โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์

ดัชนี รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ยี่ห้อ Sunlong SLK6125CNG ที่สถานีสาทร รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ หรือสายช่องนนทรี-ราชพฤกษ์ เป็นระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือบีอาร์ที (BRT) สายนำร่องของกรุงเทพมหานคร และเป็นสายแรกของประเทศไทย เดินรถบนถนนนราธิวาสราชนครินทร์, ถนนพระรามที่ 3, สะพานพระราม 3 และถนนรัชดาภิเษก-ท่าพระ ระยะทาง 15.9 กิโลเมตร มีจุดจอดรับส่งผู้โดยสาร 12 สถานี โดยจัดช่องทางการเดินรถแยกจากช่องทางปกติบนพื้นถนนเดิมในทิศทางเดียวกัน ยกเว้นบนสะพานข้ามทางแยกและสะพานพระราม 3ที่เดินรถในช่องเดินรถมวลชน (high-occupancy vehicle/HOV lane) ร่วมกับรถยนต์ที่มีผู้โดยสารตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป และบริเวณทางแยกบางจุดที่ใช้ช่องทางร่วมกับรถทั่วไป โครงการนี้เริ่มขึ้นเมื่อปี..

14 ความสัมพันธ์: กรุงเทพมหานครระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครรายชื่อเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพรถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ดรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้าสายสีฟ้ารถไฟฟ้าสายสีเทาสถานีช่องนนทรีสถานีสาทรเขตธนบุรี

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (Bangkok Mass Transit, BMT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร (กทม., BMA) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด (KT) โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบรถไฟฟ้ามหานคร ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) โดยระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษ.

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

การเดินรถโดยสารประจำทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี และนครปฐม) แบ่งเป็นเส้นทางรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ มีทั้งหมด 8 เขตการเดินรถ จำนวน 126 เส้นทาง, เส้นทางรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ จำนวน 115 เส้นทาง และเส้นทางที่มีรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ และรถโดยสารประจำทางร่วมบริการ ให้บริการร่วมกัน จำนวน 26 เส้นทาง รวมทั้งหมด 216 เส้นทาง โดยเริ่มให้บริการประจำวัน ตั้งแต่ราว 02:30-05:00 น. และยุติการให้บริการประจำวัน ตั้งแต่ราว 21:00-01:00 น. นอกจากนี้ ยังมีรถให้บริการตลอดคืน ซึ่งจะคิดค่าธรรมเนียมเพิ่มจากปกต.

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และรายชื่อเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ยี่ห้อ Sunlong SLK6125CNG ที่สถานีสาทร รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ หรือสายช่องนนทรี-ราชพฤกษ์ เป็นระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือบีอาร์ที (BRT) สายนำร่องของกรุงเทพมหานคร และเป็นสายแรกของประเทศไทย เดินรถบนถนนนราธิวาสราชนครินทร์, ถนนพระรามที่ 3, สะพานพระราม 3 และถนนรัชดาภิเษก-ท่าพระ ระยะทาง 15.9 กิโลเมตร มีจุดจอดรับส่งผู้โดยสาร 12 สถานี โดยจัดช่องทางการเดินรถแยกจากช่องทางปกติบนพื้นถนนเดิมในทิศทางเดียวกัน ยกเว้นบนสะพานข้ามทางแยกและสะพานพระราม 3ที่เดินรถในช่องเดินรถมวลชน (high-occupancy vehicle/HOV lane) ร่วมกับรถยนต์ที่มีผู้โดยสารตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป และบริเวณทางแยกบางจุดที่ใช้ช่องทางร่วมกับรถทั่วไป โครงการนี้เริ่มขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และรถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ ในเมืองกูรีตีบา ประเทศบราซิล เป็นระบบแรกที่มีของรถด่วนพิเศษที่มีแห่งแรกในโลก รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือ บีอาร์ที เป็นระบบขนส่งมวลชนรูปแบบหนึ่งที่ใช้รถโดยสาร ให้บริการเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้นจากรถโดยสารประจำทางทั่วไป โดยพัฒนารูปแบบการเดินรถ ตัวรถโดยสาร ตารางการเดินรถ ระบบขนส่งอัจฉริยะ และที่สำคัญคือจะมีช่องทางวิ่งแยกออกมาจากถนนปกติเป็นช่องทางเฉพาะ โดยมีจุดมุ่งหมายให้มีคุณภาพของบริการเทียบเท่ากับระบบขนส่งมวลชนระบบราง ในความเร็วและความจุผู้โดยสารที่เทียบเท่ากับระบบรถไฟฟ้ารางเบา ในขณะที่ต้นทุนการก่อสร้างและการเดินรถโดยสารประจำทางที่ประหยัดกว่า ทั้งยังสามารถจัดเส้นทางการเดินรถได้ยืดหยุ่นมากกว่าระบบราง Select Bus Service website, NY Metropolitan Transit Authority.

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด หรือ รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร เป็นโครงการก่อสร้างระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ (BRT) ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 7 สถานี เกิดแนวคิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายหมอชิต-ปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

250px รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นแผนงานโครงข่ายระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือบีอาร์ที (BRT) ที่ภาครัฐพยายามนำมาใช้เสริมโครงข่ายระบบขนส่งมวลชน เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรและพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะโดยเฉพาะระบบรถประจำทาง ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จัดทำโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กรุงเทพมหานครได้เปิดให้บริการ รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ ตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 (จากกำหนดเดิมในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) โดยโครงการสายอื่นนั้นยังอยู่ในขั้นตอนการวางแผน.

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีฟ้า

รถไฟฟ้าสายสีฟ้า (ดินแดง-สาทร) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล..

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และรถไฟฟ้าสายสีฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีเทา

รถไฟฟ้าสายสีเทา (วัชรพล-พระโขนง-สะพานพระราม 9-ท่าพระ) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล..

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และรถไฟฟ้าสายสีเทา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีช่องนนทรี

นชลาสถานีช่องนนทรี สถานีช่องนนทรี เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับคร่อมคลองช่องนนทรี เหนือถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ในพื้นที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านธุรกิจถนนสาทรและสีลม เป็นจุดเชื่อมต่อกับรถโดยสารด่วนพิเศษ (Bangkok BRT) สายสาทร-ราชพฤกษ์ ที่สถานีสาทร.

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และสถานีช่องนนทรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสาทร

นีสาทร เป็นสถานีรถโดยสารด่วนพิเศษในเส้นทางรถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ บนถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ในพื้นที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านธุรกิจถนนสาทรและสีลม เป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้าสายสีฟ้า ที่สถานีช่องนนทรี.

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และสถานีสาทร · ดูเพิ่มเติม »

เขตธนบุรี

ตธนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์และเขตธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ สายช่องนนทรี-ราชพฤกษ์สถานีราชพฤกษ์สถานีวัดดอกไม้สถานีวัดด่านสถานีวัดปริวาสสถานีสะพานพระราม 3สถานีสะพานพระราม 9สถานีอาคารสงเคราะห์สถานีถนนจันทน์สถานีนราราม 3สถานีเจริญราษฎร์สถานีเทคนิคกรุงเทพ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »