โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มอเตอร์

ดัชนี มอเตอร์

การทำงานของมอเตอร์ กระแสไฟฟ้าที่ป้อนเข้าในขดลวดที่พันรอบเหล็กอ่อนบนแกนหมุน(โรเตอร์) ทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็กไปดูดหรือผลักกับอำนาจแม่เหล็กถาวรบนตัวนิ่ง(สเตเตอร์) หรือป้อนกลับกัน หรือป้อนทั้งสองที่ มอเตอร์ไฟฟ้าแบบต่างๆเมื่อเทียบกับแบตเตอรี 9V.

47 ความสัมพันธ์: ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บีม (หุ่นยนต์)พัดลมเพดานกฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์กระแสไฟฟ้ากระแสเอ็ดดี้กังหันน้ำชัยพัฒนาการลวงสัมผัสที่ผิวหนังแบบกระต่ายยานพาหนะไฮบริดรอบต่อนาทีระบบการได้ยินระบบไฟฟ้า 3 เฟสรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรถพลังงานไฟฟ้าลิฟต์วิศวกรรมกำลังไฟฟ้าวิศวกรรมไฟฟ้าวิศวกรรมเครื่องกลสนามแม่เหล็กอิเล็กทรอนิกส์อุปกรณ์ไฟฟ้าในพื้นที่อันตรายอู๋ซีอ็องเดร-มารี อ็องแปร์จักรยานยนต์ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าข้อตกลงสำหรับเครื่องหมายพาสซีฟคาสิโอตัวกระตุ้นให้ทำงานตัวแปรสัญญาณซีชาโดว์ประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ประสิทธิภาพการแปลงพลังงานนามิกิ พรีซิชั่น จูเอิลนาโนมอเตอร์โฟกัสอัตโนมัติโรงงานเทสล่าไฟฟ้าไฟวิ่งไขควงเรือดำน้ำแบบ 039Aเอบีบีกรุ๊ปเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเครื่องสูบน้ำเครื่องผสมอาหารเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเตาอบไมโครเวฟTechnological applications of superconductivity

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์

้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Component) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่แยกออกเป็นชิ้นย่อยๆเป็นเอกเทศหรือเป็นอุปกรณ์ที่มีเอกลักษณ์ทางกายภาพในระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการส่งผลกระทบต่ออิเล็กตรอนหรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับอิเล็กตรอน ตัวอย่างชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมากกว่าสองขั้วไฟฟ้า(ขาหรือลีดส์) เมื่อนำขาของชิ้นส่วนหลายชนิดมาบัดกรีเข้าด้วยกันบนแผงวงจรพิมพ์จะสร้างเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (วงจรย่อย) ที่มีฟังก์ชันที่เฉพาะเจาะจง (เช่นเครื่องขยายสัญญาณ, เครื่องรับสัญญาณวิทยุหรือ oscillator) ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานอาจจะถูกเก็บในบรรจุภัณฑ์แยกชนิดกัน หรือจัดเรียงเป็นแถวหรือเครือข่ายของส่วนประกอบที่เหมือนกันหรือผสมกันภายในแพคเกจเช่นวงจรรวมเซมิคอนดักเตอร์, แผงวงจรไฟฟ้าไฮบริดหรืออุปกรณ์ฟิล์มหน.

ใหม่!!: มอเตอร์และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

บีม (หุ่นยนต์)

หุ่นยนต์บีมอย่างง่ายที่มีตัวตรวจจับแสงและวิ่งไล่ตามแสงได้ ซึ่งใช้วัสดุเหลือใช้ อย่างเช่นมอเตอร์ใช้แล้ว และแผ่นพลาสติกเหลือใช้ บีม (BEAM) คือหุ่นยนต์อัตโนมัติรูปแบบหนึ่งที่ไม่ได้อาศัยไมโครคอนโทรลเลอร์ในการควบคุมและประมวลผลสัญญาณเหมือนหุ่นยนต์ทั่วไป แต่อาศัยคุณสมบัติของวงจรแอนะล็อกอย่างง่าย (อย่างเช่น อุปกรณ์เปรียบเทียบ (Comparator) และ ออสซิลเลเตอร์ (Oscillator))ในการสร้างสัญญาณสั่งให้ตัวขับ (actuator) ทำงานได้ กล่าวคือ เป็นการใช้วงจรอิเล็กโทรนิกแบบแอนะล็อกเลียนแบบการทำงานของระบบประสาทในสิ่งมีชีวิตในการสร้างสัญญาณไฟฟ้าเพื่อที่จะควบคุมอวัยวะต่างๆของตัวหุ่นยนต์ (ในที่นี้คือ มอเตอร์ และตัวขับไฮดรอลิก) โดยคำว่า B.E.A.M ย่อมาจาก B.

ใหม่!!: มอเตอร์และบีม (หุ่นยนต์) · ดูเพิ่มเติม »

พัดลมเพดาน

พัดลมเพดานยี่ห้อ Casablanca จากช่วงต้นยุค ค.ศ. 1980 พัดลมเพดาน (ceiling fan) คือพัดลมชนิดที่ติดตั้งแขวนในแนวดิ่งลงมาจากฝ้าเพดาน มีลักษณะเฉพาะที่จะมีใบพัดแบนยาวขนาดใหญ่ติดตั้งเป็นรูปแฉก ยึดกับแกนหมุนที่อยู่ตรงกลาง (ในบางแบบ แกนหมุนนั้นคือตัวมอเตอร์เอง) พัดลมเพดานจะมีความเร็วรอบการหมุนต่ำกว่าพัดลมตั้งพื้นหรือตั้งโต๊ะมาก โดยพัดลมเพดานสมัยใหม่จะเป็นพัดลมไฟฟ้าทั้งหมด และเหมือนกับพัดลมทั่วไปที่ไม่ได้ให้ความเย็นกับอากาศโดยตรง แต่จะช่วยให้เกิดการถ่ายเทของอากาศ ทำให้การระเหยของเหงื่อดีขึ้น (ซึ่งใช้พลังงานน้อยกว่าการทำในอากาศเย็นลงอย่างที่ทำในเครื่องปรับอากาศมาก) หมวดหมู่:เครื่องใช้ในบ้าน หมวดหมู่:เครื่องใช้ไฟฟ้า.

ใหม่!!: มอเตอร์และพัดลมเพดาน · ดูเพิ่มเติม »

กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์

กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ (Faraday's law of induction) เป็นกฎพื้นฐานของแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งทำนายว่าสนามแม่เหล็กจะมีอันตรกิริยากับวงจรไฟฟ้าเพื่อผลิตแรงเคลื่อนไฟฟ้า เป็นปรากฏการณ์ที่เรียก การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นหลักการทำงานพื้นฐานของหม้อแปลงไฟฟ้า ตัวเหนี่ยวนำ และมอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องกำเนิดไฟฟ้าและโซลินอยด์หลายชนิด สมการแม็กซ์เวลล์–ฟาราเดย์เป็นสามัญการของกฎของฟาราเดย์ และเป็นหนึ่งในสมการของแมกซ์เวลล์ หมวดหมู่:อิเล็กโทรไดนามิกส์ หมวดหมู่:สมการของแม็กซ์เวลล์.

ใหม่!!: มอเตอร์และกฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

กระแสไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย โดยที่กระแสถูกแสดงด้วยอักษร ''i'' ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้า (V), ตัวต้านทาน (R), และกระแส (I) คือ V.

ใหม่!!: มอเตอร์และกระแสไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

กระแสเอ็ดดี้

กระแสเอ็ดดี้ (Eddy current) (หรือบางทีก็เรียกว่ากระแส Foucault) เป็นการไหลวนเป็นหลายวงรอบของกระแสไฟฟ้าที่ถูกเหนี่ยวนำขึ้นภายในตัวนำโดยการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กในตัวนำนั้นตามกฎของการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ กระแสเอ็ดดี้จะไหลเป็นวงรอบปิดภายในตัวนำในระนาบที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก กระแสเหล่านี้สามารถถูกเหนี่ยวนำให้เกิดภายในตัวนำที่ติดนิ่งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงโดยสนามแม่เหล็กที่แปรเปลี่ยนตามเวลาที่สร้างขึ้นโดยแม่เหล็กไฟฟ้าหรือหม้อแปลงกระแสสลับ (ตัวอย่าง) หรือโดยการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างแม่เหล็กและตัวนำที่อยู่บริเวณใกล้เคียง ขนาดของกระแสในวงรอบหนึ่งจะเป็นสัดส่วนกับความแรงของสนามแม่เหล็ก, พื้นที่ของวงรอบ, และอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์, และสัดส่วนที่แปรผกผันกับคุณสมบัติความต้านทานของวัสดุ ตามกฎของเลนซ์ กระแสเอ็ดดี้จะสร้างสนามแม่เหล็กสนามหนึ่งที่ตรงข้ามกับสนามแม่เหล็กที่สร้างมันขึ้นมา กระแสเอ็ดดี้จึงกลับมาเป็นปฏิปักษ์กับแหล่งที่มาของสนามแม่เหล็กนั้น ยกตัวอย่างเช่นพื้นผิวที่เป็นสื่อกระแสไฟฟ้าที่อยู่บริเวณใกล้เคียงจะออกแรงลากแรงหนึ่งบนแม่เหล็กที่กำลังเคลื่อนที่เพื่อต่อต้านกับการเคลื่อนที่ของแม่เหล็ก แรงลากนั้นเกิดขึ้นเนื่องจากกระแสเอ็ดดี้ที่ถูกเหนี่ยวนำในพื้นผิวโดยสนามแม่เหล็กที่กำลังเคลื่อนที่ ผลกระทบนี้จะถูกนำมาใช้ในตัวเบรกด้วยกระแสเอ็ดดี้ที่ถูกใช้ในการหยุดการหมุนของเครื่องมือไฟฟ้าได้อย่างรวดเร็วเมื่อเครื่องมือนั้นถูกถูกปิดกระแสไฟฟ้า กระแสที่ไหลผ่านความต้านทานของตัวนำยังกระจายพลังงานความร้อนในวัสดุอีกด้วย ดังนั้นกระแสเอ็ดดี้จึงเป็นแหล่งที่มาของการสูญเสียพลังงานในตัวเหนี่ยวนำ, หม้อแปลง, มอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ที่ใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) และเครื่องจักรกล AC อื่น ๆ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องมีการสร้างพิเศษให้กับอุปกรณ์เหล่านั้น เช่นการเคลือบแกนแม่เหล็กเพื่อลดกระแสเอ็ดดี้ กระแสเอ็ดดี้ยังถูกใช้อีกด้วยในการให้ความร้อนวัตถุในเตาเผาและอุปกรณ์ที่สร้างความร้อนโดยการเหนี่ยวนำ และในการตรวจสอบรอยแตกและตำหนิในชิ้นส่วนโลหะโดยใช้'เครื่องมือทดสอบกระแสเอ็ดดี้'.

ใหม่!!: มอเตอร์และกระแสเอ็ดดี้ · ดูเพิ่มเติม »

กังหันน้ำชัยพัฒนา

กังหันชัยพัฒนา ต้นแบบ กังหันชัยพัฒนา กังหันน้ำชัยพัฒนา เป็น กังหันน้ำเพื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการเติมอากาศ สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย เพื่อพัฒนาแหล่งน้ำแก่ปวงชน ทำงานโดย การหมุนปั่น เพื่อเติมอากาศให้น้ำเสียกลายเป็นน้ำดี สามารถประยุกต์ใช้บำบัดน้ำเสีย จากการอุปโภคของประชาชน น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งเพิ่มออกซิเจน ให้กับบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำทางการเกษตร.

ใหม่!!: มอเตอร์และกังหันน้ำชัยพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

การลวงสัมผัสที่ผิวหนังแบบกระต่าย

การลวงสัมผัสที่ผิวหนังแบบกระต่าย (cutaneous rabbit illusion) หรือ สภาวะกระโดดที่ผิวหนัง (cutaneous saltation คำว่า saltation (แปลว่ากระโดด) หมายถึงลักษณะเหมือนกับการกระโดดที่ปรากฏแก่ความรู้สึก) หรือ ปรากฏการณ์กระต่ายที่ผิวหนัง (cutaneous rabbit effect) เป็นการลวงความรู้สึกสัมผัสโดยการแตะหรือเคาะที่เขตผิวหนังสองเขตหรือมากกว่านั้นตามลำดับอย่างรวดเร็ว เกิดได้ง่ายที่สุดตามผิวของร่างกายที่มีการรับรู้สัมผัสที่ไม่ละเอียดโดยพื้นที่เช่นที่หน้าแขน การเคาะตามลำดับอย่างรวดเร็วเบื้องต้นใกล้ ๆ ข้อมือและต่อจากนั้นใกล้ ๆ ข้อศอก ก่อให้เกิดความรู้สึกว่ามีการเคาะกระโดดมาตามลำดับตามลำแขนจากข้อมือไปถึงข้อศอก แม้ว่าจะไม่มีการเคาะจริง ๆ ในระหว่างข้อมือถึงข้อศอก และโดยนัยเดียวกัน ถ้าเบื้องต้นเคาะใกล้ข้อศอก แล้งจึงเคาะใกล้ข้อมือ ก็จะทำให้เกิดความรู้สึกลวงถึงการเคาะกระโดดไปตามลำดับจากข้อศอกจนถึงข้อมือ การลวงความรู้สึกเช่นนี้ค้นพบโดยแฟร็งก์ เจ็ลดาร์ด และคารล์ เชอร์ริก ที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันในประเทศสหรัฐอเมริกาในต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 และกำหนดรายละเอียดเพิ่มขึ้นโดยเจ็ลดาร์ดในปี..

ใหม่!!: มอเตอร์และการลวงสัมผัสที่ผิวหนังแบบกระต่าย · ดูเพิ่มเติม »

ยานพาหนะไฮบริด

ยานพาหนะไฮบริด (hybrid vehicle) คือยานพาหนะที่มีระบบการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สองระบบทำงานร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการทำงานร่วมกันระหว่างระบบสันดาปภายในที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงทำงานร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า ระบบการออกตัว การทำงานของไฮบริด เริ่มจากการออกตัวขณะจอด และการเร่งความเร็วขณะความเร็วต่ำ มอเตอร์ไฟฟ้าจะดึงพลังงานจากแบตเตอรี่ เพื่อช่วยให้ออกตัวได้รวดเร็ว และเร่งขณะความเร็วต่ำได้ตามที่ต้องการ การขับขี่ทั่วไป เครื่องยนต์ และมอเตอร์ไฟฟ้าจะทำงานประสานกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้เชื้อเพลิงให้คุ้มค่าที่สุด แต่เมื่อเร่งความเร็วแบบกะทันหัน มอเตอร์ไฟฟ้าจะดึงพลังงานเพิ่มจากแบตเตอรี่มาเสริมกำลัง ช่วยให้เครื่องยนต์มีกำลังสูงสุดและสามารถเร่งความเร็วได้ตามความต้องการ การเบรก และการลดความเร็ว เมื่อผู้ขับขี่แตะเบรก มอเตอร์ไฟฟ้าจะเปลี่ยนไปทำหน้าที่เป็นเครื่องกำเนิดพลังงาน (ไดนาโม) และแปลงพลังงานจลน์ที่เกิดจากการเบรกเป็นกระแสไฟฟ้า เพื่อชาร์จไฟฟ้ากลับเข้าไปในแบตเตอรี่ การจอดอยู่กับที่ เมื่อรถจอดอยู่กับที่ เครื่องยนต์ และมอเตอร์ไฟฟ้าจะหยุดทำงานโดยอัตโนมัติ เพื่อลดการใช้น้ำมัน และการปล่อยควันพิษ โดยไม่ต้องสิ้นเปลืองพลังงานกับรอบเดินเบาขณะจอด ทั้งนี้ระบบการทำงานแบบไฮบริดจะแตกต่างกันออกไปตามการออกแบบของรถยนต์แต่ละยี่ห้อ ซึ่งแต่ละยี่ห้อจะออกแบบให้ต่างกัน เพื่อให้เหมาะสมกับเครื่องยนต์แต่ละชนิด เช่น เครื่องยนต์ขนาดเล็กจะใช้มอเตอร์ขนาดใหญ่เพื่อ ช่วยเครื่องยนต์ในขณะออกตัวกะทันหัน ไม่ให้สิ้นเปลืองน้ำมันในเครื่องยนต์จนเกินไป หมวดหมู่:เครื่องยนต์ หมวดหมู่:ยานพาหนะพลังงานไฟฟ้า หมวดหมู่:ยานพาหนะ.

ใหม่!!: มอเตอร์และยานพาหนะไฮบริด · ดูเพิ่มเติม »

รอบต่อนาที

รอบต่อนาที (RPM หรือ rpm ย่อมาจาก Revolutions per minute) นิยมใช้เป็นหน่วยวัดอัตราการหมุนของเครื่องยนต์และมอเตอร์ โดยเขียนระบุหน่วยเป็น rpm, RPM, r/min หรือ min-1 อัตราเร็วรอบต่อนาที เป็นค่าความถี่ (frequency) แบบหนึ่ง หน่วยเอสไอของความถี่คือ เฮิรตซ์ (Hz) โดย 1\ Hz.

ใหม่!!: มอเตอร์และรอบต่อนาที · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการได้ยิน

ระบบการได้ยิน (auditory system) เป็นระบบรับความรู้สึก/ระบบประสาทสัมผัส ซึ่งรวมทั้งอวัยวะการฟังคือหู และระบบประสาทเกี่ยวกับการฟัง กายวิภาคของหู แม้ว่าช่องหูจะยาวเกินสัดส่วนในรูป.

ใหม่!!: มอเตอร์และระบบการได้ยิน · ดูเพิ่มเติม »

ระบบไฟฟ้า 3 เฟส

ระบบไฟฟ้า 3 เฟส เป็นวิธีการจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับและพลังงานผ่านระบบกริดไฟฟ้าที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในโลก ระบบนี้เป็นหนึ่งในระบบหลายเฟสที่ใช้บ่อยในการให้พลังงานแก่มอเตอร์ไฟฟ้าและโหลดต่าง ๆ ที่ต้องใช้กำลังไฟฟ้าเป็นจำนวนมาก ระบบ 3 เฟสมีประสิทธิภาพมากกว่าระบบ 2 เฟสเนื่องจากระบบ 3 เฟสสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้มากกว่าเมื่อทั้งคู่มีจำนวนวัสดุตัวนำไฟฟ้าเท่ากัน ระบบ 2 เฟสคิดค้นโดย กาลิเลโอ เฟอร์ราริส, มีฮาอิล โดลิโว-โดโบรโวลสกี, โยนาส เวนสตรอม, จอห์น ฮอปกินสัน, และ นิโคลา เทสลา ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: มอเตอร์และระบบไฟฟ้า 3 เฟส · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: มอเตอร์และรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

รถพลังงานไฟฟ้า

รถยนต์อัจฉริยะขับเคลื่อนพลังงานไฟฟ้าจำนวนมากกำลังชาร์จพลังงานที่สถานีข้างถนน รถพลังงานไฟฟ้า (electric car) คือรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าโดยใช้พลังงานไฟฟ้าซึ่งเก็บอยู่ในแบตเตอรี่หรืออุปกรณ์เก็บพลังงานไฟฟ้าแบบอื่นๆ และด้วยข้อดีของมอเตอร์ไฟฟ้าที่ให้แรงบิดได้ทันทีทำให้รถพลังงานไฟฟ้ามีอัตราเร่งที่เรียบและรวดเร็ว รถพลังงานไฟฟ้ารุ่นแรก ๆ ปรากฏในคริสต์ทศวรรษ 1880 รถพลังงานไฟฟ้าเคยได้รับความนิยมในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษ 20 จนกระทั่งความก้าวหน้าเกี่ยวกับเครื่องยนต์สันดาปภายใน และการผลิตยานพาหนะเป็นจำนวนมาก จะทำให้การใช้ยานพาหนะขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าลดน้อยลง วิกฤตพลังงานในคริสต์ทศวรรษ 1970 และ 1980 ทำให้เกิดความสนใจในรถพลังงานไฟฟ้าในช่วงสั้น ๆ ช่วงหนึ่ง แม้ว่า รถยนต์เหล่านั้นจะไม่สามารถแตะขั้นตลาดหลัก แต่สามารถทำได้ในศตวรรษที่ 21 ตั้งแต..

ใหม่!!: มอเตอร์และรถพลังงานไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ลิฟต์

ลิฟต์แก้ว ลิฟต์เป็นพาหนะเคลื่อนที่ในแนวดิ่งชนิดหนึ่ง มีประสิทธิภาพในการเคลื่อนย้ายคนหรือสิ่งของระหว่างชั้นในอาคาร ลิฟต์ในปัจจุบันใช้พลังงานมอเตอร์ไฟฟ้าในการทำงาน หมวดหมู่:อุปกรณ์การขนส่งในแนวตั้ง หมวดหมู่:การขนส่ง.

ใหม่!!: มอเตอร์และลิฟต์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมกำลังไฟฟ้า

กังหันไอน้ำ ถูกนำมาใช้เพื่อผลิตกำลังไฟฟ้า วิศวกรรมกำลังไฟฟ้า (Power engineering) หรือที่เรียกว่า วิศวกรรมระบบไฟฟ้า เป็นสาขาย่อยของ วิศวกรรมพลังงาน และ วิศวกรรมไฟฟ้า ที่เกี่ยวข้องกับ การผลิตไฟฟ้า, การส่งกำลังไฟฟ้า, การกระจายกำลังไฟฟ้า, การใช้ให้เป็นประโยชน์ (utilization) และอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เชื่อมต่อกับระบบดังกล่าวจะรวมถึง เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, มอเตอร์ และ หม้อแปลงไฟฟ้า แม้ว่าสาขานี้ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับปัญหาของ ไฟ AC สามเฟส - ซึ่งเป็นมาตรฐานสำหรับการจัดส่งและการจัดจำหน่ายไฟฟ้าขนาดใหญ่ทั่วโลกสมัยใหม่ - ชิ้นส่วนเล็ก ๆ ที่สำคัญของสาขานี้จะเกี่ยวข้องกับการแปลงระหว่าง กำลังไฟ AC และ DC และการพัฒนาระบบกำลังพิเศษเช่นที่ใช้ในยานอากาศหรือสำหรับเครือข่ายไฟฟ้าระบบราง วิศวกรรมกำลังไฟฟ้าดึงส่วนใหญ่ของฐานทฤษฎีของมันจากวิศวกรรมไฟฟ้าและในขณะที่วิศวกรกำลังไฟฟ้าบางคนอาจได้รับการพิจารณาว่าเป็นวิศวกรพลังงาน, วิศวกรพลังงานมักจะไม่มีพื้นหลังทางทฤษฎีของวิศวกรรมไฟฟ้าที่จะเข้าใจวิศวกรรมกำลังไฟฟ้าได้.

ใหม่!!: มอเตอร์และวิศวกรรมกำลังไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมไฟฟ้า

วิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering) เป็นสาขาที่ศึกษาทฤษฏีและการประยุกต์ใช้ ไฟฟ้า, คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ผู้ที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้เรียกว่า วิศวกรไฟฟ้า สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเป็นสาขาที่กว้างประกอบไปด้วยหลายสาขาย่อ.

ใหม่!!: มอเตอร์และวิศวกรรมไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเครื่องกลออกแบบและสร้างเครื่องจักร งานวิศวกรรมเครื่องกลรวมไปถึงยานพาหนะในทุกขนาด ระบบปรับอากาศเองก็เป็นหนึ่งในงานทางวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical engineering) เป็นวิชาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์และกฎทางฟิสิกส์เพื่อการประดิษฐ์ การผลิต และการดูแลรักษาระบบเชิงกล วิศวกรรมเครื่องกลเป็นหนึ่งในสาขาทางวิศวกรรมที่เก่าแก่ที่สุดและมีขอบข่ายกว้างขวางที่สุด การศึกษาวิศวกรรมเครื่องกลนั้นจำเป็นต้องมีความเข้าใจในหลักการพื้นฐานของหลักกลศาสตร์ พลศาสตร์ อุณหพลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหลและพลังงานเป็นอย่างดี วิศวกรเครื่องกลนั้นสามารถใช้หลักการณ์พื้นฐานได้ดีพอกับความรู้อื่น ๆ ในงานภาคสนามเพื่อการออกแบบและวิเคราะห์ยานยนต์ อากาศยาน ระบบทำความร้อนและความเย็น เรือ ระบบการผลิต จักรกลและอุปกรณ์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น.

ใหม่!!: มอเตอร์และวิศวกรรมเครื่องกล · ดูเพิ่มเติม »

สนามแม่เหล็ก

กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเส้นลวดทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก (M) รอบๆ บริเวณเส้นลวด ทิศทางของสนามแม่เล็กที่เกิดขึ้นนี้เป็นไปตามกฎมือขวา กฎมือขวา Hans Christian Ørsted, ''Der Geist in der Natur'', 1854 สนามแม่เหล็ก นั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น การสปิน(การหมุนรอบตัวเอง) ของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดจากการ สปิน เป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ สนามแม่เหล็กคือปริมาณที่บ่งบอกแรงกระทำบนประจุที่กำลังเคลื่อนที่ สนามแม่เหล็กเป็นสนามเวกเตอร์และทิศของสนามแม่เหล็ก ณ ตำแหน่งใดๆ คือทิศที่เข็มของเข็มทิศวางตัวอย่างสมดุล เรามักจะเขียนแทนสนามแม่เหล็กด้วยสัญลักษณ์ \mathbf\ เดิมทีแล้ว สัญลักษณ์ \mathbf \ นั้นถูกเรียกว่าความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กหรือความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ในขณะที่ \mathbf.

ใหม่!!: มอเตอร์และสนามแม่เหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กทรอนิกส์

อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับวงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็น active component เช่นหลอดสูญญากาศ, ทรานซิสเตอร์, ไดโอด และ Integrated Circuit และ ชิ้นส่วน พาสซีฟ (passive component) เช่น ตัวนำไฟฟ้า, ตัวต้านทานไฟฟ้า, ตัวเก็บประจุ และคอยล์ พฤติกรรมไม่เชิงเส้นของ active component และความสามารถในการควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนทำให้สามารถขยายสัญญาณอ่อนๆให้แรงขึ้นเพื่อการสื่อสารทางภาพและเสียงเช่นโทรเลข, โทรศัพท์, วิทยุ, โทรทัศน์ เป็นต้น อิเล็กทรอนิกส์ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายในการสื่อสารข้อมูลโทรคมนาคม ความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่เป็นสวิทช์ปิดเปิดวงจรถูกนำไปใช้ในวงจร ลอจิกเกต ซึ่งเป็นส่วนสำคัญหลักในระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ยังถูกนำไปใช้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน ในการส่งพลังงานไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลๆ การผลิตพลังงานทดแทน และอุตสาหกรรมต่างๆอีกมาก อิเล็กทรอนิกส์แตกต่างจากวิทยาศาสตร์ไฟฟ้าและเทคโนโลยีเครื่องกลไฟฟ้า โดยจะเกี่ยวข้องกับการสร้าง, การกระจาย, การสวิทช์, การจัดเก็บและการแปลงพลังงานไฟฟ้าไปและมาจากพลังงานรูปแบบอื่น ๆ โดยใช้สายไฟ, มอเตอร์, เครื่องกำเนิดไฟฟ้า, แบตเตอรี่, สวิตช์, รีเลย์, หม้อแปลงไฟฟ้า ตัวต้านทานและส่วนประกอบที่เป็นพาสซีพอื่นๆ ความแตกต่างนี้เริ่มราวปี 1906 เป็นผลจากการประดิษฐ์ไตรโอดโดยลี เดอ ฟอเรสท์ ซึ่งใช้ขยายสัญญาณวิทยุที่อ่อนๆได้ ทำให้เกิดการออกแบบและพัฒนาระบบการรับส่งสัญญาณเสียงและหลอดสูญญากาศ จึงเรียกสาขานี้ว่า "เทคโนโลยีวิทยุ" จนถึงปี 1950 ปัจจุบัน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่ ใช้ชิ้นส่วนสารกึ่งตัวนำเพื่อควบคุมการทำงานของอิเล็กตรอน การศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำและเทคโนโลยีโซลิดสเตต ในขณะที่การออกแบบและการสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในการแก้ปัญหาในทางปฏิบัติอยู่ภายใต้สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ บทความนี้มุ่งเน้นด้านวิศวกรรมของ.

ใหม่!!: มอเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

อุปกรณ์ไฟฟ้าในพื้นที่อันตราย

ในทางวิศวกรรมไฟฟ้า พื้นที่อันตรายหมายถึง พื้นที่ที่อาจจะเต็มไปด้วยก๊าซไวไฟ ไอน้ำ ฝุ่นละออง อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ในพื้นที่เหล่านี้มีความจำเป็นที่จะต้องถูกออกแบบและทดลองมาอย่างพิเศษ เพื่อให้มั่นใจว่าอุปกรณ์ไฟฟ้าจะไม่ก่อให้เกิดการระเบิด ประกายไฟ หรือมีพื้นผิวที่มีอุณหภูมิสูง ตัวอย่างเช่น สวิตช์ไฟในบ้าน ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดประกายไฟเล็กน้อยที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายในสภาวะบรรยากาศปกติ จะไม่ได้รับความสนใจ แต่ในสภาวะที่มีไอระเหยที่ติดไฟได้อยู่ ประกายไฟอาจจะก่อให้เกิดการระเบิดขึ้นได้ ดังนั้น อุปกรณ์ไฟฟ้าที่จะถูกนำไปติดตั้งใช้ในโรงงานเคมีหรือโรงงานถลุงแร่จะต้องถูกออกแบบมาให้ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟหรืออะไรก็ตามที่อาจจะก่อให้เกิดประกายไฟอันจะทำให้ไอระเหยติดไฟได้ที่อาจจะปรากฏในบริเวณนั้นเกิดการระเบิดขึ้นได้ มีแนวทางแก้ปัญหาในการติดตั้งทางไฟฟ้าเหล่านี้มากมาย แต่วิธีการที่ง่ายที่สุดคือการลดจำนวนอุปกรณ์ไฟฟ้าในบริเวณอันตรายให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ไม่ว่าจะด้วยการย้ายอุปกรณ์ไฟฟ้าออกนอกบริเวณอันตราย หรือการลดความอันตรายของพื้นที่ด้วยการปรับปรุงกระบวนการผลิตหรือการใช้ระบบระบายอากาศ Intrinsic safety คือเทคนิกในทางปฏิบัติแนวทางหนึ่ง ซึ่งออกแบบมาเพื่อลดระดับกำลังของไฟฟ้าและมีพลังงานสะสมต่ำ อันจะทำให้โอกาสที่จะเกิดการระเบิดต่ำลง การปิดคลุมอุปกรณ์สามารถอัดอากาศบริสุทธิ์เข้าไปในระบบแล้วปิดตาย ซึ่งอุปกรณ์จะถูกตัดออกจากระบบเมื่อระบบจ่ายอากาศไม่ทำงาน เป็นเรื่องธรรมดาในสายงานเทคโนโลยีไฟฟ้าที่ในแต่ละประเทศจะมีมาตรฐานที่แต่งต่างกันออกไปและมีวิธีการทดสอบที่อุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับงานในพื้นที่อันตรายที่ไม่เหมือนกัน เนื่องด้วยการค้าโลกทวีความสำคัญในการแพร่กระจายผลิตภัณฑ์ไฟฟ้ามากขึ้น ดังนั้นมาตรฐานนานาชาติจค่อย ๆ จึงค่อย ๆ ได้รับการเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนมีเทคนิกที่ได้รับการยอมรับโดนตัวแทนของแต่ละชาติมากขึ้น.

ใหม่!!: มอเตอร์และอุปกรณ์ไฟฟ้าในพื้นที่อันตราย · ดูเพิ่มเติม »

อู๋ซี

อู๋ซี (อังกฤษ: Wuxi) เป็นเมืองอุตสาหกรรมเก่าในมณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณที่ลุ่มปากแม่น้ำแยงซี มีทะเลสาบไท่หูพาดผ่านแบ่งเมืองออกเป็นสองส่วน ทางทิศจะวันตกมีอาณาเขตติดกับฉางโจว และทางทิศตะวันออกติดกับซูโจว เนื่องจากเป็นเมืองที่ได้รับการพัฒนาเมื่อไม่นานมานี้ จึงถูกขนานนามว่า "เซี่ยงไฮ้น้อย" มีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นหนึ่งในเมืองต้นกำเนิดอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจสมัยใหม่ของจีน และยังเป็นบ้านเกิดของนักธุรกิจที่มีชื่อเสียงหลายคนในสมัยศตวรรษที่ 20 ที่มีส่วนสร้างเมืองเซี่ยงไฮ้ให้เป็นเมืองเศรษฐกิจสมัยใหม่อีกด้ว.

ใหม่!!: มอเตอร์และอู๋ซี · ดูเพิ่มเติม »

อ็องเดร-มารี อ็องแปร์

นของอ็องแปร์กับบุตรชาย อ็องเดร-มารี อ็องแปร์ (André-Marie Ampère; 22 มกราคม ค.ศ. 1775 — 10 มิถุนายน ค.ศ. 1836) เป็นนักฟิสิกส์และนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ค้นพบทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า หน่วย SI ของการวัดกระแสไฟฟ้า โดยชื่อของหน่วยแอมแปร์ ได้ตั้งตามชื่อของ.

ใหม่!!: มอเตอร์และอ็องเดร-มารี อ็องแปร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรยานยนต์

Crocker ปี 1941 จักรยานยนต์ยามาฮ่า จักรยานยนต์ หรือ มอเตอร์ไซค์ (motorcycle หรือ motorbike) คือยานพาหนะสองล้อที่ใช้เครื่องยนต์หรือมอเตอร์ในการขับเคลื่อน ประเภทของจักรยานยนต์ขึ้นอยู่กับลักษณะการออกแบบใช้งาน เช่น ระยะทาง สภาพจราจร การท่องเที่ยว กีฬา และ การแข่งขัน เป็นต้น.

ใหม่!!: มอเตอร์และจักรยานยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า

ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetism) เป็นสาขาหนึ่งของวิชาฟิสิกส์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา แรงแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็นปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นระหว่างอนุภาคใดๆที่มีประจุไฟฟ้า แรงแม่เหล็กไฟฟ้ามักจะแสดงสนามแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นสนามไฟฟ้า, สนามแม่เหล็ก, และแสง แรงแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหนึ่งในสี่ปฏิสัมพันธ์พื้นฐานในธรรมชาติ อีกสามแรงพื้นฐานได้แก่ อันตรกิริยาอย่างเข้ม, อันตรกิริยาอย่างอ่อน และแรงโน้มถ่วง ฟ้าผ่าเป็นการระบายออกของไฟฟ้าสถิตแบบหนึ่งที่ไฟฟ้าสถิตจะเดินทางระหว่างสองภูมิภาคท​​ี่มีประจุไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้ามาจากภาษาอังกฤษ electromagnet คำนี้ป็นรูปแบบผสมของคำภาษากรีกสองคำได้แก่ ἤλεκτρον หมายถึง อิเล็กตรอน และ μαγνῆτιςλίθος (Magnetis Lithos) ซึ่งหมายถึง "หินแม่เหล็ก" ซึ่งเป็นแร่เหล็กชนิดหนึ่ง วิทยาศาสตร์ของปรากฏการณ์แม่เหล็กไฟฟ้าถูกกำหนดไว้ในความหมายของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า บางครั้งถูกเรียกว่าแรงลอเรนซ์ (Lorentz force) ซึ่งประกอบด้วยทั้งไฟฟ้าและแม่เหล็กในฐานะที่เป็นสององค์ประกอบของปรากฏการณ์ แรงแม่เหล็กไฟฟ้ามีบทบาทสำคัญในการกำหนดคุณสมบัติภายในของวัตถุส่วนใหญ่ที่พบในชีวิตประจำวัน สสารทั่วไปจะได้รูปแบบของมันจากผลของแรงระหว่างโมเลกุลของโมเลกุลแต่ละตัวในสสาร อิเล็กตรอนจะถูกยึดเหนี่ยวตามกลไกคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเข้ากับวงโคจรรอบนิวเคลียสเพื่อก่อตัวขึ้นเป็นอะตอมซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักของโมเลกุล กระบวนการนี้จะควบคุมกระบวนการที่เกี่ยวข้องทั้งหลายในทางเคมีซึ่งเกิดขึ้นจากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในวงโคจรของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนอื่นในวงโคจรของอะตอมที่อยู่ใกล้เคียงซึ่งจะถูกกำหนดโดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างแรงแม่เหล็กไฟฟ้ากับโมเมนตัมของอิเล็กตรอนเหล่านั้น มีคำอธิบายของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าทางคณิตศาสตร์จำนวนมาก ในไฟฟ้าพลศาสตร์แบบคลาสสิก (classical electrodynamics) สนามไฟฟ้าจะอธิบายถึงศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า ในกฎของฟาราเดย์ สนามแม่เหล็กจะมาพร้อมกับการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและแม่เหล็ก, และสมการของแมกซ์เวลจะอธิบายว่า สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กถูกสร้างขึ้นได้อย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงซึ่งกันและกันอย่างไร และมีการเปลี่ยนแปลงโดยประจุและกระแสได้อย่างไร การแสดงเจตนาเป็นนัยในทางทฤษฎีของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า โดยเฉพาะในการจัดตั้งของความเร็วของแสงที่ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของ "ตัวกลาง" ของการกระจายคลื่น (ความสามารถในการซึมผ่าน (permeability) และแรงต้านสนามไฟฟ้า (permittivity)) นำไปสู่​​การพัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษโดย อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ในปี 1905 แม้ว่าแรงแม่เหล็กไฟฟ้าถือเป็นหนึ่งในสี่แรงพื้นฐาน แต่ที่ระดับพลังงานสูงอันตรกิริยาอย่างอ่อนและแรงแม่เหล็กไฟฟ้าถูกรวมเป็นสิ่งเดียวกัน ในประวัติศาสตร์ของจักรวาล ในช่วงยุคควาร์ก แรงไฟฟ้าอ่อน (electroweak) จะหมายถึงแรง(แม่เหล็ก)ไฟฟ้า + (อันตรกิริยาอย่าง)อ่อน.

ใหม่!!: มอเตอร์และทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ข้อตกลงสำหรับเครื่องหมายพาสซีฟ

ประกอบของ "ทิศทางอ้างอิง" ของกระแส ('''''i''''') แรงดันไฟฟ้า ('''''v''''') และกำลังไฟฟ้า ('''''p''''') เป็นตัวแปรที่ใช้ในข้อตกลงสำหรับสัญลักษณ์พาสซีฟ ถ้ากระแสบวกถูกกำหนดให้ไหลเข้าที่ขั้วไฟฟ้าซึ่งถูกกำหนดให้มีแรงดันบวก ดังนั้นกำลังไฟฟ้าบวกจะหมายถึงกำลังไฟฟ้าที่ไหลเข้าสู่อุปกรณ์ (''ลูกศรขนาดใหญ่'') ในสาขา วิศวกรรมไฟฟ้า, ข้อตกลงเครื่องหมายพาสซีฟ (Passive sign convention (PSC)) เป็นข้อตกลงเกี่ยวกับเครื่องหมายหรือกฎมาตรฐานที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใช้อย่างกว้างขวางโดยชุมชนวิศวกรรมไฟฟ้าเพื่อกำหนดเครื่องหมายของ กำลังไฟฟ้า (electric power) ในวงจรไฟฟ้าหนึ่ง ข้อกำหนดนี้ได้กำหนดให้กำลังไฟฟ้าที่ไหลออกมาจากวงจร เข้า ไปใน ชิ้นส่วนไฟฟ้า มีเครื่องหมายเป็นบวก และกำลังไฟฟ้าที่ไหลเข้าไปในวงจร ออก จากชิ้นส่วนไฟฟ้าหนึ่ง มีเครื่องหมายเป็นลบ ดังนั้น ชิ้นส่วนที่เป็น พาสซีฟ ซึ่งบริโภคกำลังไฟฟ้าเช่นเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือหลอดไฟ จะมีการกระจายพลังงาน (power dissipation) เป็น บวก ในขณะที่ชิ้นส่วนที่เป็นแอคทีฟ ได้แก่แหล่งจ่ายพลังงานเช่นเครื่องกำเนิดไฟฟ้าหรือแบตเตอรี่ จะมีการกระจายพลังงานเป็น ลบ นี่คือการกำหนดมาตรฐานของการใช้พลังงานในวงจรไฟฟ้า เพื่อให้สอดคล้องกับข้อตกลง ทิศทางของตัวแปร แรงดัน และ กระแส ที่ใช้ในการคำนวณกำลังไฟฟ้าและความต้านทานในชิ้นส่วน จะต้องมีความสัมพันธ์ที่แน่นอน ตัวแปรกระแสจะต้องถูกกำหนดเพื่อที่ว่ากระแสบวกจะเข้าทางขั้วแรงดันไฟฟ้าบวกของอุปกรณ์ ทิศทางเหล่านี้อาจแตกต่างจากทิศทางของการไหลของกระแสและแรงดันไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจริง.

ใหม่!!: มอเตอร์และข้อตกลงสำหรับเครื่องหมายพาสซีฟ · ดูเพิ่มเติม »

คาสิโอ

ริษัท คาสิโอ คอมพิวเตอร์ จำกัด เป็นบริษัทที่ผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของญี่ปุ่น สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงโตเกียว ก่อตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 คาสิโอมีชื่อเสียงในด้านการผลิตเครื่องคิดเลข เครื่องเสียง พีดีเอ กล้องถ่ายรูป เครื่องดนตรี และนาฬิกาข้อมือ เมื่อปี ค.ศ. 1957 คาสิโอเป็นรายแรกของโลกที่ผลิตและจำหน่ายเครื่องคิดเลขไฟฟ้าขนาดกะทัดรั.

ใหม่!!: มอเตอร์และคาสิโอ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวกระตุ้นให้ทำงาน

ตัวกระตุ้นให้ทำงาน (actuator) หรือสั้น ๆ ว่า "ตัวกระตุ้น" เป็นชนิดหนึ่งของมอเตอร์ที่รับผิดชอบสำหรับการเคลื่อนไหวหรือการควบคุมกลไกหรือระบบ มันทำงานโดยแหล่งที่มาของพลังงาน โดยปกติเป็นกระแสไฟฟ้า, แรงดันของเหลวไฮดรอลิก, หรือแรงดันลม จากนั้นก็แปลงพลังงานนั้นให้เป็นการเคลื่อนไหว มันกระตุ้นให้หัวพิมพ์ฉีดสีออกมา หรือกระตุ้นให้ก้ามปูเบรกจับเข้ากับล้อ เป็นต้น ตัวกระตุ้นให้ทำงานเป็นกลไก โดยที่ระบบการควบคุมของตัวกระตุ้นจะทำงานอยู่กับสภาพแวดล้อม ระบบการควบคุมอาจเป็นแค่ระบบง่าย ๆ (ระบบเครื่องกลอยู่กับที่หรือระบบอิเล็กทรอนิกส์), ระบบตัวขับที่ใช้ซอฟต์แวร์ (เช่นตัวขับเครื่องพิมพ์, ระบบการควบคุมหุ่นยนต์), มนุษย์, หรืออินพุทอื่น.

ใหม่!!: มอเตอร์และตัวกระตุ้นให้ทำงาน · ดูเพิ่มเติม »

ตัวแปรสัญญาณ

ตัวแปรสัญญาณ (Transducer) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่แปลงสัญญาณของพลังงานในรูปแบบหนึ่งเป็นพลังงานในอีกรูปแบบหนึ่ง พลังงานดังกล่าวรวมถึง (แต่ไม่จำกัด เพียงเท่านี้) พลังงานไฟฟ้า, เครื่องกล, แม่เหล็กไฟฟ้า (รวมทั้งแสง), พลังงานเคมี, พลังงานเสียง, หรือพลังงานความร้อน ตัวแปรสัญญาณปกติจะหมายถึงเซ็นเซอร์/เครื่องตรวจจับ และใช้กันอย่างแพร่หลายในเครื่องมือวัดต่างๆ เซ็นเซอร์จะใช้ในการตรวจสอบพารามิเตอร์ในรูปแบบหนึ่ง และรายงานในอีกรูปแบบหนึ่งของพลังงาน ซึ่งมักจะเป็นสัญญาณไฟฟ้า ตัวอย่างเช่น เซ็นเซอร์ความดันอาจตรวจจับความดัน (รูปแบบเชิงกลของพลังงาน) และแปลงเป็นกระแสไฟฟ้าสำหรับจอแสดงผลที่เครื่องวัดระยะไกล Actuator จะทำงานตรงกันข้ามกับ transducer นั่นคือ actuator รับพลังงานไฟฟ้าและเปลี่ยนเป็นการเคลื่อนไหว เช่นมอเตอร์ไฟฟ้าและ ลำโพงเป็น actuator ทั้งสองอย่างนี้แปลงพลังงานไฟฟ้าให้เป็นการเคลื่อนไหว เพื่อวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน.

ใหม่!!: มอเตอร์และตัวแปรสัญญาณ · ดูเพิ่มเติม »

ซีชาโดว์

right ซีชาโดว์ หรือ เรือล่องหน (Sea Shadow (IX-529)) เป็นผลงานการสร้างของบริษัทล็อกฮีด สร้างให้กับกองทัพเรือสหรัฐฯ โดยการหน้านี้มีการสร้างเรือในลักษณะนี้มาแล้วในปี ค.ศ. 1970 แต่มีขนาดเล็กกว่า เรือซีชาโดว์ถูกสร้างขึ้นเพื่อการทดสอบเทคโนโลยีการควบคุมเรือ มีกำลังพลประจำเรือ 4 นาย ซีชาโดว์ถูกทดสอบเป็นครั้งแรกในระหว่างปี 1985-1986 และถูกทดลองในช่วงเวลากลางคืนเพื่อปิดเป็นความลับ ในช่วงกลางวันจะนำขึ้นไปไว้บนอู่ลอยที่ปิดอย่างมิดชิดซึ่งเรือถูกเก็บรักษาไว้เป็นความลับเป็นเวลานานกว่า 7 ปี และถูกเปิดเผยในวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1993 โดยการทดลองในเวลากลางวันอย่างไม่เป็นความลับ รูปแบบของเรือซีชาโดว์มีลักษณะคล้ายเครื่องบิน เอฟ-117 ไนท์ฮ็อค ที่สร้างขึ้นโดยบริษัทล็อกฮีดเช่นเดียวกัน เรือซีชาโดว์มีพื้นสัมผัสน้ำน้อยมากบริเวณข้างลำตัวเรือพอนทูนทั้งสองข้างจะสัมผัสน้ำส่วนบริเวณกลางจะยกลอย มีการติดตั้งระบบขับเคลื่อนด้วยระบบ ดีเซล-ไฟฟ้า เครื่องยนต์ดีเซลจะอยู่บริเวณส่วนหัวของตัวเรือ ส่วนมอเตอร์ไฟฟ้าจะขับเพลาใบจักรที่ติดตั้งอยู่บริเวณส่วนพอนทูนที่สัมผัสน้ำ ภารกิจของเรือซีชาโดว์คือไว้เป็นฐานยิงอาวุธนำวิถีพื้นสู่อากาศเพื่อปกป้องกองเรือบรรทุกเครื่องบินจากเครื่องบินข้าศึกสมรภูมิ,นสพ รายสัปดาห์,กรุงเทพฯ,มิถุนายน 2536,ISSN 0857-0094.

ใหม่!!: มอเตอร์และซีชาโดว์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฟิสิกส์

''Table of Mechanicks'', 1728 ''Cyclopaedia''. ประวัติศาสตร์ของฟิสิกส์ คือ การศึกษาการเติบโตของฟิสิกส์ไม่ได้นำมาเพียงแค่การเปลี่ยนแปลงแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับโลกแห่งวัตถุ คณิตศาสตร์ และ ปรัชญา เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี และการเปลี่ยนรูปแบบของสังคม ฟิสิกส์ถูกพิจารณาในแง่ของทั้งตัวเนื้อความรู้และการปฏิบัติที่สร้างและส่งผ่านความรู้ดังกล่าว การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ซึ่งเริ่มต้นประมาณปี ค.ศ. 1600 เป็นขอบเขตง่าย ๆ ระหว่างแนวคิดโบราณกับฟิสิกส์คลาสสิก ในปี ค.ศ. 1900 จึงเป็นจุดเริ่มต้นของฟิสิกส์ยุคใหม่ ทุกวันนี้วิทยาศาสตร์ยังไม่มีอะไรแสดงถึงจุดสมบูรณ์ เพราะการค้นพบที่มากขึ้นนำมาซึ่งคำถามที่เกิดขึ้นจากอายุของเอกภพ ไปถึงธรรมชาติของสุญญากาศ และธรรมชาติในที่สุดของสมบัติของอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอม ทฤษฎีบางส่วนเป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่ฟิสิกส์ได้เสนอในปัจจุบันนี้ อย่างไรก็ตามรายนามของปัญหาที่ยังแก้ไม่ได้ของฟิสิกส์ ก็ยังคงมีมากอยู.

ใหม่!!: มอเตอร์และประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิภาพการแปลงพลังงาน

ลังงานเป้าหมายที่ได้จากการแปลงจะน้อยกว่าพลังงานที่ใส่เข้าไปในเครื่องแปลงเสมอ ประสิทธิภาพการแปลงพลังงาน (energy conversion efficiency) คืออัตราส่วนระหว่างพลังงานเป้าหมายที่ออกจากเครื่องแปลงพลังงาน ต่อพลังงานที่ใส่เข้าไปในเครื่องแปลง เพราะโดยธรรมชาติแล้วในกระบวนการแปลงพลังงานจะมีพลังงานส่วนที่สูญเสีย (ถูกแปลงเป็นพลังงานชนิดที่ไม่ต้องการ) เสมอ.

ใหม่!!: มอเตอร์และประสิทธิภาพการแปลงพลังงาน · ดูเพิ่มเติม »

นามิกิ พรีซิชั่น จูเอิล

ริษัท นามิกิ พรีซิชั่น จูเอิล จำกัด (Namiki Precision Jewel Co.,Ltd.) คือบริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วน อิเล็คทรอนิกส์ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น บริษัทฯ ก่อตั้งในปี 1939 (พ.ศ. 2482) โดยเป็นผู้ผลิตตลับลูกปืนหินแซฟไฟร์สังเคราะห์ (sapphire jewel bearings) สำหรับเครื่องมือวัด electric บริษัท นามิกิ เป็นผู้ผลิตในอุตสาหกรรมอัญมณี, ดีซี คอร์เลสมอเตอร์ และ ดีซี บรัซเลสมอเตอร์, ส่วนประกอบมัลติฟังก์ชันใช้ในระบบสั่น, พรีซิชั่น เกียร์เฮด, อุปกรณ์ทางการแพทย์, ตัวเรือนนาฬิกาข้อมือ และชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิกส์อื่น ๆ ที่มีความเที่ยงตรงสูง.

ใหม่!!: มอเตอร์และนามิกิ พรีซิชั่น จูเอิล · ดูเพิ่มเติม »

นาโนมอเตอร์

นาโนมอเตอร์ คือ อุปกรณ์ขนาดโมเลกุล ที่สามารถแปลงพลังงาน ไปเป็นการเคลื่อนไหวและแรง ที่มีขนาดระดับพิโคนิวตัน การวิจัยเรื่องนาโนมอเตอร์นั้น เป็นการผสมผสานมอเตอร์จากโปรตีน ที่มีขนาดระดับโมเลกุล ซึ่งพบในเซลล์สิ่งมีชีวิต เข้ากับมอเตอร์ระดับโมเลกุล ที่ฝังอยู่ในอุปกรณ์จำลอง โปรตีนที่ใช้ทำมอเตอร์ดังกล่าว จะสามารถขับเคลื่อน "สิ่งของ" ภายในอุปกรณ์ดังกล่าว ทำนองเดียวกับไคเนซินที่ขับเคลื่อนโมเลกุลต่างๆ ไปตามรอยของไมโครทิวบูลภายในเซลล์นั่นเอง การเริ่มและหยุดเคลื่อนไหวของมอเตอร์โปรตีนดังกล่าว จะอาศัยการกับเอทีพี (ATP) ในโครงสร้างระดับโมเลกุล ที่ไวต่อแสงยูวี (อัลตราไวโอเลต) และพัลส์เรืองแสงอัลตราไวโอเลตก็จะส่งพัลส์การเคลื่อนไหวออกมา หมวดหมู่:นาโนเทคโนโลยี.

ใหม่!!: มอเตอร์และนาโนมอเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โฟกัสอัตโนมัติ

โฟกัสอัตโนมัติ (Autofocus: AF) เป็นระบบใช้แสงชนิดหนึ่งประกอบด้วยเซนเซอร์ ระบบควบคุม และมอเตอร์ เพื่อปรับโฟกัสเต็มภาพโดยอัตโนมัติ หรือบนบางจุดหรือบางส่วนของภาพที่เลือกเอง โฟกัสอัตโนมัติจะเปิดขึ้นเองเมื่อกล้องถ่ายภาพตรวจพบวัตถุในสถานที่มีแสงน้อย โฟกัสอัตโนมัติอาจติดอยู่บนกล้องหรือบนตัวแฟลช (ในกล้องรุ่นใหญ่) ก็ได้ มีหลายวิธีท่จะที่ใช้วัดระยะทางสำหรับโฟกัสอัตโนมัติ เช่นใช้แสงอินฟราเรด ใช้คลื่นเสียงอัลตราโซนิก หรือยิงแสงแฟลชเป็นชุด หมวดหมู่:การถ่ายภาพ.

ใหม่!!: มอเตอร์และโฟกัสอัตโนมัติ · ดูเพิ่มเติม »

โรงงานเทสล่า

รงงานเทสล่า เป็นโรงงานผลิตรถยนต์ในเมืองฟรีมอนต์รัฐแคลิฟอร์เนีย และเป็นโรงงานผลิตหลักของบริษัทเทสล่ามีอีลอน มัสก์เป็นกรรมการผู้จัดการในอดีตนั้นเป็นที่รู้กันคือเป็นโรงงานนิวยูไนเต็ดมอเตอร์ (NUMMI) ซึ่งเป็นการร่วมมือกันลงทุนระหว่างบริษัทเจเนรัลมอเตอร์ และโตโยต้า โรงงานตั้งอยู่ในเขตอุตสาหกรรมฝั่งตะวันออกของเมืองฟรีมอนต์ระหว่างทางหลวงหมายเลข 880 กับ 680 และมีลูกจ้างประมาณ 6,000 คนในเดือนมิถุนายน ปี 2559.

ใหม่!!: มอเตอร์และโรงงานเทสล่า · ดูเพิ่มเติม »

ไฟฟ้า

ฟฟ้า (ήλεκτρον; electricity) เป็นชุดของปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ มีที่มาจากภาษากรีกซึ่งในสมัยนั้นหมายถึงผลจากสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเนื่องจากการปรากฏตัวและการไหลของประจุไฟฟ้า เช่นฟ้าผ่า, ไฟฟ้าสถิต, การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า นอกจากนี้ ไฟฟ้ายังทำให้เกิดการผลิตและการรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นคลื่นวิทยุ พูดถึงไฟฟ้า ประจุจะผลิตสนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งจะกระทำกับประจุอื่น ๆ ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้เนื่องจากหลายชนิดของฟิสิกซ์ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: มอเตอร์และไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ไฟวิ่ง

ตัวอย่างไฟวิ่งจากไดโอดเปล่งแสง ที่ควบคุมด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ร้านเกม ซึ่งติดตั้งไฟวิ่งไว้หลายรูปแบบที่หน้าร้าน สปอตไลต์ไฟวิ่ง สำหรับติดตั้งในงานคอนเสิร์ต ไฟวิ่ง (chase lights) เป็นเทคนิคการสร้างภาพเคลื่อนไหว โดยการไล่เปิด/ปิดหลอดไฟซึ่งเรียงเป็นแนวยาวต่อๆ กันอย่างรวดเร็ว จนทำให้เห็นเป็นเหมือนดวงไฟที่วิ่งไปมา หรือเป็นเส้นแสงซึ่งเคลื่อนที่ ไฟวิ่งมักจะติดตั้งไว้เป็นส่วนหนึ่งของป้ายไฟ หรือหน้าร้านเพื่อให้ดูสะดุดตาและเรียกความสนใจ โดยเฉพาะในเวลากลางคืน, นอกจากนั้นยังนิยมติดตั้งไว้ที่เครื่องเล่นสวนสนุก ในงานวัด บนเวทีคอนเสิร์ต หรือในรายการเกมโชว์ทางโทรทัศน์ เพื่อใช้กระตุ้นความตื่นเต้นด้วย ในสมัยแรกๆ ไฟวิ่งมักจะถูกควบคุมโดยใช้แผ่นกระจายไฟ ซึ่งเป็นแป้นหมุนพร้อมแถบหน้าสัมผัสต่อวงจรด้านบน และมีขั้วไฟฟ้าซึ่งต่อกับหลอดไฟแต่ละดวง ตั้งไว้ติดๆ กันเรียงรอบวงของแป้น โดยหน้าสัมผัสบนแป้นหมุนจะเชื่อมต่อไว้กับแหล่งจ่ายไฟ, เมื่อแป้นหมุน (โดยใช้มอเตอร์ไฟฟ้า) หน้าสัมผัสบนแป้นก็จะหมุนไปแตะกับขั้วที่ต่อกับไฟดวงหนึ่ง ทำให้ไฟดวงนั้นสว่าง, และเมื่อแป้นหมุนต่อไป หน้าสัมผัสก็จะพ้นจากขั้วเดิม ไปแตะกับขั้วใหม่ ทำให้ไฟดวงเดิมดับและดวงถัดไปสว่าง, ไล่ไปเรื่อยๆ จนครบรอบหมุน แล้วจึงเริ่มใหม่อีกครั้ง ในปัจจุบัน ไฟวิ่งมักจะถูกควบคุมด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์แทน ทำให้สามารถกำหนดรูปแบบการวิ่งได้ซับซ้อนขึ้น และลดปัญหาเรื่องการสึกหรอของอุปกรณ์ลงไป หมวดหมู่:ตะเกียงและหลอดไฟฟ้า หมวดหมู่:แอนิเมชัน.

ใหม่!!: มอเตอร์และไฟวิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ไขควง

วงสี่แฉก ไขควง คืออุปกรณ์ชนิดหนึ่งซึ่งออกแบบมาเพื่อขันสกรูให้แน่นหรือคลายสกรูออก ไขควงทั่วไปประกอบด้วยแท่งโลหะ ส่วนปลายใช้สำหรับยึดกับสกรู ซึ่งมีรูปร่างแตกต่างกันเพื่อให้ใช้ได้กับสกรูชนิดต่าง ๆ และมีแท่งสำหรับจับคล้ายทรงกระบอกอยู่อีกด้านหนึ่งสำหรับการไขด้วยมือ หรือไขควงบางชนิดอาจจะหมุนด้วยมอเตอร์ก็ได้ ไขควงทำงานโดยการส่งทอร์ก (torque) จากการหมุนไปที่ปลาย ทำให้สกรูหมุนตามเกลียวเข้าหรือออกจากวัสดุอื่น ไขควงเป็นเครื่องมือสำหรับขันและคลาย สกรูชนิดหัวผ่า ขนาดและรูปทรงของไขควงถูกออกแบบให้เป็นไปตามลักษณะการ ใช้งาน เช่น ไขควงที่ใช้สำหรับงานของช่างอัญมณี (Jeweler's Screw Driver) จะออกแบบมาให้เป็นไขควงที่ใช้สำหรับงานละเอียดเที่ยงตรง ส่วนไขควงที่ใช้ในงานหนักของช่างเครื่องกลจะออกแบบให้ก้านใบเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพื่อให้ใช้ประแจหรือคีมจับขัน เพื่อเพิ่มแรงในการบิดของไขควงให้มากกว่าเดิมได้.

ใหม่!!: มอเตอร์และไขควง · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำแบบ 039A

รือดำน้ำแบบ 039A (ชื่อเรียกนาโต้: เรือดำน้ำชั้นหยวน) เป็นเรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้าของกองทัพเรือสาธารณรัฐประชาชนจีน และยังเป็นเรือดำน้ำรุ่นแรกของจีนที่ติดตั้งระบบขับเคลื่อนโดยปราศจากอากาศ (AIP) เรือดำน้ำแบบ 039A เป็นรุ่นที่พัฒนาต่อยอดมาจากเรือดำน้ำชั้น 039 ถึงแม้ว่าจะเป็นเรือดำน้ำที่ต่อยอดมา แต่ก็พบว่า 039A มีลักษณะที่แตกต่างจาก 039 โดยแทบจะสิ้นเชิง มีเพียงไม่กี่จุดเท่านั้นที่มีลักษณะคล้ายกัน ด้วยความแตกต่างนี้ทำให้ 039A มีอีกชื่อหนึ่งอย่างไม่เป็นทางการว่า เรือดำน้ำแบบ 041.

ใหม่!!: มอเตอร์และเรือดำน้ำแบบ 039A · ดูเพิ่มเติม »

เอบีบีกรุ๊ป

อบีบี (ABB Limited) เป็นบริษัทข้ามชาติ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองซูริค ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีการปฏิบัติการในส่วนของหุ่นยนต์ ระบบไฟฟ้าและเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ เอบีบี เป็นหนึ่งในบริษัทวิศวกรรมและบริษัทที่มีเครือข่ายใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยมีสำนักงานในกว่า 100 ประเทศ ด้วยพนักงานประมาณ 150,000 คน.

ใหม่!!: มอเตอร์และเอบีบีกรุ๊ป · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องกำเนิดไฟฟ้า

รื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบกังหันไอน้ำที่ทันสมัยของสหรัฐฯ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า หรือ เครื่องปั่นไฟ (electric generator) คืออุปกรณ์ที่แปลงพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า อุปกรณ์ดังกล่าวจะบังคับกระแสไฟฟ้าให้ไหลผ่านวงจรภายนอก แหล่งที่มาของพลังงานกลอาจจะเป็นลูกสูบหรือเครื่องยนต์กังหันไอน้ำ หรือแรงน้ำตกผ่านกังหันน้ำหรือล้อน้ำ หรือเครื่องยนต์สันดาปภายใน หรือกังหันลม หรือข้อเหวี่ยงมือ หรืออากาศอัด หรือแหล่งพลังงานกลอื่นๆ โดยเครื่องกำเนิดไฟฟ้านั้นจะเป็นวิธีหลักที่ใช้ในการกำเนิดไฟฟ้าเพื่อจ่ายเข้าโครงข่ายพลังงานไฟฟ้าของประเทศ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าของ Ganz รุ่นแรกๆใน Zwevegem, West Flanders, Belgium การแปลงย้อนกลับของพลังงานไฟฟ้ากลับไปเป็นพลังงานกลจะกระทำโดยมอเตอร์ไฟฟ้า มอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่มีความคล้ายคลึงกันมาก มอเตอร์หลายตัวสามารถขับเคลื่อนเครื่องจักรเพื่อผลิตไฟฟ้าและบ่อยครั้งที่ได้รับการยอมรับให้เป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้า alternator ในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในห้องโถงของสถานีผลิตไฟฟ้ากำลังน้ำ ทำในบูดาเปสท์ประเทศฮังการี.

ใหม่!!: มอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องสูบน้ำ

รื่องสูบน้ำ หรือ ปั๊มน้ำ (water pump) คือ อุปกรณ์สำหรับส่งน้ำหรือถ่ายเทของเหลวจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง หรือหมุนเวียนน้ำหรือของเหลวให้ผสมกันในบริเวณที่จำกัด เช่น centrifugal pump.

ใหม่!!: มอเตอร์และเครื่องสูบน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องผสมอาหาร

รื่องผสมอาหารแบบมือถือ การตีไข่ขาวจนยอดตั้งแข็ง เครื่องผสมอาหาร หรือ มิกเซอร์ มีทั้งแบบถือและแบบตั้งโต๊ะ ใช้ผสมหรือตีส่วนผสมอาหารเข้าด้วยกันด้วยแรงจากมอเตอร์ไฟฟ้าเท่านั้น ไม่ได้ใช้ทำให้อาหารสุกด้วยความร้อน โดยทั่วไปสามารถปรับระดับความเร็วได้หลายระดับ เพราะการตีนานหรือใช้เวลาน้อยเกินไปอาจมีผลกับลักษณะของอาหาร.

ใหม่!!: มอเตอร์และเครื่องผสมอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน

รื่องแลกเปลี่ยนความร้อน (อังกฤษ:Heat Exchangers) คือเครื่องมือที่ใช้สำหรับการถ่ายเทความร้อนของของไหลชนิดหนึ่งไปยังของไหลอีกชนิดหนึ่ง โดยที่ของไหลไม่จำเป็นต้องผสมกัน เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเป็นเครื่องมือที่สำคัญอย่างมากในทางอุตสาหกรรมและเป็นเครื่องมือที่ใช้ในระบบต่างๆทางวิศวกรรมอย่างกว้างขวาง เช่น ในอุตสาหกรรมน้ำมันจะใช้เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนในการทำให้น้ำมันดิบร้อนขึ้นหรือทำให้ไอที่ออกจากหอกลั่นเป็นของเหลวหรือใช้ลดอุณหภูมิของน้ำมันหรือก๊าซ หรือในอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น อุตสาหกรรมปุ๋ย,เส้นใย,อาหารกระป๋องมีการนำเอาความร้อนมาเวียนใช้ใหม่หรือแลกเปลี่ยนความร้อนสำหรับเพิ่มหรือลดความร้อน.

ใหม่!!: มอเตอร์และเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน · ดูเพิ่มเติม »

เตาอบไมโครเวฟ

ตาอบไมโครเวฟ เตาอบไมโครเวฟ (microwave oven) เป็นอุปกรณ์เครื่องครัวชนิดหนึ่ง ให้ความร้อนแก่อาหารโดยคลื่นไมโครเวฟ.

ใหม่!!: มอเตอร์และเตาอบไมโครเวฟ · ดูเพิ่มเติม »

Technological applications of superconductivity

การประยุกต์ใช้สารตัวนำยวดยิ่ง.

ใหม่!!: มอเตอร์และTechnological applications of superconductivity · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มอเตอร์ไฟฟ้า

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »