สารบัญ
37 ความสัมพันธ์: บริเวณเมดิเตอร์เรเนียนพระทีปังกรพุทธเจ้าการรับรู้รสการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยงกีฬาโอลิมปิกภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนมหาวิทยาลัยคริสเตียนมะกอก (แก้ความกำกวม)รายการผลไม้ลาบสกุลมะกอกสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์อะธีนาอานดรีอาอุทยานแห่งชาติเอราวัณฮวาร์ฮีราคลีออนจังหวัดคางาวะธงชาติเอริเทรียธงชาติเติร์กเมนิสถานขนมจีน (อาหารไทย)คาบสมุทรอิตาลีตราแผ่นดินของฟีจีตราแผ่นดินของฝรั่งเศสซูเปอร์เทสเตอร์ปลาสลิดปลาสะอีปลาอะโรวาน่าออสเตรเลียปลาปักเป้าปากขวดปลานีออนปลาไทเมนนกพิราบน้ำปู๋โครงการอีเด็นเจอร์บาเนยเทียม
บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน
ริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่ปลูกมะกอกได้ แผนที่การเมืองของบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean area) ประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในความหมายทางชีวภูมิศาสตร์ (biogeography) “บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน” หมายถึงบริเวณที่มีภูมิอากาศแบบภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนที่อุ่น, มีฝนตกระหว่างฤดูหนาว, แห้งระหว่างหน้าร้อนที่เหมาะแก่พืชพันธุ์เมดิเตอร์เรเนียน กฎที่ว่ากันง่ายๆ คือเป็นบริเวณ “โลกเก่า” (Old World) ที่ปลูกมะกอกได้.
ดู มะกอกและบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน
พระทีปังกรพุทธเจ้า
ระทีปังกรพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้ในโลกเมื่อ 4 อสงไขยแสนกัปที่แล้ว.
การรับรู้รส
ตุ่มรับรส (Taste bud) รส หรือ รสชาติ (Taste, gustatory perception, gustation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับประสาทสัมผัสหนึ่งในห้า (นับตามโบราณ) โดยเป็นความรู้สึกที่ได้จากระบบรู้รส (gustatory system) รสเป็นความรู้สึกที่ได้เมื่อสารในปากก่อปฏิกิริยาเคมีกับเซลล์รับรส (taste receptor cell) ที่อยู่ในตุ่มรับรส (taste bud) ในช่องปากโดยมากที่ลิ้น รสพร้อม ๆ กับกลิ่น และการกระตุ้นที่ประสาทไทรเจมินัล (ซึ่งทำให้รู้เนื้ออาหาร ความเจ็บปวด และอุณหภูมิ) จะเป็นตัวกำหนดความอร่อยของอาหารหรือสารอื่น ๆ กล่าวอีกอย่างก็คือ ระบบรู้รสจะตรวจจับโมเลกุลอาหารและเครื่องดื่มเป็นต้น โดยมากที่ละลายในน้ำหรือไขมันได้ ซึ่งเมื่อรวมกับข้อมูลจากระบบรู้กลิ่นและระบบรับความรู้สึกทางกาย จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสารอาหาร ปริมาณ และความปลอดภัยของสิ่งที่เข้ามาในปาก มีรสชาติหลัก ๆ 5 อย่างคือ หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม และอุมะมิ ซึ่งรู้ผ่านวิถีประสาทที่แยกจากกัน ส่วนการรับรู้รสแบบผสมอาจเกิดขึ้นที่เปลือกสมองส่วนการรู้รสโดยประมวลข้อมูลที่ได้ในเบื้องต้นจากหน่วยรับรสหลัก ๆ การรับรู้รสจะเริ่มตั้งแต่สารที่มีรสทำปฏิกิริยากับน้ำลายซึ่งท่วมตุ่มรับรสที่อยู่บนโครงสร้างต่าง ๆ เช่นปุ่มลิ้น ทำให้โมเลกุลรสมีโอกาสทำปฏิกิริยากับหน่วยรับรสที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรสซึ่งอยู่รวมตัวกันที่ตุ่มรับรส รสหวาน อุมะมิ และขม จะเริ่มจากการจับกันของโมเลกุลกับ G protein-coupled receptors ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรส ส่วนความเค็มและความหวานจะรู้ได้เมื่อโลหะแอลคาไลหรือไอออนไฮโดรเจน (ตามลำดับ) ไหลเข้าไปในเซลล์รับรส ในที่สุดเซลล์รับรสก็จะลดขั้วแล้วส่งสัญญาณกลิ่นผ่านใยประสาทรับความรู้สึกไปยังระบบประสาทกลาง สมองก็จะประมวลผลข้อมูลรสซึ่งในที่สุดก็ทำให้รู้รส รสพื้นฐานจะมีส่วนต่อความรู้สึกอร่อยของอาหารในปาก ปัจจัยอื่น ๆ รวมทั้งกลิ่น ที่ตรวจจับโดยเยื่อบุผิวรับกลิ่นในจมูก, เนื้ออาหาร ที่ตรวจจับโดยตัวรับแรงกล และประสาทกล้ามเนื้อต่าง ๆ เป็นต้น, อุณหภูมิที่ตรวจจับโดยปลายประสาทรับร้อน, ความเย็น (เช่นที่ได้จากเมนทอล) กับรสเผ็สที่ได้จากตัวรับรู้สารเคมี, รูปลักษณ์ที่ปรากฏของอาหาร ที่เห็นได้ผ่านเซลล์รับแสงในจอตา, และสภาพทางจิตใจเอง เพราะเรารู้ทั้งรสที่เป็นอันตรายและมีประโยชน์ รสพื้นฐานทั้งหมดสามารถจัดเป็นไม่น่าพอใจ (aversive) หรือทำให้อยากอาหาร (appetitive) ความขมช่วยเตือนว่าอาจมีพิษ ในขณะที่ความหวานช่วยระบุอาหารที่สมบูรณ์ด้วยพลังงาน สำหรับมนุษย์ การรู้รสจะเริ่มลดลงราว ๆ อายุ 50 ปี เพราะการเสียปุ่มลิ้นและการผลิตน้ำลายที่น้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุมักทานรสจัดขึ้นเทียบกับเด็ก เช่น ต้องเติมเกลือ เติมพริกเป็นต้น ซึ่งอาจเป็นปัญหาต่อผู้มีความดันโลหิตสูงหรือมีปัญหาธำรงดุลอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย มนุษย์สามารถรู้รสแบบผิดปกติเพราะเป็นโรค dysgeusia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมดไม่ได้รู้รสได้เหมือน ๆ กัน สัตว์ฟันแทะบางชนิดสามารถรู้รสแป้ง (ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถ) แมวไม่สามารถรู้รสหวาน และสัตว์กินเนื้อหลายอย่างรวมทั้งหมาไฮยีน่า ปลาโลมา และสิงโตทะเลต่างก็ได้เสียการรู้รสชาติอาจถึง 4 อย่างจาก 5 อย่างที่บรรพบุรุษของพวกมันรู้.
การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง
การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (หรือ การทำให้เชื่อง) หรือ การปรับตัวเป็นไม้เลี้ยง (domestication, domesticus) เป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยกันระหว่างพืชหรือสัตว์ กับมนุษย์ผู้มีอิทธิพลในการดูแลรักษาและการสืบพันธุ์ของพวกมัน เป็นกระบวนการที่ประชากรสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมผ่านรุ่นโดยการคัดเลือกพันธุ์ (selective breeding) เพื่อเน้นลักษณะสืบสายพันธุ์ที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ โดยมีผลพลอยได้เป็นความเคยชินของสิ่งมีชีวิตต่อการพึ่งมนุษย์ ทำให้พวกมันสูญเสียความสามารถในการดำรงชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ ชาลส์ ดาร์วินเข้าใจถึงลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จำนวนไม่มากจำนวนหนึ่ง ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงต่างจากบรรพบุรุษพันธุ์ป่า เขายังเป็นบุคคลแรกที่เข้าใจความแตกต่างระหว่างการคัดเลือกพันธุ์แบบตั้งใจ ที่มนุษย์เลือกลักษณะสืบสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตโดยตรงเพื่อจะได้ลักษณะตามที่ต้องการ กับการคัดเลือกที่ไม่ได้ตั้งใจ ที่ลักษณะมีวิวัฒนาการไปตามการคัดเลือกโดยธรรมชาติ หรือตามการคัดเลือกอื่น ๆ สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงจะต่างจากสิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าทางพันธุกรรม และในบรรดาสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ก็ยังมีความแตกต่างกันระหว่างลักษณะสืบสายพันธุ์ที่นักวิจัยเชื่อว่า จำเป็นในระยะต้น ๆ ของกระบวนการปรับนำมาเลี้ยง (domestication trait) และลักษณะที่พัฒนาขึ้นต่อ ๆ มาหลังจากที่สิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าและพันธุ์เลี้ยงได้แยกออกจากกันแล้ว (improvement trait) คือลักษณะที่จำเป็นโดยทั่วไปมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงทั้งหมด และเป็นลักษณะที่คัดเลือกในระยะต้น ๆ ของกระบวนการ ในขณะที่ลักษณะที่พัฒนาต่อ ๆ มาจะมีอยู่ในบางพวกของสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ถึงแม้ว่าอาจจะมีแน่นอนในพันธุ์ (breed) ใดพันธุ์หนึ่งโดยเฉพาะ หรือในกลุ่มประชากรในพื้นที่โดยเฉพาะ การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (domestication) ไม่ควรสับสนกับการทำสัตว์ให้เชื่อง (taming) เพราะว่า การทำให้เชื่องเป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมของสัตว์ป่า ให้กลัวมนุษย์น้อยลงและยอมรับการมีมนุษย์อยู่ใกล้ ๆ ได้ แต่ว่าการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง เป็นการเปลี่ยนพันธุกรรมของสัตว์พันธุ์ที่นำมาเลี้ยงอย่างถาวร เป็นการเปลี่ยนความรู้สึกของสัตว์ต่อมนุษย์โดยกรรมพันธุ์ สุนัขเป็นสิ่งมีชีวิตแรกที่ปรับนำมาเลี้ยง และแพร่หลายไปทั่วทวีปยูเรเชียก่อนการสิ้นสุดสมัยไพลสโตซีน ก่อนการเกิดขึ้นของเกษตรกรรม และก่อนการนำสัตว์อื่น ๆ ต่อ ๆ มามาเลี้ยง ข้อมูลทั้งทางโบราณคดีและทางพันธุกรรมแสดงนัยว่า การแลกเปลี่ยนยีน (gene flow) ที่เป็นไปทั้งสองทางระหว่างสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงกับพันธุ์ป่า เช่น ลา ม้า อูฐทั้งพันธุ์โลกเก่าและโลกใหม่ แพะ แกะ และหมู เป็นเรื่องสามัญ และเพราะความสำคัญของการนำสิ่งมีชีวิตมาเลี้ยงต่อมนุษย์ และคุณค่าของมันโดยเป็นแบบจำลองของกระบวนการวิวัฒนาการและของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีนี้ จึงดึงดูดความสนใจของนักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ รวมทั้งโบราณคดี บรรพชีวินวิทยา มานุษยวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมสาขาต่าง ๆ สุนัขและแกะเป็นสิ่งมีชีวิตพันธุ์แรก ๆ ที่มนุษย์ปรับนำมาเลี้ยง.
ดู มะกอกและการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง
กีฬาโอลิมปิก
กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..
ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส
ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ.
ดู มะกอกและภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส
ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน
ื้นที่ที่มีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน เป็นภูมิอากาศที่ปรากฏในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน และเป็นหนึ่งในภูมิอากาศแบบกึ่งเขตร้อน นอกจากดินแดนบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียนแล้วนั้น สหรัฐอเมริกายังเป็นอีกดินแดนหนึ่งที่มีภูมิอากาศแบบนี้ โดยส่วนมากจะอยู่บริเวณรัฐแคลิฟอร์เนีย และทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐออริกอน ภูมิอากาศแบบนี้ยังพบได้มากในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียและรัฐเซาท์ออสเตรเลีย, ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศแอฟริกาใต้, บางส่วนของเอเชียกลาง, และตอนกลางของประเทศชิลี.
ดู มะกอกและภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน
มหาวิทยาลัยคริสเตียน
มหาวิทยาลัยคริสเตียน (Christian University of Thailand) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ก่อตั้งเมื่อ 7 กันยายน พ.ศ. 2526 ตั้งอยู่ที่จังหวัดนครปฐม.
ดู มะกอกและมหาวิทยาลัยคริสเตียน
มะกอก (แก้ความกำกวม)
ืชที่มีชื่อสามัญว่า มะกอก อาจหมายถึง.
ดู มะกอกและมะกอก (แก้ความกำกวม)
รายการผลไม้
ผลไม้ที่รับประทานได้ที่พบโดยทั่วไป ต่อไปนี้เป็นรายการผลไม้.
ลาบ
ลาบ เป็นอาหารท้องถิ่นทางภาคอีสานและภาคเหนือ (รวมถึงประเทศลาวและสิบสองปันนา) โดยนำเนื้อมาสับให้ละเอียดแล้วคลุกกับเครื่องปรุง ซึ่งเนื้อที่มาทำลาบเป็นเนื้อหลายชนิด เช่น เนื้อไก่ เนื้อเป็ด เนื้อวัว เนื้อควาย เนื้อปลา เนื้อหมู และเนื้อนก นอกจากนี้ยังสามารถลาบสัตว์จำพวก กวาง เช่น ละมั่ง กระจง เก้ง หรือแม้แต่บึ้ง ก็นำมาลาบได้เช่นกัน ลาบนิยมกินคู่กับข้าวเหนียว.
ดู มะกอกและลาบ
สกุลมะกอก
กุลมะกอก (Spondias) เป็นสกุลของพืชดอกในวงศ์ Anacardiaceae ประกอบด้วยพืช 17 สปีชีส์ โดย 7 ชนิดอยู่ในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ และ 10 ชนิดอยู่ในเอเชีย แต่มีเพียง 10 ชนิดเท่านั้นที่ผลสามารถรับประทานได้และมีการนำไปเพาะปลูก ได้แก.
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
ันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (Panyapiwat Institute of Management) เดิมชื่อสถาบันเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนทุนในการก่อตั้งจากบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) และได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยคำแนะนำของคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อให้เปิดดำเนินการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.
ดู มะกอกและสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
อะธีนา
ในศาสนาและเทพปกรณัมกรีก อะธีนา (Athena) หรือ อะธีนี (Athene) หรือ แพลลัสอธีนา/อะธีนี (Pallas Athena/Athene) เป็นเทพเจ้าพรหมจรรย์แห่งปัญญา ความกล้า แรงบันดาลใจ อารยธรรม กฎหมายและความยุติธรรม การสงครามโดยชอบ คณิตศาสตร์ ความแข็งแกร่ง ยุทธศาสตร์ ศิลปะ งานฝีมือและทักษะ ภาคโรมัน คือ มิเนอร์วา มีการพรรณนาอะธีนาว่าทรงเป็นพระสหายร่วมทางผู้เฉลียวฉลาดของวีรบุรุษและเทพเจ้าอุปถัมภ์การผจญภัยของวีรบุรุษ พระนางทรงเป็นเทพเจ้าพรหมจรรย์ผู้อุปถัมภ์กรุงเอเธนส์ ชาวเอเธนส์ตั้งวิหารพาร์เธนอนบนอะโครโพลิสในกรุงเอเธนส์ (อะธีนาพาร์ธีนอส) เพื่อถวายเกียรติแด่พระนางDeacy, Susan, and Alexandra Villing.
อานดรีอา
อานดรีอา (Andria) เป็นเมืองและเทศบาลในแคว้นปุลยา ทางตอนใต้ของประเทศอิตาลี เป็นเมืองศูนย์กลางการเกษตรและการให้บริการ มีการผลิตไวน์ มะกอกและอัลมอนด์ เป็นเทศบาลที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของแคว้นปุลยา รองจากบารี, ตารันโต และฟอ.
อุทยานแห่งชาติเอราวัณ
อุทยานแห่งชาติเอราวัณ เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในจังหวัดกาญจนบุรี.
ดู มะกอกและอุทยานแห่งชาติเอราวัณ
ฮวาร์
วาร์ (Hvar, Pharos, Φαρος, Pharia, Lesina) เป็นเกาะในประเทศโครเอเชีย ตั้งอยู่ในทะเลเอเดรียติก นอกชายฝั่งดัลเมเชีย เป็นที่ราบลุ่มอุดมสมบูรณ์ บริเวณลาดเขามีป่าต้นสน ไร่องุ่น สวนมะกอก ทุ่งลาเวนเดอร์ ผลิตผลสำคัญได้แก่ น้ำผึ้ง มะกอก เหล้าองุ่น หินอ่อน มีการประมง และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ภูมิอากาศเย็นไม่รุนแรงในฤดูหนาว และอุ่นในฤดูร้อน มีแสงแดดหลายชั่วโมง เกาะมีประชากร 11,103 คน เป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโครเอเชีย ชาวกรีกเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 พวกสลาฟเข้ามาครอบครอง ตกเป็นของยูโกสลาเวียภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเป็นส่วนหนึ่งของประเทศโครเอเชียเมื่อประเทศนั้นได้รับเอกราชใน..
ฮีราคลีออน
ฮีราคลีออน ฮีราคลีออน หรือ อีราคลีออน (Ηράκλειο; Heraklion หรือ Heraclion) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและเมืองหลวงของเกาะครีต ประเทศกรีซ เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ส่งองุ่น มะกอก เหล้าองุ่น และหนังฟอกเป็นสินค้าออก ได้รับความเสียหายอย่างหนักระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากนั้นกลายเป็นศูนย์กลางการค้าและการท่องเที่ยว หมวดหมู่:เมืองในประเทศกรีซ หมวดหมู่:เกาะครีต.
จังหวัดคางาวะ
ังหวัดคางาวะ เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่บนเกาะชิโกกุ เมืองหลักคือทากามัตสึ.
ธงชาติเอริเทรีย
23px ธงชาติเอริเทรีย สัดส่วนธง 1:2 ธงชาติเอริเทรีย ในปัจจุบัน มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่ด้านค้นธงมีรูปสามเหลี่ยมสีแดง ฐานกว้างเท่ากับความกว้างธง และความยาวของรูปนั้นยาวเท่ากับความยาวธงพอดี ภายในรูปนั้นมีพวงมาลัยล้อมต้นมะกอกสีเหลืองซึ่งมีใบ 14 ใบ พื้นที่ส่วนที่เหลือซึ่งถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนด้วยรูปสามเหลี่ยมแดง ประกอบด้วยส่วนบนเป็นพื้นสีเขียว และส่วนล่างเป็นพื้นสีฟ้า เริ่มใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.
ธงชาติเติร์กเมนิสถาน
งชาติเติร์กเมนิสถาน (Флаг Туркмении; Türkmenistanyň baýdagy) แบบที่ใช้อยู่ในขณะนี้ เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ.
ดู มะกอกและธงชาติเติร์กเมนิสถาน
ขนมจีน (อาหารไทย)
นมจีนน้ำยา ขนมจีน เป็นอาหารคาวชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งเป็นเส้นกลม ๆ คล้าย เส้นหมี่ รับประทานกับน้ำยา น้ำพริก เป็นต้น อาหารชนิดนี้ ภาษาเหนือเรียก "ขนมเส้น" ภาษาอีสานเรียก "ข้าวปุ้น" และภาคใต้เรียก "หนมจีน".
คาบสมุทรอิตาลี
ทางอากาศของคาบสมุทรอิตาลี คาบสมุทรอิตาลี หรือ คาบสมุทรแอเพนไนน์ (Penisola italiana, Penisola appenninica) เป็นคาบสมุทรที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้ พื้นที่ทางตอนเหนือติดกับเทือกเขาแอลป์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลเอเดรียติก ทางทิศใต้ติดกับทะเลไอโอเนียน และทางทิศตะวันตกติดกับทะเลติร์เรเนียนและทะเลลิกูเรียน คาบสมุทรนี้มีรูปร่างคล้ายรองเท้าบูท โดยบริเวณตอนกลางของคาบสมุทรมีเทือกเขาแอเพนไนน์เป็นแกนกลาง บริเวณตอนเหนือมีที่ราบลุ่มแม่น้ำโปซึ่งตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอลป์กับเทือกเขาแอเพนไนน์นั้น เป็นที่ราบลุ่มอันอุดมสมบูรณ์มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม และเป็นที่ตั้งเมืองสำคัญของประเทศอิตาลี เช่น มิลาน ตูริน เวนิส โบโลญญา ปาร์มา เวโรนา คาบสมุทรอิตาลีมีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 290 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้ มีพื้นที่ประมาณ 260,000 ตารางกิโลเมตร (ไม่นับรวมพื้นที่เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย) เป็นคาบสมุทรที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของทวีปยุโรป รองจาก คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรไอบีเรีย และคาบสมุทรบอลข่าน ตามลำดับ เมืองใหญ่ที่ตั้งอยู่บริเวณคาบสมุทรอิตาลีเรียงตามลำดับ 4 อันดับแรกได้แก่ โรม มิลาน เนเปิลส์ และตูริน ภูมิอากาศบริเวณคาบสมุทรอิตาลีเป็นแบบเมดิเตอร์เรเนียน พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ที่นิยมปลูกคือ มะกอกเพื่อทำน้ำมันมะกอก และองุ่นเพื่อใช้ทำไวน์ เมืองท่าที่สำคัญบนคาบสมุทรอิตาลีได้แก่ เจนัว เวนิส และเนเปิล.
ตราแผ่นดินของฟีจี
ตราแผ่นดินของฟีจี ในยุครัฐชาติสมัยใหม่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายใต้อาณานิคมเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร แบ่งตามตราแผ่นดินของอาณานิคมฟีจีได้ 3 แบบดังนี้.
ตราแผ่นดินของฝรั่งเศส
ตราแผ่นดินของฝรั่งเศส ในปัจจุบันนี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2496 แม้ตราดังกล่าวจะไม่มีสถานะทางกฎหมายว่าเป็นตราแผ่นดินอย่างเป็นทางการเลยก็ตาม ดวงตรานี้เป็นตราที่ปรากฏการใช้ในปกหนังสือเดินทางของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งมีจุดกำเนิดจากการที่กระทรวงการต่างประเทศฝรั่งเศสกำหนดให้ใช้ตรานี้เป็นสัญลักษณ์สำหรับหน่วยงานทางการทูตของฝรั่งเศสนับตั้งแต่ พ.ศ.
ดู มะกอกและตราแผ่นดินของฝรั่งเศส
ซูเปอร์เทสเตอร์
ซูเปอร์เทสเตอร์ ให้ใช้ศัพท์ต่างประเทศของคำว่า super และ taster แทนคำไทยได้, วิธีถอดอักษรโรมันเป็นไทยของราชบัณฑิตยสถานจะเขียนว่า "ซุปเป้อร์เท้สเต้อร์" (supertaster แปลอย่างหนึ่งได้ว่า สุดยอดคนชิมอาหาร) เป็นบุคคลผู้ที่สามารถรับรสของสิ่งที่อยู่ที่ลิ้น ในระดับที่เข้มข้นมากกว่าคนอื่นโดยเฉลี่ย ในประชากรทั้งหมด ผู้หญิง 35% และผู้ชาย 15% เป็นซูเปอร์เทสเตอร์ และมีโอกาสที่จะสืบเชื้อสายมาจากคนเอเซีย คนอัฟริกา และคนอเมริกาใต้มากกว่าคนเชื้อชาติอื่น ๆ BBC เหตุของระดับการตอบสนองที่สูงขึ้นเช่นนี้ยังไม่ชัดเจน ถึงแม้จะเชื่อกันว่า มีเหตุเกี่ยวข้องกับการมียีน TAS2R38 ซึ่งทำให้สามารถรับรสของสาร PropylthiouracilPropylthiouracil เป็นยาที่แปลงมาจากสาร Thiouracil ใช้ในการรักษาโรคไทรอยด์รวมทั้งโรคคอพอกตาโปนโดยลดฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ และ PhenylthiocarbamidePhenylthiocarbamide หรือเรียกว่า phenylthiourea เป็นสารประกอบประเภท organosulfur thiourea มีวงแหวนแบบ phenyl เป็นสารมีคุณสมบัติพิเศษที่มีรสชาติอาจจะเป็นขมมากหรือไม่มีรสอะไรเลย ขึ้นอยู่กับยีนของผู้ลิ้มรส ได้ และโดยส่วนหนึ่ง มีเหตุจากมีปุ่มรูปดอกเห็ด (fungiform papillae ที่ประกอบด้วยเซลล์รับรส) บนลิ้นที่มากกว่าปกติ การได้เปรียบของความสามารถนี้ในวิวัฒนาการไม่ใชัดเจน ในสิ่งแวดล้อมบางประเภท การตอบสนองทางรสชาติในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะต่อรสขม อาจจะเป็นความได้เปรียบที่สำคัญใช้ในการหลีกเลี่ยงสารแอลคาลอยด์ที่อาจเป็นพิษในพืช แต่ในสิ่งแวดล้อมอื่น การตอบสนองในระดับที่สูงขึ้นอาจจะจำกัดอาหารที่ทานแล้วรู้สึกอร่อย fungiform papillae ที่ลิ้นปรากฏเพราะสีอาหารสีน้ำเงิน คำนี้บัญญัติโดยนักจิตวิทยาเชิงทดลองชื่อว่า ลินดา บาร์โทชัก ซึ่งทำงานวิจัยเป็นอาชีพเป็นเวลานานเกี่ยวกับความแตกต่างในยีนของการรับรู้รส ในต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1990 ดร.
ปลาสลิด
ำหรับปลาใบไม้ชนิดอื่น ดูที่: ปลาใบไม้ ปลาสลิด เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trichogaster pectoralis ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีรูปร่างคล้ายปลากระดี่หม้อ (T.
ปลาสะอี
ปลาสะอี (湄公魚; พินอิน: Méi gōngyú–ปลาแม่น้ำโขง) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Labeoninae มีลักษณะทรงกระบอก หัวเล็ก ตาโต จะงอยปากงุ้มลง ริมฝีปากมีหนวดสั้น 1 คู่ ครีบหลังสั้น ไม่มีก้านครีบแข็ง ครีบหางเว้าลึก สีลำตัวเป็นสีเขียวมะกอก หากินตามพื้นท้องน้ำ โดยแทะเล็มตะไคร่น้ำหรือสาหร่าย ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 45 เซนติเมตร นิยมบริโภคโดยการปรุงสด มักพบขายในตลาดสดที่ติดแม่น้ำโขงทั้งฝั่งไทยและลาวรวมถึงกัมพูชา เพราะเป็นปลาที่พบเฉพาะแม่น้ำโขงและสาขาเท่านั้น มีพฤติกรรมอพยพย้ายถิ่นขึ้นสู่ตอนบนของแม่น้ำในช่วงฤดูน้ำหลากเพื่อวางไข่ และมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปลาสะอี ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "ปลาชะอี", "ปลาหว่าชะอี" หรือ "ปลาหว่าหัวแง่ม" เป็นต้น.
ปลาอะโรวาน่าออสเตรเลีย
ปลาอะโรวาน่าออสเตรเลีย หรือ ปลาตะพัดออสเตรเลีย (Australian arowana, Gulf saratoga, Northern saratoga) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาอะโรวาน่าออสเตรเลียจุด (S.
ดู มะกอกและปลาอะโรวาน่าออสเตรเลีย
ปลาปักเป้าปากขวด
ปลาปักเป้าปากขวด หรือ ปลาปักเป้าปากยาว ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งจำพวกปลาปักเป้า Kottelat, M. (2013): The Raffles Bulletin of Zoology, 2013, Supplement No.
ปลานีออน
ปลานีออน หรือ ปลานีออนเตตร้า (อังกฤษ: Neon, Neon tetra; ชื่อวิทยาศาสตร์: Paracheirodon innesi) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาคาราซิน.
ปลาไทเมน
ปลาไทเมน หรือ ปลาไซบีเรียนไทเมน หรือ ปลาไซบีเรียนแซลมอน (Taimen, Siberian taimen, Siberian salmon) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาแซลมอน (Salmonidae) พบในแม่น้ำวอลกาและแม่น้ำแปโชราในรัสเซีย นอกจากนี้แล้วยังพบในลุ่มแม่น้ำอามูร์, ระหว่างทะเลสาบแคสเปียนกับมหาสมุทรอาร์กติกในอนุทวีปยูเรเชีย และบางส่วนของมองโกเลีย มีสีลำตัวแตกต่างหลากหลายออกไปตามแต่ละภูมิประเทศ แต่โดยทั่วไปลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอมเขียวมะกอก หัวมีสีคล้ำกว่า ครีบและหางสีแดงเข้ม ส่วนท้องสีขาว ตามลำตัวมีรอยจุดสีคล้ำสำหรับพรางตัวซุ่มซ่อนตามธรรมชาติ ปากกว้าง ภายในปากมีฟันที่แหลมคมเหมือนเข็มที่งองุ้มเข้ามาด้านใน และแม้แต่ลิ้นก็มีส่วนประกอบที่แหลมคมคล้ายฟัน ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ถึง 210 เซนติเมตร และมีน้ำหนักถึง 105 กิโลกรัม เป็นสถิติที่พบในรัสเซีย เมื่อปี ค.ศ.
นกพิราบ
thumb นกพิราบ เป็นนกในวงศ์นกพิราบและนกเขา (Columbidae) โดยปกติคำว่า "นกพิราบ" จะหมายถึงนกพิราบเลี้ยง (รวมถึงนกพิราบแฟนซีด้วย) ส่วนนกพิราบนอกเหนือจากนี้จะเรียกว่า "นกพิราบป่า" นกพิราบป่ามีขนสีเทาอ่อน มีแถบสีดำสองแถบบนปีกแต่ละข้าง แต่ทั้งนกป่าและนกเลี้ยงนั้นมีความหลากหลายของสีและรูปแบบของขนเป็นอย่างมาก มีความแตกต่างระหว่างเพศเล็กน้อย นกชนิดนี้มักมีคู่ครองตัวเดียว มีลูกครั้งละ 2 ตัว พ่อและแม่ช่วยกันเลี้ยงดู โดยที่เมื่อจับคู่กันแล้วจะไม่แยกจากกันเลยตลอดชีวิต แม้ว่าคู่จะตายไปแล้ว ซึ่งนกพิราบป่านั้นเป็นที่รวมของเชื้อโรคชนิดต่าง ๆ ที่ติดต่อมาสู่มนุษย์ได้ อาทิ โรคสมองอักเสบจากเชื้อรา, ปอดอักเสบ, ท้องเสีย, เครียด หรือแม้กระทั่งหมัดจากตัวนก นกพิราบมีถิ่นอาศัยในสิ่งแวดล้อมเปิดและกึ่งเปิดในพื้นที่เกษตรกรรมและในเมือง หน้าผาและขอบหินถูกใช้เป็นที่ทำรังวางไข่ของนกในป่า นกพิราบมีถิ่นกำเนิดในยุโรป แอฟริกาเหนือ และทางตะวันตกของเอเชีย ก่อนที่จะแพร่กระจายไปตามเมืองต่าง ๆ ทั่วโลก เพราะเป็นนกที่มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะในเมืองได้ดีมาก คาดว่ามีประชากรนกในธรรมชาติประมาณ 17 - 28 ล้านตัวในยุโรป ปัจจุบันนกพิราบเป็นนกที่พบได้ในทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา นกพิราบ เป็นนกที่มนุษย์คุ้นเคยเป็นอย่างดี ในสมัยโบราณจะใช้ในการสื่อสาร เนื่องจากเป็นนกที่มีประสาทสัมผัสเป็นอย่างดีในการที่จะหาทางกลับมาสู่ถิ่นฐานที่จากมา แม้ว่าจะอยู่ไกลแค่ไหนก็ตามด้วยการใช้สนามแม่เหล็กโลกแบบเดียวกับเต่าทะเล อีกทั้งยังใช้แสงแดดและจมูกในการดมกลิ่นอีกด้วย อีกทั้ง ยังนิยมเลี้ยงกันเพื่อการบินแข่งขันกันด้วย และเลี้ยงเป็นสัตว์เศรษฐกิจเพื่อบริโภคเนื้อ และมีการพัฒนาสายพันธุ์ต่าง ๆ ให้มีลักษณะสวยจากธรรมชาติเพื่อการเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม นอกจากนี้แล้ว นกพิราบยังถูกใช้เป็นสัญลักษณ์ในทางสากลหมายถึง "สันติภาพ" โดยมักใช้รูปนกพิราบคาบช่อมะกอก คำว่า "พิราบ" ในภาษาไทยนั้น มาจากคำว่า "วิราว", "พิราว" หรือ "พิราพ" ซึ่งเป็นภาษาสันสกฤตแปลว่า "เสียงร้อง".
น้ำปู๋
น้ำปู หรือน้ำปู๋ เป็นเครื่องปรุงรสที่สำคัญในอาหารไทยภาคเหนือ ทำจากปูนา โดยนำปูนาที่ล้างสะอาด ใส่ครกตำกับตะไคร้ เพื่อดับกลิ่นคาว อาจใส่ใบขมิ้น ใบมะกอกหรือใบฝรั่งด้วยก็ได้ น้ำที่ได้นำมากรองกากออก นำมาเคี่ยวให้ข้น ใส่เกลือ น้ำมะกรูด น้ำปูที่เคี่ยวจนได้ที่แล้วจะเป็นสีดำ ข้นหยดลงบนใบมะม่วงแล้วไม่ไหล ทางจังหวัดน่าน มีน้ำปูที่เรียกน้ำปูพริก ซึ่งใส่พริกป่นกับกระเทียมลงในน้ำปูที่เคี่ยวจนเกือบแห้ง แล้วเคี่ยวต่อจนได้ที่ น้ำปูเป็นเครื่องปรุงรสที่สำคัญของอาหารไทยภาคเหนือ ใช้แทนกะปิ น้ำปลา ปลาร้า และเป็นส่วนประกอบสำคัญของน้ำพริกน้ำปู๋ ส้มตำ และใช้ปรุงรสในส้าหรือยำชนิดต่าง.
โครงการอีเด็น
รงการอีเด็น หุ่นยนต์ยักษ์ "WEEE Man" โครงการอีเด็นในส่วนระบบนิเวศเขตร้อนชื้น โครงสร้างรูปหกเหลี่ยมในโดมของโครงการอีเด็น โครงการอีเด็น โครงการอีเด็น (Eden Project) คือกลุ่มอาคารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในคอร์นวอล สหราชอาณาจักร โครงการนี้ตั้งอยู่บนพื้นที่ของแร่ไธดรัสอะลูมิเนียมซิลิเกตห่างจากตัวเมืองเซนต์บลาเซ 1.25 ไมล์ (2 กิโลกเมตร) และห่างจากเมืองเซนต์ออสเทลล์ 3 ไมล์ (5 กิโลเมตร) อาคารเหล่านี้ประกอบไปด้วยโดมต่างๆ ที่รวบรวมพืชจากทั่วโลก โดยพยายามทำให้เหมือนกับระบบนิเวศโลก โดมเหล่านี้ประกอบขึ้นโดยอาศัยรูปร่างหกเหลี่ยมเป็นร้อยๆแผ่น และรูปห้าเหลี่ยมในบางแห่ง เชื่อมกันจนเป็นอาคารขนาดใหญ่ อาคารนี้มีลักษณะโปร่งแสง สังเคราะห์ขึ้นจากพลาสติก ในโดมแรกนั้น เลียนแบบสิ่งแวดล้อมในเขตร้อน, โดมที่ 2 เลียนแบบเขตอบอุ่น และสภาพอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน โครงการนี้ เป็นแนวคิดของ ทิม สมิท และออกแบบโดยสถาปนิก นิโคลัส กริมชอว์ และออกแบบด้านวิศวกรรม โดย แอนโทนี ฮันท์ โดยความร่วมมือของ ดาวิส แลงดอน ซึ่งทำให้การบริหารโครงการนี้สำเร็จลุล่วง, เซอร์โรเบิร์ต แมคแอลไพน์ และอัลเฟรด แมคแอลไพน์ ดำเนินการด้านการก่อสร้าง และ มีโร ออกแบบและสร้างระบบนิเวศ โครงการนี้ใช้เวลากว่า 2½ ปีในการก่อสร้างและเปิดให้สาธารณชนเข้าชมเมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.
เจอร์บา
เจอร์บา (جربة) เป็นเกาะที่มีพื้นที่ 514 กม² เป็นเกาะใหญ่ที่สุดในแอฟริกาเหนือ ตั้งอยู่ในอ่าวกาแบส ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตอนกลาง นอกฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศตูนิเซีย ปลูกมะกอกและอินทผลัม เป็นแหล่งท่องเที่ยว มีซากปรักหักพังของอารยธรรมโรมันโบราณ หมวดหมู่:เกาะในประเทศตูนิเซีย.
เนยเทียม
นยเทียม มาการีน คืออาหารสังเคราะห์อย่างหนึ่งเพื่อใช้แทนเนย ผลิตขึ้นจากไขมันชนิดอื่นที่ไม่ได้มาจากนมวัว เนยเทียมทำยอดขายได้ดีสำหรับแบบที่ใช้ทาขนมปัง ถึงแม้ว่าเนยธรรมดาและน้ำมันมะกอกก็ยังครองตลาดส่วนใหญ่อยู่ เนยเทียมสามารถนำมาใช้ประกอบอาหารแทนเนยธรรมดาได้ ในบางประเทศมีกฎหมายว่าไม่ให้อ้างถึงเนยเทียมว่าเป็น "เนย".
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Spondias mombinมะกอกเหลือง