เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มานุษยวิทยาวัฒนธรรม

ดัชนี มานุษยวิทยาวัฒนธรรม

มานุษยวิทยาวัฒนธรรม นับเป็นหนึ่งในสี่สาขาของมานุษยวิทยาซึ่งพัฒนาขึ้นในสหรัฐอเมริกา พัฒนาขึ้นเพื่อส่งเสริม "วัฒนธรรม" ให้มีความหมายเชิงมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาความมากหลายในหมู่มนุษย์และการตรวจสอบหาเศรษฐกิจของโลกและกระบวนการทางการเมืองที่มีต่อวัฒนธรรมที่เป็นจริง แนวคิดเชิงมานุษยวิทยาของ "วัฒนธรรม" ในบางส่วน สะท้อนให้เห็นถึงปฏิกิริยาที่มีต่อสัมพันธสารหรือวาทกรรมที่ขึ้นอยู่กับสิ่งตรงกันข้ามระหว่าง "วัฒนธรรม" และ "ธรรมชาติ" ตามที่มนุษย์ได้อยู่อาศัยใน "สภาวะธรรมชาติ" นักมานุษยวิทยาได้โต้เถียงว่าวัฒนธรรมคือ "ธรรมชาติของมนุษย์" และผู้คนทั้งหลายมีความสามารถที่จะจำแนกประสบการณ์ ถอดรหัสการจำแนกในเชิงสัญลักษณ์ และสอนความเป็นนามธรรมนั้นให้แก่ผู้อื่น โดยที่มนุษย์ได้วัฒนธรรมมาด้วยการเรียนรู้ (ในกระบวนการของการทำให้กลายเป็นวัฒนธรรมและการสัมพันธ์กันในสังคม) ผู้คนอยู่อาศัยในที่แตกต่างกัน แตกต่างด้วยสิ่งล้อมรอบ จึงอาจทำให้มีการพัฒนาวัฒนธรรมออกมาต่างกัน นักมานุษยวิทยายังได้ชี้ประเด็นว่าด้วยด้วยวัฒนธรรมนั่นเองที่ทำให้ผู้คนสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่ไม่ได้สืบมาทางพันธุกรรม ดังนั้นผู้คนที่อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่ต่างกันจึงมักมีวัฒนธรรมที่ต่างกันด้วย ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาส่วนมากมีต้นตอมาจากความซาบซึ้งและความสนใจในความตึงเครียดระหว่างความเป็นท้องถิ่นและความเป็นระดับโลก เส้นขนานของมานุษยวิทยาวัฒนธรรมเกิดขึ้นในสหรัฐฯ กล่าวคือ วิชามานุษยวิทยาสังคม ซึ่งใช้ "ความเป็นสังคม" เป็นแนวคิดกลางและที่เน้นจุดรวมไปที่การศึกษาสถานภาพทางสังคมและบทบาท กลุ่ม สถาบันและความสัมพันธ์ระหว่างกันแล้วพัฒนามาเป็นสาขาวิชาการในสหราชอาณาจักร ความหมายของขอบข่ายของ "มานุษยวิทยาสังคม-วัฒนธรรม" ทำให้เกิดความแตกต่างในประเพณีของทั้งมานุษยวิทยาวัฒนธรรมและมานุษยวิทยาสังคม.

สารบัญ

  1. 7 ความสัมพันธ์: มาร์กาเร็ต มีดมานุษยวิทยาวัฒนธรรมมานุษยวิทยาสื่อรายการสาขาวิชาวัฒนธรรมความเกี่ยวดองปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้า

มาร์กาเร็ต มีด

มาร์กาเร็ต มีด มาร์กาเร็ต มีด (Margaret Mead) (16 ธันวาคม 1901 – 15 พฤศจิกายน 1978) เป็นนักมานุษยวิทยาวัฒนธรรมชาวอเมริกัน เธอเขียนสารคดีและเป็นผู้พูดในสื่อมวลชนอยู่เสมอในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 ถึง 1970 เธอเป็นทั้งผู้ทำให้สายตาแบบมานุษยวิทยาเป็นที่รู้จักทั่วไปในวัฒนธรรมอเมริกันและวัฒนธรรมตะวันตกสมัยใหม่ และเป็นนักวิชาการมานุษยวิทยาที่ได้การนับถือ แม้จะมีการโต้แย้งก็ตาม.

ดู มานุษยวิทยาวัฒนธรรมและมาร์กาเร็ต มีด

มานุษยวิทยาวัฒนธรรม

มานุษยวิทยาวัฒนธรรม นับเป็นหนึ่งในสี่สาขาของมานุษยวิทยาซึ่งพัฒนาขึ้นในสหรัฐอเมริกา พัฒนาขึ้นเพื่อส่งเสริม "วัฒนธรรม" ให้มีความหมายเชิงมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาความมากหลายในหมู่มนุษย์และการตรวจสอบหาเศรษฐกิจของโลกและกระบวนการทางการเมืองที่มีต่อวัฒนธรรมที่เป็นจริง แนวคิดเชิงมานุษยวิทยาของ "วัฒนธรรม" ในบางส่วน สะท้อนให้เห็นถึงปฏิกิริยาที่มีต่อสัมพันธสารหรือวาทกรรมที่ขึ้นอยู่กับสิ่งตรงกันข้ามระหว่าง "วัฒนธรรม" และ "ธรรมชาติ" ตามที่มนุษย์ได้อยู่อาศัยใน "สภาวะธรรมชาติ" นักมานุษยวิทยาได้โต้เถียงว่าวัฒนธรรมคือ "ธรรมชาติของมนุษย์" และผู้คนทั้งหลายมีความสามารถที่จะจำแนกประสบการณ์ ถอดรหัสการจำแนกในเชิงสัญลักษณ์ และสอนความเป็นนามธรรมนั้นให้แก่ผู้อื่น โดยที่มนุษย์ได้วัฒนธรรมมาด้วยการเรียนรู้ (ในกระบวนการของการทำให้กลายเป็นวัฒนธรรมและการสัมพันธ์กันในสังคม) ผู้คนอยู่อาศัยในที่แตกต่างกัน แตกต่างด้วยสิ่งล้อมรอบ จึงอาจทำให้มีการพัฒนาวัฒนธรรมออกมาต่างกัน นักมานุษยวิทยายังได้ชี้ประเด็นว่าด้วยด้วยวัฒนธรรมนั่นเองที่ทำให้ผู้คนสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่ไม่ได้สืบมาทางพันธุกรรม ดังนั้นผู้คนที่อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่ต่างกันจึงมักมีวัฒนธรรมที่ต่างกันด้วย ทฤษฎีทางมานุษยวิทยาส่วนมากมีต้นตอมาจากความซาบซึ้งและความสนใจในความตึงเครียดระหว่างความเป็นท้องถิ่นและความเป็นระดับโลก เส้นขนานของมานุษยวิทยาวัฒนธรรมเกิดขึ้นในสหรัฐฯ กล่าวคือ วิชามานุษยวิทยาสังคม ซึ่งใช้ "ความเป็นสังคม" เป็นแนวคิดกลางและที่เน้นจุดรวมไปที่การศึกษาสถานภาพทางสังคมและบทบาท กลุ่ม สถาบันและความสัมพันธ์ระหว่างกันแล้วพัฒนามาเป็นสาขาวิชาการในสหราชอาณาจักร ความหมายของขอบข่ายของ "มานุษยวิทยาสังคม-วัฒนธรรม" ทำให้เกิดความแตกต่างในประเพณีของทั้งมานุษยวิทยาวัฒนธรรมและมานุษยวิทยาสังคม.

ดู มานุษยวิทยาวัฒนธรรมและมานุษยวิทยาวัฒนธรรม

มานุษยวิทยาสื่อ

มานุษยวิทยาสื่อ หรือ มานุษยวิทยาสื่อมวลชน เป็นสาขาวิชาในมานุษยวิทยาสังคมหรือมานุษยวิทยาวัฒนธรรมที่เน้นใช้วิธีการทางชาติพันธุ์นิพนธ์ในการศึกษาผู้ผลิต ผู้ชม และแง่มุมทางสังคมวัฒนธรรมอื่นๆ ของสื่อมวลชน.

ดู มานุษยวิทยาวัฒนธรรมและมานุษยวิทยาสื่อ

รายการสาขาวิชา

รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ.

ดู มานุษยวิทยาวัฒนธรรมและรายการสาขาวิชา

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ดู มานุษยวิทยาวัฒนธรรมและวัฒนธรรม

ความเกี่ยวดอง

ในทางนิติศาสตร์และมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ความเกี่ยวดอง หรือ สัมพรรคภาพ หมายถึงความเป็นญาติที่เกิดจากการสมรส ซึ่งแยกแยะออกจากการร่วมสายโลหิต เป็นความสัมพันธ์ที่ทำให้ญาติของคู่สมรสทั้งสองฝ่าย "เกี่ยวดองกัน" คือเป็นเครือญาติซึ่งกันและกัน ในภาษาไทย ญาติฝ่ายชายจะเรียกคู่สมรสฝ่ายหญิงว่า สะใภ้ เช่น ลูกสะใภ้ พี่สะใภ้ ป้าสะใภ้ ฯลฯ และญาติฝ่ายหญิงจะเรียกคู่สมรสฝ่ายชายว่า เขย เช่น ลูกเขย น้องเขย น้าเขย ฯลฯ ส่วนในภาษาอังกฤษจะเติมคำว่า -in-law ต่อท้ายระดับความเป็นญาติเช่น daughter-in-law หมายถึงลูกสะใภ้ เป็นต้น.

ดู มานุษยวิทยาวัฒนธรรมและความเกี่ยวดอง

ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้า

ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้า - ชะตากรรมของสังคมมนุษย์ (Guns, Germs, and Steel: The Fates of Human Societies) เป็นหนังสือสารคดีหลายสาขาวิชาของ.ดร.

ดู มานุษยวิทยาวัฒนธรรมและปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้า

หรือที่รู้จักกันในชื่อ นักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม