โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มะขามป้อม

ดัชนี มะขามป้อม

มะขามป้อม หรือ มะขามป้อมอินเดีย เป็นต้นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Phyllanthaceae เป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง และมีคุณค่าทางสมุนไพรด้วย มะขามป้อมเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดสระแก้ว มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ กันโตด (เขมร - กาญจนบุรี) กำทวด (ราชบุรี) มะขามป้อม (ทั่วไป) มั่งลู่, สันยาส่า (กะเหรี่ยง - แม่ฮ่องสอน) ศูนย์ปฏิบัติการพืชเศรษฐกิจ มะขามป้อมจัดเป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูงที่สุด ในบรรดาผลไม้ทั้งหมด เพราะมะขามป้อมลูกเล็กๆเพียงลูกเดียว ให้วิตามินซีสูงกว่าวิตามินซีสังเคราะห์ถึง 12 เท่า และมากกว่าน้ำส้มคั้นถึง20 เท.

12 ความสัมพันธ์: พระปุสสพุทธเจ้ารายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายการผลไม้สกุลมะขามป้อมอุทยานแห่งชาติออบหลวงอุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่อุทยานแห่งชาติเอราวัณจังหวัดสระแก้วขมิ้นตราแผ่นดินของมาเลเซียต้นพระศรีมหาโพธิ์เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาท่าเพชร

พระปุสสพุทธเจ้า

ระปุสสพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งที่ตรัสรู้เมื่อ 92 กัปที่แล้ว และนับเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 18 ในพุทธวงศ์ของพระโคตมพุทธเจ้า เรื่องราวของพระองค์ปรากฏในคัมภีร์พุทธวงศ์และมธุรัตถวิลาสินี.

ใหม่!!: มะขามป้อมและพระปุสสพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: มะขามป้อมและรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายการผลไม้

ผลไม้ที่รับประทานได้ที่พบโดยทั่วไป ต่อไปนี้เป็นรายการผลไม้.

ใหม่!!: มะขามป้อมและรายการผลไม้ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะขามป้อม

กุลมะขามป้อมหรือPhyllanthus เป็นสกุลขนาดใหญ่ในวงศ์ Phyllanthaceae คาดว่ามีสมาชิกประมาณ 750David J. Mabberley.

ใหม่!!: มะขามป้อมและสกุลมะขามป้อม · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติออบหลวง

อุทยานแห่งชาติออบหลวง เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งหนึ่งในพื้นที่อำเภอจอมทอง อำเภอฮอด และอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ราว 100 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 553 ตารางกิโลเมตร (345,625 ไร่) พื้นที่ส่วนใหญ่ของอุทยานเป็นภูเขาสลับซับซ้อนและสูงชัน มีอาณาเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ แหล่งน้ำหลักคือลำน้ำแม่แจ่ม ซึ่งมีลักษณะเป็นเกาะแก่งเมื่อไหลผ่านหุบเขา ในอุทยานมีป่าไม้อุดมสมบูรณ์ จำแนกได้หลายประเภท สามารถพบสัตว์ป่าได้หลายชนิด เช่น เลียงผา เสือ หมี เป็นต้น นอกจากนี้ภายในอุทยานแห่งชาติยังมีน้ำพุร้อน น้ำตก ถ้ำ และแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร.

ใหม่!!: มะขามป้อมและอุทยานแห่งชาติออบหลวง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่

อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ (ชื่อเดิม: อุทยานแห่งชาติคลองตรอน) ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ มีพื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์ มีคลองขนาดใหญ่เป็นแหล่งหล่อเลี้ยงชีวิตสัตว์ทั้งหลายของที่นี่ และในพื้นที่อุทยานยังมีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่ง เช่น ต้นสักใหญ่ ซึ่งประกอบเป็นคำขวัญประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ น้ำตกห้วยเนียม น้ำตกกกมอนแก้ว และยังมีถ้ำ ได้แก่ ถ้ำจัน ถ้ำเจดีย์ ถ้ำเสือดาว ถ้ำผาตั้ง และยังมียอดดอยที่คนทั่วไปรู้จักกันดีใน ชื่อยอดดอยภูเมี่ยง ยอดดอยที่สูงเป็นอันดับที่ 5 ของประเทศไทย โดยอุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ มีพื้นโดยรวมทั้งหมด 324,240.80 ไร่ หรือ 518.80 ตารางกิโลเมตร ได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม..

ใหม่!!: มะขามป้อมและอุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติเอราวัณ

อุทยานแห่งชาติเอราวัณ เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในจังหวัดกาญจนบุรี.

ใหม่!!: มะขามป้อมและอุทยานแห่งชาติเอราวัณ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระแก้ว

ระแก้ว เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย แยกออกมาจากจังหวัดปราจีนบุรีเมื่อปี พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: มะขามป้อมและจังหวัดสระแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ขมิ้น

มิ้นชัน เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ขิง มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เนื้อในของเหง้าเป็นสีเหลือง มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว มีสีเหลืองเข้ม จนสีแสดจัด มีชื่อสามัญอื่นอีกคือ ขมิ้นแกง (เชียงใหม่) ขมิ้นชัน (กลาง, ใต้) ขมิ้นหยอก (เชียงใหม่) ขมิ้นหัว (เชียงใหม่) ขี้มิ้น (ตรัง, ใต้) ตายอ (กะเหรี่ยง กำแพงเพชร) สะยอ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) และ หมิ้น (ตรัง, ใต้).

ใหม่!!: มะขามป้อมและขมิ้น · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของมาเลเซีย

ตราแผ่นดินของมาเลเซีย (Jata Negara) ประกอบด้วยส่วนหลัก ๆ ห้าส่วนคือ โล่ เสือโคร่งสองตัว พระจันทร์เสี้ยวสีเหลือง และดาวสีเหลือง 14 แฉก และแถบผ้า ตราแผ่นดินของมาเลเซียนี้สืบทอดมาจากตราแผ่นดินสหพันธรัฐมาลายาระหว่างที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษ ตราในปัจจุบันจึงมีอิทธิพลของตราแบบตะวันตกอยู่มาก.

ใหม่!!: มะขามป้อมและตราแผ่นดินของมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ต้นพระศรีมหาโพธิ์

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เหนือพระแท่นวัชรอาสนพุทธบัลลังก์ สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ต้นโพธิ์ที่สำคัญที่สุดของชาวพุทธ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เป็นต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าเคยประทับและตรัสรู้ ดังปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาว่าต้นโพธิ์เปรียบได้กับพุทธอุเทสิกเจดีย์อย่างหนึ่ง ทำให้พันธ์ุต้นโพกลายเป็นพันธ์ไม้ที่เป็นที่เคารพนับถือของชาวพุทธเสมอมานับแต่สมัยพุทธกาล ต้นโพธิ์ในพระพุทธประวัติสองต้นคือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้ และต้นอานันทโพธิ์ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ซึ่งอานันทโพธิ์ยังคงยืนต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยคำว่า "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" นั้น อาจหมายถึงต้นที่อยู่ที่พุทธคยา ต้นโพธิ์ที่สืบมาจากหน่อโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา หรือต้นโพธิ์ที่เป็นอุเทสิกเจดีย์อื่น ๆ ก็ได้ เช่น ต้นโพตามวัดต่าง ๆ ในปัจจุบันต้นพระศรีโพธิ์สำคัญที่ยังคงยืนต้นอยู่ในปัจจุบันมี 3 ต้นด้วยกัน คือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา, ต้นพระชัยศรีมหาโพธิ์เมืองอนุราธปุระ, และต้นอานันทโพธิ์วัดพระเชตวันมหาวิหาร แต่ต้นโพธิ์พระเจ้าอโศกแห่งเมืองอนุราธปุระ ที่นำหน่อพันธ์มาจากพุทธคยา ได้รับการเคารพนับถือและปฏิบัติบูชาด้วยความเคารพอย่างสูงมาตลอดตั้งแต่สองพันปีโดยไม่ขาดช่วง มีการทำกำแพงทองคำและมีชาวพุทธผู้ศรัทธามาทำการสักการะตลอดเวลา ซึ่งต่างจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พุทธคยาที่ถูกทำลายและล้มลงตามธรรมชาติหลายครั้ง และต้นอานันทโพธิ์ที่วัดเชตวันที่ขาดช่วงการดูแลจากชาวพุทธหลังจากพระพุทธศาสนาเสื่อมไปจากอินเดีย แม้ในประเทศไทย จะไม่ค่อยให้ความสำคัญกับต้นพระศรีมหาโพธิ์เท่ากับชาวพุทธในศรีลังกา แต่ปรากฏตามความเชื่อในประเทศไทยว่า ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่พุทธคยา เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำปีเกิดสำหรับผู้ที่เกิดปีมะเส็ง สำหรับชาวล้านนายังมีความเชื่ออีกว่า ต้นโพธิ์เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ช่วยขจัดความทุกข์ได้ จึงมีประเพณีถวายไม้ค้ำโพธิ์ และเครื่องประกอบพิธีกรรม ใต้ต้นโพธิ์ โดยผูกคติกับความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งไม่ใช่ความหมายเดิมของการบูชาต้นพระศรีมหาโพธิ์ตามคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา อย่างไรก็ตามต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่สืบหน่อมาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยยังคงมีอยู่หลายต้น เช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดต้นศรีมหาโพธิ์ (ที่เชื่อว่านำเข้ามาปลูกสมัยทวาราวดี), วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร, วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร (ปลูกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) เป็นต้น แม้การทำลายต้นโพธิ์ตามคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจะระบุว่าเป็นการทำบาปและหลบหลู่พระรัตนตรัย แต่ในมหาสมณวินิจฉัย ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส กล่าวว่าเฉพาะต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่เป็นอุทเทสิกเจดีย์เท่านั้น ต้นโพที่งอกทั่วไปและไม่ได้เป็นอุเทสิกาเจดีย์ คือไม่มีผู้เคารพบูชาในฐานะตัวแทนของพระพุทธเจ้า (เช่นเดียวกับพระพุทธรูป).

ใหม่!!: มะขามป้อมและต้นพระศรีมหาโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาท่าเพชร

ระธาตุศรีสุราษฎร์ ปี พ.ศ. 2508 ป่าไม้เขตสุราษฎร์ธานีได้กำหนดให้บริเวณป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขาท่าเพชร ตำบลมะขามเตี้ย อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี เนื้อที่ประมาณ 2,906 ไร่ (4.65 กม.2) เป็นวน-อุทยานเขาท่าเพชร เนื่องจากเห็นว่าพื้นที่นี้เหมาะสมแก่การท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจ จุดชมวิวธรรมชาติและทิวทัศน์เมืองสุราษฎร์ธานี และยังเป็นที่ตั้งของพระธาตุศรีสุราษฎร์ ซึ่งเป็นที่นับถือของชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2519 กองอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมป่าไม้ ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปสำรวจพื้นที่บริเวณ ดังกล่าวและพบว่า เหมาะสมที่จะใช้เป็นสถานที่ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติด้านป่าไม้และสัตว์ป่าแก่ประชาชนทั่วไป จึงได้ยกเลิก วนอุทยานเขาท่าเพชร และจัดตั้งเป็นศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าเขาท่าเพชร เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2519 และเนื่องจากป่าเขาท่าเพชรมีสัตว์ป่าหลายชนิดอาศัยอยู่ประจำและอพยพย้ายถิ่นมาอยู่อาศัยอยู่จำนวนมาก กองอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมป่าไม้ จึงได้ดำเนินการเสนอให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศให้เป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาท่าเพชร อีกแห่งหนึ่งด้วย โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 94 ตอนที่ 68 ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2520.

ใหม่!!: มะขามป้อมและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาท่าเพชร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Phyllanthus emblicaมะขามป้อมอินเดีย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »