โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)

ดัชนี มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)

วมองโกล หรือ ชาวมองโกเลีย เป็นกลุ่มชนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในประเทศมองโกเลีย และ เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ของประเทศจีน.

54 ความสัมพันธ์: ชิราโตะ เตมูร์ ชินพ.ศ. 1781พรรคประชาชนมองโกเลียในพระนิชิจิกลุ่มภาษามองโกลตะวันออกกอล์ฟการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์กางเขนภาษาชูวัชมองโกลอยด์มองโกเลีย (แก้ความกำกวม)มณฑลชิงไห่มณฑลเฮย์หลงเจียงราชวงศ์ชิงราชวงศ์หมิงราชวงศ์หยวนรายชื่อธงในประเทศจีนรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์หมิงลัทธิเซียนเทียนเต้าลั่วหยางศิลปะการต่อสู้เกาหลีศึกชิงขุมทรัพย์วังหลวงหนอนมรณะมองโกเลียห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ (ประเทศแมนจู)อัลมาส์อาหารอินเดียอาหารจีนอาณัติแห่งสวรรค์ฮังไกจักรพรรดิหงอู่ธงชาติสาธารณรัฐจีนธงชาติคาซัคสถานธงชาติแมนจูขนมไหว้พระจันทร์คริสต์ทศวรรษ 1230คะตะนะประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์เอเชียกลางประเทศคาซัคสถานประเทศแมนจูประเทศเกาหลีเหนือปักกิ่งแหล่งแซนาดูแคะแปดกองธงไนดาน ตูฟชินบายาเอมิล เคร็บส์เจียงหนานเทศกาลไหว้พระจันทร์...เขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ไห่เป่ย์เขตปกครองตนเองมองโกเลียในเดชคัมภีร์บีชุนมูCYP3A5 ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »

ชิราโตะ เตมูร์ ชิน

ราโตะ เตมูร์ ชิน (白戸テムル心(しらと-しん); SHIN "TEMUR" SHIRATO) เป็นตัวละครสำคัญจากการ์ตูนเรื่องคุณชายพันธุ์โชะ โคฮินาตะ มิโนรุ ซึ่งเป็นนักมวยไทยชาวมองโกเลียประจำสมาพันธ์มวยไทยแห่งประเทศญี่ปุ่น (ALL JAPAN MUAY THAI FEDERATION - AJM) โดยมีเทรนเนอร์ชาวไทยคอยให้คำแนะนำ และเริ่มมีบทบาทสำคัญในหนังสือการ์ตูนเล่มที่ 31-32 เป็นต้นมา ชื่อของเขาเป็นชื่อที่มาจากการเล่นคำในภาษาญี่ปุ่น โดยดัดแปลงมาจากชื่อของ เตมูจิน ซึ่งเป็นนามเดิมของ เจงกีส ข่าน ผู้เป็นจักรพรรดิของมองโกเลียสมัยก่อน ทั้งนี้ คำว่า เตมูร์ ในภาษาญี่ปุ่นนั้นหมายถึง "เหล็ก" ส่วนคำว่า ชิน ในภาษาญี่ปุ่นหมายถึง "ใจ" เมื่อรวมกันแล้วจึงมีความหมายว่า ใจเหล็ก.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และชิราโตะ เตมูร์ ชิน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1781

ทธศักราช 1781 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1238.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และพ.ศ. 1781 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาชนมองโกเลียใน

รรคประชาชนมองโกเลียใน (The Inner Mongolian People's Party; IMPP) เป็นขบวนการแบ่งแยกดินแดนในเขตมองโกเลียในของประเทศจีน เริ่มก่อตั้งพรรคเมื่อ..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และพรรคประชาชนมองโกเลียใน · ดูเพิ่มเติม »

พระนิชิจิ

ระนิชิจิ (日持; 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1250– หลังจากปี ค.ศ. 1304) หรือ ไคอิโค เป็นลูกศิษย์และสาวกของพระนิชิเรน ซึ่งได้ออกเดินทางไปยัง ฮอกไกโด ไซบีเรีย และ ประเทศจีน พระนิชิจิ เกิดในจังหวัดซุรุกะ เป็นบุตรคนที่สองของ ตระกูลที่ยิ่งใหญ่และมีอำนาจ ในตอนแรกพระนิชิจิได้ศึกษาธรรมของนิกายเทียนไท้ แต่หลังจากนั้นไม่นานก็ได้เข้าเป็นศิษย์ของพระนิชิเรน พระนิชิจิได้ถูกแต่งตั้งเป็น 1 ใน 6 พระสงฆ์อาวุโส จากพระนิชิเรน แต่ก็เป็น ลูกศิษย์ของพระนิกโคด้วย หลังจากการดับขันธ์ของพระนิชิเรนในปี ค.ศ. 1282 พระนิชิจิได้จัดตั้งวัด อิโชจิ ในปัจจุบันคือ วัดเรนอิจิ (蓮永寺) ใน ชิซุโอะกะ แต่ภายหลังความสัมพันธ์กับพระนิกโคกลับแย่ลง เขาได้ตั้งคณะมิชชันนารีเดินทางเผยแผ่ธรรมในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1295 โดยได้วางแผนว่าจะเดินทางเท้าไป ฮะโกะดะเตะ, ฮอกไกโด และหลังจากนั้นก็จะเดินทางไปยัง ชางตู ประเทศจีน เพื่อเผยแผ่ธรรมให้ชาวมองโกล เนื่องจากเห็นว่าชาวมองโกลนั้น ถูกกล่าวถึงบ่อยครั้งในบทธรรมนิพนธ์ของพระนิชิเรน อย่างไรก็ตามเป็นเวลาหลายศตวรรษที่ไม่มีทราบว่าเกิดอะไรขึ้นกับพระนิชิจิ หลังจากการเดินทางออกจากประเทศญี่ปุ่น มีตำนานเล่าว่าท่านได้สร้างวัดขึ้นที่ภาคเหนือของประเทศญี่ปุ่น และได้จับปลาชนิดใหม่ในฮอกไกโด ได้ตั้งชื่อว่า ฮอกเกะ ในตำนานนั้นค่อนข้างกำกวมและไม่แน่ชัดว่า ท่านได้เดินทางไปถึงประเทศจีนโดยปลอดภัยหรือไม่ ในปี ค.ศ. 1936 นักท่องเที่ยวได้พบโงะฮนซนของพระนิชิจิและอัฐิของท่านในดินแดนที่ห่างไกลในประเทศจีน และในปี..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และพระนิชิจิ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษามองโกลตะวันออก

กลุ่มภาษามองโกลตะวันออก (Eastern Mongolic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่ใช้พูดในเอเชียกลาง ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นที่รู้จักดีที่สุดคือภาษามองโกเลียซึ่งเป็นภาษาของชาวมองโกล มีผู้พูดราว 5.7 ล้านคนในมองโกเลีย รัสเซียและเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ประเทศจีน.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และกลุ่มภาษามองโกลตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

กอล์ฟ

ลูกกอล์ฟและหลุมกอล์ฟ กอล์ฟ คือกีฬาหรือเกมประเภทบอลชนิดหนึ่ง ซึ่งผู้เล่นใช้ไม้หลายชนิดตีลูกบอลให้ลงหลุม จากกฎของกอล์ฟ ระบุว่า "กีฬากอล์ฟประกอบด้วยการเล่นลูกใดลูกหนึ่งด้วยไม้กอล์ฟจากแท่นตั้งทีไปลงหลุมโดยการสโตรคหนึ่งครั้งหรือหลายครั้งต่อเนื่องกันตามกฎข้อบังคับ" กอล์ฟเป็นหนึ่งในกีฬาประเภทบอลเพียงไม่กี่ชนิดที่ไม่มีอาณาเขตการเล่นที่แน่นอน (สนามกอล์ฟแต่ละแห่งสามารถมีรูปร่างและขนาดต่างกัน) ต้นกำเนิดของกอล์ฟนั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ระหว่างเนเธอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และจีน โดยมีการเล่นกอล์ฟมาแล้วอย่างน้อยห้าศตวรรษในหมู่เกาะบริเตน กอล์ฟในรูปแบบปัจจุบันได้มีการเล่นในสกอตแลนด์ตั้งแต่พ.ศ. 2215.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และกอล์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กางเขน

กางเขนแบบที่ง่ายที่สุดเรียกว่ากางเขนละติน หรือ “crux ordinaria” ที่เป็นสัญลักษณ์ของการตรึงพระเยซูที่กางเขนตามความเชื่อในคริสต์ศาสนา กางเขน (Cross) เป็นเครื่องหมายทรงเรขาคณิตที่ประกอบด้วยแกนสองแกนตัดเป็นมุมฉากกัน ตามปกติแล้วแกนจะเป็นแนวตั้งขวางกับแนวนอน แต่ถ้าตัดทแยงกันก็จะเรียกว่ากางเขนไขว้ หรือ กางเขนนักบุญอันดรูว์ กางเขนเป็นสัญลักษณ์ที่เก่าแก่ที่สุดที่ใช้โดยมนุษย์ และใช้เป็นสัญลักษณ์ศาสนาหลายศาสนาที่รวมทั้งคริสต์ศาสนา กางเขนบ่อยครั้งจะเป็นสัญลักษณ์ของธาตุหลักทั้ง 4 ของโลก (เชวาลิเย์, ค.ศ. 1997) หรืออีกความหมายหนึ่งคือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของเทพที่เป็นแกนตั้งและโลกที่คือแกนนอน (คอค, ค.ศ. 1955).

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และกางเขน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชูวัช

ษาชูวัช (ภาษาชูวัช: Чӑвашла, Čăvašla, สัทอักษร:; อาจสะกดเป็น Chăvash, Chuwash, Chovash, Chavash, Çuvaş หรือ Çuaş) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดในบริเวณเทือกเขายูรัลทางตอนกลางของรัสเซีย เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐชูวัชในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดราว 2 ล้านคน เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ภาษาที่มีอิทธิพลต่อภาษาชูวัชได้แก่ ภาษาตาตาร์ ภาษากลุ่มฟินโน-อูกริก ภาษารัสเซีย ภาษามารี ภาษามองโกเลีย ภาษาอาหรับ และภาษาเปอร์เซีย แต่โบราณ ภาษาชูวัชเขียนด้วยอักษรออร์คอน เปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับเมื่อเข้ารับอิสลาม เมื่อถูกยึดครองโดยมองโกเลีย ระบบการเขียนได้หายไป อักษรแบบใหม่ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย อีวาน ยาคอฟเลวิช ยาคอฟเลฟ ใน..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และภาษาชูวัช · ดูเพิ่มเติม »

มองโกลอยด์

มองโกลอยด์ (Mongoloid) คือ คำจำกัดความของกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียเหนือ เอเชียใต้ อาร์กติก ทวีปอเมริกา และหมู่เกาะแปซิฟิก และเป็นส่วนหนึ่งของ "Three Great Races"(3 เผ่าพันธุ์หลัก) ตามแนวคิดของ Georges Cuvier นักธรรมชาติวิทยาและนักสัตววิทยาชาวฝรั่งเศส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ร่วมกับเผ่าพันธุ์คอเคซอยด์และนิกรอยด์ คำว่า มองโกลอยด์ เป็นการผสมคำระหว่างคำว่า มองโกล(Mongol) หมายถึงชาติพันธุ์มองโกลในเขตทุ่งหญ้าสเตปป์ของภูมิภาคเอเชียเหนือและประเทศมองโกเลียในปัจจุบัน กับ οειδές (-ออยเดส) หรือ είδες (-อิเดส) ในภาษากรีกโบราณ แปลว่า มีรูปแบบของ, มีลักษณะของ เมื่อรวมกันจึงมีความหมายถึง "เผ่าพันธุ์ที่มีลักษณะเหมือนชาวมองโกล" ชาติพันธุ์ในกลุ่มมองโกลอยด์จะมีลักษณะของฟีโนไทป์บางประการที่แสดงออกร่วมกัน อาทิ Epicanthic folds (ชั้นหนังเปลือกตาบนที่พับปิดบริเวณมุมของหัวตา), มีลักษณะทางทันตกรรมแบบ sinodonty, รูปร่างลักษณะบางอย่างเหมือนเด็กแม้ในวัยผู้ใหญ่(Neoteny), Oblique palpebral fissures (ช่องว่างระหว่างเปลือกตาบนและล่างที่มีลักษณะเฉียง), จุดมองโกเลียยังเป็นสิ่งที่ค่อนข้างพบมากในเด็กแรกเกิดจนถึง 4 ขวบ, เส้นผมสีดำและเหยียดตรง, ม่านตาสีน้ำตาลเข้ม, ดวงตารูปเมล็ดอัลมอนด์ และมิติของใบหน้าค่อนข้างแบนเมื่อเทียบกับคอเคซอยด์เป็นต้น แนวคิดเกี่ยวกับเผ่าพันธุ์มองโกลอยด์ในอดีตถูกมองว่าใช้ลักษณะการจำแนกแบบอนุกรมวิธานหรือทำให้ชาติพันธุ์ในกลุ่มมองโกลอยด์กลายเป็นสิ่งมีชีวิตต่างสายวิวัฒนาการ การจำกัดความของคำว่า "มองโกลอยด์" จึงยังเป็นข้อถกเถียงและไม่นิยมใช้ในกลุ่มนักมานุษยวิทยาส่วนใหญ่ในปัจจุบัน ลักษณะของชาวมองโกลอยด์ คือ มีผิวเหลืองหรือน้ำตาล ผมเหยียดตรง เส้นผมค่อนข้างหยาบ ขนตามตัวมีน้อย ศีรษะค่อนข้างกลมและแบน รูปหน้ากลม จมูกไม่กว้าง ไม่โด่ง โหนกแก้มนูนเห็นได้ชัดเจน เบ้าตาตื้น เปลือกตาอูม รูปตาเรียว นัยตาสีน้ำตาลหรือสีดำ ริมฝีปากบาง รูปร่างสันทัด เตี้ยถึงสูงปานกลาง.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และมองโกลอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

มองโกเลีย (แก้ความกำกวม)

มองโกเลีย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และมองโกเลีย (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลชิงไห่

มณฑลชิงไห่ ชื่อย่อ ชิง(青)‘ชิงไห่’ แปลว่าทะเลสีเขียวชื่อทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่ที่สุด ของจีนที่อยู่ในมณฑล มีเมืองหลวงชี่อ ซีหนิง (西宁)มีเนื้อที่ทั้ง 721,000 ก.ม.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และมณฑลชิงไห่ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเฮย์หลงเจียง

มณฑลเฮย์หลงเจียง (จีนตัวย่อ: 黑龙江省; จีนตัวเต็ม: 黑龍江省)ชื่อย่อ เฮย (黑)ชื่อ เฮยหลงเจียง มาจากชื่อแม่น้ำสายที่ใหญ่ที่สุดในมณฑล มีเมืองหลวงชื่อว่า ฮาร์บิน ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศแมนจูกัว อดีตที่ประเทศถูกญี่ปุ่นเข้ายึดในปี พ.ศ. 2474 มณฑลเฮย์หลงเจียง มีประชากรประมาณ 39 ล้านคน มีเนื้อที่ 454,000 ตาราง ก.ม.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และมณฑลเฮย์หลงเจียง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และราชวงศ์หยวน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศจีน

หน้านี้คือรายการของธงต่างๆ ของประเทศจีน ที่เคยใช้ในอดีตและมีการใช้อยู่ในปัจจุบัน ทั้งในสาธารณรัฐประชาชนจีน ฮ่องกง มาเก๊า และสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน).

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และรายชื่อธงในประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิงปกครองประเทศจีนตั้งแต่ พ.ศ. 1911 จนถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1368 - 1644) ปกครองเป็นระยะเวลา 276 ปี สืบทอดจากจักรพรรดิราชวงศ์หยวนซึ่งเป็นชาวมองโกล.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเซียนเทียนเต้า

อักษร 母 ''หมู่'' หมายถึง ''''พระแม่องค์ธรรม'''' พระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิเซียนเทียนเต้าและอีก 5 ลัทธิที่แตกแขนงออกมา ลัทธิเซียนเทียนเต้า (先天道 Xiāntiān Dào) เป็นลัทธิศาสนาหนึ่งที่หวง เต๋อฮุย ก่อตั้งขึ้นในสมัยราชวงศ์ชิง โดยสืบความเชื่อมาจากลัทธิบัวขาวในสมัยราชวงศ์หยวน นอกจากนี้ยังรับคำสอนมาจากลัทธิหลัวด้วย ลัทธิเซียนเทียนเต้าเป็นต้นกำเนิดของอีก 5 ลัทธิที่แยกตัวออกมาภายหลัง ได้แก่ ลัทธิอนุตตรธรรม ลัทธิถงซั่นเซ่อ ลัทธิฉือฮุ่ยถัง ลัทธิเทียนเต๋อเซิ่ง และลัทธิเต้าเยวี่ยน, Division of Religion and Philosophy, University of Cumbria, เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และลัทธิเซียนเทียนเต้า · ดูเพิ่มเติม »

ลั่วหยาง

thumb ลั่วหยาง หรือสำเนียงฮกเกี้ยนว่า ลกเอี๋ยง เป็นเมืองหนึ่งในประเทศจีน ปัจจุบันตั้งอยู่ทางตะวันตกของมณฑลเหอหนาน เคยเป็นเมืองหลวงของหลายราชวงศ์เช่น ราชวงศ์โจวตะวันออก ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และลั่วหยาง · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะการต่อสู้เกาหลี

นักเรียนจากโรงเรียนฝึกสอนศิลปะการต่อสู้เกาหลีในเมืองแคลกะรีกำลังสาธิตการแสดง ศิลปะการต่อสู้เกาหลี (อักษรฮันกึล: 무술 หรือ 무예, อักษรฮันจา: 武術 หรือ 武藝) คือหลักปฏิบัติหรือยุทธวิธีทางการต่อสู้ที่มีการบันทึกลงในประวัติศาสตร์ของประเทศเกาหลี แต่ได้รับการดัดแปลงให้ใช้งานได้เพื่อจุดประสงค์ทางทหารและเพื่อการพัฒนาและสร้างสรรค์ส่วนบุคคล ศิลปะการต่อสู้ใช้อาวุธที่มีชื่อเสียงของเกาหลีคือการยิงธนูและกีฬาฟันดาบคึมโดซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับกีฬาฟันดาบเค็นโดของญี่ปุ่น ศิลปะการต่อสู้มือเปล่าของเกาหลีที่มีชื่อเสียงที่สุดคือเทควันโดและฮับกีโด กระนั้น ศิลปะการต่อสู้เก่าแก่เช่นมวยปล้ำชีรึมและมวยใช้เท้าแทกย็อนก็เริ่มเป็นที่นิยมทั้งในและนอกประเทศเกาหลีแล้ว ในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และศิลปะการต่อสู้เกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ศึกชิงขุมทรัพย์วังหลวง

ึกชิงขุมทรัพย์วังหลวง (Tracing Shadow; 追影; พินอิน: Zhuī Yǐng) ภาพยนตร์กำลังภายในสัญชาติฮ่องกง นำแสดงโดย อู๋ เจิ้นหวี่, เจย์ซี ชาน, อู๋ เพ่ยฉือ กำกับโดย อู๋ เจิ้นหวี่, มาร์โก มัก.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และศึกชิงขุมทรัพย์วังหลวง · ดูเพิ่มเติม »

หนอนมรณะมองโกเลีย

วาดในจินตนาการของหนอนมรณะมองโกเลีย ของ ปีเตอร์ เดิร์ก นักเขียนชาวเบลเยี่ยม หนอนมรณะมองโกเลีย (Mongolian Death Worm) คือ สัตว์ประหลาดที่เชื่อว่ารูปร่างคล้ายหนอนหรือไส้เดือนขนาดใหญ่ อาศัยในทะเลทรายโกบี ในมองโกเลี.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และหนอนมรณะมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ

ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ (Five Races Under One Union) เป็นหลักใหญ่ของการสถาปนาสาธารณรัฐจีน ใน..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ (ประเทศแมนจู)

ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ เป็นหลักใหญ่ของการสถาปนาแมนจูกัว ซึ่งเป็นรัฐหุ่นเชิดของญี่ปุ่น, หลักคิดความเสมอภาคของชนชาติต่างๆ 5 ชนชาติใหญ่ ประกอบด้วย ชาวแมนจู, ชาวญี่ปุ่น, ชาวจีนฮั่น, the ชาวมองโกล และ ชาวเกาหลี.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ (ประเทศแมนจู) · ดูเพิ่มเติม »

อัลมาส์

อัลมาส์ หรือ อัลมาตี (อังกฤษ: Almas; Almasty, Almasti; บัลแกเรีย: Алмас; เชเชน; Алмазы, ตุรกี: Albıs; มองโกล: Алмас; ภาษามองโกลแปลว่า "คนป่า") สิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ที่เชื่อว่ามีรูปร่างคล้ายมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ พบตามเทือกเขาและป่าในภูมิภาคเอเชียกลาง รวมถึงไซบีเรีย มีลักษณะคล้าย เยติ ในเทือกเขาหิมาลัย และ บิ๊กฟุต ในทวีปอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และอัลมาส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารอินเดีย

Dhokla อาหารว่างที่มีชื่อเสียงของคุชราต Parotta ของคุชราต แกงวินดาลูอาหารที่มีชื่อเสียงของกัว อาหารอินเดีย เป็นชื่อเรียกโดยรวมของอาหารในอนุทวีปอินเดียซึ่งมีลักษณะร่วมกันคือใช้เครื่องเทศ สมุนไพรและผักหรือผลไม้มาก มีทั้งพืชผักที่ปลูกในประเทศอินเดียและจากที่อื่นๆ นิยมกินอาหารมังสวิรัติในสังคมชาวอินเดีย แต่ละครอบครัวจะเลือกสรรและพัฒนาเทคนิคการทำอาหารทำให้มีความแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทางด้านประชากรในอินเดีย ความเชื่อของชาวฮินดูและวัฒนธรรมมีบทบาทต่อวิวัฒนาการของอาหารอินเดี.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และอาหารอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

อาหารจีน

ติ่มซำ อาหารจีนที่รู้จักกันดี อาหารจีน หมายถึงอาหารที่ประกอบขึ้นตามวัฒนธรรมของชาวจีน ซึ่งรวมทั้งจีนแผ่นดินใหญ่ ไต้หวันและ ฮ่องกง ซึ่งมีหลากหลายชนิดตามแต่ละท้องถิ่น โดยทั่วไปนิยมรับประทานอาหารจานผักและธัญพืชเป็นหลัก นอกจากในราชสำนักที่จะมีอาหารประเภทเนื้อ อาหารที่รู้จักกัน เช่น ก๋วยเตี๋ยว ติ่มซำ หูฉลาม กระเพาะปลา วัฒนธรรมการกินเป็นการกินร่วมกันโดยอุปกรณ์การกินหลัก คือตะเกียบ อาหารจีนจะมีอุปกรณ์การทำหลักๆเพียงสี่อย่างคือ มีด เขียง กะทะก้นกลม และตะหลิว สมัยชุนชิว-จั้นกั๋ว ได้เริ่มมีการแบ่งอาหารจีนเป็น 2 ตระกูลใหญ่ คือ อาหารเมืองเหนือ และอาหารเมืองใต้ กระทั่งต้นราชวงศ์ชิง ได้มีการแบ่งอาหารเป็น 4 ตระกูลใหญ่ ได้แก.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และอาหารจีน · ดูเพิ่มเติม »

อาณัติแห่งสวรรค์

อาณัติแห่งสวรรค์ (mandate of heaven) คือความชอบธรรมที่สวรรค์มอบให้แก่มนุษย์คนหนึ่ง ให้มีอำนาจในการปกครองประชาชน มีลักษณะใกล้เคียงกับแนวคิดเทวสิทธิราชย์ในปรัชญาการเมืองตะวันตก.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และอาณัติแห่งสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮังไก

ังไก (杭盖乐队) เป็นวงดนตรีแนวโฟล์กร็อกสัญชาติมองโกเลียที่ก่อตั้งที่ปักกิ่ง วงนี้ได้รับความนิยมในกลุ่มเล็ก ๆ จากการนำดนตรีพื้นบ้านของมองโกเลียมาบรรเลงร่วมกับดนตรีสมัยใหม่ เช่น พังก์ร็อก.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และฮังไก · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงอู่

มเด็จพระจักรพรรดิหงอู่ (21 ตุลาคม พ.ศ. 1871 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 1941) คือจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และจักรพรรดิหงอู่ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐจีน

งชาติสาธารณรัฐจีน เป็นสัญลักษณ์ของสาธารณรัฐจีนซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีตั้งแต่สมัยที่สาธารณรัฐจีนยังอยู่บนจีนแผ่นดินใหญ่ กระทั่งภายหลังได้ตั้งมั่นอยู่ที่เกาะไต้หวันนับแต่ พ.ศ. 2492 พรรคก๊กมินตั๋งได้เริ่มใช้ธงดังกล่าวเป็นครั้งแรกในจีนแผ่นดินใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2460 และใช้เป็นธงชาติสาธารณรัฐจีนอย่างเป็นทางการนับตั้งแต่ พ.ศ. 2471 ธงนี้มีชื่อเรียกในภาษาจีนว่า ชิงเทียน ไป๋รื่อ หม่านตี้ หงฉี แปลว่า ธงท้องฟ้าสีคราม ตะวันสาดส่อง ปฐพีแดง แผ่นดินอุดม และมีชื่อที่รู้จักกันดีในภาษาอังกฤษว่า "Blue Sky, White Sun, and a Wholly Red Earth".

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และธงชาติสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติคาซัคสถาน

งชาติคาซัคสถาน (Қазақстан байрағы) เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2535 หลังจากได้รับเอกราชจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีฟ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงมีรูปนกอินทรีบิน หันหน้าไปทางมุมธงด้านคันธง ภายใต้ดวงอาทิตย์สีทองมีรัศมี 32 แฉก ที่ด้านคันธงนั้นมีลวดลายอย่างลายหน้ากระดานตามแบบวัฒนธรรมคาซัคสถาน แบบสีธงอย่างมาตรฐานมีดังนี้.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และธงชาติคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติแมนจู

23x15px ธง "ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ" ธงชาติสาธารณรัฐจีน (รัฐบาลเป่ยหยาง) พ.ศ. 2455 - 2471 ต้นแบบของธงชาติแมนจูกัว ธงชาติจักรวรรดิแมนจู เป็นของรัฐบาลหุ่นปกครองประเทศแมนจู ที่ญี่ปุ่นจัดตั้งขึ้น ในช่วง..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และธงชาติแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

ขนมไหว้พระจันทร์

นมไหว้พระจันทร์ไส้เมล็ดบัว ขนมไหว้พระจันทร์ (Moon Cake; จีนตัวย่อ: 月饼; จีนตัวเต็ม: 月餅; พินอิน: yuè bĭng) เป็นขนมที่ทำขึ้นเพื่อใช้ในเทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง หรือเทศกาลไหว้พระจันทร์ (中秋節) ในคืนวันเพ็ญในเดือน 8 ตามปฏิทินจีน (กันยายนตามปฏิทินเกรกอเรียน) ขนมไหว้พระจันทร์ เป็นของที่ใช้สำหรับเซ่นไหว้ดวงจันทร์ นับเป็นของสำคัญที่ใช้ในเทศกาลนี้ ลักษณะของขนมมีทรงกลม ลักษณะคล้ายขนมเค้ก ทำจากแป้งนวด แล้วกดใส่แป้นพิมพ์ที่มีลวดลายต่าง ๆ จากนั้นนำไปอบ และเคลือบผิวหน้าด้วยน้ำเชื่อม ภายในบรรจุไส้ต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นธัญพืชต่าง ๆ อาทิ ทุเรียน, เมล็ดบัว, แมคคาเดเมีย, พุทราจีน เป็นต้น แต่ปัจจุบันก็ได้มีดัดแปลงใส่เนื้อสัตว์ต่าง ๆ เข้าไป เช่น กุนเชียง, ไข่เค็ม, หมูแฮม, หมูแดง, หมูหยอง เป็นต้น ความเป็นมาของขนมไหว้พระจันทร์ คือ ในยุคปลายราชวงศ์หยวน ที่ชาวฮั่นถูกปกครองอย่างกดขี่โดยชาวมองโกล ชาวฮั่นเมื่อต้องการจะก่อกบฏต่อต้าน ด้วยการแอบสอดสาส์นไว้ในขนมชิ้นนี้ แล้วนำไปแจกจ่ายให้กับทุกบ้าน ในสาส์นมีข้อความว่า คืนนี้ในเวลายาม 3 จงสังหารทหารมองโกลพร้อมกัน อันนำมาซึ่งเอกราชของชาวฮั่น จนกลายเป็นประเพณีการรับประทานและไหว้ขนมไหว้พระจันทร์ในปัจจุบัน ปัจจุบัน ขนมไหว้พระจันทร์ได้มีผู้ผลิตและจำหน่ายมากมายหลายแห่ง ได้มีการดัดแปลงใส่ไส้ต่าง ๆ เพิ่มขึ้นจากในอดีตมาก เช่น ช็อคโกแล็ต, ชาเขียว, คัสตาร์ด, อัลมอนด์ เป็นต้น หรือดัดแปลงไปเป็นแบบต่าง ๆ เช่น ดัดแปลงคล้ายขนมโมจิ หรือไอศกรีม และกลายมาเป็นธุรกิจสำคัญที่มีมูลค่าการตลาดและการแข่งขันสูงมากในช่วงเทศกาลนี้ในแต่ละปี ในมาเลเซีย ขนมไหว้พระจันทร์เรียกว่า กู อิฮ์ บู ลัน (kulh bulan) มีหลายไส้เช่นเดียวกับขนมไหว้พระจันทร์ในไท.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และขนมไหว้พระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1230

..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และคริสต์ทศวรรษ 1230 · ดูเพิ่มเติม »

คะตะนะ

มัยของดาบซามูไร แบ่งออกได้ 4.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และคะตะนะ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์จีน

ตพื้นที่ของราชวงศ์ต่างๆตามประวัติศาสตร์ของจีน ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอารยธรรมยาวนานที่สุดประเทศหนึ่ง โดยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถค้นคว้าได้บ่งชี้ว่าอารยธรรมจีนมีอายุถึง 5,000 ปี รากฐานที่สำคัญของอารยธรรมจีนคือ การสร้างระบบภาษาเขียน ในยุคราชวงศ์กอณัฐ (ศตวรรษที่ 58 ก่อน ค.ศ.) ให้เป็นภาษากลางใช้ได้ทั่วประเทศ เป็นครั้งแรกในโลก (ไม่ว่าชนเผ่าใดๆจะพูดต่างกัน สำเนียงต่างกัน แต่ใช้ตัวเขียนเหมือนกัน) และการพัฒนาแนวคิดลัทธิขงจื๊อ เมื่อประมาณ ศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. ประวัติศาสตร์จีนมีทั้งช่วงที่เป็นปึกแผ่นและแตกเป็นหลายอาณาจักรสลับกันไป ในบางครั้งก็ถูกปกครองโดยชนชาติอื่น เช่น มองโกล แมนจู ญี่ปุ่น วัฒนธรรมของจีนมีอิทธิพลอย่างสูงต่อชาติอื่นๆ ในทวีปเอเชีย และในสังคมโลก ยุคก่อนประวัติศาสตร์นั้นไม่มีหลักฐานแน่ชัดนักว่าเริ่มต้นเมื่อไร แต่จากการขุดพบวัตถุโบราณตามลุ่มแม่น้ำฉางเจียงและหวางเหอ แบ่งช่วงเวลานี้ออกได้เป็นสังคมสองแบบ แบบแรกเป็นช่วงที่ผู้หญิงเป็นใหญ่เรียกว่าช่วงวัฒนธรรมหยางเซา และช่วงที่ผู้ชายเป็นใหญ่เรียกว่าวัฒนธรรมหลงซาน ตำนานเล่ากันว่าบรรพบุรุษจีนมีชื่อเรียกว่า หวางตี้ และ เหยียนตี้.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และประวัติศาสตร์จีน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ ''Equus przewalskii'' หรือม้าป่ามองโกเลีย, หรือทาคี, อาจเป็นบรรพบุรุษของม้าบ้าน. ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง คือ ประวัติศาสตร์ของดินแดนเอเชียกลาง ซึ่งเป็นบริเวณที่ทำการเกษตรได้ยากและอยู่ห่างไกลจากทะเล ทำให้ถูกตัดขาดจากเส้นทางการค้า เมืองใหญ่ๆจึงเกิดขึ้นน้อย ชนร่อนเร่ที่เชี่ยวชาญการขี่ม้าเป็นกลุ่มชนหลักในทุ่งหญ้าสเตปป์ และความสัมพันธ์ระหว่างชนร่อนเร่และกลุ่มชนอื่นๆในเอเชียกลางเต็มไปด้วยความขัดแย้ง ทักษะในการขี่ม้าของพวกเขาทำให้กลายเป็นนักรบที่มีประสิทธิภาพกลุ่มหนึ่งของโลก ผู้นำเผ่าจะเป็นผู้จัดการนำเผ่าย่อย ๆ มารวมกันเป็นกองทัพ ตัวอย่างของกลุ่มชนเหล่านี้ เช่น ชาวฮันที่เข้ารุกรานยุโรป กลุ่มชนเตอร์กิกที่อพยพเข้าสู่ทรานโซเซียนา(Transoxiana) พวกหูทั้ง 5 ชนกลุ่ม(Five Barbarians)ที่โจมตีจักรวรรดิฮั่น และชาวมองโกลที่มีอิทธิพลในเอเชียและยุโรป ความโดดเด่นของชนร่อนเร่สิ้นสุดลงในพุทธศตวรรษที่ 21 เมื่ออาวุธสมัยใหม่เข้ามามีบทบาทในสงคราม จักรวรรดิรัสเซีย ราชวงศ์หมิงของจีน และมหาอำนาจอื่นเข้าครอบครองเอเชียกลางทั้งหมดในพุทธศตวรรษที่ 24 หลังการปฏิวัติรัสเซี..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และประวัติศาสตร์เอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแมนจู

ประเทศแมนจู หรือเรียกอย่างทับศัพท์ว่า หมั่นโจวกั๋ว ("ประเทศแมนจู") มีชื่อทางการว่าจักรวรรดิแมนจู เป็นรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ตั้งอยู่ในดินแดนแมนจูเรียและมองโกลเลียในด้านทิศตะวันออกปัจจุบัน ดินแดนแห่งนี้นับเป็นรากเหง้าทางประวัติศาสตร์ของชนชาติแมนจูผู้สถาปนาราชวงศ์ชิงปกครองประเทศจีนในอดีต กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองดินแดนดังกล่าวจากสาธารณรัฐจีนในปี..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และประเทศแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งแซนาดู

แหล่งแซนาดู ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของกำแพงเมืองจีน แหล่งโบราณคดีแซนาดูล้อมรอบด้วยซากเมืองหลวงตามตำนานของกุบไลข่าน ออกแบบโดยที่ปรึกษาชาวจีนของผู้ปกครองชาวมองโกล ชื่อ ลิว บิงซง (Liu Bingzhdong) ในปี..๑๒๕๖/..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และแหล่งแซนาดู · ดูเพิ่มเติม »

แคะ

แคะ หรือ ฮากกา (客家 คำว่า แคะ ในภาษาไทยถูกเรียกตามภาษาแต้จิ๋วว่า แขะแก ในภาษาจีนกลางเรียกว่า เค่อเจีย มีความหมายว่า ครอบครัวผู้มาเยือน ส่วนในภาษาจีนแคะเอง เรียกว่า ขักก๊า หรือ ฮากกา) คือ ชนกลุ่มจีนฮั่นกลุ่มหนึ่ง ซึ่งกล่าวกันว่ามีบรรพบุรุษที่มีต้นกำเนิดบริเวณมณฑลเหอหนานและซานซี ทางตอนเหนือของจีนเมื่อราว 2,700 ปีที่แล้ว บรรพบุรุษของชาวจีนแคะอพยพลงใต้ เนื่องจากความไม่สงบทางสังคม การลุกฮือ และการรุกรานจากผู้ยึดครองต่างชาติตั้งแต่ยุคราชวงศ์จิ้น (ค.ศ. 265-420) กระแสการอพยพครั้งต่อ ๆ มาเกิดขึ้นเมื่อยุคสิ้นราชวงศ์ถัง เมื่อประเทศจีนแตกออกเป็นส่วน ๆ และช่วงราชวงศ์ซ่ง ซึ่งเป็นช่วงที่ประชากรทางภาคเหนือลดลง.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และแคะ · ดูเพิ่มเติม »

แปดกองธง

แปดกองธง (จีน: 八旗, พินอิน: baqí) เป็นกองกำลังทหารในยุคราชวงศ์ชิงในประวัติศาสตร์จีน เป็นการจัดการบริหารและวางกองกำลังต่อสู้ของราชวงศ์ชิง โดยผู้ที่สถาปนากองทัพนี้ คือ จักรพรรดินู่เอ๋อร์ฮาชื่อ (ค.ศ. 1559-ค.ศ. 1629) ปฐมจักรพรรดิของราชวงศ์ โดยมีสัญลักษณ์เป็นธงที่มีสีสันต่าง ๆ แตกต่างออกไป และเป็นกำลังสำคัญในการป้องกันเมืองหลวง คือ ปักกิ่ง ซึ่งการจัดกำลังออกเป็น 8 ส่วนนี้ จะใช้ผู้คุมกำลังเป็นผู้ที่สัมพันธ์หรือเป็นญาติกันในตระกูลอ้ายซินเจว๋หลัว ซึ่งเป็นตระกูลของจักรพรรดิและพระญาติวงศ์ในราชวงศ์ชิง ซึ่งผู้ที่เคยเป็นผู้บังคับบัญชาแปดกองธงนี้บุคคลหนึ่ง ก็คือ อาปาไห่ หรือต่อมาก็คือ จักรพรรดิหวงไถจี๋ (ค.ศ. 1592-ค.ศ. 1643) ซึ่งเป็นราชบุตรลำดับที่ 8 และได้ครองราชย์ในเวลาต่อมา โดยเริ่มจากหัวหน้าชนเผ่าแมนจูต่าง ๆ ที่นู๋เอ๋อร์ฮาชื้อเคยปราบมา ก่อนจะรวบรวมชาวแมนจูเป็นหนึ่งเดียวโค่นราชวงศ์หมิงได้สำเร็จ มีการเก็บภาษีและการระดมพลก็ระดมผ่านกองธงต่าง ๆ ไล่มาจากหัวหน้าหน่วยบริหารระดับล่างขึ้นมาข้างบน ซึ่งกระบวนการนี้ช่วยลดความแตกต่างของชนเผ่าและตระกูลนอกด่านทั้งหลายไปได้มาก นั่นทำให้นายทหารผู้บังคับหมวด นายทหารผู้บังคับกอง นายทหารคุมกองพัน และระดับแม่ทัพ จะต้องทำหน้าที่เป็นทั้งผู้บริหารและทหารไปพร้อม ๆ กัน แต่ทั้งหมดอยู่ภายใต้กฎหมายเดียวกันกับที่นู๋เอ๋อร์ฮาชื้อตราขึ้นมา และยังส่งผลต่อความสัมพันธ์ที่ดีกับชาวมองโกล รวมถึงชาวฮั่นที่อยู่ในแถบตะวันออกด้วย ซึ่งถือได้ว่าทั้ง 3 ชนเผ่ามีส่วนร่วมในการก่อตั้งกองทัพแปดกองธงขึ้นมา จนสามารถแบ่งได้ถึง 24 กองธง เฉลี่ยกองธงละ 7,500 คน.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และแปดกองธง · ดูเพิ่มเติม »

ไนดาน ตูฟชินบายา

นดาน ตูฟชินบายา (Найдангийн Түвшинбаяр; Naidangiin Tüvshinbayar) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1984 ในไซข่าน จังหวัดบัลแกน เป็นนักยูโดชาวมองโกเลีย เขาได้รับการจัดร่วมอยู่ในอันดับที่ห้าของรุ่นเฮฟวี่เวท (-100 กก.) จากการแบ่งสายและรุ่นน้ำหนักแข่งขันในเอเชียนเกมส์ 2006 และในรุ่นน้ำหนักเดียวกันนี้เอง ที่เขาได้รับเหรียญทองจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ในกรุงปักกิ่ง ซึ่งส่งผลให้เขาเป็นชาวมองโกเลียคนแรกที่ได้รับเหรียญทองในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก โดยเป็นฝ่ายชนะนักยูโดชาวคาซัคสถานอย่าง อัซคาท ซิทเคเยฟ และในวันที่ 14 สิงหาคม..

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และไนดาน ตูฟชินบายา · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และเอมิล เคร็บส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจียงหนาน

Xishi bridge, Mudu, Suzhouเจียงหนาน (Jiangnan;; หรือบางครั้งสะกดว่า Kiang-nan) คือพื้นที่บริเวณตอนล่างของแม่น้ำแยงซีในประเทศจีนปัจจุบัน โดยรวมถึงพื้นที่ตอนใต้ของสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี (Yangtze River Delta) ด้วย บริเวณเจียงหนานมีพื้นที่ครอบคลุมนครเซี่ยงไฮ้ ทางตอนใต้ของมณฑลเจียงซู ทางตอนใต้ของมณฑลอานฮุย ทางตอนเหนือของมณฑลเจียงซี และตอนเหนือของมณฑลเจ้อเจียง เมืองสำคัญในบริเวณนี้ ได้แก่ เมืองเซี่ยงไฮ้ หนานจิง หนิงป่อ หางโจว ซูโจว อู๋ซี ฉางโจว (อังกฤษ: Changzhou; จีน: 常州; พินอิน: Chángzhōu) และ เช่าซิง (Shaoxing; จีนตัวย่อ: 绍兴; จีนตัวเต็ม: 紹興; พินอิน: Shàoxīng) ประชาชนในบริเวณเจียงหนานส่วนมากมักใช้ภาษาจีนอู๋เป็นภาษาพูดประจำท้องถิ่น.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และเจียงหนาน · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลไหว้พระจันทร์

ทศกาลไหว้พระจันทร์ หรือ เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง (Moon Festival, Mid-Autumn Festival; จีนตัวเต็ม: 中秋節; จีนตัวย่อ: 中秋节; พินอิน: zhōngqiū jié; เวียดนาม: Tết Trung Thu) เป็นเทศกาลตามวัฒนธรรมจีนที่มีขึ้นในกลางฤดูใบไม้ร่วง เพื่อเฉลิมฉลองการเก็บเกี่ยว จะมีขึ้นในคืนวันเพ็ญเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติ (กันยายนตามปฏิทินสากล) ในเทศกาลนี้ ชาวจีนจะเฉลิมฉลองด้วยการไหว้ดวงจันทร์ในเวลากลางคืน ในบางประเทศ เช่น สิงคโปร์ หรือเวียดนาม จะจัดเป็นประเพณีใหญ่ มีการเฉลิมฉลองด้วยโคมไฟสีแดง เป็นสีสันยามค่ำคืน หรือบางแห่งอาจมีการเชิดมังกร ทั้งนี้จะมีชื่อเรียกต่างกันออกไปตามแต่ท้องถิ่น นอกจากนี้แล้ว ยังมีขนมชนิดหนึ่ง เรียกว่า "ขนมไหว้พระจันทร์" (月饼) ที่มีสันฐานกลมคล้ายขนมเค้ก ทำจากแป้ง มีไส้ต่าง ๆ เป็นธัญพืช ใช้เซ่นไหว้และรับประทานกันจนเป็นเอกลักษณ์สำหรับเทศกาลนี้ ที่มาของเทศกาลนี้ เกี่ยวกับเทพปกรณัมจีนที่เล่าถึง เทพธิดาแห่งดวงจันทร์ ที่ชื่อ "ฉางเอ๋อ" (嫦娥) ซึ่งเป็นหญิงคนรักของโฮวอี้ นักยิงธนูแห่งสวรรค์ ที่ใช้ธนูยิงดวงอาทิตย์ตกลงไปถึง 9 ดวงจากทั้งหมด 10 ดวง ซึ่งเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนบัญชาสวรรค์ จึงโดนลงทัณฑ์ให้ไปใช้ชีวิตธรรมดาเช่นมนุษย์ทั่วไปบนโลกมนุษย์กับฉางเอ๋อ แต่แล้วโฮวอี้ก็ถูกคนสนิททรยศฆ่าตาย ส่วนฉางเอ๋อนางได้ดื่มน้ำอมฤตเพื่อที่จะมีชีวิตอมตะ แล้วเหาะกลับไปยังดวงจันทร์อีกครั้งตามลำพังด้วยความเศร้าสร้อย ในยุคของฮั่นเหวินตี้ (漢文帝) แห่งราชวงศ์ฮั่น ได้ทรงพระสุบินว่า พระองค์ลอยขึ้นไปเที่ยวชมพระราชวังบนดวงจันทร์ และได้พบกับฉางเอ๋อกำลังร่ายรำอยู่อย่างงดงาม ในสุบินนั้น พระองค์ทรงเพลิดเพลินและเกษมสำราญเป็นอย่างยิ่ง กระทั่งเมื่อตื่นพระบรรทมและโปรดให้สุบินนั้นเป็นความจริง จึงมีรับสั่งให้นางสนมแต่งตัวและร่ายรำเลียนแบบเทพธิดาฉางเอ๋อที่พระองค์ได้พบเจอมา จนแพร่หลายไปสู่ราษฎรและเป็นประเพณีมา ซึ่งในอดีต ชาวจีนโดยเฉพาะหญิงสาวจะสวดขอพรจากฉางเอ๋อเพื่อที่ขอให้มีความเยาว์วัยและงดงามตลอดไปดุจดั่งนาง นอกจากนี้แล้ว ยังมีอีกตำนานหนึ่งที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ขณะที่ชาวฮั่นถูกปกครองอย่างกดขี่จากชาวมองโกล (ราชวงศ์หยวน) ได้มีการก่อกบฏขึ้นของชาวฮั่น ด้วยการแอบส่งสาสน์บอกต่อ ๆ กันในไส้ขนม ความว่า คืนนี้เมื่อเวลายาม 3 ให้ทุกบ้านจัดการสังหารทหารมองโกลให้หมด อันเป็นที่มาของขนมไหว้พระจันทร.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และเทศกาลไหว้พระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ไห่เป่ย์

ตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ไห่เป่ย์ (Haibei Tibetan Autonomous Prefecture) เป็นเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดทางตะวันออกเฉียงเหนือของมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน มีเนื้อที่ 39,354 ตารางกิโลเมตร (15,195 ตารางไมล์) และเป็นที่ตั้งของเทศมณฑลไห่หยั่น.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และเขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ไห่เป่ย์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน

ตปกครองตนเองมองโกเลียใน (มองโกล) มีลักษณะพื้นที่แคบยาวพาดตามชายแดนภาคเหนือของจีน กั้นระหว่างจีนกับประเทศมองโกเลียและรัสเซีย มีเมืองหลวงชื่อ ฮูฮอต มีเนื้อที่ 1,183,000 ก.ม.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน · ดูเพิ่มเติม »

เดชคัมภีร์บีชุนมู

ัมภีร์บีชุนมู ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์กำลังภายในสัญชาติเกาหลีเรื่อง Bichunmoo (ฮันกึล: 비천무, ฮันจา: 飛天舞, ระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000: Bicheonmu, ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์: Pich'ŏnmu) นำแสดงโดย ชิน ฮุนจุน, คิม ฮีซุน, แจง เจยอง บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย คิม ยองจุน.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และเดชคัมภีร์บีชุนมู · ดูเพิ่มเติม »

CYP3A5

ซโทโครม P450 3A5 (Cytochrome P450 3A5; ชื่อย่อ: CYP3A5) เป็นเอนไซม์ชนิดหนึ่งในกลุ่มออกซิไดซิงเอนไซม์ตระกูลไซโตโครม P450 ที่มีความสำคัญยิ่งต่อร่างกายมนุษย์ โดยโปรตีน CYP3A5 ในมนุษย์จะถูกเข้ารหัสโดยยีน CYP3A5 ซึ่งยีนนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มยีน cytochrome P450 บน โครโมโซมคู่ที่ 7 โลคัส 7q22.1 CYP3A5 เป็นเอนไซม์ที่พบได้ในเนื้อเยืื่อหลายชนิดในร่างกาย ส่วนมากมักอยู่ที่เนื้อเยื่อของเซลล์ตับ ต่อมลูกหมาก ทางเดินอาหาร ไต ต่อมหมวกไต อย่างไรก็ตาม CYP3A5 ที่อยู่ในเนื้อเยื่ออื่นที่นอกเหนือจากเซลล์ตับจะสามารถแสดงออกได้โดดเด่นมากกว่า หน้าที่หลักของ CYP3A5 คือ การเมแทบอไลซ์ยาและสารประกอบไขมันต่างๆ ในร่างกาย เช่น เทสโทสเทอโรน โปรเจสเตอโรน และแอนโดรสตีนีไดโอน อย่างไรก็ตาม การทำงานของ CYP3A5 นั้นมีความแตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ โดยชาติพันธ์ุที่มีอัลลีลของ CYP3A5 เป็น CYP3A5*1 จะมีการทำงานของเอนไซม์ที่เป็นปกติ แต่ในบางกลุ่มชาติพันธ์ุที่มีอัลลีลเป็น CYP3A5*3 อย่างประชากรในแถบยุโรป เอเชียตะวันตก และเอเชียกลาง จะมีการทำงานของเอนไซม์นี้ลดลง และในบางกลุ่มประชากรอาจเกิดการกลายพันธุ์จากอัลลีล CYP3A5*1 มาเป็น CYP3A5*3 ได้.

ใหม่!!: มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)และCYP3A5 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ชาวมองโกลชาวมองโกเลีย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »