เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รถถัง

ดัชนี รถถัง

รถถัง Mark IV รถถัง เป็นยานพาหนะต่อสู้หุ้มเกราะติดตีนตะขาบที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ในการรบที่แนวหน้าซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างความคล่องตัว การรุก และการป้องกัน อำนาจการยิงของมันมาจากปืนหลักขนาดใหญ่ของมันที่ติดตั้งอยู่บนป้อมส่วนบนที่หมุนได้พรัอมกับมีปืนกลติดตั้งอยู่เพื่อเป็นอาวุธรอง ในขณะที่เกราะขนาดหนักและความสามารถในการเคลื่อนที่ของมันเป็นสิ่งที่คอยปกป้องชีวิตของพลประจำรถ นั่นทำให้มันสามารถทำงานหลักของทหารราบยานเกราะได้ทั้งหมดในสมรภูมิ รถถังเริ่มนำมาใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ครั้งแรกโดยอังกฤษ ได้แก่ Mark IV tank เพื่อใช้มันสนับสนุนทหารราบในการฝ่าทะลุแนวสนามเพลาะ พวกมันถูกใช้ในยุทธการซอมม์ในจำนวนน้อยมาก ในช่วงที่มันถูกสร้างขึ้นมันถูกเรียกว่ายานลำเลียงน้ำเพื่อปกปิดวัตถุประสงค์การใช้งานจริงของมัน คำว่า"แท็งค์" (tank) นั้นมาจากคำว่า "Water tank" ที่แปลว่าถังน้ำ ด้วยวัตถุประสงค์หลักเพื่อสนับสนุนทหารราบมันจึงทำความเร็วสูงสุดได้เพียง 5-6 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การมาของ Mark IV tank ทำให้ฝ่ายเยอรมันพัฒนารถถังของตนเอง ได้แก่ A7V เพื่อตอบโต้ฝ่ายอังกฤษ รถถัง A7V ฝรั่งเศสเป็นชาติแรกในโลกที่พัฒนารถถังที่ติดตั้งปืนบนป้อมซึ่งหมุนได้ 360 องศาได้แก่ Renault FT และใช้พลรถถังเพียง 2 คน ในการควบคุมรถถัง ต่างจาก Mark IV tank ของอังกฤษที่ต้องใช้พลรถถังถึง 8 คนในการควบคุม และ A7V ของเยอรมนีที่ใช้พลรถถัง 18 คน การพัฒนาในสงครามของมันเกิดขึ้นในสงครามโลกครั้งที่สองทำให้มันเป็นแนวคิดหลักของสงครามยานเกราะซึ่งอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ และเป็นบทบาทหลักในสงครามโลกครั้งที่ 2 สหภาพโซเวียตได้นำรถถังที-34 มาใช้ มันเป็นหนึ่งในรถถังที่ดีที่สุดในสงครามและเป็นต้นตำรับของรถถังหลัก เยอรมนีใช้การโจมตีสายฟ้าแลบ ซึ่งเป็นยุทธวิธีในการใช้กองกำลังรถถังเป็นหลักโดยมีปืนใหญ่และการยิงทางอากาศเข้าสนับสนุนเพื่อเจาะทะลุแนวป้องกันของศัตรู ปัจจุบันรถถังนั้นไม่ปฏิบัติการเพียงลำพังนัก พวกมันจะรวมกันเป็นหน่วยซึ่งจะมีทหารราบให้การสนับสนุน ทหารเหล่านั้นจะทำงานร่วมกับรถสายพานลำเลียงพลหรือยานพาหนะต่อสู้ทหารราบ รถถังยังถูกใช้ร่วมกับการสอดแนมหรือการโจมตีภาคพื้นดินทางอากาศอีกด้วย เนื่องมาจากความสามารถและความหลากประโยชน์ของรถถังประจัญบานที่ถูกมองว่าเป็นกุญแจสำคัญของกองทัพยุคใหม่ อย่างไรก็ตามในสงครามนอกกรอบได้นำข้อสงสัยมาสู่กองพลยานเกราะ ไจโรสโคปถูกนำมาใช้เพื่อสร้างความเสถียรให้กับปืนใหญ่ ทำให้มันเล็งได้อย่างแม่นยำและยิงได้ในขณะเคลื่อนที่ ปืนรถถังยุคใหม่ยังมีตัวลดความร้อนเพื่อลดการกระจายความร้อนที่เกิดจากการยิง มันจะช่วยลดควันที่เข้าไปในรถถังและบางครั้งก็ลดแรงถีบซึ่งจะเพิ่มความแม่นยำและอัตราการยิงให้มากขึ้น โดยทั่วไปแล้วการตรวจจับเป้าหมายจะใช้สายตามองเอาผ่านทางกล้องโทรทรรศน์ อย่างไรก็ตามมีบางครั้งที่ผู้บัญชาการรถถังจะเปิดฝาครอบด้านบนออกเพื่อมองไปรอบๆ ตัว ซึ่งจะเป็นการเพิ่มความระมัดระวังต่อสถานการณ์แต่ก็ทำให้เขาตกเป็นเป้าของพลซุ่มยิงได้ โดยเฉพาะเมื่อยู่ในป่าหรือเมือง แม้ว่าการพัฒนามากมายในการตรวจหาเป้าหมายจะเกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ แต่ข้อปฏิบัติดังกล่าวก็ยังถูกใช้กันอยู่ ในบางกรณีปืนกลเคียงที่อยู่ข้างปืนใหญ่ก็ถูกใช้เพื่อหาวิถีโค้งและระยะของเป้าหมาย ปืนกลนี้จะถูกติดตั้งบนแกนเดียวกับปืนใหญ่รถถัง และยิงกระสุนไปที่เป้าหมายเดียวกัน พลปืนจะติดตามการเคลื่อนไหวของกระสุนติดตามเมื่อมันพุ่งชนเป้าหมาย และเมื่อมันชนเป้าหมาย มันก็จะปล่อยแสงออกมาพร้อมกับควันหลังจากที่ปืนใหญ่ยิงออกไปแล้ว อย่างไรก็ตามมันก็มักถูกแทนที่ด้วยเลเซอร์หาระยะแทน รถถังยุคใหม่ยังมีกล้องมองกลางคืนและกล้องจับถวามร้อนเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำงานในตอนกลางคืน ในสภาพอากาศที่เลวร้าย และในกลุ่มควัน ความแม่นยำของรถถังยุคใหม่ได้ก้าวไปสู่จุดสูงสุดโดยระบบควบคุมการยิง ระบบนี้ใช้เลเซอร์หาระยะเพื่อระบุความห่างจากเป้าหมาย มันยังมีตัววัดแรงลมและตัวควบคุมความร้อนที่ปากกระบอก การที่เลเซอร์หาระยะสามารถมองหาเป้าหมายสองเป้าได้พร้อมกับทำให้มันสามารถคำนวณการเคลื่อนไหวของเป้าหมายได้ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกรวบรวมเข้ากับการเคลื่อนไหวของรถถังและการเคลื่อนที่ของวัตถุในอากาศเพื่อคำนวณการไต่ระดับและจุดเล็งที่มันจะเข้าชนเป้าหมาย โดยปกติแล้วรถถังจะมีปืนขนาดเล็กกว่าเพื่อป้องกันตัวในระยะใกล้ซึ่งการยิงด้วยปืนใหญ่นั้นจะไร้ประสิทธิภาพ อย่างการจัดการกับทหารราบ ยานพาหนะขนาดเบา หรือเครื่องบิน อาวุธรองมักจะเป็นปืนกลเอนกประสงค์ที่อยู่ข้างปืนใหญ่และปืนกลต่อต้านอากาศยานที่อยู่ด้านบนสุดของป้อมปืน อาวุธเหล่านี้มักถูกดัดแปลงเพื่อใช้โดยทหารราบ และใช้กระสุนที่เหมือนๆ กัน.

สารบัญ

  1. 83 ความสัมพันธ์: ชาลเลนเจอร์ 1พ.ศ. 2459พ.ศ. 2511พ.ศ. 2536พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)พัลลภ ปิ่นมณีพันเซอร์กบฏวังหลวงกบฏทหารนอกราชการกบฏนายสิบกระสุนส่องวิถีกันแทงก์การบุกครองโปแลนด์การล้อมวอร์ซอ (1939)การปฏิวัติเซาร์กิกะวิงมิชาเอิล วิทท์มันน์มนูญกฤต รูปขจรยาโรสลาฟล์ยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)ยุทธวิธีแบบนโปเลียนรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549ราชอาณาจักรอิตาลีรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรถถัง จิตรเมืองนนท์รถถังหลักวินัย ทองสองสมรภูมิบ้านร่มเกล้าสุรยุทธ์ จุลานนท์สงัด ชลออยู่สงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอัล-คาลิดฮาตส์ออฟไอเอิร์น 4ฮีโร่แอนด์เจเนอรัลจูกัดเหลียงทหารทหารม้าที-26ที-34ที-80ที-84ดวงจันทร์ของกาลิเลโอคริสต์สหัสวรรษที่ 2ครุยเซอร์ เอ็มเค 2ครุยเซอร์ เอ็มเค Iครุยเซอร์ เอ็มเค III... ขยายดัชนี (33 มากกว่า) »

ชาลเลนเจอร์ 1

อฟวี 4030/4 ชาลเลนเจอร์ 1 (FV4030/4 Challenger 1) เป็นรถถังที่เคยประจำการอยู่ในกองทัพสหราชอาณาจักรระหว่างปี..

ดู รถถังและชาลเลนเจอร์ 1

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รถถังและพ.ศ. 2459

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รถถังและพ.ศ. 2511

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รถถังและพ.ศ. 2536

พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)

4 ทหารเสือ (จากซ้าย) พ.อ.พระยาทรงสุรเดช, พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา, พ.อ.พระยาฤทธิอัคเนย์ และ พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ พันเอก พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) (12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รถถังและพระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)

พัลลภ ปิ่นมณี

ล.อ.พัลลภ ปิ่นมณี พลเอก พัลลภ ปิ่นมณี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองผู้อำนวยการกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ฝ่ายการเมือง (กอ.รมน.) และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รถถังและพัลลภ ปิ่นมณี

พันเซอร์

Leopard 2A5 ของ กองทัพเยอรมัน พันเซอร์ 3ในช่วงยุทธการที่กรีซ, เมษายน ค.ศ. 1941 แพนเซอร์ (Panzer) เป็นคำศัพท์เยอรมันที่มีความหมายว่า ยานเกราะ นอกจากนี้ยังได้ใช้โดยการเรียกภาษาเยอรมันเป็นคำย่อซึ่งหมายถึง "ยานเกราะรบ" หรือรถถัง คำศัพท์เต็มเยอรมันสำหรับ"ยานพาหนะหุ้มเกราะรบ"คือ พันเซอร์คัมพ์วาเกิน (Panzerkampfwagen) คำว่า พันเซอร์ เป็นที่ใช้บางครั้งบางในภาษาอังกฤษและอื่นๆ เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่นๆในเรื่องการทหารเยอรมัน หมวดหมู่:ทหาร.

ดู รถถังและพันเซอร์

กบฏวังหลวง

กบฏวังหลวง ชื่อเรียกกบฏที่เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

ดู รถถังและกบฏวังหลวง

กบฏทหารนอกราชการ

วามเสียหายหน้าสถานีวิทยุกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ จากการถูกระดมยิงด้วยปืนกล 93 ขนาด 12.7 มม. (0.50 นิ้ว) บนป้อมรถสายพาน M113 กบฏทหารนอกราชการ หรือ กบฏ 9 กันยา หรือ กบฏสองพี่น้อง เป็นความพยายามรัฐประหารเมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ดู รถถังและกบฏทหารนอกราชการ

กบฏนายสิบ

กบฏนายสิบ เป็นแผนที่จะเกิดขึ้นในเวลา 03.00 น. วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2478 หลังการสละราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) แ้ล้ว และเสด็จไปประทับยังประเทศอังกฤษ เมื่อนายทหารชั้นประทวนในกองพันต่าง ๆ นำโดย สิบเอกสวัสดิ์ มหะมัด ได้รวมตัวกันก่อการเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยหมายจะสังหารนายทหารและบุคคลสำคัญต่าง ๆ ในกองทัพบกและรัฐบาลหลายคน โดยเฉพาะหลวงประดิษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค์) ให้จับตายเท่านั้น และเมื่อลงมือจริงต้องสามารถจับ พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรี และ พันโทหลวงพิบูลสงคราม (จอมพลป.

ดู รถถังและกบฏนายสิบ

กระสุนส่องวิถี

ปืนกลบราวนิง เอ็ม 2 ที่บรรจุกระสุนแล้ว ปลายหัวกระสุนส่องวิธีถูกทาสีแดงเพื่อแยกประเภทออกจากกระสุนธรรมดา กระสุนส่องวิถีคือกระสุนชนิดพิเศษที่ฐานใต้หัวกระสุนถูกดัดแปลงให้รองรับสารเคมีที่ก่อให้เกิดประกายไฟ สารเคมีจะลุกไหม้ทำให้เกิดแสงจ้าเมื่อกระสุนถูกยิงออกไป ทำให้ผู้ยิงรู้ถึงวิถีกระสุน ว่ากระทบกับเป้าหมายหรือไม่ เพื่อปรับการเล็งให้เที่ยงตรง โดยทั่วไปแล้วกระสุนส่องวิถีจะถูกบรรจุแทรกกับกับกระสุนทั่วไปทุกๆ สี่ถึงหกนัด เพื่อทำการส่องวิถีในการรบเวลากลางคืน แต่บางครั้งหัวหน้าชุดยิงอาจจะบรรจุกระสุนส่องวิถีทั้งซองเพื่อชี้เป้าให้สมาชิกชุดยิงคนอื่นๆ ทำการระดมยิงใส่เป้าหมาย คนที่ถูกกระสุนส่องวิถียิงใส่จะเห็นว่ากระสุนแล่นมาด้วยความเร็วต่ำจากระยะไกล แต่เมื่อกระสุนแล่นเข้ามาใกล้ขึ้น ก็ดูเหมือนว่าความเร็วของกระสุนจะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย อย่างไรก็ตาม มุมมองของผู้ถูกยิงนั้นเป็นภาพลวงต.

ดู รถถังและกระสุนส่องวิถี

กันแทงก์

RX-75-4 กันแทงก์ (ญี่ปุ่น:ガンタンク;อังกฤษ:Guntank)เป็นหุ่นยนต์ที่ปรากฏตัวในการ์ตูนญี่ปุ่นอะนิเมะซีรีส์โมบิลสูทกันดั้ม ออกแบบโดยคุนิโอะ โอคาวาระ รถปืนต่อต้านอากาศยานรุ่น87ของกองกำลังป้องกันตัวเองของญี่ปุ่นนั้น มีชื่อเล่นที่ทหารเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่ากันแทงก์ กันแทงก์เป็นหนึ่งในโมบิลสูทรุ่นแรกที่พัฒนาในโปรเจกต์Vของสหพันธ์โลกเพื่อใช้ต่อสู้กับโมบิลสูทของอาณาจักรซีอ้อน โดยเดิมทีนั้นออกแบบไว้เป็นรถถังสำหรับต่อสู้กับโมบิลสูท จึงมีลักษณะคล้ายยานพาหนะมากกว่ามนุษย์โดยมีท่อนล่างเป็นตีนตะขาบแทนขาและส่วนมือที่เป็นป็อบมิสไซล์ลันเชอร์แทนมือจับแบบมนุษย์ ซึ่งรูปแบบของกันแทงก์นี้ในภายหลังเรียกว่าโมบิลวิเคิล กันแทงก์มีอาวุธหลักเป็นปืนใหญ่ไร้แรงสะท้อนประทับบนบ่าทั้งสองข้างสำหรับใช้ยิงสนับสนุนในระยะไกล โครงสร้างของกันแทงก์เป็นระบบคอร์บล็อกซึ่งใช้ยานขับไล่ FF-X7 คอร์ไฟเตอร์ เป็นห้องควบคุมและสามารถบินหนีออกมาได้ในยามคับขัน ลักษณะพิเศษของกันแทงก์ก็คือต้องใช้นักบินช่วยกันบังคับสองคน โดยพลปืนจะควบคุมระบบอาวุธจากห้องควบคุมแบบมองออกไปภายนอกได้ที่ส่วนหัวและพลขับจะควบคุมการเคลื่อนไหวของกันแทงก์จากห้องควบคุมที่ลำตัว ซึ่งในภายหลังนั้นกันแทงก์ได้รับการดัดแปลงให้สามารถควบคุมได้ด้วยนักบินคนเดียว กันแทงก์ได้ติดตั้งท่อขับดันเพื่อให้สามารถเคลื่อนไหวในอวกาศได้แม้จะไม่ดีนัก ส่วนลำตัวของกันแทงก์ไม่สามารถหันเปลี่ยนทิศทางได้ การปรับมุมยิงของปืนใหญ่จึงต้องวิ่งเปลี่ยนตำแหน่งเท่านั้น มีกันแทงก์เพียงหนึ่งเครื่องเท่านั้นที่ไม่ได้ถูกทำลายจากการโจมตีหน่วยรบของซีอ้อนที่ไซด์ 7 ภายใต้การบัญชาการของชาร์ อัซนาเบิ้ล ซึ่งกันแทงก์เครื่องนี้ได้ประจำการกับยานชั้นเปกาซัส ไวต์เบส โดยมีพลทหาร ริว โฮเซ และพลเรือน ฮายาโตะ โคบายาชิ เป็นนักบิน ในภาคที่ฉายทางโทรทัศน์นั้นกันแทงก์ถูกทำลายในการสู้รบที่ปราการอวกาศ อบาโออากู แต่ในฉบับหนังตัดต่อใหม่ ยานไวต์เบสได้กันแคนน่อนเครื่องที่สองเข้าประจำการแทนกันแทงก์หลังจากออกเดินทางจากจาบุโร.

ดู รถถังและกันแทงก์

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ดู รถถังและการบุกครองโปแลนด์

การล้อมวอร์ซอ (1939)

การปิดล้อมวอร์ซอ คือส่วนหนึ่งของการรบในการบุกครองโปแลนด์เพื่อชิงกรุงวอร์ซอ เมืองหลวงของโปแลนด์ ระหว่างกองทัพโปแลนด์ประจำกรุงวอร์ซอ (Armia Warszawa) กับกองทัพเยอรมัน การรบเริ่มขึ้นเมื่อกองทัพอากาศเยอรมัน (Luftwaffe) เริ่มทำการทิ้งระเบิดในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ.

ดู รถถังและการล้อมวอร์ซอ (1939)

การปฏิวัติเซาร์

การปฏิวัติเซาร์ (Saur Revolution, Sawr Revolution; ดารี: إنقلاب ثور; د ثور انقلاب‎) เป็นการปฏิวัติที่นำโดยพรรคประชาธิปไตยประชาชนอัฟกานิสถาน (PDPA) เพื่อโค่นล้มรัฐบาลของโมฮัมเหม็ด ดาวูด ข่าน เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 27–28 เมษายน ค.ศ.

ดู รถถังและการปฏิวัติเซาร์

กิกะวิง

กะวิง (Giga Wing) เป็นเกมยานยิงฉายด้านบนที่ได้รับการพัฒนาโดยทาคุมิคอร์ปอเรชั่น และจัดทำโดยแคปคอม ด้วยบอร์ดซีพีซิสเต็ม II ในระบบอาเขต ก่อนที่จะแปลงลงสู่ระบบดรีมแคสต์ในเวลาต่อม.

ดู รถถังและกิกะวิง

มิชาเอิล วิทท์มันน์

มิชาเอิล วิทท์มันน์ (Michael Wittmann, 22 เมษายน 1914 – 8 สิงหาคม 1944) เป็นทหารชาวเยอรมันในหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส,เป็นผู้บัญชาการรถถังระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.เขาได้รับดำรงตำแหน่งในหน่วยเอสเอสคือ SS-Hauptsturmführer (ร้อยเอก) และได้รับเหรียญกล้าหาญกางเขนเหล็กระดับชั้นอัศวิน.

ดู รถถังและมิชาเอิล วิทท์มันน์

มนูญกฤต รูปขจร

ลตรี มนูญกฤต รูปขจร อดีตประธานวุฒิสภาและอดีต..ระบบสัดส่วนพรรคประชาธิปัตย์ เดิมมีชื่อว่า "มนูญ" เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รถถังและมนูญกฤต รูปขจร

ยาโรสลาฟล์

รสลาฟล์ (Yaroslavl Ярославль) เป็นเมืองเอกศูนย์กลางการปกครองของเขตปกครองย่อย ยาโรสลาฟโอบลาสต์ (Yaroslavl Oblast Яросла́вская о́бласть) ในประเทศรัสเซีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือห่างจากกรุงมอสโกไปราว 258 กิโลเมตร โดยมีแม่น้ำวอลกาไหลผ่านกลางเมือง มีประชากรราวๆเกือบหกแสนคนและนับเป็นเมืองใหญ่ที่มีประชากรเยอะที่สุดในกลุ่มเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำวอลกาตอนบนก่อนจะถึงเมืองนิซนีนอฟโกรอด มีชื่อเสียงในด้านการเป็นเมืองวัฒนธรรม เมืองท่องเที่ยว และเคยเป็นเมืองท่าค้าขายทางน้ำรวมถึงเป็นฐานอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศรัสเซียในอดีต ยาโรสลาฟล์นั้นถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของรัสเซีย ได้รับการบันทึกการก่อตั้งตั้งแต่ในสมัยของเคียฟรุส ในปี..

ดู รถถังและยาโรสลาฟล์

ยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)

ทธการเคียฟครั้งที่หนึ่ง เป็นยุทธการที่เป็นการปิดล้อมทหารโซเวียตขนาดใหญ่โดยเยอรมันในแถบรอบเมืองเคียฟในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งการล้อมนี้ถือว่ายาวที่สุดในประวัติศาสตร์การรบ (จากจำนวนทหาร) ปฏิบัติการเริ่มต้นตั้งแต่ 7 สิงหาคม ถึง 26 กันยายน..

ดู รถถังและยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)

ยุทธวิธีแบบนโปเลียน

ทธวิธีแบบนโปเลียน อธิบายแบบแผนกลยุทธ์ในสนามรบที่ถูกใช้งานโดยกองทัพของชาติต่างๆตั้งแต่ช่วงปลายศตวรรษที่ 18 จนถึงช่วงที่มีการประดิษฐ์และนำปืนไรเฟิ่ลคาบศิลามาใช้งานในช่วงศตวรรษที่ 19 ยุทธวิธีแบบนโปเลียนถูกบรรยายลัษณะไว้ว่า มีการฝึกซ้อมทหารที่หนักหน่วง, การเคลื่อนที่ในสนามรบรวดเร็ว, สนธิกำลังเข้าตีระหว่างทหารราบ, ทหารม้า และปืนใหญ่สนาม (artillery), ปืนใหญ่ (cannon) มีส่วนเกี่ยวข้องน้อย, การยิงด้วยปืนคาบศิลาในระยะใกล้ และการเข้าตะลุมบอนด้วยดาบปลายปืน จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ได้รับการพิจารณาโดยนักประวัติศาสตร์การทหารเป็นจำนวนมากตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันว่า เป็นผู้ชำนาญการสูงสุดในรูปแบบการสงครามลักษณะนี้ ยุทธวิธีแบบนโปเลียนยังคงถูกใช้งานต่อเนื่องเรื่อยมาแม้จะเป็นช่วงที่ไม่สอดคล้องกับเทคโนโลยีด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ซึ่งได้รับการพัฒนาไปมากแล้วก็ตาม นำมาสู่ฆ่าฟันกันล้มตายอย่างมากมายมหาศาลในระหว่างช่วงสงครามกลางเมืองอเมริกา, สงครามออสโตร-ปรัสเซีย และ สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซี.

ดู รถถังและยุทธวิธีแบบนโปเลียน

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490

รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน..

ดู รถถังและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494

รัฐประหารในประเทศไท..

ดู รถถังและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2494

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500

หตุการณ์ขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ นำคณะนักศึกษาเข้าพบจอมพล ป. ที่ทำเนียบรัฐบาล รัฐประหาร 16 กันยายน..

ดู รถถังและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ดู รถถังและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ.

ดู รถถังและราชอาณาจักรอิตาลี

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ดู รถถังและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รถถัง จิตรเมืองนนท์

รถถัง จิตรเมืองนนท์ (ชื่อเล่น: บ่าว; 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 –) เป็นนักมวยไทยชาวไทย ที่มีผลงานการแข่งขันในระดับโลก โดยได้รับการกล่าวว่ามีความทรหด และการโจมตีที่รุนแรง.

ดู รถถังและรถถัง จิตรเมืองนนท์

รถถังหลัก

ลพเพิร์ด 2เอ5ของกองทัพบกเยอรมัน รถถังหลัก (Main Battle Tank: MBT) คือ รถถังที่หลักที่เป็นหัวหอกในการรบ องค์ประกอบที่สำคัญคือ อำนาจการยิง(ความแม่นยำ อำนาจการทำลาย ความรวดเร็วในการใช้อาวุธ) ความคล่องตัว และการป้องกันตนเอง(เกราะ) โดยรถถังหลักจะต้องเป็นรถถังที่มีน้ำหนักตั้งแต่ 37-65 ตันขึ้นไป และสามารถติดปืนใหญ่ตั้งแต่ขนาด 90-125 มม.

ดู รถถังและรถถังหลัก

วินัย ทองสอง

ลตำรวจเอก วินัย ทองสอง รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติและนายตำรวจราชสำนัก อดีตรองจเรตำรวจแห่งชาติ (สบ9) อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.

ดู รถถังและวินัย ทองสอง

สมรภูมิบ้านร่มเกล้า

มรภูมิบ้านร่มเกล้า หรือ ยุทธการบ้านร่มเกล้า เป็นการรบระหว่างประเทศไทยและประเทศลาว ณ บริเวณบ้านร่มเกล้า ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รถถังและสมรภูมิบ้านร่มเกล้า

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.

ดู รถถังและสุรยุทธ์ จุลานนท์

สงัด ชลออยู่

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รถถังและสงัด ชลออยู่

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู รถถังและสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ดู รถถังและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

อัล-คาลิด

อัล-คาลิด (Al-Khalid) และเอ็มบีที 2000 คือ รถถังหลักที่พัฒนาร่วมกันระหว่างจีนและปากีสถาน โดยปากีสถานจะผลิตใช้ในประเทศตัวเอง ส่วนจีนจะไม่มีการประจำการในประเทศตัวเองแต่จะเน้นการผลิตเพื่อส่งออกภายใต้ชื่อเอ็มบีที 2000.

ดู รถถังและอัล-คาลิด

ฮาตส์ออฟไอเอิร์น 4

ตส์ออฟไอรอน IV เป็นวิดีโอเกมสงครามกลยุทธ์พัฒนาและเผยแพร่โดย Paradox Interactive ปล่อยออกมาเมื่อ 6 มิถุนายน 2016ต่อ จากภาค Hearts of Iron III และชุดเกมHearts of Iron กลยุทธ์มุ่งเน้นไปที่สงครามโลกครั้งที่สองที่ช่วยให้ผู้เล่นที่จะใช้การควบคุมของประเทศใด ๆ ในโลกทั้งในปี 1936 หรือ 1939 และนำไปสู่ชัยชนะกลายเป็นมหาอำนาจในเวลานั้น (ฝ่ายอักษะ,สัมพันธมิตรและองค์การคอมมิวนิสต์สากล).

ดู รถถังและฮาตส์ออฟไอเอิร์น 4

ฮีโร่แอนด์เจเนอรัล

ีโร่แอนด์เจเนอรัล (Heroes & Generals) เป็นเกมออนไลน์แนวมุมมองบุคคลที่หนึ่งเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สอง ผลิตและพัฒนาโดย Reto-Moto ของเดนมาร์ก.

ดู รถถังและฮีโร่แอนด์เจเนอรัล

จูกัดเหลียง

ูกัดเหลียง ภาพวาดจากหนังสือ "Wan hsiao tang-Chu chuang -Hua chuan"(晩笑堂竹荘畫傳) จูกัดเหลียง (Zhuge Liang) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ขงเบ้ง (孔明; Kǒngmíng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก นอกจากนี้ยังมีฉายาอื่นเช่น มังกรหลับ (臥龍先生) หรือ (伏龍) เป็นนักการเมืองสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นของจีน หรือในสมัยหลังราชวงศ์ฮั่นหากกล่าวอ้างอิงตามประวัติศาสตร์ จูกัดเหลียงดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาด้านการยุทธนาการของพระเจ้าเล่าปี่ในตำแหน่งสมุหนายกและผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งจ๊กก๊ก รวมทั้งมีความสามารถในด้านการเมือง การทูต นักปราชญ์ วิศวกรและได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้นที่สำคัญ โดยคิดค้นหมั่นโถว หน้าไม้กล โคมลอยและระบบชลประทาน ศิลปินมักวาดภาพให้จูกัดเหลียงสวมชุดยาวแบบนักปราชญ์ สวมหมวก และถือพัดขนนกกระเรียน (บ้างก็ว่า ขนนก ขนห่าน) อยู่ในมือเสมอ โดยขงเบ้งเป็นชื่อรอง เป็นบุตรชายคนที่ 2 ของ จูเก๋อกุย ขุนนางตงฉินของพระเจ้าเหี้ยนเต้ โดยขงเบ้งมีพี่ชาย และน้องชายอย่างละคน คือ จูเก๋อกึ๋น พี่ชาย เป็นที่ปรึกษาของง่อก๊ก และน้องชาย จูเก๋อจิ๋น ขงเบ้ง เป็นผู้ฉลาดปราดเปรื่อง รอบรู้สรรพวิชาอย่างแตกฉาน ทั้งวิทยาศาสตร์ โหราศาสตร์ การเมืองการปกครอง การทูต และแม้กระทั่งไสยศาสตร์ มีอุปนิสัยใจคอเยือกเย็น มีเมตตา ชอบลองดีกับผู้ที่อวดโอ้ อุดมด้วยวาทะศิลป์ ใช้ชีวิตอยู่อย่างสงบกับชาวบ้าน ที่เชิงเขาโงลังกั๋ง โดยช่วยเหลือชาวบ้านในการทำนาต่าง ๆ จนเป็นที่นับถือของชาวบ้าน ขงเบ้งมักจะเสวนากับผู้รู้เสมอ ๆ โดยเพื่อนร่วมวงเสวนากับเขานั้นได้แก่ ชีซี สื่อกวงเหวียน เมิ่งกงเวย และซุยเป๋ง และขงเบ้งมักจะยกตัวเองเทียบกับขวันต๋งและงักเย สองยอดนักปราชญ์ยุคชุนชิวและราชวงศ์ฉิน ซึ่งเพื่อน ๆ มักแปลกใจที่ขงเบ้งกล้ายกตนเช่นนั้น มีแต่ชีซีเท่านั้น ที่เชื่อว่าไม่ได้เป็นการยกตนเกินเลยไปเลย ขงเบ้ง มาเป็นกุนซือให้เล่าปี่จากการได้รับคำแนะนำจากชีซี โดยเล่าปี่ต้องมาคาราวะขงเบ้งถึงกระท่อมไม้ไผ่ ที่เขาโงลังกั๋ง ถึง 3 ครั้ง 3 ครา เมื่อขงเบ้งอายุได้เพียง 26 แต่ระยะแรกนั้น ขงเบ้งมิได้เป็นที่ยอมรับของบรรดานายทหารจ๊กก๊ก รวมทั้งกวนอูและเตียวหุยด้วย แต่เมื่อขงเบ้งได้แสดงฝีมือให้ปรากฏด้วยการทลายทัพของโจโฉที่เนินพกบ๋องแล้ว ขงเบ้งก็กลายเป็นที่นับถือและเลื่องลือถึงความสามารถอันปราดเปรื่อง ขงเบ้ง ยามออกศึก จะบัญชาการการรบบนรถเลื่อน โดยมีหมวกและพัดขนนกเป็นของประจำตัว ขงเบ้งเป็นผู้รอบรู้สรรพวิชาอย่างถ่องแท้ มองจิตใจคนทะลุปรุโปร่ง ทำนายเหตุการณ์ล่วงหน้าได้แม่นยำ จึงสามารถล่วงรู้ได้ถึงสภาพดินฟ้าอากาศ สามารถเรียกลมได้ ผู้คนจึงกล่าวขานว่า เป็นผู้หยั่งรู้ดินฟ้า ขงเบ้ง เป็นกำลังสำคัญของแคว้นจ๊กก๊ก ภายหลังการสิ้นของเล่าปี่ กวนอู เตียวหุย ผู้นำคนสำคัญ โดยขงเบ้งมีฐานะเป็นเสนาบดีใหญ่ (เสิงเสี้ยน) ดูแลกิจการแทบทุกอย่างของจ๊กก๊ก เนื่องจากความอ่อนแอของพระเจ้าเล่าเสี้ยน (อาเต๊า) ขงเบ้งประสบความสำเร็จจากการยกทัพไปปราบเบ้งเฮ็ก อานารยชนที่แดนใต้ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเลยในการยกทัพบุกเหนือถึง 5 ครั้ง เพื่อพิชิตแคว้นวุยก๊ก บั้นปลายชีวิต ขงเบ้งเจ็บออด ๆ แอด ๆ เสมอ ๆ ขงเบ้งสิ้นอายุเมื่อได้ 54 ปี บนรถม้ากลางสนามรบ ก่อนสิ้นชีพ ขงเบ้งได้ตรวจดวงชะตาตนเองแล้วรู้ว่า ใกล้ดับ จึงทำพิธีต่อชะตาอายุ แต่พิธีต้องล่มกลางคัน เมื่ออุยเอี๋ยน ทหารคนหนึ่งวิ่งทะเล่อทะล่าเข้ามา จนตะเกียงน้ำมันดับลง.

ดู รถถังและจูกัดเหลียง

ทหาร

ทหารในประเทศเคนยา ทหาร หมายถึง ผู้มีหน้าที่ในเรื่องรบ นักรบ ผู้เป็นกำลังรักษาความมั่นคงและบำรุงประเทศและผู้เป็นกำลังรบและทำหน้าที่อื่นๆ ในยามสงคราม.

ดู รถถังและทหาร

ทหารม้า

ทหารม้าโปแลนด์ (Polish cavalry) ในปี 1938 ทหารม้าบนรถถัง ทหารม้า (Cavalry) หมายถึง ทหารที่จะต้องทำการรบ โดยใช้อาวุธต่างๆ เช่น ดาบ, ทวน หรือปืน บนหลังม้า แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็นใช้รถถังและพาหนะเคลื่อนที่เร็วแทน ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือสิ่งกำเนิดความเร็วอื่นๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่ารบที่มีความสำคัญและจำเป็นเหล่าหนึ่งสำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารราบ ทหารปืนใหญ่ ทหารช่าง ฯลฯ มีความแตกต่างกับ ทหารราบขี่ม้า (Light Horse) ทหารราบบรรทุกม้าหรือยานพาหนะใดๆ ก็ตาม จะใช้ม้าหรือยานพาหนะที่ว่าในการเดินทางเข้า-ออกสนามรบเท่านั้นในกรณีปกติ เครื่องหมายเหล่าเป็นรูปกระบี่ไขว้ประกอบกับเกือกม้าและรถถัง นอกจากนี้ เฮลิคอปเตอร์เอง ก็ถูกจัดว่าเป็นหน่วยทหารม้าเช่นกัน.

ดู รถถังและทหารม้า

ที-26

ที-26 (T-26) เป็นรถถังขนาดเบา มีใช้ในสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ทศวรรษ 1930 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สอง การออกแบบอาศัยต้นแบบจากรถถัง วิคเกอร์-6 ตัน ของอังกฤษ ซึ่งถือว่าเป็นแบบที่ประสบความสำเร็จกว้างขวางที่สุดแบบหนึ่งในทศวรรษ 1930.

ดู รถถังและที-26

ที-34

ที-34 (T-34) เป็นรถถังขนาดกลางของโซเวียต ที่ผลิตช่วง..

ดู รถถังและที-34

ที-80

right ที-80 (T-80) เป็นรถถังที่ใช้ระบบเครื่องยนต์กังหันแกสเป็นครั้งแรกของโลก เริ่มเข้าประจำการตั้งแต่ปี ค.ศ. 1976 T-80 รุ่นแรกใช้เครื่องยนต์แบบ GTD-1000 ขนาด 1000 แรงม้า รุ่นที่สองใช้ชื่อ T-80B เครื่องยนต์แบบ GTD- 1000TF ด้วยกำลังม้าเท่าเดิม และ รุ่นล่าสุด T-80U เครื่องยนต์แบบ GTD- 125.

ดู รถถังและที-80

ที-84

ที-84 (T-84) เป็นรถถังหลักของยูเครน พัฒนามาจากรถถังที-80ยูดี (T-80UD) ของสหภาพโซเวียต สร้างขึ้นเป็นครั้งแรกในปี..

ดู รถถังและที-84

ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ

แกนิมีด คัลลิสโต ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ (Galilean moons) คือดวงจันทร์บริวารทั้ง 4 ดวงของดาวพฤหัสบดีซึ่งถูกค้นพบโดยกาลิเลโอ กาลิเลอีช่วงเดือนมกราคม..

ดู รถถังและดวงจันทร์ของกาลิเลโอ

คริสต์สหัสวรรษที่ 2

ริสต์สหัสวรรษที่ 2 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม..1001 และจบลงในวันที่ 31 ธันวาคม..2000 ตามปฏิทินเกรกอเรียนUnited States Naval Observatory, (Washington, DC, June 14, 2011).

ดู รถถังและคริสต์สหัสวรรษที่ 2

ครุยเซอร์ เอ็มเค 2

right ครุยเซอร์ เอ็มเค II (Cruiser Mk II) เอ็มเค II หรือ เอ10 เป็นรถถังที่ได้รับการพัฒนามาจาก เอ็มเค I หรือ เอ9 โดยมีผู้ออกแบบคนเดียวกันคือ เซอร์ จอห์น คาร์เดน.

ดู รถถังและครุยเซอร์ เอ็มเค 2

ครุยเซอร์ เอ็มเค I

รุยเซอร์ เอ็มเค I (Cruiser Mk I) เอ็มเค I หรือ เอ9 เป็นรถถังลาดตระเวณขนาดกลางของสหราชอาณาจักร ได้รับการออกแบบโดย เซอร์ จอห์น คาร์เดน ในปี ค.ศ.

ดู รถถังและครุยเซอร์ เอ็มเค I

ครุยเซอร์ เอ็มเค III

right ครุยเซอร์ เอ็มเค III (Cruiser Mk III) เอ็มเค III หรือ เอ 13 เป็นรถถังลาดตระเวนที่ได้รับการพัฒนาเครื่องยนต์ให้มีกำลังแรงขึ้น เริ่มใช้งานในปี ค.ศ.

ดู รถถังและครุยเซอร์ เอ็มเค III

ซี-17 โกลบมาสเตอร์ 3

ซี-17 โกลบมาสเตอร์ 3 (C-17 Globemaster III) เป็นเครื่องบินขนส่งทางทหารขนาดใหญ่ ซี-17 นั้นถูกสร้างให้กับกองทัพอากาศสหรัฐตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 2523-2533 โดยแมคดอนเนลล์ ดักลาส เครื่องบินนั้นใช้ชื่อเหมือนกับเครื่องบินสองรุ่นก่อนหน้าที่ใช้โดยกองทัพอากาศสหรัฐเช่นกัน นั่นคือซี-74 โกลบมาสเตอร์และซี-124 โกลบมาสเตอร์ 2 ซี-17 ถูกใช้เพื่อทำการลำเลียงอยู่บ่อยครั้ง ทั้งทหารและสินค้า เพื่อส่งไปยังฐานปฏิบัติการหลักหรือฐานปฏิบัติการในแนวหน้าทั่วโลก มันมีความสามารถในการขนส่งหน่วยรบเข้าสู่สมรภูมิได้อย่างต่อเนื่องพร้อมกับดำเนินการส่งเสบียงต่อไป ซี-17ยังสามารถให้การลำเลียงทางยุทธวิธี อพยพคนเจ็บ และการปล่อยพลร่ม.

ดู รถถังและซี-17 โกลบมาสเตอร์ 3

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ.

ดู รถถังและปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ดู รถถังและประเทศจีน

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ดู รถถังและประเทศคาซัคสถาน

ปืนต่อสู้รถถัง

OQF 17 pdr. ขนาด 76.2 มม. (3 นิ้ว) ของประเทศอังกฤษ กองพลส่งทางอากาศที่ 82 ประเทศสหรัฐอเมริกา กำลังทำการยิงปืน OQF 17 pdr. ณ เมืองไนจ์เมเจน (Nijmegen) ประเทศเนเธอร์แลนด์ เพื่อสกัดการรุกคืบของกองกำลังฝ่ายเยอรมัน ในปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน ค.ศ.

ดู รถถังและปืนต่อสู้รถถัง

ปืนใหญ่อัตตาจร

ปืนใหญ่อัตตาจร (Self-propelled artillery) เป็นศัพท์ทางการทหาร หมายถึงพาหนะที่สามารถขับเคลื่อนตัวเองได้ และติดตั้งปืนใหญ่ ปืนฮาวอิตเซอร์ หรือเครื่องยิงจรวด สามารถเคลื่อนย้ายไปตามภูมิประเทศทุรกันดาร โดยอาจเป็นพาหนะล้อสายพานหรือล้อยาง ทำการยิงแล้วเคลื่อนย้ายที่ตั้งอย่างรวดเร็ว เพื่อป้องกันการตรวจจับสถานที่ตั้งและถูกโจมตีกลับ ปืนใหญ่อัตตาจรจะประจำการอยู่ในกองพันทหารปืนใหญ่ มีหน้าที่ยิงสนับสนุนทหารราบในแนวหน้าจากระยะไกล ปืนอัตตาจรสมัยใหม่อาจมีลักษณะคล้ายรถถัง และหุ้มเกราะขนาดกลาง บางรุ่นอาจติดตั้งปืนกลเพื่อป้องกันตนเองจากทหารราบของฝ่ายตรงข้าม.

ดู รถถังและปืนใหญ่อัตตาจร

นวมทอง ไพรวัลย์

องนวมทอง ไพรวัลย์ที่ญาติตั้งหน้าศพ จดหมายลาตายของนวมทอง ไพรวัลย์ ลงวันที่ 29 ตุลาคม 2549 นวมทอง ไพรวัลย์ (พ.ศ. 2489 – 31 ตุลาคม 2549) เป็นคนขับแท็กซี่ที่ฆ่าตัวตายด้วยการแขวนคอใต้สะพานลอยถนนวิภาวดีรังสิต หลังขับรถแท็กซี่พุ่งชนรถถังของคณะรัฐประหารนามคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า นวมทองเป็นพลเมืองไทยเพียงคนเดียวที่ประกาศตนต่อสาธารณชนว่า ได้พยายามกระทำอัตวินิบาตกรรม เพื่อประท้วงรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.

ดู รถถังและนวมทอง ไพรวัลย์

แบทแมน บีกินส์

แบทแมน บีกินส์ (อังกฤษ: Batman Begins) คือ ภาพยนตร์ชุดแบทแมนลำดับที่ 5 เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2548 กำกับโดย คริสโตเฟอร์ โนแลน นำแสดงโดย คริสเตียน เบล, ไมเคิล เคน, เลียม นีสัน, แคที โฮล์มส์, แกรี โอลด์แมน, ซิลเลียน เมอร์ฟี, มอร์แกน ฟรีแมน, ทอม วิลคินสัน, Rutger Hauer และเค็ง วะตะนะเบะ เนื้อเรื่องของภาพยนตร์แบทแมนภาคนี้เป็นอิสระจากภาพยนตร์ชุดแบทแมนที่สร้างมาก่อนหน้าโดยสิ้นเชิง โดยมีโครงเรื่องที่กล่าวถึงจุดกำเนิดของตัวละครแบทแมน ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากเส้นเรื่องของหนังสือการ์ตูนชุดแบทแมนดั้งเดิม เช่น แบทแมน: เดอะแมนฮูฟอลส์ (Batman: The Man Who Falls) แบทแมน: เยียร์วัน (Batman: Year One) และ แบทแมน: เดอะลองฮัลโลวีน (Batman: The Long Halloween) ที่มาของภาพยนตร์เรื่องนี้ มาจากความคิดของคริสโตเฟอร์ โนแลน และเดวิด เอส.

ดู รถถังและแบทแมน บีกินส์

แฟร์ไชลด์รีพับลิค เอ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2

อ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2 (A-10 Thunderbolt II) เอ-10 บินครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม..

ดู รถถังและแฟร์ไชลด์รีพับลิค เอ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันตก (Western Front) คือเขตสงครามหลักในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งตั้งแต่เดือนสิงหาคม..

ดู รถถังและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

โทมาฮอว์ก (ขีปนาวุธ)

ีจีเอ็ม-109 โทมาฮอว์ก (BGM-109 Tomahawk) เป็นขีปนาวุธร่อนนำวิถีระยะไกล ความเร็วต่ำกว่าเสียง ทุกสภาพกาลอากาศ เปิดตัวครั้งแรกในทศวรรษที่ 1970 โดยบริษัทเจเนอรัลไดนามิกส์ โทมาฮอว์กออกแบบมาให้เป็นขีปนาวุธระยะกลางถึงไกล ความสูงต่ำสามารถปล่อยออกจากฐานยิงหลายรูปแบบ โทมาฮอว์กได้รับการปรับปรุงออกมาหลายรุ่น ปัจจุบันผลิตโดยบริษัทเรเธียน และอีกส่วนหนึ่งผลิตโดยบริษัทแมคดอนเนลล์ดักลาส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของโบอิง)"," เว็บไซต์ประวัติศาสตร์โบอิง.

ดู รถถังและโทมาฮอว์ก (ขีปนาวุธ)

โซะ ระ โนะ โวะ โตะ

ซะ ระ โนะ โวะ โตะ เป็นการ์ตูนแอนิเมชันซีรีส์สร้างโดยสตูดิโอ A-1 Pictures และ Aniplex ของญี่ปุ่น โดยเป็นโครงงานเปิดตัวของ Anime no Chikara (ซึ่งเป็นการทำงานร่วมกันของ TV Tokyo และ Aniplex) ออกอากาศทางเครือข่ายโทรทัศน์ TV Tokyo ในช่วง 5 มกราคม พ.ศ.

ดู รถถังและโซะ ระ โนะ โวะ โตะ

ไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์

Ride of the Valkyries ภาพประกอบโดย อาร์เทอร์ แรกแฮม ไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์ (Ride of the Valkyries; Walkürenritt หรือ Ritt der Walküren) เป็นชิ้นงานดนตรีจากช่วงต้นขององก์ที่สาม จากอุปรากรเรื่อง Die Walküre (The Valkyrie) อุปรากรเรื่องที่สองในชุด ปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน ปกรณัมชุดของริชาร์ด วากเนอร์ วากเนอร์เริ่มแต่งทำนองท่อนนี้ตั้งแต่วันที่ 23 กรกฎาคม..

ดู รถถังและไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์

ไฮนซ์ กูเดเรียน

นซ์ วิลเฮล์ม กูเดเรียน (Heinz Wilhelm Guderian) เป็นพลเอกแห่งกองทัพบกเยอรมันในสมัยนาซีเยอรมนี เขาโด่งดังจนได้รับการยกย่องจากคนทั้งโลกว่าเป็นบิดาแห่งยานเกราะ และมีสมญาว่า ไฮนซ์สายฟ้าแลบ (Schneller Heinz) จากการเป็นผู้คิดค้นยุทธวิธีสายฟ้าแลบ (บลิทซครีก) ที่ทำให้สามารถเข้ายึดโปแลนด์ได้สำเร็จและต่อมาก็ทำให้ฝรั่งเศสยอมจำนนต่อเยอรมันในการรุกที่แม่น้ำเมิซและเป็นผู้สร้างรถถังที่มีชื่อเสียง เช่น รถถังพันเทอร์, รถถังไทเกอร์ 2 เป็นต้น หน่วยของกูเดเรียนยอมจำนนต่อกองกำลังสหรัฐในวันที่ 10 พฤษภาคม..

ดู รถถังและไฮนซ์ กูเดเรียน

ไทป์ 96

ทป์ 96 (Type 96) คือ รถถังหลักยุคที่3ของจีน โดยเป็นรถถังที่มีต้นแบบจากไทป์ 85-III ซึ่งมันได้เข้าประจำการกองทัพปลดปล่อยประชาชนในปี1997.

ดู รถถังและไทป์ 96

เรโนลต์ เอฟที-17

right รถถัง เรโนลต์ เอฟที-17 ถูกสร้างในช่วงปีคริสต์ศักราช 1917 โดยเข้าประจำการในช่วงปีคริสต์ศักราช 1917 โดยเข้าประจำการในกองทัพบกฝรั่งเศสในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1โดยมีการผลิตรถถัง 3177 คันเมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 3800 เมื่อรวมทั้งหมด ในช่วงเริ่มสงครามโลกครั้งที่ 2 มีรถถังจำนวน 1560 คันยังอยู่ในการประจำการ และมันยังเป็นรถถังแบบแรก ที่ใช้ระบบป้อมปืนหมุนรอบทิศ 360 อง.

ดู รถถังและเรโนลต์ เอฟที-17

เอ1อี1 อินดิเพนเด็นท์

right เอ1อี1 อินดิเพนเด็นท์ (Vickers A1E1 Independent) เอ1อี1 เป็นรถถังที่สร้างขึ้นในสหราชอาณาจักร โดยบริษัทวิคเกอร์ รุ่นต้นแบบผลิตขึ้นในปี ค.ศ.

ดู รถถังและเอ1อี1 อินดิเพนเด็นท์

เอ7วี

อ7วี (A7V) เอ7วี เป็นรถถังที่สร้างขึ้นในเยอรมันช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ช่วงปี ค.ศ. 1918 มีการสั่งสร้างขึ้นมาประมาณ 100 คันหรืออาจจะน้อยกว่านั้น.

ดู รถถังและเอ7วี

เอจีเอ็ม-114 เฮลไฟร์

อจีเอ็ม-114 เฮลไฟร์ (AGM-114 Hellfire) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่พื้นต่อต้านยานเกราะ สามารถยิงได้จากอากาศยาน เรือรบผิวน้ำ และฐานยิงบนพื้นดิน มีความสามารถในการโจมตีหลายภารกิจ และหลายเป้าหมาย คำว่าเฮลไฟร์มาจากคำว่า "เฮลิคอปเตอร์" (HELICOPTER) สมาสกับคำว่า "ยิงแล้วลืม" ในภาษาอังกฤษ (fire-and-forget) รวมกันเป็น (HELicopter Launched FIRE-and-forget) หรือ เฮลไฟร์ (HELLFIRE) เฮลไฟร์เป็นขีปนาวุธโจมตียานเกาะพื้นฐานของหน่วยยานเกราะกองทัพบกสหรัฐ และในอีกหลายประเทศอื่นๆ ทั่วโลก.

ดู รถถังและเอจีเอ็ม-114 เฮลไฟร์

เอ็ม4 เชอร์แมน

อ็ม4 เชอร์แมน (M4 Sherman) เป็นรถถังหลักที่ใช้โดยสหรัฐอเมริกาในสงครามโลกครั้งที่ 2 มันยังได้ทำหน้าที่ในกองกำลังของสัมพันธมิตรในอีกหลายประเทศเช่นกัน มันพัฒนามาจากรถถังขนาดกลางและเบาที่เกิดขึ้นก่อนหน้าโดยเป็นรถถังคันแรกของอเมริกาที่มีป้อมปืนซึ่งสามารถหมุนได้รอบทิศทาง เชอร์แมนคันแรกก็มากเกินที่จะเอาชนะยานเกราะของเยอรมนีในแอฟริกาเหนือ การผลิตเชอร์แมนมีมากกว่า 5 หมื่นคันและเชสซีของมันได้เป็นพื้นฐานของยานเกราะมากมายอย่างรถถังพิฆาต รถกู้รถถัง และปืนใหญ่อัตตาจร ในอังกฤษเอ็ม4 ถูกเรียกว่าเชอร์แมนตามชื่อของนายพลวิลเลียม เทคัมเซ เชอร์แมน เพราะว่าอังกฤษชอบนำชื่อของนายพลที่มีชื่อเสียงจากสงครามกลางเมืองอเมริกามาตั้งเป็นชื่อรถถังที่พวกอเมริกันเป็นคนสร้าง ต่อมาชื่อที่อังกฤษใช้ก็เริ่มถูกนำไปใช้โดยสหรัฐ การใช้เชอร์แมนตามหลักยุทธวิธีนั้นคือเน้นไปที่จำนวนและความคล่องตัว เพราะว่ามันมักด้อยกว่าเมื่อต่อต้องเจอกับรถถังไทเกอร์ 1 และรถถังแพนเธอร์ที่มีเกราะหนากว่าและอำนาจการยิงที่เหนือกว่า มีเพียงรถถังที-34 ของโซเวียตเท่านั้นที่สร้างมากกว่าเชอร์แมน รถถังที่ก้าวหน้าที่สุดของอเมริกาคือเอ็ม26 เพอร์ชิ่ง แต่มันถูกสร้างขึ้นมาช้าเกินไปที่จะเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 การพัฒนารถถังหลังจากสงครามจะเริ่มบนพื้นฐานของเอ็ม26 แต่เชอร์แมนและแบบอื่นๆ ของมันยังคงถูกใช้ฝึกและรบต่อไปในสงครามเกาหลีและสงคราม 6 วันเมื่อเข้าศตวรรษที่ 20Hunnicutt 1978.

ดู รถถังและเอ็ม4 เชอร์แมน

เอเอช-1 คอบรา

อเอช-1 คอบรา (AH-1 Cobra) เป็นเฮลิคอปเตอร์จู่โจมแบบสองใบพัด หนึ่งเครื่องยนต์ที่ผลิตโดยบริษัทเบลล์ มันใช้เครื่องยนต์และระบบใบพัดแบบเดียวกันกับยูเอช-1 ไอโรควอยส์ ในบางครั้งเอเอช-1 จะหมายถึงฮิวอี้คอบราหรือสเนค เอเอช-1 เป็นกองกำลังหลักในกองบินเฮลิคอปเตอร์ของกองทัพบกสหรัฐแต่ก็ถูกแทนที่โดยเอเอช-64 อาพาชี่ รุ่นที่พัฒนายังคงทำการบินต่อไปในหลายๆ ประเทศที่ใช้มัน เอเอช-1 แบบสองเครื่องยนต์ยังคงประจำการในกองนาวิกโยธินสหรัฐในฐานะเฮลิคอปเตอร์จู่โจมหลัก.

ดู รถถังและเอเอช-1 คอบรา

เอเอช-64 อาพาชี

อเอช-64 อาปาเช่ (AH-64 Apache) (ออกเสียงในภาษาอังกฤษ สำเนียงอเมริกันว่า อ่า-พ้า-ชี่ แต่ชื่อเรียกในภาษาไทยที่รับรู้กันโดยทั่วไปคือ อาปาเช่) เป็นเฮลิคอปเตอร์โจมตีสองเครื่องยนต์ สี่ใบพัด พร้อมล้อสามล้อ และห้องนักบินแบบเรียงเดียวสำหรับสองที่นั่ง อาปาเช่ถูกพัฒนาในชื่อ โมเดล 77 โดยฮิวจ์ส เฮลิคอปเตอร์สให้กับโครงการของกองทัพบกสหรัฐเพื่อแทนที่เอเอช-1 คอบรา มันได้ทำการบินครั้งแรกในวันที่ 30 กันยายน..

ดู รถถังและเอเอช-64 อาพาชี

เอเอ็มเอ็กซ์-13

right เอเอ็มเอ็กซ์-13 (AMX-13) เอเอ็มเอ็กซ์-13 เป็นรถถังขนาดเบาที่ผลิตโดยประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1950 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2.

ดู รถถังและเอเอ็มเอ็กซ์-13

เอเอ็มเอ็กซ์-30

right เอเอ็มเอ็กซ์-30 (AMX 30) เอเอ็มเอ็กซ์-30 เป็นรถถังประจัญบานของประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นในช่วงกลางปี ค.ศ. 1960.

ดู รถถังและเอเอ็มเอ็กซ์-30

เทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

มีความสำคัญอย่างมากในทุกสมรภูมิทั้งในยุโรป แอฟริกาหรือแม้กระทั่งแปซิฟิกก็ตาม เพราะถ้าจะทำให้กองทัพบกเข้มแข็งก็ต้องมีกองบินที่แข็งแกร่งก่อน เครื่องบินรบที่สำคัญก็มี สปิตไฟท์ของ อังกฤษ แมสเซอร์สมิตซ์ 109 ของเยอรมัน เครื่องบินซีโร่ของญี่ปุ่น พี-51 มัสแตง ของสหรัฐ โดยในแปซิฟิคเครื่องบินรบจะมีบทบาทมากว่าเรือรบอย่างเห็นได้ชัด ในสมรภูมิยุโรปเครื่องบินก็เป็นส่วนสำคัญในปฏิบัติการสายฟ้าแลบของเยอรมันในช่วงต้นของสงคราม อาจพูดได้ว่าเครื่องบินรบนั้นสำคัญที่สุด เป็นตัวแปรที่สำคัญในสงครามอย่างยิ่ง นอกจากนี้ นาซีเยอรมันได้คิดค้นเครื่องบินรบไอพ่นเป็นครั้งแรก ทำให้กลายเป็นที่หวาดกลัวของกองทัพอากาศสัมพันธมิตรแต่ทว่าหลังสงคราม สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และสหภาพโซเวียตได้นำมันมาพัฒนาและสร้างได้หลายชนิด หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:ยุทโธปกรณ.

ดู รถถังและเทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

เครื่องบินทิ้งระเบิด

รื่องบินทิ้งระเบิดบี-17 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เครื่องบินทิ้งระเบิด คือ อากาศยานทางการทหารที่ถูกออกแบบมาเพื่อภารกิจการโจมตีเป้าหมายทางภาคพื้นดินและทางทะเล ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะใช้การปล่อยลูกระเบิดลงมาเพื่อทำลายเป้าหมาย ซึ่งระเบิดที่ถูกทิ้งลงมามีหลากหลายชนิด เช่น ระเบิดนาปาล์ม ระเบิดทำลายบังเกอร์ ระเบิดอัจฉริยะ ระเบิดนิวเคลียร์ เป็นต้น.

ดู รถถังและเครื่องบินทิ้งระเบิด

เซมิออน บูดิออนนืย

ซมิออน มิคาอิลโลวิช บูดิออนนืย (Семён Миха́йлович Будённый, Semyon Mikhailovich Budyonny, 25 เมษายน พ.ศ. 2426 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2516) เป็นทั้งแม่ทัพทหารม้ารัสเซียและจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตในสงครามโลกครั้งที่สอง ในสงครามกลางเมืองรัสเซียกองทหารม้าขนาดใหญ่ของบูดิออนนืย เป็นส่วนช่วยให้พรรคบอลเชวิกได้รับชัยชนะ เขากลายเป็นเพื่อนของโจเซฟ สตาลินและได้รับการเลื่อนยศเป็นจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตในปี..

ดู รถถังและเซมิออน บูดิออนนืย

M

M (ตัวใหญ่:M ตัวเล็ก:m) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 13.

ดู รถถังและM

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ดู รถถังและ15 กันยายน

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ดู รถถังและ20 สิงหาคม

2เอส1

ปืนใหญ่อัตตาจร 2เอส1 (2S1) ขนาด 122 มม.

ดู รถถังและ2เอส1

2เอส19

ปืนใหญ่อัตตาจร 2เอส19 (2S19 Msta) เป็นรุ่นใหม่ที่เข้ามาแทนที่ 2เอส3 และ 2เอส5 ในช่วง ปี ค.ศ. 1985 ซึ่งเก่าและล้าสมัย 2เอส19 เป็นปืนใหญ่อัตตาจรที่นำเอารถถัง ที-72 และ ที-80 มารวมเข้าด้วยกัน โดยใช้แคร่จาก ที-80และ ใช้เครื่องยนต์จาก ที-72 กระบอกปืนหมุนได้ 360 องศา ใช้ได้ทั้งแรงหมุนและไฟฟ้า ระยะการยิงสามารถยิงได้ไกลกว่า 15 กิโลเมตร / 9.3 ไมล์ บรรทุกกระสุนได้ 40 ลูก 2เอส19 มีการส่งออกอย่างกว้างขวาง ในช่วงปี ค.ศ.

ดู รถถังและ2เอส19

4 ตุลาคม

วันที่ 4 ตุลาคม เป็นวันที่ 277 ของปี (วันที่ 278 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 88 วันในปีนั้น.

ดู รถถังและ4 ตุลาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ยานเกราะรถหุ้มเกราะ

ซี-17 โกลบมาสเตอร์ 3ปฏิบัติการบาร์บารอสซาประเทศจีนประเทศคาซัคสถานปืนต่อสู้รถถังปืนใหญ่อัตตาจรนวมทอง ไพรวัลย์แบทแมน บีกินส์แฟร์ไชลด์รีพับลิค เอ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)โทมาฮอว์ก (ขีปนาวุธ)โซะ ระ โนะ โวะ โตะไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์ไฮนซ์ กูเดเรียนไทป์ 96เรโนลต์ เอฟที-17เอ1อี1 อินดิเพนเด็นท์เอ7วีเอจีเอ็ม-114 เฮลไฟร์เอ็ม4 เชอร์แมนเอเอช-1 คอบราเอเอช-64 อาพาชีเอเอ็มเอ็กซ์-13เอเอ็มเอ็กซ์-30เทคโนโลยีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเครื่องบินทิ้งระเบิดเซมิออน บูดิออนนืยM15 กันยายน20 สิงหาคม2เอส12เอส194 ตุลาคม