สารบัญ
73 ความสัมพันธ์: ATC รหัส V01ชีววิทยาพรีออนพาเพอินพิวรีนกรดโฟลิกกากน้ำตาลการสืบพันธุ์การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศการหมัก (ชีวเคมี)การหมักเชิงอุตสาหกรรมการหายใจระดับเซลล์การถ่ายโอนสัญญาณมวลชีวภาพมอลต์มักก็อลลีมูนไชน์ยาปฏิชีวนะยาแก้ซึมเศร้ารารายชื่อพืชที่สะสมโลหะได้ดีลาเกอร์วัคซีนวิทยา มีวุฒิสมวิตามินบี12สาโทสุราหน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีนอาร์เอ็นเออาร์เธอร์ ฮาร์เดนอาหารคูเวตอาหารเลี้ยงเชื้ออีเอ็มผักคราดหัวแหวนจิบเบอเรลลินจุลินทรีย์ขนมฝรั่งกุฎีจีนขนมปังขนมปังทอดอินเดียนแดงครัมเป็ตคริสเปอร์ความผันแปรได้ทางพันธุกรรมคาร์นิทีนตูอักซาลาเปาซาโปนินซินนามอนโรลปลาตะลุมพุกปัจจัยกระทบนัวร์เซโอธริซิน... ขยายดัชนี (23 มากกว่า) »
ATC รหัส V01
วนของ ระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์ (Anatomical Therapeutic Chemical Classification System) V อื่นๆ (Various).
ชีววิทยา
ีววิทยา (Biology) เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต และสิ่งมีชีวิต ซึ่งรวมถึง โครงสร้าง การทำงาน การเจริญเติบโต ถิ่นกำเนิด วิวัฒนาการ การกระจายพันธุ์ และอนุกรมวิธาน โดยเป็นการศึกษาในทุก ๆ แง่มุมของสิ่งมีชีวิต โดยคำว่า ชีววิทยา (Biology) มาจากภาษากรีก คือคำว่า "bios" แปลว่า สิ่งมีชีวิต และ "logos" แปลว่า วิชา หรือการศึกษาอย่างมีเหตุผล.
พรีออน
รีออน (Prion) คือ โปรตีนขนาดเล็ก ไม่ละลายน้ำ ทนความร้อน ทนการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิทั้งร้อนและเย็น ทนต่อความแห้ง ทนต่อแสงยูวี ทนต่อการย่อยสลายโดยเอนไซม์ทั้ง protease และ nuclease สามารถติดต่อระหว่างสิ่งมีชีวิตและก่อโรคได้ ภาษาอังกฤษ เรียกว่า proteinaceous infectious particle คำว่า พรีออน เป็นคำเรียกที่แบบคำผวนของคำนี้เพราะว่า โพรอีน ฟังสับสนกับสารหลายชนิด ผู้ตั้งคำว่า พรีออน คือนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลปี..
พาเพอิน
อิน (papain) หรือ พาพายาโพรทีเนส I (papaya proteinase I) เป็นซิสทีอีนโพรทีเอสตัวหนึ่ง มีฤทธิ์เป็นเอนไซม์โปรตีน พบมากในยางมะละกอ.
พิวรีน
#Traube purine synthesis --> พิวรีน (purine) เป็นสารประกอบอินทรีย์ประเภทเฮเตอโรไซคลิกและอะโรมาติก ที่มีวงแหวนไพริมิดีน (pyrimidine) เชื่อมกับวงแหวนอิมิดาโซล และให้ชื่อของมันกับกลุ่มโมเลกุลที่เรียกว่า พิวรีน ซึ่งรวมพิวรีนที่มีการแทนที่โครงสร้างและเทาโทเมอร์ ต่าง ๆ ของพิวรีน เป็นสารประกอบเฮเตอโรไซคลิกแบบมีไนโตรเจนที่มีมากที่สุดในธรรมชาติ และละลายน้ำได้ พิวรีนพบอย่างเข้มข้นในเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อ โดยเฉพาะเครื่องในรวมทั้งตับไต โดยทั่วไปแล้ว พืชผักจะมีพิวรีนต่ำ ตัวอย่างของอาหารที่มีพิวรีนสูงรวมทั้ง ต่อมไทมัส ตับอ่อน ปลาแอนโชวี่ ปลาซาร์ดีน ตับ ไตของวัวควาย สมอง สารสกัดจากเนื้อ ปลาเฮร์ริง ปลาแมกเคอเรล หอยเชลล์ เนื้อสัตว์ที่ล่าเพื่ออาหารหรือเพื่อการกีฬา เบียร์ (โดยได้จากยีสต์) และน้ำเกรวี อาหารที่มีพิวรีนกลาง ๆ รวมทั้ง เนื้อวัวควาย เนื้อหมู ปลาและอาหารทะเล ผักแอสพารากัส ต้นกะหล่ำดอก ผักโขมจีน เห็ด ถั่วลันเตา ถั่วเล็นทิล ถั่ว ข้าวโอ๊ต รำข้าวสาลี และจมูกข้าวสาลี พิวรีนและไพริมิดีนเป็นกลุ่มสองกลุ่มของเบสไนโตรเจน (nitrogenous base) และก็เป็นกลุ่มสองกลุ่มของเบสนิวคลีโอไทด์ (nucleotide base/nucleobase) ด้วย deoxyribonucleotide 2 อย่างใน 4 อย่าง คือ deoxyadenosine และ guanosine, ribonucleotide 2 อย่างใน 4 อย่าง คือ adenosine/adenosine monophosphate (AMP) และ guanosine/guanosine monophosphate (GMP) ซึ่งเป็นหน่วยพื้นฐานของดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอตามลำดับ ก็เป็นพิวรีน เพื่อจะสร้างดีเอ็นเอและอาร์เอ็นเอ เซลล์จำเป็นต้องใช้พิวรีนและไพรมิดีนเป็นจำนวนพอ ๆ กัน ทั้งพิวรีนและไพริมิดีนต่างก็เป็นสารยับยั้งและสารก่อฤทธิ์ต่อพวกตนเอง คือ เมื่อพิวรีนก่อตัวขึ้น มันจะยับยั้งเอนไซม์ที่ใช้สร้างพิวรีนเพิ่ม พร้อมกับก่อฤทธิ์ของเอนไซม์ที่ใช้สร้างไพริมิดีน และไพริมิดีนก็ทั้งยับยั้งตนเองและออกฤทธิ์ให้สร้างพิวรีนในลักษณะเช่นเดียวกัน เพราะเหตุนี้ จึงมีสารทั้งสองอยู่ในเซลล์เกือบเท่า ๆ กันตลอดเวล.
กรดโฟลิก
ฟเลต หรืออีกรูปแบบหนึ่งที่รู้จักคือ กรดโฟลิก และ วิตามินบี9 (folate, folic acid, vitamin B9) เป็นวิตามินบีชนิดหนึ่ง มีปริมาณที่แนะนำต่อวันอยู่ที่ 400 ไมโครกรัม และมักใช้เป็นอาหารเสริมในช่วงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารก (ซึ่งรวมการไม่มีสมองใหญ่ สมองโป่ง กระดูกสันหลังโหว่) --> และยังใช้รักษาภาวะเลือดจางจากการขาดกรดโฟลิก กว่า 50 ประเทศเสริมกรดโฟลิกในอาหารเพื่อเป็นมาตรการลดอัตรา NTDs ในประชากร การเสริมกรดโฟลิกในอาหารเป็นประจำสัมพันธ์กับการลดความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจเล็กน้อย เป็นวิตามินที่สามารถใช้ทานหรือฉีดก็ได้ ยาไม่มีผลข้างเคียงที่สามัญ ยังไม่ชัดเจนว่าการทานในขนาดสูงเป็นระยะเวลายาวนานมีปัญหาหรือไม่ แต่การใช้ขนาดสูงสามารถอำพรางการขาดวิตามินบี12ได้ --> โฟเลตเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย เพื่อผลิต DNA RNA และกระบวนการสร้างและย่อยสลายกรดอะมิโนซึ่งจำเป็นต่อการแบ่งเซลล์ เนื่องจากมนุษย์ไม่สามารถสร้างกรดโฟลิก ดังนั้นจำต้องได้จากอาหาร การไม่ได้โฟเลตเพียงพอก็จะทำให้เกิดภาวะขาดโฟเลต --> ซึ่งอาจมีผลเป็นภาวะเลือดจางที่มีเม็ดเลือดขนาดใหญ่ (megaloblastic) เป็นจำนวนน้อย --> อาการอาจรวมความล้า หัวใจเต้นเร็ว หายใจไม่ทัน แผลบนลิ้นไม่หาย สีผิวหรือผมเปลี่ยน --> การขาดในช่วงตั้งครรภ์เบื้องต้นเชื่อว่าเป็นเหตุของภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารกเกินครึ่ง การขาดในเด็กอาจเกิดภายในเดือนเดียวที่ทานอาหารไม่ดี ในผู้ใหญ่ระดับโฟเลตทั้งหมดในร่างกายอยู่ที่ระหว่าง 10,000-30,000 ไมโครกรัม (µg) โดยมีระดับในเลือดเกิน 7 nmol/L (3 ng/mL) กรดนี้ค้นพบในระหว่างปี..
กากน้ำตาล
กากน้ำตาล (molasses "โมลาส") มีรากศัพท์มาจากคำว่า “melaço” ในภาษาโปรตุเกสmerriam-webster กากน้ำตาลเป็นของเหลวลักษณะเหนียวข้นสีน้ำตาลดำ ที่เป็นผลพลอยจากการผลิตน้ำตาลทราย ซึ่งไม่สามารถจะตกผลึกน้ำตาลได้อีก เป็นเนื้อของสิ่งที่ไม่ใช่น้ำตาลที่ละลายปนอยู่ในน้ำอ้อย ซึ่งประกอบด้วยน้ำตาลซูโครส น้ำตาลอินเวอร์ท (invert sugar) และสารเคมี เช่น ปูนขาว ที่ใช้ในการตกตะกอนให้น้ำอ้อยใส Thai Sugar Mill Group กากน้ำตาลมีระดับพลังงานระดับต่ำถึงปานกลางขึ้นอยู่กับปริมาณของน้ำที่มีอยู่ในกากน้ำตาล มีโพแทสเซียม และมีปริมาณน้ำในระดับสูง ทำให้เกิดเชื้อราได้ง่าย กากน้ำตาลแบ่งได้หลายชน.
การสืบพันธุ์
การขยายพันธุ์ของคว่ำตายหงายเป็น การสืบพันธุ์ หรือ การขยายพันธุ์ (Reproduction) หมายถึง การเพิ่มจำนวนลูกหลานที่มีลักษณะเหมือนเดิมของสิ่งมีชีวิต โดยที่สิ่งมีชีวิตรุ่นใหม่ที่เกิดขึ้นนี้จะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่ล้มหายตายจากไป ทำให้สิ่งมีชีวิตเหลือรอดอยู่ในโลกได้โดยไม่สูญพันธุ์ไป.
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) คือการเพิ่มจำนวนของสิ่งมีชีวิตโดยไม่มีการผสมระหว่างเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งการสืบพันธุ์แบบนี้จะไม่มีการกลายพันธุ์หรือสร้างความหลากหลายทางพันธุกรรมขึ้น ส่วนใหญ่พบในสัตว์ชั้นต่ำและเป็นการสืบพันธุ์อย่างไม่สลับซับซ้อน ข้อดีของการสืบพันธุ์แบบนี้ได้แก่ ทำให้สิ่งมีชีวิตสามารถเพิ่มจำนวนได้โดยไม่ต้องหาคู่ ในกรณีของสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เพิ่มจำนวนได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องรอเวลาและพลังงานในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์และการปฏิสนธิ เหมาะกับสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมนั้น.
ดู ยีสต์และการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การหมัก (ชีวเคมี)
งที่เกิดขึ้นระหว่างการหมัก สำหรับความหมายอื่นดูที่ การหมักดอง การหมัก (Fermentation; มาจากภาษาละติน Fervere หมายถึง "เดือด") เป็นกระบวนทางชีวเคมีภายในเซลล์ เพื่อสร้างพลังงานจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ หรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารประกอบอินทรีย์ด้วยเอนไซม์ โดยมีสารอินทรีย์เป็นทั้งตัวให้และตัวรับอิเล็กตรอน ซึ่งต่างจากการหายใจแบบใช้ออกซิเจนที่ใช้ออกซิเจนที่เป็นสารอนินทรีย์เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย ในครั้งแรกคำว่าการหมักใช้อธิบายลักษณะที่เกิดจากการทำงานของยีสต์ในน้ำผลไม้ เพราะยีสต์ย่อยสลายน้ำตาลในสภาวะที่ไร้ออกซิเจน จึงเกิดฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ผุดขึ้นมาเหมือนน้ำเดือด เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในหนังสือ alchemy แต่เริ่มใช้ในความหมายปัจจุบันเมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 16.
การหมักเชิงอุตสาหกรรม
การหมักเชิงอุตสาหกรรม (Industrial fermentation) เป็นการหมักจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรียและเห็ดรา ที่ทำโดยตั้งใจเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์ ที่สามารถใช้เป็นอาหารหรือเพื่อประโยชน์อื่น ๆ ในอุตสาหกรรม สารเคมีที่มีขายทั่วไปบางอย่าง เช่น กรดน้ำส้ม กรดซิตริก และเอทานอล ล้วนผลิตโดยวิธีการหมัก ความช้าเร็วของกระบวนการหมักขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของจุลินทรีย์ เซลล์ องค์ประกอบของเซลล์ เอนไซม์ รวมทั้งอุณหภูมิและค่ากรด และสำหรับการหมักบางชนิด ออกซิเจน กระบวนการสกัดผลิตภัณฑ์ออกมา บ่อยครั้งต้องเพิ่มความเข้มข้นของสารละลายที่เจือจางนั้น เอนไซม์ที่ผลิตขายทั้งหมด เช่น lipase, invertase, และ rennet จะทำโดยการหมักที่ใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม ในบางกรณี มวลชีวภาพของจุลินทรีย์นั่นแหละเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ยีสต์ขนมอบ (Saccharomyces cerevisiae) และแบคทีเรียที่เปลี่ยนแล็กโทสเป็นกรดแล็กติกที่ใช้ในการผลิตชีส โดยทั่วไปแล้ว สามารถแบ่งการหมักได้ออกเป็น 4 จำพวก คือ.
ดู ยีสต์และการหมักเชิงอุตสาหกรรม
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration) เป็นชุดปฏิกิริยาและกระบวนการทางเมแทบอลิซึมที่เกิดในเซลล์สิ่งมีชีวิตเพื่อเปลี่ยนแปลงพลังงานชีวเคมีจากสารอาหารเป็นอะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (ATP) และปล่อยผลิตภัณฑ์ของเสียออกมา ปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องในการหายใจมีปฏิกิริยาแคแทบอลิซึมที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยารีดอกซ์ (หมายถึง มีทั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชัน) การหายใจเป็นหนึ่งในวิธีการหลักที่เซลล์จะได้รับพลังงานที่มีประโยชน์เพื่อเป็นเชื้อเพลิงการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ สารอาหารซึ่งเซลล์สัตว์และพืชมักใช้ในการหายใจ มีน้ำตาล กรดอะมิโนและกรดไขมัน ตลอดจนตัวออกซิไดซ์ทั่วไป (ตัวรับอิเล็กตรอน) ในโมเลกุลออกซิเจน (O2) แบคทีเรียและอาร์เคียยังเป็นลิโธโทรฟ (lithotroph) คือ อาจหายใจได้โดยใช้โมเลกุลอนินทรีย์หลากชนิดเป็นตัวให้และรับอิเล็กตรอน เช่น กำมะถัน ไอออนโลหะ มีเทนและไฮโดรเจน สิ่งมีชีวิตซึ่งใช้ออกซิเจนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้ายในการหายใจเรียกว่า สิ่งมีชีวิตต้องการออกซิเจน (aerobic) ส่วนสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจนเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย เรียกว่า สิ่งมีชีวิตไม่ต้องการออกซิเจน (anaerobic) พลังงานซึ่งปลดปล่อยออกมาในการหายใจใช้ในการสังเคราะห์เอทีพีเพื่อเก็บพลังงานนี้ พลังงานที่เก็บในเอทีพีจากนั้นสามารถใช้เพื่อขับเคลื่อนขบวนการซึ่งอาศัยพลังงาน ได้แก่ ชีวสังเคราะห์ การเคลื่อนที่หรือการส่งโมเลกุลข้ามเยื่อหุ้มเซลล.
การถ่ายโอนสัญญาณ
วิถีการถ่ายโอนสัญญาณหลัก ๆ (แบบทำให้ง่าย) ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในเซลล์ การถ่ายโอนสัญญาณ หรือ การแปรสัญญาณ (signal transduction) เป็นกระบวนการทางเคมีหรือทางกายภาพโดยเป็นลำดับการทำงาน/ลำดับเหตุการณ์ในระดับโมเลกุล ที่โมเลกุลส่งสัญญาณ (ปกติฮอร์โมนหรือสารสื่อประสาท) จะเริ่มการทำงาน/ก่อสภาพกัมมันต์ของหน่วยรับ ซึ่งในที่สุดมีผลให้เซลล์ตอบสนองหรือเปลี่ยนการทำงาน โปรตีนที่ตรวจจับสิ่งเร้าโดยทั่วไปจะเรียกว่า หน่วยรับ (receptor) แม้ในบางที่ก็จะใช้คำว่า sensor ด้วย ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการจับของลิแกนด์กับหน่วยรับ (คือการพบสัญญาณ) จะก่อลำดับการส่งสัญญาณ (signaling cascade) ซึ่งเป็นลำดับเหตุการณ์ทางเคมีชีวภาพตามวิถีการส่งสัญญาณ (signaling pathway) เมื่อวิถีการส่งสัญญาณมากกว่าหนึ่งมีปฏิสัมพันธ์กับกันและกัน นี่ก็จะกลายเป็นเครือข่าย เป็นการประสานการตอบสนองของเซลล์ บ่อยครั้งโดยเป็นการส่งสัญญาณแบบร่วมกัน ในระดับโมเลกุล การตอบสนองเช่นนี้รวม.
มวลชีวภาพ
มวลชีวภาพ หรือ ชีวมวล (biomass) คือสารอินทรีย์ที่เป็นแหล่งกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนำมาใช้ผลิตพลังงานได้ เช่น เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร หรือกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น.
มอลต์
ร์เลย์มอลต์ โดยจะเห็นหน่อสีขาว มอลต์ (malt) ได้มาจากข้าวบาเลย์ ซึ่งเป็นธัญพืชที่นิยมปลูกในประเทศ ที่มีภูมิภาคเย็น จะมีการปลูกกันมาก ในประเทศทางทวีปยุโรป เช่น เยอรมนี ออสเตรีย อังกฤษ เดนมาร์ก และออสเตรเลีย ส่วนในประเทศไทยมีการนำ สายพันธุ์ ข้าวบาร์เลย์เข้ามาปลูกในแถบ ภาคเหนือ ซึ่งมีภูมิอากาศเย็น ข้าวมอลต์ มีรสชาติ สี และกลิ่นหอมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นที่นิยมของผู้บริโภคและมีคุณค่าทางโภชนาการสูงซึ่งเกิดจากสารอาหารชนิดต่างๆ ที่สร้างสะสมอยู่ในเมล็ดข้าวระหว่างการงอก ข้าวมอลต์สามารถจำหน่ายในรูปข้าวกล้องมอลต์ พร้อมหุงรับประทานหรือนำไปใช้เป็นวัตถุดิบผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ อาทิ เบียร์ วิสกี้ โจ๊กข้าวมอลต์ ผงชงดื่มเพื่อสุขภาพ เครื่องดื่มมอลต์ สกัดเข้มข้น น้ำมอลต์สกัด เป็นต้น.
มักก็อลลี
มักก็อลลี มักก็อลลี เป็นสาโทพื้นเมืองชนิดหนึ่งของเกาหลี ได้จากการนำเมล็ดข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวสาลี หรือข้าวบาร์เลย์ที่หุงสุกแล้วมาหมักกับส่าเหล้าและ "นูรุก" (ลูกแป้งของเกาหลี) สาโทที่ได้จะมีสีขาวนวลคล้ายน้ำนม มีรสหวาน และมีปริมาณแอลกอฮอล์ประมาณร้อยละ 6–8 โดยปริมาตร ตามธรรมเนียมเดิมจะใช้ข้าวเจ้าในการทำมักก็อลลี แต่ก็มีหลายสูตรที่ใช้ข้าวสาลีหรือข้าวบาร์เลย์แทน และบางยี่ห้อจะแต่งกลิ่นรสข้าวโพด เกาลัด แอปเปิล และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ แต่เดิมมักก็อลลีค่อนข้างเป็นที่นิยมในหมู่ชาวไร่ชาวนา จึงมีชื่อเรียกว่า "นงจู" (농주) ซึ่งแปลว่า เหล้าของชาวนา อย่างไรก็ตาม เมื่อไม่นานมานี้มักก็อลลีได้กลายเป็นที่นิยมมากขึ้นตามเมืองใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่คนรุ่นใหม่ ๆ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์อีกชนิดที่คล้ายกับมักก็อลลี (แต่ใสกว่า) คือทงดงจู (동동주) ชาวเกาหลีมักดื่มเครื่องดื่มสองชนิดนี้กับแพนเค้กเกาหลีอย่างพาจ็อนหรือพินแดต็อกเป็นต้น.
มูนไชน์
มูนไชน์ (moonshine) เป็นชื่อทั่วไปสำหรับเรียกเหล้ากลั่นที่ต้มกินอย่างผิดกฎหมาย โดยที่มาของชื่อมูนไชน์ มาจากการต้มเหล้าในบริเวณกลางแจ้งใต้แสงจันทร์ มูนไชน์นิยมกันในสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในทางตอนใต้ของประเทศ มูนไชน์มักจะถูกกลั่นมาจากสติลที่ไม่ได้จดทะเบียนตามกฎหมาย โดยการนำยีสต์ หรืออาหารที่มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบมาผลิตเอทานอล โดยหลังจากนั้นนำเอทานอลที่ได้ไปกลั่นต่อในสติล รสชาติและความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ในมูนไชน์มักจะมีค่าสูงกว่าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั่วไป สติลที่ใช้ในการกลั่นมูนไชน์มักจะมีขนาดเล็ก (เผื่อหลีกเลี่ยงกฎหมาย) และมักจะถูกสร้างโดยผู้ผลิตมูนไชน์เอง โดยในปัจจุบันสติลและวิธีการผลิตมูนไชน์ได้เริ่มมีการเผยแพร่ในอินเทอร์เน็ต.
ยาปฏิชีวนะ
การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".
ยาแก้ซึมเศร้า
แผงยาโปรแซ็ก (ฟลูอ๊อกซิติน) ซึ่งเป็นยาแก้ซึมเศร้ากลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitor (SSRI) โครงสร้างทางเคมีของ venlafaxine ซึ่งเป็นยาแก้ซึมเศร้ากลุ่ม Serotonin-norepinephrine reuptake inhibitor (SNRI) ยาแก้ซึมเศร้า (Antidepressant) เป็นยาเพื่อรักษาโรคซึมเศร้าและโรคอื่น ๆ รวมทั้ง dysthymia, โรควิตกกังวล, โรคย้ำคิดย้ำทำ, ความผิดปกติในการรับประทาน (eating disorder), ความเจ็บปวดเรื้อรัง, ความเจ็บปวดเหตุประสาท (neuropathic pain), และในบางกรณี อาการปวดระดู การกรน โรคไมเกรน โรคสมาธิสั้น การติด การติดสารเสพติด และความผิดปกติในการนอน โดยสามารถใช้เดี่ยว ๆ หรือรวมกับยาชนิดอื่น ๆ ตามที่แพทย์สั่ง กลุ่มยาแก้ซึมเศร้าที่สำคัญที่สุดรวมทั้ง selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs), serotonin-norepinephrine reuptake inhibitors (SNRIs), tricyclic antidepressants (TCAs), monoamine oxidase inhibitors (MAOIs), reversible monoamine oxidase A inhibitors (rMAO-A inhibitors), tetracyclic antidepressants (TeCAs), และ noradrenergic and specific serotonergic antidepressant (NaSSAs) โดยมียาสมุนไพรจากพืช Hypericum perforatum (St John's wort) ที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้าเหมือนกัน.
รา
รา หรือ เชื้อรา เป็นสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรเห็ดราซึ่งโตในรูปของใยหลายเซลล์ที่เรียกว่า ไฮฟา ในทางตรงกันข้าม ราที่สามารถเติบโตในรูปแบบของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจะเรียกว่า ยีสต์ รามีความหลากหลายทางชีวภาพมาก ซึ่งการเติบโตของไฮฟา ทำให้เกิดรูปร่างที่ผิดแปลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งบนอาหาร รามีโครโมโซมเพียงชุดเดียว (haploid) มีผนังเซลล์ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยไคติน (chitin) ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดำรงชีพแบบ saprophyte คือ หลั่งเอนไซม์ออกนอกเซลล์ เพื่อย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อนให้ได้เป็นโมเลกุลที่เล็กที่สุดแล้วจึงดูดซับเข้าไปภายในเซลล์ ราถูกจัดให้เป็นจุลินทรีย์ และไม่ถูกจำแนกออกไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง แต่สามารถพบได้ในส่วนไซโกไมโคตาและอาสโกไมโคตา ในอดีต ราถูกจัดให้อยู่ภายในกลุ่มดิวเทอโรไมโคต.
ดู ยีสต์และรา
รายชื่อพืชที่สะสมโลหะได้ดี
ต่อไปนี้เป็นรายชื่อพืชที่สะสมโลหะหนักบางชนิดได้ดี (hyperaccumulators) ในตารางแสดงพืชที่สามารถสะสมโลหะดังนี้ Al, Ag, As, Be, Cr, Cu, Mn, Hg, Mo, Pb, Se, Zn ได้ดี.
ดู ยีสต์และรายชื่อพืชที่สะสมโลหะได้ดี
ลาเกอร์
เบียร์ลาเกอร์ ลาเกอร์ (Lager) เป็นเบียร์ที่มีแหล่งกำเนิดจากประเทศเยอรมนี โดยมาจากคำเยอรมัน "lagern" หมายถึง การกักเก็บ ลาเกอร์นั้นหมักจากมอลต์ข้าวบาเลย์และฮอปส์ ด้วยยีสต์ประเภทหมักนอนก้น (bottom-fermentation yeast) ที่อุณหภูมิต่ำกว่าที่ใช้หมักเอล คือประมาณ 5 ถึง 15 องศาเซลเซียส หลังจากเสร็จกระบวนการหมักแล้ว ลาเกอร์จะถูกเก็บไว้ในห้องเย็นที่อุณหภูมิประมาณ 0 ถึง 32 องศาเซลเซียส เป็นเวลาหลายสัปดาห์ หรือ หลายเดือน ก่อนจะนำออกบริโภค ซึ่งจะทำให้เบียร์มีสีที่ใส และมีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์สูง เบียร์ที่เป็นที่นิยมหลายตรานั้นเป็นเบียร์ประเภทลาเกอร์ ลาเกอร์นั้นจะมีทั้งรสที่หวานจนถึงขม และทั้งสีอ่อนจนถึงสีเข้ม แต่ส่วนใหญ่แล้วจะสีค่อนข้างอ่อน และมีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์สูง และมีรสฮอปส์ที่ค่อนข้างเข้มข้น และระดับแอลกอฮอล์ประมาณ 3-5 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร หมวดหมู่:เบียร์ หมวดหมู่:เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เยอรมนี.
วัคซีน
็กกำลังรับวัคซีนโปลิโอชนิดหยอด วัคซีน (Vaccine) เป็นชีววัตถุที่เตรียมขึ้นจากเชื้อจุลินทรีย์หรือส่วนของเชื้อจุลินทรีย์ซึ่งจะมีกลไกชักนำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันที่จำเพาะต่อจุลินทรีย์ชนิดนั้น ๆ กล่าวคือมีฤทธิ์ชักนำการสร้างภูมิคุ้มกันอันจำเพาะกับโรค วัคซีนโดยทั่วไปจะประกอบด้วยส่วนประกอบของจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของโรค (แอนติเจน) ซึ่งถูกทำให้อ่อนฤทธิ์ลง, ตาย หรือการใช้ส่วนที่เป็นพิษที่อ่อนฤทธิ์ลง (toxoid) โดยวัคซีนจะกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายและสามารถจดจำได้ว่าเป็นสารก่อโรคซึ่งจะมีกลไกการทำลายต่อไป คุณสมบัติการจดจำแอนติเจนของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำให้ร่างกายสามารถกำจัดแอนติเจนหากเมื่อได้รับอีกในภายหลังได้รวดเร็วยิ่งขึ้น วัคซีนเริ่มมีการพัฒนาในราวคริสต์ทศวรรษที่ 1770 โดยเอดเวิร์ด เจนเนอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ประสบความสำเร็จในการสกัดเชื้อ cowpox เพื่อป้องกันโรคฝีดาษ (small pox) ในมนุษย์ได้ วัคซีนในระยะเริ่มแรกเป็นการนำเชื้อมาทำให้ตายหรือการใช้เชื้อที่อ่อนฤทธิ์เท่านั้น จนกระทั่งปัจจุบันมีการพัฒนาโดยนำเทคโนโลยีรีคอมบีแนนต์มาช่วยในการพัฒนาโดยอาศัยความรู้ทางชีววิทยาระดับโมเลกุล และมีความพยายามพัฒนาวัคซีนโดยการสังเคราะห์แอนติเจนในการผลิตซับยูนิตวัคซีน (subunit vaccine) อีกด้วย คำว่า "วัคซีน" (vaccine) ได้มาจากครั้งที่เอ็ดวาร์ดให้เชื้อ cowpox แก่มนุษย์ โดยคำว่า variolæ vaccinæ มาจากคำว่า vaccīn-us หรือ vacca ซึ่งแปลว่า cow หรือวัวซึ่งมีความสัมพันธ์กับเชื้อ cowpox.
วิทยา มีวุฒิสม
ตราจารย์ ดร. วิทยา มีวุฒิสม ศาสตราจารย์ วิทยา มีวุฒิสม (22 กันยายน 2492 -) เกิดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานการวิจัยทางด้านจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีชีวภาพโดยเฉพาะการสร้างองค์ความรู้ใหม่และนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรม เป็นที่ปรึกษาหลายบริษัทและนักจัดรายการวิทยุ ร่วมดำเนินรายการ "ตอบปัญหาสุขภาพ" ที่สถานีวิทยุ วพท.
วิตามินบี12
วงแหวง corrin ที่เป็นโครงสร้างประกอบของวิตามิน methylcobalamin (ดังที่แสดง) เป็นรูปแบบของวิตามินบี12 อย่างหนึ่ง แต่ก็ยังคล้ายกับรูปแบบอื่น ๆ ของวิตามิน ปรากฏเป็นผลึกสีแดงซึ่งละลายน้ำเป็นสีแดงเข้ม วิตามินบี12 (12, cobalamin) เป็นวิตามินละลายน้ำได้ที่เป็นกุญแจสำคัญในการทำงานเป็นปกติของสมองกับระบบประสาท และการสร้างเม็ดเลือดแดง เป็นรูปแบบหนึ่งของวิตามินบี 8 อย่าง ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซึมในเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายมนุษย์ โดยมีผลเฉพาะต่อการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ เมแทบอลิซึมของกรดไขมันและกรดอะมิโน ไม่มีเห็ดรา พืช หรือสัตว์ (รวมทั้งมนุษย์) ที่สามารถสร้างวิตามินบี12ได้ มีแต่สิ่งมีชีวิตประเภทแบคทีเรียและอาร์เคียที่มีเอนไซม์เพื่อสังเคราะห์มันได้ แหล่งของวิตามินที่ได้พิสูจน์แล้วเป็นผลิตภัณฑ์สัตว์รวมทั้งเนื้อ ปลา ผลิตภัณฑ์นม และอาหารเสริม แต่ก็มีงานวิจัยที่แสดงว่า ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่มาจากสัตว์บางอย่างอาจเป็นแหล่งธรรมชาติของวิตามินได้ เพราะอยู่ร่วมกับแบคทีเรีย (bacterial symbiosis) วิตามินบี12 เป็นวิตามินที่ใหญ่ที่สุด มีโครงสร้างซับซ้อนที่สุด และสามารถสังเคราะห์โดยหมักแบคทีเรีย (bacterial fermentation-synthesis) แล้วใช้เสริมอาหารและเป็นวิตามินเสริม วิตามินบี12 เป็นกลุ่มสารประกอบที่มีโครงสร้างเคมีเกี่ยวข้องกัน (หรือที่เรียกว่า vitamer) ซึ่งมีฤทธิ์ทางชีวภาพ และมีธาตุโคบอลต์ (Co) ที่ไม่สามัญทางเคมี-ชีวภาพ อยู่ตรงกลางวงแหวนเชิงระนาบแบบ tetra-pyrrole ที่เรียกว่าวงแหวน corrin (ดูรูป) ซึ่งสามารถผลิตได้โดยแบคทีเรีย hydroxocobalamin แต่ร่างกายสามารถแปรรูปแบบวิตามินไปในแบบต่าง ๆ ได้ วิตามินค้นพบโดยความสัมพันธ์ของมันกับโรคภาวะเลือดจางเหตุขาดวิตามินบี12 (pernicious anemia) ซึ่งเป็นโรคภูมิต้านตนเอง และมีผลทำลายเซลล์ผนัง (parietal cell) ที่มีหน้าที่หลั่งไกลโคโปรตีน คือ intrinsic factor ในกระเพาะอาหาร เซลล์เหล่านี้ยังมีหน้าที่หลั่งกรดย่อยอาหารในกระเพาะอีกด้วย เพราะว่า intrinsic factor จำเป็นต่อการดูดซึมวิตามินตามปกติ การขาดโปรตีนนี้เพราะโรค จึงทำให้ขาดวิตามินบี12 ยังมีรูปแบบการขาดวิตามินแบบเบากว่าอื่น ๆ ที่ผลติดตามทางชีวเคมีก็ปรากฏชัดแล้ว.
สาโท
ทไทย สำหรับสาโทที่หมายถึง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กคล้ายหนู ดูที่ สาโท สาโท หรือ น้ำขาว คือ สุราแช่ประเภทหนึ่ง ทำจากข้าวชนิดต่างๆ ที่ผ่านการหมักด้วยลูกแป้ง หรือเชื้อราและยีสต์ เพื่อเปลี่ยนแป้งในข้าวให้เป็นแอลกอฮอล์ โดยสาโทที่ผ่านกระบวนการหมักแล้วจะมีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกิน 15 ดีกรี สาโทเป็นเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ชนิดไวน์ข้าว (Rice Wine) ที่ไม่ผ่านกระบวนการกลั่น ถ้านำไปกลั่นก็จะได้เป็นเหล้าขาว นิยมผลิตกันในประเทศแถบภูมิภาคเอเชีย อาทิ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น และไทย โดยจะมีชื่อเรียกต่างกันไป ในประเทศไทยนั้นจะนิยมผลิตสาโทเพื่อเป็นเครื่องดื่มในเทศกาล งานเลี้ยงต่างๆ ซึ่งสาโทที่ผลิตจะมีรสหวาน เพราะกระบวนการหมักยังไม่สิ้นสุด และจะเก็บไว้ไม่ได้นาน แต่บางพื้นที่จะหมักจนน้ำใสและมีตะกอน ซึ่งจะได้แรงแอลกอฮอล์สูงขึ้นจนสามารถเก็บไว้ได้นานขึ้น หรือนำไปกลั่นเป็นเหล้าขาว.
ดู ยีสต์และสาโท
สุรา
ราที่วางขายในร้าน สุรา (liquor หรือ spirit) หมายถึง น้ำเมาที่ได้จากการกลั่นสารบางประเภท อาทิ เอทิลแอลกอฮอล์ และเมรัย คือ น้ำเมาที่เกิดจากการหมักหรือแช่ให้เกิดสารบางประเภท เมื่อดื่มแล้วสารนั้นจะออกฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง หากดื่มไม่มากอาจรู้สึกผ่อนคลายเนื่องจากสารกดจิตใต้สำนึกที่คอยควบคุมตนเองทำให้กล้าแสดงออกมากขึ้น แต่เมื่อดื่มมากขึ้นก็จะกดสมองบริเวณอื่น ๆ ทำให้เสียการทรงตัว พูดไม่ชัด จนแม้กระทั่งหมดสติในที่สุด ทั้งสุราและเมรัยเรียกโดยภาษาปากว่า "เหล้า" ประเทศต่าง ๆ ได้วางกฎเกณฑ์สำหรับการผลิต การขาย และการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ตัวอย่างเช่น กฎหมายที่กำหนดอายุขั้นต่ำสำหรับผู้ที่สามารถบริโภคได้อย่างถูกกฎหมาย ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละประเทศ เช่น อายุไม่ต่ำกว่า 16 ปีสำหรับประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส ออสเตรียและสวิสเซอร์แลนด์, ไม่ต่ำกว่า 18 ปีในประเทศไทย หรือไม่ต่ำกว่า 21 ปีในสหรัฐอเมริกา การบริโภคทั้งสุราและเมรัยเป็นข้อห้ามในข้อสุราเมรยมัชปมาทัฏฐานหรือข้อที่ 5 แห่งเบญจศีลของพุทธศาสนา ซึ่งว่า "สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํสมาทิยามิ" แปลได้ว่า "เราจักถือศีลโดยเว้นจากการบริโภคสุรายาเมาอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท".
ดู ยีสต์และสุรา
หน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีน
รงสร้างแบบ α-helix โดยมีโดเมนข้ามเยื่อหุ้มเซลล์ 7 โดเมนของ G protein-coupled receptor หน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีน (G protein-coupled receptors ตัวย่อ GPCRs) ที่มีชื่ออื่น ๆ อีกว่า seven-(pass)-transmembrane domain receptors, 7TM receptors, heptahelical receptors, serpentine receptor, และ G protein-linked receptors (GPLR), เป็นกลุ่ม (family) โปรตีนหน่วยรับ (receptor) กลุ่มใหญ่ ที่ตรวจจับโมเลกุลนอกเซลล์ แล้วจุดชนวนวิถีการถ่ายโอนสัญญาณ (signal transduction) ภายในเซลล์ ซึ่งในที่สุดมีผลเป็นการตอบสนองของเซลล์ เป็นหน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีน (G protein) ที่เรียกว่า seven-transmembrane receptor เพราะมีโครงสร้างที่ข้ามผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ถึง 7 ครั้ง GPCRs จะพบแต่ในยูแคริโอตรวมทั้งยีสต์, choanoflagellate, และสัตว์ ลิแกนด์ที่จับและเริ่มการทำงานของหน่วยรับเช่นนี้รวมทั้งสารประกอบไวแสง กลิ่น ฟีโรโมน ฮอร์โมน และสารสื่อประสาท โดยมีขนาดต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่โมเลกุลเล็ก ๆ จนถึงเพปไทด์และโปรตีนขนาดใหญ่ GPCRs มีบทบาทในโรคหลายอย่าง และเป็นเป้าหมายการออกฤทธิ์ของยาปัจจุบันประมาณ 34% มีวิถีการถ่ายโอนสัญญาณสองอย่างเกี่ยวกับ GPCRs คือ.
ดู ยีสต์และหน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีน
อาร์เอ็นเอ
กรดไรโบนิวคลีอิก (ribonucleic acid) หรือ อาร์เอ็นเอ เป็นกรดนิวคลีอิก ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สารชีวโมเลกุลหลัก ร่วมกับลิพิด คาร์โบไฮเดรตและโปรตีน ที่สำคัญแก่สิ่งมีชีวิตทุกชนิด อาร์เอ็นเอประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ สายยาว เช่นเดียวกับดีเอ็นเอ นิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วยประกอบด้วยนิวคลีโอเบส น้ำตาลไรโบสและหมู่ฟอสเฟต ลำดับนิวคลีโอไทด์ทำให้อาร์เอ็นเอเข้ารหัสข้อมูลพันธุกรรมได้ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดใช้อาร์เอ็นเอนำรหัส (mRNA) นำข้อมูลพันธุกรรมที่ชี้นำการสังเคราะห์โปรตีน ยิ่งไปกว่านั้น ไวรัสหลายชนิดใช้อาร์เอ็นเอเป็นสารพันธุกรรมแทนดีเอ็นเอ โมเลกุลอาร์เอ็นเอบางอย่างมีบทบาทสำคัญในเซลล์โดยเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ ควบคุมการแสดงออกของยีนหรือรับรู้และสื่อสารการตอบสนองต่อสัญญาณของเซลล์ ขบวนการหนึ่ง คือ การสังเคราะห์โปรตีน ซึ่งเป็นหน้าที่สากลซึ่งโมเลกุลอาร์เอ็นเอสื่อสารชี้นำการสร้างโปรตีนบนไรโบโซม ขบวนการนี้ใช้โมเลกุลอาร์เอ็นเอถ่ายโอน (tRNA) เพื่อขนส่งกรดอะมิโนไปยังไรโบโซม ที่ซึ่งอาร์เอ็นเอไรโบโซม (rRNA) เชื่อมกรดอะมิโนเข้าด้วยกันเพื่อสร้างโปรตีน เรียกขั้นตอนการสังเคราะห์โปรตีนจากสายอาร์เอ็นเอนี้ว่า การแปลรหัส โครงสร้างทางเคมีของอาร์เอ็นเอคล้ายคลึงกับของดีเอ็นเอเป็นอย่างมาก แต่มีข้อแตกต่างอยู่สองประการ (1) อาร์เอ็นเอมีน้ำตาลไรโบส ขณะที่ดีเอ็นเอมีน้ำตาลดีออกซีไรโบส (ขาดออกซิเจนหนึ่งอะตอม) ซึ่งแตกต่างเล็กน้อย และ (2) อาร์เอ็นเอมีนิวคลีโอเบสยูราซิล ขณะที่ดีเอ็นเอมีไทมีน โมเลกุลอาร์เอ็นเอส่วนมากเป็นสายเดี่ยว และสามารถเกิดโครงสร้างสามมิติที่ซับซ้อนมากได้ ต่างจากดีเอ็นเอ.
อาร์เธอร์ ฮาร์เดน
ซอร์ อาร์เธอร์ ฮาร์เดน (Arthur Harden; 12 ตุลาคม ค.ศ. 1865 – 17 มิถุนายน ค.ศ. 1940) เป็นนักชีวเคมีชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองแมนเชสเตอร์ เป็นบุตรของอัลเบิร์ต ไทแอส ฮาร์เดนและเอลิซา มาคาลิสเตอร์ ฮาร์เดนเรียนที่วิทยาลัยเทตเทนฮอล, วิทยาลัยโอเวนส์และมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ในปี..
อาหารคูเวต
''Machboos'' อาหารคูเวตเป็นวัฒนธรรมที่โดดเด่นอย่างหนึ่งของชาวคูเวต อาหารประจำชาติของคูเวตที่รู้จักกันดีคือ machboos (مكبوس) ประกอบด้วยเนื้อแกะหรือไก่วางข้างบนหรือผสมในข้าวหุงสุกอาหาร จะทำและเสิร์ฟอาหารครั้งละมาก ๆ และเป็นเรื่องปกติเป็นอย่างยิ่งสำหรับที่จะเชิญแขกไปรับประทานอาหารร่วมกันกับครอบครัวของตน อาหารคูเวตได้รับอิทธิพลจากอาหารอินเดีย เปอร์เซีย เมดิเตอร์เรเนียนและ Najdi (ที่อยู่ตอนกลางของคาบสมุทรอาหรับ).
อาหารเลี้ยงเชื้อ
อาหารเลี้ยงเชื้อแบบแข็ง ตัวอย่างของอาหารสำหรับเลี้ยงแบคทีเรีย เส้นสีส้มเป็นกลุ่มของแบคทีเรียที่เจริญหลังจากขีด (streak) ลงบนอาหาร อาหารเลี้ยงเชื้อ (culture medium) หมายถึง อาหารทั้งชนิดเหลวและแบบแข็ง (ใส่วุ้น) เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์หรือเซลล์ หรือพืชขนาดเล็กเช่น มอส (Physcomitrella patens) อาหารเลี้ยงเชื้อมีหลายชนิดซึ่งจะใช้เลี้ยงจุลินทรีย์หรือเซลล์ต่างชนิดกัน อาหารเลี้ยงเชื้อควรมีลักษณะดังนี้คือ มีธาตุอาหาร และความเข้มข้นที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ มีค่าความเป็นกรดด่าง (พีเอช) ที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ปราศจากสารพิษ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ต้องไม่มีสิ่งมีชีวิตใดๆ อยู่ในอาหารเลี้ยงเชื้อ.
อีเอ็ม
กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพ หรือ อีเอ็ม (Effective Microorganisms: EM) เป็นเครื่องหมายการค้าของบริษัท EM Research Organization, Inc.
ผักคราดหัวแหวน
ผักคราดหัวแหวน (ชื่อวิทยาศาสตร์เดิมคือ Spilanthes oleracea และ Spilanthes acmella; toothache plant, paracress) จัดอยู่ในวงศ์ Asteraceae ผักชนิดนี้เป็นผักพื้นบ้าน นิยมรับประทานกันมาแต่รุ่นปู่ย่าตายาย โดยเฉพาะทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเป็นผักที่เป็นทั้งอาหารและยาสมุนไพร และเป็นหนึ่งในยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน อีกทั้งทางด้านเภสัชวิทยาช่วยต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านยีสต์ ต้านไวรัส ยับยั้งการหดเกร็งของลำไส้ ลดความดันโลหิต เพิ่มฤทธิ์ของฮิสตามีนในการทำให้ลำไส้หดเกร็ง ปรับปรุงระบบภูมิคุ้มกันฆ่ายุง ฆ่าลูกน้ำยุง ทำให้ชัก เป็นยาชาเฉพาะที่ แก้ปวด ลดความแรงและความถี่ของการบีบตัวของหัวใจห้องบน ยับยั้งการหดตัวของมดลูกซึ่งเหนี่ยวนำด้วย oxytocin.
จิบเบอเรลลิน
อเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการเจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนำการสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล, from http://www.plant-hormones.info, the home since 2003 of a website developed by the now-closed Long Ashton Research Station จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ..
จุลินทรีย์
จุลินทรีย์ ''E coli'' ขนาด 10,000 เท่า จุลินทรีย์, จุลชีพ, จุลชีวัน หรือ จุลชีวิน (microorganism) เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจึงจำเป็นต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ ได้แก่ แบคทีเรีย อาร์เคีย รา และ ยีสต์ เป็นต้น เราสามารถพบจุลินทรีย์ได้ทุกสภาวะแวดล้อม แม้แต่ในสภาวะแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอื่นอยู่ไม่ได้ แต่จุลินทรีย์บางชนิดสามารถปรับตัวอาศัยอยู่ได้ เช่น ในน้ำพุร้อนบริเวณภูเขาไฟใต้ทะเลลึก หรือภูเขาไฟธรรมดา ใต้มหาสมุทรที่มีความกดดันของน้ำสูงๆ ในน้ำแข็งที่มีอุณหภูมิเย็นจัด บริเวณที่มีสภาพความเป็นกรดด่างสูง หรือแม้กระทั่งในบริเวณที่ไม่มีออกซิเจนส่วนใหญ่หมายถึงสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว หรือหลายๆเซลล์ (เช่น เชื้อรา) หมวดหมู่:ชีววิทยา.
ขนมฝรั่งกุฎีจีน
นมฝรั่งกุฎีจีน ขนมฝรั่งกุฎีจีน เป็นขนมไทยอย่างหนึ่ง ที่มีประวัติยาวนานมาตั้งแต่กรุงธนบุรีเป็นราชธานี โดยเป็นขนมที่อยู่คู่กับชุมชนกุฎีจีน ชุมชนของชาวไทยเชื้อสายโปรตุเกส ที่ตั้งอยู่ที่บริเวณใกล้เคียงกับโบสถ์ซางตาครู้ส โบสถ์คาทอลิกเก่าแก่ติดแม่น้ำเจ้าพระยาทางด้านฝั่งธนบุรี ซึ่งเป็นชุมชนที่อยู่ที่นี่มาตั้้งแต่ยุคกรุงธนบุรี ขนมฝรั่งกุฎีจีน เป็นขนมที่ได้รับอิทธิพลมาจากขนมโปรตุเกสเช่นเดียวกับขนมไทยหลายอย่าง เช่น ทองหยิบ, ทองหยอด, ฝอยทอง หรือลูกชุบ ตั้งแต่ยุคกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยท้าวทองกีบม้า หรือ มารี กีมาร์ ตัวขนมเป็นตำรับของขนมแบบโปรตุเกส โดยใช้วัตถุดิบสามอย่าง คือ แป้งสาลี, ไข่เป็ด และน้ำตาลทราย ตีให้ส่วนผสมเข้ากันจนขึ้นฟูและเทลงแม่พิมพ์ โดยไม่ผสมผงฟู, ยีสต์ หรือสารกันบูด จากนั้นโรยด้วยลูกเกด, ลูกพลับอบแห้ง, ฟักเชื่อม และน้ำตาลทราย ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากขนมของจีน โดยชาวจีนเชื่อว่าเมื่อรับประทานฟักเชื่อมแล้วจะก่อให้เกิดความร่มเย็น ส่วนน้ำตาลทรายจะเกิดความมั่งคั่งไม่รู้จบเหมือนกับน้ำตาลทรายที่นับเม็ดไม่ได้ ส่วนลูกพลับอบแห้งและลูกเกด ก็เป็นผลไม้ที่มีราคาและมีคุณค่าทางอาหารอีกด้วย แล้วจึงนำไปเทใส่แม่พิมพ์แล้วอบจนสุกโดยใช้วิธีอบแบบโบราณด้วยเตาถ่าน รสชาติมีความกรอบนอก นุ่มใน เดิมที ขนมฝรั่งกุฎีจีนจะทำกันเฉพาะในช่วงเทศกาลสำคัญทางศาสนาและแจกจ่ายรับประทานกันเองในครอบครัวหรือชุมชน เช่น คริสต์มาส ต่อมาเมื่อได้รับความนิยมและเป็นที่รู้จักกันมากขึ้น จึงมีการทำออกมาขาย จนมีคำร้องคล้องจองกันของผู้ค้า เมื่อนำขนมออกไปเร่ขายเพื่อดึงดูดความสนใจผู้ซื้อว่า "อ้อยจีนบางใหญ่ อ้อยไทยบางคูวัด ข้าวหลามตัดวัดระฆัง ขนมฝรั่งกุฎีจีน แม่เอ๊ย" อันบ่งบอกได้ถึงอดีตที่เคยรุ่งเรืองของอาหารพื้นถิ่นและการค้าขายในแถบนี้ ซึ่งในอดีตก็จะมีขายเฉพาะในช่วงปลายปีเท่านั้น อันตรงกับช่วงเทศกาลคริสต์มาส ปัจจุบัน ที่ชุมนุมกุฎีจีนเหลือร้านที่ทำและจำหน่ายขนมฝรั่งกุฎีจีนเพียงไม่กี่รายเท่านั้น.
ขนมปัง
นมปัง ขนมปัง หรือ ปัง เป็นอาหารที่ทำจากแป้งสาลีที่ผสมกับน้ำและยีสต์ หรือผงฟู นอกจากนี้ยังมีการใช้ส่วนผสมอื่น ๆ เพื่อแต่งสี รสชาติและกลิ่น แตกต่างกันไปตามแต่ละประเภทของขนมปัง และ แต่ละประเทศที่ทำ โดยนำส่วนผสมมาตีให้เข้ากันและนำไปอบ ขนมปังมีหลายประเภท เช่น ขนมปังฝรั่งเศส ขนมปังไรย์ หรือแม้กระทั่งเพรตเซิล ของขึ้นชื่อประเทศเยอรมนี เป็นต้น ชาวสวิสที่อาศัยอยู่ตามทะเลสาบในยุคหินเป็นผู้ริเริ่มนำเมล็ดข้าวสาลีมาบดโดยใช้ครกหยาบ ๆ ตำ แล้วนำไปผสมน้ำ แล้วนำไปเทลงบนหินร้อนๆเพื่อให้สุก ผลที่ได้คือขนมปังที่ขึ้นฟูโดยไม่ได้ตั้งใจ ซึ่งค้นพบมากว่า 3,000 ปี ก่อนคริสตกาล ประวัติที่ยอมรับสืบเนื่องกันมาก็คือพวกทาสในสมัยราชวงศ์อียีปต์ ได้ผสมก้อนแป้งที่ลืมทิ้งไว้ลงไปในแป้งที่ผสมเสร็จใหม่ๆ ผลที่ได้คือแป้งที่เบาและรสชาติดี.
ขนมปังทอดอินเดียนแดง
นมปังทอดอินเดียนแดง หรือ ฟรายเบรด (frybread หรือ สะกด fry bread) เป็นก้อนแป้งรูปแบนทอดในน้ำมันพืช หรือ น้ำมันหมู โดยมีผงฟูหรือยีสต์เป็นส่วนผสมของตัวแป้ง ขนมปังทอดอินเดียนแดงสามารถนำรับประทานเดี่ยว ๆ หรือนำรับประทานกับน้ำผึ้ง แยม หรือเนื้อวัว.
ดู ยีสต์และขนมปังทอดอินเดียนแดง
ครัมเป็ต
ครัมเป็ตร้อนๆทาเนย ครัมเป็ต (Crumpet) เป็นเค้กที่ทำมาจากแป้งหรือมันฝรั่งหมักกับยีสต์ นิยมรับประทานกันทั่วไปในสหราชอาณาจักร มีรูปร่างกลม มีรูพรุนจากฟองอากาศเล็กน้อย กลิ่นหอมอ่อนๆ มักรับประทานขณะร้อนๆ พร้อมกับทาเนย ซึ่งด้านนอกจะยังคงกรอบ ขณะที่ด้านในจะนุ่ม ถือว่าเป็นอาหารมื้อเช้าของชาวอังกฤษทั่วไป หมวดหมู่:อาหาร.
คริสเปอร์
ริสเปอร์/แคสไนน์ (CRISPR/Cas9) doi.
ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปรทางพันธุกรรม หรือ ความผันแปรทางพันธุกรรม หรือ ความผันแปรได้ทางพันธุกรรม (Genetic variability, จากคำว่า vary + liable - เปลี่ยนได้) เป็นสมรรถภาพของระบบชีวภาพไม่ว่าจะที่ระดับสิ่งมีชีวิตหรือที่กลุ่มประชากร ในการเปลี่ยนไปตามกาลเวลา มูลฐานของความผันแปรได้ทางพันธุกรรมก็คือความแตกต่างทางพันธุกรรมของระบบชีวภาพในระดับต่าง ๆ ความผันแปรได้ทางพันธุกรรมอาจนิยามได้ด้วยว่า เป็นค่าความโน้มเอียงที่จีโนไทป์แต่ละชนิด ๆ ในกลุ่มประชากรจะแตกต่างกัน โดยต่างจากความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) ซึ่งเป็นจำนวนความแตกต่างที่พบในกลุ่มประชากร ความผันแปรได้ของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จึงหมายถึงค่าความโน้มเอียงที่ลักษณะจะต่าง ๆ กันเป็นการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมและต่อปัจจัยทางพันธุกรรมอื่น ๆ ความผันแปรได้ของยีนในกลุ่มประชากรสำคัญต่อความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) เพราะถ้าไม่สามารถผันแปรได้ กลุ่มสิ่งมีชีวิตก็จะมีปัญหาปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม และดังนั้น จะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ ความผันแปรได้เป็นปัจจัยสำคัญในกระบวนการวิวัฒนาการ เพราะมีผลต่อการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตต่อความกดดันทางสิ่งแวดล้อม และดังนั้น สิ่งมีชีวิตจึงสามารถรอดชีวิตได้ต่าง ๆ กันในกลุ่มประชากรหนึ่ง ๆ เนื่องจากธรรมชาติจะคัดเลือกความต่างซึ่งเหมาะสมที่สุด ความผันแปรได้ยังเป็นมูลฐานของความเสี่ยงต่อโรคและความไวพิษ/ยาที่ต่าง ๆ กันในสิ่งมีชีวิต ซึ่งเพิ่มความสนใจในเรื่องการแพทย์แบบปรับเฉพาะบุคคล (personalized medicine) โดยเนื่องกับโครงการจีโนมมนุษย์ และความพยายามเพื่อสร้างแผนที่กำหนดขอบเขตความแตกต่างทางพันธุกรรมของมนุษย์ เช่น ในโครงการ International Hapmap homologous recombination เป็นเหตุเกิดความผันแปรได้ทางพันธุกรรมที่สำคัญ polyploidy จะเพิ่มความผันแปรได้ทางพันธุกรรม การกลายพันธุ์เปลี่ยนแพรเซี่ยงไฮ้ให้มีดอกสีต่างกัน.
ดู ยีสต์และความผันแปรได้ทางพันธุกรรม
คาร์นิทีน
ร์นิทีน เป็นสารประกอบจตุรภูมิของแอมโมเนียมที่สังเคราะห์ได้จากกรดอะมิโนสองชนิดคือ ไลซีนและเมธไทโอนีน ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตคาร์นิทีนจะลำเลียงกรดไขมันจากไซโตซอลเข้าสู่ไมโทคอนเดรียระหว่างการสลายของลิพิด (ไขมัน) เพื่อใช้ในการเผาผลาญพลังงาน คาร์นิทีนถูกใช้เป็นอาหารเสริมกันอย่างกว้างขวาง เดิมคาร์นิทีนพบว่าเป็นปัจจัยในการเจริญเติบโตของหนอนนกและมีอยู่บนฉลากวิตามินบี คาร์นิทีนมีอยู่ 2 stereoisomers: Active form คือ L-carnitine ขณะที่ inactive form คือ D-carnitine.
ตูอัก
ทหารและชาวพื้นเมืองกำลังดื่มตูอัก ตูอัก (Tuak) เป็นเครื่องดื่มที่หมักด้วยยีสต์จากปาล์มและน้ำตาล นิยมดื่มในอินโดนีเซียบริเวณสุมาตรา ซูลาเวซี บอร์เนียว และบางส่วนของมาเลเซีย เช่น เกาะปีนังและมาเลเซียตะวันออก ในบางครั้งหมายถึงไวน์ข้าวได้ด้วย เป็นเครื่องดื่มที่นิยมในหมู่ชาวอีบันและชาวดายักอื่นๆในซาราวะก์ระหว่างเทศกาลกาไว งานแต่งงาน ต้อนรับแขก และโอกาสพิเศษ การทำตูอักจากข้าวจะแผ่ข้าวเหนียวที่หุงสุกแล้วบนพื้นเรียบที่เย็น เติมยีสต์ ถ้าเติมเท่ากับข้าวจะได้ตูอักขม ถ้าต้องการรสหวานจะเติมยีสต์น้อยลง ผสมให้เข้ากับข้าว นำไปหมักในเหยือก 3-10 วัน ส่วนที่เป็นของแข็งจะลอยขึ้นมาข้างบน เคี่ยวน้ำตาลกับน้ำให้เป็นน้ำเชื่อม พักให้เย็นเติมลงในส่วนผสมที่หมักไว้ เมื่อหมักครบกำหนดจะรับประทานได้ ถ้าเก็บไว้นานสีจะเข้มและมีกลิ่นคล้ายผึ่ง.
ซาลาเปา
ซาลาเปา ซาลาเปา (包子, เปาจื่อ; 燒包 ความหมาย "ห่อเผา") พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า "ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีปั้นเป็นลูกกลม ข้างในใส่ไส้ มีทั้งไส้หวานและไส้เค็ม" ซาลาเปาเป็นอาหารจีนชนิดหนึ่งทำมาจากแป้งสาลีและยีสต์ และนำมาผ่านขบวนการนึ่ง ซาลาเปาจะมีไส้อยู่ภายในโดยอาจจะเป็นเนื้อหรือผัก ซาลาเปาที่นิยมนำมารับประทานได้แก่ ซาลาเปาไส้หมู และ ซาลาเปาไส้ครีม สำหรับอาหารที่มีลักษณะคล้ายซาลาเปา ที่ไม่มีไส้จะเรียกว่า หมั่นโถว ซาลาเปาเชื่อว่าถือกำเนิดขึ้นมาในยุคราชวงศ์ซ้อง (ค.ศ.
ซาโปนิน
รงสร้างทางเคมีของโซลานีน ซาโปนิน (saponin) เป็นสารกลุ่มไกลโคไซด์ที่มีสมบัติเป็นแอมฟิฟิล (amphiphile) สามารถละลายได้ทั้งในน้ำและไขมัน จะเกิดเป็นฟองเมื่อนำมาผสมกับสารละลายในน้ำ สารกลุ่มซาโปนินมักมีโครงสร้างเป็นไกลโคไซด์ชนิดไฮโดรฟิลิก (ละลายน้ำ) จับกับสารอนุพันธ์ไตรเทอร์พีนชนิดไลโพฟิลิก (ละลายในไขมัน).
ซินนามอนโรล
ซินนามอนโรลของชาวสวีเดน ''"kanelbulle"'' ซินนามอนโรล (Cinnamon roll) เป็นขนมหวานที่พบบ่อยในทวีปอเมริกาเหนือและยุโรปเหนือ ซินนามอนโรลสามารถเปรียบเทียบได้เป็นขนมปังน้ำผึ้ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของขนมหวานในตระกูลโดนัท ซินนามอนโรลได้รับการคิดค้นในสวีเดนในชื่อที่เรียกว่า kanelbulle (แปลว่า "ขนมปังอบเชย") ซินนามอนโรลประกอบด้วยแผ่นยีสต์ม้วน และโรยส่วนผสมระหว่างอบเชยและน้ำตาล (และลูกเกดหรือองุ่นสับในบางกรณี) เหนือชั้นเนยบาง ๆ เมื่อรีดแป้งเป็นแผ่น แล้วตัดเป็นส่วน ๆ และอบ ซินนามอนโรลมักจะโรยด้วยน้ำตาลครีมโรยหน้าขนมบ่อย ๆ หรือเคลือบเงาของบางประเภท ขนาดของซินนามอนโรลจะแตกต่างกันในแต่ละสถานที่ โดยส่วนมากแล้วร้านเบเกอร์รี่จะผลิตขนาดประมาณ 5 ซม.
ปลาตะลุมพุก
ทความนี้หมายถึงปลา ส่วนตะลุมพุกในความหมายอื่นดูที่: ตะลุมพุก ปลาตะลุมพุก หรือ ปลากระลุมพุก หรือ ปลาหลุมพุก (ใต้) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งที่เข้ามาวางไข่ในน้ำจืด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tenualosa toli ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae).
ปัจจัยกระทบ
ปัจจัยกระทบ (impact factor) ปกติใช้คำย่อว่า IF หมายถึงการวัดการได้รับการอ้างอิงของวารสารวิชาการสาขาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อใช้เป็นตัวแทนที่บ่งชี้ความสำคัญและความน่าเชื่อถือของวารสารในสาขาวิชาการนั้น.
นัวร์เซโอธริซิน
นัวร์เซโอธริซิน (Nourseothricin หรือ NTC) เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มย่อยสเตรปโตธริซินของยากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ เป็นสารที่ละลายน้ำได้ง่ายมาก (~ 1 g/mL) และคงตัวในสารละลายได้นานถึง 2 ปี ที่อุณหภูมิ 4 °C ยานี้ซึ่งแยกได้จากแบคทีเรียสกุลสเตรปโตมัยซิส ทั้งนี้ นัวร์เซโอธริซินเป็นสารที่มีส่วนผสมของสารอื่นสี่ชนิด คือ นัวร์เซโอธริซิน ซี, นัวร์เซโอธริซิน ดี, นัวร์เซโอธริซิน อี, และนัวร์เซโอธริซิน เอฟ โดยนัวร์เซโอธริซินนั้นจะออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีน โดยเหนี่ยวนำให้เกิดการแปรรหัสพันธุกรรมผิดพลาด นอกจากนี้ยังถูกใช้เป็นเครื่องหมายทางพันธุกรรม (Selection marker) สำหรับการคัดเลือกพันธุ์ของจุลชีพหลายชนิด ได้แก่ แบคทีเรีย, ยีสต์, รา, และเซลล์พืช และยานี้ไม่ก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ต่อเซลล์ที่ได้รับคัดเลือก ซึ่งเป็นคุณสมบัติสำคัญอย่างหนึ่งของสารที่จะนำมาใช้ในกระบวนการนี้ นัวร์เซโอธริซินสามารถถูกทำให้หมดฤทธิ์ได้โดยเอนไซม์ nourseothricin N-acetyl transferase (NAT) จากเชื้อแบคทีเรีย Streptomyces noursei โดยเอนไซม์นี้จะก่อให้เกิดปฏิกิริยาอะเซทิเลชันโดยการเติมหมู่บีตา-อะมิโนเข้าไปในส่วนบีตา-ไลซีนของนัวร์เซโอธริซิน นอกจากนี้นัวร์เซโอธริซินยังแสดงคุณสมบัติคล้ายกับยีนที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะได้เช่นกัน.
แพนเค้ก
แพนเค้ก สองแผ่นราดด้วย น้ำหวาน (ไซรัป) จากต้น เมเปิ้ล แพนเค้ก (Pancake) เป็นขนมปังแผ่นแบนชนิดหนึ่งทำจาก แป้งนวดเปียก (batter) ซึ่งเป็นแป้งที่ผสมกับ ของเหลว เช่น น้ำ หรือนม และโดยมากแป้งนวดเปียกจะมีไข่เป็นส่วนผสมอยู่ด้วย แพนเค้กมีความหวานเล็กน้อย และ ถูกทำให้สุกด้วยการหยอดลงในกระทะแบนร้อน ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ แพนเค้กมีกินในหลายประเทศในหลายรูปแบบ ส่วนใหญ่แล้วแพนเค้กจะทำจากแป้งสำเร็จรูป ซึ่งมีส่วนผสมของสารเคมีที่ทำให้แป้งขึ้นตัวเมื่อถูกความร้อน เช่น ผงฟู แม้ว่าในบางที เราสามารถที่จะพบแพนเค้ก ที่ทำจากแป้งนวดเปียก ที่หมักจากยีสต์ได้ ในสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักจะนิยมกินแพนเค้กเป็นอาหารเช้าโดยกินร่วมกับไซรัปและร่วมกับผลไม้เช่นกล้วยหรือสตรอเบอร์รี ในยุโรปตอนกลาง แพนเค้กจะมีความบางกว่าแพนเค้กแบบอเมริกาเหนือ และจะสอดไส้อาหารหลายแบบ ซึ่งสามารถที่จะถูกนำไปทานเป็นอาหารกลางวัน หรือ อาหารมื้อเย็นก็ได้ แพนเค้กแบบนี้ จะถูกเรียกว่า Palatschinken ในภาษาเยอรมัน palacsinta ในภาษาฮังการี clătită ในภาษาโรมาเนีย palačinke ในภาษาเซอร์เบีย โครเอเชีย และบอสเนีย naleśnik ในภาษาโปแลนด์ ไฟล์:Banana on pancake.jpg|แพนเค้กแบบอเมริกาเหนือ (สหรัฐอเมริกา และแคนาดา) บางทีก็มาพร้อมกล้วยชิ้นเล็ก ไฟล์:Pancake and crumpet.jpg|แพนเค้กแบบชาวสก็อต พร้อมกับ ครัมเป็ต (แป้งแผ่นกลมจืด) ผลไม้ ไฟล์:Crêpe opened up.jpg|เครป (Crêpe) หรือ แพนเค้กแบบฝรั่งเศส ที่ถูกกางออก ไฟล์:Pfannkuchen mit Zucker.jpg|แพนเค้กแบบเยอรมัน (Palatschinken) ที่ม้วนเอา ไส้ครีมช็อคโคแลต น้ำตาล และซินนามอน ไว้ ไฟล์:Palatschinke.jpg|แพนเค้กแบบเยอรมัน (Palatschinken) ที่ถูกยัดไส้ด้วยช็อคโกแลต ครีมตีฟู (whipped cream) และแยม หรือถั่ว ไฟล์:Aland pancake.jpg|แพนเค้กหนาของชาวสวีเดน ไฟล์:Pancake with tomato goats cheese and onion.jpg|แพนเค้กของชาวโปแลนด์ ยัดไส้ด้วยมะเขือเทศ หอมหัวใหญ่ และเนยแข็งที่มาจากแ.
แอมโมเนียมคลอไรด์
ณสมบัติ ทั่วไป Sample of ammonium chlorideแอมโมเนียมคลอไรด์ กายภาพ เคมีความร้อน (Thermochemistry) ความปลอดภัย (Safety) SI units were used where possible.
โมโม (อาหาร)
มโม (མོག་མོག་; Wylie: mog mog) เป็นเกี๊ยวหรือขนมจีบที่มีต้นกำเนิดในทิเบต กลายเป็นอาหารประจำชาติของชาวเนวาร์ ชาวเชอร์ปา ชาวลิมบู Gurungs และ Magars ของเนปาลและชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ ของประเทศเนปาล คล้ายกับ buuz ของมองโกเลียและ jiaozi ของจีน คำว่า "โมโม" ในภาษาทิเบตเป็นคำยืมจากภาษาจีน mómo (馍馍).
โรตี
ผุลกา โรตีแบบกรอบ โรตี เป็นอาหารชนิดหนึ่ง ทำจากแป้ง นวดแล้วนำไปทอดหรือปิ้งเป็นแผ่นบางๆ รับประทานเป็นของหวาน หรือรับประทานพร้อมอาหารคาวอื่นๆ ก็ได้ ในประเทศไทยมักจะคุ้นกับโรตีที่ทอดเป็นแผ่นนุ่ม ราดด้วยนมข้นและน้ำตาลทราย เป็นของหวาน คำว่า โรตี เป็นคำศัพท์ที่พบได้ในหลายภาษา ได้แก่ ภาษาฮินดี, อุรดู, ปัญจาบี, โซมาลี, อินโดนีเซีย และ มลายู ซึ่งล้วนแต่มีความหมายว่า ขนมปัง.
ดู ยีสต์และโรตี
โปฟเฟอร์เจิส
ปฟเฟอร์เจิส โปฟเฟอร์เจิส (poffertjes) คือแป้งชนิดหนึ่งของชาวดัตช์ มีลักษณะเหมือนแพนเค้กก้อน ในทางตรงกันข้ามกับแพนเค้ก แป้งชนิดนี้จะมีขนาดเล็กแต่หนาและมีเนื้อที่เบาและฟูนิ่ม ปกติแล้วจะรับประทานกับน้ำตาลไอซิงและเนยสด ขั้นตอนในการทำแป้งชนิดนี้ไม่ยากแต่ต้องใช้กระทะแบบพิเศษ กระทะที่ใช้นั้นจะเป็นเหล็กหล่อหรือกระทะทองแดง หรือจะเป็นกระทะที่ทำจากอะลูมิเนียมเคลือบด้วยเทฟลอน และมีรอยเว้าตื้น ๆ ในหลายหลายด้าน ในร้านอาหารส่วนมากจานพิเศษจะถูกใช้บ่อยเพื่อเตรียม พ่อครัวในร้านอาหารที่ค่อนข้างมีฝีมือมักใช้ส้อมในการพลิกแป้งที่ใกล้จะสุกเต็มที.
ไบโอติน
อติน (biotin) หรือ วิตามินเอช (vitamin H) หรือ วิตามินบี7 (vitamin B7) เป็นวิตามินในกลุ่มวิตามินบีซึ่งสามารถละลายน้ำได้, วันที่สืบค้น 17 เมษายน 2559 จาก www.health.haijai.com.
ไกลโคไลซิส
ั้นตอนของไกลโคไลซิส ไกลโคไลซิส (Glycolysis) เป็นกระบวนการปฏิกิริยาเคมีที่พบทั้งในโพรแคริโอตและยูแคริโอตโดยในยูแคริโอตนั้นพบบริเวณไซโทซอลของเซลล์ เป็นกระบวนการสังเคราะห์โมเลกุล ATP กับ NADH จากโมเลกุลของกลูโคสกล่าวโดยสรุปแล้วหนึ่งโมเลกุลของกลูโคสเมื่อผ่านกระบวนการไกลโคไลซิสแล้วได้สองโมเลกุลของ ATP, NADH และ ไพรูเวต เป็นการย่อยสลายโมเลกุลของกลูโคส (คาร์บอน 6 ตัว) ไปเป็นไพรูเวต (คาร์บอน 3 ตัว).
ไอซ์เบียร์
ไอซ์เบียร์ (Ice beer) เป็นเบียร์ที่หลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการหมักแล้ว เบียร์จะถูกทำให้เย็นจนน้ำเริ่มแข็งตัวเป็นเกล็ด ในขณะที่แอลกอฮอล์ซึ่งมีอุณหภูมิของการเยือกแข็งที่ต่ำกว่านั้นยังอยู่ในสถานะของเหลว แล้วจึงกรองเอาเกล็ดน้ำแข็งออกเหลือส่วนที่เป็นของเหลว จึงได้เบียร์ที่มีแอลกอฮอล์เข้มข้นกว่า แต่เบียร์นั้นจะสูญเสียรสชาดเนื่องจากยีสต์และส่วนโปรตีนต่าง ๆ นั้นจะถูกกรองออกไปกับน้ำแข็งด้วย ไอซ์เบียร์นั้นได้ถูกใช้เพื่อเป็นจุดขายในตลาดเบียร์ ในลักษณะเดียวกับ ไลท์เบียร์ ซึ่งประสบผลสำเร็จก่อนหน้านี้ แต่ในการผลิตบริษัทต่าง ๆ ได้ใช้ทางลัดในการผลิด โดยทำให้เบียร์แข็งตัว แล้วก็ปล่อยให้เกล็ดน้ำแข็งละลาย ก่อนที่จะดำเนินการตามกระบวนการปกติ จึงทำให้ชื่อของเบียร์นั้นเสียภาพพจน์ในสายตาของผู้บริโภค ซึ่งทำให้เบียร์ชนิดนี้ไม่ค่อยประสบผลสำเร็จทางการตลาดเท่าที่ควร เป็นเรื่องเล่าลือกันว่า ไอซ์เบียร์นั้นถูกคิดค้นขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจในระหว่างงานฉลอง ออคโทเบอร์เฟสต์ (Oktoberfest) ในเยอรมนี โดยในปีหนึ่งซึ่งมีอากาศเย็นเป็นพิเศษทำให้ บ็อคเบียร์ ซึ่งเป็นเบียร์ที่ใช้ในงานฉลองนั้นแข็งตัว ซึ่งผู้ดื่มได้สังเกตถึงรสชาดที่แตกต่างนี้ และ เรียกเบียร์นี้ว่า Eisbock อไอซ์เบียร์.
ไซโตไคนิน
ซีเอติน ไซโตไคนินธรรมชาติที่พบในพืช ไซโตไคนิน (Cytokinin) เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช มีผลต่อการข่มของตายอด การเจริญของตาข้าง และการชราของใบการออกฤทธิ์ของสารกลุ่มนี้ค้นพบในน้ำมะพร้าวเมื่อ..
เบียร์
ียร์ในแก้ว เบียร์ เป็นเมรัยหลาย ๆ รูปแบบที่ผ่านกระบวนการหมัก ผลิตภัณฑ์พวกธัญพืช ประวัติศาสตร์ของเบียร์นั้นมีมายาวนาน เบียร์เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอลชนิดแรกของโลก เริ่มผลิต 6,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยชนชาติ บาบิโลเนียน เบียร์เป็นที่รู้จักในสมัยอียิปต์โบราณและเมโสโปเตเมีย และมีหลักฐานย้อนไปยาวนานถึง 4,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยใช้ข้าวบาร์เลย์ เป็นวัตถุดิบ ในราว 1,000 ปีก่อนคริสตกาล ทีการผสมพืชอีกหนึ่งชนิดเข้าไปคือ ฮอปส์ ทำให้มีกลิ่นหอม, รสชาติขม และ สามารถรักษาคุณภาพของเบียร์ให้เก็บได้นานขึ้น แต่เบียร์เหล่านี้แตกต่างจากเบียร์ในปัจจุบัน และเนื่องจากเครื่องปรุงและกรรมวิธีในการผลิตเบียร์แตกต่างกันไปตามสถานที่ ลักษณะของเบียร์ (ชนิดของเบียร์, รสชาติ, และสี) จึงมีความแตกต่างกันได้มาก.
เบเกิล
กิลกับครีมชีส และ ปลาแซลมอนรมควัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของครัวอเมริกัน-ยิว เบเกิล (bagel, beigel) กำเนิดในประเทศโปแลนด์ มีลักษณะเป็นรูปวงแหวน ทำจากแป้งสาลี ขนาดประมาณ 1 กำมือ นำไปต้มในน้ำเดือดสักพักหนึ่ง แล้วนำไปอบต่อ จะได้เนื้อภายในที่แน่นและนิ่ม กับเนื้อภายนอกสีอมน้ำตาล มักโรยหน้าด้วยงาดำ บ้างอาจโรยเกลือบนเบเกิล ทั้งยังมีแป้งประเภทต่าง ๆ ที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เช่น ข้าวไรย์ หรือแป้งจากธัญพืชไม่ขัดสีEncyclopædia Britannica (2009), retrieved February 24, 2009 from Encyclopædia Britannica Online เบเกิลเป็นที่นิยมในประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในเมืองที่มีประชากรชาวยิวอาศัยจำนวนมาก วิธีการทำเบเกิลนั้นมีหลากหลาย เช่น เบเกิลที่ทำในเบเกอรี หรือเบเกิลประเภทแช่แข็งที่หาซื้อได้ตามซูเปอร์มาร์เก็ตในประเทศเหล่านั้น เบเกิลชนิดที่เป็นวงกลมและมีรูตรงกลางออกแบบมาเมื่อหลายร้อยปีก่อน ซึ่งมีข้อดีหลาย ๆ อย่าง นอกจากการอบ ยังสามารถหยิบจับง่ายและยังเป็นจุดเด่นทำให้น่าสนใจอีกด้ว.
เกลือแร่
กลือแร่ (Dietary mineral) มีบทบาทและหน้าที่สำคัญใน ร่างกายหลายอย่างโดยเฉพาะอย่างยิ่งทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของร่างกาย เป็นองค์ประกอบของ เซลล์เนื้อเยื่อและเส้นประสาท เป็นองค์ประกอบของเอนไซม์ ฮอร์โมน และวิตามิน นอกจากนี้ เกลือแร่ยังทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในทุกอวัยวะ จากความสำคัญและหน้าที่ ดังกล่าวนั้น จะเห็นว่า เกลือแร่เป็นสารอาหารที่มีความสำคัญยิ่งต่อร่างกาย ซึ่งร่างกายต้องได้ รับเพียงพอ ร่างกายจึงจะเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่และแข็งแรง อาหารทั่วไปที่เป็นแหล่งของเกลือแร่ทั้งชนิดหลักและชนิดปริมาณน้อยแตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิดของอาหาร ตัวอย่าง เกลือแร่ที่มีความสำคัญต่อร่างกายประกอบด้วย แคลเซียม ฟอสฟอรัส ไอโอดีน เหล็ก แมกนีเซียม สังกะสี ทองแดง และโพแทสเซียม ร่างกายมีเกลือแร่ 4% ของน้ำหนักร่างกายทั้งหมด เกลือแร่ที่ร่างกายต้องการมีดังต่อไปนี้.
เสี่ยวหลงเปา
ี่ยวหลงเปา (Xiaolongbao; จีนตัวเต็ม: 小籠包; จีนตัวย่อ: 小笼包) เป็นติ่มซำแบบหนึ่งของจีน แปลตรงตัวว่าซาลาเปาในเข่งเล็ก เป็นอาหารเซี่ยงไฮ้ที่ได้รับความนิยมมากทางตอนใต้ของจีน มีต้นกำเนิดในสมัยซ่งเหนือ โดยแต่เดิมเป็นซาลาเปาลูกใหญ่ มีน้ำซุปอยู่ข้างใน เรียกทางเปา เมื่อราชสำนักซ่งเหนืออพยพหนีชนเผ่าจินลงใต้ ย้ายเมืองหลวงจากเมืองไคฟงมาเมืองหางโจว ทางเปาก็เป็นที่นิยมในหางโจว และปรับรูปแบบให้มีขนาดเล็กลงจนกลายเป็นเสี่ยวหลงเปาในปัจจุบัน เสี่ยวหลงเปาทำจากแป้งขนมปังผสมกับแป้งสาลีอเนกประสงค์ ไม่ใส่ผงฟูหรือยีสต์ ไส้เป็นหมูสับมีน้ำซุปอยู่ข้างใน ซึ่งมาจากการใส่วุ้นที่มาจากการเคี่ยวหนังหมู หนังไก่ แล้วพักให้เย็นจนแข็งตัวเป็นวุ้น ตักวุ้นนี้วางบนไส้หมู แล้วห่อด้วยแป้ง จับจีบให้ได้ 18 จีบ เมื่อนึ่งสุกวุ้นจะละลาย กลายเป็นน้ำซุปอยู่ข้างใน.
เหล้าพื้นบ้าน
ั้นตอนการทำเหล้าพื้นบ้านเพื่อจะได้เหล้าที่ดี ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ได้แก่ วัตถุดิบ แหล่งน้ำ เชื้อที่ใช้หมัก การต้มกลั่น การบรรจุ และการเก็บรักษา ที่สำคัญต้องมีความสะอาดในทุกขั้นตอน มิฉะนั้น เชื้อที่ไม่พึงประสงค์ซึ่งปะปนมากับวัตถุดิบ น้ำ หรือมีอยู่แล้วในอากาศอาจทำให้เกิดการบูดเน่าได้.
เห็ดรา
ห็ดรา (Fungus) คือสิ่งมีชีวิตใดๆ ในกลุ่มยูแคริโอต ซึ่งประกอบด้วยทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอย่างยีสต์และรา และสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ที่ออกผลคล้ายกับพืช เห็ด สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ถูกจัดลงอยู่ในอาณาจักรเห็ดรา ซึ่งแยกออกจากสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์กลุ่มอื่นๆ ที่เป็นพืชและสัตว์ ลักษณะเฉพาะที่จัดเห็ดราให้อยู่แยกในอาณาจักรอื่นจากพืช แบคทีเรีย และโพรทิสต์บางชนิด คือ ไคตินที่ผนังเซลล์ เห็ดราเหมือนกับสัตว์ตรงที่เป็นสิ่งมีชีวิตเฮเทโรทรอพ กล่าวคือเป็นสิ่งมีชีวิตที่ได้รับอาหารโดยการย่อยโมเลกุลอาหารให้มีขนาดเล็กพอกับเซลล์ และไม่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้เช่นกัน การเติบโตของเห็ดราแสดงถึงการเคลื่อนไหวที่ชัดเจน ยกเว้นสปอร์ ที่อาจจะลอยไปตามอากาศหรือน้ำ เห็ดราเป็นผู้ย่อยสลายหลักในระบบนิเวศ ตามปกติเห็ดราโดยทั่วไปที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน ที่ไม่ว่าจะอยู่ส่วนไหนในอาณาจักรก็ตาม เรียกว่ายูเมโคตา (Eumycota) กลุ่มเห็ดรานี้แตกต่างจาก ไมเซโตซัว (ราเมือก) และโอไมซีต (ราน้ำ) ที่มีโครงสร้างคล้ายกัน การศึกษาเกี่ยวกับเห็ดรา เรียกว่า กิณวิทยา ในอดีตกิณวิทยาถูกจัดเป็นหนึ่งในสาขาของพฤกษศาสตร์ แม้ว่าทุกวันนี้จะเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า เห็ดรามีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับสัตว์มากกว่าพืช เห็ดราพบได้ทั่วโลก แต่ส่วนมากไม่มีความโดดเด่นเพราะมีขนาดเล็ก และมีการพรางตัวในดินหรือบนสิ่งที่ตายแล้ว เห็ดราบางชนิดยังมีการพึ่งพาอาศัยจากพืช สัตว์ เห็ดราประเภทอื่นหรือกระทั่งปรสิต พวกมันจะเริ่มเป็นที่สังเกตได้เมื่อออกผลแล้ว ไม่ว่าจะเป็นเห็ดหรือราก็ตาม เห็ดรามีบทบาทสำคัญในการย่อยสลายสารอินทรีย์และมีบทบาทโดยพื้นฐานในวัฏจักรสารอาหารและการแลกเปลี่ยนในธรรมชาติ พวกมันยังเป็นแหล่งอาหารโดยตรงมานานแล้ว ในรูปของเห็ด เป็นหัวเชื้อในการทำขนมปัง และในการหมักผลิตภัณฑ์หลายๆ อย่าง เช่น ไวน์ เบียร์ และซีอิ๊ว ตั้งแต่ช่วงคริสตทศวรรษที่ 1940 เห็ดราถูกนำมาใช้ในการแพทย์ เพื่อผลิตยาปฏิชีวนะ และล่าสุด นำมาใช้ผลิตเอนไซม์มากมาย ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมและในผงซักฟอก เห็ดรายังถูกใช้เป็นปราบแมลง โรคในพืช และวัชพืชต่างๆ สายพันธุ์มากมายของเห็ดราผลิตสารประกอบที่ออกฤทธิ์กับสิ่งมีชีวิต เรียกว่า ไมโซโทซิน เช่น อัลคาลอยด์และพอลิเคไทด์ ซึ่งเป็นพิษต่อสัตว์ รวมทั้งมนุษย์ โครงสร้างในบางสายพันธุ์ประกอบด้วยสารประกอบที่ออกฤทธิ์ต่อประสาท และถูกใช้บริโภค หรือในพิธีกรรมทางศาสนาแบบดั้งเดิม เห็ดรายังสามารถทำลายโครงร่างของวัตถุดิบและสิ่งก่อสร้างได้ และกลายเป็นเชื้อโรคแก่มนุษย์หรือสัตว์อื่นๆ การสูญเสียไร่เนื่องจากโรคทางเห็ดรา (เช่น โรคไหม้) หรืออาหารที่เน่าเสียสามารถมีผลกระทบขนาดใหญ่กับคลังอาหารของมนุษย์และระบบนิเวศโดยรอบ อาณาจักรเห็ดราประกอบไปด้วยความหลากหลายมากมายด้วยระบบนิเวศ การดำเนินชีวิต และสัณฐาน ตั้งแต่ไคทริดน้ำเซลล์เดียวไปจนถึงเห็ดขนาดใหญ่ ถึงกระนั้น ความหลากหลายทางชีวภาพที่แท้จริงของอาณาจักรเห็ดรายังไม่มีข้อมูลมากนัก ซึ่งได้มีการประมาณจำนวนสายพันธุ์ไว้ที่ 1.5 - 5 ล้านสายพันธุ์ โดยทีเพียง 5 % เท่านั้นที่ได้รับการจำแนกประเภทแล้ว นับตั้งแต่การสำรวจในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 โดยคาร์ล ลินเนียส คริสเตียน เฮนดริก เพอร์ซูน และเอเลียส แมกนัส ฟรีส์ เห็ดราได้ถูกจำแนกประเภทตามสัณฐาน (เช่นสีของสปอร์ หรือลักษณะในระดับเล็กๆ) หรือรูปร่าง ความก้าวหน้าในอณูพันธุศาสตร์ได้เปิดทางให้สำหรับการวิเคราะห์ดีเอ็นเอ เพื่อจัดลำดับตามอนุกรมวิธาน ซึ่งบางครั้งได้ขัดแย้งกับกลุ่มพันธุ์ที่ได้จัดไว้ก่อนในอดีตแล้ว การศึกษาในไม่กี่คริสต์ศตวรรษที่ผ่านมาได้ช่วยให้มีการตรวจสอบการจัดจำแนกประเภทใหม่ภายในอาณาจักรเห็ดรา ซึ่งได้แบ่งออกเป็นหนึ่งอาณาจักรย่อย เจ็ดไฟลัม และสิบไฟลัมย่อ.
เอล (เบียร์)
อลในแก้ว สีของเอลจะมีสีที่เข้มแตกต่างจากเบียร์ชนิดอื่น เอล (ale) เป็นคำที่มีมาแต่โบราณใช้หมายถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ที่ทำจากมอลต์จากข้าวบาเลย์ เครื่องดื่มที่ใกล้เคียงกับเครื่องดื่มเอลดั้งเดิมนี้คือ Real ale ในประเทศอังกฤษ เอลในปัจจุบันนี้ใช้หมายถึงเบียร์ ซึ่งเมื่อประมาณมากกว่า 400 ปีก่อนนี้ เอลนั้นหมักโดยไม่การผสมฮอปส์ เอล เป็นเบียร์ที่หมักโดยใช้ยีสต์ประเภท หมักลอยผิว (top-fermenting yeast) ที่อุณหภูมิปกติของห้องใต้ดินประมาณ 15-20 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่สูงกว่าที่ใช้ในการหมักลาเกอร์ และมักจะเสิร์ฟที่อุณหภูมิสูงกว่าด้วยเช่นกัน โดยปกติแล้วจะมีแอลกอฮอล์ที่สูงกว่า และน้ำเบียร์จะเข้มข้นกว่าลาเกอร์ ในยุคที่ก่อนจะมีการนำฮอปส์จากประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าสู่ประเทศอังกฤษ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 นั้น คำว่า "เอล" หมายถึงเฉพาะเครื่องดื่มที่หมักโดยไม่มีฮอปส์, และต่อมาคำว่า "เบียร์" ใช้หมายถึงเครื่องดื่มจากการหมักที่ผสมฮอป.
เอดูอาร์ด บุชเนอร์
อดูอาร์ด บุชเนอร์ (Eduard Buchner; 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1860 – 13 สิงหาคม ค.ศ. 1917) เป็นนักชีวเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองมิวนิก เป็นบุตรของแอนสท์และฟรีเดริเก (นามสกุลเดิม มาร์ติน) บุชเนอร์ มีพี่ชายที่ต่อมาเป็นนักวิทยาแบคทีเรียชื่อ ฮันส์ แอนสท์ เอากุสต์ บุชเนอร์ ในปี..
เอนไซม์
TIM. Factor D enzyme crystal prevents the immune system from inappropriately running out of control. เอนไซม์ (อังกฤษ: enzyme) เป็นโปรตีน 99 เปอร์เซนต์ เป็น ส่วนใหญ่ ที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี เป็นคำในภาษากรีก ένζυμο หรือ énsymo ซึ่งมาจาก én ("ที่" หรือ "ใน") และ simo (":en:leaven" หรือ ":en:yeast") เอนไซม์มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต เพราะว่าปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ในเซลล์จะเกิดช้ามาก หรือถ้าไม่มีเอนไซม์อาจทำให้ผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยากลายเป็นสารเคมีชนิดอื่น ซึ่งถ้าขาดเอนไซม์ระบบการทำงานของเซลล์จะผิดปกติ (malfunction) เช่น.
เดกซ์แทรน
กซ์แทรน (Dextran) เป็นโพลีแซกคาไรด์ที่พบในยีสต์และแบคทีเรีย เป็นสายของกลูโคสที่ต่อด้วยพันธะไกลโคซิดิกแบบ α1→6 เป็นหลัก และแตกกิ่งแบบ α-1,3 แต่ก็มีพันธะแบบอื่นๆปน ขึ้นกับชนิดของแบคทีเรียและยีสต์ จัดเป็นโพลีเมอร์ที่แตกกิ่งและซับซ้อน ในทางการแพทย์ ใช้รักษาโรคเส้นโลหิตตีบ ลดความหนืดของเลือด และใช้เป็นตัวเพิ่มปริมาตรสำหรับโรคโลหิตจาง ในแบคทีเรียผลิตกรดแลกติกจะสร้างเดกซ์แทรนจากซูโครส โดยชนิดที่รู้จักกันดีคือ Leuconostoc mesenteroides และ Streptococcus mutans นอกจากนั้น Lactobacillus brevis ยังสร้างผลึกของ tibicos ในคีเฟอร์ ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ หลุยส์ ปาสเตอร์เป็นคนแรกที่ค้นพบเดกซ์แทรนในฐานะผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ในไวน.
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
รื่องดื่มแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมายถึงเครื่องดื่มที่มีเอทิลแอลกอฮอล์ผสมอยู่ ได้แก่ สุรา และเมรัย แอลกอฮอล์มีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง ผู้ที่กินเหล้าในปริมาณไม่มาก จะรู้สึกผ่อนคลาย เนื่องจากแอลกอฮอล์ไปกดจิตใต้สำนึกที่คอยควบคุมตนเองอยู่ แต่เมื่อกินมากขึ้นก็จะกดสมองบริเวณอื่นๆ ทำให้เสียการทรงตัว พูดไม่ชัด จนแม้กระทั่งหมดสติในที่สุด เครื่องดื่มชนิดนี้ผลิตจากวัตถุดิบที่มีส่วนประกอบของน้ำตาลมาหมัก และเติมยีสต์ลงไปเพื่อให้ยีสต์กินน้ำตาลที่อยู่ในวัตถุดิบ และเปลี่ยนให้กลายเป็นแอลกอฮอล.
ดู ยีสต์และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
Candida albicans
Candida albicans เป็นยีสต์ชนิดหนึ่งซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคประเภทเชื้อฉวยโอกาสในคน โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคเอดส์ ''Candida albicans'' เจริญใน Sabouraud agar.
PDA (แก้ความกำกวม)
PDA อาจหมายถึง.
Saccharomyces cerevisiae
Saccharomyces cerevisiae เป็นสปีชีส์ของยีสต์ที่ใช้ทำขนมปังและเบเกอรี่อื่นๆ ช่วยให้ขึ้นฟู และใช้เป็นสิ่งมีชีวิตแม่แบบสำหรับการศึกษาเซลล์ของยูคาริโอต"Saccharomyces" มาจากภาษากรีกที่ถูกทำให้เป็นละตินหมายถึงราในน้ำตาล (sugar mold) saccharo- หมายถึงน้ำตาล และmyces หมายถึงรา Cerevisiae มาจากภาษาละตินหมายถึงเกี่ยวกับเบียร.
ดู ยีสต์และSaccharomyces cerevisiae
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Yeastส่าเหล้า