โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

ดัชนี รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม.

68 ความสัมพันธ์: บริติช เรล คลาส 360ชานชาลาด้านข้างชานชาลาเกาะกลางชิงกันเซ็ง E3 ซีรีส์บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์พญาไทกรุงเทพมหานครการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553การรถไฟแห่งประเทศไทยการขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานครการขนส่งระบบรางในประเทศไทยการขนส่งในประเทศไทยการคมนาคมเข้าและออกจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒรถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรถไฟฟ้ารถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าสายสีฟ้ารถไฟฟ้าสายสีเหลืองรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรถไฟฟ้าโมโนเรล สายบางปู-สุวรรณภูมิรถไฟฟ้าโมโนเรล สายรามคำแหง-ทองหล่อรถไฟฟ้าโมโนเรล สายศาลาว่าการ กทม. 2-ถนนโยธีรถไฟฟ้าโมโนเรล สายแกรนด์สแควร์ พระราม 9รถไฟฟ้าไลท์เรล สายบางนา-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทยลาดกระบัง (แก้ความกำกวม)วัน อยู่บำรุงสุวรรณภูมิสถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีบ้านทับช้างสถานีพญาไทสถานีมักกะสันสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมืองสถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)สถานีรามคำแหงสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อสถานีรถไฟหัวหมากสถานีลาดกระบังสถานีหัวหมาก (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิสถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร)...สแตนดาร์ดเกจจังหวัดสมุทรปราการถนนพญาไททางรถไฟสายตะวันออกทางรถไฟสายแม่กลองทางรถไฟสายใต้ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิขนาดความกว้างรางรถไฟซีเมนส์ซีเมนส์ เดซิโรประตูกั้นชานชาลาโรงเรียนเทพลีลาโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)โครงการโฮปเวลล์เขตราชเทวีเขตลาดกระบังเขตประเวศ23 สิงหาคม ขยายดัชนี (18 มากกว่า) »

บริติช เรล คลาส 360

ริติช เรล คลาส 360 ในรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ ภายในรถ รถไฟฟ้าบริติช เรล คลาส 360 สร้างขึ้นโดยซีเมนส์ นำเข้าตั้งแต่ ค.ศ. 2002-2003 และ ค.ศ. 2004-2005 เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลรถซีเมนส์ เดซิโร ประเทศไทย ได้นำเข้าบริติช เรล คลาส 360 เพื่อนำมาใช้งานในเส้นทางรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและบริติช เรล คลาส 360 · ดูเพิ่มเติม »

ชานชาลาด้านข้าง

แผนผังชานชลาด้านข้างและสะพานลอย ชานชาลาด้านข้าง เป็นรูปแบบชานชลาสถานีรถไฟซึ่งมี 2 ชานชลา ตั้งอยู่ตรงข้ามกัน โดยมีรางรถไฟเป็นตัวแบ่ง ส่วนใหญ่มักใช้แบ่งเป็นชานชลารถเที่ยวขึ้น-ล่อง การก่อสร้างชานชลาลักษณะนี้ไม่ยุ่งยาก แต่มีประสิทธิภาพน้อย เพราะไม่สะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ หรือเปลี่ยนเส้นทาง.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและชานชาลาด้านข้าง · ดูเพิ่มเติม »

ชานชาลาเกาะกลาง

นชาลาเกาะกลางของสถานีปูฮัง ในเส้นทางรถไฟใต้ดินเปียงยาง ชานชาลาเกาะกลาง (Island platform) เป็นรูปแบบชานชลาสถานีรถไฟซึ่งมีชานชาลาเดียว ตั้งอยู่ตรงกลาง โดยมีรางรถไฟขนาบอยู่สองข้าง การก่อสร้างชานชาลาลักษณะนี้ค่อนข้างยุ่งยาก เนื่องจากต้องใช้รางรถไฟคู่เบี่ยงออกจากกัน แต่มีประสิทธิภาพสูง เพราะสะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ หรือเปลี่ยนเส้นทาง.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและชานชาลาเกาะกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ชิงกันเซ็ง E3 ซีรีส์

E3 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูง ชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น สร้างขึ้นเพื่อใช้สำหรับการทำขบวนแบบ โคะมะชิ ซึ่งเริ่มให้บริการเมื่อ 3 มิถุนายน..

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและชิงกันเซ็ง E3 ซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์

ริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) (BTS GROUP HOLDINGS PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:BTS ชื่อเดิม: บริษัท ธนายง จำกัด) เป็นบริษัประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจสื่อโฆษณา ธุรกิจให้บริการ และธุรกิจระบบขนส่งมวลชน แต่เดิมประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ก่อนเข้ารับสัมปทานระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครจากกรุงเทพมหานคร เพื่อดำเนินการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนสายแรกของประเทศไทย แต่จากสภาพเศรษฐกิจในขณะนั้น ทำให้บริษัทต้องแยกธุรกิจออกมาเป็นบริษัทลูกและเปิดเป็นบริษัทมหาชนเพื่อหาแหล่งเงินทุน ส่วนบริษัทได้ยื่นขอล้มละลายต่อศาลล้มละลายกลางเพื่อเข้าแผนดำเนินการฟื้นฟูกิจการ หลังจากการฟื้นฟูกิจการเสร็จสิ้นไปได้ด้วยดี บริษัทได้ดำเนินการเข้าถือหุ้นสามัญร้อยละ 94.60 ของบีทีเอสซี เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและบีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ · ดูเพิ่มเติม »

พญาไท

ญาไท อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553

กลุ่มผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ วันที่ 14 มีนาคม กลุ่มผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์ วันที่ 3 เมษายน กลุ่มผู้ชุมนุมที่เซ็นทรัลเวิลด์ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาต..

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานคร

สถานีรถไฟกรุงเทพ การขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต..

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและการขนส่งระบบรางในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งระบบรางในประเทศไทย

รถไฟฟ้าบีทีเอส การขนส่งระบบรางในประเทศไทย คือ การขนส่งระบบรางที่มีอยู่ในประเทศไทยในปัจจุบัน ทั้งรถไฟทางไกลและรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและการขนส่งระบบรางในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การขนส่งในประเทศไทย

การจราจรแออัดในชั่วโมงเร่งด่วนในกรุงเทพมหานคร รถสามล้อหรือรถตุ๊กตุ๊ก รูปแบบการขนส่งอย่างหนึ่ง การขนส่งในประเทศไทย มีความหลากหลายและยังไม่มีความเป็นระเบียบ การขนส่งแต่ละประเภทไม่มีความโดดเด่นมากนัก ได้แก่ ระบบการขนส่งทางถนน ที่เป็นหลักของการขนส่งสินค้าทั่วประเทศ การขนส่งทางรถประจำทางที่มีการขนส่งระยะไกลไปยังจังหวัดต่าง ๆ มีการใช้รถจักรยานยนต์เพื่อใช้การเดินทางระยะสั้นแทนการใช้จักรยาน การใช้รถยนต์ส่วนตัวซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมีส่วนทำให้การจราจรเกิดความแออัดทั้งในกรุงเทพมหานครและเมืองสำคัญต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังมีการขนส่งระบบรางที่เชื่อมต่อไปยังภูมิภาคต่าง ๆ แต่ยังมีความล่าช้า ถึงแม้จะมีแผนขยายการให้บริการที่มีรถไฟความเร็วสูงไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศก็ตาม การขนส่งทางอากาศภายในประเทศ ซึ่งในปัจจุบันยังมีสายการบินไม่มากนัก แต่ยังมีความโดนเด่นด้วยวิธีการขนส่งที่มีความแปลกใหม่จากสายตาของชาวต่างประเทศ เช่น รถตุ๊กตุ๊ก รถสองแถว เป็นต้น.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและการขนส่งในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การคมนาคมเข้าและออกจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

แผนที่แสดงเส้นทางเข้าถึงสนามบิน (จากเว็บไซต์การท่าอากาศยาน) การคมนาคมเข้าและออกจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สามารถเดินทางไปได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถยนต์ รถแท็กซี่ รถโดยสารประจำทาง 3 สาย โดยท่าอากาศยานมีทางเข้า-ออกทั้งหมด 6 เส้นทาง ได้แก่.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและการคมนาคมเข้าและออกจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Srinakharinwirot University; ชื่อย่อ: มศว - SWU) ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง" ซึ่งก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นระบบรถไฟชานเมืองขนาดใหญ่ในประเทศไทย ให้บริการในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, จังหวัดสระบุรี, จังหวัดลพบุรี, จังหวัดสุพรรณบุรี, จังหวัดราชบุรี, จังหวัดฉะเชิงเทรา, จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดสมุทรสงคราม ดำเนินการโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย รหัสเลขขบวนรถส่วนใหญ่จะเป็นเลขสามหลัก ขึ้นต้นด้วยเลข 3 และ4(471-480) และใช้ทางวิ่งร่วมกับรถไฟทางไกลและรถไฟสินค้า ทางส่วนใหญ่เป็นทางคู.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟชานเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้า

รถไฟฟ้า อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.

ริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการรถไฟฟ้าต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ การรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน หรือ รถไฟชานเมืองสายตะวันออก-ตะวันตก เป็นโครงการรถไฟชานเมืองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศตะวันตก-ตะวันออก โดยตามแผนแม่บท พื้นที่โครงการจะมีระยะทาง 127.5 กิโลเมตรคำนวณระยะทางจาก ช่วงนครปฐม-ตลิ่งชัน 43 กม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้ามหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีฟ้า

รถไฟฟ้าสายสีฟ้า (ดินแดง-สาทร) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล..

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าสายสีฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ซึ่งกระทรวงคมนาคมโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้เร่งรัดแผนงานจากกำหนดการเดิมในปี..

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าสายสีเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 ในเส้นทาง รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท สถานีหมอชิต-สถานีอ่อนนุช และ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ-สถานีสะพานตากสิน โดยในปัจจุบันมีรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการแล้วทั้งสิ้น 5 สาย 77 สถานี ครอบคลุมระยะทางกว่า 112 กิโลเมตร*.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าโมโนเรล สายบางปู-สุวรรณภูมิ

รถไฟฟ้าโมโนเรล สายบางปู-สุวรรณภูมิ เป็นโครงการรถไฟฟ้าเพื่อเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนทางรางระหว่าง รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เข้าด้วยกันในพื้นที่ด้านตะวันออกของจังหวัดสมุทรปราการ แนวคิดโครงการเกิดจาก อ. สมุทรปราการ มีนโยบายลงทุนโครงการรถไฟฟ้าขนาดเบา เพื่อร่นระยะการเดินทางของคนในพื้นที่ นักท่องเที่ยว รวมถึงชาวต่างชาติที่ลงจากท่าอากศยานสุวรรณภูมิ สามารถเดินทางโดยรถไฟฟ้าเข้าสู่ใจกลางกรุงเทพมหานครและสมุทรปราการได้อย่างรวดเร็ว ขณะเดียวกันพื้นที่สมุทรปราการเริ่มเกิดวิกฤติจราจรที่ทำให้การเดินทางต้องใช้เวลานานขึ้น และยังช่วยสนับสนุนแผนการพัฒนาสมุทรปราการให้ก้าวไปสู่เมืองท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และธรรมชาติชายฝั่ง โครงการเริ่มต้นจากสถานีบางปู (E28) รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ของ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย บนถนนสุขุมวิท วิ่งไปตามแนว ถนนตำหรุ-บางพลี ถนนกิ่งแก้ว แล้วไปสิ้นสุดที่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รวมระยะทางประมาณ 23.39 กิโลเมตร.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าโมโนเรล สายบางปู-สุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าโมโนเรล สายรามคำแหง-ทองหล่อ

รถไฟฟ้าโมโนเรล สายรามคำแหง-ทองหล่อ เป็นโครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลระยะสั้น มีแนวเส้นทางจาก มหาวิทยาลัยรามคำแหง-ทองหล่อ แม้ขั้นตอนการศึกษาจะเสร็จเรียบร้อยแล้ว แต่การประมูลนั้นยังไม่เกิดขึ้นในขณะนี้.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าโมโนเรล สายรามคำแหง-ทองหล่อ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าโมโนเรล สายศาลาว่าการ กทม. 2-ถนนโยธี

รงการรถไฟฟ้าโมโนเรล สายศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2-ถนนโยธี เป็นโครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลระยะสั้น ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร ร่วมกับบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด โดยมีแนวเส้นทางจากศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ถึงย่านพระราม 6.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าโมโนเรล สายศาลาว่าการ กทม. 2-ถนนโยธี · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าโมโนเรล สายแกรนด์สแควร์ พระราม 9

รงการรถไฟฟ้าโมโนเรล สายแกรนด์สแควร์ พระราม 9 เป็นโครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลระยะสั้น บนถนนรัชดาภิเษกจนถึงถนนอโศก-ดินแดง ใกล้ๆ กับโครงการแกรนด์ สแควร์ @ พระราม 9 ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร ร่วมกับบริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด โดยจะเป็นส่วนหนึ่งของโครงการแกรนด์ สแควร์ @ พระราม 9 ทั้งนี้โครงการรถไฟฟ้าโมโนเรลสายดังกล่าว มีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อระบบหลักทั้งสองเส้นที่สถานีปลายทาง และแก้ไขปัญหารถติดบริเวณถนนอโศก-ดินแดงบริเวณหน้าทางเข้าสถานีมักกะสันของแอร์พอร์ตเรลลิงก์ด้วย โดยโครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งที่เกิดขึ้นจาก นโยบายของกรุงเทพมหานคร ที่มีนโยบายส่งเสริมให้เอกชนให้ลงทุนในระบบสาธารณูปโภคอยู่แล้ว โดยเฉพาะด้านระบบขนส่งมวลชน อันจะส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศในภาพรวม และไม่ต้องใช้งบประมาณของทางราชการในการดำเนินโครงการสาธารณะ โดยกรุงเทพมหานครจะเป็นผู้ประสานงานกับหน่วยงานด้านราชการ การสนับสนุนระบบเชื่อมต่อการเดินทาง และการอำนวยความสะดวกอื่นๆตามอำนาจหน้าที่และกฎหมายของกรุงเทพมหานคร ซึ่งปัจจุบันได้ทำการลงนามเซ็นบันทึกความเข้าใจ (MOU) ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เหลือเพียงแต่การออกแบบ EIA แล้วนำเสนอต่อกระทรวงคมนาคมเท่านั้น โดยหลังเปิดให้บริการ บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน) ได้คาดหวังไว้ว่าจะมีจำนวนผู้โดยสาร 150,000 คนต่อเที่ยวต่อวัน หากโครงการนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ก็จะถือได้ว่าเป็นโครงการต้นแบบในการสนับสนุนเอกชนลงทุนในระบบขนส่งมวลชนสาธารณะในที่อื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบขนส่งมวลชนสาธารณะของกระทรวงคมนาคม โดยไม่ต้องใช้งบประมาณทางราชการ.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าโมโนเรล สายแกรนด์สแควร์ พระราม 9 · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าไลท์เรล สายบางนา-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

รถไฟฟ้าไลท์เรล สายบางนา-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายบางนา-สุวรรณภูมิ เป็นโครงการเส้นทางระบบขนส่งมวลชนรองในพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) โดยความร่วมมือระหว่าง กรุงเทพมหานคร บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) และจังหวัดสมุทรปราการ มีแนวความคิดเริ่มต้นมาจากการก่อสร้างส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ระยะที่ 1 ช่วงอ่อนนุช-แบริ่ง ที่กรุงเทพมหานครเล็งเห็นถึงโอกาสในการขยายเส้นทางไปท่าอากาศยานสุวรรณภูมิตามแนวถนนเทพรัตน ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการยื่นขอผลวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือ EIA เพื่อเริ่มดำเนินโครงการ.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าไลท์เรล สายบางนา-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน

รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานนานาชาตินะริตะ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน เป็นระบบขนส่งทางรางประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้ขนส่งผู้โดยสารไปยังท่าอากาศยานข้างเคียง ซึ่งให้บริการคนละประเภทกับรถโดยสารประจำทางเชื่อมท่าอากาศยาน รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน เป็นที่นิยมมากในประเทศแถบทวีปยุโรป ประเทศญี่ปุ่น และประเทศในทวีปเอเชียบางส่วน ข้อได้เปรียบคือ เป็นระบบขนส่งที่มีมลพิษน้อย สะดวก ปลอดภัย และรวดเร็ว.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย

รงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย (Thailand High-speed Rail Project) เป็นโครงการเมกะโปรเจกต์ของประเทศไทยในการก่อสร้างระบบรถไฟความเร็วสูง มีเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเชื่อมโยงตลาดการค้า ระหว่างกลุ่มประเทศแถบลุ่มแม่น้ำโขง เนื่องจากประเทศไทยถือเป็นศูนย์กลางของอินโดจีน มีเป้าหมายในการก่อสร้าง 4 สาย ได้แก่ สายเหนือ, สายตะวันออก, สายตะวันออกเฉียงเหนือ และสายใต้.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ลาดกระบัง (แก้ความกำกวม)

ลาดกระบัง สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและลาดกระบัง (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

วัน อยู่บำรุง

วัน อยู่บำรุง ชื่อเดิม วันเฉลิม อยู่บำรุง เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2517 เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม โดยได้รับการแต่งตั้ง ณ วันที่ 2 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและวัน อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

สุวรรณภูมิ

วรรณภูมิ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีบางซื่อ (รหัส BAN) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล บริเวณสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบ้านทับช้าง

นีบ้านทับช้าง (Ban Thap Chang Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีบ้านทับช้าง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพญาไท

มุมสูง สถานีพญาไทของรถไฟฟ้าทั้ง 2 ระบบ สถานีพญาไท เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

สถานีมักกะสัน

นีมักกะสัน สามารถหมายความถึง.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีมักกะสัน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง

นชาลาที่ 1 ของรถไฟฟ้า City Line มุ่งหน้าสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ภายในอาคารผู้โดยสาร สถานีมักกะสัน สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง (City Air Terminal, รหัส: A6) หรือ สถานีมักกะสัน เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย Express Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link Express Line) ซึ่งจะวิ่งตรงจากมักกะสันสู่สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยไม่แวะสถานีรายทาง ระยะทาง 25.7 กิโลเมตร ใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที (ต่างจากรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ) สถานีแห่งนี้เป็นสถานีเดียวในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานฯ ที่มีจอแสดงผลข้อมูลเที่ยวบินตรงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิติดตั้งอยู่ และเป็นสถานีที่ผู้โดยสารสามารถมาเช็คอินและโหลดกระเป๋าได้.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)

นีราชปรารภ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางทุกสถานีจากสถานีพญาไทไปจนถึงสุวรรณภูมิ ยกระดับเหนือเส้นทางรถไฟทางไกลสายตะวันออก ที่จุดตัดถนนราชปรารภ กรุงเทพมหานคร บริเวณสามแยกนิคมมักกะสัน ในอนาคต จะสามารถเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่สถานีราชปราร.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีราชปรารภ (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรามคำแหง

นีรามคำแหง (Ramkhamhaeng Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ

'''สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ''' อาคารผู้โดยสาร 2 (สายใต้-สายตะวันตก) ปัจจุบันอาคารผู้โดยสาร 2 ใช้สำหรับ'''ร'''ถไฟทางไกลสายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือและสายใต้ (มองไปทางอาคารผู้โดยสาร1 ปัจจุบันได้มีการรื้อถอนแล้ว) สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ (Bang Sue Junction) เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ตั้งอยู่ที่ ถนนเทอดดำริ แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีชุมทางรถไฟหลักของประเทศไทย ซึ่งแยกทางรถไฟสายใต้ ออกจากทางรถไฟสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ รวมถึงยังเป็น 1 ใน 2 สถานีชุมทางรถไฟที่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร คือ สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ และสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน และเป็น 1 ใน 15 สถานีชุมทางรถไฟในประเทศไท.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหัวหมาก

นีรถไฟหัวหมาก เป็นสถานีรถไฟของรถไฟทางไกลสายตะวันออก สถานีนี้สามารถเชื่อมต่อกับสถานีหัวหมากของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้ และในอนาคตจะสามารถเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน อีกทั้งเป็นช่วงเริ่มต้นระบบทางสามไปจนถึงสถานีชุมทางฉะเชิงเทราด้ว.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีรถไฟหัวหมาก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลาดกระบัง

นีลาดกระบัง (Lat Krabang Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ โดยสถานีลาดกระบังเป็นสถานีสุดท้ายก่อนเข้าสู่ท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหัวหมาก (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)

นีหัวหมาก (Hua Mak Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีหัวหมาก (รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นสถานีรถไฟฟ้าของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายบางนา-สุวรรณภูมิ (โครงการในอนาคต).

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีเพชรบุรี (รหัส PET) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนอโศก-ดินแดง กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศก-เพชรบุรี เป็นสถานีเชื่อมต่อรถไฟฟ้าเชื่อมต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง หรือสถานีมักกะสัน (อโศก).

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สแตนดาร์ดเกจ

แตนดาร์ดเกจ หรือ รางขนาดมาตรฐานยุโรป (European standard gauge)เป็นขนาดความกว้างรางรถไฟที่มีการใช้กันมากที่สุด โดยคิดเป็นประมาณ 60% ของรางรถไฟทั่วโลก ระยะห่างภายในของรางรถไฟมีขนาด 1.435 เมตร (4 ฟุต 8 1/2 นิ้ว) สแตนดาร์ดเกจยังมีชื่อเรียกว่า สตีเฟนซันเกจ ตั้งชื่อตาม จอร์จ สตีเฟนซัน ความกว้าง 1.435 นี้เป็นระยะห่างของล้อรถม้าและเกวียนในสมัยโรมันโบราณ ซึ่งเป็นระยะที่กว้างพอที่จะทำให้ม้า 2 ตัวแบบเรียงหน้ากระดาน สามารถลากจูงรถได้โดยที่ลำตัวไม่เบียดกันเวลาม้าวิ่ง.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสแตนดาร์ดเกจ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพญาไท

นนพญาไทช่วงมาบุญครองและสี่แยกปทุมวัน ถนนพญาไท (Thanon Phaya Thai) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกสามย่าน) ไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวังใหม่กับแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน ผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นตัดกับถนนพระรามที่ 1 (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองบางกะปิ หรือคลองแสนแสบ (ที่สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกราชเทวี) จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท โดยตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามทางรถไฟสายตะวันออก ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกพญาไท) ไปสิ้นสุดที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนพหลโยธิน.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและถนนพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายตะวันออก

ทางรถไฟสายตะวันออก เป็นเส้นทางเดินรถไฟทางไกลระหว่างจังหวัดของการรถไฟแห่งประเทศไทย เริ่มต้นที่สถานีรถไฟกรุงเทพ สิ้นสุดที่สถานีรถไฟอรัญประเทศ ชายแดนกัมพู.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและทางรถไฟสายตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายแม่กลอง

ทางรถไฟสายแม่กลอง เป็นทางรถไฟที่เดินรถจากฝั่งธนบุรี ผ่านจังหวัดสมุทรสาคร สิ้นสุดที่จังหวัดสมุทรสงคราม ตั้งแต่ พ.ศ. 2444 และ พ.ศ. 2448 เป็นระยะทาง 66.9 กิโลเมตร อยู่ในการดูแลของการรถไฟแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยเส้นทาง 2 ช่วงจาก สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ ถึงสถานีรถไฟมหาชัย ระยะทาง 31.2 กิโลเมตร และจากสถานีรถไฟบ้านแหลม ถึงสถานีรถไฟแม่กลอง ระยะทาง 33.57 กิโลเมตร โดยระหว่างสถานีมหาชัยกับสถานีบ้านแหลม จะไม่มีเส้นทางเชื่อมถึงกัน ผู้โดยสารจะต้องลงจากขบวนรถ และเดินเท้าไปขึ้นเรือข้ามฟากข้ามแม่น้ำท่าจีน เพื่อไปต่อรถไฟอีกขบวนหนึ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเคยเสด็จพระราชดำเนินประทับรถไฟพระที่นั่ง ผ่านทางรถไฟสายนี้เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) เพื่อทรงทำพิธีเปิดถนนถวาย ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมืองสมุทรสาคร ในอดีตทางรถไฟสายแม่กลอง จะสิ้นสุดที่สถานีรถไฟปากคลองสานริมแม่น้ำเจ้าพระยา (ปัจจุบันกลายเป็นตลาดท่าน้ำรถไฟคลองสาน) แต่ได้ถูกยกเลิกทางรถไฟช่วงนี้ไปในสมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีจึงทำให้ทางรถไฟสายนี้สิ้นสุดที่สถานีวงเวียนใหญ่ดังเช่นปัจจุบัน ส่วนทางที่ยกเลิกไปได้ถมเป็นถนนและตั้งชื่อว่าถนนเจริญรัถ โดยเป็นถนน 3 ช่องทาง ซึ่งช่องทางกลางในอดีตคือรางรถไฟ.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและทางรถไฟสายแม่กลอง · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายใต้

ทางรถไฟสายใต้ เป็นทางรถไฟที่เริ่มต้นจากสถานีรถไฟธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผ่านจังหวัดนครปฐม, ราชบุรี, เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร, สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, พัทลุง, สงขลา, ปัตตานี, ยะลา และไปสุดปลายทางที่สถานีรถไฟสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส และไปบรรจบกับทางรถไฟของประเทศมาเลเซีย ที่สถานีรถไฟรันเตาปันจาง ทางรถไฟสายใต้สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจากสถานีรถไฟธนบุรีถึงสถานีรถไฟเพชรบุรี ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ขยายเส้นทางไปภาคใต้และสร้างทางแยกที่สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานพระรามหกไปบรรจบกันที่สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน เพื่อเชื่อมทางรถไฟสายใต้กับทางรถไฟสายเหนือ ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ และสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ความยาวของทางรถไฟสายใต้ นับจากสถานีรถไฟธนบุรี ถึง ชายแดนไทย-มาเลเซีย ที่อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส รวมทั้งสิ้น 1,144.29 กิโลเมตร เป็นทางรถไฟสายที่ยาวที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและทางรถไฟสายใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ขนาดความกว้างรางรถไฟ

นาดความกว้างรางรถไฟ (Track gauge) หรือเรียกอย่างง่ายว่า เกจ (gauge) คือระยะห่างของรางรถไฟ โดยวัดจากหัวรางด้านในข้างซ้ายถึงหัวรางด้านในข้างขวา สแตนดาร์ดเกจ (standard gauge) เป็นชื่อของขนาดความกว้างรางที่นิยมใช้มากที่สุดทั่วโลก โดยประมาณ 60% ของรางรถไฟทั้งหมด โดยมีขนาด 1,435 มม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและขนาดความกว้างรางรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเมนส์

ำหรับยี่ห้อระบบรถไฟฟ้า ดูที่ ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร ซีเมนส์ (Siemens AG) เป็นกลุ่มบริษัทวิศวกรรมขนาดใหญ่ที่สุดของยุโรป สำนักงานใหญ่นานาชาติของซีเมนส์ตั้งอยู่ที่เบอร์ลินและมิวนิก ประเทศเยอรมนี ซีเมนส์เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจหลายประเภทรวมกัน (conglomerate) โดยมีแผนกธุรกิจหลัก 6 ส่วน ได้แก่ ระบบอัตโนมัติและระบบควบคุม, พลังงานไฟฟ้า, ระบบขนส่ง, การแพทย์, สารสนเทศและการสื่อสาร, และระบบส่องสว่าง เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซีเมนส์ได้ปรับธุรกิจใหม่เป็นสามส่วนคือ อุตสาหกรรม, พลังงาน, และสุขภาพ โดยมีแผนกรวมทั้งหมด 15 แผนก ซีเมนส์และบริษัทในเครือจ้างงานทั่วโลกประมาณ 400,000 ตำแหน่ง, www.siemens.com, January 2008 ในเกือบ 190 ประเทศ และแจ้งรายได้ทั่วโลก 72,448 ล้านยูโร ในปีงบประมาณ 2550 บริษัทซีเมนส์อยู่ในตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิร์ต และอยู่ในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์กตั้งแต่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2544 ซีเมนส์ก่อตั้งโดย แวร์เนอร์ ฟอน ซีเมนส์ เมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2390 (ค.ศ. 1847) โดยเริ่มจากการคิดค้นระบบโทรเลขที่ให้ผลลัพธ์เป็นตัวอักษรแทนที่จะเป็นรหัสมอร์ส เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2560 ซีเมนส์ประกาศควบรวมกิจการเฉพาะหน่วยธุรกิจระบบรางและระบบอาณัติสัญญาณ (ซีเมนส์ โมบิลิที) เข้ากับ อัลสตอม (Alstom) ของประเทศฝรั่งเศส เพื่อร่วมกันสร้างบริษัทระบบรางที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่มีสำนักงานย่อย โรงงาน คู่ค้าและพันธมิตรกว่า 60 ประเทศ รวมประเทศไทย โดยบริษัทใหม่จะใช้ชื่อว่า ซีเมนส์ อัลสตอม (Siemens Alstom) มีกำหนดควบรวมกิจการเสร็จภายในสิ้นปีการเงิน..

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและซีเมนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเมนส์ เดซิโร

รถไฟเดซิโรในเมืองกราซ ประเทศออสเตรีย ซีเมนส์ เดซิโร (Siemens Desiro) เป็นรถตระกูลหนึ่งของรถดีเซลรางและรถไฟฟ้า ซึ่งใช้ขนส่งผู้โดยสาร ซีเมนส์ เดซิโร มีรถหลายรุ่นที่ดัดแปลงออกมา เช่น เดซิโร คลาสสิก, เดซิโร เอ็มแอล, เดซิโร ยูเค และรถรุ่นในอนาคต เดซิโร ซิตี และ เดซิโร อาร์ยูเอส มักใช้ในรถไฟชานเมืองและสายระหว่างภูมิภาค การออกแบบตัวรถค่อนข้างง่าย ไม่ซับซ้อนแต่อย่างใ.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและซีเมนส์ เดซิโร · ดูเพิ่มเติม »

ประตูกั้นชานชาลา

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินสิงคโปร์ ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าปารีส สาย 14 ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินบาร์เซโลนา ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินไทเป ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานโตรอนโต ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินควังจู ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล กรุงเทพมหานคร ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินลอนดอน ประตูกั้นชานชาลา (Platform screen doors, PSDs) เป็นประตูที่กั้นระหว่างชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าและขบวนรถไฟฟ้า ส่วนใหญ่มักจะติดตั้งพร้อมกับวันเปิดเดินรถ หรือภายหลังจากนั้น ประตูกั้นชานชาลาแห่งแรกของโลก อยู่ที่สถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ซึ่งเปิดในปี ค.ศ. 1961.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและประตูกั้นชานชาลา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพลีลา

รงเรียนเทพลีลา (อักษรย่อ: ท.ล, T.L.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤษภาคม 2505 โดยดำริของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 281 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและโรงเรียนเทพลีลา · ดูเพิ่มเติม »

โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)

รงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่บนเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย ทำหน้าที่ในการบริการขนส่งผู้โดยสารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชานเมืองเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบรางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อป้อนผู้โดยสารเข้าสู่โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และกรุงเทพมหานคร ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีอยู่แล้ว และยังจะสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ช่วงบางซื่อ–รังสิต และช่วงบางซื่อ–ตลิ่งชัน รวมสถานีกลางบางซื่อ ใช้งบประมาณในการก่อสร้างรวมทั้งหมด 99,840.4 ล้านบาท.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) · ดูเพิ่มเติม »

โครงการโฮปเวลล์

รงการโฮปเวลล์ หรือ โครงการระบบการขนส่งทางรถไฟยกระดับในกรุงเทพมหานคร (Bangkok Elevated Road and Train System - BERTS) เป็นโครงการก่อสร้างถนน ทางรถไฟ และรถไฟฟ้ายกระดับ บนพื้นที่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ดำเนินการโดยบริษัท โฮปเวลล์ (ประเทศไทย) ในเครือโฮปเวลล์โฮลดิงส์ บริษัทสัญชาติฮ่องกง ของนายกอร์ดอน วู โครงการก่อสร้างประกอบด้วย โครงสร้างยกระดับทางรถไฟขึ้นไปเหนือผิวการจราจร เพื่อลดจุดตัดกับทางรถยนต์ (Grade Crossing) เพื่อลดปัญหาการให้รถยนต์ต้องหยุดรอรถไฟ ก่อสร้างคร่อมทางรถไฟที่มีอยู่ในปัจจุบัน ระยะทางทั้งสิ้น 60.1 กิโลเมตร ใช้เงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 80,000 ล้านบาท และให้ผลตอบแทนรายปี 30 ปี รวม 53,810 ล้านบาท โดยโฮปเวลล์จะได้รับสิทธิสร้างถนนยกระดับ เรียกเก็บค่าผ่านทาง คู่ขนานกับทางรถไฟยกระดับ และได้รับสัมปทานเดินรถบนทางรถไฟยกระดับด้วย และสามารถใช้ประโยชน์ในพื้นที่ใต้ทางรถไฟยกระดับ และอสังหาริมทรัพย์สองข้างทาง คิดเป็นเนื้อที่ประมาณ 600 ไร.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและโครงการโฮปเวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตราชเทวี

ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและเขตราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

เขตลาดกระบัง

ตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและเขตลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

เขตประเวศ

ตประเวศ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตศรีนครินทร์ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์ชุมชนชานเมือง แหล่งงานและการบริการเพื่อรองรับท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและเขตประเวศ · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Airport LinkSARLSuvarnabhumi Airport Rail Linkรถไฟฟ้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิรถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงค์รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศ (ประเทศไทย)รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Lineรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย Express Lineรถไฟฟ้าเชื่อมต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิสถานีท่าอากาศยานดอนเมืองแอร์พอร์ตลิงก์แอร์พอร์ตเรลลิงก์โครงการระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมสุวรรณภูมิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »