เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ยูคอน

ดัชนี ยูคอน

ูคอน (Yukon) เป็นดินแดนทางตะวันตกสุดและเป็นดินแดน ใน 3 ดินแดนที่เล็กที่สุดของประเทศแคนาดา ตั้งชื่อตามแม่น้ำยูคอน ซึ่งคำว่ายูคอนมีความหมายว่า "แม่น้ำใหญ่" ในภาษา Gwich’in ดินแดนนี้ก่อตั้งในปี..

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 42 ความสัมพันธ์: บีซี แคนเซอร์เอเจนซีพ.ศ. 2441กวางมูสรัฐอะแลสการายชื่อเขตการปกครองรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่รายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกวุลเวอรีนสก็อตต์ มอฟฟ์แฟตต์ทะเลโบฟอร์ตดวงอาทิตย์เที่ยงคืนความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐประเทศแคนาดานอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์นิติภาวะแม่น้ำยูคอนเสือพูม่าเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือเส้นขนานที่ 65 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตกเขตการปกครองของประเทศแคนาดาเขตเวลาUTC−07:00UTC−08:0013 มิถุนายน

บีซี แคนเซอร์เอเจนซี

ตราสัญลักษณ์ของบีซี แคนเซอร์เอเจนซี บีซี แคนเซอร์เอเจนซี (BC Cancer Agency) เป็นส่วนหนึ่งของผู้มีอำนาจในการบริการสาธารณสุขส่วนภูมิภาคในรัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา หน่วยงานนี้มีภารกิจสามส่วน คือ.

ดู ยูคอนและบีซี แคนเซอร์เอเจนซี

พ.ศ. 2441

ทธศักราช 2441 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1898 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ยูคอนและพ.ศ. 2441

กวางมูส

กวางมูส (moose) คือกวางขนาดใหญ่ที่พบในป่าเขตหนาวและอบอุ่นซีกโลกเหนือ สายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดคือสายพันธุ์อะแลสกา สามารถพบได้ในบริเวณป่าไทกา ในทวีปอเมริกาเหนือจะเรียกว่า มูส ในยูเรเชียจะเรียกว่า เอลก์ พบมากในบริเวณประเทศแคนาดา, ประเทศลัตเวีย, ประเทศเอสโตเนีย และประเทศรัสเซีย พวกมันเป็นสัตว์ที่ไม่รวมกันเป็นฝูงและมีขนาดใหญ่แถมยังมีเขาที่ค่อนข้างใหญ่ทำให้มันเคลื่อนที่ได้ค่อยข้างช้าทำให้พวกมันตกเป็นเหยื่อของนักล่าอย่างหมาป่าและมนุษย์ โดยปกติพวกมันจะเคลือนไหวช้าแต่ถ้าพวกมันโกรธหรือตกใจพวกมันก็สามารถวิ่งได้เร็วเช่นกัน พวกมันจะผสมพันธุ์กันในช่วงฤดูใบไม้ร่วงซึ่งช่วงนั้นมันจะมีการต่อสู้อย่างดุเดือดของตัวผู้เพื่อแย่งตัวเมี.

ดู ยูคอนและกวางมูส

รัฐอะแลสกา

รัฐอะแลสกา (State of Alaska) รวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับสหรัฐอเมริกา นับเป็นรัฐที่ 49 มีจำนวนประชากร 626,932 คน (พ.ศ. 2543) ชื่อ อะแลสกา นั้นน่าจะเพี้ยนมาจากคำในภาษาแอลิอุต ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นว่า "Alyeska" แปลว่า "ดินแดนที่ไม่ใช่เกาะ".

ดู ยูคอนและรัฐอะแลสกา

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ดู ยูคอนและรายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่

ตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรก หมายเหตุ:ในแต่ละละติจูดในแผนที่อาจทำให้พื้นที่บิดเบือนทำให้การเปรียบเทียบกันโดยแผนที่นี้อาจมีข้อผิดพลาด นี้เป็นรายชื่อรวบรวมเขตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรกซึ่งนำรวมพื้นที่แหล่งน้ำในเขตการปกครองนั้นๆด้ว.

ดู ยูคอนและรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่

รายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก

การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก เป็ยพิธีการของการวิ่งเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปีย, ประเทศกรีซ ไปยังสถานที่จัดกีฬาโอลิมปิก ในครั้งนั้นๆ โดยครั้งแรกได้เริ่มในโอลิมปิกเบอร์ลิน 1936 และต่อจากนั้นก็ได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในทุกๆครั้ง โอลิมปิกครั้งก่อนๆได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในหลายประเทศ แต่ในปัจจุบันคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ได้จำกัดให้วิ่งคบเพลิงภายในประเทศ หลังเกิดการประท้วงใน การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2008.

ดู ยูคอนและรายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก

วุลเวอรีน

ำหรับตัวละครในมาร์เวลคอมิกส์ ดูที่ วูล์ฟเวอรีน (ตัวละคร) วุลเวอรีน (wolverine)Wozencraft, W. C. (16 November 2005).

ดู ยูคอนและวุลเวอรีน

สก็อตต์ มอฟฟ์แฟตต์

ก็อตต์ แอนดรูว์ มอฟฟ์แฟตต์เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 1983 ในปี 1995 เมื่อสก็อตต์มีอายุได้12ปี เขาและน้องชายฝาแฝดอีกสามคนได้เป็นเจ้าของผลงานเพลงชุดแรกในนามของ The Moffatts (เดอะ มอฟฟ์แฟตส์) วงดนตรีสี่พี่น้องมีผลงานทั้งสิ้นห้าชุดด้วยกันในระยะเวลาห้าปีถัดมา ก่อนที่ The Moffatts จะประกาศยุติการทำงานอย่างเป็นทางการในเดือนสิงหาคม ปี 2001 ปัจจุบันสก็อตต์กำลังสนุกกับงานเพลงในมุมมองที่แตกต่างออกไปฐานะศิลปินเดี่ยวและโปรดิวเซอร์ของศิลปินมีชื่อมากมายทั้งไทยและเทศอาทิเช่น สล็อตแมชชีน แบรนด์นิวซันเซท เก็ทสุโนว่า เดย์ไลท์ Hay Nik iz Zand และ Roads.

ดู ยูคอนและสก็อตต์ มอฟฟ์แฟตต์

ทะเลโบฟอร์ต

ทะเลโบฟอร์ต (สีน้ำเงิน) ทะเลโบฟอร์ต (mer de Beaufort; Beaufort Sea) เป็นทะเลชายอาณาเขต ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอาร์กติก ตั้งอยู่ทางเหนือของยูคอนและรัฐอะแลสกา และทางตะวันตกของเกาะแบงส์ในกลุ่มเกาะอาร์กติก ทะเลตั้งชื่อตามนักอุทกศาสตร์ เซอร์ฟรานซิส โบฟอร์ต ทะเลมีส่วนลึกสุดที่ 4,683 เมตร หมวดหมู่:มหาสมุทรอาร์กติก หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศแคนาดา หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในสหรัฐอเมริกา.

ดู ยูคอนและทะเลโบฟอร์ต

ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน

วงอาทิตย์เที่ยงคืนที่ประเทศนอร์เวย์ ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน คือ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในฤดูร้อนของทวีปยุโรปและบริเวณใกล้เคียง ทางตอนเหนือของเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล และตอนใต้ของเส้นแอนตาร์กติกเซอร์เคิล ที่ดวงอาทิตย์ยังคงมองเห็นในเวลาเที่ยงคืน โดยมีโอกาสตามสภาพอากาศ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้สำหรับอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงส่วนใหญ่ทางตอนเหนือของอาร์กติกเซอร์เคิลและตอนใต้ของแอนตาร์กติกเซอร์เคิล ดวงอาทิตย์เที่ยงคืนที่อาจเกิดขึ้นในจำนวนวันที่ไม่แน่นอน ไม่มีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ถาวรทางตอนใต้ของขั้วโลกเหนือ ดังนั้นประเทศและดินแดนที่สามารถมองเห็นดวงอาทิตย์เที่ยงคืนได้จะจำกัดให้คนข้ามเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล เช่น แคนาดา (ยูคอน, นูนาวุต), สหรัฐอเมริกา (อะแลสกา), เดนมาร์ค (กรีนแลนด์), นอร์เวย์, สวีเดน, ฟินแลนด์, รัสเซีย, ไอซ์แลนด์ โดยดินแดนของ นอร์เวย์ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของอาร์กติกเซอร์เคิลเป็นจุดที่ดวงอาทิตย์ไม่ได้ตกดินเป็นเวลายาวนานที่สุด (73 วัน) ในช่วงฤดู​​ร้อนในสฟาลบาร.

ดู ยูคอนและดวงอาทิตย์เที่ยงคืน

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ.

ดู ยูคอนและความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ดู ยูคอนและประเทศแคนาดา

นอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์

นอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์ (Northwest Territories) เป็นดินแดนของแคนาดา ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของแคนาดา ติดต่อกับอีก 2 ดินแดนของแคนาดาคือยูคอน ทางตะวันตกและนูนาวุต ทางตะวันออก และติดกับอีก 3 รัฐคือ รัฐบริติชโคลัมเบียทางตะวันตกเฉียงใต้ รัฐแอลเบอร์ตาและรัฐซัสแคตเชวัน ทางใต้ มีพื้นที่ 1,140,835 ตร.กม.

ดู ยูคอนและนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ดู ยูคอนและนิติภาวะ

แม่น้ำยูคอน

แม่น้ำยูคอน (Yukon River) เป็นแม่น้ำสายหลักทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอเมริกาเหนือ มีต้นกำเนิดอยู่ในรัฐบริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ไหลผ่านดินแดนยูคอน และส่วนปลายแม่น้ำไหลในรัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา แม่น้ำมีความยาว 1,980 ไมล์ (3,190 กม.) ไหลลงทะเลเบริงบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมยูคอน-คัสโคกวิม แม่น้ำมีอัตราการไหลเฉลี่ยที่ 6,430 ม³/วิ (227,000 ฟุต³/วิ) ครอบคลุมพื้นที่การไหลของน้ำ 832,700 กม² (321,500 ไมล์²) โดยมีพื้นที่ 323,800 กม² (126,300 ไมล์²) ในแคนาดา หรือหากนำมาเปรียบเทียบแล้ว ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 25% ของรัฐเทกซัสหรือรัฐแอลเบอร์ต.

ดู ยูคอนและแม่น้ำยูคอน

เสือพูม่า

ือพูม่า หรือ เสือคูการ์ หรือ สิงโตภูเขา (Cougar, Puma, Mountain lion, Mountain cat, Catamount, Panther) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในวงศ์เสือและแมว (Felidae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกา เป็นแมวรักสันโดษขนาดใหญ่ที่มีการกระจายพันธุ์กว้างที่สุดในบรรดาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดใหญ่ในซีกโลกตะวันตก จากยูคอนในประเทศแคนาดาถึงทางตอนใต้ของเทือกเขาแอนดีสในอเมริกาใต้ เป็นสัตว์ที่ปรับตัวได้เก่ง สามารถพบในถิ่นอาศัยเกือบทุกแบบในทวีปอเมริกา เป็นสัตว์จำพวกแมวที่หนักเป็นอันดับสองในซีกโลกตะวันตก รองจากเสือจากัวร์ แม้ว่าเสือพูม่าจะมีขนาดใหญ่มันกลับมีพันธุกรรมใกล้ชิดกับแมวบ้านมากกว่าสิงโตขาดว่าสืบเชื้อสายมาจากเสือชีตาห์อเมริกาที่สูญพันธ์ไปแล้ว ด้วยความเป็นนักล่าที่มีความสามารถในการย่องเงียบและซุ่มโจมตี ทำให้เสือพูม่าสามารถล่าเหยื่อได้หลากหลาย เหยื่ออันดับแรก ประกอบด้วย สัตว์มีกีบ เช่น กวาง, กวางเอลก์, กวางมูส, และแกะบิ๊กฮอร์น รวมทั้งปศุสัตว์อย่าง วัวบ้าน, ม้า และแกะ นอกจากนี้ยังล่าสัตว์ขนาดเล็กอย่างแมลงและสัตว์ฟันแทะ เสือพูม่าชอบอาศัยในบริเวณที่มีพุ่มไม้และก้อนหินหนาแน่นเพื่อการหลบซ่อน แต่มันก็สามารถอาศัยในพื้นที่เปิดได้เช่นกัน เสือพูม่าเป็นสัตว์ที่มีอาณาเขต มีความหนาแน่นของประชากรในแต่ละบริเวณต่ำ ขนาดของเขตแดนแต่ละเขตขึ้นกับ ภูมิประเทศ พืชพรรณ และความอุดมสมบูรณ์ของเหยื่อ แม้เป็นนักล่าขนาดใหญ่ แต่มันไม่จำเป็นต้องเป็นนักล่าที่โดดเด่นของบริเวณนั้น เพราะมันต้องแข่งขันในการล่ากับนักล่าอื่น เช่น เสือจากัวร์, หมาป่าสีเทา, หมีดำ, และหมีกริซลีย์ มันเป็นสัตว์สันโดษและหลีกเลี่ยงมนุษย์ การโจมตีมนุษย์นั้นเกิดขึ้นน้อยมาก แม้ว่าปัจจุบันจะมีความถี่เพิ่มขึ้น เพราะการล่าสัตว์มากเกินไปของชาวยุโรปที่มาตั้งถิ่นฐานในอเมริกาและการเจริญของสังคมมนุษย์ในถิ่นอาศัยของเสือพูม่า ทำให้ประชากรของเสือพูม่าลดลงในพื้นที่กระจายพันธุ์ส่วนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เสือพูม่าได้สูญพันธุ์ไปแล้วในทางตะวันออกของอเมริกาเหนือในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ยกเว้น ประชากรชนิดย่อยส่วนน้อยในรัฐฟลอริดา อย่างไรก็ตาม ในทศวรรษที่ผ่านมาประชากรได้ย้ายจากทางทิศตะวันออกไปในส่วนตะวันตกของดาโกตาส์, รัฐเนแบรสกา, และรัฐโอคลาโฮมา มีการยืนยันถึงเพศผู้ผ่านถิ่นในคาบสมุทรบนของรัฐมิชิแกนและรัฐอิลลินอยส์ที่ซึ่งมันถูกยิงในเขตเมืองของชิคาโก และอย่างน้อยหนึ่งตัวที่สังเกตพบในตะวันออกไกลของรัฐคอนเนตทิคัต.

ดู ยูคอนและเสือพูม่า

เส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ

้นขนานที่ 60 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 60 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 18 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 5 ชั่วโมง 52 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ดู ยูคอนและเส้นขนานที่ 60 องศาเหนือ

เส้นขนานที่ 65 องศาเหนือ

้นขนานที่ 65 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 65 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านมหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 22 ชั่วโมง 2 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 3 ชั่วโมง 35 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ดู ยูคอนและเส้นขนานที่ 65 องศาเหนือ

เส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 56 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 124 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 125 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 54 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 126 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 53 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 127 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 52 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 128 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 51 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 129 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 50 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 130 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 49 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 131 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 48 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 132 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 46 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 134 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 45 องศาตะวันออก สำหรับเขตเวลาอลาสก้า เส้นนี้เป็นฐานของเวลาสุริยะเฉลี.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 135 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 44 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 136 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 43 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 137 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 42 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 138 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 41 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 139 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นนี้เป็นเส้นแบ่งพื้นที่รับผิดชอบระหว่างศูนย์เฮอร์ริเคนแห่งชาติกับศูนย์เฮอร์ริเคนแปซิฟิกกลาง ในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ เส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 40 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 140 องศาตะวันตก

เส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 39 องศาตะวันออก.

ดู ยูคอนและเส้นเมริเดียนที่ 141 องศาตะวันตก

เขตการปกครองของประเทศแคนาดา

ตการปกครองของแคนาดา ของประเทศแคนาดาเป็นสหพันธรัฐที่ประกอบด้วย 10 รัฐ (provinces) และ 3 ดินแดน (territories).

ดู ยูคอนและเขตการปกครองของประเทศแคนาดา

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ดู ยูคอนและเขตเวลา

UTC−07:00

UTC−07: สีฟ้า (มกราคม), สีส้ม (กรกฎาคม), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีฟ้าอ่อน - บริเวณทะเล UTC−07:00 คือ ออฟเซตเวลาสากลเชิงพิกัด ที่ ลบ 7 ชั่วโมงจากเวลามาตรฐานสากล (UTC) ในทวีปอเมริกาเหนือ, มันเป็นที่สังเกตในเขตเวลาภูเขา ในช่วงเวลามาตรฐาน, และในเขตเวลาแปซิฟิก ในช่วง 8 เดือนอื่น ๆ (เวลาออมแสง) ซึ่งใช้ไม่กี่แห่ง.

ดู ยูคอนและUTC−07:00

UTC−08:00

UTC−08: สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล UTC−08:00 เป็นเขตเวลาที่เวลาท้องถิ่นช้ากว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 8 ชั่วโมง ใช้ใน.

ดู ยูคอนและUTC−08:00

13 มิถุนายน

วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.

ดู ยูคอนและ13 มิถุนายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Yukon