สารบัญ
31 ความสัมพันธ์: บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าสายสีชมพูรถไฟฟ้าสายสีฟ้ารถไฟฟ้าสายสีน้ำตาลรถไฟฟ้าสายสีเหลืองรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรถไฟฟ้าโมโนเรล สายรามคำแหง-ทองหล่อรถไฟฟ้าโมโนเรล สายศาลาว่าการ กทม. 2-ถนนโยธีรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกศิริราชสถานียมราชสถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)สถานีราชเทวีสถานีราชเทวี (รถไฟฟ้าบีทีเอส)สถานีศิริราช (รถไฟฟ้าสายสีส้มและสายสีแดงอ่อน)สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยสถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)ประตูกั้นชานชาลาแยกบางขุนนนท์แยกรามคำแหง-ร่มเกล้าโรงเรียนเทพลีลาโครงการรถไฟฟ้าลาวาลินเขตมีนบุรีเขตดินแดง
บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์
ริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) (BTS GROUP HOLDINGS PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:BTS ชื่อเดิม: บริษัท ธนายง จำกัด) เป็นบริษัประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจสื่อโฆษณา ธุรกิจให้บริการ และธุรกิจระบบขนส่งมวลชน แต่เดิมประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ก่อนเข้ารับสัมปทานระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครจากกรุงเทพมหานคร เพื่อดำเนินการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนสายแรกของประเทศไทย แต่จากสภาพเศรษฐกิจในขณะนั้น ทำให้บริษัทต้องแยกธุรกิจออกมาเป็นบริษัทลูกและเปิดเป็นบริษัทมหาชนเพื่อหาแหล่งเงินทุน ส่วนบริษัทได้ยื่นขอล้มละลายต่อศาลล้มละลายกลางเพื่อเข้าแผนดำเนินการฟื้นฟูกิจการ หลังจากการฟื้นฟูกิจการเสร็จสิ้นไปได้ด้วยดี บริษัทได้ดำเนินการเข้าถือหุ้นสามัญร้อยละ 94.60 ของบีทีเอสซี เมื่อเดือนพฤษภาคม..
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและบีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์
การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. (Mass Rapid Transit Authority of Thailand ย่อว่า MRTA) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภาระหน้าที่ในการจัดให้มี และให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รฟม.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร
ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (Bangkok Mass Transit, BMT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร (กทม., BMA) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด (KT) โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบรถไฟฟ้ามหานคร ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) โดยระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษ.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร
รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม
รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม
รถไฟฟ้ามหานคร
รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้ามหานคร
รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม
รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม
รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม
รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
| open.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
รถไฟฟ้าสายสีชมพู
รงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี เป็นโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบหลัก เป็นโครงการรถไฟฟ้าโครงการหนึ่งตามแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ในระยะแรกโครงการดังกล่าวมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 27 กิโลเมตร แต่ต่อมาก็ได้มีการขยายต้นทางจากปากเกร็ดมายังแคราย เพื่อเชื่อมกับโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ทำให้เส้นทางของโครงการเริ่มต้นที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดที่มีนบุรี ระยะทางรวมประมาณ 34–36 กิโลเมตร.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าสายสีชมพู
รถไฟฟ้าสายสีฟ้า
รถไฟฟ้าสายสีฟ้า (ดินแดง-สาทร) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล..
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าสายสีฟ้า
รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล
รงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (แคราย-บึงกุ่ม) เป็นโครงการศึกษาเพื่อก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อบรรจุลงในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) โครงการได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยวหรือรถไฟฟ้าโมโนเรล มีระยะทางทั้งสิ้น 21 กิโลเมตร ในเบื้องต้นมีการพิจารณาระบบที่จะนำมาใช้ในรูปแบบทางด่วน แต่ล่าสุดได้ยกเลิกโครงการทางด่วนไป และเป็นไปได้ว่าจะจัดสร้างเป็นรถไฟฟ้ารางเดี่ยวแบบยกระดับ โดยรถไฟฟ้าสายนี้จะเชื่อมต่อโครงข่ายรถไฟฟ้าหลักอีก 5 เส้นทาง ได้แก่ รถไฟฟ้าสายสีชมพู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล
รถไฟฟ้าสายสีเหลือง
รงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ซึ่งกระทรวงคมนาคมโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้เร่งรัดแผนงานจากกำหนดการเดิมในปี..
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าสายสีเหลือง
รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
รถไฟฟ้าโมโนเรล สายรามคำแหง-ทองหล่อ
รถไฟฟ้าโมโนเรล สายรามคำแหง-ทองหล่อ เป็นโครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลระยะสั้น มีแนวเส้นทางจาก มหาวิทยาลัยรามคำแหง-ทองหล่อ แม้ขั้นตอนการศึกษาจะเสร็จเรียบร้อยแล้ว แต่การประมูลนั้นยังไม่เกิดขึ้นในขณะนี้.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าโมโนเรล สายรามคำแหง-ทองหล่อ
รถไฟฟ้าโมโนเรล สายศาลาว่าการ กทม. 2-ถนนโยธี
รงการรถไฟฟ้าโมโนเรล สายศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2-ถนนโยธี เป็นโครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลระยะสั้น ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร ร่วมกับบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด โดยมีแนวเส้นทางจากศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ถึงย่านพระราม 6.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าโมโนเรล สายศาลาว่าการ กทม. 2-ถนนโยธี
รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก
วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก
ศิริราช
ริราช อาจหมายถึง.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและศิริราช
สถานียมราช
นียมราช สามารถหมายความถึง.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและสถานียมราช
สถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)
นีราชปรารภ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางทุกสถานีจากสถานีพญาไทไปจนถึงสุวรรณภูมิ ยกระดับเหนือเส้นทางรถไฟทางไกลสายตะวันออก ที่จุดตัดถนนราชปรารภ กรุงเทพมหานคร บริเวณสามแยกนิคมมักกะสัน ในอนาคต จะสามารถเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่สถานีราชปราร.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและสถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)
สถานีราชเทวี
นีราชเทวี อาจหมายถึง.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและสถานีราชเทวี
สถานีราชเทวี (รถไฟฟ้าบีทีเอส)
นีราชเทวี สถานีราชเทวี เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพญาไท กรุงเทพมหานคร ใกล้สี่แยกราชเทวี ในอนาคตจะสามารถเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ได้ที่สถานีราชเทวี.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและสถานีราชเทวี (รถไฟฟ้าบีทีเอส)
สถานีศิริราช (รถไฟฟ้าสายสีส้มและสายสีแดงอ่อน)
นีศิริราช (หรืออาจใช้ชื่อสถานีบางกอกน้อย) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการวางแผนและออกแบบ มีแนวเส้นทางผ่านใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะกรุงรัตนโกสินทร์ ในกรุงเทพมหานคร และลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยามาจนถึงฝั่งธนบุรี จุดที่ตั้งสถานีแห่งนี้มีความสำคัญเพราะสามารถเดินทางเชื่อมต่อไปยังโรงพยาบาลศิริราช ซึ่งเป็นโรงพยาบาลเก่าแก่ที่สุดและเป็นสถาบันทางการแพทย์ที่ใหญ่และมีชื่อเสียงมากที่สุดในประเทศไทยได้โดยตรง ขณะเดียวกันก็ยังมีความสำคัญด้านประวัติศาสตร์ เพราะเป็นพื้นที่ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับกรุงธนบุรีในอดีต และยังมีสถานีรถไฟธนบุรี ซึ่งเคยเป็นต้นทางของทางรถไฟสายใต้ และทางรถไฟสายมรณะ ไทย-พม่า ที่กองทัพญี่ปุ่นสร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและสถานีศิริราช (รถไฟฟ้าสายสีส้มและสายสีแดงอ่อน)
สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
นีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (รหัส CUL) หรือสถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่ถนนรัชดาภิเษก-ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านธุรกิจ ศูนย์การค้า ที่พักอาศัย และอยู่ใกล้สถานที่สำคัญด้านศิลปวัฒนธรรม เช่นศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นชุมทางรถไฟฟ้าในทิศทางจากสถานีห้วยขวางขึ้นบนระดับพื้นดิน เข้าสู่ ศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟฟ้ามหานคร ห้วยขวาง.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
สถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)
นีสนามหลวง เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการวางแผนและออกแบบ โดยจะเป็นสถานีระบบใต้ดิน มีแนวเส้นทางผ่านใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะกรุงรัตนโกสินทร์ ในกรุงเทพมหานครก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าช้างวังหน้าไปยังฝั่งธนบุรี.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและสถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)
ประตูกั้นชานชาลา
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินสิงคโปร์ ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าปารีส สาย 14 ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินบาร์เซโลนา ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินไทเป ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานโตรอนโต ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินควังจู ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล กรุงเทพมหานคร ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินลอนดอน ประตูกั้นชานชาลา (Platform screen doors, PSDs) เป็นประตูที่กั้นระหว่างชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าและขบวนรถไฟฟ้า ส่วนใหญ่มักจะติดตั้งพร้อมกับวันเปิดเดินรถ หรือภายหลังจากนั้น ประตูกั้นชานชาลาแห่งแรกของโลก อยู่ที่สถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ซึ่งเปิดในปี ค.ศ.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและประตูกั้นชานชาลา
แยกบางขุนนนท์
แยกบางขุนนนท์ (Bang Khun Non Junction) เป็นทางแยกบริเวณจุดบรรจบระหว่างถนนจรัญสนิทวงศ์กับถนนบางขุนนนท์ ในพื้นที่แขวงบางขุนนนท์ และแขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ใกล้กับเชิงสะพานข้ามคลองบางกอกน้อยและจุดตัดทางรถไฟบริเวณป้ายหยุดรถไฟจรัญสนิทวงศ์ ซึ่งเป็นจุดบรรจบระหว่างถนนสุทธาวาสกับถนนเลียบทางรถไฟสายใต้ (ตลิ่งชัน).
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและแยกบางขุนนนท์
แยกรามคำแหง-ร่มเกล้า
แยกรามคำแหง-ร่มเกล้า เป็นสี่แยกที่อยู่ในแขวงมีนบุรีและแขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนรามคำแหงและถนนร่มเกล้า (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3119) จากแยกนี้สามารถเข้าถนนร่มเกล้า เพื่อไปยัง ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ได้.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและแยกรามคำแหง-ร่มเกล้า
โรงเรียนเทพลีลา
รงเรียนเทพลีลา (อักษรย่อ: ท.ล, T.L.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤษภาคม 2505 โดยดำริของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 281 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและโรงเรียนเทพลีลา
โครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน
รงการรถไฟฟ้าลาวาลิน (Lavalin Skytrain) เป็นโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ายกระดับในกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการศึกษามาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำเนินการโดยบริษัท ลาวาลิน (SNC-Lavalin) จากประเทศแคนาดา ซึ่งชนะการประมูลเหนือคู่แข่ง คือ บริษัทร่วมค้า เอเชีย-ยูโร คอนซอร์เตียม (AEC) เมื่อเดือนพฤษภาคม..
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและโครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน
เขตมีนบุรี
ตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและเขตมีนบุรี
เขตดินแดง
ตดินแดง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
ดู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและเขตดินแดง
หรือที่รู้จักกันในชื่อ รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (โครงการรถไฟฟ้าที่ถูกยกเลิก)สถานี รฟม. (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีมหาวิทยาลัยรามคำแหง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีมีนบุรีสถานีมีนบุรี (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีมีนบุรี (รถไฟฟ้าสายสีส้มและสายสีชมพู)สถานีมีนบุรี (รถไฟฟ้าสายสีส้มและสายชมพู)สถานีมีนพัฒนา (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานียมราช (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีรามคำแหง 12 (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีราษฎร์พัฒนา (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีราชมังคลา (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีราชเทวี (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีรางน้ำสถานีรางน้ำ (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีรฟม. (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีลำสาลี (รถไฟฟ้าสีส้ม)สถานีวัดบางเพ็ง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีสุวินทวงศ์สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยสถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย (รถไฟฟ้าสายสีม่วงและสายสีส้ม)สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีดินแดง (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีประชาสงเคราะห์สถานีประชาสงเคราะห์ (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีประดิษฐ์มนูธรรมสถานีประดิษฐ์มนูธรรม (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)สถานีประตูน้ำสถานีเคหะรามคำแหง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)