบนถนนเจริญนคร และเป็นการเชื่อมต่อเข้ากับศูนย์การค้าไอคอนสยาม ดำเนินการโดย กรุงเทพมหานคร และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ดำเนินการในรูปแบบรถไฟฟ้าล้อยาง และมีแนวเส้นทางเริ่มต้นจากสถานีต้นทางของโครงการใกล้กับสถานีกรุงธนบุรี ของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม วิ่งไปตามแนวถนนเจริญนคร ผ่านศูนย์การค้าไอคอนสยาม สำนักงานเขตคลองสาน สิ้นสุดในระยะแรกที่บริเวณแยกสมเด็จเจ้าพระยา-ประชาธิปก รวมระยะทาง 5.7 กิโลเมตร คาดว่าจะมีผู้โดยสาร 50,000 เที่ยวต่อวันเมื่อเปิดทำการ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2561) โครงการอยู่ในระหว่างการก่อสร้างในเส้นทางระยะที่ 1 กรุงธนบุรี - เจริญนคร กำหนดแล้วเสร็จ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าสายสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ซึ่งกระทรวงคมนาคมโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้เร่งรัดแผนงานจากกำหนดการเดิมในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าสายสีเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 ในเส้นทาง รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท สถานีหมอชิต-สถานีอ่อนนุช และ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ-สถานีสะพานตากสิน โดยในปัจจุบันมีรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการแล้วทั้งสิ้น 5 สาย 77 สถานี ครอบคลุมระยะทางกว่า 112 กิโลเมตร*.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าโมโนเรล สายจุฬาฯ-สยามสแควร์

รงการรถไฟฟ้าโมโนเรล สายจุฬาฯ - สยามสแควร์ เป็นโครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลระยะสั้น บนถนนพญาไท ผ่ากลางจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด โดยอยู่ภายใต้โครงการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 ในการแก้ไขปัญหาจราจรด้วยระบบขนส่งมวลชน ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้โครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลสายดังกล่าว นอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลแล้วนั้น ยังมีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อระบบหลักทั้งสองเส้นที่ปลายถนนพญาไททั้งสองด้าน และแก้ไขปัญหารถติดบริเวณถนนพญาไทฝั่งแยกปทุมวัน และแยกสามย่านที่ปัจจุบันรถวิ่งได้ด้วยความเร็วเฉลี่ยเพียง 6-8 กิโลเมตร/ชั่วโมงเท่านั้น ในขณะนี้ได้พักการดำเนินโครงการไปด้วยเหตุที่ยังมีข้อขัดแย้งหลายประการจากนิสิตและบุคลากรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าโครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลนี้จะเป็นการบดบังทัศนียภาพโดยรวมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกทั้งขัดต่อมติคณะรัฐมนตรี ปี2538 ที่กำหนดให้ระบบสาธารนูปโภคขั้นพื้นฐาน ระบบขนส่งมวลชนรถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯชั้นใน ต้องมุดลงใต้ดินเนื่องจากบดบังทัศนียภาพ (กรุงเทพมหานครจะดำเนินการจัดหาแหล่งเงินทุนเอง ซึ่งขณะนี้มีสถาบันการเงิน 3 แห่ง พร้อมให้การสนับสนุน ได้แก่ ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงไทย และธนาคารกรุงศรีอยุธยา อีกทั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังได้มอบพื้นที่ส่วนหนึ่งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อทำการก่อสร้างโรงซ่อมบำรุงรถไฟฟ้า และก่อสร้างศูนย์ราชการเอนกประสงค์ ซึ่งในอนาคตก็จะมีการย้ายสำนักงานเขตปทุมวันมาอยู่ ณ อาคารหลังใหม่นี้).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าโมโนเรล สายจุฬาฯ-สยามสแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าโมโนเรล สายแกรนด์สแควร์ พระราม 9

รงการรถไฟฟ้าโมโนเรล สายแกรนด์สแควร์ พระราม 9 เป็นโครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลระยะสั้น บนถนนรัชดาภิเษกจนถึงถนนอโศก-ดินแดง ใกล้ๆ กับโครงการแกรนด์ สแควร์ @ พระราม 9 ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร ร่วมกับบริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด โดยจะเป็นส่วนหนึ่งของโครงการแกรนด์ สแควร์ @ พระราม 9 ทั้งนี้โครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลสายดังกล่าว มีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อระบบหลักทั้งสองเส้นที่สถานีปลายทาง และแก้ไขปัญหารถติดบริเวณถนนอโศก-ดินแดงบริเวณหน้าทางเข้าสถานีมักกะสันของแอร์พอร์ตเรลลิงก์ด้วย โดยโครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งที่เกิดขึ้นจาก นโยบายของกรุงเทพมหานคร ที่มีนโยบายส่งเสริมให้เอกชนให้ลงทุนในระบบสาธารณูปโภคอยู่แล้ว โดยเฉพาะด้านระบบขนส่งมวลชน อันจะส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศในภาพรวม และไม่ต้องใช้งบประมาณของทางราชการในการดำเนินโครงการสาธารณะ โดยกรุงเทพมหานครจะเป็นผู้ประสานงานกับหน่วยงานด้านราชการ การสนับสนุนระบบเชื่อมต่อการเดินทาง และการอำนวยความสะดวกอื่นๆตามอำนาจหน้าที่และกฎหมายของกรุงเทพมหานคร ซึ่งปัจจุบันได้ทำการลงนามเซ็นบันทึกความเข้าใจ (MOU) ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เหลือเพียงแต่การออกแบบ EIA แล้วนำเสนอต่อกระทรวงคมนาคมเท่านั้น โดยหลังเปิดให้บริการ บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน) ได้คาดหวังไว้ว่าจะมีจำนวนผู้โดยสาร 150,000 คนต่อเที่ยวต่อวัน หากโครงการนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ก็จะถือได้ว่าเป็นโครงการต้นแบบในการสนับสนุนเอกชนลงทุนในระบบขนส่งมวลชนสาธารณะในที่อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบขนส่งมวลชนสาธารณะของกระทรวงคมนาคม โดยไม่ต้องใช้งบประมาณทางราชการ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าโมโนเรล สายแกรนด์สแควร์ พระราม 9 · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย

รงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย (Thailand High-speed Rail Project) เป็นโครงการเมกะโปรเจกต์ของประเทศไทยในการก่อสร้างระบบรถไฟความเร็วสูง มีเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเชื่อมโยงตลาดการค้า ระหว่างกลุ่มประเทศแถบลุ่มแม่น้ำโขง เนื่องจากประเทศไทยถือเป็นศูนย์กลางของอินโดจีน มีเป้าหมายในการก่อสร้าง 4 สาย ได้แก่ สายเหนือ, สายตะวันออก, สายตะวันออกเฉียงเหนือ และสายใต้.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัน แบงค็อก

วัน แบงค็อก (One Bangkok) เป็นโครงการพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมแบบประสม บนพื้นที่ 104 ไร่ หัวมุมถนนพระรามที่ 4 และถนนวิทยุ ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งของโรงเรียนเตรียมทหาร และสวนลุมไนท์บาร์ซาร์ ซึ่งเป็นพื้นที่ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ บริหารงานโดยบริษัท เกษมทรัพย์วัฒน จำกัด ในกลุ่มทีซีซี ออกแบบแผนแม่บทโครงการโดยสคิดมอร์, โอวิงส์ แอนด์ เมอร์ริลล์ ร่วมกับ บริษัท สถาปนิก 49 จำกัด และบริษัท แปลน แอสโซซิเอทส์ จำกัด โดยใช้เงินลงทุน 120,000 ล้านบาท สูงที่สุดในวงการอสังหาริมทรัพย์ไทย กำหนดเปิดให้บริการระยะแรกภายในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและวัน แบงค็อก · ดูเพิ่มเติม »

สวนจตุจักร

วนจตุจักร เป็นสวนสาธารณะสำหรับพักผ่อนหย่อนใจทางตอนเหนือของกรุงเทพฯ ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออกจรดถนนพหลโยธิน ทิศเหนือจรดถนนวิภาวดีรังสิต ทิศตะวันตกและทิศใต้จรดถนนกำแพงเพชร 3.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสวนจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

สิรินธร

รินธร อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสิรินธร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีบางซื่อ (รหัส BAN) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล บริเวณสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางแค

นีบางแค (Bang Khae Station, รหัส BS19) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีบางแค · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพระราม 9

นีพระราม 9 (รหัส RAM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนรัชดาภิเษก-ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร บริเวณแยกพระราม 9 มีทำเลอยู่ในย่านธุรกิจ อาคารสำนักงาน ศูนย์การค้าด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และสถานบันเทิงย่านรัชดาภิเษก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีพระราม 9 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพรานนก

นีพรานนก (หรืออาจใช้ชื่อสถานีสามแยกไฟฉาย) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ส่วนต่อขยายสนามกีฬาแห่งชาติ-พรานนก ซึ่งโครงการถูกยกเลิกและเป็นสถานีของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลแทน โดยจะเป็นสถานีที่ 5 สถานีสุดท้ายของส่วนต่อขยายด้านตะวันตกของรถไฟฟ้าบีทีเอสซึ่งใช้ระบบใต้ดิน มีแนวเส้นทางผ่านใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะกรุงรัตนโกสินทร์ ในกรุงเทพมหานคร และลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยามาจนถึงฝั่งธนบุรี จนมาสิ้นสุดที่สามแยกไฟฉ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีพรานนก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีพหลโยธิน เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร บริเวณห้าแยกลาดพร้าว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีกำแพงเพชร

นีกำแพงเพชร (รหัส KAM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนกำแพงเพชร กรุงเทพมหานคร ใช้ชื่อตามถนนกำแพงเพชร ซึ่งตั้งตามพระนามของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ตั้งอยู่ใจกลางแหล่งค้าขายที่สำคัญคือตลาดนัดจตุจักร ตลาดกลางองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร และตลาดสัตว์เลี้ยง องค์การส่งเสริมกิจการโคมนมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีกำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีภาษีเจริญ

นีภาษีเจริญ (Phasi Charoen Station, รหัส BS18) ป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง

นชาลาที่ 1 ของรถไฟฟ้า City Line มุ่งหน้าสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ภายในอาคารผู้โดยสาร สถานีมักกะสัน สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง (City Air Terminal, รหัส: A6) หรือ สถานีมักกะสัน เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย Express Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link Express Line) ซึ่งจะวิ่งตรงจากมักกะสันสู่สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยไม่แวะสถานีรายทาง ระยะทาง 25.7 กิโลเมตร ใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที (ต่างจากรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ) สถานีแห่งนี้เป็นสถานีเดียวในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานฯ ที่มีจอแสดงผลข้อมูลเที่ยวบินตรงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิติดตั้งอยู่ และเป็นสถานีที่ผู้โดยสารสามารถมาเช็คอินและโหลดกระเป๋าได้.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรัชดาภิเษก

นีรัชดาภิเษก (รหัส RAT) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนรัชดาภิเษก-ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านอาคารสำนักงานและที่พักอาศัยบริเวณซอยโชคชัยร่วมมิตร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีรัชดาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)

นีราชปรารภ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางทุกสถานีจากสถานีพญาไทไปจนถึงสุวรรณภูมิ ยกระดับเหนือเส้นทางรถไฟทางไกลสายตะวันออก ที่จุดตัดถนนราชปรารภ กรุงเทพมหานคร บริเวณสามแยกนิคมมักกะสัน ในอนาคต จะสามารถเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่สถานีราชปราร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีราชเทวี (รถไฟฟ้าบีทีเอส)

นีราชเทวี สถานีราชเทวี เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพญาไท กรุงเทพมหานคร ใกล้สี่แยกราชเทวี ในอนาคตจะสามารถเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ได้ที่สถานีราชเทวี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีราชเทวี (รถไฟฟ้าบีทีเอส) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ

'''สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ''' อาคารผู้โดยสาร 2 (สายใต้-สายตะวันตก) ปัจจุบันอาคารผู้โดยสาร 2 ใช้สำหรับ'''ร'''ถไฟทางไกลสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือและสายใต้ (มองไปทางอาคารผู้โดยสาร1 ปัจจุบันได้มีการรื้อถอนแล้ว) สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ (Bang Sue Junction) เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่ที่ ถนนเทอดดำริ แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีชุมทางรถไฟหลักของประเทศไทย ซึ่งแยกทางรถไฟสายใต้ ออกจากทางรถไฟสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงยังเป็น 1 ใน 2 สถานีชุมทางรถไฟที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร คือ สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ และสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน และเป็น 1 ใน 15 สถานีชุมทางรถไฟในประเทศไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกรุงเทพ

นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2453 สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ในปัจจุบันสถานีรถไฟหัวลำโพง มีทางเชื่อมต่อที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดูกลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานครหรือรถไฟฟ้าใต้ดินบริเวณถนนพระรามที่ 4 การก่อสร้างสถานีกรุงเทพ ก่อสร้างในลักษณะโดมสไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบเรอเนสซองซ์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับสถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี การประดับหลัก ประดับด้วยหินอ่อนและเพดานมีการสลักลายนูนต่าง ๆ โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 160 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน โดยมีผู้โดยสารหลายหมื่นคน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2561) โดยเฉพาะช่วงวันสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ จะมีผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีรถไฟกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลาดพร้าว

นีลาดพร้าว เป็นสถานีรถไฟฟ้าที่ตั้งอยู่ที่บริเวณสี่แยกรัชดา-ลาดพร้าว หรือจุดตัดระหว่าง ถนนรัชดาภิเษก และ ถนนลาดพร้าว ในพื้นที่แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทาง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และ รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ทั้งสองสถานีเป็นสถานีที่อยู่ภายใต้การดูแลของ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลุมพินี

นีลุมพินี (รหัส LUM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกวิทยุ เยื้องกับสวนลุมพินี ในอนาคต จะเชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเทา และรถไฟฟ้าสายสีฟ้า ที่สถานีลุมพินี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวัดมังกร

นบริเวณทางลงสู่ตัวสถานี ที่ได้รับแรงบันดาลใจในการออกแบบจากท้องของมังกร สถานีวัดมังกร เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ใจกลางย่านธุรกิจของชาวไทยเชื่อสายจีน ในแนวถนนเจริญกรุง กรุงเทพมหานคร บริเวณย่านวัดมังกรกมลาวาส (วัดเล่งเน่ยยี่) ใกล้กับถนนเยาวราช ซึ่งถือเป็นไชน่าทาวน์ของเมืองไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีวัดมังกร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีศาลาแดง

นีศาลาแดง เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือถนนสีลม กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านธุรกิจถนนสีลม เป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีสีลม ของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ซึ่งในเวลาเร่งด่วนจะเป็นสถานีที่มีผู้โดยสารใช้งานเป็นอันดับ 2 รองจากสถานีสยามเลยทีเดียว เนื่องจากมีสำนักงานมากม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีศาลาแดง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีศิริราช (รถไฟฟ้าสายสีส้มและสายสีแดงอ่อน)

นีศิริราช (หรืออาจใช้ชื่อสถานีบางกอกน้อย) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการวางแผนและออกแบบ มีแนวเส้นทางผ่านใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะกรุงรัตนโกสินทร์ ในกรุงเทพมหานคร และลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยามาจนถึงฝั่งธนบุรี จุดที่ตั้งสถานีแห่งนี้มีความสำคัญเพราะสามารถเดินทางเชื่อมต่อไปยังโรงพยาบาลศิริราช ซึ่งเป็นโรงพยาบาลเก่าแก่ที่สุดและเป็นสถาบันทางการแพทย์ที่ใหญ่และมีชื่อเสียงมากที่สุดในประเทศไทยได้โดยตรง ขณะเดียวกันก็ยังมีความสำคัญด้านประวัติศาสตร์ เพราะเป็นพื้นที่ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับกรุงธนบุรีในอดีต และยังมีสถานีรถไฟธนบุรี ซึ่งเคยเป็นต้นทางของทางรถไฟสายใต้ และทางรถไฟสายมรณะ ไทย-พม่า ที่กองทัพญี่ปุ่นสร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีศิริราช (รถไฟฟ้าสายสีส้มและสายสีแดงอ่อน) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

นีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ (รหัส SRI) หรือสถานีศูนย์ฯ สิริกิติ์ เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนรัชดาภิเษก-พระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณด้านหน้าศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ มีทำเลอยู่ใจกลางย่านธุรกิจ ใกล้กับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สวนเบญจกิติ และตลาดคลองเต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

นีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (รหัส CUL) หรือสถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่ถนนรัชดาภิเษก-ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านธุรกิจ ศูนย์การค้า ที่พักอาศัย และอยู่ใกล้สถานที่สำคัญด้านศิลปวัฒนธรรม เช่นศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นชุมทางรถไฟฟ้าในทิศทางจากสถานีห้วยขวางขึ้นบนระดับพื้นดิน เข้าสู่ ศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟฟ้ามหานคร ห้วยขวาง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสวนจตุจักร

นีสวนจตุจักร เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับสถานีหมอชิต ซึ่งเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ได้โดยตรง และมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสวนจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสามยอด

นีสามยอด (Sam Yot Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ภายในอาณาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์รอบนอก ในแนวถนนเจริญกรุงตัดกับถนนมหาไชยที่แยกสามยอด จนถึงถนนเจริญกรุงตัดกับถนนอุณากรรณและถนนบูรพาที่แยกอุณากรรณ ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสามยอด · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสามย่าน

นีสามย่าน (รหัส SAM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกสามย่าน มีทำเลอยู่ใจกลางเมือง ใกล้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และย่านธุรกิจบริเวณสามย่าน สี่พระยา และสุรวง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสามย่าน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสุทธิสาร

นีสุทธิสาร (รหัส SUT) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านอาคารที่พักอาศัย โรงแรม สถานเริงรมย์บนถนนรัชดาภิเษก และสถานบันเทิงย่านสุทธิสาร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสุทธิสาร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสุขุมวิท

นีสุขุมวิท เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนอโศกมนตรี กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศกมนตรี เป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีอโศก ของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท นอกจากนี้ สถานีสุขุมวิท ยังเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่มีผู้โดยสารมาใช้บริการมากที่สุดของ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสีลม

นีสีลม (รหัส SIL) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกศาลาแดง มีทำเลอยู่ใจกลางเมืองในย่านธุรกิจถนนสีลม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสีลม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)

นีสนามหลวง เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการวางแผนและออกแบบ โดยจะเป็นสถานีระบบใต้ดิน มีแนวเส้นทางผ่านใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะกรุงรัตนโกสินทร์ ในกรุงเทพมหานครก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าช้างวังหน้าไปยังฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสนามไชย

นีสนามไชย เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะรัตนโกสินทร์ ในแนวถนนสนามไชย กรุงเทพมหานคร บริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นส่วนต่อขยายของเส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดินจากสถานีหัวลำโพง ผ่านพื้นที่เมืองเก่าก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณปากคลองตลาด ไปยังฝั่งธนบุรี และยกระดับขึ้นสู่สถานีท่าพระต่อไป.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสนามไชย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหมอชิต

นีหมอชิต เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าสายสุขุมวิท ซึ่งมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร และยังสามารถเปลี่ยนเส้นทางไปยังสถานีสวนจตุจักร ของรถไฟฟ้ามหานครได้ นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี่ โดยจะเป็นสถานีสุดท้ายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ก่อนจะเข้าสู่ย่านลาดพร้าวซึ่งเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ที่จะดำเนินการก่อสร้างส่วนต่อขยายต่อไปจนถึงย่านลำลูกกาในอนาคต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหมอชิต · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหลักสอง

นีหลักสอง (Lak Song Station, รหัส BS20) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหลักสอง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ซึ่งเป็นสถานีรถไฟที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางและเพื่อรำลึกถึงกิจการรถไฟในประเทศไทย จึงใช้สถานีหัวลำโพงเป็นสถานที่ทำพิธีวางศิลาฤกษ์โครงการ และทำพิธีเปิดการเดินรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล นอกจากนี้ยังมีส่วนจัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับความเป็นมาของโครงการรถไฟฟ้ามหานครอยู่ภายในสถานี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีห้วยขวาง

นีห้วยขวาง (รหัส HUI) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านอาคารที่พักอาศัย โรงแรม และสถานเริงรมย์บนถนนรัชดาภิเษก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอิสรภาพ

นีอิสรภาพ (Itsaraphap Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสถานีแรกและสถานีเดียวของสายเฉลิมรัชมงคลที่มีเขตที่ตั้งอยู่ที่ฝั่งธนบุรี ในแนวตัดขวางกับถนนอิสรภาพ บริเวณซอยอิสรภาพ 36 สถานีนี้เป็นสถานีสุดท้ายของส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ที่เป็นสถานีใต้ดิน ก่อนยกระดับเข้าสู่สถานีท่าพระต่อไป อีกทั้งยังเป็นสถานีที่เชื่อมต่อไปยังอุโมงค์ลอดใต้เแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อข้ามไปฝั่งพระนคร คือ สถานีสนามไชย อีกด้ว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอโศก

นีอโศก เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศกมนตรี เป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีสุขุมวิท ของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีอโศก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีท่าพระ

นีท่าพระ เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีที่เชื่อมต่อทั้งสองส่วนของสายเฉลิมรัชมงคลเข้าไว้ดัวยกัน ก่อให้เกิดเป็นเส้นทางรถไฟฟ้าวงแหวนภายในเขตกรุงเทพมหานครชั้นกลางและชั้นใน ยกระดับเหนือแยกท่าพระ บริเวณจุดตัดระหว่าง ถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเพชรเกษม และถนนรัชดาภิเษกฝั่งใต้ ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีท่าพระ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีคลองเตย

นีคลองเตย (รหัส KHO) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณทางขึ้น-ลงทางพิเศษเฉลิมมหานคร ใกล้ซอยโรงงานยาสู.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีคลองเตย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีเพชรบุรี (รหัส PET) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนอโศก-ดินแดง กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศก-เพชรบุรี เป็นสถานีเชื่อมต่อรถไฟฟ้าเชื่อมต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง หรือสถานีมักกะสัน (อโศก).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สแตนดาร์ดเกจ

แตนดาร์ดเกจ หรือ รางขนาดมาตรฐานยุโรป (European standard gauge)เป็นขนาดความกว้างรางรถไฟที่มีการใช้กันมากที่สุด โดยคิดเป็นประมาณ 60% ของรางรถไฟทั่วโลก ระยะห่างภายในของรางรถไฟมีขนาด 1.435 เมตร (4 ฟุต 8 1/2 นิ้ว) สแตนดาร์ดเกจยังมีชื่อเรียกว่า สตีเฟนซันเกจ ตั้งชื่อตาม จอร์จ สตีเฟนซัน ความกว้าง 1.435 นี้เป็นระยะห่างของล้อรถม้าและเกวียนในสมัยโรมันโบราณ ซึ่งเป็นระยะที่กว้างพอที่จะทำให้ม้า 2 ตัวแบบเรียงหน้ากระดาน สามารถลากจูงรถได้โดยที่ลำตัวไม่เบียดกันเวลาม้าวิ่ง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสแตนดาร์ดเกจ · ดูเพิ่มเติม »

สโรชา พรอุดมศักดิ์

ณะจัดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่สวนลุมพินี สโรชา พรอุดมศักดิ์ มีชื่อเล่นว่า "แอ้ม" ผู้ประกาศข่าว และ พิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสโรชา พรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จอดแล้วจร

จอดแล้วจร เป็นชื่ออาคาร ตั้งอยู่บนถนนรัชดาภิเษก ตัดกับถนนลาดพร้าว เป็นอาคารจอดรถเพื่อให้ประชาชนใช้รถไฟฟ้าใต้ดิน โดยคิดค่าจอดรถเป็นชั่วโมง เหมาะแก่ผู้เดินทางโดยรถไฟฟ้าใต้ดิน หมวดหมู่:อาคาร หมวดหมู่:รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและจอดแล้วจร · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพรานนก

นนพรานนก (Thanon Phran Nok) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนจรัญสนิทวงศ์ที่ทางแยกไฟฉาย ตรงไปทางทิศตะวันออก ไปสิ้นสุดที่ทางแยกพรานนกซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนอิสรภาพ เดิมถนนเส้นนี้เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3188 ในความดูแลของกรมทางหลวง ต่อมาโอนให้กรุงเทพมหานครเป็นผู้ดูแล ปัจจุบันถนนพรานนกเป็นถนนสายสำคัญที่เชื่อมต่อระหว่างถนนจรัญสนิทวงศ์กับถนนอิสรภาพ เป็นทางเชื่อมต่อระหว่างย่านที่พักอาศัยบริเวณถนนจรัญสนิทวงศ์ ทั้งยังเป็นถนนที่มีการจราจรคับคั่งตลอดทั้งวัน โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนทั้งเช้าและเย็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนพรานนก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนรัชดาภิเษก

นนรัชดาภิเษก (Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนรัชดาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนลาดพร้าว

นนลาดพร้าว (Thanon Lat Phrao) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่ห้าแยกลาดพร้าว (หรือที่นิยมเรียกว่า "ปากทางลาดพร้าว") ในพื้นที่เขตจตุจักร ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนพหลโยธินและถนนวิภาวดีรังสิต มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านจุดตัดกับถนนรัชดาภิเษก ผ่านพื้นที่เขตห้วยขวางในระยะสั้น ๆ เข้าพื้นที่เขตวังทองหลาง ผ่านแยกถนนโชคชัย 4 (ลาดพร้าว 53) ซอยลาดพร้าว 71 และถนนประดิษฐ์มนูธรรม เข้าพื้นที่ระหว่างเขตวังทองหลางกับเขตบางกะปิ ผ่านแยกถนนลาดพร้าว 101 (วัดบึงทองหลาง) เข้าพื้นที่เขตบางกะปิ ผ่านสามแยกบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ ไปสิ้นสุดที่สี่แยกบางกะปิตัดกับถนนนวมินทร์และถนนพ่วงศิริ โดยจากแยกนี้ไปจะเป็นถนนเสรีไทย ในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุทธิสารวินิจฉัย

นนสุทธิสารวินิจฉัย ช่วงสี่แยกรัชดา-สุทธิสาร ถึงซอยเกตุนุติ ถนนสุทธิสารวินิจฉัย หรือนิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า ถนนสุทธิสาร เป็นถนนที่ตั้งชื่อตามราชทินนามของเจ้าของที่ดินช่วงต้นถนน คือ พระสุทธิสารวินิจฉัย (มะลิ บุนนาค) ซึ่งทายาทและผู้อนุบาลของพระสุทธิสารวินิจฉัยได้ยกที่ดินให้ราชการตัดถนน เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่พระสุทธิสารวินิจฉัย ถนนสายนี้มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ถนนพหลโยธินช่วงใกล้สี่แยกสะพานควายฟากทิศตะวันออก ตัดผ่านถนนวิภาวดีรังสิตที่แยกสุทธิสาร บริเวณหน้าสถานีดับเพลิงและกู้ภัยสุทธิสาร ตัดผ่านถนนรัชดาภิเษกที่แยกรัชดา-สุทธิสาร และสิ้นสุดที่สะพานข้ามคลองลาดพร้าว โดยบรรจบกับซอยลาดพร้าว 64 แยก 4 (ซอยเกตุนุติ) รวมระยะทางทั้งสิ้น 4.5 กิโลเมตร ส่วนซอยต่างๆ ที่แยกจากถนนสุทธิสารวินิจฉัย ในระยะ 500 เมตรแรกจากถนนพหลโยธิน ใช้ชื่อซอยว่า "ซอยสุทธิสารวินิจฉัย" จำนวน 3 ซอย ส่วนซอยในถนนช่วงพ้นระยะ 500 เมตรแรกจากถนนพหลโยธินเป็นต้นไป ใช้ชื่อซอยว่า "ซอยอินทามระ" มีจำนวน 59 ซอย โดยตั้งชื่อตามนามสกุลของพลตำรวจโทโต๊ะ อินทามระ หัวหน้ากองคลังของกรมตำรวจ ผู้ตัดถนนต่อจากถนนสุทธิสารวินิจฉัยเดิมเข้าสู่ที่ดินของกรมตำรวจ เพื่อพัฒนาที่ดินให้เป็นที่อยู่อาศัยของข้าราชการตำรวจในเวลานั้น ปัจจุบัน ชื่อ "สุทธิสาร" และ "สุทธิสารวินิจฉัย" ได้ถูกนำไปใช้ในสถานที่ต่างๆ ที่ถนนตัดผ่าน ทั้งของทางราชการและเอกชน เช่น สถานีสุทธิสาร ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล, สถานีตำรวจนครบาลสุทธิสาร เป็นต้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนสุทธิสารวินิจฉัย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสนามไชย

นนสนามไชย ถนนสนามไชย (Thanon Sanam Chai) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่ตั้งของสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น กระทรวงกลาโหม, กรมอัยการสูงสุด, พระบรมมหาราชวัง, พระราชวังสราญรมย์, หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ถนนสนามไชย มีจุดเริ่มต้นที่ถนนหน้าพระลานตัดกับถนนราชดำเนินใน ที่บริเวณแยกป้อมเผด็จ สิ้นสุดลงที่ถนนราชินี บริเวณปากคลองตลาด มีความยาวประมาณ 1.1 กิโลเมตร เดิมเป็นถนนที่มีชื่อเรียกว่า "ถนนหน้าจักรวรรดิวังหลวง" เป็นลักษณะเป็นลานกว้าง ๆ มีความสำคัญตั้งแต่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์เนื่องด้วยเป็นเส้นทางที่ใช้สำหรับพระราชพิธีหรือกระบวนแห่ต่าง ๆ โดยชื่อ "สนามไชย" มาจากท้องสนามไชย ซึ่งเป็นลานอยู่ข้างท้องสนามหลวง เป็นสถานที่ ๆ ให้ข้าราชบริพารตลอดจนประชาชนใช้สำหรับเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในแต่ละรัชกาล ครั้นทรงเสด็จออก ณ พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท เนื่องในวโรกาสสำคัญต่าง ๆ โดยชื่อถนนสนามไชย เป็นชื่อพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนสนามไชย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอิสรภาพ

นนอิสรภาพ (Thanon Itsaraphap) เป็นถนนสำคัญสายหนึ่งทางฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนจรัญสนิทวงศ์

นนจรัญสนิทวงศ์ (Thanon Charan Sanit Wong) เป็นถนนในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนเพชรเกษม ที่สี่แยกท่าพระ ในแขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพาณิชยการธนบุรี (จรัญสนิทวงศ์ 13) ที่สามแยกพาณิชยการธนบุรี จากนั้นข้ามคลองมอญ เข้าสู่พื้นที่แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน้อย ตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนพรานนกที่สามแยกไฟฉาย จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับทางรถไฟสายใต้ (จากสถานีรถไฟธนบุรี) เข้าแขวงบางขุนนนท์ ตัดกับถนนบางขุนนนท์ที่สามแยกบางขุนนนท์ จากนั้นข้ามคลองบางกอกน้อยเข้าสู่แขวงอรุณอมรินทร์ ตัดกับถนนบรมราชชนนีที่สี่แยกบรมราชชนนีเข้าสู่พื้นที่เขตบางพลัด โดยเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางบำหรุกับแขวงบางยี่ขันไปจนตัดกับถนนสิรินธรและถนนราชวิถีที่สี่แยกบางพลัด จากนั้นจึงเข้าสู่แขวงบางพลัด มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางพลัดเข้าสู่พื้นที่แขวงบางอ้อ และไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานพระราม 7 ในพื้นที่ตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่หลวงจรัญสนิทวงศ์ (ม.ล.จรัญ สนิทวงศ์) อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เดิมกรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อถนนว่า "ถนนจรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์" ตามนามของหลวงจรัญสนิทวงศ์ ปัจจุบันถนนสายนี้เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันถนนจรัญสนิทวงศ์ตลอดทั้งสายกำลังมีการก่อสร้างรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายสัญญาที่ 3 ช่วงสถานีเตาปูนถึงสี่แยกท่าพระ เป็นลักษณะรถไฟฟ้าแบบลอยฟ้าเช่นเดียวกับรถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (เชื่อมต่อกับสายฉลองรัชธรรมที่สถานีเตาปูน) เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนจรัญสนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเพชรเกษม

นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและถนนเพชรเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ทรูมูฟ เอช

ทรูมูฟ เอช (TrueMove H) หรือ บริษัท เรียลมูฟ จำกัด (Real Move Co., Ltd) และ บริษัท ทรูมูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (TrueMove H Universal Communication Co., Ltd) เป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ที่ทำธุรกิจให้บริการโทรศัพท์มือถือรายหนึ่งในประเทศไทย โดยเป็นตัวแทนขายส่งต่อบริการของ กสท. โทรคมนาคม เดิมคือเครือข่ายฮัทซ์ ของบริษัท ฮัทจิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด ที่ถูกกลุ่มทรู คอร์ปอเรชั่น เข้าซื้อกิจการโดยผ่านความเห็นชอบจากกสท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและทรูมูฟ เอช · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิต เซ็นทรัล ปาร์ค

ต เซ็นทรัล ปาร์ค เป็นโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์แบบประสมขนาดใหญ่ บนที่ดินขนาด 23 ไร่ 2 งาน 2.72 ตารางวา บริเวณหัวมุม ถนนพระราม 4 ตัดถนนสีลม ตรงข้ามกับสวนลุมพินี ในพื้นที่แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นพื้นที่เดิมของ โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ และ บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) สำนักงานสีลม บริหารงานโดย บริษัท วิมานสุริยา จำกัด ภายใต้การร่วมทุนของ บริษัท ดุสิตธานี จำกัด (มหาชน) และ กลุ่มเซ็นทรัล โดย บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) ตั้งเป้าขึ้นเป็นแลนด์มาร์คหนึ่งของเส้นขอบฟ้ากรุงเทพมหานคร ด้วยความสูงสุดของอาคารที่ 78 ชั้น ภายใต้สถาปัตยกรรมแบบไทยโบราณร่วมกับสถาปัตยกรรมแบบไทยร่วมสมัย รองรับกลุ่มลูกค้าทั้งชาวไทยและชาวต่างชาต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและดุสิต เซ็นทรัล ปาร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดบางแค

ตลาดบางแค หรือ ตลาดสดบางแค เป็นตลาดสดขนาดใหญ่ เก่าแก่และยาวนานแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานครและฝั่งธนบุรี จุดเริ่มต้นตั้งอยู่ที่ ซอยเพชรเกษม 39/1 (ชุมชนแสงหิรัญ) ในแขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ข้ามคลองราชมนตรีเข้าสู่พื้นที่แขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพมหานคร และ พื้นที่บริเวณตลาดสดบางแคนี้ไปสิ้นสุดตรงทางแยกบางแค (ถนนบางแค) ในแขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพมหานคร ตลาดบางแค มีจุดกำเนิดจากการที่พื้นที่ตรงนี้เป็นชุมชนมาแต่ดั้งเดิม และเป็นเส้นทางสัญจรไปมาของผู้คนโดยเรือผ่านทางคลองภาษีเจริญ และคลองบางแค จึงมีการค้าขายกันเป็นวิถีชีวิต ต่อมาในยุคก่อนพุทธศักราช 2500 รัฐบาลโดย จอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีมีนโยบายต้องการให้กรุงเทพมหานครมีความสวยสะอาด มีระเบียบวินัย หลวงพรหมโยธี นายกเทศมนตรีพระนคร ได้กวดขันให้แม่ค้าหาบเร่ตามสถานที่ต่าง ๆ ในกรุงเทพฯ เช่น ท้องสนามหลวง, ลานพระบรมรูปทรงม้า ย้ายมาขาย ณ ที่แห่งใหม่ เช่น สะพานเทเวศน์, ท่าเตียน, ถนนวรจักร, หน้าโรงไฟฟ้าสามเสน รวมถึง ณ ที่แห่งนี้ด้วย ซึ่งตลาดสดบางแคมีของขายมากมายอาทิ เช่น ผัก, ผลไม้, ขนมหวาน, ข้าวแกงต่าง ๆ ฯลฯ ในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและตลาดบางแค · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดนัดจตุจักร

รรยากาศตลาดนัดจตุจักร บริเวณถนนหน้าโครงการ 11 - 13 คนหนาแน่นในช่วงเย็น บริเวณโครงการ 1 และ โครงการ 26 ตลาดนัดจตุจักร เป็นตลาดนัดในกรุงเทพมหานคร มีจำนวนแผงค้าทั้งหมดมากกว่า 8,000 แผงค้า แบ่งเป็น 27 โครงการ มีสินค้า 8 ประเภท ได้แก่ ผักและผลไม้ เสื้อผ้า สัตว์เลี้ยง ต้นไม้ อาหารปรุง อาหารสำเร็จรูป อาหารสด และเบ็ดเตล็.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและตลาดนัดจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

ซีคอนบางแค

ซีคอนบางแค (Seacon Bangkae) (เดิมคือ ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์คบางแค) เป็น ศูนย์การค้า ที่บริหารงานโดย บริษัท ซีคอนบางแค จำกัด ตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า 40 ไร่ บน ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ และภายในปี พ.ศ. 2562 จะสามารถเดินทางมายังซีคอนบางแคได้ด้วย รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน สถานีภาษีเจริญ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและซีคอนบางแค · ดูเพิ่มเติม »

ซีเมนส์

ำหรับยี่ห้อระบบรถไฟฟ้า ดูที่ ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร ซีเมนส์ (Siemens AG) เป็นกลุ่มบริษัทวิศวกรรมขนาดใหญ่ที่สุดของยุโรป สำนักงานใหญ่นานาชาติของซีเมนส์ตั้งอยู่ที่เบอร์ลินและมิวนิก ประเทศเยอรมนี ซีเมนส์เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจหลายประเภทรวมกัน (conglomerate) โดยมีแผนกธุรกิจหลัก 6 ส่วน ได้แก่ ระบบอัตโนมัติและระบบควบคุม, พลังงานไฟฟ้า, ระบบขนส่ง, การแพทย์, สารสนเทศและการสื่อสาร, และระบบส่องสว่าง เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซีเมนส์ได้ปรับธุรกิจใหม่เป็นสามส่วนคือ อุตสาหกรรม, พลังงาน, และสุขภาพ โดยมีแผนกรวมทั้งหมด 15 แผนก ซีเมนส์และบริษัทในเครือจ้างงานทั่วโลกประมาณ 400,000 ตำแหน่ง, www.siemens.com, January 2008 ในเกือบ 190 ประเทศ และแจ้งรายได้ทั่วโลก 72,448 ล้านยูโร ในปีงบประมาณ 2550 บริษัทซีเมนส์อยู่ในตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิร์ต และอยู่ในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์กตั้งแต่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2544 ซีเมนส์ก่อตั้งโดย แวร์เนอร์ ฟอน ซีเมนส์ เมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2390 (ค.ศ. 1847) โดยเริ่มจากการคิดค้นระบบโทรเลขที่ให้ผลลัพธ์เป็นตัวอักษรแทนที่จะเป็นรหัสมอร์ส เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2560 ซีเมนส์ประกาศควบรวมกิจการเฉพาะหน่วยธุรกิจระบบรางและระบบอาณัติสัญญาณ (ซีเมนส์ โมบิลิที) เข้ากับ อัลสตอม (Alstom) ของประเทศฝรั่งเศส เพื่อร่วมกันสร้างบริษัทระบบรางที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่มีสำนักงานย่อย โรงงาน คู่ค้าและพันธมิตรกว่า 60 ประเทศ รวมประเทศไทย โดยบริษัทใหม่จะใช้ชื่อว่า ซีเมนส์ อัลสตอม (Siemens Alstom) มีกำหนดควบรวมกิจการเสร็จภายในสิ้นปีการเงิน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและซีเมนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร

รถไฟฟ้าเมืองเนือร์นแบร์ก ประเทศเยอรมนี ภายในรถไฟฟ้าเมืองเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร (Siemens Modular Metro) เป็นตระกูลรถรางไฟฟ้าเพื่อระบบขนส่งด่วนพิเศษ ซึ่งผลิตโดย ซีเมนส์ทรานสพอร์เทชันซิสเทมส์ และผู้ประกอบการรถไฟใช้ทั่วโลก แนวคิดของยานพาหนะดังกล่าวเปิดตัวในกรุงเวียนนา เมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร · ดูเพิ่มเติม »

ประตูกั้นชานชาลา

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินสิงคโปร์ ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าปารีส สาย 14 ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินบาร์เซโลนา ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินไทเป ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานโตรอนโต ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินควังจู ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล กรุงเทพมหานคร ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินลอนดอน ประตูกั้นชานชาลา (Platform screen doors, PSDs) เป็นประตูที่กั้นระหว่างชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าและขบวนรถไฟฟ้า ส่วนใหญ่มักจะติดตั้งพร้อมกับวันเปิดเดินรถ หรือภายหลังจากนั้น ประตูกั้นชานชาลาแห่งแรกของโลก อยู่ที่สถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ซึ่งเปิดในปี ค.ศ. 1961.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและประตูกั้นชานชาลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน ค.ศ. 2017

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560) ในประเทศไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและประเทศไทยใน ค.ศ. 2017 · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางขุนนนท์

แยกบางขุนนนท์ (Bang Khun Non Junction) เป็นทางแยกบริเวณจุดบรรจบระหว่างถนนจรัญสนิทวงศ์กับถนนบางขุนนนท์ ในพื้นที่แขวงบางขุนนนท์ และแขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ใกล้กับเชิงสะพานข้ามคลองบางกอกน้อยและจุดตัดทางรถไฟบริเวณป้ายหยุดรถไฟจรัญสนิทวงศ์ ซึ่งเป็นจุดบรรจบระหว่างถนนสุทธาวาสกับถนนเลียบทางรถไฟสายใต้ (ตลิ่งชัน).

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกบางขุนนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกบางโพ

แยกบางโพ (Bang Pho Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนประชาราษฎร์ สาย 1 กับถนนประชาราษฎร์ สาย 2 ในแขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกบางโพ · ดูเพิ่มเติม »

แยกพาณิชยการธนบุรี

แยกพาณิชยการธนบุรี (Phanitchayakan Thon Buri Junction) หรือที่นิยมเรียกว่า แยกพาณิชย์ธนฯ และ แยกจรัญสนิทวงศ์ 13 เป็นสามแยกปากทางถนนพาณิชยการธนบุรี (ซอยจรัญสนิทวงศ์ 13 เดิม) บรรจบถนนจรัญสนิทวงศ์ ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเส้นทางเข้าสู่วิทยาลัยอาชีวศึกษาธนบุรีและวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ทั้งยังสามารถใช้เป็นเส้นทางลัดจากถนนจรัญสนิทวงศ์เชื่อมต่อไปยังถนนบางแวก ออกสู่ถนนราชพฤกษ์ในพื้นที่เขตภาษีเจริญและถนนกาญจนาภิเษกในพื้นที่เขตบางแคได้ โดยมีรถสองแถวให้บริการจากปากทาง นอกจากนี้บริเวณแยกยังเป็นจุดเริ่มต้นของรถโดยสารสี่ล้อเล็กและรถสามล้อสองแถวที่ให้บริการในเส้นทางจรัญฯ 13-แยกไฟฉาย-พรานนก-ท่าน้ำศิริร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกพาณิชยการธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

แยกวิทยุ

แยกวิทยุ (Witthayu Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนพระรามที่ 4 ถนนวิทยุ ถนนสาทรใต้ และถนนสาทรเหนือ ในเขตปทุมวันและเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร บริเวณแยกวิทยุมีสะพานข้ามทางแยกระหว่างถนนพระรามที่ 4 คือ สะพานไทย-เบลเยี่ยม เป็นสะพานเหล็กที่มีจุดเด่นคือ สามารถรื้อถอนได้ทุกเมื่อ มีความยาว 290 เมตร เป็นสะพานที่สร้างขึ้นและเปิดใช้เมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกวิทยุ · ดูเพิ่มเติม »

แยกสามยอด

แยกสามยอด เป็นทางแยกแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร เป็นทางตัดระหว่างถนนเจริญกรุงและถนนมหาไชย โดยชื่อ "สามยอด" นั้นมาจาก "ประตูสามยอด" อันเป็นส่วนหนึ่งของประตูพระบรมมหาราชวังรอบนอก สร้างขึ้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อครั้งสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เดิมเป็นประตูไม้ ต่อมาในรัชสมัยรัชกาลที่ 3 ได้มีการสร้างเพิ่มเติมเป็นก่ออิฐถือปูนบานไม้ ด้านบนเป็นหอรบ ในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 มีการตัดถนนเจริญกรุงขึ้น และวางแนวถนนผ่านประตูนี้เข้าในเขตกำแพงเมือง จนรัชสมัยรัชกาลที่ 5 การจราจรที่ผ่านประตูมีความคับคั่ง เกิดอุบัติเหตุรถม้าชนกันเป็นประจำทุกวัน จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างประตูเป็นสามช่อง ช่องซ้ายสำหรับรถรางผ่าน อีกสองช่องสำหรับรถม้า, รถลาก และผู้คนสัญจรไปมา แต่ละช่องจะมียอดแหลมขึ้นไปจึงเรียกกันว่า "ประตูสามยอด" จึงทำให้ย่านนั้นถูกเรียกว่า "สามยอด" ไปด้วย โดยเป็นย่านที่มีความคึกคักมากเนื่องจากใกล้กับแหล่งการค้า เช่น สำเพ็ง, เยาวราช, สะพานหัน และยังเป็นที่ตั้งของโรงหวย ก ข รวมถึงมีสถานที่สำคัญ คือ วังบูรพาภิรมย์ และทำให้มีฐานะเป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพระนคร จนกระทั่งมาถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 7 จึงลดฐานะลงเป็นเพียงตำบล และกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของแขวงวังบูรพาภิรมย์ในปัจจุบัน ประตูสามยอด ถูกรื้อถอนออกในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกสามยอด · ดูเพิ่มเติม »

แยกห้วยขวาง

แยกห้วยขวาง (Huai Khwang Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนประชาราษฎร์บำเพ็ญกับถนนรัชดาภิเษก ในท้องที่เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

แยกท่าพระ

แยกท่าพระ (Tha Phra Intersection) เป็นสี่แยกบริเวณจุดตัดระหว่างถนนเพชรเกษม, ถนนรัชดาภิเษกและถนนจรัญสนิทวงศ์ ในพื้นที่แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร นับเป็นสี่แยกที่มีความสำคัญต่อการจราจรในพื้นที่ฝั่งธนบุรี ถือเป็นจุดเริ่มต้นของถนนจรัญสนิทวงศ์ และถนนรัชดาภิเษก ช่วงรัชดา-ท่าพระ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพฯ อีกทั้งยังเป็นทางแยกแรกของถนนเพชรเกษมจากจุดเริ่มต้นบริเวณสะพานเนาวจำเนียรซึ่งทอดยาวลงสู่ภาคใต้ของไทย นับเป็นบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่นมากอีกแห่งหนึ่งในพื้นที่ฝั่งธนบุรีรองจากวงเวียนใหญ่ แม้ในปัจจุบันจะมีการตัดถนนในพื้นที่ข้างเคียงอีกหลายสาย เช่นถนนราชพฤกษ์ ซึ่งสามารถแบ่งเบาปริมาณการจราจรจากย่านวงเวียนใหญ่เข้าสู่แยกท่าพระได้ในระดับหนึ่ง โดยชื่อ "ท่าพระ" อันทั้งชื่อของแยกและแขวงในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ด้วย นั้นมาจากชื่อของวัดท่าพระ ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงด้านถนนจรัญสนิทวงศ์ เดิมมีชื่อว่า "วัดเกาะ" ต่อมาได้มีการพบหลวงพ่อเกษร อันเป็นประธานในวัดลอยมาติดที่ท่าน้ำ จึงเปลี่ยนชื่อเป็นวัดท่าพระดังเช่นในปัจจุบัน แยกท่าพระเดิมมีสภาพเป็นเพียงสามแยก ต่อมาทางด้านทิศใต้ได้มีการตัดถนนรัชดาภิเษกช่วงรัชดา-ท่าพระ จึงเปลี่ยนมาเป็นสี่แยก กระทั่งปี พ.ศ. 2534 มีการเปิดใช้สะพานลอยข้ามแยกตามแนวถนนเพชรเกษม ทำพิธีเปิดโดย พล.ต.จำลอง ศรีเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในขณะนั้น และในปี พ.ศ. 2544 มีการเปิดใช้อุโมงค์ลอดทางแยกตามแนวถนนจรัญสนิทวงศ์และถนนรัชดาภิเษก นับเป็นอุโมงค์ลอดทางแยกแห่งแรก ๆ ของกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการปิดซ่อมสะพานข้ามแยกระหว่างวันที่ 23 เมษายน ถึงวันที่ 7 กันยายน ซึ่งจากเดิมเปิดวันที่ 21 กรกฎาคม เนื่องจากสะพานตรงกลางแอ่นตัวในฝั่งขาออกและมาเปิดวันที่ 12 สิงหาคม แต่ไม่เสร็จและมาเปิดวันที่ 23 สิงหาคม และไม่เสร็จอีกจึงมาเปิดวันที่ 7 กันยายน นับเป็นสะพานข้ามแยกที่ 9 ที่ทางกรุงเทพมหานครปิดซ่อมและเปิดใช้.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกท่าพระ · ดูเพิ่มเติม »

แยกไฟฉาย

แยกไฟฉาย เป็นสี่แยกถนนพรานนกบรรจบถนนจรัญสนิทวงศ์ ใจกลางพื้นที่เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เป็นจุดเริ่มต้นของถนนพรานนก ซึ่งเชื่อมต่อกับถนนอิสรภาพและถนนอรุณอมรินทร์ ไปยังตลาดสดพรานนก และพื้นที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาของฝั่งธนบุรีชั้นใน ได้แก่ท่าน้ำวังหลัง โรงพยาบาลศิริราช ในเขตบางกอกน้อย และวัดอรุณฯ พระราชวังเดิม ในเขตบางกอกใหญ่ แยกไฟฉายเดิมมีสภาพเป็นสามแยกจนกระทั่งโครงการถนนพรานนกตัดใหม่แล้วเสร็จ จึงเกิดสภาพเป็นสี่แยก โดยเชื่อมถนนจรัญสนิทวงศ์และถนนพรานนกเข้ากับถนนกาญจนาภิเษก ซึ่งจะทำให้การสัญจรระหว่างพื้นที่บางกอกน้อยและพื้นที่รอบนอก เช่น ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา สะดวกสบายมากขึ้น ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกไฟฉาย · ดูเพิ่มเติม »

แยกเทียมร่วมมิตร

แยกเทียมร่วมมิตร (Thiam Ruam Mit Intersection) หรือ แยกโรบินสันรัชดา, แยกศูนย์วัฒนธรรมฯ เป็นสามแยกจุดบรรจบของถนนเทียมร่วมมิตรกับถนนรัชดาภิเษก ในพื้นที่เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร สถานที่สำคัญใกล้เคียงในบริเวณนี้ เช่น ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย, รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย), อาคารไซเบอร์เวิลด์ทาวเวอร์, บิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า รัชดาภิเษก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแยกเทียมร่วมมิตร · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางอ้อ

แขวงบางอ้อ เป็นเขตการปกครองระดับแขวง 1 ใน 4 แห่งของเขตบางพลัด ซึ่งได้แก่ แขวงบางพลัด แขวงบางอ้อ แขวงบางบำหรุ แขวงบางยี่ขัน กรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมเป็นพื้นที่รอบนอกซึ่งเป็นพื้นที่สวนป่ามาก่อน แต่ในปัจจุบันมีความเจริญอย่างรวดเร็วและเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากขึ้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและแขวงบางอ้อ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนหอวัง

รงเรียนหอวัง ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2509 เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา (ม.1-ม.6) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีประวัติการก่อกำเนิดโรงเรียนเกี่ยวเนื่องกับ "โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย".

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและโรงเรียนหอวัง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพลีลา

รงเรียนเทพลีลา (อักษรย่อ: ท.ล, T.L.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤษภาคม 2505 โดยดำริของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 281 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและโรงเรียนเทพลีลา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 (กรุงเทพมหานคร) ตั้งอยู่ที่เลขที่ 170 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ถึง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แบบสหศึกษา เป็นหนึ่งใน 282 โรงเรียนมัธยมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดให้เป็นโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง และเป็นหนึ่งใน 41 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา · ดูเพิ่มเติม »

โครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน

รงการรถไฟฟ้าลาวาลิน (Lavalin Skytrain) เป็นโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ายกระดับในกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการศึกษามาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำเนินการโดยบริษัท ลาวาลิน (SNC-Lavalin) จากประเทศแคนาดา ซึ่งชนะการประมูลเหนือคู่แข่ง คือ บริษัทร่วมค้า เอเชีย-ยูโร คอนซอร์เตียม (AEC) เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและโครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน · ดูเพิ่มเติม »

โครงการโฮปเวลล์

รงการโฮปเวลล์ หรือ โครงการระบบการขนส่งทางรถไฟยกระดับในกรุงเทพมหานคร (Bangkok Elevated Road and Train System - BERTS) เป็นโครงการก่อสร้างถนน ทางรถไฟ และรถไฟฟ้ายกระดับ บนพื้นที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ดำเนินการโดยบริษัท โฮปเวลล์ (ประเทศไทย) ในเครือโฮปเวลล์โฮลดิงส์ บริษัทสัญชาติฮ่องกง ของนายกอร์ดอน วู โครงการก่อสร้างประกอบด้วย โครงสร้างยกระดับทางรถไฟขึ้นไปเหนือผิวการจราจร เพื่อลดจุดตัดกับทางรถยนต์ (Grade Crossing) เพื่อลดปัญหาการให้รถยนต์ต้องหยุดรอรถไฟ ก่อสร้างคร่อมทางรถไฟที่มีอยู่ในปัจจุบัน ระยะทางทั้งสิ้น 60.1 กิโลเมตร ใช้เงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 80,000 ล้านบาท และให้ผลตอบแทนรายปี 30 ปี รวม 53,810 ล้านบาท โดยโฮปเวลล์จะได้รับสิทธิสร้างถนนยกระดับ เรียกเก็บค่าผ่านทาง คู่ขนานกับทางรถไฟยกระดับ และได้รับสัมปทานเดินรถบนทางรถไฟยกระดับด้วย และสามารถใช้ประโยชน์ในพื้นที่ใต้ทางรถไฟยกระดับ และอสังหาริมทรัพย์สองข้างทาง คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 600 ไร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและโครงการโฮปเวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร)

นนเยาวราช ถนนสายหลักของไชนาทาวน์ กรุงเทพมหานคร แผนที่เขตสัมพันธวงศ์ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่หลัก ๆ ของไชนาทาวน์ กรุงเทพมหานคร ไชนาทาวน์ในกรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในไชนาทาวน์หรือชุมชนจีนที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์

ื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ (18 มกราคม พ.ศ. 2552 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นรายการที่เป็นรายงานผลการปฏิบัติงานของรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ โดยออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) ทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.00 - 10.00 น. โดยภายในรายการมีการส่ง SMS แสดงความคิดเห็นและตั้งข้อซักถาม และยังมีช่องทางในการสื่อสารกับนายกรัฐมนตรี คือ ทุกวันศุกร์ หน้า 2 ของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ จะมีการตอบคำถามของท่านนายกรัฐมนตรีที่ประชาชนส่งคำถามเข้าม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน พ.ศ. 2546

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเมษายน พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

เรือด่วนเจ้าพระยา

รือด่วนเจ้าพระยา เป็นเรือโดยสารในแม่น้ำเจ้าพระยา ให้บริการในเส้นทางอำเภอปากเกร็ด-ท่าน้ำนนทบุรี-สาทร-วัดราชสิงขร-ราษฎร์บูรณะ โดยบริษัท เรือด่วนเจ้าพระยา จำกั.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเรือด่วนเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555

หตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไท..

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

เทอร์มินอล 21 อโศก

ทอร์มินอล 21 อโศก เป็นศูนย์การค้าแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร บริหารงานโดย ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ แอล เอช ช้อปปิ้ง เซ็นเตอร์ ภายใต้เครือแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ร่วมกับสยาม รีเทล ดีเวลอปเมนท์ เจ้าของศูนย์การค้าแฟชั่นไอส์แลนด์ โดยพัฒนาที่ดินบริเวณทางแยกอโศกมนตรีที่เคยเป็นห้องแสดงรถยนต์วอลโวมาก่อนให้เป็นศูนย์การค้าและห้องอยู่อาศัยที่ให้บริการในลักษณะเดียวกับโรงแรม (serviced apartment) ครบวงจร เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีอโศก และรถไฟฟ้ามหานคร สถานีสุขุมวิท ตัวโครงการประกอบด้วยศูนย์การค้า 9 ชั้น และห้องอยู่อาศัยที่ให้บริการในลักษณะเดียวกับโรงแรม 20 ชั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเทอร์มินอล 21 อโศก · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางซื่อ

ตบางซื่อ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เขตภาษีเจริญ

ตภาษีเจริญ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพโดยทั่วไปมีลักษณะกึ่งชนบทกึ่งชุมชนเมือง แต่ในพื้นที่เนื่องจากมีการขยายตัวของระบบสาธารณูปโภค (โดยเฉพาะด้านการคมนาคม) จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชุมชนเกษตรเป็นชุมชนเมืองมากขึ้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เขตห้วยขวาง

ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตดินแดง

ตดินแดง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตดินแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองเตย

ตลาดคลองเตย เขตคลองเตย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตเจ้าพระยา ซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตคลองเตย · ดูเพิ่มเติม »

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ11 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและ3 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

MRTรถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้ำเงินรถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคลสายเฉลิมรัชมงคลสถานีสิรินธรสถานีสิรินธร (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีหนองแขมสถานีหนองแขม (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน)สถานีบางกอกใหญ่สถานีบางยี่ขันสถานีบางหว้า (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีบางอ้อสถานีบางพลัดสถานีบางขุนนท์สถานีบางขุนนนท์สถานีบางขุนนนท์ (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีบางขุนนนท์ (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินและสายสีส้ม)สถานีบางโพสถานีบางไผ่สถานีพุทธมณฑล สาย 2สถานีพุทธมณฑล สาย 2 (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน)สถานีพุทธมณฑล สาย 3สถานีพุทธมณฑล สาย 4สถานีพุทธมณฑล สาย 4 (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน)สถานีจรัญสนิทวงศ์ 13สถานีทวีวัฒนาสถานีทวีวัฒนา (รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน)สถานีแยกไฟฉายสถานีเพชรเกษม 48สถานีเพชรเกษม48อาคารจอดแล้วจร (สถานีรถไฟฟ้าลาดพร้าว)เมโทรมอลล์เมโทรไนน์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »