โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มันสำปะหลัง

ดัชนี มันสำปะหลัง

''Manihot esculenta'' มันสำปะหลัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Manihot esculenta (L.) Crantz) เป็นพืชหัวชนิดหนึ่ง เป็นพืชอาหารที่สำคัญอันดับ 5 รองจากข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าว และมันฝรั่ง ชื่อสามัญเรียกหลายชื่อเช่น Cassava, Yuca, Mandioa, Manioc, Tapioca ชาวไทยเดิมเรียกกันว่า มันสำโรง มันไม้ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกว่า มันต้นเตี้ย ภาคใต้เรียกมันเทศ (แต่เรียกมันเทศว่า "มันหลา") คำว่า "สำปะหลัง" ที่นิยมเรียกอาจมาจากคำว่า "ซำเปอ (Sampou)" ของชวาตะวันตก มันสำปะหลังมีแหล่งกำเนิดแถบที่ลุ่มเขตร้อน (Lowland tropics) มีหลักฐานแสดงว่าปลูกกันในโคลัมเบีย และเวเนซูเอลา มานานกว่า 3,000-7,000 ปีมาแล้ว นิยมใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ สามารถปลูกได้ง่ายในพื้นที่ร้อน และร้อนชื้น จึงได้มีการสนับสนุนแก่ประเทศที่กำลังพัฒนาที่มีสภาพภูมิอากาศดังกล่าวปลูกเป็นพืชเศรษฐก.

79 ความสัมพันธ์: ฟูฟูพญากาสักพืชไร่กลูโคสการหมักเชิงอุตสาหกรรมการทำลายป่าการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยงกาเตอมักกูไลภาษาสเปนภาคกลาง (ประเทศไทย)ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลภาคตะวันตก (ประเทศไทย)ภูมิศาสตร์ไทยมวลชีวภาพมันหมักมันเส้นมนตรี จุฬาวัฒนฑลลาลับสสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลทั่วไปสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนสาคู (อาหาร)สาเก (สุรา)หมู่บ้านซำทองหมู่เกาะเติกส์และเคคอสหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุลหวายหินอะฟลาทอกซินอายัมปันซุห์อาหารฟิลิปปินส์อาหารมัลดีฟส์อาหารสัตว์อาหารสิงคโปร์อาหารอินโดนีเซียอำเภอกันทรลักษ์อำเภอวังโป่งอำเภอสัตหีบอำเภอหนองหินอำเภอทุ่งเสลี่ยมอำเภอปากช่องอูรัปองค์การสุรา กรมสรรพสามิตจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดไพรแวงธานี สมบูรณ์ทรัพย์ถั่วพูทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย...ขนมมันสำปะหลังค้างคาวคุณกิตติตีนูตูวันซอร์บิทอลซัมบัลประเทศจีนแมงอีนูนแอฟริกากลางแทนนินแคว้นโลเรโตแป้งแป้งมันสำปะหลังแป้งประกอบอาหารใบไม้โรตีบูวายาโปยไบโอแอลกอฮอล์ไซยาไนด์เชื้อเพลิงชีวภาพเชื้อเพลิงเอทานอลเพลี้ยแป้งเกาะมาดูราเรินดังเศรษฐกิจไทยเอทานอลเทศบาลตำบลท้าวอู่ทองเท้ายายม่อม (พืช)เดาน์อูบีตุมบุกE85 ขยายดัชนี (29 มากกว่า) »

ฟูฟู

ฟูฟู (fufu หรือ foufou) เป็นอาหารหลักของหลายประเทศในแอฟริกาและแคริบเบียน โดยมากทำจากแป้งมันสำปะหลัง แต่บางครั้งอาจทำจากแป้งข้าวโพดหรือแป้งเซโมลิน.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและฟูฟู · ดูเพิ่มเติม »

พญากาสัก

ญากาสัก อยู่ในวงศ์ Leeaceae เป็นไม้พุ่ม รากขนาดใหญ่ อ้วนคล้ายมันสำปะหลัง ลำต้นสีเขียว ใบเดี่ยว นูนตามเส้นใบ เนื้อใบหยาบ ดอกช่อ ดอกย่อยสีเขียวอมเหลือง ผลกลม เมล็ดขนาดเล็ก ใช้เป็นไม้ประดับ ในทางไสยศาสตร์ เชื่อว่าช่วยให้คงกระพันชาตรี.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและพญากาสัก · ดูเพิ่มเติม »

พืชไร่

ืชไร่ เป็นไม้ประเภทไม้ล้มลุกและไม้ทนแล้ง ต้องการน้ำน้อย มีอายุการปลูกและการเก็บเกี่ยวไม่นาน และเมื่อให้ผลผลิตแล้วลำต้นก็จะตาย พืชไร่ถือเป็นอาชีพหลักของเกษตรกรของประเทศไทย พืชไร่ที่จัดเป็นพืชเศรษฐกิจนำรายได้มาสู่ประเทศไทยอย่างมาก เช่น อ้อย เป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตน้ำตาลทราย, ข้าวโพด เป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตอาหารสัตว์, มันสำปะหลัง เป็นวัตถุดิบในการผลิตแป้งและอาหารสัตว์ ซึ่งวิทยาลัยเกษตรกรรมได้มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชไร่อย่างมีคุณภาพ เช่น ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกมันสำปะหลังพันธุ์ห้วยบง 60 ซึ่งให้ผลผลิตสูง ทนโรค ส่งเสริมการปลูกสับปะรดพันธุ์เพชรบุรี ซึ่งมีคุณสมบัติหวานกรอบ เป็นต้น 150 px 150 px 150 px 150 px.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและพืชไร่ · ดูเพิ่มเติม »

กลูโคส

กลูโคส (อังกฤษ: Glucose; ย่อ: Glc) เป็นน้ำตาลประเภทโมโนแซคคาไรด์ (monosaccharide) มีความสำคัญที่สุดในกลุ่มคาร์โบไฮเดรตด้วยกัน เซลล์ของสิ่งมีชีวิติทุกชนิดใช้กลูโคสเป็นแหล่งพลังงาน และสารเผาผลาญขั้นกลาง (metabolic intermediate) กลูโคสเป็นหนึ่งในผลผลิตหลักของการสังเคราะห์แสง (photosynthesis) และเป็นแหล่งพลังงานสำหรับการหายใจของเซลล์ (cellular respiration) โครงสร้างโมเลกุลตามธรรมชาติของมัน (D-glucose) จะอยู่ในรูปที่เรียกว่า เดกซ์โตรส (dextrose) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมอาหาร.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและกลูโคส · ดูเพิ่มเติม »

การหมักเชิงอุตสาหกรรม

การหมักเชิงอุตสาหกรรม (Industrial fermentation) เป็นการหมักจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรียและเห็ดรา ที่ทำโดยตั้งใจเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์ ที่สามารถใช้เป็นอาหารหรือเพื่อประโยชน์อื่น ๆ ในอุตสาหกรรม สารเคมีที่มีขายทั่วไปบางอย่าง เช่น กรดน้ำส้ม กรดซิตริก และเอทานอล ล้วนผลิตโดยวิธีการหมัก ความช้าเร็วของกระบวนการหมักขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของจุลินทรีย์ เซลล์ องค์ประกอบของเซลล์ เอนไซม์ รวมทั้งอุณหภูมิและค่ากรด และสำหรับการหมักบางชนิด ออกซิเจน กระบวนการสกัดผลิตภัณฑ์ออกมา บ่อยครั้งต้องเพิ่มความเข้มข้นของสารละลายที่เจือจางนั้น เอนไซม์ที่ผลิตขายทั้งหมด เช่น lipase, invertase, และ rennet จะทำโดยการหมักที่ใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม ในบางกรณี มวลชีวภาพของจุลินทรีย์นั่นแหละเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ยีสต์ขนมอบ (Saccharomyces cerevisiae) และแบคทีเรียที่เปลี่ยนแล็กโทสเป็นกรดแล็กติกที่ใช้ในการผลิตชีส โดยทั่วไปแล้ว สามารถแบ่งการหมักได้ออกเป็น 4 จำพวก คือ.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและการหมักเชิงอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

การทำลายป่า

การทำลายป่าฝนอะเมซอน จากภาพถ่ายดาวเทียม จะเห็นถนนในป่ามีลักษณะเป็นรูปก้างปลา ("fishbone" pattern) การทำลายป่า คือ สภาวะของป่าตามธรรมชาติที่ถูกทำลายโดยการตัดไม้และการเผาป่า เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น การนำต้นไม้และถ่านไม้มาใช้หรือจำหน่ายเป็นโภคภัณฑ์ ในระหว่างที่ทำการเลี้ยงสัตว์ เพาะปลูก และตั้งถิ่นฐาน บนพื้นที่ว่าง การตัดไม้โดยไม่ปลูกทดแทนด้วยจำนวนที่เพียงพอ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อที่อยู่อาศัย ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และปัญหาความแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลเสียต่อการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยพืช พื้นที่ป่าที่ถูกทำลายโดยมากจะเกิดความเสียหายจากการพังทลายของหน้าดิน และพื้นที่มักด้อยคุณภาพลงจนกลายเป็นที่ดินที่ทำประโยชน์มิได้.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและการทำลายป่า · ดูเพิ่มเติม »

การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง

การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (หรือ การทำให้เชื่อง) หรือ การปรับตัวเป็นไม้เลี้ยง (domestication, domesticus) เป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยกันระหว่างพืชหรือสัตว์ กับมนุษย์ผู้มีอิทธิพลในการดูแลรักษาและการสืบพันธุ์ของพวกมัน เป็นกระบวนการที่ประชากรสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมผ่านรุ่นโดยการคัดเลือกพันธุ์ (selective breeding) เพื่อเน้นลักษณะสืบสายพันธุ์ที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ โดยมีผลพลอยได้เป็นความเคยชินของสิ่งมีชีวิตต่อการพึ่งมนุษย์ ทำให้พวกมันสูญเสียความสามารถในการดำรงชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ ชาลส์ ดาร์วินเข้าใจถึงลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จำนวนไม่มากจำนวนหนึ่ง ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงต่างจากบรรพบุรุษพันธุ์ป่า เขายังเป็นบุคคลแรกที่เข้าใจความแตกต่างระหว่างการคัดเลือกพันธุ์แบบตั้งใจ ที่มนุษย์เลือกลักษณะสืบสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตโดยตรงเพื่อจะได้ลักษณะตามที่ต้องการ กับการคัดเลือกที่ไม่ได้ตั้งใจ ที่ลักษณะมีวิวัฒนาการไปตามการคัดเลือกโดยธรรมชาติ หรือตามการคัดเลือกอื่น ๆ สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงจะต่างจากสิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าทางพันธุกรรม และในบรรดาสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ก็ยังมีความแตกต่างกันระหว่างลักษณะสืบสายพันธุ์ที่นักวิจัยเชื่อว่า จำเป็นในระยะต้น ๆ ของกระบวนการปรับนำมาเลี้ยง (domestication trait) และลักษณะที่พัฒนาขึ้นต่อ ๆ มาหลังจากที่สิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าและพันธุ์เลี้ยงได้แยกออกจากกันแล้ว (improvement trait) คือลักษณะที่จำเป็นโดยทั่วไปมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงทั้งหมด และเป็นลักษณะที่คัดเลือกในระยะต้น ๆ ของกระบวนการ ในขณะที่ลักษณะที่พัฒนาต่อ ๆ มาจะมีอยู่ในบางพวกของสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ถึงแม้ว่าอาจจะมีแน่นอนในพันธุ์ (breed) ใดพันธุ์หนึ่งโดยเฉพาะ หรือในกลุ่มประชากรในพื้นที่โดยเฉพาะ การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (domestication) ไม่ควรสับสนกับการทำสัตว์ให้เชื่อง (taming) เพราะว่า การทำให้เชื่องเป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมของสัตว์ป่า ให้กลัวมนุษย์น้อยลงและยอมรับการมีมนุษย์อยู่ใกล้ ๆ ได้ แต่ว่าการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง เป็นการเปลี่ยนพันธุกรรมของสัตว์พันธุ์ที่นำมาเลี้ยงอย่างถาวร เป็นการเปลี่ยนความรู้สึกของสัตว์ต่อมนุษย์โดยกรรมพันธุ์ สุนัขเป็นสิ่งมีชีวิตแรกที่ปรับนำมาเลี้ยง และแพร่หลายไปทั่วทวีปยูเรเชียก่อนการสิ้นสุดสมัยไพลสโตซีน ก่อนการเกิดขึ้นของเกษตรกรรม และก่อนการนำสัตว์อื่น ๆ ต่อ ๆ มามาเลี้ยง ข้อมูลทั้งทางโบราณคดีและทางพันธุกรรมแสดงนัยว่า การแลกเปลี่ยนยีน (gene flow) ที่เป็นไปทั้งสองทางระหว่างสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงกับพันธุ์ป่า เช่น ลา ม้า อูฐทั้งพันธุ์โลกเก่าและโลกใหม่ แพะ แกะ และหมู เป็นเรื่องสามัญ และเพราะความสำคัญของการนำสิ่งมีชีวิตมาเลี้ยงต่อมนุษย์ และคุณค่าของมันโดยเป็นแบบจำลองของกระบวนการวิวัฒนาการและของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีนี้ จึงดึงดูดความสนใจของนักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ รวมทั้งโบราณคดี บรรพชีวินวิทยา มานุษยวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมสาขาต่าง ๆ สุนัขและแกะเป็นสิ่งมีชีวิตพันธุ์แรก ๆ ที่มนุษย์ปรับนำมาเลี้ยง.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

กาเตอมัก

กาเตอมัก (katemak) เป็นอาหารพื้นเมืองของอินโดนีเซียในจังหวัดนูซาเติงการาตะวันออก โดยนำเนื้อควายไปต้มกับมันเทศ ข้าวโพดหวาน และผักสีเขียว เช่น ใบมันสำปะหลัง และใบมะละกอ นิยมปรุงรสเผ็ดด้วยพริกแดง หอม กระเทียม.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและกาเตอมัก · ดูเพิ่มเติม »

กูไล

กูไล (gulai) เป็นแกงรสเผ็ด มักปรุงกับเนื้อสัตว์ เช่น ไก่ เนื้อวัว เนื้อแกะ ปลา อาหารทะเล หรือผักเช่น ใบมันสำปะหลังและขนุนอ่อน น้ำแกงมักเป็นสีเหลืองเพราะเติมผงขมิ้น เครื่องแกงที่ใช้ ได้แก่ ขมิ้น ผักชี พริกไทยดำ ขิง ข่า พริกขี้หนู หัวหอม กระเทียม ยี่หร่า ตะไคร้ อบเชย ลูกผักชี ซึ่งตำให้ละเอียด และนำไปปรุงกับกะทิ พร้อมกับส่วนผสมหลัก.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและกูไล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาคกลาง (ประเทศไทย)

กลาง เป็นภูมิภาคตอนกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคตะวันออก และภาคอีสานทางทิศตะวันออกโดยมีทิวเขาเพชรบูรณ์กั้น ติดต่อกับภาคตะวันตก ทิศเหนือติดต่อกับทิวเขาผีปันน้ำ พื้นนี้เคยเป็นดินแดนที่สำคัญของอาณาจักรอยุธยา และยังเป็นพื้นที่ที่สำคัญของประเทศไทยมาจนถึงปัจจุบัน ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทยตั้งอยู่ และมีประชากรในภูมิภาคมากที่สุดในประเท.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและภาคกลาง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหน่วยงานระดับภาควิชา สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ภาคตะวันตก (ประเทศไทย)

ตะวันตก เป็นภูมิภาคหนึ่งของประเทศไทยในระบบการแบ่งแบบ 6 ภูมิภาคตามคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ และเป็นภูมิภาคย่อยของภาคกลางของระบบการแบ่งแบบ 4 ภูมิภาค (ซึ่งรวมภาคตะวันออก และภาคตะวันตก) ภาคตะวันตกมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าทางทิศตะวันตก ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคกลางทางทิศตะวันออก และติดต่อกับภาคใต้ทางทิศใต้ ภาคตะวันตกประกอบไปด้วยจังหวัดเพียง 5 จังหวัด แม้ว่าจะจัดรวมอยู่ในภาคตะวันตก แต่ในภูมิภาคนี้ยังมีความหลากหลาย ตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ซึ่งแตกต่างกันค่อนข้างมาก.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและภาคตะวันตก (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ไทย

แผนที่ประเทศไทย ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตำแหน่งที่ตั้งของประเทศได้มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ประเทศไทยยังเป็นเส้นทางทางบกเพียงทางเดียวจากทวีปเอเชียไปยังประเทศมาเลเซียและประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและภูมิศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มวลชีวภาพ

มวลชีวภาพ หรือ ชีวมวล (biomass) คือสารอินทรีย์ที่เป็นแหล่งกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนำมาใช้ผลิตพลังงานได้ เช่น เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร หรือกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมการเกษตร เช่น.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและมวลชีวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

มันหมัก

หัวมันสำปะหลัง มันหมัก คืออาหารสัตว์ที่ทำจากหัวมันสำปะหลัง ในประเทศไทย เกษตรกรนิยมใช้มันสำปะหลังที่แปรรูปมาเป็นมันเส้นและมันอัดเม็ดในสูตรอาหารสัตว์ ซึ่งมันเส้นและมันอัดเม็ดมีราคาถูกกว่าวัตถุดิบอาหารประเภทเดียวกัน เช่น ปลายข้าว ข้าวโพด หรือการใช้มันสำปะหลังในการเลี้ยงสัตว์เพื่อลดต้นทุนการผลิตสัตว์ให้ต่ำลง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มันสำปะหลังและมันหมัก · ดูเพิ่มเติม »

มันเส้น

มันเส้น เป็นอาหารสัตว์อีกประเภทหนึ่ง และเป็นที่นิยมของเกษตรกรที่เลี้ยงโค มีการใช้มันสำปะหลังในรูปมันเส้นและมันอัดเม็ดในสูตรอาหารสัตว์ชนิดต่าง ๆ มันเส้นและมันอัดเม็ดมีราคาถูกกว่าวัตถุดิบอาหารประเภทเดียวกัน เช่น ข้าวโพดหรือปลายข้าวการใช้มันสำปะหลังในการเลี้ยงสัตว์เพื่อลดต้นทุนการผลิตสัตว์ให้ต่ำลง ซึ่งเป็นที่นิยมมากก่อนที่จะมีมันหมักเกิดขึ้น มันเส้น มันเส้นเป็นวัตถุดิบของอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งพลังงานของสัตว์อย่างดี แม้มันเส้นจะมีโปรตีนน้อยแต่มันเส้นก็มีปลอดภัย จากสารพิษอะฟลาทอกซิน ซึ่งสารนี้มักก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพและการให้ผลผลิตของสัตว์ ในอดีตมันเส้นยังไม่เป็นที่นิยมใช้ในสูตรอาหารสัตว์ ทั้งที่ประเทศไทยส่งมันเส้นที่ผลิตได้กว่า 90 เปอร์เซ็นต์ไปขายเพื่อเป็นอาหารสัตว์ในต่างประเทศ เพราะเกษตรกรผู้เลี้ยงโคขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้มันเส้นในสูตรอาหารอย่างถูกต้อง.นอกจากนี้ปัญหาสำคัญที่ทำให้ผู้ใช้มันเส้นในสูตรอาหารสัตว์ไม่ประสบความสำเร็จเนื่องจากผู้ใช้ส่วนใหญ่ ได้มันเส้นที่คุณภาพไม่ดี ส่งผลให้คุณภาพ ของอาหารผสมที่ใช้มันเส้นเป็นส่วนประกอบมีคุณค่าทางอาหารต่ำลง ผู้เลี้ยงสัตว์และผู้ผลิตจึงไม่นิยมใช้มันเส้นในสูตรอาหาร แม้ว่าราคามันเส้นจะถูกก็ตาม แหล่งพลังงานในสูตรอาหารโคนิยมใช้มันเส้น เนื่องจากมันเส้น หรือมันสำปะหลังมีคาร์โบ ไฮเดรตสูงเป็นแหล่งพลังงานที่ดีของโค และมีราคาต่ำ การใช้มันสำปะหลังในการเลี้ยงสัตว์เพื่อลดต้นทุนการผลิตให้ต่ำลง อาหารโคเนื้อและโคนมใช้ได้ 35-50% ในสูตรอาหาร (ศูนย์ค้นคว้าและพัฒนาวิชาการอาหารสัตว์, 2550) เนื่องจากปริมาณความต้องการใช้มันสำปะหลังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในรูปของผลิตภัณฑ์เดิม เช่น แป้ง อาหารสัตว์ และผลิตภัณฑ์ใหม่ ในรูปของเอทานอล ประกอบกับปริมาณผลผลิตสินค้าอื่นทดแทน เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และอ้อยโรงงาน ซึ่งต่างก็เข้าสู่อุตสาหกรรมเอทานอลมากขึ้น ส่งผลให้เกิดความต้องการใช้มันเส้นมากขึ้นทั้งในและต่างประเทศจึงทำให้เกิดการแข่งขัน ทั้งด้านราคา และวัตถุดิบอื่นเพื่อทดแทนการผลิตแป้ง และอาหารสัตว์ ส่งผลให้เกิดความต้องการใช้มันสำปะหลังมากขึ้นทั้งในและต่างประเทศ คาดว่าราคามันสำปะหลังจะยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูงต่อไป (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2550) อีกทั้งบางช่วง การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลฝนตกมากไม่สามารถทำมันเส้นได้ เกษตรกรที่ปลูกมันไว้ใช้เอง หรืออยู่ใกล้แหล่งรับซื้อหัวมันสดสามารถนำหัวมันสดมาหมักเลี้ยงโค ทดแทนการใช้มันเส้นที่มีราคาสูงได้ การที่จะได้มันเส้นที่ดีต้องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในฤดูแล้ง และเมื่อขุดหัวมันสำปะหลังแล้วต้องตัดหัวแต่ละหัวแยกออกจากเหง้าหรือส่วนโคนออกอย่าให้เหลือ เพราะจะทำให้ย่อยยาก จากนั้นทำความสะอาดหัวมันสำปะหลังโดยการเคาะดินที่ติดมาให้หมด ซึ่งสามารถเอาเปลือกนอกของหัวมันออกได้ จากนั้นสับหัวมันขนาดชิ้นพอเหมาะ การสับนี้สามารถสับด้วยมือหรือเครื่องจักรก็ได้ แล้วตากให้แห้งซึ่งจะต้องแห้งสนิทจึงจะสามารถนำมันสำปะหลังที่ตากแห้งแล้วนั้นเข้าเครื่องบดหรือเครื่องผสมอาหาร คำศัพท์เกี่ยวกับมันสำปะหลัง หมวดหมู่:อาหารสัตว์.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและมันเส้น · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี จุฬาวัฒนฑล

ตราจารย์เกียรติคุณ มนตรี จุฬาวัฒนฑล (28 กรกฎาคม 2485 -) นักวิจัยที่มีผลงานทางด้านชีวเคมีของระบบสืบพันธุ์เพศชาย, ชีวเคมีจากพืช, เลคติน และมันสำปะหลัง เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายและการบริหารจัดการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และประธานสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาต.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและมนตรี จุฬาวัฒนฑล · ดูเพิ่มเติม »

ลาลับ

ลาลับ (Lalab,lalap) เป็นอาหารซุนดา ที่ประกอบด้วยผักดิบหลายชนิดกินกับน้ำพริกกะปิแบบพื้นบ้านหรือซัมบัลเตอราซี มีจุดกำเนิดที่ชวาตะวันตก ประเทศอินโดนีเซีย แต่ดั้งเดิม อาหารชนิดนี้ปรุงจากผักที่รับประทานได้ในท้องถิ่นของซุนดา ในปัจจุบันลาลับจะประกอบด้วย กะหล่ำปลี แตงกวา ผักกาดหอม, ถั่วแขก ถั่วฝักยาว มะเขือเทศ มะเขือ, แมงลัก, ผักโขม, ผักบุ้ง, ใบมันสำปะหลัง ใบมะละกอ ฟักแม้วและมะเขือพวง ในบางครั้งจะใส่ สะตอ และลูกเนียง ผักส่วนใหญ่ที่รับประทานในลาลับจะเตรียมด้วยการล้างในน้ำสะอาดแล้วรับประทานดิบ แต่บางชนิดก็นำไปต้ม นึ่งหรือผัดก่อน เช่น สะตอ อาจจะรับประทานดิบหรือผัด ส่วนฟักแม้ว ผักบุ้ง และใบมันสำปะหลัง มักจะต้มก่อน รับประทานกับซัมบัลเตอราซี ซึ่งมีรสเผ็ด ในปัจจุบัน ลาลับเป็น อาหารอินโดนีเซียที่ได้รับความนิยมทั่วประเทศ โดยรับประทานถัดจากอาหารจานหลัก เช่น ไก่ย่างหรือไก่ทอด ปลาดุกทอด ปลากระดี่ทอด หรือปลาย่าง อาหารจานนี้ใกล้เคียงกับอูลัมในมาเลเซี.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและลาลับ · ดูเพิ่มเติม »

สสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลทั่วไป

ทสรุปของเอทานอลส่วนผสมสำคัญที่นำมาใช้ทั่วโลก มีสสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลทั่วไปใช้หลายแบบทั่วโลก การใช้เอทานอลมีน้ำหรือไร้น้ำในเครื่องยนต์สันดาปภายในจะเป็นไปได้ต่อเมื่อมีการออกแบบหรือดัดแปรเครื่องยนต์สำหรับความมุ่งหมายนั้น และใช้ได้เฉพาะในรถยนต์ รถบรรทุกขนาดเบาและรถจักรยานยนต์ เอทานอลไร้น้ำสามารถผสมกับแกโซลีน (เบนซิน) สำหรับใช้ในเครื่องยนต์แกโซลีน แต่เอทานอลที่มีปริมาณเอทานอลสูงจะได้ก็ต่อเมื่อมีการดัดแปรเครื่องยนต์เล็กน้อย สสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลมีหมายเลข "E" ซึ่งอธิบายร้อยละของเชื้อเพลิงเอทานอลในสสารผสมโดยปริมาณ เช่น E85 คือ เอทานอลไร้น้ำ 85% กับแกโซลีน 15% การผสมเอทานอลต่ำ ตั้งแต่ E5 ถึง E25 เรียกอีกอย่างว่า แก๊สโซฮอล์ (gasohol, ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถานว่า แกโซฮอล) แม้ในระดับนานาชาติ คำนี้ใช้หมายถึงสูตรผสม E10 มากที่สุด สำหรับน้ำมันแก๊สโซฮอล์นั้นมีองค์ประกอบต่างกับน้ำมันเบนซิน คือน้ำมันเบนซินมี เอมทีบีอี (MTBE) เป็นตัวเพิ่มออคเทน ส่วนน้ำมันแก๊สโซฮอล์ใช้เอทานอล เป็นตัวเพิ่มออคเทน เอทานอลให้พลังงานน้อยกว่าเอมทีบีอี (MTBE) โดยต่างกันอยู่ร้อยละ 1.6-1.8 การใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์นั้นออกซิเจนที่เป็นส่วนประกอบอยู่ในเอทานอล จะช่วยให้การเผาไหม้ภายในห้องเครื่องสมบูรณ์ขึ้นอีก และลดปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่จะปล่อยออกมาจากท่อไอเสี.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและสสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลทั่วไป · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน

รานุกรมไทยสำหรับเยาวชน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสารานุกรมภาษาไทยจัดทำขึ้นเป็นรูปเล่ม โดยมีเนื้อหาบางส่วนเผยแพร่ในระบบออนไลน์ เป็นสารานุกรมไทยแบบเป็นชุด เน้นความรู้ที่เกิดขึ้นและใช้อยู่ในประเทศไทย จัดทำโดยคนไทย เพื่อให้คนไทยทุกเพศทุกวัยมีโอกาสได้อ่าน แต่ละเล่มรวบรวมเนื้อเรื่องจากหลากหลายสาขาวิชา เนื้อหาของเรื่องต่างๆ เรียบเรียงให้เหมาะสมกับ 3 ระดับความรู้ ให้แก่เด็กรุ่นเล็ก เด็กรุ่นกลาง และเด็กรุ่นใหญ่ รวมทั้งผู้ใหญ่ที่สนใจทั่วไป แต่ละเรื่องเริ่มต้นด้วยเนื้อหาของระดับเด็กรุ่นเล็ก ตามด้วยเนื้อหาของรุ่นกลางและรุ่นใหญ่ตามลำดับ เนื้อหาในแต่ละระดับพิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาดต่างกัน.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน · ดูเพิ่มเติม »

สาคู (อาหาร)

ู.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและสาคู (อาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

สาเก (สุรา)

ก สาเก เป็นคำเรียกของคำว่า "สุรา" ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งสามารถหมายถึงเหล้าได้หลายชนิด โดยทั่วไป สาเกจะหมายถึงเหล้าที่ทำมาจากข้าว ในขณะที่บางท้องที่จะหมายถึงเหล้าที่กลั่นจากมันสำปะหลังหรืออ้อย หรือในบางครั้งจะหมายถึงโชจูหรือที่รู้จักในชื่อ "วอดกาญี่ปุ่น" ต้นกำเนิดของสาเกมีกล่าวไว้หลายทฤษฎี ได้แก่ นำเข้าจากจากประเทศจีนสู่ประเทศญี่ปุ่น หรืออีกทฤษฎีว่ามีต้นกำเนิดในญี่ปุ่นเอง คำว่า สาเก ในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษมักจะเรียกผิดเป็น "สากี".

ใหม่!!: มันสำปะหลังและสาเก (สุรา) · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านซำทอง

ภาพถ่ายสถานที่ หมู่บ้านซำทอง เป็นหมู่บ้านหนึ่งในตำบลบ้านกลาง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ที่ยังไม่มีการพัฒนา ประชากรราว 488 คน 144 หลังคาเรือน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพาะปลูกยางพารา และมันสำปะหลัง หรือไม่ก็ประกอบอาชีพหาปลา อุตสาหกรรมครัวเรือน สภาพภูมิประเทศเป็นบริเวณภูเขา มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ มีถนนลูกรังสำหรับเดินทางเข้าออก หมวดหมู่:จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและหมู่บ้านซำทอง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส (Turks and Caicos Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรประกอบไปด้วยหมู่เกาะย่อยในเขตร้อน 2 หมู่เกาะ ได้แก่ หมู่เกาะเคคอสและหมู่เกาะเติกส์ อาณานิคมนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน และมีชื่อเสียงในด้านสถานที่ท่องเที่ยวและเป็นแหล่งหลบเลี่ยงภาษีของบริษัทต่างชาติ หมู่เกาะนี้อยู่ห่างจากเมืองไมแอมี รัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกาไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 970 กม.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและหมู่เกาะเติกส์และเคคอส · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์

ตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ (25 กันยายน 2490 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีวเคมี และชีวเคมีศึกษา มีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับโปรตีนและเอนไซม์ และเน้นการสอนและการวิจัยทางด้านนี้มาตลอดระยะเวลากว่า 35 ปี เป็นผู้ก่อตั้งชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อ ปี..

ใหม่!!: มันสำปะหลังและหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล

ันตรีหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (บุตรีของเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)) ประสูติ ณ วังเดิมเชิงสะพานถ่าน (หรือเรียกโดยสามัญว่า วังสะพานถ่าน) กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นตลาดบำเพ็ญบุญในปัจจุบันนี้ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 เวลา 17.25 น. ได้รับพระราชทานนาม ไตรทิพเทพสุต จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หวายหิน

หวายหิน เป็นหวายกอ ลำต้นเรียวเล็ก ปีนป่ายได้สูง ลำต้นสีเขียวอ่อนเป็นมัน กาบหุ้มลำมีสีเขียวเมื่อสด สีเทาแกมน้ำตาลเมื่อแห้ง มีหนามรูปเล็บเหยี่ยวขนาดเล็ก ฐานเป็นปุ่มนูนขึ้นเป็นสันกลม มีสีเหลืองปลายหนามชี้ขึ้น ผลรูปไข่ ปลายยังคงมีส่วนปลายของเกสรตัวเมียยื่นออกเล็กน้อย พบในสุมาตรา มาเลเซีย สิงคโปร์และไทย ใช้ทำหวายเส้นเพื่อจักสานงานที่ต้องการความละเอียด ชาวทีมวนในมาเลเซียใช้มัดของ นำกาบหุ้มที่มีหนามมาใช้ขูดเนื้อมันสำปะหลังเป็นเส้นๆ หรือใช้สีเมล็ดข้าวโพดออกจากฝัก.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและหวายหิน · ดูเพิ่มเติม »

อะฟลาทอกซิน

ูตรโครงสร้างของอะฟลาทอกซิน B1 สูตรโครงสร้างของอะฟลาทอกซิน G1 อะฟลาทอกซิน (aflatoxins) เป็นสารเคมีมีพิษและก่อมะเร็งที่ผลิตจากราบางชนิด (Aspergillus flavus และ Aspergillus parasiticus) ซึ่งเจริญในดิน พืชพรรณที่ย่อยสลาย ฟางและเมล็ดพืช มักพบในโภคภัณฑ์สำคัญที่เก็บอย่างไม่เหมาะสม เช่น มันสำปะหลัง พริกไทย ข้าวโพด เมล็ดฝ้าย ข้าวเดือย ถั่วลิสง ข้าวฟ่าง เมล็ดดอกทานตะวัน ผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว ข้าวสาลี และเครื่องเทศหลายชนิด เมื่ออาหารที่ปนเปื้อนถูกแปรรูป อะฟลาทอกซินจะเข้าสู่แหล่งอาหารทั่วไปซึ่งมีการพบทั้งในอาหารคนและสัตว์ เช่นเดียวกับในอาหารสัตว์สำหรับสัตว์ทางการเกษตร สัตว์ที่ได้อาหารที่ปนเปื้อนสามารถผ่านผลิตภัณฑ์การแปลงอะฟลาทอกซินสู่ไข่ ผลิตภัณฑ์นมและเนื้อสัตว์ได้ เด็กได้รับผลกระทบจากการสัมผัสอะฟลาทอกซินมากเป็นพิษ ทำให้การเติบโตช้า พัฒนาการช้า ตับเสียหายและมะเร็งตับ ผู้ใหญ่มีความทนต่อการสัมผัสมากกว่า แต่ก็ยังมีความเสี่ยง ไม่มีสัตว์ชนิดใดมีภูมิต้านทาน อะฟลาทอกซฺนจัดเป็นสารก่อมะเร็งได้มากที่สุดชนิดหนึ่งเท่าที่ทราบ หลังเข้าสู่ร่างกาย อะฟลาทอกซินจะถูกตับสร้างและสลายเป็นสารตัวกลางอีพอกไซด์กัมมันต์หรือถูกย่อยสลายด้วยน้ำกลายเป็นอะฟลาทอกซิน เอ็ม1 ซึ่งเป็นอันตรายน้อยกว่า อะฟลาทอกซินส่วนใหญ่ได้จากการกิน แต่อะฟลาทอกซินชนิดบี1 ซึ่งเป็นพิษมากที่สุด สามารถผ่านเข้าทางผิวหนังได้ ค่าระดับการแสดงฤทธิ์ที่องค์การอาหารและยาสหรัฐ (FDA) กำหนดสำหรับอะฟลาทอกซินในอาหารหรืออาหารสัตว์อยู่ที่ 20 ถึง 300 ส่วนต่อพันล้านส่วน FDA ยังสามารถประกาศเรียกคืนอาหารคนและสัตว์ได้เป็นมาตรการล่วงหน้าเพื่อป้องกันการสัมผัส คำว่า "อะฟลาทอกซิน" มาจากชื่อของราตัวหนึ่งที่ผลิตสารนี้ คือ Aspergillus flavus มีการประดิษฐ์คำนี้ประมาณ..

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอะฟลาทอกซิน · ดูเพิ่มเติม »

อายัมปันซุห์

อายัม ปันซุห์ (Ayam pansuh) เป็นอาหารที่นำเนื้อไก่ไปปรุงในกระบอกไม้ไผ่ เติมน้ำ ปรุงรสและปิดจุกด้วยใบมันสำปะหลัง ต้นกำเนิดของอาหารชนิดนี้ไม่ทราบแน่ชัด แต่ชาวอีบันและชาวบีดายุห์บนเกาะซาราวะก์ นิยมเตรียมอาหารนี้ในช่วงเทศกาลกาไวดยักหรือฉลองการสิ้นสุดเทศกาลเก็บเกี่ยว อาหารนี้เป็นที่นิยมของชาวมาเลเซียบนเกาะซาราวะก์ หมวดหมู่:อาหารมาเลเซีย.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอายัมปันซุห์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารฟิลิปปินส์

อาหารฟิลิปปินส์ อาหารฟิลิปปินส์ ประกอบด้วยอาหาร วิธีการเตรียมและประเพณีการรับประทานอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของประเทศฟิลิปปินส์ รูปแบบของการทำอาหารและอาหารที่เกี่ยวข้องมีการพัฒนาตลอดระยะหลายศตวรรษจากวัฒนธรรมดั้งเดิมของกลุ่มชนที่พูดภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนผสมกับอาหารสเปนและโปรตุเกส จีน อเมริกัน และอาหารอื่น ๆ ในเอเชียที่ปรับให้เข้ากับส่วนผสมพื้นเมืองและความนิยมในท้องถิ่น อาหารมีตั้งแต่ง่ายมากเช่นปลาทอดเค็มและข้าวและอาหารที่มีความประณีต อาหารยอดนิยมฟิลิปปินส์ยอดนิยมได้แก่ เลชอน (lechón หมูย่างทั้งตัว), ลองกานิซา (longganisa ไส้กรอกฟิลิปปินส์), ตาปา (tapa ทำจากเนื้อวัว), ตอร์ตา (torta ไข่เจียว), อาโดโบ (adobo ไก่และ/หรือหมูต้มในกระเทียม น้ำส้มสายชู น้ำมัน และซอสถั่วเหลืองเคี่ยวจนแห้ง), กัลเดเรตา (kaldereta สตูเนื้อในซอสมะเขือเทศ), เมชาโด (mechado เนื้อปรุงกับถั่วเหลืองและซอสมะเขือเทศ), โปเชโร (pochero กล้วยและเนื้อในซอสมะเขือเทศ), อาฟริตาดา (afritada ไก่หรือหมูในซอสมะเขือเทศกับผัก), การี-กาเร (kari-kare หางวัว และผักสุกในซอสถั่วลิสง), ปาตากรอบ (ขาหมูทอด), ฮาโมนาโด (hamonado หมูหวานในซอสสับปะรด), อาหารทะเลในน้ำซุปรสเปรี้ยว, ปันสิต (pancit ก๋วยเตี๋ยว) และลุมเปีย (lumpia ปอเปี๊ยะสดหรือทอด).

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอาหารฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารมัลดีฟส์

ปลาทูน่า เป็นส่วนประกอบหลักของอาหารมัลดีฟส์ แกงต่าง ๆ ของอาหารมัลดีฟส์ กับพารอตตา อาหารมัลดีฟส์แบบดั้งเดิมจะขึ้นอยู่กับส่วนประกอบสามรายการหลักต่อไปนี้และเครื่องปรุงอื่น.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอาหารมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารสัตว์

ตัวอย่างอาหารสัตว์ที่ผลิตขึ้นเอง อาหารสัตว์มีความสำคัญ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของสัตว์ อาหารของสัตว์อาจได้มาทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและหรือเกิดขึ้นจากการแปรรูปที่ได้จากพืช หรือสัตว์ เป็นสิ่งที่มีสารอาหารและเป็นประโยชน์ในการบำรุงร่างกายแก่สัตว์ ซึ่งอาหารสัตว์ส่วนมากจะได้มาจากพืช ได้แก่ มันสำปะหลัง รำ ปลายข้าว เป็นต้น อาหารสัตว์มี 2 ประเภท ได้แก่ แบ่งตามส่วนประกอบทางเคมีของสารอาหารและแบ่งตามปริมาณเยื่อใย อาหารสัตว์มี 2 แบบ คือ แบบหยาบและแบบข้น เมื่อสัตว์ได้กินอาหารเข้าไปแล้วและอาหารก็เปลี่ยนเป็นพลังงาน และพร้อมที่จะนำไปใช้ในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ได้แก่ การเจริญเติบโต อาหารสัตว์ถูกใช้ในการสร้างเนื้อเยื่อในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นส่วนของหนัง โครงกระดูก และอวัยวะภายใน สัตว์แต่ละวัยมีความต้องการของจำนวนและปริมาณของอาหารที่ต่างกัน จึงควรจัดหาอาหารให้ถูกต้องและประหยัด การดำรงชีพ การให้พลังงานในการทำงานของอวัยวะส่วนต่าง ๆ เพื่อสามารถให้มีชีวิตอยู่ต่อไปได้ เช่น การหายใจ การเคลื่อนไหว การสืบพันธุ์ สัตว์ที่มีวัยที่เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ จำเป็นต้องการอาหารเพื่อให้กระบวนการของอวัยวะสืบพันธุ์ทำงานได้เป็นปกติ ทั้งสัตว์เพศผู้และเพศเมีย การให้ผลผลิต เมื่ออาหารเข้าสู่ร่างกายแล้วจะส่งเสริมให้สุขภาพ ร่างกายของสัตว์มีความเจริญเติบโต ไม่ว่าจะเป็นเนื้อของสัตว์ ปริมาณนมจากสัตว์ เป็นต้น ดังนั้นอาหารสัตว์จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง จึงต้องมีการพัฒนาอาหารสัตว์ให้มีคุณค่าแก่สัตว์มากที่สุด เช่น การนำมันสำปะหลังมาทำเป็นมันหมัก หมวดหมู่:อาหาร หมวดหมู่:อาหารสัตว์.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอาหารสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารสิงคโปร์

้าวมันไก่แบบสิงคโปร์เป็นอาหารสิงคโปรที่ได้รับความนิยมมากและเป็นหนึ่งในอาหารประจำชาติของสิงคโปร์ อาหารสิงคโปร์ เป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในสิงคโปร์ ซึ่งเดิมเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซีย และได้มีปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมมานานนับศตวรรษ อาหารได้รับอิทธิพลจากชาวพื้นเมืองมลายู ชาวจีน อินโดนีเซีย เปอรานากัน วัฒนธรรมตะวันตกซึ่งมาจากอังกฤษ และกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลโปรตุเกสซึ่งเรียกชาวคริสตัง อิทธิพลจากพื้นที่อื่นๆ เช่น ศรีลังกา ไทย ฟิลิปปินส์ และตะวันออกกลาง พบในอาหารพื้นเมืองเช่นกัน ในสิงคโปร์ อาหารถือเป็นสิ่งสำคัญ ในการกำหนดเอกลักษณ์ของชาติและความเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งในสิงคโปร์ การพบปะและรับประทานอาหารระหว่างวัฒนธรรมเป็นเรื่องปกติ อาหารสิงคโปร์ได้รับการส่งเสริมเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว รัฐบาลสิงคโปร์ได้จัดเทศกาลอาหารสิงคโปร์ในเดือนกรกฎาคมเพื่อส่งเสริมอาหารสิงคโปร์ สิงคโปร์เป็นประเทศเล็กที่มีประชากรหนาแน่นมาก ที่ดินเป็นทรัพยากรสำคัญที่จำเป็นสำหรับอุตสาหกรรมและที่อยู่อาศัย ผลิตภัณฑ์และเครื่องปรุงส่วนใหญ่นำเข้ามา แม้ว่าจะมีกลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กที่ปลูกผัก ผลไม้ หรือสัตว์ปีกและปลา เนื่องจากสิงคโปร์ตั้งอยู่บนเส้นทางการค้าที่สำคัญ จึงสามารถพบผลิตภัณฑ์และเครื่องปรุงทั่วโลกได้ที่นี.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอาหารสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารอินโดนีเซีย

ตัวอย่างของอาหารซุนดาหนึ่งมื้อ; ''อีกันบาการ์'' (ปลาย่าง), ''นาซีติมเบ็ล'' (ข้าวห่อใบตอง), ''อายัมโกเร็ง'' (ไก่ทอด), ''ซัมบัล'', ''เต็มเปทอด'' และเต้าหู้, และ ''ซายูร์อาเซ็ม''; ชามใส่น้ำและมะนาวคือโกโบกันใช้ล้างมือ สะเต๊ะในอินโดนีเซีย อาหารอินโดนีเซีย (Masakan Indonesia) เป็นอาหารทีมีความหลากหลายทางด้านรูปลักษณ์และสีสันเพราะประกอบด้วยประชากรจากเกาะต่าง ๆ ที่มีคนอยู่อาศัยประมาณ 6,000 เกาะจากทั้งหมด 18,000 เก.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอาหารอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกันทรลักษ์

กันทรลักษ์ อำเภอน่าอยู่อันดับที่ 9 ของประเทศไทย เป็นอำเภอขนาดใหญ่ มีพื้นที่มากที่สุดในจังหวัดศรีสะเกษและมีประชากรมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ไม่รวมอำเภอเมือง) มีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญอยู่มากมาย พร้อมทั้งมีดินที่มีความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งเกษตรกรรมผลิตพืชผลออกจำหน่ายอยู่หลายประเภท เช่น เงาะ ทุเรียน ลำไย สะตอ ลิ้นจี่ ยางพารา และผักสวนครัว คำแปลของชื่ออำเภอ มาจากภาษาบาลี กนฺทร: ส่วนแห่งภูเขา อันน้ำเซาะ, ซอก, ซอกเขา, ถ้ำ, ลำธาร + ลกฺข: จำนวนแสน (สันสฤต ลกฺษ) มีที่มาจากชื่อเดิมบ้านห้วยลำแสนไพรอาบาล.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอำเภอกันทรลักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังโป่ง

อำเภอวังโป่ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอำเภอวังโป่ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสัตหีบ

อำเภอสัตหีบ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชลบุรี อยู่ห่างจากตัวจังหวัดชลบุรีประมาณ 85 กิโลเมตร ความสำคัญของสัตหีบคือเป็นเมืองแห่งฐานทัพเรือและเป็นฐานทัพเรือที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอำเภอสัตหีบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองหิน

อำเภอหนองหิน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเล.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอำเภอหนองหิน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทุ่งเสลี่ยม

ทุ่งเสลี่ยม (40px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุโขทัย เป็นประตูสู่อารยธรรมล้านนา ศิลปะล้านนา "ทุ่งเสลี่ยม" เป็นภาษาล้านนา หมายถึง ทุ่ง.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอำเภอทุ่งเสลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปากช่อง

ปากช่อง เป็นอำเภอแรกสุดของการเดินทางจากถนนมิตรภาพเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอำเภอปากช่อง · ดูเพิ่มเติม »

อูรัป

อูรัป (ล่างขวา) ซึ่งกินกับนาซีกูนิง อูรัป (urap) หรือ อูรัป-อูรัป (urap-urap) หรือยำมะพร้าว เป็นยำผักสุกตามฤดูกาลและใส่มะพร้าวแห้ง เป็นอาหารอินโดนีเซียที่พบได้ทั่วไป โดยเฉพาะในอาหารชวา สามารถกินเดี่ยว ๆ ในรูปของอาหารมังสวิรัติได้ หรือเป็นเครื่องเคียงของอาหารจานเนื้อ เช่นในอาหารชวาใช้กินกับตุมเปิง (ข้าวพูนสูงเป็นรูปกรวย) หรือนาซีกูนิง (ข้าวหุงกับกะทิ ใส่ขมิ้น).

ใหม่!!: มันสำปะหลังและอูรัป · ดูเพิ่มเติม »

องค์การสุรา กรมสรรพสามิต

องค์การสุรา กรมสรรพสามิต (อังกฤษ: The Liquor Distillery Organization) เป็นหน่วยงานในสังกัดกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2506 ในรัฐบาลสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร เพื่อดำเนินการตามนโยบายพิเศษ ทางด้านพาณิยชกรรมและอุตสาหกรรมแอลกอฮอล์ เดิมมีทั้งหมด 6 สาขา คือ พระนครศรีอยุธยา ชัยนาท สระบุรี นครราชสีมา ลพบุรี และกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นสำนักงานใหญ.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและองค์การสุรา กรมสรรพสามิต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาฬสินธุ์

ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและจังหวัดกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: มันสำปะหลังและจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดไพรแวง

รแวงสำนักงานราชบัณฑิต.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและจังหวัดไพรแวง · ดูเพิ่มเติม »

ธานี สมบูรณ์ทรัพย์

ลตำรวจเอก ธานี สมบูรณ์ทรัพย์ อดีตรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2491 ที่อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี เป็นบุตรของนางทองม้วน สมบูรณ์ทรัพย์ ที่มีกิจการของครอบครัวเป็นโรงงานน้ำตาลและมันสำปะหลัง ในวัยเด็กครอบครัวถูกตำรวจที่ไม่ดีคุกคาม จึงเป็นแรงบันดาลใจให้อยากเป็นตำรวจ สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ศรีราชา ปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ. 2511 การศึกษาเพิ่มเติมปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากประเทศสหรัฐอเมริกา, หลักสูตรฝ่ายอำนวยการ รุ่นที่ 4 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก, หลักสูตรการบริหารตำรวจชั้นสูง รุ่นที่ 12, สถาบันพัฒนาข้าราชการตำรวจ ชีวิตส่วนตัว พล.ต.อ.ธานี มีชื่อเล่นที่เพื่อน ๆ เรียกกันว่า "ล้าน" ทำให้มีชื่อเล่นหนึ่งจากสื่อมวลชนว่า "บิ๊กล้าน" สมรสกับนางชัชชมา สมบูรณ์ทรัพย์ (นามสกุลเดิม: ผดุงไทย) มีบุตรสาวหนึ่งคนชื่อ นางสาวสดีธรณ์ สมบูรณ์ทรัพย์ (ชื่อเล่น: นกฮูก) พล.ต.อ.ธานี รับราชการครั้งแรกในยศร้อยตำรวจตรี (ร.ต.ต.) เมื่อปี พ.ศ. 2516 ในตำแหน่งรองสารวัตร แผนก 3 กองกำกับการ 6 กองบังคับการปราบปราม (รอง สว.ผ.3กก 6 ป.) และเจริญเติบโตในหน้าที่การงานเรื่อยมาจนได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผู้ช่วย ผบช.น.) และเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (รอง ผบช.น.) ก่อนที่จะได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบช.น.) เมื่อปี พ.ศ. 2546 และที่สุดได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ผบช.น.) เมื่อปี พ.ศ. 2547 จากนั้น พล.ต.อ.ธานีได้ย้ายไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (ผบช.ก.) และขึ้นเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ผู้ช่วย ผบ.ตร.) ก่อนที่จะได้เลื่อนเป็นรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (รอง ผบ.ตร.) เมื่อปี พ.ศ. 2550 พล.ต.อ.ธานี มีประวัติการทำงานที่ตรงไปตรงมา โปร่งใส จนได้รับฉายาว่า "นายพลไม้บรรทัด" โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อภายหลังการรัฐประหารเมื่อปี พ.ศ. 2549 ที่มีการเปลี่ยนแปลงขั้วการเมือง พล.ต.อ.ธานีได้พูดประโยคหนึ่งที่มีนัยว่า "บัดนี้ฟ้าเปลี่ยนสีแล้ว" เมื่อรับราชการอยู่ที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีนโยบายมิให้ลูกน้องใต้บังคับบัญชารับเงินส่วยทุกประเภท มีหลายคดีสำคัญ ๆ และอยู่ในความสนใจของสาธารณชนหลายคดีที่ดูแลรับผิดชอบ เช่น การไม่อนุญาตให้เปิดสถานบันเทิงยามราตรีเกินเวลารวมทั้งของนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์, คดีหายตัวไปของนายสมชาย นีละไพจิตร, คดีหายตัวไปของนักธุรกิจชาวซาอุดิอาระเบีย เป็นต้น พล.ต.อ.ธานี สมบูรณ์ทรัพย์ กลายเป็นที่สนใจของสาธารณชนอีกครั้ง เมื่อได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบคดีลอบสังหารนายสนธิ ลิ้มทองกุล แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ด้วยคำสั่งโดยตรงจากนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี โดยเปลี่ยนหน้าที่นี้จาก พล.ต.อ.จงรัก จุฑานนท์ รอง ผ.ตร.อีกคน ซึ่ง พล.ต.อ.ธานีมีความตั้งใจจะทำให้คดีนี้เป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของตนก่อนจะเกษียณอายุราชการไปในปลายเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2552 ซึ่ง พล.ต.อ.ธานีมีความมั่นใจว่าจะสามารถสรุปคดีนี้ได้ก่อนเกษียณแม้จะมีหลายต่อหลายครั้งที่เป็นข่าวว่ามีอุปสรรคก็ตาม พล.ต.อ.ธานี ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติเมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: มันสำปะหลังและธานี สมบูรณ์ทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วพู

ั่วพู เป็นพืชล้มลุก ดอกสีขาวอมม่วง ผลเป็นฝักแบนยาวมี 4 ปีก ความยาวของฝักประมาณ 3-4 นิ้ว ภายในมีเมล็ดกลมเรียบ นิยมนำถั่วพูมาประกอบอาหารประเภทยำหรือกินสด ถั่วพูเป็นผักที่เสียเร็ว เหี่ยวง่ายและเกิดสีน้ำตาลเร็ว เก็บได้ไม่นาน คุณค่าทางอาหาร ถั่วพูมีคาร์โบไฮเดรต เส้นใย โปรตีน ไขมัน แคลเซียม เหล็ก ฟอสฟอรัส วิตามินเอ ซี อี บี1 บี2 ไนอะซิน สรรพคุณทางยาบำรุงกำลัง แก้อ่อนเพลีย บรรเทาอาการปวดเมื่อย แก้ตัวร้อน ลดไข้ ในอาหารไทยนำฝักอ่อนมาลวก กินกับน้ำพริก ยำ หั่นใส่ในแกงส้ม แกงป่าหรือกินกับขนมจีน หั่นผสมในทอดมัน ยอดอ่อนและดอกใช้จิ้มน้ำพริก ใบอ่อนทำสลัดหรือใส่ในแกงจืด เมล็ดแก่คั่วให้สุกรับประทานได้ หัวแก่ใช้เชื่อมเป็นของหวานหรือเผารับประทานเช่นเดียวกับมันเทศหรือมันสำปะหลัง ในพม่า นำหัวถั่วพูไปต้มจิ้มน้ำจิ้ม กินเป็นอาหารว่าง ใบอ่อนกินเป็นสลัด ในปาปัวนิวกินีนำหัวถั่วพูไปห่อใบตองหรือใบไผ่แล้วย่างรับประทาน ในอินโดนีเซียนำเมล็ดถั่วพูไปทำเทมเป้เช่นเดียวกับถั่วเหลือง หัวถั่วพูนำมาสับ ตากแห้งคั่วให้เหลือง ชงน้ำดื่มต่างน้ำ เป็นยาบำรุงกำลัง ในทางสิ่งแวดล้อม ถั่วพูสามารถส่งเสริมการย่อยสลายแอนทราซีนและฟลูออรีนในไรโซสเฟียร์ได้ดี.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและถั่วพู · ดูเพิ่มเติม »

ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย

ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอยู่อย่างมากมาย และยังมีความอุดมสมบูรณ์อยู่ แบ่งออกเป็น ทรัพยากรดิน ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้ำ และทรัพยากรแร่ธาต.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ขนมมันสำปะหลัง

นมมันสำปะหลัง ขนมมันสำปะหลังเป็นขนมที่พบได้ทั่วไปทั้งภาคกลางและภาคเหนือ โดยทางเหนือเรียก ขนมมันต้าง ส่วนผสมหลักเป็นมันสำปะหลังโม่ละเอียด นำไปผสมกับน้ำตาลและเกลือ นึ่งให้สุก ซึ่งเมื่อสุกแล้วจะใสและเหนียวกว่าเมื่อขนมดิบ เวลารับประทาน ตัดเป็นชิ้นๆ นำไปคลุกกับมะพร้าวขู.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและขนมมันสำปะหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวคุณกิตติ

้างคาวคุณกิตติ, ค้างคาวกิตติ หรือ ค้างคาวหน้าหมู (อังกฤษ: Kitti's hog-nosed bat, Bumblebee bat) เป็นค้างคาวที่จัดอยู่ในสภาวะที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ และเป็นค้างคาวเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในวงศ์ Craseonycteridae และสกุล Craseonycteris พบได้ทางตะวันตกของประเทศไทย และทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศพม่า อาศัยอยู่ตามถ้ำหินปูนริมแม่น้ำ ค้างคาวคุณกิตติเป็นค้างคาวและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก มีสีน้ำตาลปนแดงเรื่อๆ หรือสีเทา มีจมูกคล้ายจมูกหมู มีอุปนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เฉลี่ยแล้วกลุ่มละ 100 ตัวต่อถ้ำ ออกหากินเป็นช่วงสั้นๆในตอนเย็นและเช้ามืด หากินไม่ไกลจากถ้ำที่พักอาศัย กินแมลงเป็นอาหาร ตกลูกปีละหนึ่งตัว สภาวะของค้างคาวคุณกิตติในประเทศพม่าไม่เป็นที่แน่ชัด และประชากรที่พบในประเทศไทยก็พบว่าจำกัดอยู่ในเพียงจังหวัดเดียว ทำให้ค้างคาวคุณกิตติอยู่ในสภาวะที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ สาเหตุหลักเกิดจากการคุกคามจากมนุษย์ และการลดลงของถิ่นที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและค้างคาวคุณกิตติ · ดูเพิ่มเติม »

ตีนูตูวัน

ตีนูตูวัน (tinutuan) หรือ บูบูร์มานาโด (bubur manado) เป็นโจ๊กของชาวมานาโด กินกับผักเช่นผักโขม ผักบุ้ง ข้าวโพด ฟักทอง มันเทศ หรือมันสำปะหลัง ตีนูตูวันเป็นอาหารที่มีจุดกำเนิดที่มานาโด จังหวัดซูลาเวซีเหนือ แต่บางคนก็บอกว่ามาจากมีนาฮาซา จังหวัดซูลาเวซีเหนือ ไม่ทราบที่มาของคำว่าตีนูตูวัน และไม่ทราบจุดกำเนิดแต่เริ่มเป็นที่นิยมระหว่างช่วง..

ใหม่!!: มันสำปะหลังและตีนูตูวัน · ดูเพิ่มเติม »

ซอร์บิทอล

ซอร์บิทอล (sorbitol) เป็นน้ำตาลแอลกอฮอล์หรือสารให้ความหวาน ซึ่งให้แคลอรีน้อยกว่าซูโครสหรือน้ำตาลทั่วไปถึง 1 ใน 3 หากบริโภคมากเกินไปจะเกิดอาการท้องร่วงรุนแรงและน้ำหนักลด พบในสาหร่ายทะเล สกัดได้จากแอปเปิ้ล สาลี่ องุ่น แต่ปัจจุบันสกัดได้จากอ้อย และมันสำปะหลัง ใช้กับเครื่องดื่มจะลดความขมของน้ำตาล ลักษณะทั่วไป เป็นเกล็ดเมล็ด ไม่มีกลิ่น ความหวานกลมกล่อม ความหวานเป็น 60% ของน้ำตาลทราย สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ซอร์บิทอล เหลว หรือ น้ำ มีสีขาวใสๆ ไม่ขุ่น จะเหนียวหนืดพอสมควร บรรจุมาในถัง 200 ลิตร และ ซอร์บิทอล ผง เป็นผงผลึกขาว เป็นเกล็ดเล็กมาก.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและซอร์บิทอล · ดูเพิ่มเติม »

ซัมบัล

ซัมบัล (อินโดนีเซียและsambal) เป็นอาหารที่ปรุงจากพริก มีลักษณะคล้ายน้ำพริกในอาหารไทย เป็นที่นิยมในประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และภาคใต้ของฟิลิปปินส์ และศรีลังกา รวมทั้งในเนเธอร์แลนด์และซูรินามซึ่งได้รับอิทธิพลจากอาหารชวา ทำได้ทั้งจากพริกขี้หนูและพริกอื่น ๆ บางชนิดมีรสเผ็ดมาก ซัมบัลเป็นคำที่มีรากศัพท์มาจากคำในภาษาชวาว่า ซัมเบ็ล ซึ่งยืมมาใช้ในภาษามาเลเซียและภาษาอินโดนีเซี.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและซัมบัล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: มันสำปะหลังและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

แมงอีนูน

แมงอีนูน หรือ แมงกีนูน (Cockchafer) หรือ แมงนูน หรือ กุดกีนูน (อีสาน) หรือ แมงนูนหลวง เป็นแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Melolontha melolontha อยู่ในวงศ์ Scarabaeidae มีรูปร่างอ้วนป้อมเป็นรูปไข่ หัวมันเรียบ มีหนวดแบบใบไม้ 1 คู่ที่ปาก ปากเป็นแบบปากกัด ตามีขนาดใหญ่มองเห็นได้ชัด ที่อกปล้องแรกเห็นชัดกว่าปล้องอื่น ๆ ปีกมี 2 คู่ คู่หน้ามีลักษณะแข็งเรียบเป็นมันมีหน้าที่เป็นเปลือกหุ้มตัว ส่วนปีกคู่ที่สองนั้นบางใส ใช้สำหรับบิน ส่วนท้องอยู่ด้านล่างมีปีกที่แข็งคลุม หัว อกและขามีสีน้ำตาลไปจนถึงสีดำ ปีกที่แข็งมีสีน้ำตาลอ่อน ขนาดลำตัวยาวประมาณ 30 มิลลิเมตร แมงอีนูน จัดเป็นแมลงศัตรูพืช เพราะกัดแทะใบของพืชที่เป็นพืชเศรษฐกิจ อาทิ มะขามเทศ, มะขาม, อ้อย, มันสำปะหลัง, พุทรา แมงอีนูนมีวงจรชีวิตเป็นหนอนอยู่ใต้ดินนานนับปี ก่อนจะเข้าสู่ระยะดักแด้และเป็นตัวเต็มวัยในช่วงต้นฤดูฝนของทุกปี ซึ่งจะพบแมงอีนูนเป็นจำนวนมากในเวลานี้ แมงอีนูนจัดเป็นอาหารรับประทานในวิถีชีวิตของชาวเหนือและชาวอีสาน อีกทั้งยังเป็นการกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยการจับแมงอีนูนจะกระทำในช่วงหัวค่ำ ใช้แสงไฟจากนีออนเป็นตัวล่อ หรือเขย่าจากต้นไม้ที่มีแมงอีนูนจำนวนอาศัยอยู่ก็จะหล่นลงมาให้จับได้ง่าย ๆ ซึ่งการปรุงแมงอีนูนทำได้ทั้งวิธีการต้มและทอด ในบางพื้นที่ เช่น จังหวัดกำแพงเพชร มีการค้าขายกันเป็นล่ำเป็นสันด้ว.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและแมงอีนูน · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกากลาง

สหพันธ์แอฟริกากลาง (ยกเลิก) แอฟริกากลาง เป็นดินแดนในทวีปแอฟริกา ได้ถูกนิยามไว้สองอย่างคือ Central Africa และ Middle Africa (นิยามโดยสหประชาชาติ) ประกอบด้วยประเท.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและแอฟริกากลาง · ดูเพิ่มเติม »

แทนนิน

แทนนิน (tannin) เป็นสารที่มีโมเลกุลใหญ่และโครงสร้างซับซ้อน มีสถานะเป็นกรดอ่อนรสฝาด เป็นสารให้ความฝาดในพืช พบได้ในพืชหลายชนิด แทนนิน มี 2 ชนิด คือ คอนเดนส์แทนนิน (condensed tannins) หรือเรียกอีกอย่างว่า โปรแอนโทรไซยานิน (proanthrocyanin) พบได้ในส่วนเปลือกต้น และแก่นไม้เป็นส่วนใหญ่ และ สารไฮโดรไลซ์แทนนิน (hydrolysable tannins) คือแบบที่สามารถถูกแยกออกเป็นโมเลกุลเล็กๆ ได้ พบมากในส่วนใบ ฝัก และส่วนที่ปูดออกมาจากปกติ เมื่อต้นไม้ได้รับอันตราย (gall) แทนนิน มีคุณสมบัติตกตะกอนโปรตีน ทำให้หนังสัตว์ไม่เน่าเปื่อย จึงมีการใช้ในอุตสาหกรรมฟอกหนังด้วย แทนนินมีฤทธิ์ฝาดสมาน จึงใช้เป็นยารักษาโรคท้องเสียได้ แทนนินมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียได้ ตัวอย่างแทนนินได้แก่ theogallin, gallic acid, ellagic acid แทนนิน มาจากคำว่า “แทนนิ่ง” "tanning" ซึ่งแปลว่ารักษาไว้และกันน้ำ แทนนิ่งคือการเปลี่ยนหนังสัตว์ที่ตายแล้วให้เป็นผลิตภัณฑ์หนังโดยการใช้สารสกัดจากพื.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและแทนนิน · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นโลเรโต

แคว้นโลเรโต (Loreto) เป็นแคว้นในเปรู ตั้งอยู่เหนือสุดของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่เกือบ 1 ใน 3 ของประเทศ เป็นแคว้นที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรเบาบางที่สุดเนื่องจากตั้งอยู่ในเขตป่าฝนแอมะซอน เมืองหลวงของแคว้นชื่อเมือง อีกีโตส ลโลเรโต หมวดหมู่:แคว้นโลเรโต.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและแคว้นโลเรโต · ดูเพิ่มเติม »

แป้ง

แป้ง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและแป้ง · ดูเพิ่มเติม »

แป้งมันสำปะหลัง

https://www.bigtree15.com/ แป้งมันสำปะหลัง(Tapioca Starch) สำปะหลัง เป็นแป้งที่ได้จากมันสำปะหลัง ลักษณะของแป้งมีสีขาว เนื้อเนียน ลื่นเป็นมัน เมื่อทำให้สุกด้วยการกวนกับน้ำไฟอ่อนปานกลาง แป้งจะละลายง่าย สุกง่าย แป้งเหนียวติดภาชนะ หนืดข้นขึ้นเรื่อยๆ ไม่มีการรวมตัวเป็นก้อน เหนียวเป็นใย ติดกันหมด เนื้อแป้งใสเป็นเงา พอเย็นแล้วจะติดกันเป็นก้อนเหนียว ติดภาชนะ ใช้ทำลอดช่องสิงคโปร์ ครองแครงแก้ว เป็นต้น.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและแป้งมันสำปะหลัง · ดูเพิ่มเติม »

แป้งประกอบอาหาร

ข้าวสาลีและข้าวไรย์ชนิดต่าง ๆ จากซ้ายไปขวา: แป้งสาลีชนิด 550, แป้งสาลีชนิด 1050 และแป้งข้าวไรย์ชนิด 1150 แป้งประกอบอาหาร เป็นผงแป้งที่ทำจากธัญพืชบด ถั่วบด หรือเมล็ดพืชหรือรากชนิดอื่น ๆ (อย่างเช่น มันสำปะหลัง) แป้งประกอบอาหารเป็นส่วนประกอบหลักของขนมปัง ซึ่งถือเป็นอาหารหลักในหลายวัฒนธรรม ทำให้การมีแป้งประกอบอาหารเพียงพอมีส่วนให้เป็นเศรษฐกิจหลักและเป็นประเด็นทางการเมืองหลายครั้งตลอดมา แป้งสาลีเป็นส่วนประกอบอาหารชนิดหนึ่งที่สำคัญที่สุดในวัฒนธรรมยุโรป อเมริกาเหนือ ตะวันออกกลาง อินเดีย และแอฟริกาเหนือ และเป็นตัวกำหนดส่วนประกอบอาหารในขนมปังและขนมอบ ในรูปแบบตามแต่ละวัฒนธรรม ขณะที่แป้งสาลีถือว่าเป็นแป้งที่พบได้ทั่วไป ข้าวโพดถือว่าสำคัญต่ออาหารพื้นเมืองของชาวเมโสอเมริกันตั้งแต่ยุคโบราณ และยังคงเป็นอาหารหลักในทวีปอเมริกา แป้งข้าวไรย์เป็นส่วนประกอบสำคัญของขนมปังในยุโรปกลาง และสามารถใช้ข้าวในแป้งประกอบอาหารได้ แต่ไม่เป็นที่นิยมนัก หมวดหมู่:แป้ง หมวดหมู่:ข้าวสาลี หมวดหมู่:อาหารหลัก หมวดหมู่:วัตถุเจือปนอาหาร หมวดหมู่:สารฟอกขาว.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและแป้งประกอบอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

ใบไม้

ใบไม้ โครงเส้นใบของใบไม้ ใบไม้ (leaf) เป็นส่วนที่สร้างอาหารโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ใบไม้มีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันหลายแบบแบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ๆ ตามลักษณะที่แตกต่างกัน รูปพหูพจน์ของ leaf คือ leaves ส่วน foliage เป็นกลุ่มคำนามที่ใช้อธิบายว่าใบเป็นส่วนประกอบหนึ่งของพื.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและใบไม้ · ดูเพิ่มเติม »

โรตีบูวายา

รตีบูวายา หรือ ขนมปังจระเข้ (roti buaya) เป็นขนมปังของชาวเบอตาวี เป็นขนมปังหวานทำเป็นรูปตัวจระเข้ ' ใช้ในงานแต่งงานของชาวเบอตาวี ชาวยุโรปทั้งโปรตุเกสและดัตช์ได้นำการทำขนมปังและเพสตรีมายังปัตตาเวีย ก่อนที่ชาวยุโรปจะนำการทำขนมปังมาเผยแพร่ ชาวเบอตาวีจะใช้มันสำปะหลังหรือมันมาทำเป็นรูปจระเข้ ชาวเบอตาวีเชื่อว่าจระเข้จะมีคู่ครองเพียงตัวเดียว ดังนั้น ขนมปังนี้จึงเป็นสัญลักษณ์ของความยั่งยืนของชีวิตสมร.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและโรตีบูวายา · ดูเพิ่มเติม »

โปย

ปย (poi) เป็นคำศัพท์จากภาษาฮาวาย ใช้เรียกอาหารจานหลักสำคัญต่อชาวพอลินีเซียซึ่งทำจากหัวเผือก (ในภาษาฮาวายเรียกว่า กาโล) โปยเป็นส่วนประกอบสำคัญของอาหารฮาวาย โปยทำจากหัวเผือกนึ่งหรืออบแล้วนำไปบด ระหว่างบดผู้ทำโปยจะใส่น้ำเติมไปทีละนิด จนกว่าจะพอใจกับความเหนียว ซึ่งแล้วแต่ความชอบของผู้บริโภค บางคนชอบแบบเหลวๆ ส่วนบางคนชอบแบบเหนียวข้น ผู้บริโภคมักจะใช้นิ้วมือตักโปยขึ้นรับประทาน โดยมีวิธีการตักที่ต่างกัน เช่น ตักหนึ่งนิ้ว ตักสองนิ้ว หรือ ตักสามนิ้ว อันมักขึ้นอยู่กับความเหนียวของโปย ถ้าเหนียวน้อยก็ต้องใช้หลายนิ้ว ถ้าเหนียวมากก็ใช้น้อยนิ้ว โปยที่ทำจากเผือก ไม่ควรสบสนกั.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและโปย · ดูเพิ่มเติม »

ไบโอแอลกอฮอล์

อแอลกอฮอล์ (bioalcohol) เป็น แอลกอฮอล์ ที่ได้จากแหล่งชีวภาพไม่ใช่จาก ปิโตรเลียม ตัวอย่างเช่น เมทานอล และ เอทานอล มันถูกใช้เป็นส่วนผสมของ เชื้อเพลิงชีวภาพ (biofuel) กับน้ำมันปิโตรเลียมเพื่อใช้กับรถยนต์รุ่นใหม่ ๆ ที่พัฒนาจนสามารถใช้แอลกอฮอล์ล้วน ๆ เป็นเชื้อเพลิงได้ซึ่งเรียกว่า BA100 (หรือไบโอแอลกอฮอล์ 100%) เอทานอลโดยทั่วไปในประเทศไทยผลิตจากอ้อยและมันสำปะหลัง แต่ในสหรัฐอเมริกาผลิตจากข้าวโพด ปัจจุบันในประเทศไทย ไบโอแอลกอฮอล์ 10 % หรือ BA10 ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายโดยมีชื่อเรียกว่า แก๊สโซฮอล (ในสหรัฐอเมริกา จะใช้ E แทน BA เช่น E85 หมายถึงแก๊สโซฮอลที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์สูงถึง 85%) มันถูกใช้แทน MTBE ซึ่งเป็นสารเพิ่มออกเทนในน้ำมันปิโตรปิเลียม (chemical oxygenate) โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ได้พัฒนาโรงงานต้นแบบสำหรับผลิตไบโอเอทานอลจากกากน้ำตาล และได้ทำการทดลองและวิจัยจนมีข้อมูลทางด้านเทคนิคอย่างครบด้าน เมื่อ 19 ก..

ใหม่!!: มันสำปะหลังและไบโอแอลกอฮอล์ · ดูเพิ่มเติม »

ไซยาไนด์

HOMO ลักษณะทางกายภาพ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ ถ้าเป็นของเหลว จะเป็นของเหลวใส ระเหยเป็นแก๊สได้ง่าย ที่อุณหภูมิห้อง มีกลิ่นเฉพาะตัวเรียกว่ากลิ่นอัลมอนด์ขม (Bitter almond) เมื่อกลายเป็นแก๊ส จะเป็น แก๊สไม่มีสี มีกลิ่นอัลมอนด์ขมเช่นกัน สำหรับโซเดียมไซยาไนด์และโพแทสเซียมไซยาไนด์ เป็นของแข็ง มีลักษณะเป็นเกร็ดสีขาว มีกลิ่นอัลมอนด์ขมอ่อนๆ คำอธิบาย ไซยาไนด์ (Cyanides) เป็นกลุ่มของสารเคมีที่มีไซยาไนด์ไอออน (CN-) เป็นองค์ประกอบ สารเคมีกลุ่มนี้มีความเป็นพิษสูงมาก ใช้ในการทำงานบางอย่าง เช่น การชุบโลหะ การสังเคราะห์สารเคมี การตรวจวิเคราะห์ทางเคมีในห้องปฏิบัติการ สารประกอบกลุ่มที่เป็นเกลือไซยาไนด์ (Cyanide salts) มีหลายชนิด ที่พบบ่อย เช่น โซเดียมไซยาไนด์ (Sodium cyanide) โพแทสเซียมไซยาไนด์ (Potassium cyanide) หรือพบในรูปเกลือชนิดอื่นๆ เช่น แคลเซียมไซยาไนด์ (Calcium cyanide) ไอโอดีนไซยาไนด์ (Iodine cyanide) เป็นต้น เมื่อเกลือไซยาไนด์สัมผัสกับกรด หรือมีการเผาไหม้ของพลาสติกหรือผ้าสังเคราะห์ จะได้แก๊สไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Hydrogen cyanide) เกิดขึ้น แก๊สชนิดนี้มีพิษอันตรายเช่นเดียวกับเกลือไซยาไนด์ แต่แพร่กระจายได้ง่ายกว่า เป็นสาเหตุสำคัญอย่างหนึ่งของการเสียชีวิตในผู้ที่สูดควันไฟกรณีที่มีไฟไหม้ในอาคาร นอกจากนี้ยังพบแหล่งของไซยาไนด์ในธรรมชาติได้จากสารอะมิกดาลิน (Amygdalin) ซึ่งพบได้ในเมล็ดของแอพพริคอท (Apricot) และเชอรรี่ดำ (Black cherry) และสารลินามาริน (Linamarin) ซึ่งพบได้ในหัวและใบของมันสำปะหลัง (Cassava) ในประเทศไทยพบมีรายงานพิษไซยาไนด์เนื่องจากการกินมันสำปะหลังได้บ้างพอสมควร และบางรายถึงกับทำให้เสียชีวิต.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและไซยาไนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เชื้อเพลิงชีวภาพ

ื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) เป็น เชื้อเพลิง ที่ได้จาก ชีวมวล หรือ มวลชีวภาพ ซึ่งเป็นผลผลิตจากสิ่งมีชีวิต หรือ ผลิตผลจากการสร้างและสลายของสิ่งมีชีวิต (metabolic byproducts) เช่นมูลสัตว์ ซึ่งเป็น พลังงานทดแทน (Alternative energy) และเป็นพลังงานสะอาด (clean energy)ไม่เหมือนพลังงานจาก แหล่งธรรมชาติ อื่น เช่น ปิโตรเลียม ถ่านหิน และ เชื้อเพลิง นิวเคลียร.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและเชื้อเพลิงชีวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

เชื้อเพลิงเอทานอล

ื้อเพลิงเอทานอล คือ เอทานอล (เอทิลแอลกอฮอล์)ชนิดเดียวกันกับที่ใช้ทำเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งส่วนใหญ่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์ ในรูปแบบสารเติมแต่งในผลิตภัณฑ์น้ำมันเบนซิน การผลิตเชื้อเพลิงเอทานอลเพื่อใช้ในการขนส่งเพิ่มขึ้นเป็นสามเท่า จากปี..

ใหม่!!: มันสำปะหลังและเชื้อเพลิงเอทานอล · ดูเพิ่มเติม »

เพลี้ยแป้ง

ลี้ยแป้ง เป็นแมลงที่อยู่ในตระกูลเดียวกันกับเพลี้ยหอย (Coccidae) เพลี้ยแป้งแบ่งออกเป็น 2 พวก คือ เพลี้ยแป้งหางสั้น และเพลี้ยแป้งหางยาว ลักษณะตัวเพลี้ยมีขนาดเล็ก และมีสีขาว เพราะถูกสารขี้ผึ้ง ซึ่งขับออกมาคลุมตัวเพลี้ยไว้ และมีขาอ่อนเจริญออกมารอบตัวทำให้เคลื่อนที่ไปมาได้แต่ช้า เพลี้ยตัวผู้แต่ละตัวอยู่ที่ต้นชบา, ''Maconellicoccus hirsutus''. มด ''Formica fusca'' ดูแลฝูงเพลี้ยแป้ง.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและเพลี้ยแป้ง · ดูเพิ่มเติม »

เกาะมาดูรา

เกาะมาดูรา (Madura) เป็นเกาะในประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่นอกฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะชวา มีพื้นที่ราว 4,250 กม² เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดชวาตะวันออก มีเมืองสำคัญคือ เมืองปาเมกาซัน ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นเนินเขา กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ การเลี้ยงปศุสัตว์ การประมง ปลูกข้าวโพด มันสำปะหลังและข้าวเจ้า หมวดหมู่:เกาะในประเทศอินโดนีเซีย.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและเกาะมาดูรา · ดูเพิ่มเติม »

เรินดัง

รินดัง (rendang) เป็นอาหารที่ปรุงด้วยเนื้อที่มีรสเผ็ด จุดกำเนิดเป็นอาหารของชาวมีนังกาเบาในอินโดนีเซีย และเป็นที่นิยมไปทั่วประเทศ เป็นอาหารที่ชาวมีนังกาเบาใช้ในงานเฉลิมฉลองและต้อนรับแขกผู้มีเกียรติ นอกจากนั้น ยังเป็นที่นิยมในมาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน ภาคใต้ของไทย และภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ลักษณะของอาหารคล้ายแกง แต่โดยวิธีการปรุงไม่จัดว่าเป็นแกง.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและเรินดัง · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจไทย

รษฐกิจไทยมีเศรษฐกิจแบบผสม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รายงานว่า ประเทศไทยมีจีดีพี 11.375 ล้านล้านบาท มีอัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ 3.02% ประเทศไทยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในรูปตัวเงินเป็นอันดับที่ 29 ของโลก และมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อเป็นอันดับที่ 24 ของโลก ในปี 2556 เศรษฐกิจไทยเติบโต 2.9% จีดีพีมาจากการใช้จ่ายของครัวเรือน 54.4% การใช้จ่ายของรัฐบาล 13.8% การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร 26.7%.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและเศรษฐกิจไทย · ดูเพิ่มเติม »

เอทานอล

อทานอล (ethanol) หรือ เอทิลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol) (สูตรเคมี C2H5OH) เป็นแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากการนำเอาพืชมาหมักเพื่อเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาล จากนั้นจึงเปลี่ยนจากน้ำตาลเป็นแอลกอฮอล์ โดยใช้เอนไซม์หรือกรดบางชนิดช่วยย่อย เมื่อทำให้เป็นแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 95% โดยการกลั่น ส่วนใหญ่ผลิตจากพืช สองประเภทคือ พืชประเภทน้ำตาล เช่นอ้อย บีทรูท และพืชจำพวกแป้งเช่น มันสำปะหลัง ข้าว ข้าวโพด เป็นต้น.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและเอทานอล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลท้าวอู่ทอง

ทศบาลตำบลท้าวอู่ทอง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเภทเทศบาลตำบล ตั้งอยู่ในเขตอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ถูกจัดตั้งขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ 19 มกราคม..

ใหม่!!: มันสำปะหลังและเทศบาลตำบลท้าวอู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

เท้ายายม่อม (พืช)

ระวังสับสนกับ ไม้เท้ายายม่อม เท้ายายม่อม เป็นพืชในวงศ์ Taccaceae เป็นพืชที่มีหัว มีใบ 1-3 ใบ แต่ละใบจักเป็นสามแฉก เว้าแบบขนนก ดอกเป็นช่อยาว แต่ละช่อมีดอกย่อย 20 - 40 ดอก ผลกลม หัวของพืชชนิดนี้นำไปทำแป้งที่เรียกแป้งเท้ายายม่อม พืชชนิดนี้เป็นพืชท้องถิ่นในทวีปแอฟริกา เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลียเหนือ นิวกินี ซามัว หมู่เกาะไมโครนีเซีย และฟิจิ และมีการแพร่กระจายไปในหมู่เกาะแปซิฟิกเนื่องมาจากการอพยพของคน ชื่อสามัญของพืชชนิดนี้ ได้แก่ Polynesian Arrowroot (ภาษาอังกฤษ) Pia (ฮาวาย, โพลีเนเซียฝรั่งเศส, Niue, และ หมู่เกาะคุก), Masoa (ซามัว), Mahoaa (ตองกา), Yabia (ฟิจิ) Gapgap (กวม) และ Taka (อินโดนีเซีย).

ใหม่!!: มันสำปะหลังและเท้ายายม่อม (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

เดาน์อูบีตุมบุก

น์อูบีตุมบุก (daun ubi tumbuk, แปลตรงตัว "ใบมันสำปะหลังตำ") เป็นอาหารจานผักในอาหารปาดัง ทำจากใบมันสำปะหลัง โดยนำใบมันสำปะหลังมาตำในครกไม้หรือปั่น นำมาปรุงกับเครื่องเทศผัด ซึ่งอย่างน้อยที่สุดจะใส่พริกและหัวหอม บางครั้งจะเพิ่มข่า แคนเดิลนัต กระเทียม ตะไคร้ และเครื่องเทศอื่น ๆ เติมกะทิและปลาแห้ง บางครั้งใส่มะเขือพวง การปรุงในยุโรปสามารถใช้ใบคะน้าแทนได้ เดาน์อูบีตุมบุกที่ปรุงโดยชาวดายักในกาลีมันตันจะต้มใบมันสำปะหลังกับหัวหอม ไขมันสัตว์ และเกลือ.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและเดาน์อูบีตุมบุก · ดูเพิ่มเติม »

E85

E85 เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ 85% โดยปริมาตร กับน้ำมันเบนซิน เป็นสูตรน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีใช้ในบราซิล สวีเดน และแถบมิดเวสต์ของสหรัฐอเมริกา และมีนโยบายจากภาครัฐ จะนำมาใช้ในประเทศไทย ภายในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: มันสำปะหลังและE85 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

CassavaManihot esculentaManioc

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »