เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มหาวิทยาลัยโตเกียว

ดัชนี มหาวิทยาลัยโตเกียว

หอประชุมยาสุดะในมหาวิทยาลัยโตเกียว มหาวิทยาลัยโตเกียว หรือย่อว่า โทได เป็นมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุ่นในลักษณะของมหาวิทยาลัยวิจัย ตั้งอยู่ที่เมืองโตเกียว มีพื้นที่แยกออกเป็น 5 วิทยาเขต ใน ฮงโง โคมะบะ คะชิวะ ชิโระงะเนะ และ นะกะโนะ และได้ชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีเกียรติมากที่สุดในญี่ปุ่น และยังจัดเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก มหาวิทยาลัยโตเกียวประกอบด้วย 10 คณะซึ่งมีนักศึกษารวมทั้งสิ้นประมาณ 30,000 คน ในจำนวนนี้มีนักศึกษาต่างชาติประมาณ 2,100 คนเป็นนักศึกษาไทยประมาณ 150 คน (ซึ่งเป็นสัดส่วนสูงทีสุดในบรรดามหาวิทยาลัยในญี่ปุ่น) ปัจจุบันมีหลักสูตรครอบคลุมสาขาวิทยาการเกือบทั้งหมด แต่ที่มีชื่อเสียงมากเป็นพิเศษคือ กฎหมาย รัฐศาสตร์ วรรณกรรม เศรษฐศาสตร์ แพทยศาสตร์และ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ผลิตนักการเมืองและข้าราชการระดับสูงของญี่ปุ่นจำนวนมาก นับแต่อดีตจนปัจจุบันแม้ว่าสัดส่วนจะลดลงก็ตาม อัตราส่วนของรัฐมนตรีที่เป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยโตเกียวยังคงสูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น โดยแต่ละช่วงคริสต์ศตวรรษจะอยู่ที่ประมาณ 2/3 1/2 1/4 1/5 และ1/6 ในช่วงคริสศตวรรษที่ 1950 60 70 80 และ 90 ตามลำดับ มหาวิทยาลัยโตเกียวมีการเรียนการสอนที่เป็นที่ยอมรับว่า เป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นสูงในหลากหลายสาขาวิชา และมีอัตราการแข่งขันในการเข้าศึกษาสูงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยโตเกียวมีมหาวิทยาลัยคู่แข่งอยู่หกมหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัยเคโอซึ่งก่อตั้งก่อนช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบาชิซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมากในหมู่คนญี่ปุ่นและเปิดสอนเฉพาะวิชาด้านสังคมศาสตร์ หรือมหาวิทยาลัยเกียวโตซึ่งผลิตนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลเป็นจำนวนมาก หนึ่งในศิษย์เก่าเจ้าของรางวัลโนเบลของมหาวิทยาลัยโตเกียวคืออธิการบดีมหาวิทยาลัยโตเกียวอิมพิเรียลชื่อ ศาสตราจารย์ คิคุจิ ไดโรกุ ในด้านกีฬา ทีมเบสบอลมหาวิทยาลัยโตเกียว ประสบความสำเร็จมากที่สุดทีมหนึ่งในระดับมหาวิทยาลัยของกรุงโตเกียว ศูนย์ฮงโหงะเป็นศูนย์หลักของมหาวิทยาลัยซึ่งเดิมเป็นที่พำนักของตระกูล "มาเอดะ" ช่วงสมัยเอโดะผู้เป็นเจ้าเมืองเคหงะ สัญลักษณ์หนึ่งที่เป็นที่รู้จักและอยู่จนปัจจุบันของมหาวิทยาลัยคือ "อะกามง" (ประตูแดง) ส่วนตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเป็นรูปใบแปะก๊วย ซึ่งปลูกอยู่เรียงรายทั่วทั้งบริเวณของมหาวิทยาลั.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 71 ความสัมพันธ์: บุงเกียว (โตเกียว)บ้านพักอลเวงฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระจักรพรรดิพระนิชิจิพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดมพลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะการรับรู้รสมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยหลวงมหาวิทยาลัยนาโงยะมหาวิทยาลัยแห่งชาติทั้งเจ็ดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเคียวโตะมิชิมะ ยุกิโอะมิซูซุ คาเนโกะมิโนะรุ ฮะระดะมณทิพย์ ศรีรัตนายุกิโอะ ฮะโตะยะมะยุทธ์ ชัยประวิตรรายชื่อตัวละครในผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ!รายชื่อตัวละครในจีทีโอ คุณครูพันธุ์หายากวัชรารัศมี สุนทรพนาเวชสมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิกสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสยองขวัญเอาชีวิตรอดสามารถ ราชพลสิทธิ์สุริชัย หวันแก้วสโมสรฟุตบอลโตเกียวยูไนเต็ดอภิชัย พันธเสนออสคาร์ คอร์เชลท์อิวะซะกิ ยะโนะซุเกะอุมะมิฮะชิโกฮิซะชิ โอะวะดะฮิเดะกิ ยุกะวะฮิเดะซะบุโร อุเอะโนะฮิเดะโยะ โนะงุชิจักรพรรดิเมจิจดหมายเหตุวันวลิตทะกะอะกิ คะจิตะคันจิคิอิชิ มิยะซะวะตามใจ ขำภโตซูเปอร์มหาวิทยาลัยโลกประแสง มงคลศิริประเทศญี่ปุ่นปลากะพงญี่ปุ่นปลาฉลามก็อบลินแบนด์ มิคาเอล โรเดอแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554... ขยายดัชนี (21 มากกว่า) »

บุงเกียว (โตเกียว)

งเกียว เป็น 1 ใน 23 เขตการปกครองพิเศษของกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่กึ่งกลางโตเกียว เป็นศูนย์กลางของสถานศึกษาและย่านที่พักอาศัยในโตเกียว มีประวัติย้อนไปในสมัยเมจิ เป็นย่านที่พักอาศัยของนักประพันธ์ นักวิชาการ นักการเมือง ใน..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและบุงเกียว (โตเกียว)

บ้านพักอลเวง

้านพักอลเวง หรือ เลิฟฮินะ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น วาดโดยเคน อาคามัตสึ เรื่องราวของหนุ่มหัวไม่ดีนาม "อุราชิมะ เคทาโร่" เด็กนักเรียนที่เตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัยโตเกียว ตามที่เคยสัญญาไว้กับเด็กสาวที่ตนรักในสมัยเด็ก ได้หลงไปอยู่ในหอพักสาวล้วน ที่เคยเป็นอดีตรีสอร์ทบ่อน้ำพุร้อนของยายตัวเอง บ้านพักอลเวง ได้รับรางวัล การ์ตูนญี่ปุ่นยอดเยี่ยมในสหรัฐอเมริกา ในงาน 2002 อะนิเมะเอกซ์โป บ้านพักอลเวงมีเป็นมังงะ 16 เล่ม (ในไทยมี 14 เล่ม ของญี่ปุ่นและบางประเทศจะมีเล่ม 0 และ เล่ม ∞) และฉบับอะนิเมะภาคแรกมีทั้งหมด 24 ตอน ตอนพิเศษ (ตอนที่ 25 เปรียบเสมือนกับการเล่าเนื้อหาทั้ง 24 ตอนในตอนเดียว) ภาพยนตร์ 2 ภาค (Christmas Special และ Spring Special) OVA (Love Hina Again) 3 ตอน ทั้งนี้ในญี่ปุ่นและบางประเทศยังมี Novel (ฉบับนวนิยาย) ด้วยอีกสองเล่ม บ้านพักอลเวงมีการตีพิมพ์มากมายทั่วโลก โดยในประเทศญี่ปุ่น ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์โคดันฉะ ในประเทศไทยตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ ในสหรัฐอเมริกาตีพิมพ์โดย โตเกียวป๊อป ส่วนในฝรั่งเศสและสเปนตีพิมพ์โดย Glénat และที่อื่นๆ อีกทั่วโลก ในประเทศไทย บ้านพักอลเวงฉบับอะนิเมะภาคแรก เคยออกอากาศทางยูบีซีเอเชียนซีรีส์ ช่อง 24 (ปัจจุบันคือ ทรูฟิล์มเอเชีย) และออกจำหน่ายในรูปแบบ VCD ลิขสิทธิ์โดยอามีโก้ ซึ่งปัจจุบันออกมาแค่ ภาคแรก 24 ตอน และเนื่องด้วยบ้านพักอลเอง เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นที่ได้รับกระแสตอบรับจากนักอ่านเป็นอย่างมาก ปัจจุบัน วิบูลย์กิจ ได้ทำการตีพิมพ์เรื่องนี้ใหม่อีกครั้ง โดยเพิ่มเติมอักษรเสียงปิดภาพที่ไม่เหมาะสมมากขึ้น.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและบ้านพักอลเวง

ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระจักรพรรดิ

การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระจักรพรรดิ หรือ ถ้วยพระจักรพรรดิ (ญี่ปุ่น: 天皇杯全日本サッカー選手権大会 หรือ 天皇杯 (เท็นโนไฮ), อังกฤษ: Emperor's Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลของสมาคมฟุตบอลญี่ปุ่น และเป็นการแข่งขันฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดของญี่ปุ่น มีประวัติย้อนไปตั้งแต..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระจักรพรรดิ

พระนิชิจิ

ระนิชิจิ (日持; 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1250– หลังจากปี ค.ศ. 1304) หรือ ไคอิโค เป็นลูกศิษย์และสาวกของพระนิชิเรน ซึ่งได้ออกเดินทางไปยัง ฮอกไกโด ไซบีเรีย และ ประเทศจีน พระนิชิจิ เกิดในจังหวัดซุรุกะ เป็นบุตรคนที่สองของ ตระกูลที่ยิ่งใหญ่และมีอำนาจ ในตอนแรกพระนิชิจิได้ศึกษาธรรมของนิกายเทียนไท้ แต่หลังจากนั้นไม่นานก็ได้เข้าเป็นศิษย์ของพระนิชิเรน พระนิชิจิได้ถูกแต่งตั้งเป็น 1 ใน 6 พระสงฆ์อาวุโส จากพระนิชิเรน แต่ก็เป็น ลูกศิษย์ของพระนิกโคด้วย หลังจากการดับขันธ์ของพระนิชิเรนในปี ค.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและพระนิชิจิ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม พระนามเดิม พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "เพ็ญพัฒน์" เป็นผู้พระนิพนธ์เพลงลาวดวงเดือน พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 38 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดามรกฎ ธิดาของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม

พลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะ

ลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะ (Please Teacher!) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโรแมนติกคอเมดี้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กนักเรียนมัธยมปลายคนหนึ่งที่ถูกสถานการณ์บังคับให้แต่งงานกับครูประจำชั้น ซึ่งความจริงแล้วเป็นมนุษย์ต่างดาวที่ถูกส่งมาสำรวจโลก บริษัทโดมุเป็นผู้สร้าง พลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะ ในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนชุดความยาว 12 ตอน และนำออกแพร่ภาพเป็นครั้งแรกทางสถานี WOWOW ในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2545 ถึงวันที่ 28 มีนาคม ของปีเดียวกัน นอกจากนี้ยังสร้างโอวีเอ ซึ่งมีเนื้อหาเป็นตอนที่ 13 ของภาคภาพยนตร์การ์ตูนชุด ออกจำหน่ายในวันที่ 25 สิงหาคม 2545 พลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะยังถูกดัดแปลงเป็นมังงะลงตีพิมพ์ในนิตยสารเด็งเกคิไดโอรายเดือน โดยมี ชิซุรุ ฮายาชิยะ เป็นผู้วาดภาพ ในประเทศไทย พลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะ ได้ลิขสิทธิ์จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Negibose และออกวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดีและดีวีดีลิขสิทธิ์ โดยบริษัท i-Berry.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและพลีสทีชเชอร์ สอนนักรักซะ

การรับรู้รส

ตุ่มรับรส (Taste bud) รส หรือ รสชาติ (Taste, gustatory perception, gustation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับประสาทสัมผัสหนึ่งในห้า (นับตามโบราณ) โดยเป็นความรู้สึกที่ได้จากระบบรู้รส (gustatory system) รสเป็นความรู้สึกที่ได้เมื่อสารในปากก่อปฏิกิริยาเคมีกับเซลล์รับรส (taste receptor cell) ที่อยู่ในตุ่มรับรส (taste bud) ในช่องปากโดยมากที่ลิ้น รสพร้อม ๆ กับกลิ่น และการกระตุ้นที่ประสาทไทรเจมินัล (ซึ่งทำให้รู้เนื้ออาหาร ความเจ็บปวด และอุณหภูมิ) จะเป็นตัวกำหนดความอร่อยของอาหารหรือสารอื่น ๆ กล่าวอีกอย่างก็คือ ระบบรู้รสจะตรวจจับโมเลกุลอาหารและเครื่องดื่มเป็นต้น โดยมากที่ละลายในน้ำหรือไขมันได้ ซึ่งเมื่อรวมกับข้อมูลจากระบบรู้กลิ่นและระบบรับความรู้สึกทางกาย จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสารอาหาร ปริมาณ และความปลอดภัยของสิ่งที่เข้ามาในปาก มีรสชาติหลัก ๆ 5 อย่างคือ หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม และอุมะมิ ซึ่งรู้ผ่านวิถีประสาทที่แยกจากกัน ส่วนการรับรู้รสแบบผสมอาจเกิดขึ้นที่เปลือกสมองส่วนการรู้รสโดยประมวลข้อมูลที่ได้ในเบื้องต้นจากหน่วยรับรสหลัก ๆ การรับรู้รสจะเริ่มตั้งแต่สารที่มีรสทำปฏิกิริยากับน้ำลายซึ่งท่วมตุ่มรับรสที่อยู่บนโครงสร้างต่าง ๆ เช่นปุ่มลิ้น ทำให้โมเลกุลรสมีโอกาสทำปฏิกิริยากับหน่วยรับรสที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรสซึ่งอยู่รวมตัวกันที่ตุ่มรับรส รสหวาน อุมะมิ และขม จะเริ่มจากการจับกันของโมเลกุลกับ G protein-coupled receptors ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรส ส่วนความเค็มและความหวานจะรู้ได้เมื่อโลหะแอลคาไลหรือไอออนไฮโดรเจน (ตามลำดับ) ไหลเข้าไปในเซลล์รับรส ในที่สุดเซลล์รับรสก็จะลดขั้วแล้วส่งสัญญาณกลิ่นผ่านใยประสาทรับความรู้สึกไปยังระบบประสาทกลาง สมองก็จะประมวลผลข้อมูลรสซึ่งในที่สุดก็ทำให้รู้รส รสพื้นฐานจะมีส่วนต่อความรู้สึกอร่อยของอาหารในปาก ปัจจัยอื่น ๆ รวมทั้งกลิ่น ที่ตรวจจับโดยเยื่อบุผิวรับกลิ่นในจมูก, เนื้ออาหาร ที่ตรวจจับโดยตัวรับแรงกล และประสาทกล้ามเนื้อต่าง ๆ เป็นต้น, อุณหภูมิที่ตรวจจับโดยปลายประสาทรับร้อน, ความเย็น (เช่นที่ได้จากเมนทอล) กับรสเผ็สที่ได้จากตัวรับรู้สารเคมี, รูปลักษณ์ที่ปรากฏของอาหาร ที่เห็นได้ผ่านเซลล์รับแสงในจอตา, และสภาพทางจิตใจเอง เพราะเรารู้ทั้งรสที่เป็นอันตรายและมีประโยชน์ รสพื้นฐานทั้งหมดสามารถจัดเป็นไม่น่าพอใจ (aversive) หรือทำให้อยากอาหาร (appetitive) ความขมช่วยเตือนว่าอาจมีพิษ ในขณะที่ความหวานช่วยระบุอาหารที่สมบูรณ์ด้วยพลังงาน สำหรับมนุษย์ การรู้รสจะเริ่มลดลงราว ๆ อายุ 50 ปี เพราะการเสียปุ่มลิ้นและการผลิตน้ำลายที่น้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุมักทานรสจัดขึ้นเทียบกับเด็ก เช่น ต้องเติมเกลือ เติมพริกเป็นต้น ซึ่งอาจเป็นปัญหาต่อผู้มีความดันโลหิตสูงหรือมีปัญหาธำรงดุลอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย มนุษย์สามารถรู้รสแบบผิดปกติเพราะเป็นโรค dysgeusia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมดไม่ได้รู้รสได้เหมือน ๆ กัน สัตว์ฟันแทะบางชนิดสามารถรู้รสแป้ง (ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถ) แมวไม่สามารถรู้รสหวาน และสัตว์กินเนื้อหลายอย่างรวมทั้งหมาไฮยีน่า ปลาโลมา และสิงโตทะเลต่างก็ได้เสียการรู้รสชาติอาจถึง 4 อย่างจาก 5 อย่างที่บรรพบุรุษของพวกมันรู้.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและการรับรู้รส

มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัย (University) หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลากหลายสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา หรือปริญญา แก่ผู้สำเร็จการศึกษาในหลายระดับรวมถึง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งการทำการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยหลวง

มหาวิทยาลัยหลวง อาจหมายถึง.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและมหาวิทยาลัยหลวง

มหาวิทยาลัยนาโงยะ

หอประชุมโทะโยะดะ ออกแบบโดยฟุมิฮิโกะ มะกิ มหาวิทยาลัยนาโงยะ (ชื่อย่อ Meidai) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ที่เขตชิกุสะ เมืองนาโงยะ และเป็นมหาวิทยาลัยของแห่งสุดท้ายในกลุ่มมหาวิทยาลัยแห่งชาติทั้งเจ็ด ได้รับการจัดอันดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยที่มีการศึกษาดีที่สุดของประเทศ (อันดับที่ 72 ของโลก) ในปี..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและมหาวิทยาลัยนาโงยะ

มหาวิทยาลัยแห่งชาติทั้งเจ็ด

มหาวิทยาลัยแห่งชาติทั้งเจ็ด (National Seven Universities) เป็นคำเรียกอย่างเป็นทางการซึ่งสถาบันอุดมศึกษาเจ็ดแห่งของรัฐในประเทศญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยทั้งเจ็ดนี้บางคราก็เรียก คีวเตได (旧帝大 อดีตมหาวิทยาลัยหลวง) เพราะเคยอยู่ในระบบมหาวิทยาลัยหลวงก่อนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง คำ "มหาวิทยาลัยแห่งชาติทั้งเจ็ด" ยังใช้ในการแข่งขันกีฬาประจำปีระหว่างมหาวิทยาลัยดังกล่าวซึ่งมหาวิทยาลัยฮกไกโดเริ่มจัดเมื่อ..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและมหาวิทยาลัยแห่งชาติทั้งเจ็ด

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเคียวโตะ

มหาวิทยาลัยเคียวโตะ หรือเรียกย่อว่า เคียวได เป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับที่ 2 ของประเทศญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศ ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 22,000 คน มหาวิทยาลัยเคียวโตะก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและมหาวิทยาลัยเคียวโตะ

มิชิมะ ยุกิโอะ

มิชิมะ ยุกิโอะ เป็นนามปากกาของ ฮิระโอะกะ คิมิตะเกะ (14 มกราคม ค.ศ. 1925 - 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1970) เป็นกวีและนักเขียนชาวญี่ปุ่น ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักเขียนท่านหนึ่งที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับ ยุกิโอะเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมถึง 3 ครั้ง และเกือบได้รับรางวัลนี้ในปี..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและมิชิมะ ยุกิโอะ

มิซูซุ คาเนโกะ

มิซูซุ คาเนโกะ (ญี่ปุ่น: 金子みすゞ Kaneko Misuzu) ชื่อจริงคือ เทรุ คาเนโกะ (ญี่ปุ่น: 金子 テル Kaneko Teru)เป็นนักเขียนบทกวีสำหรับเด็กชาวญี่ปุ่น เกิดที่หมู่บ้านเซนซากิ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเมืองนากาโตะ จังหวัดยะมะงุชิ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเดิมเป็นหมู่บ้านชาวประมง ทำให้งานเขียนของมิซูซุ คาเนโกะ มักมีเรื่องราวเกี่ยวข้องกับประมงและทะเลเป็นจำนวนมาก และผลงานของเธอได้รับการแปลถึง 12 ภาษ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและมิซูซุ คาเนโกะ

มิโนะรุ ฮะระดะ

มิโนรุ ฮาราดะ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2484 ปัจจุบันเป็นนายกสมาคมโซคา งัคไก คนที่ 6.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและมิโนะรุ ฮะระดะ

มณทิพย์ ศรีรัตนา

ร.มณทิพย์ ศรีรัตนา เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและมณทิพย์ ศรีรัตนา

ยุกิโอะ ฮะโตะยะมะ

กิโอะ ฮะโตะยะมะ (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490 —) นายกรัฐมนตรีคนที่ 93 ของประเทศญี่ปุ่น และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปไตยญี่ปุ่น นายฮะโตะยะมะได้รับคะแนนเสียงอย่างเป็นเอกฉันท์จากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของญี่ปุ่นให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและยุกิโอะ ฮะโตะยะมะ

ยุทธ์ ชัยประวิตร

ร.ยุทธ์ ชัยประวิตร (ชื่อเดิม: อายุทธ์ จิรชัยประวิตร) เกิดเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2510 จบการศึกษาระดับประถมกับมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปริญญาตรีเกียรตินิยมจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ดร.ยุทธ์ เป็นอาจารย์พิเศษในระดับปริญญาโทของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มีประสบการณ์ทำงานเป็น ประธานอนุกรรมการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เป็นผู้ช่วยเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีผลงานทางด้านการตรวจสอบ วิจัยและเสนอแนะเกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมหลายเรื่อง ในการเลือกตั้งในปลายปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและยุทธ์ ชัยประวิตร

รายชื่อตัวละครในผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ!

"ตัวละครในผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ!" เป็นเนื้อหาที่ว่าด้วยตัวละครที่ปรากฏในนิยายซีรีส์และการ์ตูนมังงะ มะรุมะ ของอาจารย์โทโมะ ทาคาบายาชิ ตลอดจนอะนิเมะ Kyo Kara Maoh!.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและรายชื่อตัวละครในผมน่ะหรือคือราชาปีศาจ!

รายชื่อตัวละครในจีทีโอ คุณครูพันธุ์หายาก

้อมูลของตัวละครจากการ์ตูนเรื่องจีทีโอ คุณครูพันธุ์หายาก.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและรายชื่อตัวละครในจีทีโอ คุณครูพันธุ์หายาก

วัชรารัศมี สุนทรพนาเวช

วัชรารัศมี สุนทรพนาเวช หรือ ตา มีชื่อเดิมว่า สุรางคณา สุนทรพนาเวช เกิดเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เป็นพิธีกร นักแสดง และนักร้อง ชาวไทย เป็นรองนางสาวไทย ประจำปี 2534 สำเร็จการศึกษาในคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และปริญญาโททางด้านเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยโตเกียวอินเตอร์เนชันแนล ประเทศญี่ปุ่น.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและวัชรารัศมี สุนทรพนาเวช

สมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก

มาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก (Association of Pacific Rim Universities หรือ APRU) ก่อตั้งเมือปี..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและสมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

สยองขวัญเอาชีวิตรอด

องขวัญเอาชีวิตรอด (survival horror) เป็นประเภทย่อยของวิดีโอเกมแอ็กชันผจญภัยมีแรงบันดาลใจจากบันเทิงคดีสยองขวัญ แม้ว่าจะมีการต่อสู้เป็นส่วนหนึ่งในระบบการเล่น แต่ผู้เล่นจะรู้สึกมีพละกำลังน้อยกว่าเกมแนวแอ็กชันทั่วไป เนื่องจากเกมจะกำจัดกระสุนปืน พลังชีวิต ความเร็ว หรือปัจจัยอื่น ๆ ผู้เล่นยังต้องหาไอเทมเพื่อปลดล็อกเส้นทางไปยังพื้นที่ใหม่ ๆ และแก้ปัญหาที่เกมกำหนดให้ ณ จุดต่าง ๆ เกมจะมีดนตรีประกอบชวนสยองขวัญ และผู้เล่นมักจะต้องสำรวจสภาพแวดล้อมชวนฉงน และโต้ตอบกับศัตรูที่อาจจู่โจมแบบไม่ทันตั้งตัว คำว่า "สยองขวัญเอาชีวิตรอด" ถูกใช้ครั้งแรกกับเกมเรซิเดนต์อีวิล สัญชาติญี่ปุ่น ในปี..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและสยองขวัญเอาชีวิตรอด

สามารถ ราชพลสิทธิ์

มารถ ราชพลสิทธิ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ฝ่ายโยธาและจราจร หนึ่งในทีมบริหารกรุงเทพมหานครชุดเริ่มต้นของ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เกิดวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและสามารถ ราชพลสิทธิ์

สุริชัย หวันแก้ว

ตราจารย์ สุริชัย หวันแก้ว (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 —) ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม และอาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการหลักสูตรการพัฒนาระหว่างประเทศ และปัจจุบันเป็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธาน Asian Rural Sociological Association (ARSA) ที่ปรึกษาโครงการแม่น้ำเพื่อชีวิต เคยเป็นหนึ่งในคณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ (กอส.) ดำรงตำแหน่งเลขานุการของกอ.ในการแก้ปัญหาเหตุการณ์ไม่สงบในภาคใต้ และเป็นอดีตประธานคณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.) ผู้เชี่ยวชาญประเด็นด้าน การพัฒนา คนชายขอบ และโลกาภิวัตน์ อาจารย์สุริชัยเป็นนักวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะสังคมวิทยา และการมีส่วนร่วม เป็นอดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม (CUSRI)ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นบุคลากรขององค์กรประชาธิปไตย คนสำคัญของประเทศไทย ในปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและสุริชัย หวันแก้ว

สโมสรฟุตบอลโตเกียวยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลโตเกียวยูไนเต็ด เป็นสโมสรฟุตบอลญี่ปุ่น ตั้งอยู่ที่เขตบุงเกียวในโตเกียว ปัจจุบันลงแข่งขันในคันโตซอคเกอร์ลีก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของลีกภูมิภาคญี่ปุ่น สโมสรก่อตั้งในเดือนมกราคม..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและสโมสรฟุตบอลโตเกียวยูไนเต็ด

อภิชัย พันธเสน

ตราจารย์ อภิชัย พันธเสน (เกิด ?) อาจารย์ประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาผู้นำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต และผู้อำนวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม หน่วยงานภายใต้มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ รวมทั้งยังร่วมเป็นคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงอีกด้ว.อภิชัย พันธเสน หรือ.ดร.อภิชัย พันธเสน มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นรูปธรรมทั้งในเชิงวิชาการและเชิงปฏบัติ โดยผลงานทางวิชาการต่างๆของอาจารย์ ได้ถูกหยิบยกไปใช้ในการอ้างอิงเพื่อการศึกษา และนำไปเป็นฐานในการประยุกต์ใช้และส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ชนบท โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานที่เกี่ยวข้องกับพุทธเศรษฐศาสตร์และเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นผลงานที่เปลี่ยนโฉมหน้าการศึกษาทางด้านวิชาการเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย ดังข้อความตอนท้ายช่วงหนึ่งในโมทนพจน์ของพระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและอภิชัย พันธเสน

ออสคาร์ คอร์เชลท์

แท่นหินเหนือหลุมฝังศพลูกสาวคนที่สองของเขาในสุสานอะโอะยะมะ (กรุงโตเกียว) ออสคาร์ คอร์เชลท์ (Oskar Korschelt; 18 กันยายน ค.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและออสคาร์ คอร์เชลท์

อิวะซะกิ ยะโนะซุเกะ

ไฟล์:Iwasaki Yanosuke BOJ4.jpg อิวะซะกิ ยะโนะซุเกะ (1851-1908) เป็นนักธุรกิจชาวญี่ปุ่นและประธานคนที่ 2 ของมิตซูบิชิ ยะโนะซุเกะเกิดเมื่อปี 1851 เป็นน้องชายของ อิวะซะกิ ยะตะโร ต่อมาเมื่อยะตะโรถึงแก่กรรมในปี 1885 ยะโนะซุเกะจึงขึ้นเป็นประธานแทน ยะโนะซุเกะจบการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยโตเกียว และ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ก่อนจะมารับตำแหน่งประธานมิตซูบิชิต่อจากพี่ชาย หลังจากยะโนะซุเกะเป็นประธานมิตซูบิชิได้ 8 ปีเขาก็สละตำแหน่งให้ฮิสะยะดำรงตำแหน่งแทนในปี 1893 อีก 3 ปีต่อมายะโนะซุเกะได้เป็นประธานธนาคารกลางญี่ปุ่น ก่อนจะออกจากตำแหน่งในปี 1896 ยะโนะซุเกะถึงแก่กรรมเมื่อปี 1908 ขณะอายุได้ 57 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและอิวะซะกิ ยะโนะซุเกะ

อุมะมิ

อุมะมิ เป็นรสชาติของกลูตาเมตอิสระ หนึ่งในกรดอะมิโนซึ่งเป็นองค์ประกอบของโปรตีนที่พบได้ในอาหารตามธรรมชาติ และ เครื่องปรุงรสต่างๆ อุมะมิเป็นคำที่มาจากภาษาญี่ปุ่นซึ่งแปลว่ารสอร่อย ในภาษาไทยคำที่ใกล้เคียงที่สุดได้แก่ "รสหวานน้ำต้มกระดูก" หรือ "รสกลมกล่อม" ในภาษาอีสานมีคำว่า "นัว" ส่วนในภาษาอังกฤษจะมีคำว่า "Savory" "Meaty" "broth-like" หรือ "mounthfullness" รสอุมะมิเป็นหนึ่งใน 5 รสชาติพื้นฐาน (basic taste) นอกเหนือไปจากรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ขมที่ช่วยให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น Ikeda K.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและอุมะมิ

ฮะชิโก

ก (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2478) เป็นสุนัขที่เป็นที่รู้จักในนามของ "สุนัขยอดกตัญญู ฮะชิโก" (忠犬) เป็นสุนัขสายพันธุ์อะกิตะ ฮะชินั้นเป็นสัญลักษณ์ถึงความจงรักภักดีอันน่าทึ่งจากการที่มันเฝ้ารอเจ้านายของมันเป็นเวลาหลายปี แม้ว่าเจ้านายของมันจะเสียชีวิตไปแล้ว ในปัจจุบันฮะชิเป็นสัญลักษณ์ของความสัตย์ซื่อ หนุ่มสาวญี่ปุ่นจะไปสัญญารักต่อกันหน้ารูปหล่อของฮะชิโกที่สถานีรถไฟดังกล่าว.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและฮะชิโก

ฮิซะชิ โอะวะดะ

ซะชิ โอะวะดะ (เกิด 18 กันยายน ค.ศ. 1932) เป็นนักนิติศาสตร์ชาวญี่ปุ่น และตุลาการศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยังเป็นพระสสุระในมกุฎราชกุมารญี่ปุ่นองค์ปัจจุบัน.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและฮิซะชิ โอะวะดะ

ฮิเดะกิ ยุกะวะ

กิ ยุกะวะ เกิดเมื่อวันที่ 23 มกราคม ค.ศ. 1907 เป็นนักวิทยาศาสตร์ สาขาฟิสิกส์เชิงทฤษฎีที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่น และเป็นชาวญี่ปุ่นคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบล.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและฮิเดะกิ ยุกะวะ

ฮิเดะซะบุโร อุเอะโนะ

ตราจารย์อุเอะโนะ ศาสตราจารย์ ฮิเดะซะบุโร อุเอะโนะ เป็นอาจารย์ประจำวิชาเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยโตเกียว อาศัยอยู่ในเขตชิบุยะ และเป็นเจ้าของสุนัขพันธุ์อะกิตะตัวหนึ่งที่ชื่อว่า ฮะชิโก สุนัขยอดกตัญญู อุเอะโนะใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับภรรยาและลูก ๆ ไม่ทราบชื่อ เวลาทำงานนั้นมักเดินทางไปสอนหนังสือที่มหาวิทยาลัยโตเกียวโดยไปทางรถไฟซึ่งอยู่ไม่ห่างจากบ้านของเขา และกลับมาในช่วงเวลา 15.00 น.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและฮิเดะซะบุโร อุเอะโนะ

ฮิเดะโยะ โนะงุชิ

นะงุชิ และมารดา ฮิเดะโยะ โนะงุชิ (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2419 – 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2471) นักวิทยาแบคทีเรียชาวญี่ปุ่น ผู้สามารถเพาะเชื้อก่อโรคซิฟิลิส ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขาแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเกียวโต ในปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและฮิเดะโยะ โนะงุชิ

จักรพรรดิเมจิ

มเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิโตะ (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1853 — 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1912) พระนามตามรัชสมัยคือ จักรพรรดิเมจิ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและจักรพรรดิเมจิ

จดหมายเหตุวันวลิต

หมายเหตุวันวลิต เป็นจดหมายเหตุที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่งขึ้นด้วยภาษาฮอลันดาโดยนายเยเรเมียส ฟาน ฟลีต (Jeremais van Vliet) ชาวฮอลันดา เมื่อปี..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและจดหมายเหตุวันวลิต

ทะกะอะกิ คะจิตะ

ทะกะอะกิ คะจิตะ เกิดเมื่อวันที่ 9 มีนาคม..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและทะกะอะกิ คะจิตะ

คันจิ

ันจิ เป็นอักษรจีนที่ใช้ในระบบการเขียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน จัดอยู่ในประเภทอักษรคำ (Logograms) ใช้ร่วมกับตัวอักษร อีก 4 ประเภท ได้แก่ ฮิรางานะ (ひらがな, 平仮名 Hiragana) คะตาคานะ (カタカナ, 片仮名 Katakana) โรมะจิ (ローマ字 Rōmaji) และตัวเลขอารบิก คำว่า "คันจิ" หากอ่านตามเสียงภาษาจีนกลางจะอ่านว่า "ฮั่นจื้อ" มีความหมายว่า ตัวอักษรของชาวฮั่น อันเป็นชนส่วนใหญ่ของประเทศจีน คำว่าภาษาจีนในภาษาจีนเอง ก็เรียกว่า ภาษาฮั่น (ภาษาจีนกลาง: 漢語, hànyǔ) เช่นกัน.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและคันจิ

คิอิชิ มิยะซะวะ

อิชิ มิยะซะวะ (8 ตุลาคม พ.ศ. 2462-28 มิถุนายน พ.ศ. 2550) นายกรัฐมนตรี คนที่ 78 อดีตรัฐมนตรีการค้าและอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ และอดีตรัฐมนตรีคลัง ของญี่ปุ่น นายมิยะซะวะ เกิดที่เมืองฟูกุยามา จังหวัดฮิโรชิมา เมื่อ..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและคิอิชิ มิยะซะวะ

ตามใจ ขำภโต

ตามใจ ขำภโต อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ (ครม.42).

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและตามใจ ขำภโต

ซูเปอร์มหาวิทยาลัยโลก

ซูเปอร์มหาวิทยาลัยโลก (Super Global Universities) เป็นนโยบายทางด้านการศึกษาของประเทศญี่ปุ่น ที่ริเริ่มโดยกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในการผลักดันให้มหาวิทยาลัยชั้นนำของญี่ปุ่น สามารถแข่งขันในเวทีโลกได้ นโยบายซูเปอร์มหาวิทยาลัยโลกริเริ่มครั้งแรกในปี..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและซูเปอร์มหาวิทยาลัยโลก

ประแสง มงคลศิริ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประแสง มงคลศิริ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี สังกัดพรรคไทยรักไทย ปัจจุบันประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและประแสง มงคลศิริ

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและประเทศญี่ปุ่น

ปลากะพงญี่ปุ่น

ปลากะพงญี่ปุ่น (Japanese lates; アカメ; ออกเสียงว่า อาคาเมะ) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lates japonicus ในวงศ์ปลากะพงขาว (Latidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาในสกุล Lates ทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชนิด L.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและปลากะพงญี่ปุ่น

ปลาฉลามก็อบลิน

ปลาฉลามก็อบลิน หรือ ปลาฉลามปีศาจ (Goblin shark, Elfin shark) ปลากระดูกอ่อนจำพวกปลาฉลามชนิดหนึ่ง.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและปลาฉลามก็อบลิน

แบนด์ มิคาเอล โรเดอ

Bernd Michael Rode ศาสตราจารย์ ดร.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและแบนด์ มิคาเอล โรเดอ

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แปะก๊วย

''Ginkgo biloba'' แปะก๊วย (;) เป็นพืชสมุนไพรที่มีต้นกำเนิดจากทางตะวันออกของประเทศจีน (แถบภูเขาด้านตะวันตกของนครเซี่ยงไฮ้) ที่มีการแยกต้นเป็นเพศผู้ และเพศเมีย ใบมีลักษณะคล้ายใบพัด แยกออกเป็น 2 กลีบพบว่ามีการนำเข้าไปปลูกในประเทศญี่ปุ่น พร้อมกับการเผยแผ่ศาสนาพุทธนิกายเซน เมื่อประมาณ ช่วงราว..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและแปะก๊วย

โกลเด้นบอย

กลเด้นบอย เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ประเภทกึ่ง H เขียนโดย ทัตสึยะ เอกาวะ ลงตีพิมพ์ในนิตยสารซูเปอร์จัมป์ ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ ตั้งแต่ปี 1992 ถึง 1997 และได้ถูกสร้างเป็นโอวีเอ ในปี 1995 ถึง 1996 ความยาว 6 ตอนจบ เรื่องราวของเด็กหนุ่มอายุ 25 ปี นามว่า โอเอะ คินทาโร่ โดยได้แบ่งออกเป็น 2 part คือ part I และ part II ในเนื้อเรื่อง part I จะกล่าวถึงการเดินทางของคินทาโร่ ไปทั่วญี่ปุ่น มีทั้งหมด 6 ตอน แต่ใน part II มีทั้งหมด 10 เล่ม ในญี่ปุ่น โดยจะมีเนื้อหาของตัวละคร โคนโงยิ ด้วย ซึ่งเป็นเพื่อนของคินทาโร.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและโกลเด้นบอย

โมโนโซเดียมกลูตาเมต

มโนโซเดียมกลูตาเมต (monosodium glutamate) มักเรียกกันว่า ผงชูรส วัตถุเจือปนอาหารประเภทวัตถุปรุงแต่งรสอาหารที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย โมโนโซเดียมกลูตาเมตมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีคุณสมบัติในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น เนื่องจากเมื่อโมโนโซเดียมกลูตาเมตละลายน้ำ จะแตกตัวได้โซเดียมและกลูตาเมตอิสระที่มีสมบัติในการเพิ่มรสชาติอาหาร โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 โมโนโซเดียมกลูตาเมตเป็นสารประกอบประเภทกลูตาเมตซึ่งเป็นเกลือของ กรดกลูตามิก (Glutamic acid) อันเป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่งที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนทั่วไป เช่น โปรตีนในเนื้อสัตว์ โปรตีนในนม และโปรตีนในพืช โดยกลูตาเมตจะจับอยู่กับกรดอะมิโนตัวอื่นๆ เกิดเป็นโครงสร้างของโปรตีน กลูตาเมตที่อยู่ในรูปของโปรตีนจะไม่มีกลิ่นรสและไม่มีคุณสมบัติทำให้เกิดรสอูมามิในอาหาร แต่เมื่อเกิดการย่อยสลายของโปรตีน เช่น เกิดกระบวนการหมัก การบ่ม การสุกงอมของผักและผลไม้ การทำให้สุกด้วยความร้อน จะทำให้กลูตาเมตในโปรตีนเกิดการสลายแยกตัวออกมาเป็นกลูตาเมตอิสระ ซึ่งเป็นตัวที่ทำให้เกิดรสอูมามิในอาหาร นอกจากนี้ ยังได้มีการค้นพบว่าสารที่เกิดจากการย่อยสลายไรโบนิวคลีโอไทด์ในนิวเคลียสของเซลล์สิ่งมีชีวิตซึ่งได้แก่ ไอโนซิเนต(Inosinate) และกัวไนเลต(Guanylate)ก็มีคุณสมบัติให้รสอูมามิเช่นเดียวกับกลูตาเมตอิสระ ยิ่งไปกว่านั้นยังพบว่าไอโนซิเนตและกัวไนเลตมีคุณสมบัติในการเสริมรสอูมามิให้เด่นชัดมากขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับกลูตาเมต โดยผลการเสริมกันนี้มีลักษณะแบบ Synergistic Effect.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและโมโนโซเดียมกลูตาเมต

โทชิยาสึ ลอเรนส์ คูนิอิ

ทชิยาสึ ลอเรนส์ คูนิอิ (Tosiyasu Laurence Kunii) เป็นบิดาแห่งวงการคอมพิวเตอร์กราฟิกส์หรือเรขภาพคอมพิวเตอร์แห่งเอเชีย ผู้นำเสนอแนวคิดโลกไซเบอร์ขึ้นในปี..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและโทชิยาสึ ลอเรนส์ คูนิอิ

โทะโยะโอะ อิโต

ตโย อิโตะ เป็นวิทยากรบรรยายในงาน CAADRIA 2006 ณ เมืองคุมะโมะโตะ ประเทศญี่ปุ่น โทะโยะโอะ อิโต (พ.ศ. 2484 –) หรือในชื่อ โตโย อิโต (Toyo Ito) เป็นชาวญี่ปุ่นซึ่งได้ชื่อว่าเป็น "หนึ่งในสุดยอดสถาปนิกที่มีพลังสร้างสรรค์และอิทธิพลในวงการสถาปัตยกรรมมากที่สุดคนหนึ่ง" อิโตโด่งดังจากการสร้างอาคารที่มีแนวคิดแหวกแนวสุดโต่ง โดยที่เขาพยายามจะหลอมโลกทางกายภาพกับจินตภาพเข้าด้วยกัน เขาเป็นผู้นำในการสร้างสถาปัตยกรรมที่มีความเป็น"เมืองแห่งจินตนาการ"ร่วมสมัย อิโตเป็นชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและโทะโยะโอะ อิโต

โคอิจิ ซูงิยามะ

อิจิ ซูงิยามะ เป็นคีตกวี, วาทยากร และ นักประพันธ์เพลงชาวญี่ปุ่น และยังเป็นสมาชิกคณะกรรมการสำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ เขาเป็นที่รู้จักจากการเป็นผู้ประพันธ์เพลงประจำเกมซีรีส์ ดราก้อนเควสต์ ของบริษัทสแควร์เอนิกซ์ และยังประพันธ์เพลงให้กับอะนิเมะและภาพยนตร์ญี่ปุ่นอื่นๆอีกมากมาย เขาถือเป็นหนึ่งในศิลปินอาวุโสที่เป็นแรงบันดาลใจให้แก่นักประพันธ์เพลงคนอื่นๆ อาทิ โนะบุโอะ อุเอะมะสึ และยังได้รับการยกย่องเป็น "บอสใหญ่แห่งวงการเกมมิวสิก" เขาจบการศึกษาเกียรตินิยมอันดับหนึ่งจากมหาวิทยาลัยโตเกียวใน..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและโคอิจิ ซูงิยามะ

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและโตเกียว

โตเกียว (แก้ความกำกวม)

ตเกียว อาจหมายถึง.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและโตเกียว (แก้ความกำกวม)

ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์

ทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ ไทมส์ไฮเออร์ (Times Higher Education) เป็นหนังสือพิมพ์จากลอนดอน ที่มีการรายงานอันดับสถาบันอุดมศึกษาทุกปี บรรณาธิการคือจอห์น โอ'เลรี.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์

ไป๋กวง

ป๋กวง เป็นนักร้อง นักแสดงหญิงชาวจีนที่มีชื่อเสียงในเซี่ยงไฮ้ในช่วงทศวรรษ 1940 จนได้รับยกย่องเป็นหนึ่งใน "เจ็ดดาวจรัสแสงเซี่ยงไฮ้" (Seven great singing stars) ไป๋กวงเกิดที่ปักกิ่ง มีชื่อจริงว่า สื่อ หย่งเฟิน เข้าเรียกดนตรีที่มหาวิทยาลัยโตเกียวตั้งแต่อายุ 15 ปีจนกระทั่งเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง จากนั้นจึงเข้าสู่วงการแสดงภาพยนตร์ และร้องเพลง ตั้งแต่ปี..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและไป๋กวง

เอบียูโรบอตคอนเทสต์

อบียูโรบอตคอนเทสต์ (อังกฤษ: ABU Robot Contest หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า ABU Robocon) เป็นการการแข่งขันหุ่นยนต์ของนักเรียน นักศึกษาในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยจะมีประเทศที่เป็นสมาชิกของเอบียูหมุนเวียนจัดเปลี่ยนกันเป็นเจ้าภาพในทุกปี ซึ่งยังคงจัดการแข่งขันอยู่จนถึงปัจจุบัน.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและเอบียูโรบอตคอนเทสต์

เจ้าชายทะกะชิแห่งโคะโนะเอะ

้าชายทะกะชิแห่งโคะโนะเอะ (พ.ศ. 2458 - ปัจจุบัน) เป็นนักประวัติศาสตร์ เป็นโอรสในเจ้าชายโคโนเอะ ฟุมิมาโระ และเจ้าหญิงโคโนเอะ ชิโยโกะ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโตเกียว สาขาประวัติศาสตร์ ปัจจุบันเป็นอาจาร์ยอยู่ที่ มหาวิทยาลัยโตเกียว สาขาประวัติศาสตร์ และเป็นประธานบริษัทโคดะมะ และเป็นคนที่เปิดเผยข้อความสุดท้ายที่ เจ้าชายฟุมิมะโระ พระบิดาทิ้งเอาไว้ก่อนจะดื่มยาพิษว.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและเจ้าชายทะกะชิแห่งโคะโนะเอะ

เจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น

้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น (ประสูติ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระชายาในเจ้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะและสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ โดยสมาชิกราชวงศ์ราชวงศ์ญี่ปุ่นหลังจากการอภิเษกสมร.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น

เจ้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะ

้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2534) เป็นพระธิดาพระองค์โตในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอากิชิโนะ กับเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาฯ เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ กับสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ ปัจจุบันทรงงานเป็นนักวิจัยในพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยโตเกียว.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและเจ้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะ

เจ้าหญิงอากิโกะแห่งมิกาซะ

้าหญิงอะกิโกะแห่งมิกะซะ (20 ธันวาคม พ.ศ. 2524) เป็นพระธิดาในเจ้าชายโทะโมะฮิโตะแห่งมิกะซะ กับเจ้าหญิงโนะบุโกะ พระชายาฯ เป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและเจ้าหญิงอากิโกะแห่งมิกาซะ

เค็ง อากามัตสึ

็ง อากามัตสึ (เกิด 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2511) เป็นนักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่น ผลงานของเค็งส่วนมากจะเน้นเนื้อเรื่องแนวตัวละครผู้ชายที่มีผู้หญิงมารุมล้อม ในช่วงวัยรุ่นเค็งสอบเข้ามหาวิทยาลัยโตเกียวไม่สำเร็จจึงได้เปลี่ยนวิถีชีวิตมาศึกษาเกี่ยวกับการทำภาพยนตร์ ภายหลังประสบความสำเร็จในการวาดภาพการ์ตูน โดยใช้ชื่อนามปากกาว่า อาวะ มิซูโนะ (แปลว่า ยาจกที่เต็มไปด้วยความหวังและความฝัน) ในช่วงที่กำลังศึกษาในวิทยาลัย ผลงานของเค็งได้รับรางวัลจากนิตยสารโชเน็นแม็กกาซีนรายสัปดาห์ 2 ครั้ง เค็งเริ่มมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางหลังจากความสำเร็จอย่างสูงของเรื่องบ้านพักอลเวง.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและเค็ง อากามัตสึ

เค็นซะบุโร โอเอะ

็นซะบุโร โอเอะ (31 มกราคม ค.ศ. 1935 - ปัจจุบัน) ญี่ปุ่นเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวญี่ปุ่นที่ได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากวรรณกรรมฝรั่งเศสและอเมริกัน และทฤษฎีวรรณกรรมที่มีเนื้อหาเชิงการเมือง, สังคม และปรัชญาที่รวมทั้งปัญหาอาวุธนิวเคลียร์, ความไม่อยู่ในกรอบในแผนของสังคม (social non-conformism) และ อัตถิภาวนิยม (existentialism) โอเอะได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและเค็นซะบุโร โอเอะ

เซจิ โอะงะวะ

ซจิ โอะงะวะ (เกิด 19 มกราคม 2477) เป็นนักค้นคว้าชาวญี่ปุ่น ที่รู้จักกันว่าเป็นผู้ค้นพบเทคนิคที่ใช้ใน fMRI (Functional Magnetic Resonance Imaging) ผู้ได้รับการนับถือว่า เป็นบิดาของการสร้างภาพสมองโดยกิจยุคสมัยใหม่ ผู้ได้ชี้ว่า ความเปลี่ยนแปลงของระดับออกซิเจนในโลหิต ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก จึงทำให้สามารถสร้างแผนภาพของโลหิต และเพราะเหตุนั้น ของเขตในสมองที่กำลังทำงาน แผนภาพนี้ส่องให้เห็นว่า เซลล์ประสาทกลุ่มไหนในสมองตอบสนองด้วยสัญญาณเคมีไฟฟ้า ในการทำงานของจิตใจ ดร.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและเซจิ โอะงะวะ

Super PI

Super PI คำนวณค่าพายเสร็จสิ้น Super PI คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับคำนวณค่าพาย (π) โดยระบุจำนวนตำแหน่งหลังจุดทศนิยมในคำตอบตามต้องการ มากที่สุดไม่เกิน 32 ล้านตำแหน่ง Super PI ใช้อัลกอริธึม Gauss-Legendre ในการคำนวณ ตัวโปรแกรมถูกแปลงมาให้ใช้บน Microsoft Windows จากโปรแกรมเดิมที่สร้างขึ้นเมื่อปี..

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและSuper PI

UT

UT อาจหมายถึง.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและUT

WWWJDIC

WWWJDIC เป็นพจนานุกรมภาษาญี่ปุ่นออนไลน์ ซึ่งมีพื้นฐานมาจากพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ที่แปลและรวบรวมโดย จิม บรีน (Jim Breen) นักวิชาการชาวออสเตรเลีย แฟ้มพจนานุกรมหลักแปลจากภาษาญี่ปุ่นไปเป็นภาษาอังกฤษ และแปลจากภาษาอังกฤษไปเป็นภาษาญี่ปุ่น (EDICT) มีคำศัพท์ประมาณ 130,000 รายการ (และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ) มีพจนานุกรมการอ่านชื่อเฉพาะในภาษาญี่ปุ่น (ENAMDICT) กว่าแสนชื่อ และยังมีพจนานุกรมเฉพาะทางเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ นิติศาสตร์ คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมศาสตร์ ฯลฯ ให้เลือกแปล นอกจากจะสามารถแปลเป็นภาษาอังกฤษแล้ว ยังสามารถแปลเป็นภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาฮังการี และภาษาสวีเดนได้ด้วย WWWJDIC เป็นการใช้ประโยชน์จากรุ่นปรับแต่งของ แฟ้มข้อความสาธารณสมบัติ เป็นการรวบรวมประโยคต่างๆ ในภาษาญี่ปุ่นแล้วแปลจับคู่กับภาษาอังกฤษ ซึ่งมีจำนวนมากกว่า 160,000 คู่ในรุ่นปัจจุบัน ส่วนข้อมูลแฟ้มพจนานุกรมสามารถดาวน์โหลด แก้ไข และคัดลอกได้อย่างเสรี เนื่องจากอยู่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ ประเภท Attribution-ShareAlike รุ่น 3.0 การเข้าถึงนอกจากจะสามารถเปิดเว็บไซต์โดยตรงได้แล้ว ยังสามารถใช้กับกล่องค้นหาในไฟร์ฟอกซ์ และมีแถบเครื่องมือสืบค้นที่สามารถเชื่อมโยงมายังเว็บไซต์ เว็บไซต์หลักของ WWWJDIC ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยโมนาช (Monash University) ประเทศออสเตรเลีย ปัจจุบันมีไซต์เสมือนอีก 5 แห่งได้แก่ กลุ่มวิจัยและพัฒนาพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ สหรัฐอเมริกา, ศูนย์วิจัยแห่งชาติ ประเทศแคนาดา, มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, ประเทศสวีเดน, และที่สหภาพยุโรป.

ดู มหาวิทยาลัยโตเกียวและWWWJDIC

หรือที่รู้จักกันในชื่อ University of Tokyoมหาวิทยาลัยโตเกียวอิมพีเรียลโทได

แปะก๊วยโกลเด้นบอยโมโนโซเดียมกลูตาเมตโทชิยาสึ ลอเรนส์ คูนิอิโทะโยะโอะ อิโตโคอิจิ ซูงิยามะโตเกียวโตเกียว (แก้ความกำกวม)ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ไป๋กวงเอบียูโรบอตคอนเทสต์เจ้าชายทะกะชิแห่งโคะโนะเอะเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่นเจ้าหญิงมาโกะแห่งอากิชิโนะเจ้าหญิงอากิโกะแห่งมิกาซะเค็ง อากามัตสึเค็นซะบุโร โอเอะเซจิ โอะงะวะSuper PIUTWWWJDIC