เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มีเกลันเจโล

ดัชนี มีเกลันเจโล

มีเกลันเจโล หรือที่มักรู้จักกันในชื่อ ไมเคิลแองเจโล มีชื่อเต็มว่า มีเกลันเจโล ดี โลโดวีโก บูโอนาร์โรตี ซีโมนี (Michelangelo di Lodovico Buonarroti Simoni, 6 มีนาคม ค.ศ.

สารบัญ

  1. 104 ความสัมพันธ์: บรรจุร่างพระเยซู (มีเกลันเจโล)บรอนซีโนบารอกบารโธโลมิวอัครทูตบาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเตฟราอันเจลีโกพ.ศ. 2017พ.ศ. 2047พระราชวังพระสันตะปาปาพระราชวังไวต์ฮอลพระคัมภีร์คนยากพระแม่มารีในกรอบกลม (มีเกลันเจโล)พระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว (คาราวัจโจ)พระเจ้าสร้างอาดัม (มีเกลันเจโล)พระเจ้าสร้างโลก (ราฟาเอล)พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์พิพิธภัณฑ์คาปิโตลิเนกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอลการบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีนการพิพากษาครั้งสุดท้าย (มีเกลันเจโล)การฝังพระเยซูการสมรสของพระนางพรหมจารี (ราฟาเอล)การาวัจโจการข่มขืนสตรีชาวซาบีนการตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)การ์โล มาแดร์โนการเป็นมรณสักขีของนักบุญมัทธิว (การาวัจโจ)ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสภาพเหมือนตนเองภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษมหาวิหารซันตาโกรเชมหาวิหารซันโลเรนโซ ฟลอเรนซ์มหาวิหารปาโดวามหาวิหารนักบุญเปโตรยกกางเขน (รือเบินส์)ยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ)ราฟาเอลรายชื่อจิตรกรรายชื่อไวรัสคอมพิวเตอร์วังฟาร์เนเซ (โรม)ศิลปะทรงกลมศิลป์ พีระศรีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศสสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีสีฝุ่นเทมเพอราสถาปัตยกรรมบาโรกสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก... ขยายดัชนี (54 มากกว่า) »

บรรจุร่างพระเยซู (มีเกลันเจโล)

รรจุร่างพระเยซู (The Entombment) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยมีเกลันเจโล จิตรกรสมัยเรอแนซ็องส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)ในอังกฤษ มีเกลันเจโลเขียนภาพ “บรรจุร่างพระเยซู” ราวระหว่างปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและบรรจุร่างพระเยซู (มีเกลันเจโล)

บรอนซีโน

“วีนัส, คิวปิด, ฟอลลี, เวลา” ค.ศ. 1545, พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ, ลอนดอน, อังกฤษ “การชื่นชมของเด็กเลี้ยงแกะ” ภาพของอันเดรีย ดอเรียนายทหารรับจ้างและนายพลเรือจากเจนัวแต่งตัวเป็นเทพเนพจูน แอกโนโล ดี โคสิโม หรือ บรอนซิโน (ภาษาอังกฤษ: Agnolo di Cosimo หรือที่รู้จักกันในนาม Bronzino) (17 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและบรอนซีโน

บารอก

“การแต่งงานของนักบุญแคทเธอรินแห่งอเล็กซานเดรีย” (The Mystic Marriage of St. Catherine) โดย อันโตนิโอ ดา คอร์เรจจิโอ บารอก (Baroque) หรือบาโรก เป็นสมัยหนึ่งของศิลปะตะวันตกซึ่งเริ่มประมาณต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี บาโรกจะเน้นความเป็นนาฏกรรม ศิลปะจะแสดงความขัดแย้ง (tension) และความหรูหรา โอ่อ่า บาโรกเป็นลักษณะของ ประติมากรรม จิตรกรรม วรรณกรรม นาฏศิลป์ และดนตรี ถ้ากล่าวถึงดนตรีแบบบารอกก็จะหมายถึงสมัยสุดท้ายของเคาน์เตอร์พ็อยต์ (Counterpoint) ที่กล่างวถึงความสัมพันธ์ของการเล่นระหว่างเสียงหรือเครื่องดนตรีมากกว่าสองชนิดที่อาจจะสะท้อนกันและกัน แต่คนละระดับเสียง หรือบางครั้งก็อาจจะสลับเสียงสะท้อน หรือไม่อีกทีก็อาจจะย้อนแก่นสาร (reversing theme) ของดนตรีชิ้นนั้นไปเลย ยุคบารอกรุ่งเรืองขึ้นมาด้วยการสนับสนุนจากคริสตจักรโรมันคาทอลิก ระหว่างการประชุมสภาสังคายนาแห่งเทรนต์ เมื่อปี..

ดู มีเกลันเจโลและบารอก

บารโธโลมิวอัครทูต

รโธโลมิวอัครทูต (Bartholomew the Apostle; Βαρθολομαίος (Bartholomaios)) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เสียชีวิตที่ประเทศอาร์มีเนีย บารโธโลมิวเป็นหนึ่งในอัครทูตของพระเยซู ชื่อ “บารโธโลมิว” มาจากภาษาแอราเมอิก “bar-Tôlmay” (תולמי‎‎‎‎‎-בר‎‎) หมายความว่า “ลูกของโทลเม” (โทเลมี) หรืออาจจะเป็น “ลูกของคนไถนา” บางครั้งก็เชื่อกันว่าเป็นนามสกุลมากกว่าจะเป็นชื่อตัวEncyclopedia Britannica, micropedia.

ดู มีเกลันเจโลและบารโธโลมิวอัครทูต

บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเต

นักบุญมินิอัสแห่งฟลอเรนซ์ทางขวาของพระเยซู โดยมีคำจารึกว่า: "S. MINIATUS REX ERMINIE" บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเต (Basilica di San Miniato al Monte) เป็นบาซิลิกาที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ทางตอนกลางของประเทศอิตาลี ตัวบาซิลิกาตั้งอยู่บนเนินที่สูงที่สุดของเมืองฟลอเรนซ์ บาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเตได้ชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ในทัสเคนี บาซิลิกาตั้งอยู่ติดกับสำนักสงฆ์ลัทธิโอลิเวทันส์ที่จะมองเห็นเมื่อขึ้นบันไดไปยังบาซิลิกา นักบุญมินิอัสแห่งฟลอเรนซ์ หรือมินาส (Մինաս, Miniato) เดิมเป็นเจ้าชายชาวอาร์มีเนียผู้รับราชการเป็นทหารในกองทัพโรมันภายใต้จักรพรรดิเดซิอัส มินิอัสถูกประณามว่าเป็นผู้นับถือคริสต์ศาสนาหลังจากที่ไปเป็นนักพรต และถูกนำตัวมาปรากฏต่อหน้าจักรพรรดิ ผู้กำลังตั้งค่ายอยู่หน้าประตูเมืองฟลอเรนซ์ พระจักรพรรดิมีพระบรมราชโองการให้โยนมินิอัสให้สัตว์ป่ากินในสนามกีฬา แต่เมื่อปล่อยเสือดำเข้าไป เสือดำก็ไม่ยอมทำร้ายมินิอัส มินิอัสจึงถูกตัดหัวต่อหน้าพระจักรพรรดิ กล่าวกันว่ามินิอัสไม่ได้เสียชีวิตทันทีแต่ก้มลงยกหัวของตนขึ้นมา แล้วประคองหัวข้ามแม่น้ำอาร์โน จากนั้นก็เดินขึ้นเนินมอนส์ฟิโอเรนตินัสไปยังที่อาศัย ต่อมาก็ได้มีการสร้างสักการะสถานตรงจุดนี้ และเมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 8 ก็มีชาเปลขึ้นแล้ว การก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้เริ่มขึ้นเมื่อ ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและบาซิลิกาซานมินิอาโตอัลมอนเต

ฟราอันเจลีโก

“ฟราอันเจลีโก” โดย ลุคา ซินยอเรลลิ ภราดาทูตสวรรค์ หรือทับศัพท์ว่าฟราอันเจลีโก (Fra Angelico) เป็นสมญานามของภราดาโจวันนีแห่งฟีเอโซเล (ชื่อเมื่อแรกเกิดคือ กวีโด ดี ปีเอโตร, ราว ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและฟราอันเจลีโก

พ.ศ. 2017

ทธศักราช 2017 ใกล้เคียงกั.

ดู มีเกลันเจโลและพ.ศ. 2017

พ.ศ. 2047

ทธศักราช 2047 ใกล้เคียงกั.

ดู มีเกลันเจโลและพ.ศ. 2047

พระราชวังพระสันตะปาปา

ระราชวังพระสันตะปาปา (ภาษาอังกฤษ: Apostolic Palace หรือ Papal Palace หรือ Palace of the Vatican) เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปาที่ตั้งอยู่ภายในนครรัฐวาติกัน ตัววังเป็นกลุ่มสิ่งก่อสร้างที่ประกอบด้วยห้องชุดของพระสันตะปาปา (Papal Apartments), สำนักงานของผู้บริหารนิกายโรมันคาทอลิก, ชาเปล, พิพิธภัณฑ์วาติกัน และหอสมุดวาติกัน ห้องต่างๆ มีด้วยกันทั้งหมดกว่า 1,000 ห้องโดยมีห้องที่สำคัญที่สุดคือห้องราฟาเอล และชาเปลซิสตินซึ่งมีเพดานจิตรกรรมฝาผนังที่มีชื่อที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโล ที่พำนักอื่นขอวพระสันตะปาปาอยู่ที่วังแลเตอรันและที่ปราสาทกานโดลโฟ (Castel Gandolfo) นอกกรุงโรม วังวาติกันมามีความสำคัญกว่าวังแลเตอรันในคริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ก็มาแพ้แก่วังควิรินัล (Quirinal Palace) อยู่ระยะหนึ่ง ก่อนปี..

ดู มีเกลันเจโลและพระราชวังพระสันตะปาปา

พระราชวังไวต์ฮอล

ระราชวังไวต์ฮอล (Palace of Whitehall) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ในลอนดอนในสหราชอาณาจักร ที่ประทับหลักของพระมหากษัตริย์อังกฤษในลอนดอนระหว่าง ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและพระราชวังไวต์ฮอล

พระคัมภีร์คนยาก

หน้าต่าง “พระคัมภีร์คนยาก” ที่ มหาวิหารแคนเทอร์เบอรีจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่อาจจะสร้างจากชิ้นส่วนของบานหน้าต่างเดิมสองบาน รายละเอียดจากหน้าต่างสองหน้าต่างจากมหาวิหารแคนเทอร์เบอรีที่เป็นเรื่องสองเรื่องที่ต่างกัน แต่ตัวแบบสองตัวในภาพทางด้านซ้ายเป็นตัวเดียวกัน และเสา โต๊ะ เชิงเทียน และหนังสือ ภาพซ้ายสร้างในสมัยกลาง และภาพขวาในสมัยวิกตอเรีย พระคัมภีร์คนยาก (Poor Man's Bible) คำว่า “พระคัมภีร์คนยาก” ในปัจจุบันหมายถึงงานศิลปะภายในคริสต์ศาสนสถานที่อาจจะเป็นงานชิ้นเดียวหรืองานชุดที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนสาระของคัมภีร์ไบเบิลต่อประชากรส่วนใหญ่ที่ไร้การศึกษา ศิลปะ “พระคัมภีร์คนยาก” อาจจะเป็นงานประติมากรรม งานแกะสลัก จิตรกรรม งานโมเสก หรือหน้าต่างประดับกระจกสี ในโบสถ์บางแห่งหน้าต่างบานเดียวก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็น “พระคัมภีร์คนยาก” ขณะที่ในโบสถ์อื่นทั้งโบสถ์อาจจะตกแต่งด้วยบทบรรยายพระคัมภีร์ไบเบิลอันซับซ้อนภายใต้หัวใจของเรื่องที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน.

ดู มีเกลันเจโลและพระคัมภีร์คนยาก

พระแม่มารีในกรอบกลม (มีเกลันเจโล)

ระแม่มารีในกรอบกลม (Doni Tondo หรือ Doni Madonna) เป็นจิตรกรรมสีน้ำมันบนแผงไม้ที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโล จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในฟลอเรนซ์ในอิตาลี ภาพ “พระแม่มารีในกรอบกลม” เขียนราวปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและพระแม่มารีในกรอบกลม (มีเกลันเจโล)

พระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว (คาราวัจโจ)

ระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว (The Calling of St Matthew) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลี ภาพ “พระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว” เขียนเสร็จระหว่างปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและพระเยซูเรียกนักบุญแม็ทธิว (คาราวัจโจ)

พระเจ้าสร้างอาดัม (มีเกลันเจโล)

ระเจ้าสร้างอาดัม (The Creation of Adam) เป็นจิตรกรรมฝาผนังโดยมีเกลันเจโลซึ่งถูกวาดไว้บนเพดานโบสถ์น้อยซิสทีนในนครรัฐวาติกัน ถูกวาดระหว่าง..

ดู มีเกลันเจโลและพระเจ้าสร้างอาดัม (มีเกลันเจโล)

พระเจ้าสร้างโลก (ราฟาเอล)

ูบทความหลักที่ พระธรรมปฐมกาล พระเจ้าสร้างโลก (ภาษาอังกฤษ: Creation of the World) เป็นงานโมเสกบนโดมภายในชาเปลชิจิในวัดซานตามาเรียเดลโปโปโลในกรุงโรมในประเทศอิตาลีที่ออกแบบโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ราฟาเอลออกแบบชาเปลให้แก่เพื่อนและผู้อุปถัมภ์ที่เป็นนายธนาคารชื่ออากอสติโน ชิจิ (Agostino Chigi) สำหรับเป็นชาเปลส่วนตัวและที่บรรจุศพของตระกูลชิจิ การตกแต่งโมเสกบนโดมออกจะเป็นของล้าสมัยสำหรับคริสต์ศตวรรษที่ 16 งานร่างของราฟาเอลนำไปสร้างโดยช่างลุยจิ ดิ พาเซชาวเวนิสในปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและพระเจ้าสร้างโลก (ราฟาเอล)

พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์

ัณฑ์ลูฟวร์ (Musée du Louvre) หรือในชื่อทางการว่า the Grand Louvre เป็นพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะตั้งอยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงที่สุด เก่าแก่ที่สุด และใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งได้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้เมื่อปี พ.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์

พิพิธภัณฑ์คาปิโตลิเน

ัณฑ์คาปิโตลิเน (Musei Capitolini; Capitoline Museums) เป็นกลุ่มพิพิธภัณฑ์ศิลปะและโบราณคดีที่ตั้งอยู่ที่เนเปิลส์ในประเทศอิตาลี “พิพิธภัณฑ์คาปิโตลิเน” ตั้งอยู่ในพาลัซโซสามพาลัซโซรอบจตุรัสที่ผังที่ออกแบบโดยไมเคิล แอนเจโล ในปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและพิพิธภัณฑ์คาปิโตลิเน

กลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล

“เพอร์ซิโฟเน” โดยดานเต เกเบรียล รอซเซ็ตตี กลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล (Pre-Raphaelite Brotherhood หรือ Pre-Raphaelites) เป็นกลุ่มจิตรกร กวี และนักวิจารณ์ศิลปะของอังกฤษทึ่ก่อตั้งเมื่อปี..

ดู มีเกลันเจโลและกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล

การบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีน

จิตรกรรมฝาผนังภายในโบสถ์น้อยซิสทีน พระเจ้าสร้างอาดัม" โดยมีเกลันเจโลก่อนการปฏิสังขรณ์ พระเจ้าสร้างอาดัม" หลังจากที่ได้รับการปฏิสังขรณ์แล้ว การบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีน (Restoration of the Sistine Chapel frescoes) เป็นโครงการบูรณะจิตรกรรมฝาผนังภายในที่สำคัญที่สุดในบรรดาโครงการบูรณะศิลปะของคริสต์ศตวรรษที่ 20 โบสถ์น้อยซิสทีนนั้นสมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 ทรงให้สร้างขึ้นภายในวังพระสันตะปาปา ณ ด้านเหนือของนครรัฐวาติกัน ติดกับมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ โดยสร้างเสร็จใน..

ดู มีเกลันเจโลและการบูรณะจิตรกรรมฝาผนังโบสถ์น้อยซิสทีน

การพิพากษาครั้งสุดท้าย (มีเกลันเจโล)

การพิพากษาครั้งสุดท้าย (The Last Judgment, Il Giudizio Universale) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยมีเกลันเจโลจิตรกรชาวอิตาลีคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของสมัยเรอเนซองส์ ที่เขียนไว้ภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ในนครรัฐวาติกัน มีเกลันเจโลเขียนภาพ “การพิพากษาครั้งสุดท้าย” ระหว่างปี..

ดู มีเกลันเจโลและการพิพากษาครั้งสุดท้าย (มีเกลันเจโล)

การฝังพระเยซู

การบรรจุพระคริสต์'' โดย คาราวัจโจ การฝังพระเยซู (Burial of Jesus) หมายการฝังพระศพของพระเยซูภายหลังการตรึงกางเขนตามที่ถูกอธิบายไว้ในพันธสัญญาใหม่ และตามพระวรสารแล้ว ร่างของพระองค์ถูกจัดวางไว้ในหลุมโดยชายที่ชื่อว่าโยเซฟชาวอาริมาเธีย ภาพเขียนที่มีชื่อเสียงในหัวข้อนี้ก็ได้แก่.

ดู มีเกลันเจโลและการฝังพระเยซู

การสมรสของพระนางพรหมจารี (ราฟาเอล)

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี (The Marriage of the Virgin) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอล จิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เบรราในเมืองมิลานในประเทศอิตาลี ราฟาเอลลงชื่อและวันที่บนภาพเขียน “การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” RAPHAEL URBINAS MDIIII (ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและการสมรสของพระนางพรหมจารี (ราฟาเอล)

การาวัจโจ

ูรายชื่องานที่ รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ; มีเกลันเจโล เมรีซี ดา การาวัจโจ (Michelangelo Merisi da Caravaggio ค.ศ. 1571 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1610) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำค้ญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ผู้มีผลงานส่วนใหญ่ที่ โรม เนเปิลส์ ซิซิลี และประเทศมอลตา ระหว่างปี..

ดู มีเกลันเจโลและการาวัจโจ

การข่มขืนสตรีชาวซาบีน

“การข่มขืนสตรีชาวซาบีน” โดยจามโบโลนยา ภาพแกะเดียวกับประติมากรรมที่ลอจเจียเดอิลันซิในฟลอเรนซ์ “การข่มขืนสตรีชาวซาบีน” โดยโยฮันน์ ไฮน์ริค เชินเฟลด์ (Johann Heinrich Schönfeld) การข่มขืนสตรีชาวซาบีน (The Rape of the Sabine Women) เป็นส่วนหนึ่งของตำนานประวัติศาสตร์โรมที่กล่าวว่าชาวโรมันรุ่นแรกไปเอาภรรยามาจากซาบีนที่อยู่ไม่ไกลนัก (ในบริบทนี้ “การข่มขืน” หมายถึง “การลักพา” หรือ “Rape” ที่มีรากมาจากคำว่า “raptio” ไม่ใช่ในความหมายของการข่มขืนที่เข้าใจกันในสมัยปัจจุบัน) จากคำบอกเล่าของนักประวัติศาสตร์โรมันไททัส ลิวิอัส และพลูทาร์ค (ในหนังสือ “Parallel Lives” II, 15 และ 19) หัวข้อนี้เป็นหัวข้อที่นิยมกันในการสร้างงานศิลปะในยุคเรอเนสซองซ์และต่อมา ซึ่งเป็นการใช้หัวเรื่องในการสื่อความหมายที่ส่งเสริมให้เกิดแรงบันดาลใจในทางความกล้าหาญของชาวโรมันโบราณและสำหรับศิลปินก็เป็นโอกาสที่จะสร้างภาพที่ประกอบด้วยคนหลายคนที่รวมทั้งร่างสตรีที่กำลังต่อสู้ดิ้นรน หัวเรื่องในทำนองเดียวกันจากสมัยโรมันโบราณก็ได้แก่ยุทธการระหว่างลาพิธและเซนทอร์ (Lapith) และหัวเรื่อง สงครามอะเมซอน (Amazonomachy) ซึ่งเป็นยุทธการระหว่างเธเซียสและนักรบอะเมซอน หรือเทียบได้กับตำนานคริสต์ศาสนาในหัวข้อการสังหารเด็กบริสุทธิ์ (Massacre of the Innocents).

ดู มีเกลันเจโลและการข่มขืนสตรีชาวซาบีน

การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)

นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน (Crucifixion of St.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันอยู่ที่วัดซานตามาเรียเดลโปโปโลในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน” เป็นภาพที่เขียนเสร็จในปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและการตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)

การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)

นายช่างโบฮีเมีย ราวปี ค.ศ. 1350 แสดงให้เห็นอิทธิพลของไบเซนไทน์แบบอิตาลีในราชสำนักของจักรพรรดิคาร์ลที่ 4 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ การประสูติของพระเยซู (Nativity หรือ Nativity of Jesus) เป็นหัวเรื่องที่วาดกันบ่อยที่สุดหัวข้อหนึ่งในศิลปะศาสนาคริสต์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 องค์ประกอบของศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อฉลองวันคริสต์มาสตามข้อมูลในพระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูกา และต่อมาก็มีการเพิ่มเรื่องราวจากข้อเขียนอื่น ๆ หรือเรื่องเล่าต่างๆ ศิลปะคริสต์ศาสนามักจะมีรูปเคารพของพระนางมารีย์พรหมจารีและพระกุมารเยซู งานศิลปะแบบนี้จะเรียกว่า “แม่พระและพระกุมาร” หรือ “พระนางพรหมจารีและพระกุมาร” แต่รูปนี้จะไม่รวมอยู่ในชุด “การประสูติของพระเยซู” ฉากการประสูติของพระเยซูจะมีคำบรรยายอย่างชัดเจนจากหลักฐานหลายแห่ง การกำเนิดของพระเยซูเป็นฉากที่ใช้ในการสร้างศิลปะหลายแบบทั้งทางจักษุศิลป์และประติมากรรม และศิลปะแบบอื่นๆ ในรูปของจักษุศิลป์ก็อาจจะเป็น ไอคอน, จิตรกรรมฝาผนัง, บานพับภาพ, ภาพเขียนสีน้ำมัน, หนังสือวิจิตร และ หน้าต่างประดับกระจกสี บางครั้งการแสดงภาพก็อาจจะผสมระหว่างจักษุศิลป์และประติมากรรม ที่ตั้งของภาพหรืองานศิลปะก็อาจจะเป็น ฉากประดับแท่นบูชา (Altarpiece) ศิลปะแบบอื่นๆ ก็อาจจะเป็นจุลจิตรกรรม งานแกะงาช้าง การแกะภาพบนโลงหิน การสลักบนหน้าบันเหนือประตูทางเข้าโบสถ์ หรือคานเหนือประตู หรืออาจจะเป็นรูปปั้นแบบลอยตัว รูปปั้นแบบลอยตัวของ “การประสูติของพระเยซู” มักจะทำเป็น “Creche” หรือ “Presepe” ซึ่งเรียกว่า “ฉากพระเยซูประสูติ” (Nativity scene) ซึ่งอาจจะใช้ตั้งตรงมุมใดมุมหนึ่งของโบสถ์ หน้าหรือในสถานที่สาธารณะ, บ้าน หรือกลางแจ้งเป็นการชั่วคราว ขนาดของกลุ่มรูปปั้นก็มีตั้งแต่ขนาดเล็กๆ ไปจนขนาดเท่าคนจริง ที่มาของการสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” อาจจะมาจากการแสดงกลุ่มรูปปั้น ที่เรียกว่า “Tableau vivant” ที่กรุงโรม ซึ่งนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีมีบทบาททำให้เป็นที่นิยมกันมากขึ้น การสร้าง “ฉากพระเยซูประสูติ” ก็ยังเป็นที่นิยมกันถึงปัจจุบันนี้ โดยบางครั้งฉากเล็กอาจจะทำจากกระเบื้องพอร์ซิเลน (Porcelain), พลาสเตอร์, พลาสติก หรือ กระดาษ เพื่อใช้ตั้งภายในที่อยู่อาศั.

ดู มีเกลันเจโลและการประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)

การ์โล มาแดร์โน

้านหน้ามหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ การ์โล มาแดร์โน (Carlo Maderno; ค.ศ. 1556 - 30 มกราคม ค.ศ. 1629) เป็นสถาปนิกชาวอิตาลี-สวิสเกิดที่ตีชีโน (Ticino) ที่อยู่ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ส่วนที่พูดภาษาอิตาลี การ์โล มาแดร์โนถือกันว่าเป็นบิดาแห่งสถาปัตยกรรมบาโรก งานของมาแดร์โนด้านหน้าของมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ วัดซานตาซูซานนา (Santa Susanna) และวัดซานตันเดรอาเดลลาวัลเล (Sant'Andrea della Valle) ถือกันว่าเป็นกุญแจสำคัญของการวิวัฒนาการของสถาปัตยกรรมบาโรกของอิตาลี การ์โล มาแดร์โนมักจะรู้จักว่าเป็นพี่ชายของประติมากรสเตฟาโน มาแดร์โน (Stefano Maderno) แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานยืนยันแน่นอน.

ดู มีเกลันเจโลและการ์โล มาแดร์โน

การเป็นมรณสักขีของนักบุญมัทธิว (การาวัจโจ)

การพลีชีพของนักบุญแม็ทธิว (The Martyrdom of Saint Matthew) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ตั้งอยู่ภายในชาเปลคอนทราเรลลิในวัดซานลุยจิเดอิฟรานเชซิในกรุงโรมในประเทศอิตาลี หลังจากเสียชีวิตไปแล้วคาร์ดินัลชาวฝรั่งเศสขื่อแม็ทธิว ควงแทรล (Matthieu Cointrel) หรือ “มัตเตโอ คอนทราเรลลิ” ในภาษาอิตาลีก็ทิ้งมรดกไว้โดยระบุว่าให้ใช้ในการตกแต่งชาเปลของตนเองในหัวเรื่องของนักบุญผู้ที่ท่านใช้เป็นชื่อ (มัตเตโอ.

ดู มีเกลันเจโลและการเป็นมรณสักขีของนักบุญมัทธิว (การาวัจโจ)

ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส

ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส

ภาพเหมือนตนเอง

หมือนตนเองของอัลเบรชท์ ดือเรอร์, ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ปารีส ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรก ๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล ภาพเหมือนตนเอง (Self-portrait) คือภาพเหมือนของศิลปินเองผู้อาจจะวาด เขียนด้วยสี ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริง ๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้นยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการเขียนภาพเหมือนบนจิตรกรรมแผง จิตรกร ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ "ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)" ที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ ของปี..

ดู มีเกลันเจโลและภาพเหมือนตนเอง

ภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษ

ภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษ, ภาวะเป็นพิษเหตุสุรา, การเป็นพิษจากแอลกอฮอล์ (alcohol intoxication) หรือความเมา (drunkenness, inebriation) เป็นภาวะทางสรีรวิทยา (ซึ่งยังอาจรวมการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของการรับรู้) อันเกิดจากการกินเอทานอล (แอลกอฮอล์) ภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษเป็นผลจากที่แอลกอฮอล์เข้ากระแสเลือดเร็วกว่าสามารถเกิดเมแทบอลิซึมที่ตับ ซึ่งสลายเอทานอลเป็นผลพลอยได้ซึ่งไม่เป็นพิษ ฤทธิ์บางอย่างของภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษ (เช่น ภาวะครึ้มใจและการยับยั้งทางสังคมลดลง) เป็นหัวใจของความปรารถนาใช้แอลกอฮอล์เป็นเครื่องดื่ม และประวัติศาสตร์ของมันในฐานะยาที่ใช้เพื่อความสนุกสนาน (recreational drug) ที่แพร่หลายที่สุดอย่างหนึ่งของโลก แม้การใช้อย่างแพร่หลายนี้และความชอบด้วยกฎหมายของแอลกอฮอล์ในประเทศส่วนใหญ่ แหล่งข้อมูลการแพทย์จำนวนมากมักอธิบายภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษทุกระดับว่าเป็นภาวะถูกพิษรูปหนึ่งเพราะฤทธิ์ทำอันตรายต่อร่างกายในขนาดสูง บางศาสนามองว่าภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษเป็นบาป อาการของภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษรวมภาวะครึ้มใจ ผิวหนังแดงและการยับยั้งทางสังคมลดลงในขนาดต่ำ โดยขนาดที่สูงขึ้นทำให้เกิดความเสื่อมรุนแรงของการรักษาสมดุล การประสานงานของกล้ามเนื้อ (ภาวะกล้ามเนื้อเสียสหการ) และความสามารถตัดสินใจ (อาจนำไปสู่พฤติกรรมรุนแรงหรือไม่คงเส้นคงวาได้) มากขึ้น ๆ ตลอดจนคลื่นไส้หรืออาเจียนจากฤทธิ์รบกวนของแอลกอฮอล์ต่อหลอดกึ่งวงกลมของหูชั้นในและการระคายเคืองทางเคมีของเยื่อเมือกกระเพาะอาหาร ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดที่สูงเพียงพอจะทำให้เกิดโคม่าและเสียชีวิตจากฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลางของแอลกอฮอล์ "ภาวะเป็นพิษแอลกอฮอล์เฉียบพลัน" เป็นศัพท์การแพทย์ที่เกี่ยวข้องซึ่งใช้บ่งชี้ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ที่สูงอย่างเป็นอันตรายในเลือด ที่สูงพอชักนำให้โคม่า การหายใจลดลงหรือกระทั่งเสียชีวิต ภาวะดังกล่าวถือเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ หมวดหมู่:ภาวะเป็นพิษ หมวดหมู่:วัฒนธรรมการดื่มแอลกอฮอล์ หมวดหมู่:ภาวะดื่มสุราแบบเสี่ยง.

ดู มีเกลันเจโลและภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษ

มหาวิหารซันตาโกรเช

้านหน้าบาซิลิกา ภายใน บาซิลิกาซานตาโครเช (ภาษาอิตาลี: Basilica di Santa Croce; ภาษาอังกฤษ: Basilica of the Holy Cross) เป็นวัดบาซิลิกาชั้นรองของนิกายโรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ที่ตั้งแต่เดิมเป็นที่ลุ่มนอกกำแพงเมืองฟลอเรนซ์ ภายในวัดเป็นที่เก็บศพคนสำคัญๆ ของอิตาลีเช่นไมเคิล แอนเจโล, กาลิเลโอ กาลิเลอี, และคนอื่นจึงเป็นที่รู้จักกันว่าเป็น “Pantheon of the Italian Glories” (จุดยอดของความเลิศของอิตาลี).

ดู มีเกลันเจโลและมหาวิหารซันตาโกรเช

มหาวิหารซันโลเรนโซ ฟลอเรนซ์

ซิลิกาซานโลเร็นโซ หรือ บาซิลิกาเซนต์ลอว์เรนซ์แห่งฟลอเรนซ์ (Basilica of San Lorenzo, Florence, Basilica di San Lorenzo) เป็นวัดคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นมหาวิหารที่ตั้งอยู่กลางเมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบฟื้นฟูศิลปวิทยา บาซิลิกาซานโลเร็นโซเป็นวัดที่ใหญ่ที่สุดวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในบริเวณตลาดเก่าในใจกลางเมืองฟลอเรนซ์และเป็นวัดที่ใช้ในการบรรจุศพบุคคลสำคัญๆ หลายคนของตระกูลเมดิชิตั้งแต่โคสิโม เดอ เมดิชิผู้เสียชีวิตในปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและมหาวิหารซันโลเรนโซ ฟลอเรนซ์

มหาวิหารปาโดวา

อาสนมหาวิหารแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์แห่งปาโดวา (Basilica Cattedrale di Santa Maria Assunta) หรือ มหาวิหารปาโดวา (Duomo di Padova) เป็นคริสต์ศาสนสถานของคริสตจักรโรมันคาทอลิก มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ตั้งอยู่ที่เมืองปาโดวา ในประเทศอิตาลี สร้างขึ้นเพื่ออุทิสแก่แม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ อาคารปัจจุบันเป็นสิ่งก่อสร้างที่สาม สิ่งก่อสร้างแรกสร้างหลังจากพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลานเมื่อปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและมหาวิหารปาโดวา

มหาวิหารนักบุญเปโตร

มหาวิหารนักบุญเปโตร (Basilica of Saint Peter, Basilica Sancti Petri) รู้จักกันโดยชาวอิตาลีว่า Basilica di San Pietro in Vaticano หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่าเซนต์ปีเตอร์สบาซิลิกา (Saint Peter's Basilica) เป็นมหาวิหารเอกหนึ่งในสี่แห่งในกรุงโรม นครรัฐวาติกัน (อีกสามมหาวิหาร คือ มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร และมหาวิหารนักบุญเปาโลนอกกำแพง).

ดู มีเกลันเจโลและมหาวิหารนักบุญเปโตร

ยกกางเขน (รือเบินส์)

"ยกกางเขน" กลางบานพับภาพ ยกกางเขน (Kruisoprichting; The Elevation of the Cross) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เป็นส่วนหนึ่งของบานพับภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรสมัยบาโรกชาวดัตช์ ปัจจุบันตั้งอยู่ภายในมหาวิหารแอนต์เวิร์ป ในเมืองแอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม รือเบินส์เขียนภาพ "ยกกางเขน" ราวระหว่างปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและยกกางเขน (รือเบินส์)

ยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ)

“นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์” โดย คาราวัจโจ นักบุญจอห์นแบ็พทิสต์ หรือ นักบุญจอห์นเร่ร่อน (John the Baptist หรือ John in the Wilderness) เป็นหัวข้อที่เขียนอย่างน้อยแปดครั้งโดยคาราวัจโจ ผู้เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลี ระหว่างปี..

ดู มีเกลันเจโลและยอห์นแบปติสต์ (การาวัจโจ)

ราฟาเอล

วาดตัวเองของราฟาเอล ราฟาเอล (Raphael) หรือ รัฟฟาเอลโล ซานซีโอ ดา อูร์บีโน (Raffaello Sanzio da Urbino; พ.ศ. 2026-2063) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีที่มีอาวุโสน้อยที่สุดในบรรดาจิตรกรผู้ยิ่งใหญ่ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีอายุน้อยกว่าเลโอนาร์โด ดา วินชี 31 ปี และอ่อนกว่ามีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี 8 ปี เมื่อ..

ดู มีเกลันเจโลและราฟาเอล

รายชื่อจิตรกร

รายชื่อจิตรกร.

ดู มีเกลันเจโลและรายชื่อจิตรกร

รายชื่อไวรัสคอมพิวเตอร์

นี่คือรายชื่อไวรัสคอมพิวเตอร.

ดู มีเกลันเจโลและรายชื่อไวรัสคอมพิวเตอร์

วังฟาร์เนเซ (โรม)

วังฟาร์เนเซ หรือ พาลัซโซฟาร์เนเซ (Palazzo Farnese) เป็นวังที่ตั้งอยู่ในกรุงโรมในประเทศอิตาลีที่สร้างในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสถานทูตฝรั่งเศสประจำประเทศอิตาลี สถาปนิกอังกฤษบานิสเตอร์ เฟล็ทเชอร์กล่าวว่า “ฟาร์เนเซเป็นวังอิตาลีที่มีลักษณะสง่างามที่สุดของคริสต์ศตวรรษที่ 16” ที่ออกแบบโดยอันโตนิโอ ดา ซานกาลโลผู้เยาว์ (ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและวังฟาร์เนเซ (โรม)

ศิลปะทรงกลม

ประติมากรรมภาพนูนทอนโดโดยอันเดรอา เดลลา รอบเบีย (Andrea della Robbia) ที่หน้าโรงพยาบาลที่พิสโตเอีย จิตรกรรมทรงกลม “พระแม่มารีถือผลทับทิม” โดย ซานโดร บอตติเชลลี, ราว ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและศิลปะทรงกลม

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ดู มีเกลันเจโลและศิลป์ พีระศรี

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

ดู มีเกลันเจโลและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศส

มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส (French Renaissance) หมายถึงการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมและศิลปะ ระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึง ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เป็นส่วนหนึ่งของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป ที่นักประวัติศาสตร์เชื่อกันว่าเริ่มต้นขึ้นในอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศสตามปกติแล้วถือว่าเริ่มขึ้น ตั้งแต่การรุกรานของฝรั่งเศสเข้าไปในอิตาลีในปี..

ดู มีเกลันเจโลและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในฝรั่งเศส

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (ภาษาอังกฤษ: Italian Renaissance) เป็นจุดแรกของการเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาซึ่งเป็นช่วงเวลาของความเจริญทางวัฒนธรรมที่สูงสุดในยุโรปที่เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ไปจนสิ้นสุดลงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เป็นช่วงเวลาที่เชื่อมระหว่างยุคกลางของยุโรปกับยุโรปสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern Europe) คำว่า “เรอเนสซองซ์” เป็นคำสมัยใหม่ที่มาใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในงานของนักประวัติศาสตร์เช่นเจคอป เบิร์คฮาร์ดท์ (Jacob Burckhardt) ที่มาของขบวนการฟื้นฟูศิลปวิทยาจะเริ่มจากการวิวัฒนาการทางวรรณกรรมของผู้ก่อตั้งในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 แต่ วัฒนธรรมด้านอื่นๆของอิตาลีในขณะนั้นยังคงเป็นวัฒนธรรมของยุคกลาง ปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยามิได้แพร่หลายอย่างเต็มที่จนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 คำว่า “เรอเนสซองซ์” หรือ “Rinascimento” ในภาษาอิตาลีหมายความว่า “เกิดใหม่” และเป็นสมัยที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในการฟื้นฟูความสนใจในวัฒนธรรมของกรีกโรมันหลังจากสมัยที่นักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์ (Renaissance humanist) ตั้งชื่อว่ายุคมืด (Dark Ages) ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญแต่จำกัดอยู่แต่ในกลุ่มชนชั้นสูงและทิ้งให้ประชากรส่วนใหญ่ในยุโรปยังมีความเป็นอยู่ที่ไม่ต่างจากสมัยกลางที่ผ่านมา สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเริ่มในทัสเคนีโดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ฟลอเรนซ์และเซียนา และต่อมาในเวนิสที่มีผลเป็นอันมาก เพราะงานต่างๆ ของกรีกโบราณถูกนำไปรวบรวมไว้ที่เวนิสซึ่งทำให้กลายเป็นแหล่งความรู้ต่างๆ ที่ใหม่ๆ ให้แก่นักมนุษยนิยม ผู้คงแก่เรียนในเวนิสในขณะนั้น ต่อมาปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยาก็มามีอิทธิพลในกรุงโรม ที่ทำให้เกิดการสร้างสิ่งก่อสร้างใหม่ๆ มากมายที่ส่วนใหญ่โดยการอุปถัมภ์ของพระสันตปาปาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรุ่งเรืองที่สุดในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 หลังจากนั้นก็ลดถอยลงหลังจากการรุกรานจากต่างประเทศที่ก่อสงครามในอิตาลี แต่การฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีก็มิได้หยุดนิ่งลงแต่เผยแพร่ไปทั่วยุโรปและเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือของยุโรปและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอังกฤษและประเทศอื่นๆ ในยุโรป สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในความสำเร็จทางด้านวัฒนธรรม วรรณกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรวมนักมนุษยนิยมผู้มีชื่อเสียงเช่นเปตรากที่รู้จักกันดีในงานซอนเน็ต “Il Canzoniere”; จิโอวานนิ บอคคาซิโอ (Giovanni Boccaccio) ในงานเรื่องเล่า “Decameron” และนักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์เช่นโปลิซิอาโน (Poliziano), มาร์ซิลิโอ ฟิซิโน (Marsilio Ficino), โลเร็นโซ วาลลา (Lorenzo Valla), อัลโด มานูซิโอ (Aldo Manuzio), โพจจิโอ บราชชิโอลินิ (Poggio Bracciolini) นอกจากนั้นก็มีนักประพันธ์มหากาพย์เรอเนสซองซ์เช่นบัลดัสซาเร คาสติกลิโอเน (Baldassare Castiglione) (“The Book of the Courtier”), ลุโดวิโค อริโอสโต (Ludovico Ariosto) (“Orlando Furioso”) และทอร์ควาโท ทาสโซ (Torquato Tasso) (“Jerusalem Delivered”) และนักประพันธ์ร้อยแก้วเช่นนิคโคโล มาเคียเวลลี (“The Prince”) จิตรกรรมเรอเนสซองซ์อิตาลีเป็นจิตรกรรมที่มีอิทธิพลต่อจิตรกรรมตะวันตกต่อมาอีกหลายร้อยปี โดยมีจิตรกรเช่นไมเคิล แอนเจโล, ราฟาเอล, ซานโดร บอตติเชลลี, ทิเชียน และเลโอนาร์โด ดา วินชี และเช่นเดียวกันกับสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีสถาปนิกเช่นอันเดรอา ปัลลาดีโอ และงานเช่นมหาวิหารฟลอเรนซ์ และมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ในกรุงโรม ในขณะเดียวกันนักประวัติศาสตร์ในปัจจุบันเห็นว่าเป็นสมัยของความหดตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมามีความก้าวหน้ามากกว่าในวัฒนธรรมของโปรเตสแตนต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ดู มีเกลันเจโลและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

สีฝุ่นเทมเพอรา

ระแม่มารีและพระบุตรโดยดุชโช, เทมเพอราและทองบนไม้, ค.ศ. 1284, เซียนา นิคโคโล เซมิเทโคโล ค.ศ. 1367 สีฝุ่นเทมเพอรา (tempera, egg tempera) เป็นสิ่งที่ใช้ในการเขียนภาพที่แห้งง่ายและถาวรที่ประกอบด้วยรงควัตถุผสมกับของเหลวที่เป็นตัวเชื่อม (มักจะใช้สารกลูเตน (Gluten)) เช่นไข่แดงหรือสารที่เป็นตัวเชื่อม (Sizing) อื่นๆ นอกจากนั้นเทมเพอราก็ยังหมายถึงจิตรกรรมที่เขียนด้วยสารผสมดังกล่าวด้วย การเขียนด้วยวิธีนี้เป็นวิธีที่ทำให้ภาพที่เขียนมีอายุยืนนานเช่นภาพที่เขียนในคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งก็ยังมีอยู่ให้เห็น เทมเพอราที่ผสมด้วยไข่เป็นวิธีที่ใช้ในการเขียนภาพโดยทั่วไปมาจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อมาแทนที่ด้วยการเขียนด้วยสีน้ำมัน เทมเพอราอีกประเภทหนึ่งที่ผสมระหว่างรงควัตถุกับสารที่เป็นกาวที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและมักจะเรียกโดยผู้ผลิตในสหรัฐอเมริกาว่าสีโปสเตอร.

ดู มีเกลันเจโลและสีฝุ่นเทมเพอรา

สถาปัตยกรรมบาโรก

วิหารซุพเพอร์กา (Basilica di Superga) ใกล้เมืองตูริน ประเทศอิตาลี โดย ฟิลิโป คูวารา (Filippo Juvarra) วิการตกแต่งภายในของวัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ที่แสดงถึงความแยกไม่ออกระหว่างประติมากรรมและสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมบาโรก (ภาษาอังกฤษ: Baroque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ประเทศอิตาลี เป็นสถาปัตยกรรมที่บ่งถึงความหรูหราโอ่อ่าและความมีอำนาจของสถาบันคริสต์ศาสนาและการปกครอง และจะเน้นเรื่องแสง สี เงา และคุณค่าของประติมากรรม ขณะที่สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์จะเน้นความมั่งคั่งและอำนาจของราชสำนักอิตาลี และประสมประสานศิลปะศาสนาและศิลปะทางโลก สถาปัตยกรรมบาโรกเมื่อเริ่มแรกเป็นสถาปัตยกรรมที่มาจากปฏิกิริยาต่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ซึ่งเป็นกระบวนการของสถาบันคาทอลิกต่อต้านการปฏิรูปดังกล่าว โดยการปฏิรูปภายในสถาบันคาทอลิกเอง การประชุมสังคายนาที่เมืองเทร้นต์ ระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม..

ดู มีเกลันเจโลและสถาปัตยกรรมบาโรก

สถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์

แบบอิตาลี” เข้าไปบ้าง คฤหาสน์วอลลาทันฮอลล์ที่สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1588 สถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ หรือบางครั้งก็เรียกสั้นๆ ว่า ฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ หรือ เรอแนซ็องส์ใหม่ (Renaissance Revival architecture หรือ Neo-Renaissance) คือลักษณะสถาปัตยกรรมที่รวมลักษณะต่างๆ ของสถาปัตยกรรมฟื้นฟูของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่ไม่เชิงกรีก (ดูบทความ สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีก) หรือ กอธิค (ดูบทความ สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิค) แต่เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับแรงบันดาลใจจากสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิกอิตาลีต่างๆ ตามความหมายอย่างกว้างๆ ของสถาปนิกและนักวิพากษ์ “สถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์” ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 มิได้ใช้แต่เพียงสถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์ที่เริ่มขึ้นในฟลอเรนซ์และตอนกลางของอิตาลีของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ที่เป็นเครื่องมือในการแสดงออกของลัทธิมนุษยนิยม แต่ยังรวมไปถึงลักษณะสถาปัตยกรรมที่มารู้จักกันว่าแมนเนอริสม์ และ บาโรก นอกจากนั้นลักษณะของตนเองก็ยังปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายในคริสต์ศตวรรษที่ 19: “เรอแนซ็องส์ใหม่” ตามความหมายของผู้ร่วมสมัยจึงหมายถึงสิ่งก่อสร้างที่เป็น “แบบอิตาลี” (Italianate) หรือสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะบาโรกฝรั่งเศสเข้าไปผสม (สถาปัตยกรรมจักรวรรดิฝรั่งเศสที่สอง) ลักษณะอันเป็นที่ต่างกันของสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ในบริเวณต่างๆ ของยุโรป โดยเฉพาะในฝรั่งเศสและอิตาลีเป็นการเพิ่มอุปสรรคในการบ่งลักษณะของสถาปัตยกรรมที่เรียกว่าสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ยิ่งขึ้นไปอีก ที่จะเห็นได้จากคฤหาสน์วอลลาทันฮอลล์ในอังกฤษ วังพิตติในอิตาลี, พระราชวังชองบอร์ดในฝรั่งเศส และ วังฟาเซต์ในรัสเซีย — ซี่งต่างก็จัดอยู่ในกลุ่ม “สถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์” — ที่ต่างก็มีลักษณะภายนอกที่แตกต่างกันออกไปแม้ว่าจะจัดว่าเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันก็ตาม.

ดู มีเกลันเจโลและสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์

สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก

อาสนวิหารโคโลญ, ประเทศเยอรมนี มีหอสูงที่สุดในโลก อาสนวิหารซอลสบรี (1220-1380) จากมุมตะวันออก มีหอสูงที่สุดในอังกฤษ อาสนวิหารเบอร์มิงแฮม (Birmingham Cathedral) อังกฤษ อาสนวิหารเกิร์ค (Gurk Dom) ออสเตรีย สถาปัตยกรรมการก่อสร้างอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก เป็นบทความที่บรรยายถึงลักษณะสิ่งก่อสร้างของอาสนวิหารทางคริสต์ศาสนา ที่รวมทั้งสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะใกล้เคียงกับอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก อาสนวิหาร คือโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลมุขนายกตามที่กำหนดไว้ อาสนวิหารเป็นที่เป็นที่ตั้งของ “คาเทดรา” (bishop's cathedra) และเป็นสถานที่ทางคริสต์ศาสนาที่ใช้ในการนมัสการ (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ หรือแองกลิคัน) ขนาดของสิ่งก่อสร้างที่เป็นอาสนวิหารไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่โตเสมอไป อาจจะมีขนาดเล็กอย่างเช่นอาสนวิหารอ๊อกซฟอร์ด หรือ อาสนวิหารเชอร์ที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วอาสนวิหารมักจะเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ที่สุดและเด่นที่สุดในท้องถิ่นที่ตั้งอยู.

ดู มีเกลันเจโลและสถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก

สถาปนิก

ร่างสถาปนิก กับงานออกแบบ สถาปนิก คือบุคคลผู้เกี่ยวข้องในการออกแบบ และ วางแผน ในการก่อสร้าง หรือที่เรียกว่างานสถาปัตยกรรม โดยสถาปนิก จะเป็นผู้ที่เข้าใจในมาตรฐานการก่อสร้างของอาคาร เข้าใจถึงหน้าที่ใช้สอยของอาคารนั้น รวมถึงวัสดุที่จะนำมาเป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างนั้น สถาปนิกจำเป็นต้องได้รับการศึกษาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม ถึงจะสามารถทำงานในวิชาชีพสถาปนิกได้ ซึ่งคล้ายกับการทำงานในสาขาวิชาชีพอื่น สถาปก คำเก่าของคำว่าสถาปนิก ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นศัพท์ภาษาสันสกฤต หมายถึง ผู้สร้าง, ผู้ก่อตั้ง ในเอกสารโบราณก่อนสมัยรัตนโกสินทร์เคยปรากฏคำ "สถาบก" หมายถึง การสร้าง หรือผู้สร้าง รางวัลที่น่ายกย่องของสถาปนิกที่รู้จักในฐานะผู้ก่อสร้างอาคารได้แก่ รางวัลพลิตซ์เกอร์ ซึ่งมักจะถูกเปรียบเทียบเหมือนกับ "รางวัลโนเบลในทางสถาปัตยกรรม".

ดู มีเกลันเจโลและสถาปนิก

หอศีลจุ่มซันโจวันนี

หอศีลจุ่มซันโจวันนี หรือ หอศีลจุ่มฟลอเรนซ์ (Battistero di San Giovanni; Florence Baptistry) เป็นหอศีลจุ่มนิกายโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี และมีฐานะเป็นไมเนอร์บาซิลิกา ตัวหอเป็นทรงแปดเหลี่ยมที่ตั้งอยู่กลางจตุรัสเดลดูโอโมตรงกันข้ามกับมหาวิหารฟลอเรนซ์และหอระฆังของจอตโต ดี บอนโดเน (หอระฆังจอตโต) หอศีลจุ่มซันโจวันนีเป็นสิ่งก่อสร้างที่เก่าที่สุดสิ่งหนึ่งของฟลอเรนซ์ที่สร้างระหว่างปี..

ดู มีเกลันเจโลและหอศีลจุ่มซันโจวันนี

ห้องราฟาเอล

“อาดัมและอีฟ” จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” แม้ว่างานส่วนใหญ่ในห้องราฟาเอลจะเชื่อกันว่าเป็นงานเขียนของผู้ช่วยของราฟาเอลแต่เชื่อกันว่าภาพนี้เขียนโดยราฟาเอลเอง “เทพีแห่งความยุติธรรม”จิตรกรรมฝาผนังบนเพดานใน “ห้องเซนยาทูรา” ห้องราฟาเอล (ภาษาอังกฤษ: Raphael Rooms หรือ Stanze di Raffaello) เป็นห้องชุดสี่ห้องภายในห้องชุดที่ประทับของพระสันตะปาปาภายในวังพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน เป็นห้องชุดที่มีชื่อเสียงจากจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยราฟาเอลและผู้ช่วย จิตรกรรมฝาผนังในห้องราฟาเอลและในชาเปลซิสตินโดยไมเคิล แอนเจโลถือกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของศิลปะเรอเนซองส์ในกรุงโรม “ห้อง” (Stanze) ที่ใช้เรียกเดิมตั้งใจจะเป็นห้องที่ประทับของสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 พระองค์ทรงจ้างราฟาเอลผู้ขณะนั้นยังเป็นจิตรกรที่ยังหนุ่มจากเออร์บิโนและผู้ช่วยระหว่างปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและห้องราฟาเอล

อันนีบาเล การ์รัชชี

อันนิบาเล คารัคชี (ภาษาอังกฤษ: Annibale Carracci) (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1560 - ค.ศ. 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1609) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ดู มีเกลันเจโลและอันนีบาเล การ์รัชชี

อันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอ

อันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอ (Andrea del Verrocchio ชื่อเมื่อเกิด: Andrea di Michele di Francesco de' Cioni) (ราว ค.ศ. 1435 - ค.ศ. 1488) เป็นจิตรกร, ประติมากร และช่างทองสมัยเรอเนซองส์ตอนต้นชาวอิตาลี ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางจิตรกรรมและประติมากรรม อันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอเกิดเมื่อราว ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและอันเดรอา เดล แวร์รอกกีโอ

อาร์เตมีเซีย เจนตีเลสกี

“ภาพเหมือนตนเอง” (ราว ค.ศ. 1630) อาร์เทมิเซีย เจ็นทิเลสชิ (ภาษาอังกฤษ: Artemisia Gentileschi) (8 กรกฎาคม ค.ศ. 1593 - ค.ศ. 1651/1653) เป็นจิตรกรบาโรกสมัยต้นของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 อาร์เทมิเซียเกิดที่กรุงโรมและเสียชีวิตที่เนเปิลส์มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน อาร์เทมิเซียเป็นจิตรกรคนสำคัญคนหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลจากคาราวัจโจ และเป็นจิตรกรในสมัยที่ผู้หญิงยังไม่เป็นที่ยอมรับกันในกลุ่มนักเขียนภาพ อาร์เทมิเซียเป็นจิตรกรหญิงคนแรกที่ได้เป็นสมาชิกของสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฟลอเรนซ์ (Accademia di Belle Arti Firenze) และเป็นสตรีคนแรกที่เขียนภาพเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และศาสนาในสมัยที่หัวข้อเช่นนี้เชื่อกันว่าเป็นสิ่งที่เกินกว่าผู้หญิงจะเข้าใจได้.

ดู มีเกลันเจโลและอาร์เตมีเซีย เจนตีเลสกี

อาดัม

อาดัม (אָדָם; ܐܕܡ; آدم; Adam) เป็นมนุษย์คนแรกที่พระเป็นเจ้าสร้างขึ้นจากดิน ตามคติของศาสนาอับราฮัม ปรากฏทั้งใน คัมภีร์ฮีบรู คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม และอัลกุรอาน ตามคติของศาสนาคริสต์และศาสนายูดาห์ อาดัมเป็นเพียงมนุษย์คนแรกของโลก แต่ตามคติของอิสลามอาดัมยังเป็นนบีท่านแรกของอัลลอฮ์ด้วย อาดัมและภรรยาชื่อเอวา เดิมพระเจ้าประทานอยู่ในสวนเอเดน ต่อมาภายหลังถูกซาตานหลอกลวงให้ประพฤติผิด เกิดเป็นบาป ทำให้ถูกไล่จากสวนเอเดน.

ดู มีเกลันเจโลและอาดัม

องค์การผู้สังเกตการณ์ศิลปะนานาชาติ

องค์การผู้สังเกตการณ์ศิลปะนานาชาติ (ArtWatch International) เป็นองค์การที่ก่อตั้งขึ้นโดยเจมส์ เบ็ค ศาสตราจารย์สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาแห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบียในสหรัฐอเมริกาเพื่อเฝ้าสังเกตและรณรงค์เพื่อหาวิธีที่ดีขึ้นในการอนุรักษ์งานศิลปะ องค์การมีสาขาในสหราชอาณาจักร “องค์การผู้สังเกตการณ์ศิลปะแห่งสหราชอาณาจักร” (ArtWatch UK).

ดู มีเกลันเจโลและองค์การผู้สังเกตการณ์ศิลปะนานาชาติ

ฌัก-หลุยส์ ดาวีด

ัก-หลุยส์ ดาวีด ฌัก-หลุยส์ ดาวีด (Jacques-Louis David; 30 สิงหาคม ค.ศ. 1748 - 29 ธันวาคม ค.ศ. 1825) เป็นศิลปินในยุคนีโอคลาสสิก ที่มีชื่อเสียงในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสและยังเป็นจิตรกรในจักรพรรดินโปเลียนที่ 1.

ดู มีเกลันเจโลและฌัก-หลุยส์ ดาวีด

จริตนิยม

ในภาพเขียน “แม่พระพระศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดยปาร์มีจานีโน แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือนทัศนมิติไม่กระจ่างแจ้ง จริตนิยม (Mannerism) คือยุคของศิลปะของจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และการตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี..

ดู มีเกลันเจโลและจริตนิยม

จอร์โจ วาซารี

อร์โจ วาซารี (Giorgio Vasari) (30 กรกฎาคม ค.ศ. 1511 - 27 มิถุนายน ค.ศ. 1574) เป็นสถาปนิกและจิตรกรชาวอิตาลี ผลงานที่ทำให้เขามีชื่อเสียงมากที่สุดคืองานบันทึก ประวัติชีวิตและงานของศิลปินอิตาลีก่อนหน้าและร่วมสมัยในชื่อ “ชีวิตจิตรกร, ประติมากร, และสถาปนิกผู้ดีเด่น” (หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ชีวิตศิลปิน” (The Vite)) ซึ่งเป็นงานที่ยังมีการอ้างอิงกันในการเขียนประวัติชีวิตศิลปินหรือการวิจัยจิตรกรรมและประติมากรรมกันอยู่จนทุกวันนี้.

ดู มีเกลันเจโลและจอร์โจ วาซารี

จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์

อห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ (ภาษาอังกฤษ: John Singer Sargent) (12 มกราคม ค.ศ. 1856 - 14 เมษายน ค.ศ. 1925) เป็นจิตรกรคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพภูมิทัศน์, ภาพเหมือน และ การใช้สีน้ำ ซาร์เจนท์เกิดที่ฟลอเรนซ์ ที่ประเทศอิตาลี บิดามารดาเป็นชาวอเมริกัน ซาร์เจนท์ศึกษาที่อิตาลีและเยอรมนี ต่อมาที่ปารีสกับอีมิล โอกุสต์ คาโรลุส-ดูแรง (Emile Auguste Carolus-Duran) ในชีวิตซาร์เจนท์เขียนจิตรกรรมสีน้ำมันด้วยกันทั้งสิ้นราว 900 ภาพ และอีก 2,000 ภาพเขียนด้วยสีน้ำ นอกจากนั้นก็ยังมีงานเขียนภาพร่าง และภาพวาดลายเส้นด้วยถ่านอีกด้ว.

ดู มีเกลันเจโลและจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์

จาโกโป ซานโซวีโน

จาโกโป ซานโซวีโน จาโกโป ซานโซวีโน (Jacopo Sansovino) มีชื่อเต็มว่า จาโกโป ดันโตนีโอ ซานโซวีโน (Jacopo d’Antonio Sansovino) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1486 – 27 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและจาโกโป ซานโซวีโน

จิตรกรชั้นครู

วีนัสหลับ” (ราว ค.ศ. 1510) โดย จอร์โจเนที่หอจิตรกรชั้นครูแห่งเดรสเดน จิตรกรรมที่เขียน ราว ค.ศ. 1440 ที่ไม่ทราบนามจิตรกรที่ได้รับการระบุว่าเป็นงาน “ไม่ทราบนามครูบา” จิตรกรชั้นครู (Old Master) เป็นคำที่ใช้เรียกภาพเขียนที่เป็นงานเขียนของจิตรกรที่ถือกันว่าเป็นจิตรกรชั้นครู ผู้มีงานเขียนก่อราวปี..

ดู มีเกลันเจโลและจิตรกรชั้นครู

จิตรกรรมบาโรก

“ยาม” โดย แรมบรังด์ ราว ค.ศ. 1642 เป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมแบบบาโรก จิตรกรรมบาโรก (Baroque painting) เป็นจิตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับขบวนการศิลปะบาโรก ซึ่งเป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบสัมบูรณนิยมทางการเมือง (absolutism), การปฏิรูปศาสนาซ้อน (Counter Reformation) และการฟื้นฟูโรมันคาทอลิก, from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.

ดู มีเกลันเจโลและจิตรกรรมบาโรก

จิตรกรรมฝาผนัง

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและจิตรกรรมฝาผนัง

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ดู มีเกลันเจโลและจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

จีโรลาโม ซาโวนาโรลา

รลาโม ซาโวนาโรลา (Girolamo Savonarola) (21 กันยายน ค.ศ. 1452 - 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1498) จิโรลาโม ซาโวนาโรลาเป็นนักบวชลัทธิโดมินิกันชาวอิตาลีและผู้นำของฟลอเรนซ์ตั้งแต่ปี..

ดู มีเกลันเจโลและจีโรลาโม ซาโวนาโรลา

ทาสใกล้ตาย

ทาสใกล้ตาย (Dying Slave) เป็นประติมากรรมที่สร้างโดยไมเคิล แอนเจโลประติมากรคนสำคัญชาวอิตาลีของสมัยเรอเนสซองซ์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีสในประเทศฝรั่งเศส ประติมากรรม “ทาสใกล้ตาย” สลักโดยไมเคิล แอนเจโล ราวระหว่างปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและทาสใกล้ตาย

ทิเชียน

“ภาพเหมือน” (ราว ค.ศ. 1488) ภาพเหมือนดยุ๊คแห่งเวนิสมาร์คานโตนิโอ เทรวิซานิ (Marcantonio Trevisani) ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่บูดาเพช ประเทศฮังการี เทพดานาเอ” (Danaë) ภาพหนึ่งจากหลายภาพจากตำนานเทพที่ทิเชียนเขียน จ้างโดยพระเจ้าฟิลลิปที่ 2 แห่งสเปนใน ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและทิเชียน

ขับจากสวนอีเด็น (มาซาชิโอ)

ับจากสวนอีเด็น (Cacciata dei progenitori dall'Eden, Expulsion from the Garden of Eden) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยมาซาชิโอจิตรกรคนสำคัญชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่เขียนบนผนังของชาเปลบรันคาชชิภายในวัดซานตามาเรียเดลคาร์มิเนที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลีในปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและขับจากสวนอีเด็น (มาซาชิโอ)

ข้ามทะเลแดง (บรอนซิโน)

้ามทะเลแดง (ภาษาอังกฤษ: Crossing of the Red Sea (Bronzino)) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยบรอนซิโนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่อยู่ภายในวังเว็คคิโอในฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี บรอนซิโนเขียนภาพ “ข้ามทะเลแดง” เสร็จราวระหว่างปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและข้ามทะเลแดง (บรอนซิโน)

ดาวิด (มีเกลันเจโล)

thumb ดาวิด เป็นประติมากรรมชิ้นเอกสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาที่มีเกลันเจโลสลักขึ้นระหว่างปี..

ดู มีเกลันเจโลและดาวิด (มีเกลันเจโล)

คนครุ่นคิด (รอแด็ง)

นครุ่นคิด (Le Penseur; The Thinker) เป็นประติมากรรมที่สร้างโดย''โอกุสต์ รอแด็ง'' ประติมากรชาวฝรั่งเศส ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์รอแด็ง กรุงปารีส ในประเทศฝรั่งเศส "คนครุ่นคิด" เป็นประติมากรรมบรอนซ์และหินอ่อนที่เป็นรูปชายนั่งคิดเหมือนมีความขัดแย้งภายใน รูปปั้นมักจะใช้เป็นสัญลักษณ์ของปรัชญ.

ดู มีเกลันเจโลและคนครุ่นคิด (รอแด็ง)

ฆวน เบาติสตา เด โตเลโด

อารามเอลเอสโกเรียล ฆวน เบาติสตา เด โตเลโด (Juan Bautista de Toledo; เสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1567) เป็นสถาปนิกและประติมากรชื่อดังจากกรุงมาดริด เขาเกิดในกรุงมาดริดโดยที่ไม่มีข้อมูลในวัยเด็กของเขา ในปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและฆวน เบาติสตา เด โตเลโด

ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์

วาดทางกายวิภาคแสดงหลอดเลือดดำในร่างกาย ในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ประวัติการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาตั้งแต่การผ่าร่างกายของเหยื่อจากการสังเวยในสมัยโบราณ ไปจนถึงการวิเคราะห์อย่างละเอียดซับซ้อนถึงการทำงานของร่างกายโดยนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาวิชานี้มีลักษณะเฉพาะมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนาถึงการทำความเข้าใจในหน้าที่และโครงสร้างของอวัยวะในร่างกายอย่างต่อเนื่อง การศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่มีเกียรติและนับว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความโดดเด่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 วิธีการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ก็มีการพัฒนาอย่างมากมายตั้งแต่การศึกษาในสัตว์ไปจนถึงการศึกษาในศพของมนุษย์ และการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ดู มีเกลันเจโลและประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์

ประติมากรรมคลาสสิก

ลโอคารีส งานก็อปปีจากประติมากรรมสัมริดของกรีกที่สร้างราวปี 330-320 ก่อนคริสต์ศักราช, พิพิธภัณฑ์วาติกัน ประติมากรรมคลาสสิก (Classical sculpture) หมายถึงลักษณะของประติมากรรมตั้งแต่ของกรีกโบราณและของโรมันโบราณและของประชากรในภูมิภาคต่างๆ ที่ได้รับอิทธิพลจากกรีซและโรมันภายใต้การปกครองของสองมหาอำนาจนี้ตั้งแต่ราว 500 ก่อนคริสต์ศักราชจนถึงการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันในปี..

ดู มีเกลันเจโลและประติมากรรมคลาสสิก

ปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้า

''Touched by His Noodly Appendage'' ภาพล้อเลียน ''The Creation of Adam'' อันมีชื่อเสียงของมีเกลันเจโล กิจกรรมของลัทธิพาสตาฟาเรียนในกรุงวอชิงตัน ปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้าประดิษฐ์ด้วยมือ ป้ายชื่อทหารสหรัฐอเมริกา ระบุศาสนา "Atheist/FSM" ปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้า (Flying Spaghetti Monster หรือมักเรียกโดยย่อว่า FSM) เป็นพระเจ้าตามความเชื่อของ ศาสนจักรปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้า หรือ ลัทธิพาสตาฟาเรียน ซึ่งเป็นศาสนาเชิงล้อเลียนที่ก่อตั้งโดยบ็อบบี เฮนเดอร์สัน เพื่อต่อต้านมติของคณะกรรมการการศึกษาของรัฐแคนซัส ที่บังคับให้โรงเรียนในสังกัดสอนทฤษฎีผู้สร้างอันชาญฉลาดควบคู่ไปกับทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วินในวิชาชีววิทยา เฮนเดอร์สันเขียนจดหมายเปิดผนึกถึงคณะกรรมการฯ มีใจความว่า เขาเชื่อว่าโลกและจักรวาลถูกสร้างโดยพระเจ้าที่มีรูปร่างคล้ายสปาเกตตีและลูกชิ้นสองก้อน ซึ่งเขาเรียกว่า "ปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้า" และเรียกร้องให้โรงเรียนในรัฐแคนซัสสอนทฤษฎีการสร้างโลกของเขาเช่นกันเพื่อความเท่าเทียมกัน เช่นเดียวกับการที่ทางคณะกรรมการฯ ได้กล่าวไว้ว่าการเรียนการสอนระหว่างทฤษฎีวิวัฒนาการและทฤษฎีผู้สร้างอันชาญฉลาดควรจะมีความเท่าเทียมกัน ซึ่งโดยนัยแล้ว เขาแสดงให้เห็นว่าทฤษฏีผู้สร้างอันชาญฉลาดเป็นเรื่องไร้สาระ ไม่ผิดกับปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้าเลย หลังจากเฮนเดอร์สันเผยแพร่จดหมายดังกล่าวบนเว็บไซต์ของเขา FSM ได้กลายเป็นปรากฏการณ์ทางอินเทอร์เน็ตและเป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อต้านการสอนทฤษฎีผู้สร้างอันชาญฉลาดในโรงเรียนของรัฐ "ความเชื่อ" ของพาสตาฟาเรียนล้วนล้อเลียนมากจากแนวความเชื่อในศาสนาเกี่ยวกับผู้สร้างโลก ความเชื่อเหล่านี้เผยแผ่ในเว็บไซต์ของเฮนเดอร์สัน Church of the Flying Spaghetti Monster ซึ่งเขาถือเป็นผู้ประกาศพระวรสาร และใน The Gospel of the Flying Spaghetti Monster เขียนโดยเฮนเดอร์สันและตีพิมพ์ใน..

ดู มีเกลันเจโลและปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้า

ปีเอตะ

ปีเอตะ" โดย มีเกลันเจโล ปีเอตะโดยลุยส์ จิเมเนซ ปีเอตะ (Pietà; pietas) มาจากภาษาอิตาลี ที่แปลว่า ความสงสาร คือหัวเรื่องของศิลปะในศาสนาคริสต์ที่เป็นรูปพระแม่มารีย์ประคองร่างพระเยซูที่เพิ่งอัญเชิญลงจากกางเขน ส่วนใหญ่จะพบในงานประติมากรรม Pietà เป็นหัวเรื่องหนึ่งในชุด “แม่พระระทมทุกข์” (Our Lady of Sorrows) และเป็นฉากหนึ่งใน “พระทรมานของพระเยซู” ซึ่งเป็นฉากที่มีพระแม่มารีย์ นางมารีย์ชาวมักดาลา และบุคคลอื่นล้อมพระศพพระเยซู (หลังจากที่อัญเชิญลงจากกางเขน) ด้วยความความโศกเศร้า ฉากนี้ตามความเป็นจริงแล้วควรจะเรียกว่า “Lamentation” แต่บางที่ก็จะใช้คำว่า “Pietà” แทน คำว่า “pietas” สืบมาจากประเพณีของชาวโรมันราวคริสต์ศตวรรษที่ 7 ที่มีการตึอกชกหัวและ "แสดงอารมณ...ความรักอันใหญ่หลวงและความกลัวอำนาจของเทพเจ้าโรมัน" ปีเอตะเริ่มขึ้นที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ปีเอตะแบบเยอรมันและโปแลนด์จะเน้นรอยแผลของพระเยซู.

ดู มีเกลันเจโลและปีเอตะ

ปีเอตะ (มีเกลันเจโล)

''ปีเอตะ'' ผลงานของมีเกลันเจโล ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร นครรัฐวาติกัน ปีเอตะ (1498–1499) เป็น งานประติมากรรมสลักสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ทำขึ้นโดย มีเกลันเจโล บูโอนาร์โรตี และตั้งอยู่ในมหาวิหารนักบุญเปโตร ที่นครรัฐวาติกัน โดยเป็นงานชิ้นแรกที่ถูกทำขึ้นโดยศิลปินในหัวเรื่องนี้ รูปสลักถูกสั่งทำให้กับพระคาร์ดินัลชาวฝรั่งเศสที่ชื่อว่า Jean de Bilhères ซึ่งเคยเป็นตัวแทนในกรุงโรม งานประติมากรรมถูกทำขึ้นจากหินอ่อนคาราร่า (Carrara marble) เพื่อเป็นอนุสรณ์สำหรับงานศพของพระคาร์ดินัล ทว่าถูกย้ายไปยังที่อยู่ปัจจุบันซึ่งอยู่ที่โบสถ์น้อยแห่งแรกทางด้านขวาของทางเข้ามหาวิหาร ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยเป็นผลงานชิ้นเดียวที่มีเกลันเจโลได้ลงชื่อไว้ ผลงานอันโด่งดังชิ้นนี้ แสดงร่างกายของพระเยซู บนตักของมารีย์ ผู้เป็นมารดา หลังจากการตรึงที่กางเขน หัวเรื่องนี้กำเนิดที่ทางเหนือ และเป็นที่นิยมในประเทศฝรั่งเศสในขณะนั้น ทว่ายังไม่เป็นที่รู้จักในประเทศอิตาลี การตีความ ปีเอตะ ของมีเกลันเจโล นับเป็นเรื่องใหม่ในงานประติมากรรมของอิตาลี โดยถูกนับว่าเป็นงานชิ้นสำคัญที่คงความสมดุลระหว่างอุดมคติของความงามในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและธรรมชาตินิยม.

ดู มีเกลันเจโลและปีเอตะ (มีเกลันเจโล)

ป้อมดาว

ป้อมบูร์แตงจ์ (Bourtange), โกรนนิงเก็น, เนเธอร์แลนด์ บูรณะให้เหมือนในปี ค.ศ. 1750 ป้อมดาว (Star fort หรือ trace italienne) คือระบบป้อมปราการที่วิวัฒนาการขึ้นระหว่างสมัยที่การใช้ดินปืนในการต่อสู้โดยการใช้ปืนใหญ่ที่เริ่มแพร่หลายมากขึ้น ที่เริ่มสร้างเป็นครั้งแรกราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 ในอิตาลี รูปทรงป้อมที่สร้างกันในยุคกลางไม่สามารถทนทานต่อการถูกโจมตีด้วยปืนใหญ่ได้ แรงระเบิดของปืนใหญ่สามารถทำลายกำแพงดิ่งได้อย่างง่ายดาย ขณะที่ป้อมดาวใช้กำแพงราบและเป็นโครงสร้างที่ใช้ระบบมุขป้อม (bastion) สามเหลี่ยม ที่ยื่นซ้อนกันออกมาซ้อนกันเป็นชั้นๆ ที่เป็นการช่วยป้องกันซึ่งกันและกัน และคูรอบป้อม ต่อมาป้อมดาวก็วิวัฒนาการมาใช้โครงสร้างเช่นระบบป้องกันแบบสามเหลี่ยม (ravelin), การสร้างเสริมส่วนบนของกำแพง (crownwork) และเพิ่มป้อมที่เป็นอิสระจากตัวป้อมหลัก เพื่อเพิ่มความซับซ้อนให้แก่โครงสร้างเพิ่มขึ้น ป้อมดาววิวัฒนาการต่อมาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อเป็นการตอบโต้การรุกรานของฝรั่งเศสในคาบสมุทรอิตาลี ฝ่ายฝรั่งเศสมีอาวุธปืนใหญ่แบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพพอที่จะทำลายป้อมปราการที่สร้างตามแบบโบราณในยุคกลางได้อย่างง่ายดาย เพื่อเป็นการโต้ตอบความรุนแรงของการทำลายของอาวุธใหม่กำแพงป้องกันก็ถูกสร้างให้เตี้ยลงแต่หนาขึ้น ตัวกำแพงสร้างด้วยวัสดุการก่อสร้างหลายอย่างแต่มักจะเป็นดินและอิฐ เพราะอิฐจะไม่แตกกระจายเมื่อถูกโจมตีโดยปืนใหญ่เช่นหิน องค์ประกอบที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ใช้ในการก่อสร้างป้อมดาวคือการใช้มุขป้อมที่กลายมาเป็นลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของป้อมปราการแบบใหม่ การวิวัฒนาการมาเป็นรูปดาวที่บางครั้งก็จะซ้อนกันหลายชั้นทำให้สามารถต้านทานจากการถูกโจมตีโดยปืนใหญ่ได้ ไมเคิล แอนเจโลใช้ลักษณะป้อมดาวในการออกแบบแนวป้องกันที่ทำด้วยดิน (defensive earthworks) ของฟลอเรนซ์ ที่มาได้รับการปรับปรุงในคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยบัลดัสซาเร เปรูซซิ (Baldassare Peruzzi) และ วินเช็นโซ สคามอซซิ (Vincenzo Scamozzi) ป้อมดาวเผยแพร่จากอิตาลีในคริสต์ทศวรรษ 1530 และ 1540 และใช้กันมากในทวีปยุโรปเป็นเวลาราวสามร้อยปีหลังจากนั้น สถาปนิก/วิศวกรอิตาเลียนเป็นที่ต้องการตัวไปทั่วยุโรปในการสร้างป้อมแบบใหม่นี้ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 เม็นโน ฟาน โคฮูร์น (Menno van Coehoorn) และเซบาสเตียง เลอ เพรส์เทรอ เดอ โวบองผู้เป็นสถาปนิกทางสถาปัตยกรรมทางทหารในพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ยิ่งยกลักษณะการออกแบบป้อมดาวขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง ที่ประกอบด้วยองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมการก่อสร้างป้อมปราการทุกสิ่งทุกอย่าง จนทำให้กลายเป็นระบบการป้องกันอันซับซ้อนเท่าที่สามารถทำกันได้ ระบบป้อมรูปดาววิวัฒนาการมาจากการวางผังเมืองของเมืองในอุดมคติของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา: “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาถูกสะกดด้วยผังเมืองแบบหนึ่งเป็นเวลาร้อยห้าสิบปี—ตั้งแต่ฟิลาเรเตจนถึงสคามอซซิ—ที่ต่างก็มีความประทับใจในแผนอันเป็นอุดมคติ: รูปร่างของเมืองที่ว่านี้คือรูปดาว” ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 การวิวัฒนาการลูกระเบิดแบบใหม่ที่มีพลังสูงขึ้นแบบที่เรียกว่าexplosive shell ทำให้สถาปัตยกรรมการก่อสร้างป้อมปราการต้องเปลี่ยนแปลงไปอีกครั้งหนึ่ง.

ดู มีเกลันเจโลและป้อมดาว

นครรัฐวาติกัน

นครรัฐวาติกัน (State of the Vatican City; Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ ปัจจุบัน สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและนครรัฐวาติกัน

นครวัด

นครวัด (អង្គរវត្ត) เป็นหมู่ปราสาทในประเทศกัมพูชาและเป็นศาสนสถานที่ใหญ่ที่สุดในโลก ด้วยพื้นที่รวมกว่า 162.6 เฮกเตอร์ (1.6 ล้านตารางเมตร ซึ่งเท่ากับ 402 เอเคอร์) แรกเริ่มนั้นสร้างขึ้นเป็นเทวลัยในศาสนาฮินดูเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุ ก่อนจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงกลายเป็นวัดในศาสนาพุทธในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 นครวัดสร้างขึ้นในช่วงต้นของคริสศตวรรษที่ 12 โดยพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2 แห่งเมืองยโสธรปุระ (ในปัจจุบันคือเมืองพระนคร) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิเขมร สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นเทวลัยประจำรัฐและเป็นสุสานฝังพระศพ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงการนับถือในลัทธิไศวนิกายของกษัตริย์องค์ก่อนๆ เหตุเพราะนครวัดนั้นสร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุแทนที่จะเป็นพระศิวะ และเนื่องจากเป็นปราสาทที่ได้รับการอนุรักษ์ดีที่สุดในบริเวณที่ตั้งโดยรอบ นครวัดจึงเป็นปราสาทเพียงแห่งเดียวที่ยังคงความเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่มีความสำคัญมาตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง โดยนครวัดถือจุดสูงสุดของรูปแบบการสร้างสถาปัตยกรรมเขมรแบบดั้งเดิม และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศกัมพูชา มีการปรากฏอยู่บนธงชาติ และได้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชาที่มีความสำคัญที่สุดในหมู่นักท่องเที่ยว นครวัดได้รวมเอาการวางผังพื้นฐานในสถาปัตยกรรมเขมรสองแบบมาใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ซึ่งก็ได้แก่ ผังการสร้างปราสาทให้เสมือนภูเขา (ปราสาทบนฐานชั้น) และการสร้างปราสาทแบบมีระเบียงคดที่มีภาพสลัก การสร้างปราสาทรูปแบบนี้ได้สื่อถึงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นสถานที่ที่สถิตของเทพเทวัญในปกรณัมของศาสนาฮินดู ด้านนอกมีคูน้ำและกำแพงล้อม ความยาวรวมกว่า 3.6 กิโลเมตร โดยตัวปราสาทประกอบด้วยระเบียงคดสี่เหลี่ยมที่มีภาพสลักทั้งหมดสามชั้น แต่ละชั้นตั้งอยู่สูงกว่าชั้นล่าง ตรงกลางของปราสาทคือพระปรางค์ที่มีทั้งหมด 5 ยอด นครวัดมีความแตกต่างจากปราสาทในพระนครปราสาทอื่นๆ เนื่องจากมีการหันหน้าไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนักวิชาการต่างก็มีความเห็นที่แตกต่างออกไปในเรื่องนัยยะของการสร้างในลักษณะนี้ นครวัดยังได้รับการยกย่องในด้านความงามและความกลมกลืนของตัวสถาปัตยกรรม อาทิ ภาพสลักนูนต่ำที่ใหญ่โต รวมถึงภาพเทวดาที่มีการตกแต่งตามผนังเป็นจำนวนมาก.

ดู มีเกลันเจโลและนครวัด

แท่นตั้งศพ

ริสตอฟ โอพาลินสกี, คริสต์ศตวรรษที่ 17 แท่นตั้งศพ (Catafalque) คือแท่นที่มักจะเคลื่อนที่ได้ที่ใช้ในการตั้งหีบศพ หรือร่างของผู้ตายระหว่างพิธีศพหรือพิธีรำลึกผู้ตาย หลังจากพิธีมาสเรควีเอ็มของโรมันคาทอลิกแล้วแท่นตั้งศพก็อาจจะใช้ตั้งร่างของผู้ตายในการทำพิธีพิธียกบาปให้แก่ผู้ตาย (Absolution of the dead) “Catafalque” มาจากภาษาอิตาลี “Catafalco” ที่แปลว่า “นั่งร้าน” “แท่นตั้งศพ” ที่มีชื่อเสียงที่สุดออกแบบโดยไมเคิล แอนเจโลสำหรับเพื่อนศิลปินด้วยกันในปี..

ดู มีเกลันเจโลและแท่นตั้งศพ

โบสถ์น้อยกอนตาเรลลี

ปลคอนทราเรลลิ (Contarelli Chapel) เป็นชาเปลหรือคูหาสวดมนต์ภายในวัดซานลุยจิเดอิฟรานเชซิที่ตั้งอยู่ที่จตุรัสนาโวนาในกรุงโรมในประเทศอิตาลี เป็นวัดที่สร้างในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาที่ออกแบบโดย จาโคโม เดลลา พอร์ตา (Giacomo della Porta) และสร้างโดยสถาปนิกโดเมนิโค ฟอนทานา (Domenico Fontana) ระหว่างปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและโบสถ์น้อยกอนตาเรลลี

โบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนี

ปลทอร์นาบุโอนิ (Tornabuoni Chapel, Cappella Tornabuoni) เป็นชาเปลหลักหรือชาเปลของบริเวณร้องเพลงสวดอยู่ภายในบาซิลิกาซานตามาเรียโนเวลลาที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังที่ยังอยู่ในสภาพที่ดีและสมบูรณ์ที่เขียนโดยโดเมนนิโค เกอร์ลันเดาและห้องเขียนภาพระหว่างปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและโบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนี

โบสถ์น้อยซิสทีน

“พระยาห์เวห์ทรงสร้างอาดัม” ''God creates Adam'' โดย มีเกลันเจโลหลังจากการปฏิสังขรณ์ สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 โบสถ์น้อยซิสทีน (Sistine Chapel; Cappella Sistina) เป็นโบสถ์น้อยภายในพระราชวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน โบสถ์น้อยซิสทีนมึชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงพระวิหารของพระเจ้าโซโลมอนในพันธสัญญาเดิม, การตกแต่ง, จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตรกรผู้มีชื่อเสียงในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยารวมทั้งมีเกลันเจโลผู้วาดเพดานของโบสถ์จนที่เป็นที่เลื่องลือ และสุดท้ายคือความสำคัญในการเป็นสถานที่ทำการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม.

ดู มีเกลันเจโลและโบสถ์น้อยซิสทีน

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและโรม

โลเรนโซ กีแบร์ตี

ลเรนโซ กีแบร์ตี บน "ประตูสวรรค์" (Gates of Paradise) ที่หอศีลจุ่มซานจิโอวานนี (Battistero di San Giovanni) ที่ฟลอเรนซ์ งานของโลเรนโซ กีแบร์ตี ที่ชนะการประกวดเมื่อปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและโลเรนโซ กีแบร์ตี

โดเมนีโก กีร์ลันดาโย

มนีโก กีร์ลันดาโย (Domenico Ghirlandaio) หรือ โดเมนีโก ดี ตอมมาโซ กูร์ราดี ดี ดอฟโฟ บีกอร์ดี (Domenico di Tommaso Curradi di Doffo Bigordi; ค.ศ. 1449 - 11 มกราคม ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและโดเมนีโก กีร์ลันดาโย

โค้งพระจันทร์ครึ่งซีก

หน้าบันโค้งพระจันทร์ครึ่งซีกของแอบบีเวเซอเลUNESCO: Vézelay, Church and Hillhttp://whc.unesco.org/en/list/84ในประเทศฝรั่งเศส โค้งพระจันทร์ครึ่งซีก (Lunette, Lunette) “Lunette” ที่มาจากภาษาฝรั่งเศสที่แปลว่า “พระจันทร์น้อย” หรือ “แก้ว” คือสิ่งตกแต่งทางสถาปัตยกรรมที่เป็นทรงครึ่งวงกลมเหนือประตู, เหนือหน้าต่าง หรือช่องระหว่างซุ้มโค้ง หรือช่องอื่นๆ ที่มีรูปทรงดังว่า ถ้าในกรณีที่โค้งพระจันทร์ครึ่งซีกตั้งลึกลงไปบนพื้นผิวของประตูขนาดใหญ่ก็อาจจะเรียกว่า “หน้าบัน” (Tympanum) คำว่า “โค้งพระจันทร์ครึ่งซีก” มักจะใช้ในการบรรยายส่วนหนึ่งของผนังภายในระหว่างส่วนโค้งของเพดานที่เส้นตีโค้งขึ้นไป เครือเส้นไขว้กันไปมาของเพดานโค้งจะสร้างโค้งพระจันทร์ครึ่งซีกเหนือบัว โค้งพระจันทร์ครึ่งซีกที่เกิดจากโครงสร้างของสิ่งก่อสร้างที่เกิดขึ้นบนชาเปลซิสตินสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ไมเคิล แอนเจโลในการพยายามหาวิธีที่จะวางองค์ประกอบของการเขียนจิตรกรรมฝาผนังบนเพดานให้ได้อย่างเหมาะเจาะสวยงาม ในสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิกโดยโรเบิร์ต อาดัมและสถาปนิกฝรั่งเศสร่วมสมัยเช่น Ange-Jacques Gabriel จะนิยมรายหน้าต่างภายในซุ้มโค้งบอด (blind arch) ที่ลึกลงไปจากผนังเล็กน้อย โค้งพระจันทร์ครึ่งซีกที่เกิดขึ้นเหนือหน้าต่างในบริเวณที่ลึกลงไปเหมาะกับการตกแต่งเป็นแบบรัศมีที่กระจายออกไปจากฐาน หรือ แจกันเตี้ยที่มีช่อดอกไม้บานออกไปเป็นทรงพัด และอื่นๆ “โค้งพระจันทร์ครึ่งซีก” อาจจะเรียกว่า “หน้าต่างพระจันทร์ครึ่งซีก” ถ้าเป็นโค้งที่ใช้ทำเป็นหน้าต่าง.

ดู มีเกลันเจโลและโค้งพระจันทร์ครึ่งซีก

โซโฟนิสบา อังกิสโซลา

ซโฟนิสบา อังกิสโซลา (Sofonisba Anguissola) (ราว ค.ศ. 1532 - 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1625) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17.

ดู มีเกลันเจโลและโซโฟนิสบา อังกิสโซลา

ไมเคิล

มเคิล เป็นชื่อบุคคล อาจหมายถึง; บุคคลในวงการบันเทิง.

ดู มีเกลันเจโลและไมเคิล

เพดานโบสถ์น้อยซิสทีน

มือของพระเจ้าจรดกับมือของอาดัม เพดานโบสถ์น้อยซิสติน (Sistine Chapel ceiling) เป็นจิตรกรรมฝาผนังบนเพดานของโบสถ์น้อยซิสตินที่เขียนโดยไมเคิล แอนเจโลระหว่าง ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและเพดานโบสถ์น้อยซิสทีน

เมดีชี

ตระกูลเมดีชี (Medici) เป็นตระกูลที่มีอำนาจและอิทธิพลทางการเมืองของฟลอเรนซ์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 สมาชิกจากตระกูลนี้ 3 คนได้เป็น พระสันตะปาปา (สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10, สมเด็จพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7, และ สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 11) และนักปกครองของฟลอเรนซ์เองโดยเฉพาะโลเรนโซ เด เมดีชี ก็เป็นผู้อุปถัมภ์งานชิ้นสำคัญๆ ในสมัยเรอเนซองส์ ต่อมาตระกูลเมดีชีก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับราชวงศ์ของฝรั่งเศสและอังกฤษ ความมีอิทธิพลของตระกูลเมดีชีสามารถทำให้ฟลอเรนซ์กลายมามีบทบาทสำคัญต่อความรุ่งเรืองของศิลปะและสถาปัตยกรรม ตระกูลเมดีชีและตระกูลสำคัญอื่นๆของประเทศอิตาลีในสมัยนั้นเช่น ตระกูลวิสคอนติ (Visconti) ตระกูลสฟอร์เซ (Sforza) ตระกูลต่างๆ จากมิลาน ตระกูลเอสเตแห่งเฟอร์รารา (Este of Ferrara) ตระกูลกอนซากาจากมานตัว (Gonzaga of Mantua) และตระกูลอื่นๆ ต่างก็มีส่วนสำคัญในความเจริญของศิลปะเรอเนซองส์ และ สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์ ธนาคารเมดีชีเป็นธนาคารที่มั่งคั่งที่สุดในทวีปยุโรปและกล่าวกันว่าตระกูลเมดีชีเป็นตระกูลที่ร่ำรวยที่สุดในยุโรปสมัยนั้น ซึ่งทำให้สามารถสร้างอำนาจทางการเมืองโดยเริ่มจากฟลอเรนซ์และอิตาลีจนในที่สุดก็ขยายไปทั่วยุโรป สิ่งที่ตระกูลเมดีชีเป็นต้นตำรับทางการบัญชีคือการปรับปรุงวิธีทำบัญชีโดยการลงหลักฐานที่สามารถทำให้ติดตามเงินเข้าเงินออกได้ง่ายขึ้น (double-entry bookkeeping system).

ดู มีเกลันเจโลและเมดีชี

เยเรมีย์

ผู้เผยพระวจนะเยเรมีย์บนเพดานในชาเปลซิสตินโดยไมเคิล แอนเจโล เยเรมีย์ (Jeremiah, יִרְמְיָהוּ: - Yirməyāhū, ความหมาย "Yhwh will raise"; Ἰερεμίας) เป็นหนึ่งในผู้เผยพระวจนะใหญ่ในคัมภีร์ฮีบรู เป็นบุตรของฮิลคิยะห์ (Hilkiah) นักบวชจากอนาโธธ และเป็นผู้เขียนหนังสือเยเรมีย์ เยเรมีย์เป็นหนึ่งในหมู่ปุโรหิตเมืองอานาโธทในแผ่นดินของเผ่าเบนยามิน เยเรมีย์ผู้เผยพระวจนะ มีชีวิตอยู่ในช่วงหลังของศตวรรษที่เจ็ดต่อเนื่องถึงช่วงแรกของศตวรรษที่หกก่อนคริตส์ศักราช ในระหว่างการทำพันธกิจอันยาวนาน เยเรมีย์เตือนประชากรของพระเจ้าถึงวิบัติภัยที่จะเกิดแก่ชาติเนื่องด้วยพวกเข้ากราบไหว้รูปเคารพและทำบาป เยเรมีย์มีชีวิตอยู่จนได้เห็นคำพยากรณ์นี้เกิดขึ้นจริงเมื่อกรุงเยรูซาเลมล่มสลายด้วยมือเนบูคัดเนสซาร์กษัตริย์บาบิโลน ทั้งนครกับพระวิหารในกรุงเยรูซาเลมถูกทำลาย และกษัตริย์กับคนยูดาห์จำนวนมากตกไปเป็นเชลยที่บาบิโลน เยเรมีย์ได้ทำนายด้วยว่าในที่สุดประชาชนจะกลับมาจากการเป็นเชลยและฟื้นฟูบูรณะชาติขึ้นใหม่ หนังสือเยเรมีย์อาจแบ่งเป็นส่วน ๆ ได้ดังนี้ 1) ข่าวสารจากพระเจ้าถึงชาติยูดาห์กับบรรดาผู้นำระหว่างรัชสมัยของโยสิยาห์ เยโฮยาคิม เยโฮยาคีน และเศเดคียาห์ 2) เนื้อหาจากบันทึกของบารุคผู้เป็นเลขานุการของเยเรมีย์ รวมทั้งการเผยพระวจนะและเหตุการณ์สำคัญต่างๆ จากชีวิตของเยเรมีย์ 3) ข่าวสารจากองค์เจ้านายเกี่ยวกับประเทศอื่นๆ 4) ภาคผนวกเชิงประวัติศาสตร์ เล่าเรื่องราวการล่มสลายของกรุงเยรูซาเลมและการเป็นเชลยของบาบิโลน เยเรมีย์เป็นคนละเอียดอ่อน ท่านรักประชาชนในชาติอย่างลึกล้ำ และเกลียดที่จะต้องประกาศการพิพากษาซึ่งจะเกิดแก่พวกเขา ในข้อพระคัมภีร์หลายตอนเยเรมีย์พูดจากความรู้สึกลึก ๆ ถึงความทุกข์อันเนื่องมาจากการที่พระเจ้าทรงเรียกให้ท่านเป็นผู้เผยพระวจนะ พระวจนะขององค์เจ้านายเหมือนไฟเผาหัวใจจนท่านไม่อาจเก็บถ้อยคำเหล่านั้นไว้ได้ พระวจนะที่ยิ่งใหญ่บางตอนในพระธรรมชี้ไปไกลกว่ายุคสมัยอันทุกข์ยากวุ่นวานของเยเรมีย์เอง ชี้ถึงวันเวลาที่จะมีพันธสัญญาใหม่ เป็นพันธสัญญาที่ประชากรของพระเจ้าจะถือรักษาโดยไม่ต้องมีธรรมมาจารย์มาคอยเตือน เพราะพันธสัญญานั้นจารึกบนหัวใจของเขาเอง.

ดู มีเกลันเจโลและเยเรมีย์

เลออโคออนและบุตร

ลออโคออนและบุตร (Laocoön and His Sons) หรือ กลุ่มเลออโคออน (Laocoön Group) เป็นประติมากรรมหินอ่อนขนาดใหญ่ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วาติกันในนครรัฐวาติกันในประเทศอิตาลี นักประพันธ์และนักปรัชญาพลินิผู้อาวุโสกล่าวว่าเป็นงานที่อาจจะสร้างโดยประติมากรสามคนจากเกาะโรดส์: อเจซานเดอร์แห่งโรดส์ (Agesander of Rhodes), เอธีโนโดรอส (Athenodoros) หรือโพลิโดรัส (Polydorus) ประติมากรรมชิ้นนี้เป็นภาพของนักบวชโทรจันเลออโคออนและบุตรอันทิฟานทีส (Antiphantes) และ ไทม์บราเอียส (Thymbraeus) ถูกกำลังถูกรัดโดยงูทะเล.

ดู มีเกลันเจโลและเลออโคออนและบุตร

เดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-โรม)

วิดกับหัวโกไลแอธ (David with the Head of Goliath) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์บอร์เกเซในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “เดวิดกับหัวโกไลแอธ” ฉบับเวียนนาเขียนราวระหว่างปี ค.ศ.

ดู มีเกลันเจโลและเดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-โรม)

เต่านินจา

ต่านินจาทั้ง4 เต่านินจา (Teenage Mutant Ninja Turtles) เป็นการ์ตูนอเมริกัน เรื่องราวของเต่าที่กลายพันธุ์มาเป็นมนุษย์ และเรียนรู้วิชานินจา โดยอาศัยอยู่ในท่อระบายน้ำในมหานครนิวยอร์ก ภายหลังได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูน เกม และภาพยนตร์คนแสดง หลายภาคด้วยกัน จากเต่านินจาในซีรีส์ที่ 1 ในปี 1988 นั้น เมื่อเต่าทั้ง 4 ยังเป็นลูกเต่าตัวเล็กๆอยู่ ลูกเต่าทั้ง 4 ได้โดนสารเคมีที่ชื่อว่า OOZE เข้าจากอุบัติเหตุ และ สปลินเตอร์ ซึ่งขณะนั้นเป็นมนุษย์ชาวญี่ปุ่นที่ชื่อว่า ฮามาโตะ โยชิ ก็ได้รับผลกระทบจากสารเคมีนี้ด้วยเช่นกัน โดยสารเคมี OOZE นี้ ทำให้ฮามาโตะ โยชิ กลายร่างเป็นหนู และฮามาโตะ โยชิ ซึ่งตอนนี้กลายร่างเป็นหนูที่ชื่อ สปลินเตอร์ ก็ได้นำลูกเต่าทั้ง 4 มาเลี้ยง จากนั้นเพียงไม่กี่วัน สปลินเตอร์ก็พบว่าลูกเต่าทั้ง 4 ได้เติบโตขึ้นเป็นเต่าวัยรุ่นอย่างรวดเร็วมาก และเมื่อเต่าทั้ง 4 เติบโตเต็มที่แล้ว สปลินเตอร์ก็ได้ฝึกและสอนวิชานินจา รวมทั้งตั้งชื่อให้กับเต่าทั้ง 4 โดยตั้งตามชื่อของศิลปิน ซึ่งเขาได้เปิดดูจากหนังสือศิลปะเล่มโปรดของเขา และมอบผ้าคาดตาทั้ง 4 สีเพื่อเป็นเอกลักษณ์ของเต่าทั้ง 4 ตัวด้วย ตามแบบอย่างในภาคแอนิเมชั่น ในปี 1988 (ภาคดั้งเดิมที่เป็นออริจินอล คอมมิค โดย เควิน อีสแมน และ ปีเตอร์ แลร์ด นั้น เต่านินจาทั้ง 4 จะมีผ้าคาดตาเป็นสีเดียวกันทั้งหมด คือ สีแดง แต่จะแตกต่างกันที่อาวุธทั้ง 4 ชนิด) เนื้อหาในเรื่องจะเป็นการต่อสู้กับพวกโจร ผู้ร้าย สัตว์ประหลาด และมนุษย์ต่างดาว เป็นต้น.

ดู มีเกลันเจโลและเต่านินจา

เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์

ปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ (Peter Paul Rubens,; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2120 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2183) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีผลงานในรูปแบบศิลปะบาโรก.

ดู มีเกลันเจโลและเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์

1 พฤศจิกายน

วันที่ 1 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 305 ของปี (วันที่ 306 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 60 วันในปีนั้น.

ดู มีเกลันเจโลและ1 พฤศจิกายน

18 กุมภาพันธ์

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 49 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 316 วันในปีนั้น (317 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู มีเกลันเจโลและ18 กุมภาพันธ์

6 มีนาคม

วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.

ดู มีเกลันเจโลและ6 มีนาคม

8 กันยายน

วันที่ 8 กันยายน เป็นวันที่ 251 ของปี (วันที่ 252 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 114 วันในปีนั้น.

ดู มีเกลันเจโลและ8 กันยายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ MichelangeloMichelangelo Buonarrotiมิเกลันเจโล บัวนารอตติมิเกลันเจโล บัวนาร์โรติมิเกลันเจโล บูโอนาร์โรตีมีเกลันเจโล ดี โลโดวีโก บัวนาร์โรตี ซีโมนีไมเคิล แองเจลโลไมเคิล แองเจโลไมเคิลแอลเจลโลไมเคิลแองเจโลไมเคิลแองเจโล บูโอนารอตติ

สถาปนิกหอศีลจุ่มซันโจวันนีห้องราฟาเอลอันนีบาเล การ์รัชชีอันเดรอา เดล แวร์รอกกีโออาร์เตมีเซีย เจนตีเลสกีอาดัมองค์การผู้สังเกตการณ์ศิลปะนานาชาติฌัก-หลุยส์ ดาวีดจริตนิยมจอร์โจ วาซารีจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์จาโกโป ซานโซวีโนจิตรกรชั้นครูจิตรกรรมบาโรกจิตรกรรมฝาผนังจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีจีโรลาโม ซาโวนาโรลาทาสใกล้ตายทิเชียนขับจากสวนอีเด็น (มาซาชิโอ)ข้ามทะเลแดง (บรอนซิโน)ดาวิด (มีเกลันเจโล)คนครุ่นคิด (รอแด็ง)ฆวน เบาติสตา เด โตเลโดประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ประติมากรรมคลาสสิกปีศาจสปาเกตตีลอยฟ้าปีเอตะปีเอตะ (มีเกลันเจโล)ป้อมดาวนครรัฐวาติกันนครวัดแท่นตั้งศพโบสถ์น้อยกอนตาเรลลีโบสถ์น้อยตอร์นาบูโอนีโบสถ์น้อยซิสทีนโรมโลเรนโซ กีแบร์ตีโดเมนีโก กีร์ลันดาโยโค้งพระจันทร์ครึ่งซีกโซโฟนิสบา อังกิสโซลาไมเคิลเพดานโบสถ์น้อยซิสทีนเมดีชีเยเรมีย์เลออโคออนและบุตรเดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-โรม)เต่านินจาเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์1 พฤศจิกายน18 กุมภาพันธ์6 มีนาคม8 กันยายน