โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยะไข่

ดัชนี ยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับเขตการปกครอง ดูที่ รัฐยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ ยะไข่, อะระกัน หรือ ระขึน (ရခိုင်လူမျိုး; IPA:; Rakhine) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หลักกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในรัฐยะไข่ ชาวยะไข่ถือเป็นชาวพม่าพื้นถิ่นในรัฐยะไข่กลุ่มหนึ่ง ภาษาพูดของชาวยะไข่นั้นถือเป็นสำเนียงหนึ่งในภาษาพม่า และยังมีร่องรอยของภาษาพม่าโบราณหลงเหลืออยู่ อันมีเสียงบางเสียงซึ่งในภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งไม่มีใช้แล้ว เช่น เสียง ร โดยภาษายะไข่นั้นยังรักษาเสียง ร ไว้ได้ครบแทบทุกตำแหน่ง หากต้องการสะกดคำที่มีอักษร ร จึงควรดูที่การออกเสียงของภาษายะไข่ ทั้งนี้เนื่องจากยะไข่ห่างไกลศูนย์กลางจากพม่า โดยมีเทือกเขาอาระกันโยมาขวางกั้นอยู่ อีกทั้งยะไข่เองก็เคยมีอิสรภาพในการปกครองตนเองเป็นอาณาจักรอยู่ร่วมหลายร้อยปี ภายหลังจากการมาของอังกฤษ ยะไข่ถูกมองว่าต่างจากชาวพม่าทั่วไป ดินแดนยะไข่จึงถูกกำหนดเป็นรัฐหนึ่งเฉกเช่นเดียวกับชนกลุ่มน้อยในพม.

49 ความสัมพันธ์: ชาวพม่าชาวมอญบูตีต่องฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือพม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรพรรคพัฒนาการแห่งชาติยะไข่พรรคคอมมิวนิสต์ (พม่า)พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียมพระราชวังกัมโพชธานีพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าฝรั่งมังฆ้องพระเจ้าตาลูนพระเจ้าปดุงพระเจ้านรสีหบดีพระเจ้านรปติแห่งแปรพระเจ้านันทบุเรงพระเจ้าแสรกแมงพะสิมพะโคกองทัพอาระกันภาษาพม่าภาษาโรฮีนจามองดอย่างกุ้งรัฐกะเหรี่ยงรัฐมอญรัฐยะไข่ราชวงศ์ตองอูราชวงศ์โกนบองรายชื่อสงครามในประเทศไทยรายชื่อสนธิสัญญารายพระนามพระมหากษัตริย์พม่าศาสนาพุทธในประเทศพม่าสันนิบาตอาระกันเพื่อประชาธิปไตยสงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สองสนธิสัญญารานตะโบองค์การความเป็นปึกแผ่นโรฮีนจาท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438ซิตตเวประชากรศาสตร์พม่าประเทศพม่าประเทศพม่าใน ค.ศ. 1254ไทยโยเดียเหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555เขตมะเกวเขตอิรวดีเขตตะนาวศรีเซอร์ อาร์ชิบัลด์ แคมป์เบลล์, บาโรเนตที่ 1

ชาวพม่า

ม่า (บะหม่า หลุ มฺโย้, คำเมือง: ม่าน) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ส่วนใหญ่ในประเทศพม่า พบมากในประเทศพม่า ชาวพม่าส่วนใหญ่อาศัยอยู่แถบแม่น้ำอิรวดี ชาวพม่าส่วนใหญ่ใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: ยะไข่และชาวพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ใหม่!!: ยะไข่และชาวมอญ · ดูเพิ่มเติม »

บูตีต่อง

ูตีต่อง (Buthidaung) เป็นเมืองในรัฐยะไข่ทางตะวันตกของพม่า อยู่บนฝั่งตะวันตกของแม่น้ำมายู เมืองนี้เกิดน้ำท่วมใหญ่ในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ยะไข่และบูตีต่อง · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือ

ฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือ (Filipe de Brito e Nicote) หรือ งะซีนกา (ငဇင်ကာ; เกิด ประมาณ ค.ศ. 1566, ถึงแก่กรรม ค.ศ. 1613) เป็นนักเดินทางและทหารรับจ้างชาวโปรตุเกสภายใต้การบังคับบัญชาของ.

ใหม่!!: ยะไข่และฟีลีปือ ดือ บรีตู อี นีโกตือ · ดูเพิ่มเติม »

พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร

การปกครองของบริเตนในพม่า (British rule in Burma) คือช่วงที่พม่าอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษระหว่าง..

ใหม่!!: ยะไข่และพม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพัฒนาการแห่งชาติยะไข่

รรคพัฒนาการแห่งชาติยะไข่ (Rakhine Nationalities Development Party; RNDP; ရခိုင်တိုင်းရင်းသားများတိုးတက်ေရးပါတီ) เป็นพรรคการเมืองในพม่าซึ่งเป็นตัวแทนของชาวยะไข่ในรัฐยะไข่และเขตย่างกุ้ง พรรคพัฒนาการแห่งชาติยะไข่ก่อตั้งขึ้นเพื่อเข้าร่วมการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: ยะไข่และพรรคพัฒนาการแห่งชาติยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์ (พม่า)

รรคคอมมิวนิสต์ (พม่า) (Communist Party (Burma); ภาษาพม่า: အလံနီကွန်မြူနစ်ပါတီ) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในพม่าที่ตั้งขึ้นหลังจากกลุ่มหัวรุนแรงได้แยกออกจากพรรคคอมมิวนิสต์พม่าใน..

ใหม่!!: ยะไข่และพรรคคอมมิวนิสต์ (พม่า) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม

ระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน เป็นพงศาวดารสยาม มีเนื้อหาเริ่มตั้งแต่แรกสร้างเมืองสวรรคโลกประชุมพงศาวดารภาคที่ 82, หน้า 1จนถึงพระเจ้ากษัตริย์ศึกขึ้นครองราชสมบัติกรุงเทพมหานคร และพระเจ้าปดุงโปรดให้วังหน้าผู้เป็นพระราชโอรสไปตียะไข่สำเร็จแล้วจึงยกทัพกลับกรุงอังวะในปี..

ใหม่!!: ยะไข่และพระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังกัมโพชธานี

้านหน้าของพระราชวังกัมโพชธานี พระราชวังกัมโพชธานี (Kamboza Thadi Palace, Kanbawzathadi Palace; ကမ္ဘောဇသာဒီ နန်းတော်) พระราชวังแห่งเมืองหงสาวดี (พะโค) ของพระเจ้าบุเรงนอง เป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่สมพระเกียรติ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของพระมหาธาตุเจดีย์ชเวมอดอ (พระธาตุมุเตา) สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2109 ซึ่งเป็นปีที่ 15 ของการครองราชย์ของพระองค์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่พระองค์เรืองอำนาจสูงสุด พระองค์ตัดสินพระทัยเผาพระราชวังเก่าไปเนื่องจากมีการกบฏ พระราชวังกัมโพชธานีสร้างขึ้นโดยใช้แรงงานจากประเทศราชต่าง ๆ และพระองค์โปรดให้ใช้ชื่อประตูต่าง ๆ ทั้งหมด 20 ประตู ตามชื่อของแรงงานประเทศราชที่สร้าง เช่น ประตูทางตอนเหนือปรากฏชื่อ ประตูโยเดีย (อยุธยา) ประตูตอนใต้ชื่อ ประตูเชียงใหม่ อีกทั้งยังมีพระตำหนักของพระสุพรรณกัลยา องค์ประกันที่ตกเป็นเชลยและกลายเป็นมเหสีองค์หนึ่งของพระองค์ด้วย พระราชวังกัมโพชธานีถูกเผาจนเหลือแต่เพียงซาก หลังจากการสวรรคตของพระเจ้าบุเรงนอง ด้วยกบฏยะไข่ พร้อม ๆ กับอาณาจักรตองอูที่เคยเรืองอำนาจเสื่อมลงhttp://culturemyanmar.org/pages/doa_royal_palace.html จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2533 รัฐบาลพม่าได้ขุดค้นพบซากของพระราชวังที่เหลือเพียงแค่ตอไม้ที่โผล่พ้นดินออกมาเท่านั้น และได้มีการเร่งสร้างพระราชวังจำลององค์ใหม่ขึ้นมา ฉาบด้วยสีทองทั้งหลัง ทั้งที่พื้นดินบริเวณโดยรอบได้ขุดพบโบราณวัตถุต่าง ๆ มากมาย ซึ่งเชื่อว่ายังมีอยู่อีกจำนวนมากที่ยังไม่ถูกขุดขึ้นมา แต่ได้ถูกทางการสร้างพระราชวังทับลงไปแล้ว แต่ซากไม้ที่ใช้สร้างพระราชวังแต่ครั้งอดีตที่ยังหลงเหลืออยู่ได้ถูกจัดแสดง ซึ่งไม้แต่ละท่อนมีตัวอักษรจารึกอยู่ว่าเป็นผลงานของเมืองใด ภายในพระราชวัง มีพระราชบัลลังก์ที่มีชื่อว่า "บัลลังก์ภุมรินทร์" หรือ "บัลลังก์ผึ้ง" ซึ่งสร้างขึ้นมาจากคติเรื่องจักรวาลตามความเชื่อของศาสนาฮินดู ปัจจุบัน พระราชวังกัมโพชธานีเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของหงสาวดีและประเทศพม.

ใหม่!!: ยะไข่และพระราชวังกัมโพชธานี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ยะไข่และพระเจ้าบุเรงนอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง

ฝรั่งมังฆ้อง หรือภาษาพม่าว่า ปฐมมินกอง (ပထမ မင်းခေါင်; 1373–1422) หรือ พระเจ้ามนเทียรทอง เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรอังวะตั้งแต่ปี 1400 ถึงปี 1422 เป็นที่รู้จักในพงศาวดารพม่าเกี่ยวกับการทำสงครามกับพระเจ้าราชาธิราช (Razadarit) แห่งราชอาณาจักรหงสาวดีตั้งแต่ปี 1385 ถึงปี 1424 ซึ่งเรียก "สงครามสี่สิบปี" (Forty Years' War) และในฐานะที่เป็นพระบิดาของมังรายกะยอชวา (Minyekyawswa) พระเจ้าฝรั่งมังฆ้องเสด็จสู่ราชสมบัติหลังจากพระเจ้าพี่ยาเธอถูกปลงพระชนม์เมื่อปี 1400 ในช่วงแรกหลังเสวยราชย์ คือ ระหว่างปี 1400 ถึงปี 1406 พระเจ้าฝรั่งมังฆ้องทรงเผชิญความวุ่นวายทั้งภายในและภายนอก เกิดการกระด้างกระเดื่องไปทั่ว มีการรุกรานจากไทใหญ่ด้านทิศเหนือ ยะไข่ทางด้านตะวันตก พร้อมด้วยสงครามกับพระเจ้าราชาธิราชกษัตริย์มอญจากทางใต้ ครั้นปี 1406 พระเจ้าฝรั่งมังฆ้องทรงกุมสถานการณ์ทั้งหมดและทรงสามารถตีต้านได้ ในปีนั้นเองทรงมีชัยเหนือไทใหญ่ ครั้นปี 1404 ถึง 1414 กองทัพอาณาจักรอังวะและอาณาจักรหงสาวดีสู้กันอย่างดุเดือดในพม่าตอนใต้ พม่าตอนเหนือ และรัฐยะไข่ ขณะที่ราชวงศ์หมิงก็คอยยุยงให้ไทใหญ่ส่งการก่อกวนเข้าประสมโรงเป็นระยะ ๆ มาตั้งแต่ปี 1413Phayre 1883: 58–60 พอปี 1417 มังรายกะยอชวาพระโอรสเกือบมีชัยชนะเหนืออาณาจักรหงสาวดีในพม่าตอนใต้ได้ทั้งหมด แต่ต้องศัสตราวุธถึงแก่พระชนม์ในที่รบเสียก่อน มอญและพม่ายังคงรบรากันต่อไปจนปี 1418 ก็เบื่อหน่ายสงครามและเลิกรากันไปในที่สุดHtin Aung 1967: 90–93.

ใหม่!!: ยะไข่และพระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตาลูน

ระเจ้าทาลุน (พระเจ้าสิริสุธรรมราชามหาธิบดีตลุนมิน) เป็นพระอนุชาของ พระเจ้าอโนเพตลุน และเป็นพระโอรสของ พระเจ้าสีหสุธรรมราชา หรือ เจ้านยองยาน พระโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง กล่าวคือพระองค์เองและพระเชษฐาธิราชต่างก็เป็นพระราชนัดดาในพระเจ้าชนะสิบทิศบุเรงนอง พระเจ้าสิริสุธรรมราชามหาธิบดี (พระเจ้าทาลุน) (พ.ศ. 2172-2191) ทรงครองราชย์ต่อจาก พระเจ้ามินแยไดกปาผู้เป็นพระภาติยะของพระองค์ ทรงเป็นกษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องมากองค์หนึ่งของพม่า โดยเฉพาะในด้านศาสนาและการปกครอง ทรงจัดสวัสดิการให้ประชาชน ปรับปรุงระเบียบการปกครอง ฟื้นฟูหลักพระธรรมศาสตร์ในสมัยพุกาม ทำนุบำรุงพุทธศาสนา ได้รับการยกย่องเป็นธรรมราชา ด้านการทหาร ทรงสามารถเกณฑ์ไพร่พลเพิ่มจาก 20,000 เป็น 400,000 ได้ และต้านทานการรุกรานจากจีนได้ในปี พ.ศ. 2180 อาณาจักรของพระองค์ครอบคลุมพม่าในปัจจุบัน (ยกเว้นยะไข่) และล้านนาทั้งหมด (กล่าวกันว่ารวมถึงล้านช้างด้วย) อย่างไรก็ดี สิ่งที่น่าสนใจคือ ที่กล่าวกันว่าพระองค์บำรุงพระศาสนานั้น อันที่จริงก็มีความเกี่ยวพันกับการเกณฑ์ทหารและแรงงาน กล่าวคือ ปี.

ใหม่!!: ยะไข่และพระเจ้าตาลูน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าปดุง

ระเจ้าปดุง (Bodawpaya) เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชวงศ์อลองพญา (หรือเป็นองค์ที่ 6 หากนับรวมพระเจ้าหม่องหม่องด้วย) ราชวงศ์สุดท้ายของพม่า เป็นพระโอรสลำดับที่ 5 ใน 6 พระองค์ของพระเจ้าอลองพญา ขึ้นครองราชย์โดยการปราบดาภิเษกในปี พ.ศ. 2325 ปีเดียวกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ พระเจ้าปดุง เมื่อทรงครองราชย์มีพระนามว่า "ปโดงเมง" หมายถึง "พระราชาจากเมืองปโดง" แต่มีพระนามที่เป็นที่เรียกขานในพม่าภายหลังว่า "โบดอพญา" (ဘိုးတော်ဘုရား) แปลว่า "เสด็จปู่ ".

ใหม่!!: ยะไข่และพระเจ้าปดุง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านรสีหบดี

ระเจ้านรสีหบดี (Narathihapate.; နရသီဟပတေ့, nəɹa̰ θìha̰pətḛ; c. 1238–1287) เป็นกษัตริย์พม่าองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์พุกาม ครองราชย์ตั้งแต่ปี..1254-1287 มีเรื่องโดดเด่นสองประการที่สร้างพระเจ้านรสีหบดีพระองค์นี้เป็นที่จดจำ คือ ความตะกละตะกลามชอบเสวยอาหาร โดยร่ำลือกันว่าต้องมีอาหารหลากหลายถึงสามร้อยชนิดต่อมื้อพระกระยาหาร และอีกประการคือ ความขลาดกลัวต่อการรุกรานของทัพมองโกล จนเป็นกษัตริย์ที่ได้ฉายาว่า "กษัตริย์ขี้ตะกละผู้หนีทัพจีน" พระองค์เสด็จสวรรคตด้วยถูกปลงพระชนม์โดยการวางยาพิษจากราชโอรสพระองค์รองนาม สีหตู (Thihathu) ซึ่งขณะนั้นได้ครองเมืองแปร จากนั้นราชวงศ์พุกามก็ได้ล่มสลายลงพร้อมกับชัยชนะของมองโกลที่มีอำนาจเหนือภูมิภาคตอนบนของพม่า กว่า 250 ปี ที่ราชวงศ์พุกามปกครองมีอำนาจในพื้นที่ลุ่มน้ำอิรวดี ผืนแผ่นดินอาณาจักรได้กลับไปแตกแยกเป็นแคว้นเล็กเมืองน้อยอีกครั้ง สภาพสุญญากาศทางการปกครอง สภาวะไร้ผู้นำได้ดำเนินต่อไปอีกกว่า 250 ปี จนกระทั่งการขึ้นมาของราชวงศ์ตองอูที่ได้รวบรวมอาณาจักรให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้งในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16.

ใหม่!!: ยะไข่และพระเจ้านรสีหบดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านรปติแห่งแปร

ระเจ้านรปติแห่งแปร (နရပတိ (ပြည်),; สวรรคต 1539) หรือในนวนิยาย ผู้ชนะสิบทิศ ถอดเสียงเป็น พระเจ้านรบดี กษัตริย์องค์ที่ 3 แห่ง อาณาจักรแปร ครองสิริราชสมบัติระหว่าง..

ใหม่!!: ยะไข่และพระเจ้านรปติแห่งแปร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านันทบุเรง

นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

ใหม่!!: ยะไข่และพระเจ้านันทบุเรง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแสรกแมง

ระฆัง ''Maha Tissada Gandha'' สร้างโดยพระเจ้าแสรกแมง แขวนไว้ที่พระเจดีย์ชเวดากอง พระเจ้าสารวดี (Tharrawaddy Min; သာယာဝတီမင်း) หรือ พระเจ้าแสรกแมง เป็นพระโอรสของตะโดเมงสอ (Thado Minsaw) ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าปดุง พระองค์เป็นพระอนุชาของพระเจ้าจักกายแมง หรือพระเจ้าบาจีดอว์ และเป็นกษัตริย์องค์ที่ 7 ในราชวงศ์อลองพญา ประสูติเมื่อ 14 มีนาคม..

ใหม่!!: ยะไข่และพระเจ้าแสรกแมง · ดูเพิ่มเติม »

พะสิม

ม (ဖာသဳ พะแซม) หรือ บัสเซียน (Bassein) เป็นเมืองท่าสำคัญและเป็นเมืองศูนย์กลางของเขตอิรวดี ห่างจากนครย่างกุ้งมาทางตะวันตกเฉียงใต้ ริมแม่น้ำพะสิม ซึ่งเป็นแม่น้ำสาขาฝั่งตะวันตกของแม่น้ำอิรวดี เมืองนี้มีประชากร 237,089 คน (ค.ศ. 2017) ถึงแม้จะเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรมอญ แต่ปัจจุบันก็มีชาวมอญเหลืออยู่น้อยมาก กลุ่มชาติพันธุ์หลักในปัจจุบัน ได้แก่ ชาวพม่า พม่าเชื้อสายอินเดีย ชาวกะเหรี่ยง และชาว.

ใหม่!!: ยะไข่และพะสิม · ดูเพิ่มเติม »

พะโค

(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.

ใหม่!!: ยะไข่และพะโค · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพอาระกัน

กองทัพอาระกัน (Arakan Army) เป็นองค์กรกบฏของชาวพุทธยะไข่ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ยะไข่และกองทัพอาระกัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

ใหม่!!: ยะไข่และภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโรฮีนจา

ษาโรฮีนจา (โรฮีนจา: Ruáingga) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวมุสลิมโรฮีนจา มีผู้พูดทั้งหมด 1,500,000 คน พบในพม่า 1,000,000 คน (พ.ศ. 2549) ในรัฐยะไข่ ประเทศพม่า พบในบังกลาเทศ 200,000 คน (พ.ศ. 2549) และอาจจะมีในมาเลเซีย ซาอุดีอาระเบีย และไทย จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน สาขาอินโด-อารยันตะวันออก สาขาย่อยเบงกาลี-อัสสัม ใกล้เคียงกับภาษาจิตตะกองในบังกลาเทศ มีคำยืมจากภาษาอูรดู ภาษาเบงกาลี ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ ภาษาพม่า และภาษาอังกฤษมาก เดิมชาวโรฮีนจาอพยพจากบังกลาเทศเข้าไปอยู่ในพม่า และปัจจุบันมีผู้อพยพส่วนหนึ่งอพยพกลับไปสู่บังกลาเทศ แต่ถูกผลักดันให้กลับไปสู่พม.

ใหม่!!: ยะไข่และภาษาโรฮีนจา · ดูเพิ่มเติม »

มองดอ

มองดอ (Maungdaw) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐยะไข่ทางภาคตะวันตกของพม่า มองดอเป็นเมืองที่อยู่ทางตะวันตกสุดของพม่าติดกับชายแดนบังกลาเทศ ห่างจากบูตีต่อง 16 ไมล์ ทั้งสองเมืองแยกออกจากกันด้วยภูเขามายยู และเชื่อมต่อกันด้วยอุโมงค์ที่สร้างเมื่อ..

ใหม่!!: ยะไข่และมองดอ · ดูเพิ่มเติม »

ย่างกุ้ง

งกุ้ง หรือ ยานโกน (ရန်ကုန်, MLCTS rankun mrui, ยานโกน มโย; "อวสานสงคราม") หรือ ร่างกุ้ง (Rangoon) เป็นเมืองหลวงของเขตย่างกุ้ง ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี..

ใหม่!!: ยะไข่และย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกะเหรี่ยง

รัฐกะเหรี่ยง หรือ รัฐกะยีน (ကရင်ပြည်နယ်) เป็นรัฐของประเทศพม่า มีเมืองหลวงอยู่ที่พะอาน.

ใหม่!!: ยะไข่และรัฐกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมอญ

รัฐมอญ (မွန်ပြည်နယ်; တွဵုရးဍုၚ်မန်၊ ရးမညဒေသ) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: ยะไข่และรัฐมอญ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับเขตการปกครอง สำหรับชาติพันธุ์ ดูที่ ยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ รัฐยะไข่ (ရခိုင်ပြည်နယ်, สำเนียงยะไข่ ระไข่ง์ เปร่เหน่, สำเนียงพม่า ยะไข่ง์ ปหฺยี่แหฺน่) ชื่อเดิม รัฐอาระกัน (Arakan) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศพม.

ใหม่!!: ยะไข่และรัฐยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: ยะไข่และราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โกนบอง

ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..

ใหม่!!: ยะไข่และราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสงครามในประเทศไทย

รายชื่อสงครามในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ยะไข่และรายชื่อสงครามในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ยะไข่และรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า

ทความนี้รวบรวมรายพระนามพระมหากษัตริย์ของอาณาจักรต่าง ๆ ภายในประเทศพม.

ใหม่!!: ยะไข่และรายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศพม่า

ทธศาสนาในพม่าส่วนใหญ่เป็นนิกายเถรวาทมีผู้นับถือโดยประมาณ 89% ของประชากรภายในประเทศ เป็นประเทศที่นับถือศาสนาพุทธมากที่สุดในแง่ของสัดส่วนพระสงฆ์ต่อประชากรและสัดส่วนของรายได้ที่ใช้ในศาสนา พบการนับถือมากในหมู่ ชาวพม่า, ชาน, ยะไข่, มอญ, กะเหรี่ยง, และชาวจีนในพม่า พระภิกษุสงฆ์เป็นที่เคารพบูชาทั่วไปของสังคมพม่า ในบรรดากลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในประเทศพม่า ได้แก่ ชาวพม่า และ ชาน พุทธศาสนาเถรวาทมักเกี่ยวข้องกับการนับถือนัตและสามารถเข้าแทรกแซงกิจการทางโลกได้ พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศพม่า เมื่อคราวที่พระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย ได้อุปถัมภ์การสังคายนาครั้งที่ 3 เมื่อ..

ใหม่!!: ยะไข่และศาสนาพุทธในประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตอาระกันเพื่อประชาธิปไตย

ันนิบาตอาระกันเพื่อประชาธิปไตย (Arakan League for Democracy หรือ ALD; ရခိုင်ဒီမိုကရေစီ အဖွဲ့ချုပ်) เป็นพรรคการเมืองในรัฐยะไข่ ประเทศพม่า ได้รับการสนับสนุนจากชาวยะไข่ในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: ยะไข่และสันนิบาตอาระกันเพื่อประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สอง

งครามพม่า–อังกฤษครั้งที่สอง (Second Anglo-Burmese War: ဒုတိယ အင်္ဂလိပ် မြန်မာ စစ်; 5 เมษายน พ.ศ. 2395 – 20 ธันวาคม พ.ศ. 2395)เป็นสงครามสืบเนื่องจากการที่อังกฤษต้องการได้มณฑลพะโคหรือหงสาวดี หลังจากที่พระเจ้าแสรกแมงหรือพระเจ้าสารวดีขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเจ้าจักกายแมง พระองค์ไม่ยอมรับสนธิสัญญายันดาโบ แต่ไม่กล้าทำผิดสัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างพระองค์กับเฮนรี เบอร์นีย์ ผู้แทนอังกฤษประจำพม่าเลวร้ายลงจนเบอร์นีย์ต้องออกจากพม่าไปใน..

ใหม่!!: ยะไข่และสงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญารานตะโบ

นธิสัญญารานตะโบ (Treaty of Yandabo; ရန္တပိုစာချုပ်) เป็นสนธิสัญญาระหว่างบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษกับราชวงศ์โกนบองของพม่า ลงนามในวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ยะไข่และสนธิสัญญารานตะโบ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การความเป็นปึกแผ่นโรฮีนจา

องค์การความเป็นปึกแผ่นโรฮีนจา (Rohingya Solidarity Organisation, RSO; রোহিঙ্গা সলিডারিটি অর্গানাইজেশন) เป็นองค์กรทางทหารของชาวโรฮีนจา ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ยะไข่และองค์การความเป็นปึกแผ่นโรฮีนจา · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร

อนุสาวรีย์ท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร ตราประจำจังหวัดภูเก็ต (พ.ศ. 2528 - ปัจจุบัน) แสดงภาพอนุสาวรีย์ของท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร ท้าวเทพกระษัตรี (เกิดราวปี พ.ศ. 2278 หรือ 2280 - ราวปี พ.ศ. 2336) และ ท้าวศรีสุนทร (ไม่ทราบปีเกิด) เป็นวีรสตรีไทยที่ป้องกันเมืองถลางให้พ้นจากข้าศึกได้ในสงครามเก้าทัพ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ท้าวเทพกระษัตรี มีชื่อเดิมว่า "ท่านผู้หญิงจัน" ท้าวศรีสุนทร เป็นน้องมีชื่อเดิมว่า "คุณมุก" ทั้งสองเป็นบุตรีของจอมรั้งเจ้าเมืองถลาง.

ใหม่!!: ยะไข่และท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438

การต่อต้านอังกฤษในพม..

ใหม่!!: ยะไข่และขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438 · ดูเพิ่มเติม »

ซิตตเว

ซิตตเว (စစ်တွေမြို့) เป็นเมืองท่าและเมืองหลักของรัฐยะไข่ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศ บนเกาะกลางชะวากทะเลของปากแม่น้ำกะลาดาน มายู และเล-มโย โดยแม่น้ำเหล่านี้ไหลลงสู่อ่าวเบงกอลซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง ซิตตเวมีประชากร 147,899 คน (พ.ศ. 2557) เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอซิตตเวและตำบลซิตตเว กลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ที่สุดคือชาวยะไข่ รองลงมาคือชาวพม่าซึ่งย้ายมาจากส่วนอื่นของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ฮินดู และนับถือผีสางตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีชาวโรฮีนจาซึ่งในอดีตเคยตั้งชุมชนมุสลิมในเมืองเรียกว่า "อองมีนกะลา" แต่ได้ถูกวางเพลิงและชาวมุสลิมได้ถูกขับไล่ออกไปในเหตุการณ์จลาจลเมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ยะไข่และซิตตเว · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์พม่า

ทความนี้ว่าด้วยลักษณะประชากรของประเทศพม่า รวมถึงความหนาแน่นของประชากร ชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา สาธารณสุข สถานภาพทางเศรษฐกิจ การนับถือศาสนา เป็นต้น.

ใหม่!!: ยะไข่และประชากรศาสตร์พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ยะไข่และประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1254

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1254 ในประเทศพม.

ใหม่!!: ยะไข่และประเทศพม่าใน ค.ศ. 1254 · ดูเพิ่มเติม »

ไทยโยเดีย

วโยดายา หรือ ชาวอยุธยาในพม่า (โยดายา หลุ มฺโย) เป็นคำที่เรียกกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีบรรพบุรุษเป็นเป็นชาวไทยสยามจากอาณาจักรอยุธยา ซึ่งอพยพเข้ามาประเทศพม่า มีทั้งอพยพไปพึ่งพระบรมโพธิสมภารกษัตริย์พม่าโดยสมัครใจ บ้างก็เป็นเชลยซึ่งถูกกวาดต้อนเมื่อเกิดสงคราม เมื่อเวลาผ่านไปหลายศตวรรษ ชาวอยุธยาในพม่าค่อย ๆ ผสมปนเปไปกับสังคมพม่า บ้างก็โยกย้ายจากถิ่นฐานเดิม พวกเขาเลิกพูดภาษาไทยและหันไปพูดภาษาพม่า จนกระทั่งทิน มอง จี นักวิชาการชาวพม่าผู้มีเชื้อสายโยดายาเขียนบทความสั้นชื่อ "สุสานกษัตริย์ไทย" (A Thai King’s Tomb) ก่อนปี..

ใหม่!!: ยะไข่และไทยโยเดีย · ดูเพิ่มเติม »

เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555

หตุจลาจลในรั..

ใหม่!!: ยะไข่และเหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

เขตมะเกว

ตมาเกว (မကွေးတိုင်းဒေသကြီး) คือเขตการปกครองแห่งหนึ่งในภาคกลางของประเทศพม่า มีเนื้อที่ 17,306 ตารางไมล์ (44,820 ตารางกิโลเมตร).

ใหม่!!: ยะไข่และเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

เขตอิรวดี

ตอิรวดี (ဧရာဝတီတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ครอบคลุมพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำของแม่น้ำอิรวดี ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 15° 40' ถึง 18° 30' เหนือ ลองจิจูด 94° 15' ถึง 96° 15' ตะวันออก มีเนื้อที่ 13,566 ตารางไมล์ (35,140 ตารางกิโลเมตร) มีประชากรมากกว่า 6.5 ล้านคน ทำให้เขตอิรวดีมีประชากรมากที่สุดเมื่อเทียบกับรัฐหรือเขตอื่นของพม่า ความหนาแน่นของประชากรเป็น 466 คนต่อตารางไมล์ (180 คนต่อตารางกิโลเมตร) มีเมืองหลวงชื่อพะสิม (Pathein) เขตอิรวดีมีภูเขายะไข่ (ทิวเขาอะระกัน) กระหนาบข้างในพื้นที่ทางทิศตะวันตก และพื้นที่ส่วนใหญ่ถูกแผ้วถางสำหรับการเพาะปลูกข้าว ทำให้มีชื่อเสียงในเรื่องแหล่งผลิตข้าวหลักของประเทศในศตวรรษที่ 21 เขตอิรวดีก็มีทะเลสาบจำนวนหนึ่ง ในบรรดาลำน้ำสาขาที่แยกออกจากแม่น้ำอิรวดี แม่น้ำที่มีชื่อเสียงได้แก่ แม่น้ำงะวูน (Ngawun) แม่น้ำพะสิม และแม่น้ำโต (Toe).

ใหม่!!: ยะไข่และเขตอิรวดี · ดูเพิ่มเติม »

เขตตะนาวศรี

ตะนาวศรี (တနင်္သာရီတိုင်းဒေသကြီး, ตะนี้นตายี; ဏၚ်ကသဳ หรือ တနၚ်သြဳ) เป็นเขตที่ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศพม.

ใหม่!!: ยะไข่และเขตตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ อาร์ชิบัลด์ แคมป์เบลล์, บาโรเนตที่ 1

นายพล เซอร์ อาร์ชิบัลด์ แคมป์เบลล์, บาโรเนตที่ 1 GCB (Sir Archibald Campbell, 1st Baronet, 12 มีนาคม 1769 — 6 ตุลาคม 1843) นายทหารชาวสกอตที่รับราชการในกองทัพอังกฤษจาก..

ใหม่!!: ยะไข่และเซอร์ อาร์ชิบัลด์ แคมป์เบลล์, บาโรเนตที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

RahkuingRakhineระกันระกินระขิงระขินระขิ่งระขึนระคีนระเกียนอะระกันอาระกันชาวยะไข่ရခုိင္‌

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »