โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย

ดัชนี มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย

Alma Mater มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Columbia University in the City of New York) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลกแห่งหนึ่ง เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของนครนิวยอร์กและเก่าแก่ที่สุดอันดับที่ห้าของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่นิวยอร์กซิตี ในรัฐนิวยอร์กในส่วนของชุมชนมอร์นิงไซด์บริเวณส่วนเหนือของเกาะแมนแฮตตัน ก่อตั้งก่อนการประกาศอิสรภาพของประเทศในปี พ.ศ. 2297 (ค.ศ. 1754) ในชื่อของ วิทยาลัยคิงส์ (King's College) โดยได้รับเงินสนับสนุนจากสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งอังกฤษ ภายหลังสหรัฐอเมริกาปฏิวัติ โคลัมเบียได้รับการสนับสนุนในฐานะเอกลักษณ์ทางปรัชญาของรัฐตั้งแต่ปี 2327 - 2330 ผู้ได้รับรางวัลโนเบล ทั้งที่เป็นศิษย์เก่าและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น 102 ท่าน ถือว่ามากที่สุดอันดับ 2 ของโลก ศิษย์เก่าที่เป็นประธานาธิบดีและนากยกรัฐมนตรีจากทั่วโลกจำนวน 29 ท่าน ศิษย์เก่าที่ดำรงตำแหน่ง CEO ของบริษัทยักษ์ใหญ่ของโลก (Fortune Global 500) จำนวน 45 ท่าน และมีผู้ชนะรางวัลออสการ์ 28 ท่าน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังเป็นผู้มอบรางวัลพูลิตเซอร์ แก่ผู้ได้รับเกียรติสูงสุดระดับชาติในวงการสิ่งพิมพ์ การบรรลุความสำเร็จทางวรรณกรรม และการประพันธ์เพลงในสาขาวารสารศาสตร์ เมื่อกว่า 100 ปีมาแล้ว ซึ่งวิทยาลัยวิชาการหนังสือพิมพ์ของโคลัมเบียนับได้ว่าโดดเด่นมากที่สุดของโลกในปัจจุบัน last.

120 ความสัมพันธ์: ชัยเกษม นิติสิริบารัก โอบามาบุญเลื่อน เครือตราชูฟลูอ็อกเซทีนพระนิชิเร็งกระซู่กระแส ชนะวงศ์การรับรู้อากัปกิริยาการร่วมเพศทางทวารหนักการประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)ฐากร ตัณฑสิทธิ์มหาวิทยาลัยชิคาโกมักซ์ พลังค์มาร์ก ซักเคอร์เบิร์กมาร์กาเร็ต มีดมิลตัน ฟรีดแมนรัฐนิวยอร์กราชวงศ์ตีมูร์ราชอาณาจักรอัฟกานิสถานรายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริการายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริการางวัลพูลิตเซอร์รูลา ฆานีรูดอล์ฟ อีมิว คาลมานลิงซิลเวอร์สปริงส์ลีโอเดอะไลออน (เอ็มจีเอ็ม)วอร์เรน บัฟเฟตต์วอลเตอร์ มิสเชลวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกนวิทยาลัยฟิลลิปส์สหรัฐสาทิส อินทรกำแหงสุรชาติ บำรุงสุขสไปค์ ลีหม่อมราชวงศ์พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์หลิน ไต้อะกิตะอินุอัชราฟ ฆานีอัมมานอันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาอาร์โน อัลลัน เพนเซียสอาร์เทอร์ คอมป์ตันอาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์อิบราฮิม กัมบารีอิซิโดร์ ไอแซก ราบีองค์การผู้สังเกตการณ์ศิลปะนานาชาติอนุตตมา อมรวิวัฒน์...อโนชา สุวิชากรพงศ์ฮะฟีซอลลาห์ อะมีนฮิเดะกิ ยุกะวะจอห์น รากัซซินีจอห์น ซัลลิแวนจอห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอปจอห์น ไอเซนฮาวร์จักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวงจาเร็ด ไดมอนด์จิทัศ ศรสงครามจิตพยาธิวิทยาสัตว์จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ถัน ตุ้นทฤษฎีระบบควบคุมทิก เญิ้ต หั่ญข้อปัญหาแฟร์มีคาร์สัน แมคคัลเลอส์คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซานเตียโก กาลาตราบาประสิทธิ์ โฆวิไลกูลประทักษ์ ประทีปะเสนประเทศฟินแลนด์ปริญญา นาคฉัตรีย์ปิยะบุตร ชลวิจารณ์นรนิติ เศรษฐบุตรนีล ดะแกรส ไทสันนครนิวยอร์กแม่น้ำเฮลมันด์แยชือ กอชิญสกีแสบใสไฮโซแอนสท์ ฟรีดริช ชูมาเคอร์แจ็ก เครูแอ็กแดน เฟลวินแคทริน บิเกโลว์แนนซี ดูพรีโรคจอตามีสารสีโรเบิร์ต มาเธอร์เวลล์โรเบิร์ต โม้กโจเซฟ กอร์ดอน-เลวิตต์โทะโยะโอะ อิโตโคลัมเบียไอวีลีกไอแซค อสิมอฟไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์เบอร์นาร์ด ชูมีเชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์เฟซบุ๊กเฟซบุ๊ก (บริษัท)เรื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์เลโอ บาเกอลันด์เศรษฐยาธิปไตยเอมิเรตอัฟกานิสถานเออร์วิง แลงมิวร์เอนก เหล่าธรรมทัศน์เอ็ดเวิร์ด แคลวิน เคนดัลล์เฮนรี สตีล โอลคอตเฮนดริค เวด โบดีเจมส์ แฟรนโกเจมส์ เบ็ค (นักประวัติศาสตร์ศิลป์)เจค จิลเลินฮาลเจนนิเฟอร์ ลีเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2เจ้าหญิงชิมิ ยางซอมเทือกเขากลางสมุทรเทียนทอง ทองพันชั่งเดอะนิวสคูลเดอะแลนซิตเคนเนธ แอร์โรว์เนโอมี โฟเนอร์ จิลเลนฮอลCU ขยายดัชนี (70 มากกว่า) »

ชัยเกษม นิติสิริ

ตราจารย์พิเศษ ชัยเกษม นิติสิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตอัยการสูงสุด อดีตอัยการอาวุโส (ที่ปรึกษาอัยการสูงสุด) สำนักงานอัยการสูงสุด ประธานกรรมการ คณะกรรมการกำกับตลาดหลักทรัพย์หลักประเทศไทย ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสถาบันเพื่อความยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) กรรมการและประธานกรรมการบริหารธนาคารอาคารสงเคราะห์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยเนชั่น กรรมการสภามหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น กรรมการสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)อดีตกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย อดีตกรรมการบริษัทปตท. จำกัด (มหาชน) อดีตกรรมการบริหารบริษัท การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย จำกัด อดีตกรรมการ กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหา บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและชัยเกษม นิติสิริ · ดูเพิ่มเติม »

บารัก โอบามา

รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและบารัก โอบามา · ดูเพิ่มเติม »

บุญเลื่อน เครือตราชู

ณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2555) อดีตอธิบดีกรมสามัญศึกษา ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผู้ก่อตั้งโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ และ โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและบุญเลื่อน เครือตราชู · ดูเพิ่มเติม »

ฟลูอ็อกเซทีน

ฟลูอ็อกเซทีน (Fluoxetine) หรือชื่อทางการค้าคือ โปรแซ็ค (Prozac) และ ซาราเฟ็ม (Sarafem) เป็นยาแก้ซึมเศร้าแบบรับประทานประเภท selective serotonin reuptake inhibitor (SSRI) ใช้รักษาโรคซึมเศร้า (MDD) โรคย้ำคิดย้ำทำ (OCD) โรคหิวไม่หายแบบทานแล้วอาเจียน (bulimia nervosa) โรคตื่นตระหนก (panic disorder) และความละเหี่ยก่อนระดู (premenstrual dysphoric disorder ตัวย่อ PMDD) เป็นยาที่อาจลดความเสี่ยงการฆ่าตัวตายในคนไข้อายุเกิน 65 ปี และเป็นยาที่ใช้รักษาการหลั่งน้ำอสุจิเร็ว (premature ejaculation) ได้ด้วย ผลข้างเคียงที่สามัญก็คือนอนไม่หลับ ไม่อยากอาหาร ปากแห้ง เป็นผื่น และฝันผิดปกติ ผลข้างเคียงที่รุนแรงรวมทั้งเซโรโทนินเป็นพิษ (serotonin syndrome) อาการฟุ้งพล่าน การชัก โอกาสเสี่ยงฆ่าตัวตายสูงขึ้นสำหรับคนอายุต่ำกว่า 25 ปี และความเสี่ยงการเลือดออกสูงขึ้น --> ถ้าหยุดแบบฉับพลัน อาจมีอาการหยุดยา ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกับความวิตกกังวล ความเวียนหัวคลื่นไส้ และการรับรู้สัมผัสที่เปลี่ยนไป ยังไม่ชัดเจนว่า ยาปลอดภัยสำหรับหญิงมีครรภ์หรือไม่ --> แต่ว่าถ้าทานยาอยู่แล้ว ก็ยังเหมาะสมที่จะทานต่อไปเมื่อให้นมลูก กลไกการทำงานของยายังไม่ชัดเจน แต่เชื่อว่ายาเพิ่มการทำงานของระบบเซโรโทนินในสมอง บริษัท Eli Lilly and Company ค้นพบยาในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและฟลูอ็อกเซทีน · ดูเพิ่มเติม »

พระนิชิเร็ง

อนุสาวรีย์พระนิชิเร็น ด้านนอกฮอนโนะจิ ใน อำเภอเทะระมะชิ กรุงเกียวโต พระนิชิเร็ง (日蓮) หรือ พระนิชิเร็งไดโชนิน (ใช้ในนิกายนิชิเร็งโชชู) เป็นพระภิกษุชาวญี่ปุ่น ซึ่งนิกายนิชิเร็งโชชูเชื่อว่าท่านเป็นพระพุทธเจ้าแท้จริง ท่านคือผู้สถาปนาและริเริ่มเผยแผ่คำสอน "นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว" บนพื้นฐานของสัทธรรมปุณฑรีกสูตร อันเป็นต้นกำเนิดของศาสนาพุทธนิกายนิชิเร็ง ซึ่งปัจจุบันได้แตกกิ่งก้านออกไปเป็นนิกายย่อย ๆ ประมาณ 32 นิกายในญี่ปุ่น และมีหลายลัทธิยืมคำสอนของท่านไปใช้ด้วย นิกายหลัก ๆ ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือนิชิเร็งโชชูและนิชิเร็งชู แต่นิกายแรกจะเป็นที่รู้จักมากกว่าเพราะมีสานุศิษย์กระจายอยู่ทั่วโลกแม้แต่ในเมืองไทย ตลอดชีวิตของพระนิชิเร็ง ท่านทุ่มเทเผยแผ่คำสอน โดยท่านเรียกร้องให้ชาวญี่ปุ่นละทิ้งคำสอนของนิกายและความเชื่อต่าง ๆ หันมายึดมั่นในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรแต่เพียงพระสูตรเดียว เพราะท่านกล่าวว่าเป็นพระสูตรที่สูงส่งที่สุดและเป็นเจตนาที่แท้จริงของพระศากยมุนีพุทธเจ้า เมื่อทำเช่นนั้นแล้วจึงจะช่วยให้ประเทศญี่ปุ่นสงบสุข มั่นคง รอดพ้นจากปัญหานานาประการทั้งจากภัยธรรมชาติ ฤดูกาลแปรปรวน โรคระบาด เศรษฐกิจตกต่ำรุนแรง กบฏภายใน และภัยจากจักรวรรดิมองโกล ซึ่งญี่ปุ่นกำลังเผชิญอยู่ในขณะนั้น แต่หนทางในการเผยแผ่คำสอนของพระนิชิเร็งไม่เรียบง่าย บางครั้งถึงขั้นต้องแลกกับชีวิต ด้วยเหตุนี้วงการพุทธศาสนามหายานจึงสดุดีท่านว่า ผู้อุทิศชีวิตต่อสัทธรรมปุณฑรีกสูตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและพระนิชิเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

กระซู่

กระซู่, แรดสุมาตรา หรือ แรดขน (Sumatran RhinocerosWilson, D. E., and Reeder, D. M. (eds), ed (2005).; ชื่อวิทยาศาสตร์: Dicerorhinus sumatrensis) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคี่จำพวกแรด กระซู่เป็นแรดที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก และเป็นแรดเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Dicerorhinus มีลักษณะเด่นคือมี นอ 2 นอ เหมือนแรดแอฟริกา โดยนอจะไม่ตั้งยาวขึ้นมาเหมือนแรดชวา นอหน้าใหญ่กว่านอหลัง โดยทั่วไปยาว 15-25 ซม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและกระซู่ · ดูเพิ่มเติม »

กระแส ชนะวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และนายกสภาสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตหัวหน้าพรรคพลังใหม่ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและกระแส ชนะวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

การรับรู้อากัปกิริยา

ซีรีบรัมเป็นส่วนในสมองที่มีหน้าที่ประสานงานเกี่ยวข้องกับการรับรู้อากัปกิริยา การรับรู้อากัปกิริยา"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ proprioception ว่า "การรับรู้อากัปกิริยา" และของ proprioceptor ว่า "ปลายประสาทรับรู้อากัปกิริยา" หรือการรู้ตำแหน่งข้อและการเคลื่อนไหว (proprioception มาจากคำว่า "proprius" ซึ่งแปลว่า "ของตน" หรือ "แต่ละบุคคล" และคำว่า "perception" ซึ่งแปลว่า "การรับรู้") เป็นความรู้สึกเกี่ยวกับตำแหน่ง (limb position sense) และเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของอวัยวะในร่างกาย (kinesthesia หรือ motion sense) ที่ไม่สืบเนื่องกับการมองเห็นให้สังเกตให้ดีว่า คำว่า "proprioception" นั้น เป็นคำที่ชาลส์ สก็อตต์ เชอร์ริงตัน ได้บัญญัติขึ้นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและการรับรู้อากัปกิริยา · ดูเพิ่มเติม »

การร่วมเพศทางทวารหนัก

การร่วมเพศทางทวารหนัก หรือ การสมสู่วัจมรรค (anal sex) หมายถึงการร่วมประเวณีด้วยการสอดใส่อวัยวะเพศชายเข้าไปทางรูทวารหนัก และยังอาจจะหมายถึงการร่วมเพศที่เกี่ยวข้องกับทวารหนัก เช่นการสอดใส่ช่องทวารหนักด้วยนิ้วมือหรือวัตถุอื่น หรือการใช้ลิ้นเลียช่องทวารหนัก ในลักษณะของพฤติกรรมทางเพศ การร่วมเพศทางทวารหนักเป็นพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงอันเนื่องมาจากเนื้อเยื่อช่องทวารที่อ่อนแอต่อการเสียดสี และลักษณะที่ไม่เหมาะต่อการร่วมเพศของทวารหนัก ถึงแม้ว่าเยื่อเมือกรูทวารจะให้สารหล่อลื่นได้ แต่สารหล่อลื่นสำหรับการร่วมเพศก็ยังจำเป็นต้องใช้อยู่ดี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและการร่วมเพศทางทวารหนัก · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)

การประชุมเจนีวา การประชุมเจนีวา ระหว่างวันที่ 26 เมษายน - 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและการประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954) · ดูเพิ่มเติม »

ฐากร ตัณฑสิทธิ์

กร ตัณฑสิทธิ์ ปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) หรือ เลขาธิการ กท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและฐากร ตัณฑสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยชิคาโก

ตราสัญลักษณ์รูปนกฟินิกซ์ ของมหาวิทยาลัยชิคาโก. มหาวิทยาลัยชิคาโก (University of Chicago หรือที่เรียกโดยย่อว่า UC หรือ UofC) ตั้งอยู่ในชุมชนไฮด์พาร์ก (Hyde Park) ซึ่งอยู่ทางใต้ของใจกลางเมืองชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ ประมาณ 6 ไมล์ เป็นมหาวิทยาลัยเน้นการวิจัย (Research University) ที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของสหรัฐอเมริกาและของโลก โดยเฉพาะในด้านวิชาการ และผลงานวิจัยต่าง ๆ ทั้งทางวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัยของสหรัฐอเมริกาที่มีผู้เกี่ยวข้องได้รับ รางวัลโนเบลเป็นจำนวนมากที.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและมหาวิทยาลัยชิคาโก · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ พลังค์

มักซ์ คาร์ล แอนสท์ ลุดวิจ พลังค์ เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้บุกเบิกการศึกษาทฤษฎีควอนตัม อันเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาฟิสิกส์สมัยใหม่ แม้ในชีวิตตอนแรกของเขาจะดูราบรื่น โดยเขามีความสามารถทั้งทางดนตรีและฟิสิกส์ แต่เขากลับเดินไปในเส้นทางแห่งนักฟิสิกส์ทฤษฎี จนเขาได้ตั้งทฤษฎีทางฟิสิกส์ที่สำคัญต่อฟิสิกส์สมัยใหม่ นั่นคือ กฎการแผ่รังสีของวัตถุดำของพลังค์ รวมถึงค่าคงตัวของพลังค์ ซึ่งนับว่าขาดไม่ได้เลยสำหรับการศึกษากลศาสตร์ควอนตัม ทว่าบั้นปลายกลับเต็มไปด้วยความสิ้นหวังจากภัยสงคราม เขาต้องสูญเสียภรรยาคนแรก และบุตรที่เกิดกับภรรยาคนแรกไปทั้งหมด จนเหลือเพียงตัวเขา ภรรยาคนที่สอง และบุตรชายที่เกิดกับภรรยาคนที่สองเพียงคนเดียว ถึงกระนั้น พลังค์ก็ยังไม่ออกจากประเทศเยอรมนีอันเป็นบ้านเกิดของเขาไปยังดินแดนอื่น พลังค์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ประจำปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและมักซ์ พลังค์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก

มาร์ก เอลเลียต ซักเคอร์เบิร์ก (Mark Elliot Zuckerberg) เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1984 ที่ ประเทศอเมริกา เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกันเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ เฟซบุ๊ก เขาร่วมก่อตั้งเฟสบุ๊กร่วมกับเพื่อนอีก 4 คน ขณะกำลังศึกษาที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ต่อมา นิตยสารไทม์ ได้ให้เขาเป็นบุคคลแห่งปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและมาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กาเร็ต มีด

มาร์กาเร็ต มีด มาร์กาเร็ต มีด (Margaret Mead) (16 ธันวาคม 1901 – 15 พฤศจิกายน 1978) เป็นนักมานุษยวิทยาวัฒนธรรมชาวอเมริกัน เธอเขียนสารคดีและเป็นผู้พูดในสื่อมวลชนอยู่เสมอในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 ถึง 1970 เธอเป็นทั้งผู้ทำให้สายตาแบบมานุษยวิทยาเป็นที่รู้จักทั่วไปในวัฒนธรรมอเมริกันและวัฒนธรรมตะวันตกสมัยใหม่ และเป็นนักวิชาการมานุษยวิทยาที่ได้การนับถือ แม้จะมีการโต้แย้งก็ตาม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและมาร์กาเร็ต มีด · ดูเพิ่มเติม »

มิลตัน ฟรีดแมน

มิลตัน ฟรีดแมน มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman; 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2455-16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549) เจ้าของประโยคที่โด่งดัง “โลกนี้ไม่มีอะไรที่ได้มาฟรี ๆ” (There's no such thing as a free lunch.) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ประจำสำนักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมของมหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกา ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและมิลตัน ฟรีดแมน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวยอร์ก

รัฐนิวยอร์ก (New York) เป็นรัฐที่อยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา เป็นรัฐที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากรัฐแคลิฟอร์เนีย และรัฐเทกซัส รัฐนิวยอร์กอาณาเขตติดต่อกับ รัฐเวอร์มอนต์ รัฐคอนเนตทิคัต รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐนิวเจอร์ซีย์ รัฐโรดไอแลนด์ และ รัฐเพนซิลเวเนีย และในทิศเหนือติดต่อกับประเทศแคนาดา กับรัฐควิเบกและรัฐออนแทรีโอ เมืองขนาดใหญ่ในรัฐนิวยอร์กได้แก่ นครนิวยอร์ก (ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ) บัฟฟาโล รอเชสเตอร์ ยังเกอรส์ และ ซีราคิวส์ ในขณะที่เมืองหลวงของรัฐคือ ออลบานี สถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงได้แก่ น้ำตกไนแอการา และในเขตนครนิวยอร์ก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและรัฐนิวยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตีมูร์

ราชวงศ์ตีมูร์ หรือ จักรวรรดิตีมูร์ (Timurid dynasty, تیموریان ตั้งตนเป็นGurkānī, گوركانى) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เชียของซุนนีย์มุสลิมในเอเชียกลางที่เดิมมาจากผู้สืบเชื้อสายจากราชวงศ์เติร์ก-มองโกล (Turko-Mongol)Encyclopædia Britannica, "", Online Academic Edition, 2007.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและราชวงศ์ตีมูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน

ราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน (Kingdom of Afghanistan; د افغانستان واکمنان; پادشاهي افغانستان) เป็นราชอาณาจักรที่ปกครองอัฟกานิสถาน ระหว่าง..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันวิจัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ โดยจำนวนผู้รับรวมถึง นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์ นักวิจัยของสถาบันนั้น โดยนับทั้งตอนก่อนและหลังที่จะได้รับ ข้อมูลด้านล่างเป็นข้อมูลปี พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและรายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่เปิดสอนวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ในสหรัฐอเมริกามี 199 มหาวิทยาลัย (ข้อมูล พ.ศ. 2549) ที่มีการเปิดสอนคณะวิศวกรรมศาสตร์ในระดับปริญญาตรี โท เอก โดยในแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีภาควิชาย่อยแตกต่างกันไป อาจขึ้นอยู่กับลักษณะทางภูมิศาสตร์ เช่นมหาวิทยาลัยในแถบฝั่งแปซิฟิก จะมีคณะวิศวกรรมมหาสมุทร ในขณะที่มหาวิทยาลัยในบริเวณตอนกลางของประเทศจะเน้นทางด้านอื่น ซึ่งรองรับชุมชน คณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐได้มีการจัดอันดับ โดยนิตยสาร ยูเอสนิวส์ ข้อมูลปี พ.ศ. 2549 การจัดอันดับจะคิดคะแนนรวมจาก สัมภาษณ์อาจารย์ที่มีชื่อเสียง 40% ผลงานวิจัยดีเด่น 25% จำนวนอาจารย์คณะ 25% และคะแนนสอบเข้า (GRE) ของผู้เข้าเรียน 10% อันดับของยูเอสนิวส์ ในส่วนของวิศวกรรมศาสตร์ ควบคุม 184 มหาวิทยาลัย และมักจะได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ ว่าคะแนนอันดับต่ำกว่า 20 มีคะแนนรีวิวใกล้เคียงกัน แต่อันดับต่างกันมาก เปรียบเทียบ MIT และ UIUC คะแนนต่างกัน 18 คะแนน อันดับมหาวิทยาลัยต่างกัน 4 อันดับ ขณะที่ มิชิแกนสเตต แตกต่างจาก ฮาร์วาร์ด ประมาณ 30 อันดับ ที่คะแนนต่างเท่ากัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่เปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ จัดอันดับโดยนิตยสาร ดีไซน์อินเทลลิเจนซ์ ข้อมูลปี ค.ศ. 2005.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและรายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพูลิตเซอร์

รางวัลพูลิตเซอร์ (Pulitzer Prizes) เป็นรางวัลของสหรัฐอเมริกา ตั้งขึ้นเพื่อมอบแก่ผู้ได้รับเกียรติสูงสุดระดับชาติในวงการสิ่งพิมพ์ การบรรลุความสำเร็จทางวรรณกรรม และการประพันธ์เพลง บริหารจัดการโดยมหาวิทยาลัยโคลัมเบียในนครนิวยอร์ก รางวัลพูลิตเซอร์จัดมอบเป็นรายปีแบ่งเป็น 21 ประเภท ในแต่ละประเภทผู้ได้รับรางวัลจะได้รับกิตติบัตรและเงินรางวัล 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ ผู้รับรางวัลการหนังสือพิมพ์ในสาขาการบริการสาธารณะจะได้รับเหรียญทองซึ่งมักตกแก่หนังสือพิมพ์มาโดยตลอด แม้จะมีชื่อบุคคลได้รับการกล่าวยกย่องไว้ด้วย รางวัลพูลิตเซอร์ ก่อตั้งโดยโจเซฟ พูลิตเซอร์ นักหนังสือพิมพ์และผู้พิมพ์โฆษณาชาวฮังการี-อเมริกัน ซึ่งได้มอบเงินจำนวน 2 ล้านเหรียญไว้ในพินัยกรรมแก่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียหลังการเสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. 2454 เงินส่วนหนึ่งของกองมรดกนี้ได้ถูกนำไปใช้ในการก่อตั้งสถาบันวิชาการหนังสือพิมพ์ของมหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2456 ได้มีการมอบรางวัลพูลิตเซอร์รางวัลแรกเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2460 ปัจจุบันมีการประกาศรางวัลทุก ๆ เดือนเมษายน การคัดเลือกผู้ได้รับรางวัลดำเนินการโดยกรรมการอิสร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและรางวัลพูลิตเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รูลา ฆานี

รูลา ซาอ์เด ฆานี (رولا سعاده غنی; เกิด: ค.ศ. 1948) มีชื่อเดิมว่า รูลา เอฟ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและรูลา ฆานี · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ อีมิว คาลมาน

รูดอล์ฟ (รูดี้) อีมิว คาลมาน (Rudolf (Rudy) Emil Kálmán; เกิด 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1930 – ปัจจุบัน) เป็นวิศวกรไฟฟ้า นักทฤษฎีระบบเชิงคณิตศาสตร์ และผู้พัฒนาตัวกรองคาลมาน (Kalman filter) และเป็นผู้นำเสนอแบบจำลองปริภูมิสถานะ และนำเสนอแนวคิดเรื่องสภาพควบคุมได้และสภาพสังเกตได้ มาใช้ในการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบ อันเป็นการนำองค์ความรู้ของทฤษฎีระบบควบคุมไปสู่ยุคใหม่ ที่เรียกว่า ทฤษฎีระบบควบคุมสมัยใหม่ (modern control theory).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและรูดอล์ฟ อีมิว คาลมาน · ดูเพิ่มเติม »

ลิงซิลเวอร์สปริงส์

ลิงแห่งซิลเวอร์สปริงส์ (Silver Spring monkeys) คือ ลิงแม็กแคก 17 ตัวจากประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งถูกเก็บไว้ ณ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ที่เมืองซิลเวอร์สปริงส์ ในรัฐแมริแลนด์Carlson, Peter.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและลิงซิลเวอร์สปริงส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลีโอเดอะไลออน (เอ็มจีเอ็ม)

ลีโอเดอะไลออน (Leo the Lion) เป็นตัวนำโชคของสตูดิโอภาพยนตร์ฮอลลีวูด ซึ่งมีชื่อว่าเมโทร-โกลวิน-เมเยอร์ เป็นที่รู้จักในฐานะสัญลักษณ์ที่โดดเด่นประจำสตูดิโอ สร้างสรรค์โดยผู้กำกับฝ่ายศิลป์ประจำพาราเมาต์พิกเจอส์ซึ่งมีชื่อว่าลีโอเนียล เอส.ไลส์ ตั้งแต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและลีโอเดอะไลออน (เอ็มจีเอ็ม) · ดูเพิ่มเติม »

วอร์เรน บัฟเฟตต์

วอร์เร็น เอ็ดเวิร์ด บัฟเฟตต์ (Warren Edward Buffett) เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 1930 ที่โอมาฮา, เนแบรสกา ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเป็นนักลงทุนผู้ใจบุญชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียงระดับโลก เขาเป็นหนึ่งในนักลงทุนที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในโลก เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่และซีอีโอของบริษัทเบิร์กเชียร์ ฮาธาเวย์ เขาได้รับการจัดอันดับให้เป็นบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกในช่วงครึ่งปีแรกของปี ค.ศ. 2008 ด้วยจำนวนเงิน 62,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ จากการจัดอันดับของนิตยสารฟอร์บส์และเป็นบุคคลที่รวยที่สุดเป็นอันดับสามในปี 2554 โดยมีทรัพย์สินประมาณ $50.0 พันล้าน ในปี 2555 นิตยสารอเมริกันยกย่องบัฟเฟตต์เป็นบุคคลที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดในโลก บัฟเฟตต์มักจะได้รับฉายาว่าเป็น เทพพยากรณ์แห่งโอมาฮา หรือไม่ก็ ปราชญ์แห่งโอมาฮา เขามีชื่อเสียงจากปรัชญาการลงทุนแบบเน้นคุณค่าและความเป็นอยู่อย่างประหยัด ถึงแม้ว่าเขาจะร่ำรวยก็ตาม เขายังมีชื่อเสียงจากความใจบุญ วันที่ 11 เมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและวอร์เรน บัฟเฟตต์ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเตอร์ มิสเชล

วอลเตอร์ มิสเชล (ค.ศ. 1930 —) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกันซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านทฤษฎีบุคลิกภาพและจิตวิทยาสังคม เขาเป็นศาสตราจาารย์โรเบิร์ต จอห์นสตัน นีเวน ด้านอักษรศาสตร์ ในภาควิชาจิตวิทยาที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย เคยเป็นอาจารย์สอนในมหาวิทยาลัยหลายแห่ง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและวอลเตอร์ มิสเชล · ดูเพิ่มเติม »

วิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์

วิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์ (Scientific skepticism, Scientific scepticism) เป็นหลักปฏิบัติในการที่จะสืบหาว่า เรื่องที่อ้างว่าเป็นจริงนั้นมีหลักฐานโดยงานวิจัยเชิงประสบการณ์ (เชิงประจักษ์) หรือไม่ สามารถทำซ้ำได้หรือไม่ เป็นหลักปฏิบัติที่ใช้เป็นปกติในการ "เพิ่มขยายความรู้ที่ยืนยันได้พิสูจน์ได้" ยกตัวอย่างเช่น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน

วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Conrad Röntgen - 27 มีนาคม พ.ศ. 2388 — 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ประจำมหาวิทยาลัยเวิร์ซแบร์ก ผู้ค้นพบและสร้าง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มี ช่วงคลื่น ขนาดที่รู้จักในปัจจุบันว่า รังสีเอกซ์ (x-rays) หรือ รังสีเรนต์เกน เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438ความสำเร็จที่ทำให้เรินต์เกนได้รับรางวัลโนเบลรางวัลแรก เมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและวิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยฟิลลิปส์

วิทยาลัยฟิลลิปส์ หรือ ฟิลลิปส์แอนโดเวอร์ หรือ แอนโดเวอร์ (อังกฤษ: Phillips Academy, Phillips Andover, Andover, Phillips Academy Andover, หรือ PA) เป็นโรงเรียนประจำ สหศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกา รับนักเรียนเกรด 9-12 รวมทั้งนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาแล้ว (post-graduate หรือ PG) โรงเรียนตั้งอยู่ในเมือง แอนโดเวอร์ รัฐ แมสซาชูเซตส์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยอยู่ทางเหนือของเมือง บอสตัน ประมาณ 25 ไมล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและวิทยาลัยฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สาทิส อินทรกำแหง

ทิส อินทรกำแหง (14 มีนาคม พ.ศ. 2469 — 28 ตุลาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักเขียนและบรรณาธิการหนังสือ, ผู้ริเริ่มและเผยแพร่การแพทย์แบบผสมผสาน และการรักษาสุขภาพตามหลักธรรมชาติ เข้ามาในประเทศไทย ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแนวทางสุขภาพแบบชีวจิต และเป็นผู้ได้รับรางวัลนราธิป ประจำปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและสาทิส อินทรกำแหง · ดูเพิ่มเติม »

สุรชาติ บำรุงสุข

ตราจารย์ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางด้านยุทธศาสตร์ การรบ และสงคราม ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและสุรชาติ บำรุงสุข · ดูเพิ่มเติม »

สไปค์ ลี

ลตัน แจ็กสัน "สไปค์" ลี (Shelton Jackson "Spike" Lee) ผู้กำกับภาพยนตร์แนวอิสระ ผู้อำนวยการสร้าง นักเขียน และนักแสดงชาวอเมริกัน นอกจากนี้ยังเป็นผู้กำกับภาพยนตร์โฆษณาของผลิตภัณฑ์ไนกี้ และมิวสิกวิดีโอให้กับศิลปินนักร้อง เช่น พรินซ์, ไมเคิล แจ็กสัน, แอนิตา เบเกอร์, พับลิกเอเนมี สไปค์ ลี ยังเป็นอาจารย์สอนวิชาภาพยนตร์ที่มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก และมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ผลงานกำกับภาพยนตร์ของสไปค์ ลี มักมีเนื้อหาเกี่ยวกับการกีดกันทางเชื้อชาติ บทบาทของสื่อมวลชน อาชญากรรมในเมืองใหญ่ ความยากจน และประเด็นทางการเมือง โด่นเด่นด้วยฉากที่มีสีสันฉูดฉาดและมุมกล้องที่น่าเวียนหัว ภาพยนตร์หลายเรื่องถ่ายทำในบรูกลิน นิวยอร์ก ซึ่งเป็นย่านที่เขาเติบโตม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและสไปค์ ลี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์

รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตคณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอดีตรองอธิการบดีฝ่ายวางแผนพัฒนา ม. และเป็นผู้สมัครในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและหม่อมราชวงศ์พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์

ตราจารย์ ร้อยเอก หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2455 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) อดีตองคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการและเป็นนักภาษาศาสตร์ชาวไทยเชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมายได้แก่องคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ,ราชบัณฑิต สำนักศิลปกรรม แห่งราชบัณฑิตยสภา ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต คณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการแผนกอักษรศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล ระหว่างที่ศึกษาอยู่เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ไปทำงานเสรีไทย เป็นทหารในกองทัพบกอังกฤษ จนกระทั่งสงครามเสร็จสิ้นจึงปลดประจำการขณะมียศร้อยเอก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หลิน ไต้

ลินดา หลิน ไต้ (Linda Lin Dai) เป็นนักแสดงหญิงชาวจีน ที่มีชื่อเสียงโด่งดังระดับเอเชีย ในวงการภาพยนตร์ฮ่องกงในช่วงทศวรรษ 1950 ถึง 1960 เป็นนางเอกภาพยนตร์ภาษาจีนกลางอันดับหนึ่งในสังกัดชอว์บราเดอส์ มีชื่อเสียงอย่างมากจากเรื่อง จอมใจจักรพรรดิ์ (The Kingdom and the Beauty, 江山美人) เมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและหลิน ไต้ · ดูเพิ่มเติม »

อะกิตะอินุ

นัขอะกิตะเพศเมียกับลูก อะกิตะอินุ อะกิตะอินุ (秋田犬; Akita Inu) หรือนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า อะกิตะ (อินุ เป็นภาษาญี่ปุ่นแปลว่า "สุนัข") เป็นสายพันธุ์สุนัข ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งแต่เดิมใช้เป็นสุนัขอารักขาให้กับโชกุน และใช้เป็นสุนัขสำหรับการล่าสัตว์ มีทักษะในการดมกลิ่น การมองเห็น และการได้ยินในระดับสูง สุนัขสายพันธุ์นี้เกือบตกอยู่ในภาวะสูญพันธุ์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 หลังสงครามโลกครั้งที่2มีกลุ่มทหารและมิชชันนารีชาวอเมริกันนำสุนัขพันธุ์นี้ไปอเมริกาไปดัดแปลงพันธุ์ใหม่กลายเป็นพันธุ์อเมริกันอะกิตะ ทำให้ปัจจุบันมีอะกิตะ 2 พันธุ์ คือ อะกิตะอเมริกา และอะกิตะญี่ปุ่น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและอะกิตะอินุ · ดูเพิ่มเติม »

อัชราฟ ฆานี

อัชราฟ ฆานี (Ashraf Ghani, اشرف غني, اشرف غنی, เกิดปี 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1949) เป็นประธานาธิบดีของอัฟกานิสถาน เขาเข้ามาเป็นประธานาธิบดีของอัฟกานิสถานเมื่อวันที่ 29 กันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและอัชราฟ ฆานี · ดูเพิ่มเติม »

อัมมาน

อัมมาน (Amman; عمان) เป็นเมืองหลวงของประเทศจอร์แดนและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจอร์แดน มีประชากรประมาณ 3 ล้านกว่าคน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและอัมมาน · ดูเพิ่มเติม »

อันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา

อันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา ได้มีการจัดโดยนิตยสารต่างๆ ภายในประเทศ เพื่อเป็นตัวแสดงให้เห็นถึง ประสิทธิภาพของมหาวิทยาลัยในขณะนั้น และรวมถึงเป็นข้อมูลสำหรับนักเรียนหรือนักศึกษาที่ต้องการศึกษาต่อช่วยในการตัดสินใจ ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศแรกที่มีการจัดอันดับมหาวิทยาลัยกันอย่างจริงจัง และ อันดับมหาวิทยาลัยที่จัดนั้น ก็ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเรียนต่อของนักศึกษา อัตราการสมัคร (admission rate) อัตราการเข้าเรียนจริง ๆ ของผู้ที่ได้รับการตอบรับแล้ว (yield rate) และการวางแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยต่างๆ สำหรับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดของสหรัฐอเมริกา คือ การจัดอันดับโดยนิตยสาร ยูเอสนิวส์แอนด์เวิลด์รีพอร์ต (US News and World Report) ซึ่งได้เริ่มการจัดอันดับ มหาวิทยาลัยในระดับปริญญาตรี (College) ในปี 2526 เป็นต้นมา โดยในชั้นแรก เป็นแค่คอลัมน์หนึ่งของนิตยสารเท่านั้น และ การจัดอันดับมหาวิทยาลัย ไม่ได้รับความสนใจมากนักต่อนักการศึกษา และมหาวิทยาลัยต่าง ๆ แต่ต่อมาด้วยความนิยมที่มีมากขึ้น ทำให้ นิตยสาร USNews ได้รับความนิยมจากนักเรียนในการตัดสินใจเลือกมหาวิทยาลัย แม้จะมีข้อผิดพลาด และได้รับการวิจารณ์จากนักการศึกษาอยู่เสมอ ๆ ในยุคแรก ๆ ภายหลังนิตยสารได้ใช้ผู้เชี่ยวชาญในด้านสถิติมาเป็นบรรณาธิการในด้านการจัดอันดับโดยเฉพาะ ต่อมาได้มีนิตยสารอื่น ๆ ทำการจัดทำการจัดอันดับมหาวิทยาลัยของสหรัฐ ฯ ออกมามากขึ้น เช่น สำหรับคณะบริหารธุรกิจ มีนิตยสาร เช่น นิตยสารบิซิเนสวีก(BusinessWeek), นิตยสารฟอรบส์ (Forbes) ซึ่งได้รับความนิยม ในสาขาปรัชญา ก็มี Gourmet Report แต่อย่างไรก็ได้ การจัดลำดับของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ นั้น มีความแตกต่างกันตามแต่อคติและการให้น้ำหนักของปัจจัยที่ใช้วัดคะแนน ตัวอย่างของความแตกต่าง อาทิ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและอันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

อาร์โน อัลลัน เพนเซียส

อาร์โน อัลลัน เพนเซียส (Arno Allan Penzias; 26 เมษายน ค.ศ. 1933) เป็นนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน และผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ เพนเซียสเกิดที่เมืองมิวนิค ประเทศสาธารณรัฐไวมาร์ (เยอรมนี) เมื่ออายุ 6 ขวบได้อยู่ในกลุ่มเด็กๆ ชาวยิวที่อพยพไปยังประเทศอังกฤษในปฏิบัติการช่วยเหลือ Kindertransport หกเดือนต่อมาผู้ปกครองของเขาได้หลบหนีจากพวกนาซีไปยังสหรัฐอเมริกา จากนั้นครอบครัวจึงได้ตั้งรกรากที่เมืองนิวยอร์กในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและอาร์โน อัลลัน เพนเซียส · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เทอร์ คอมป์ตัน

อาร์เทอร์ ฮอลลี คอมป์ตัน (Arthur Holly Compton) (10 กันยายน พ.ศ. 2435 – 15 มีนาคม พ.ศ. 2505) เป็นนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิก..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและอาร์เทอร์ คอมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

อาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์

อาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์ (5 พฤษภาคม – 28 เมษายน) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน ที่เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ให้แนวคิดคนแรกๆ ในการประดิษฐ์เมเซอร์ในย่านความถี่ของแสง, ในฐานะผู้ให้แนวคิดในการกักอะตอมด้วยแสงเลเซอร์ และ จากผลงานการศึกษาวัดค่าความถี่จำเพาะของโมเลกุลด้วยเลเซอร์ ผลงานหลังนี้ส่งผลให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและอาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์ · ดูเพิ่มเติม »

อิบราฮิม กัมบารี

อิบราฮิม กัมบารี (Ibrahim Gambari) เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1944 ทูตพิเศษสหประชาชาติว่าด้วยพม่าและอิรัก เป็นชาวไนจีเรีย จบการศึกษาขั้นสูงสุดจาก ลอนดอน สกูลออฟอีคอนอมิกส์ ประเทศอังกฤษ และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบียในนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา จากนั้นได้เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศไนจีเรีย และเป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงของสหประชาชาติ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและอิบราฮิม กัมบารี · ดูเพิ่มเติม »

อิซิโดร์ ไอแซก ราบี

อิสิดอร์ อิซาค ราบี (29 กรกฎาคม พ.ศ. 2441 - 11 มกราคม พ.ศ. 2531) เป็นนักฟิสิกส์ ผู้มีถิ่นกำเนิดจากออสเตรีย และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2487 ราบีถือกำเนิดใน หมู่บ้าน Rymanów เมือง Galicia อาณาจักรออสเตรีย (ปัจจุบันเป็นประเทศโปแลนด์) และ ถูกพามาที่สหรัฐอเมริกาหลังจากถือกำเนิดขึ้นได้เพียง 1 ปี เขาได้รับ ปริญญาทางวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี) ทางเคมี จาก มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและอิซิโดร์ ไอแซก ราบี · ดูเพิ่มเติม »

องค์การผู้สังเกตการณ์ศิลปะนานาชาติ

องค์การผู้สังเกตการณ์ศิลปะนานาชาติ (ArtWatch International) เป็นองค์การที่ก่อตั้งขึ้นโดยเจมส์ เบ็ค ศาสตราจารย์สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาแห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบียในสหรัฐอเมริกาเพื่อเฝ้าสังเกตและรณรงค์เพื่อหาวิธีที่ดีขึ้นในการอนุรักษ์งานศิลปะ องค์การมีสาขาในสหราชอาณาจักร “องค์การผู้สังเกตการณ์ศิลปะแห่งสหราชอาณาจักร” (ArtWatch UK).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและองค์การผู้สังเกตการณ์ศิลปะนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อนุตตมา อมรวิวัฒน์

นางสาวอนุตตมา อมรวิวัฒน์ (ชื่อเล่น จิ๊บ) รักษาการรองโฆษกพรรคเพื่อไทย อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7 และเป็นบุตรสาวของพลตำรวจเอก สมบัติ อมรวิวัฒน์ (น้องชายของนายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและอนุตตมา อมรวิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

อโนชา สุวิชากรพงศ์

อโนชา สุวิชากรพงศ์ เกิดปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและอโนชา สุวิชากรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮะฟีซอลลาห์ อะมีน

thumbnail ฮะฟีซอลลาห์ อะมีน (Hafizullah Amin; ภาษาพัชโต: حفيظ الله امين) เป็นประธานาธิบดีของอัฟกานิสถานระหว่างเดือนกันยายน – เดือนธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและฮะฟีซอลลาห์ อะมีน · ดูเพิ่มเติม »

ฮิเดะกิ ยุกะวะ

กิ ยุกะวะ เกิดเมื่อวันที่ 23 มกราคม ค.ศ. 1907 เป็นนักวิทยาศาสตร์ สาขาฟิสิกส์เชิงทฤษฎีที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่น และเป็นชาวญี่ปุ่นคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและฮิเดะกิ ยุกะวะ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น รากัซซินี

อห์น ราล์ฟ รากัซซินี (John Ralph Ragazzini; ค.ศ. 1912 — 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988) เป็นวิศวกรไฟฟ้าชาวอเมริกัน และศาสตราจารย์ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ผลงานของ รากัซซินีในเรื่องการแปลง Z มีส่วนสำคัญอย่างมากในพัฒนาสาขาการประมวลผลสัญญาณ (signal processing) และการควบคุมดิจิทัล (digital control).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและจอห์น รากัซซินี · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ซัลลิแวน

อห์น โจเซฟ ซัลลิแวน (เกิด 20 พฤศจิกายน 2502) เป็นนักกฎหมาย และเจ้าพนักงานรัฐบาลกลางชาวอเมริกัน ผู้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ คนที่ 19 และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ด้านการจัดการทรัพยากร คนที่ 4 ซึ่งเป็นคนปัจจุบัน ก่อนหน้านั้นทำหน้าที่รักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม 2018 (โดยพฤตินัย) และอย่างเป็นทางการในวันที่ 1 เมษายน 2018 - 27 เมษายน 2018 หลังประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ไล่นายเร็กส์ ทิลเลอร์สัน ออก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและจอห์น ซัลลิแวน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอป

อห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอป (John Howard Northrop; 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1891 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1987) เป็นนักชีวเคมีชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองยองเกอส์ เป็นบุตรของนักสัตววิทยา จอห์น ไอเซอาห์ นอร์ทรอปและนักพฤกษศาสตร์ อลิซ ริช นอร์ทรอป บิดาของนอร์ทรอปเสียชีวิตจากเหตุห้องปฏิบัติการระเบิดก่อนนอร์ทรอปเกิดได้สองสัปดาห์ นอร์ทรอปเรียนที่โรงเรียนไฮสกูลยองเกอส์และเรียนต่อด้านเคมีที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นอร์ทรอปทำงานที่หน่วยการสงครามเคมี โดยช่วยผลิตแอซีโทนและเอทานอลจากวิธีการหมัก ต่อมานอร์ทรอปทำงานที่สถาบันร็อกเกอะเฟลเลอร์เพื่อการวิจัยทางการแพทย์ในนครนิวยอร์ก เขาทำงานอยู่ที่นี่จนกระทั่งเกษียณในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและจอห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอป · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ไอเซนฮาวร์

อห์น เชลดอน เดาด์ ไอเซนอาวร์ (John Sheldon Doud Eisenhower) เป็นทูตจากสหรัฐอเมริกาประจำประเทศเบลเยียม ตั้งแต่ พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2504.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและจอห์น ไอเซนฮาวร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง

ักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง (11 มกราคม พ.ศ. 2378 — 11 มกราคม พ.ศ. 2440) พระนามเดิม อะซะโกะ คุโจ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโคเม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและจักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จาเร็ด ไดมอนด์

ร็ด ไดมอนด์ จาเร็ด ไดมอนด์ (Jared Diamond) (เกิด 10 กันยายน ค.ศ. 1937) คือนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันและนักเขียน เขาเป็นศาสตราจารย์สาขาภูมิศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส เริ่มประกอบอาชีพทางวิทยาศาสตร์ในสาขาจิตวิทยา และขยายไปสู่สาขาชีววิทยาวิวัฒนาการ และชีวภูมิศาสตร์ในเวลาต่อมา ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งกรรมการสถาบันศิลปะและวิทยาศาสตร์ สมาคมปรัชญาอเมริกัน ไดัรับรางวัลมากมายอาทิเช่น รางวัลเหรียญทองด้านวิทยาศาสตร์แห่งชาติ รางวัลไทเลอร์สำหรับความสำเร็จด้านสิ่งแวดล้อม รางวัลคอสมอสแห่งประเทศญี่ปุ่น เขามีบทความตีพิมพ์มากกว่า 200 ชิ้น ในวารสาร Discover, National History, Nature และ Geo ผลงานเขียนหนังสือของเขานั้นได้รับการกล่าวขวัญว่าสามารถวิเคราะห์จากการวิจัยและสังเกตได้อย่างลึกซึ้ง และง่ายต่อการเข้าใจ หนังสือที่สร้างชื่อเสียงให้แก่เขาได้แก่ The Third Chimpanzee, Guns, Germs, and Steel (ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของสังคมมนุษย์) และ Collapse: How Societies Choose to Fail or Succeed (ล่มสลาย).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและจาเร็ด ไดมอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

จิทัศ ศรสงคราม

ร้อยเอก จิทัศ ศรสงคราม (6 สิงหาคม พ.ศ. 2517) สถาปนิกและนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ชาวไทย เป็นบุตรชายคนเดียวของสินธู ศรสงคราม กับท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม และเขาเป็นพระนัดดาเพียงคนเดียวในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและจิทัศ ศรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จิตพยาธิวิทยาสัตว์

ตพยาธิวิทยาสัตว์ (Animal psychopathology) เป็นการศึกษาโรคจิตและพฤติกรรมในสัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์ โดยประวัติแล้ว ศาสตร์มักจะเอามนุษย์เป็นศูนย์ (มานุษยประมาณนิยม) เมื่อศึกษาจิตพยาธิวิทยาในสัตว์เพื่อใช้เป็นแบบจำลองสำหรับโรคจิตในมนุษย์ แต่จากมุมมองทางวิวัฒนาการ จิตพยาธิของสัตว์จะพิจารณาได้อย่างเหมาะสมกว่าว่า เป็นพฤติกรรมที่ไม่ปรับตัว (non-adaptive) เพราะความพิการทางความรู้คิด ความพิการทางอารมณ์ หรือความทุกข์บางอย่าง บทความนี้แสดงจิตพยาธิสัตว์จำนวนหนึ่งแต่ไม่สมบูรณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและจิตพยาธิวิทยาสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์

ฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เป็นนักร้องชาวไทย มีพี่สาว 1 คน ศึกษาที่โรงเรียนฮาร์โรว์อินเตอร์เนชันนอลสคูล ได้เล่นละครเวทีเรื่อง "บัลลังก์เมฆ" ของถกลเกียรติ วีรวรรณ ซึ่งก็ได้ชักชวนให้ออกอัลบั้มเพลง ได้ไปทดสอบที่บริษัทอาราทิสต์แล้วผ่าน จึงได้ออกอัลบั้ม มีผลงานอัลบั้มแรกชุด พลับ (พ.ศ. 2545) มีเพลงดังอย่าง "คุณครูครับ" นอกจากนั้นในอัลบั้มนี้ยังมีเพลงฮิตในอดีตที่นำมาทำใหม่ โดยปรับเนื้อร้อง ดนตรีให้เหมาะกับเด็ก และทำให้สนุกสนาน มีสีสัน อย่างเช่น "ใครใครก็ไม่รักผม" "ก็เลยเล่าสู่กันฟัง" "เหนื่อยไหมคนดี" "คนไม่สำคัญ""คุณครูครับ" "ลูกชิ้นของฉัน" "สงสัยจัง" พอเสร็จจากอัลบั้มชุดแรก ก็ได้ไปเล่นละครเรื่อง หน้าต่างสีชมพู-ประตูสีฟ้า และทำผลงานอัลบั้มชุดที่ 2 มีชื่ออัลบั้มว่า จุฑาภัทร ภาค 2 (พ.ศ. 2546) โดยมีแขกรับเชิญในอัลบั้มอย่าง ไวพจน์ เพชรสุพรรณ มาร่วมร้องในเพลง "แหล่กล่อมหลาน", จิระศักดิ์ ปิ่นสุวรรณ มาช่วยร้องในเพลง "Teddy Bear",สีหนุ่ม เชิญยิ้ม มาร้องในเพลง ลาวดวงเดือน, พี สะเดิด ในเพลง เด๊อน้องเด้อ และคนสุดท้าย จิระศักดิ์ ปานพุ่ม ร้องกับพลับในเพลง แมงมุมลาย - Oh Yeah! นอกจากนั้นยังได้รับเป็นพรีเซนเตอร์ให้นมพร่องมันเนย ตราซูเปอร์จิ๋ว รวมถึง โฆษณาโอวัลติน หลังจากนั้นห่างหายจากวงการบันเทิง เข้าศึกษาต่อที่สถาบันฟิลลิปส์เอกซ์เซเตอร์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์ สหรัฐอเมริกาจนจบชั้นมัธยมปลาย และได้เป็นแขกรับเชิญในรายการตีสิบ ทางช่อง 3 (ออกอากาศ 27 กรกฎาคม 2553) และในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและจุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ถัน ตุ้น

ัน ตุ้น เป็นคีตกวี นักแต่งเพลงประกอบภาพยนตร์ และผู้อำนวยเพลงชาวจีน มีชื่อเสียงจากผลงานดนตรีประกอบภาพยนตร์เรื่อง Crouching Tiger, Hidden Dragon ของหลี่ อัน, Hero ของจาง อี้โหมว และ The Banquet ของเฝิง เสี่ยวกาง ถัน ตุ้น เกิดที่หมู่บ้านเล็กๆ ชานเมืองฉางชา มณฑลหูหนาน ใช้ชีวิตวัยเด็กใช้แรงงานเป็นชาวนาอยู่ในคอมมูนของรัฐบาลกลาง และใช้เวลาว่างหัดเล่นเครื่องดนตรีพื้นบ้าน ต่อมาได้หนีออกจากคอมมูนและได้หัดเล่นเครื่องดนตรีสากล คือ วิโอลา กับวงดนตรีของคณะอุปรากรปักกิ่ง จากนั้นได้มีโอกาสเข้าศึกษาที่สถาบันดนตรีกลาง ปักกิ่ง เป็นลูกศิษย์ของโทะรุ ทะเคะมิตสึ (1930-1996) คีตกวีชาวญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียง เขาได้รับทุนการศึกษาระดับปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียในช่วงทศวรรษ 1980 ถัน ตุ้น มีผลงานประพันธ์ดนตรีประกอบภาพยนตร์จีนหลายเรื่อง ได้แก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและถัน ตุ้น · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีระบบควบคุม

ระบบควบคุมมีความสำคัญอย่างมากในการปล่อยจรวดและยานอวกาศ ทฤษฎีระบบควบคุม (control theory) เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ในที่นี้ การควบคุมหมายถึง การควบคุมระบบพลศาสตร์ ให้มีค่าเอาต์พุตที่ต้องการ โดยการป้อนค่าอินพุตที่เหมาะสมให้กับระบบ ตัวอย่างที่เห็นได้ทั่วไป เช่น ระบบควบคุมอุณหภูมิห้องของเครื่องปรับอากาศ หรือ แม้แต่ลูกลอยในโถส้วม ที่เปิดน้ำปิดน้ำโดยอัตโนมัติเมื่อน้ำหมดและน้ำเต็ม การควบคุมการขับเคลื่อนยานพาหนะ เช่น รถยนต์ ก็ถือเป็นการควบคุมชนิดหนึ่ง โดยผู้ขับขี่เป็นผู้ควบคุมทิศทางและความเร็ว ซึ่งระบบควบคุมประเภทที่ต้องมีคนเข้ามาเกี่ยวข้องนี้ถือว่าเป็น ระบบควบคุมไม่อัตโนมัติ (manual control) แต่ทฤษฎีระบบควบคุมจะครอบคลุมเฉพาะการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบควบคุมอัตโนมัติ (automatic control) เท่านั้น เช่น ระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ (cruise control) ระบบควบคุมยังอาจแบ่งออกได้เป็นระบบควบคุมวงเปิด (open-loop control) คือ ระบบควบคุมที่ไม่ได้ใช้สัญญาณจากเอาต์พุต มาบ่งชี้ถึงลักษณะการควบคุม ส่วนระบบควบคุมวงปิด (closed-loop control) หรือ ระบบป้อนกลับ (feedback control) นั้นจะใช้ค่าที่วัดจากเอาต์พุต มาคำนวณค่าการควบคุม นอกจากนี้ยังอาจแบ่งได้ตามคุณลักษณะของระบบ เช่น เป็นเชิงเส้น (linear) / ไม่เป็นเชิงเส้น (nonlinear), แปรเปลี่ยนตามเวลา (time-varying) / ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา (time-invariant) และเวลาต่อเนื่อง (Continuous time) / เวลาไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous time).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและทฤษฎีระบบควบคุม · ดูเพิ่มเติม »

ทิก เญิ้ต หั่ญ

ระภิกษุทิก เญิ้ต หั่ญ ทิก เญิ้ต หั่ญ หรือ ชื่อที่ใช้เรียกทั่วไป ติช นัท ฮันห์ (Thích Nhất Hạnh) (fr: Thich Nhat Hanh) เป็นพระภิกษุชาวเวียดนามในพุทธศาสนานิกายเซน ชื่อทิก เญิ้ต หั่ญ เป็นฉายาในทางศาสนา โดยคำว่า "ทิก" เป็นคำใช้เรียกพระ ส่วน "เญิ้ต หั่ญ" เป็นนามทางธรรมที่มีความหมายว่า "การกระทำเพียงหนึ่ง (One Action)" ท่านเป็นพระมหาเถระนิกายเซน กวี และผู้สนับสนุนในเรื่องสันติภาพ มีงานเขียนเผยแผ่ตีพิมพ์ภาษาต่าง ๆ มากมาย และเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่นักปฏิบัติธรรมชาวตะวันตก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและทิก เญิ้ต หั่ญ · ดูเพิ่มเติม »

ข้อปัญหาแฟร์มี

ในฟิสิกส์หรือการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ ข้อปัญหาแฟร์มี ข้อสอบแฟร์มี คำถามแฟร์มี การประมาณแฟร์มี หรือ การประมาณตามลำดับ (Fermi problem) เป็นข้อปัญหาการประมานค่าที่ออกแบบมาเพื่อสอนการวิเคราะห์เชิงมิติ (dimensional analysis) การประมาณ (approximation) และปกติแล้วข้อปัญหาเหล่านี้จะเป็นการคำนวนหลังจดหมาย เทคนิคการประมานค่านี้ถูกตั้งชื่อตามนักฟิสิกส์เอนรีโก แฟร์มีด้วยความที่เขาโด่งดังทางด้านการคำนวนเชิงประมานด้วยข้อมูลจำนวนน้อยหรือไม่มีข้อมูลเลย โดยปกติแล้วข้อปัญหาแฟร์มี มีการใช้การเดาอย่างมีเหตุผลเกี่ยวกับปริมาณและความแปรปรวนหรือขอบเขตทั้งบนและล่าง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและข้อปัญหาแฟร์มี · ดูเพิ่มเติม »

คาร์สัน แมคคัลเลอส์

ร์สัน แมคคัลเลอส์ (Carson McCullers; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 – 29 กันยายน ค.ศ. 1967) เป็นนักเขียนชาวอเมริกัน ผลงานส่วนใหญ่ของเธอเป็นแนวเซาเทิร์นกอทิก เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลที่แปลกแยก โดดเดี่ยวและถูกทอดทิ้ง มักมีฉากอยู่ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและคาร์สัน แมคคัลเลอส์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคมพ.ศ. 2481 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มเปิด "แผนกวิชาการบัญชี" และ "แผนกวิชาพาณิชยศาสตร์" สังกัดคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จนกระทั่งวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้สถาปนาเป็นคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของประเทศไทยที่ผลิตบุคลากรเพื่อสนองความต้องการของธุรกิจของประเทศซึ่งมีการพัฒนาและเจริญก้าวหน้ามากขึ้น คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับหนึ่งของไทยในสาขา การเงินและการบัญชี (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก และเป็นแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดับ) และ การบริหารธุรกิจและการจัดการ (อันดับที่ 151 - 200 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ซานเตียโก กาลาตราบา

Puente del Alamillo สะพานในประเทศสเปนออกแบบโดยซานเตียโก ซานเตียโก กาลาตราบา บัลส์ (บาเลนเซีย: Santiago Calatrava Valls) เป็นทั้งสถาปนิก วิศวกรโครงสร้าง และประติมากรชาวสเปน เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 ในเมืองเบนีมาเมต ประเทศสเปน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและซานเตียโก กาลาตราบา · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล

ตราจารย์พิเศษ ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล กรรมการมูลนิธิสุรเกียรติ์ - ท่านผู้หญิงสุธาวัลย์ เสถียรไทย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ หลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและประสิทธิ์ โฆวิไลกูล · ดูเพิ่มเติม »

ประทักษ์ ประทีปะเสน

ประทักษ์ ประทีปะเสน นักไวโอลิน และวาทยากรที่มีชื่อเสียง เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านดนตรีสากล สังกัดกองการสังคีต กรมศิลปากร และเป็นผู้อำนวยเพลง วงดุริยางค์เครื่องลม แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประทักษ์ ประทีปะเสน จบการศึกษาจากวชิราวุธวิทยาลัย แล้วไปศึกษาต่อด้านดนตรีที่ประเทศอังกฤษ และได้รับทุนรัฐบาลไทยไปศึกษาต่อที่สหรัฐอเมริกา ด้านไวโอลินและการอำนวยเพลง จนสำเร็จปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ได้รับเชิญให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ A.R.A.M. (Associate of the Royal Academy of Music) ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและประทักษ์ ประทีปะเสน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปริญญา นาคฉัตรีย์

นายปริญญา นาคฉัตรีย์ ประธานกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น อดีตกรรมการการเลือกตั้ง ฝ่ายบริหารการเลือกตั้ง เป็นหนึ่งในกรรมการการเลือกตั้งที่ถูกศาลอาญา พิพากษาให้จำคุก 4 ปี จากการปฏิบัติหน้าที.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและปริญญา นาคฉัตรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะบุตร ชลวิจารณ์

ปิยะบุตร ชลวิจารณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และนายกสมาคมอัสสัมชัญ (สมาคมศิษย์เก่า) คนปัจจุบัน ประธานกรรมการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานอำนวยการและรองประธานกรรมการสถาบันคีนันแห่งเอเซี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและปิยะบุตร ชลวิจารณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นรนิติ เศรษฐบุตร

ตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร (อ่านว่า นอ-ระ-นิด) นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน) และศาสตราจารย์พิเศษ สาขาวิชารัฐศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า กรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และ ภายหลังได้รับเลือกจากสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญให้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ และได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถานอีกด้วย ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484 จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, วุฒิบัตรด้านโซเวียตศึกษา จากมหาวิทยาลัย Fribourg สวิตเซอร์แลนด์, ปริญญาโทด้านการทูต ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และรัสเซียศึกษา จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เคยเป็นคณบดี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและนรนิติ เศรษฐบุตร · ดูเพิ่มเติม »

นีล ดะแกรส ไทสัน

นีล ดะแกรส ไทสัน (Neil deGrasse Tyson; เกิด 5 ตุลาคม 1958) เป็นนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ผู้ประพันธ์และผู้สื่อสารวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน ตั้งแต่ปี 1996 เขาเป็นผู้อำนวยการท้องฟ้าจำลองเฮย์เดน ณ ศูนย์โลกและอวกาศโรสในนครนิวยอร์ก ศูนย์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติอเมริกา ซึ่งไทสันก่อตั้งแผนกฟิสิกส์ดาราศาสตร์ในปี 1997 และเป็นผู้ช่วยวิจัยในแผนกฯ ตั้งแต่ปี 2003 เขาเกิดและเติบโตในนครนิวยอร์ก มีความสนใจดาราศาสตร์ตั้งแต่อายุ 9 ปีหลังชมท้องฟ้าจำลองเฮย์เดน หลังสำเร็จการศึกษาจากไฮสกูลวิททยาศาสตร์บรองซ์ ซึ่งเขาเป็นบรรณาธิการอำนวยการของวารสารวิทยาศาสตร์กายภาพ เขาสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีวิชาฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดในปี 1980 หลังได้รับปริญญาโทในสาขาดาราศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยเท็กซัส ออสตินในปี 1983 เขาได้รับปริญญาโท (ปี 1989) และปริญญาเอก (ปี 1991) ในวิชาฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย อีกสามปีถัดมา เขาเป็นผู้ช่วยวิจัยหลังปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ในปี 1994 เขาเข้าร่วมเป็นนักวิทยาศาสตร์เจ้าหน้าที่ ณ ท้องฟ้าจำลองเฮย์เดนและศูนย์พรินซ์ตันเป็นนักวิทยาศาสตร์วิจัยและอาจารย์รับเชิญ ในปี 1996 เขาเป็นผู้อำนวยการท้องฟ้าจำลองและควบคุมดูแลโครงการบูรณะ 210 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งแล้วเสร็จในปี 2000 ระหว่างปี 1995 ถึง 2005 ไทสันเขียนความเรียงรายเดือนในคอลัมน์ "เอกภพ" ให้นิตยสารประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ซึ่งบางส่วนจัดพิมพ์ในหนังสือของเขา มรณะด้วยหลุมดำ (ปี 2007) และฟิสิกส์ดาราศาสตร์สำหรับคนรีบ (ปี 2017) ในช่วงเดียวกัน เขาเขียนคอลัมน์รายเดือนในนิตยสารสตาร์เดต ตอบคำถามเกี่ยวกับเอกภพโดยใช้นามปากกา "เมอร์ลิน" เนื้อความจากคอลัมน์ปรากฏในหนังสือของเขา ทัวร์เอกภพของเมอร์ลิน (ปี 1998) และเพียงชมดาวเคราะห์นี้ (ปี 1998) ไทสันรับราชการเป็นคณะกรรมการของรัฐบาลว่าด้วยอนาคตของอุตสาหกรรมห้วงอากาศ-อวกาศของสหรัฐปี 2001 และในคณะกรรมการดวงจันทร์ ดาวอังคารและกว่านั้นปี 2004 เขาได้รับเหรียญราชการโดดเด่นของนาซาในปีเดียวกัน ตั้งแต่ปี 2006 ถึง 2011 เขาเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์โนวาไซอันซ์นาว ทางพีบีเอส ตั้งแต่ปี 2009 เขาเป็นพิธีกรพอตคแสรายสัปดาห์ สตาร์ทอล์ก รายการแยกชื่อเดียวกันเริ่มแพร่สัญญาณทางเนชันแนลจีโอกราฟิกในปี 2015; ในปี 2014 เขาเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ คอสมอส: อะสเปซไทม์ออดิซีย์ (จักรวาล: การเดินทางปริภูมิ-เวลา) ซึ่งต่อจากซีรีย์คอสมอส: อะเพอร์ซันแนลโวยาจ (จักรวาล: การเดินทางส่วนบุคคล) ของคาร์ล เซแกนในปี 1980 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐมอบเหรียญสวัสดิการสาธารณะแก่ไทสันในปี 2015 สำหรับ "บทบาทโดดเด่นในการสร้างความตื่นเต้นแก่สาธารณะเกี่ยวกับสิ่งมหัศจรรย์ของวิทยาศาสตร์".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและนีล ดะแกรส ไทสัน · ดูเพิ่มเติม »

นครนิวยอร์ก

นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและนครนิวยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเฮลมันด์

แผนที่ลุ่มน้ำเฮลมันด์ แม่น้ำเฮลมันด์ (Helmand River; هیرمند, هلمند;Hīrmand, Helmand, Erymandrus) เป็นแม่น้ำที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอัฟกานิสถาน และเป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในอัฟกานิสถานและเป็รที่ราบลุ่มแม่น้าสายหลักด้วย แม่น้ำนี้มีชื่อเดิมในภาษาอเวสตะและภาษาเปอร์เซียโบราณว่า Haetumant (หมายถึงเขื่อนที่เต็ม) มีความยาวทั้งหมด 1,150 กิโลเมตร (715 ไมล์)มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาบาบา ที่อยู่ทางตะวันออกของกรุงคาบูลไปราว 80 กิโลเมตร() ไหลผ่านตอนเหนือของทะเลทรายเรกีสถาน เข้าสู่ทะเลทรายมาร์โก แล้วลงสู่ทะเลสาบน้ำเค็มซิสตานที่อยู่ระหว่างชายแดนของอัฟกานิสถานกับอิหร่าน() แม่น้ำสายนี้ยังคงเป็นน้ำจืดตลอดความยาวส่วนใหญ่ ซึ่งต่างจากแม่น้ำที่ไม่มีทางออกทะเลอื่นๆ แม่น้ำนี้ส่วนใหญ่ใช้เพื่อการชลประทาน แม้จะมีเกลือแร่เจือปนอยู่มาก น้ำนี้มีความจำเป็นสำหรับเกษกรในอัฟกานิสถาน และอิหร่านในบริเวณใกล้เคียงกับทะเลสาบซิสตาน เขื่อนที่สร้างบนแม่น้ำสายนี้ได้แก่เขื่อนกายาไกในอัฟกานิสถาน สาขาหลักของแม่น้ำสายนี้คือ แม่น้ำอาร์ฆันดับ)ซึ่งมีเขื่อนบนแม่น้ำสายนี้ที่กันดะฮาร์ ขอบเขตของแม่น้ำเฮลมันด์เป็นที่รู้จักในชื่ออาณาจักรแห่งซิสตาน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและแม่น้ำเฮลมันด์ · ดูเพิ่มเติม »

แยชือ กอชิญสกี

แยชือ กอชิญสกี (Jerzy Kosiński; 14 มิถุนายน ค.ศ. 1933 – 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1991) เป็นนักเขียนชาวโปแลนด์-อเมริกัน มีชื่อเกิดว่า "ยูแซฟ แลวินกอปฟ์" เกิดในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและแยชือ กอชิญสกี · ดูเพิ่มเติม »

แสบใสไฮโซ

แสบใสไฮโซ หรือ กอสซิป เกิร์ล เป็นซีรีส์ละครชุดทางโทรทัศน์ มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ชีวิตวัยรุ่นอเมริกันในมหานคร นิวยอร์กซิตี้ สร้างโดยดัดแปลงมาจากบทประพันธ์ (ซึ่งเป็นหนังสือขายดี ชื่อเดียวกัน) เขียนโดย เซซิลี ฟอน เซเกซซาร์ ออกอากาศในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ เดือนกันยายน พ.ศ. 2550 เริ่มออกอากาศในประเทศไทยเมื่อ 25 เมษายน พ.ศ. 2551 ทางช่องทรูซีรีส์ เนื้อเรื่องกล่าวถึง การใช้ชีวิตของวัยรุ่นกลุ่มหนึ่งในย่านอัพเปอร์อีสท์ไซด์ บนเกาะแมนฮัตตัน ในนิวยอร์กซิตี้ สหรัฐอเมริกา ทั้งในเรื่องการเรียน ชีวิตประจำวัน เพื่อนๆ แฟน-คนรัก อิจฉาริษยา พฤติกรรมทางเพศ ยาเสพติด เรื่องอื่นๆของวันรุ่น ตลอดจนผู้ปกครอง ผ่านการเขียนบล็อกที่มีชื่อว่า กอสสิบเกิร์ล หรือ สาวช่างเม้าท์ จากผลสำรวจของนีลเซ่น มีเดีย รีเสิร์ช ในฤดูกาลแรกที่ออกฉาย 18 ตอนนั้นมียอดผู้ชมเฉลี่ยตอนละ 2.7 ล้านราย เฉพาะในสหรัฐอเมริกา ในวันที่ 26 เมษายน 2011 ทางช่อง The CW ได้ประกาศต่อซีรีส์ Gossip Girl ฤดูกาลที่ห้าซึ่งมีกำหนดฉายทางช่อง The CW กลางปี โดยนักแสดงหลักของเรื่องอย่าง เทย์เลอร์ มอมเซน และ เจสสิก้า ชอร์ จะไม่กลับมารับบทบาทตัวละครหลัก แต่จะโผล่มาเป็นนักแสดงสมทบของซีรีส์แทน Gossip Girl ปี 2009.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและแสบใสไฮโซ · ดูเพิ่มเติม »

แอนสท์ ฟรีดริช ชูมาเคอร์

แอนสท์ ฟรีดริช "ฟริทซ์" ชูมาเคอร์ (Ernst Friedrich "Fritz" Schumacher; 19 สิงหาคม ค.ศ. 1911 – 4 กันยายน ค.ศ. 1977) เป็นผู้มีอิทธิพลระดับนานาชาติ ในการเป็นนักคิดทางสถิติและเศรษฐศาสตร์ในสหราชอาณาจักร เป็นที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจและเป็นหัวหน้าคณะกรรมการถ่านหินแห่งสหราชอาณาจักรBiography on the inner dustjacket of Small Is Beautiful ความคิดของเขากลายเป็นที่พูดถึงไปในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 และเขาเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดสำหรับบทวิจารณ์เศรษฐกิจตะวันตกและข้อเสนอเกี่ยวกับสำหรับเทคโนโลยีระดับมนุษย์ เทคโนโลยีการกระจายอำนาจ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและแอนสท์ ฟรีดริช ชูมาเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แจ็ก เครูแอ็ก

แจ็ก เครูแอ็ก (Jack Kerouac ชื่อเกิด Jean-Louis Lebris de Kérouac; 12 มีนาคม ค.ศ. 1922 – 21 ตุลาคม ค.ศ. 1969) เป็นนักเขียนนวนิยายและกวีชาวอเมริกัน เขาถูกมองว่าเป็นผู้คัดค้านการบูชารูปเคารพ และผู้บุกเบิกคนกลุ่มบีตเจเนอเรชัน ร่วมกับวิลเลียม เอส. บาโรส์ และอัลเลน กินส์เบิร์ก เครูแอ็กมีวิธีการเขียนร้อยแก้วตามสัญชาตญาณ ด้านใจความในงานเขียนของเขาจะครอบคลุมกับหัวข้อเช่น จิตวิญญาณคาทอลิก ดนตรีแจ๊ส ความสำส่อน พุทธศาสนา ยาเสพติด ความยากจน และการเดินทาง เขาเป็นคนดังใต้ดินและเป็นผู้ริเริ่มการเคลื่อนไหวฮิปปีร่วมกับคนกลุ่มบีตคนอื่น ๆ แม้ว่าเขายังเป็นปฏิปักษ์ต่อลัทธิการเมืองหัวรุนแรงบางกลุ่ม เขาเสียชีวิตใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและแจ็ก เครูแอ็ก · ดูเพิ่มเติม »

แดน เฟลวิน

แดน เฟลวิน (Dan Flavin; 1 เมษายน ค.ศ. 1933 – 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996) เป็นศิลปินชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและแดน เฟลวิน · ดูเพิ่มเติม »

แคทริน บิเกโลว์

แคทริน แอนน์ บิเกโลว์ หรือที่รู้จักในชื่อ แคทริน บิเกโลว์ ชาวอเมริกัน ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้าง และนักเขียนบท ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม สาขา Feature Film จากสมาคมผู้กำกับภาพยนตร์แห่งอเมริกา ในปี 2009 จากภาพยนตร์เรื่อง หน่วยระห่ำ ปลดล็อกระเบิดโลก (The Hurt Locker) และเป็นผู้กำกับภาพยนตร์หญิงคนแรกที่ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากออสการ์ (อะแคเดมีอะวอร์ด) ในปีเดียวกัน แคทรินเป็นสตรีคนแรกที่ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากออสการ์ และรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากแบฟตา (BAFTA) โดยสถาบันศิลปะภาพยนตร์และโทรทัศน์บริติช แคทริน บิเกโลว์ เป็นบุคคลสาธารณะที่มีความโดดเด่นและทรงอิทธิพล ใน "100 บุคคลทรงอิทธิพลของโลก" โดยนิตยสารไทม์ ประจำปี 2010.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและแคทริน บิเกโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

แนนซี ดูพรี

แนนซี แฮตช์ ดูพรี (Nancy Hatch Dupree; พัชโตและเปอร์เซีย: نانسی هاتچ دوپری; เกิด: ค.ศ. 1970) เป็นผู้อำนวยการศูนย์อัฟกานิสถาน มหาวิทยาลัยคาบูล ประเทศอัฟกานิสถาน และยังเป็นผู้เขียนหนังสือประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานจำนวนห้าเล่มช่วงปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและแนนซี ดูพรี · ดูเพิ่มเติม »

โรคจอตามีสารสี

Retinitis pigmentosaหรือว่า โรคอาร์พี (ตัวย่อ RP) เป็นโรคจอตาเสื่อมที่สามารถสืบทอดทางกรรมพันธุ์ที่เป็นเหตุแห่งความเสียหายต่อการเห็นอย่างรุนแรงบ่อยครั้งถึงขั้นตาบอด แต่ว่าการเสื่อมของ RP มีความต่าง ๆ กัน บางคนแสดงอาการตั้งแต่เป็นทารก บางคนอาจจะไม่เห็นอาการอะไรจนกระทั่งเลยวัยกลางคนไป โดยทั่วไป ยิ่งปรากฏอาการสายเท่าไร ความเสื่อมก็ยิ่งเป็นไปเร็วเท่านั้น บุคคลผู้ไม่มีอาร์พีสามารถเห็นได้ 90 องศาโดยรอบ (จากตรงกลางของลานสายตา) แต่บางคนที่มีอาร์พีเห็นได้น้อยกว่า 90 องศา โดยเป็นประเภทหนึ่งของโรคจอตาเสื่อม (retinopathy) อาร์พีเกิดจากความผิดปกติของเซลล์รับแสง (คือเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย) หรือของเซลล์ retinal pigment epithelium (ในชั้น pigmented layer) ในเรตินาที่มีผลเป็นเป็นการสูญเสียการเห็นไปตามลำดับ ผู้ที่มีโรคนี้อาจประสบความผิดปกติในการปรับตัวจากที่สว่างไปที่มืด หรือจากที่มืดไปที่สว่าง เป็นอาการที่ใชเรียกว่า ตาบอดแสง (nyctalopia หรือ night blindness) ซึ่งเป็นผลจากความเสื่อมลานสายตาส่วนรอบ ๆ แต่บางครั้ง จะมีการสูญเสียการเห็นในส่วนตรงกลางก่อน ทำให้บุคคลนั้นต้องแลดูวัตถุต่าง ๆ ทางข้างตา ผลของการมีอาร์พีเห็นได้ง่ายถ้าเปรียบเทียบกับทีวีหรือจอคอมพิวเตอร์ คือ แสงจากพิกเซลที่สร้างภาพบนจอเหมือนกับเซลล์รับแสงเป็นล้าน ๆ ตัวในเรตินา ยิ่งมีพิกเซลน้อยลงเท่าไร ภาพที่เห็นก็ชัดน้อยลงเท่านั้น มีเซลล์รับแสงจำนวนน้อยกว่า 10% ที่สามารถรับภาพสี โดยเป็นแสงมีความเข้มสูงเหมือนกับที่มีในช่วงกลางวัน เซลล์เหล่านี้อยู่ตรงกลางของเรตินาที่มีรูปเป็นวงกลม เซลล์รับแสงกว่า 90% ที่เหลือรับแสงมีความเข้มต่ำ เป็นภาพขาวดำ ซึ่งใช้ในที่สลัวและในตอนกลางคืน เป็นเซลล์ซึ่งอยู่รอบ ๆ เรตินา RP ทำลายเซลล์รับแสงจากนอกเข้ามาส่วนตรงกลาง หรือจากส่วนตรงกลางออกไปด้านนอก หรือทำลายเป็นย่อม ๆ ที่ทำให้เซลล์ส่วนตรงนั้นมีประสิทธิภาพในการตรวจจับแสงได้น้อยลง ความเสื่อมจากโรคนี้จะมีการลุกลาม และยังไม่มีวิธีรักษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและโรคจอตามีสารสี · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต มาเธอร์เวลล์

รเบิร์ต มาเธอร์เวลล์ (Robert Motherwell) (24 มกราคม ค.ศ. 1915 - 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1991) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ชาวอเมริกันของลัทธิการแสดงออกทางนามธรรม (Abstract expressionism) ของคริสต์ศตวรรษที่ 20 มาเธอร์เวลล์เป็นศิลปินผู้มีอายุน้อยที่สุดคนหนึ่งของตระกูลการเขียนภาพแบบนิวยอร์ก (New York School) (ซึ่งเป็นคำที่มาเธอร์เวลล์คิดเรียกขึ้นเอง) ที่รวมทั้งแจ็คสัน พอลลัค, มาร์ค รอธโค, วิลเลม เดอ คูนนิง และ ฟิลิป กัสตัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและโรเบิร์ต มาเธอร์เวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต โม้ก

็อบ โม้กกับเครื่องสังเคราะห์เสียงโม้กรุ่นต่างๆ ที่เขาประดิษฐ์ขึ้น โรเบิร์ต อาร์เทอร์ "บ็อบ" โม้ก (Robert Arthur "Bob" Moog; Moog ออกเสียงว่า /ˈmoʊɡ/ MOHG) เป็นวิศวกรไฟฟ้าชาวอเมริกัน ผู้ก่อตั้งบริษัทโม้กมิวสิก เป็นนักประดิษฐ์ที่เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ออกแบบเครื่องสังเคราะห์เสียงโม้ก ที่ใช้ในงานดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ โม้กเป็นชาวนครนิวยอร์ก จบสาขาฟิสิกส์จากควีนสคอลเลจ มหาวิทยาลัยแห่งนิวยอร์ก จบวิศวกรรมไฟฟ้าจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย และปริญญาเอกวิศวกรรมฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยคอร์เนล โม้กเป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องสังเคราะห์เสียงขนาดเล็ก การเคลื่อนย้ายสะดวก ราคาปานกลาง ชื่อรุ่น มินิโม้ก ขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและโรเบิร์ต โม้ก · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ กอร์ดอน-เลวิตต์

ซฟ กอร์ดอน-เลวิตต์ (Joseph Leonard Gordon-Levitt)"Joseph Leonard Gordon-Levitt" is his full name and Los Angeles, California, is his birthplace.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและโจเซฟ กอร์ดอน-เลวิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

โทะโยะโอะ อิโต

ตโย อิโตะ เป็นวิทยากรบรรยายในงาน CAADRIA 2006 ณ เมืองคุมะโมะโตะ ประเทศญี่ปุ่น โทะโยะโอะ อิโต (พ.ศ. 2484 –) หรือในชื่อ โตโย อิโต (Toyo Ito) เป็นชาวญี่ปุ่นซึ่งได้ชื่อว่าเป็น "หนึ่งในสุดยอดสถาปนิกที่มีพลังสร้างสรรค์และอิทธิพลในวงการสถาปัตยกรรมมากที่สุดคนหนึ่ง" อิโตโด่งดังจากการสร้างอาคารที่มีแนวคิดแหวกแนวสุดโต่ง โดยที่เขาพยายามจะหลอมโลกทางกายภาพกับจินตภาพเข้าด้วยกัน เขาเป็นผู้นำในการสร้างสถาปัตยกรรมที่มีความเป็น"เมืองแห่งจินตนาการ"ร่วมสมัย อิโตเป็นชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและโทะโยะโอะ อิโต · ดูเพิ่มเติม »

โคลัมเบีย

ลัมเบีย (Columbia) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ไอวีลีก

ที่ตั้งของกลุ่มมหาวิทยาลัยในไอวีลีก ไอวีลีก (Ivy League) เป็นชื่อของกลุ่มการแข่งขันกีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนเก่าแก่ 8 แห่งที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐฯ ซึ่งได้เริ่มรวมตัวกันเป็นกลุ่มไอวีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2478 ไอวีคือเถาไม้เลื้อยที่นิยมปลูกเกาะคลุมผนังด้านนอกของตึกเรียนเก่าแก่ของมหาวิทยาลัย มีสีแดงในฤดูใบไม้ร่วง ซึ่งเป็นที่มาของชื่อกลุ่ม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและไอวีลีก · ดูเพิ่มเติม »

ไอแซค อสิมอฟ

ร.ไอแซค อาซิมอฟ (Isaac Asimov; Айзек Азимов Ayzek Azimov; IPA:; 2 มกราคม พ.ศ. 2463-6 เมษายน พ.ศ. 2535) นักเขียนและนักชีวเคมีชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซียที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง มีชื่อเสียงรู้จักกันดีในฐานะนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ และหนังสือแนววิทยาศาสตร์สำหรับบุคคลทั่วไป ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขาคือ หนังสือชุดสถาบันสถาปนา รวมทั้งหนังสืออีก 2 ชุด นั่นคือ หนังสือชุดจักรวรรดิเอ็มไพร์ และ หนังสือชุดหุ่นยนต์ นอกจากนี้เขายังได้เขียนนิยายแนวลึกลับและแฟนตาซี รวมทั้งสารคดีอีกจำนวนมาก เขาได้เขียนหนังสือในหมวดใหญ่ๆ ของระบบทศนิยมดิวอี้ทุกแนวเนื้อหา เว้นก็แต่แนวปรัชญาเท่านั้น อาซิมอฟถือเป็นนักเขียนรุ่นใหญ่ในบรรดานักเขียนนวนิยายวิทยาศาสตร์ โดยจัดอยู่ในแนวหน้า เช่นเดียวกับ โรเบิร์ต เอ. ไฮน์ไลน์ และอาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก ซึ่งถือเป็นผู้ยิ่งใหญ่ทั้งสาม (Big Three) ในหมู่นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ในช่วงชีวิตของ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและไอแซค อสิมอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์

ทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ ไทมส์ไฮเออร์ (Times Higher Education) เป็นหนังสือพิมพ์จากลอนดอน ที่มีการรายงานอันดับสถาบันอุดมศึกษาทุกปี บรรณาธิการคือจอห์น โอ'เลรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์นาร์ด ชูมี

เบอร์นาร์ด ชูมี (Bernard Tschumi) เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1944 ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นสถาปนิก นักเขียน และนักศึกษาศาสตร์ เขามีส่วนร่วมกับสถาปัตยกรรมดีคอนสตรักทิวิสม์ เขาเกิดในครอบครัวชาวฝรั่งเศสและสวิส เขาทำงานและอยู่ที่นิวยอร์กและปารีส เขาศึกษาที่ปารีสและที่สถาบันเทคโนโลยีสวิส ซูริก ที่เขาได้รับสถาปัตยกรรมบัณฑิตในปี 1969 ชูมีสอนที่ Portsmouth Polytechnic ในพอร์ตสมัท สหราชอาณาจักร, สมาคมสถาปัตยกรรม วิทยาลัยสถาปัตยกรรมในลอนดอน, Institute for Architecture and Urban Studies ในนิวยอร์ก, มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน, Cooper Union ในนิวยอร์ก และมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ที่เขาเป็นคณบดี Graduate School of Architecture, Planning and Preservation ระหว่างปี 1988 ถึง 2003 ชูมีเป็นพลเมืองถาวรอเมริกัน หมวดหมู่:สถาปนิกชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:สถาปนิกชาวสวิส หมวดหมู่:บุคคลจากโลซาน หมวดหมู่:บุคคลจากสมาคมสถาปัตยกรรม วิทยาลัยสถาปัตยกรรม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเบอร์นาร์ด ชูมี · ดูเพิ่มเติม »

เชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์

ื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ (18 มกราคม พ.ศ. 2552 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นรายการที่เป็นรายงานผลการปฏิบัติงานของรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ โดยออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) ทุกวันอาทิตย์ เวลา 09.00 - 10.00 น. โดยภายในรายการมีการส่ง SMS แสดงความคิดเห็นและตั้งข้อซักถาม และยังมีช่องทางในการสื่อสารกับนายกรัฐมนตรี คือ ทุกวันศุกร์ หน้า 2 ของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ จะมีการตอบคำถามของท่านนายกรัฐมนตรีที่ประชาชนส่งคำถามเข้าม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเชื่อมั่นประเทศไทยกับนายกฯ อภิสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟซบุ๊ก

ฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมสัญชาติอเมริกัน สำนักงานใหญ่อยู่ที่ เมนโลพาร์ก รัฐแคลิฟอร์เนีย เฟซบุ๊กก่อตั้งเมื่อวันพุธที่ 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเฟซบุ๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เฟซบุ๊ก (บริษัท)

ฟซบุ๊ก เป็นบริษัทข้ามชาติอเมริกัน ผู้ให้บริการเว็บไซต์เครือข่ายสังคม เฟซบุ๊ก โดยเฟซบุ๊กได้ทำการเสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) ในวันที่ 1 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเฟซบุ๊ก (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์

รื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์ (Madoff investment Scandal) เกิดเป็นคดีกลฉ้อฉลหุ้นและหลักทรัพย์ใหญ่ที่ค้นพบเมื่อปลายปี 2551 ในเดือนธันวาคมปีนั้น เบอร์นาร์ด แมดอฟฟ์ อดีตประธานแนสแด็กและผู้ก่อตั้งบริษัทวอลล์สตรีต บริษัท หลักทรัพย์ลงทุนเบอร์นาร์ด แอล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเรื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

เลโอ บาเกอลันด์

ลโอ แฮ็นรีกึส อาร์ตืร์ บาเกอลันด์ (Leo Henricus Arthur Baekeland; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1863 - 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1944) เป็นนักเคมีและนักประดิษฐ์ชาวเบลเยียม/อเมริกัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเลโอ บาเกอลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐยาธิปไตย

รษฐยาธิปไตย หรือ ธนาธิปไตย (πλοῦτος,, 'ความมั่งคั่ง' + κράτος,, 'ปกครอง' - plutocracy, plutarchy) เป็นระบอบการปกครองที่คนมีเงินเป็นผู้ถือครองอำนาจทางการเมือง โดยเป็นรูปแบบหนึ่งของคณาธิปไตย และสามารถนิยามด้วยว่า เป็นสังคมที่ปกครองหรือควบคุมโดยประชาชนที่มั่งคั่งที่สุดส่วนน้อย เป็นการเมืองเพื่ออำนาจ เพื่อผลประโยชน์ และสิทธิพิเศษ ของกลุ่มคนที่มีอำนาจทางการเมือง โดยต้องใช้เงินเป็นองค์ประกอบหลัก มีการใช้คำทำนองนี้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเศรษฐยาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตอัฟกานิสถาน

อมิเรตอัฟกานิสถาน (Emirate of Afghanistan; د افغانستان امارت) เป็นเอมิเรตที่ปกครองอัฟกานิสถานระหว่างปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเอมิเรตอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

เออร์วิง แลงมิวร์

ออร์วิง แลงมิวร์ (Irving Langmuir; 31 มกราคม ค.ศ. 1881 – 16 สิงหาคม ค.ศ. 1957) เป็นนักเคมีและนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เป็นผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเออร์วิง แลงมิวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอนก เหล่าธรรมทัศน์

.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บนหน้าปกหนังสือ ''สองนครา ประชาธิปไตย'' ของตัวเอง ศาสตราจารย์พิเศษ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อธิการ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นักวิชาการและนักการเมือง อดีตหัวหน้าพรรคมหาชน และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2497 ที.ลำปาง เป็นเจ้าของทฤษฎี "สองนคราประชาธิปไตย" ที่สรุปว่า "คนต่างจังหวัดตั้งรัฐบาล คนกรุงเทพฯล้มรัฐบาล" เคยได้รับสมญานามจาก.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ว่า "ไอ้หนุ่มซินตึ๊ง".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเอนก เหล่าธรรมทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด แคลวิน เคนดัลล์

อ็ดเวิร์ด แคลวิน เคนดัลล์ (Edward Calvin Kendall; 8 มีนาคม ค.ศ. 1886 – 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1972) เป็นนักชีวเคมีชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองเซาท์นอร์วอล์ก เป็นบุตรของจอร์จ สแตนลีย์ เคนดัลล์และเอวา ฟรานเชส แอบบอตต์ เรียนจบปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์ ปริญญาโทและปริญญาเอกสาขาเคมีจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ก่อนจะทำการศึกษาฮอร์โมนต่อมไทรอยด์ขณะทำงานที่บริษัทยาพาร์ค-เดวิสและโรงพยาบาลเซนต์ลูกา ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเอ็ดเวิร์ด แคลวิน เคนดัลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี สตีล โอลคอต

ันเอก เฮนรี สตีล โอลคอต (කර්නල් හෙන්රි ස්ටීල් ඔල්කට්; Henry Steel Olcott; 2 สิงหาคม ค.ศ. 1832 – 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1907) เป็นข้าราชการทหาร นักหนังสือพิมพ์ และนักนิติศาสตร์ชาวอเมริกันซึ่งเป็นผู้ร่วมก่อตั้งและเป็นประธานคนแรกแห่งสมาคมเทวปรัชญา โอลคอตเป็นผู้มีชื่อเสียงชาวอเมริกาเชื้อสายยุโรปคนแรกที่เข้ารีตเป็นพุทธศาสนิกชน การต่าง ๆ ที่เขาปฏิบัติในภายหลังในฐานะประธานสมาคมเทวปรัชญานั้นมีส่วนช่วยฟื้นฟูการศึกษาพุทธศาสนา โอลคอตยังชื่อว่าเป็นนักนวนิยมทางพุทธที่ลงทุนลงแรงไปในการตีความพุทธศาสนาผ่านมุมมองแบบตะวันตก นอกจากนี้ เขายังเป็นหัวเรือในการฟื้นฟูพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา จึงได้รับการยกย่องเรื่องนี้ในประเทศศรีลังกา โดยชาวศรีลังกากล่าวขานกันว่า เขา "เป็นวีรบุรุษคนหนึ่งซึ่งฝ่าฝันเพื่อเอกราชของเรา และเป็นนักบุกเบิกการรื้อฟื้นทางศาสนา ชาตินิยม และวัฒนธรรมในยุคปัจจุบัน" โอลคอตนั้นเกิดในครอบครัวคริสต์เพรสไบทีเรียน (Presbyterian) ที่เคร่งครัด ในเมืองออเรนจ์ รัฐนิวเจอร์ซีย์ เขาเดินทางและเริ่มงานของเขาเพราะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเมืองปานะดุระ ประเทศศรีลังกา และเพียงเพราะหนังสือพิมพ์ Times Of Ceylon จาก ดร.เจมส์ มาร์ติน พีเบิลส์ ที่นำไปให้ เพื่อหน้าที่ของเขา และคนสำคัญจากส่วนต่าง ๆ ของโลก เขาเดินทางมาถึงประเทศศรีลังกาเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเฮนรี สตีล โอลคอต · ดูเพิ่มเติม »

เฮนดริค เวด โบดี

นดริค เวด โบดี (Hendrik Wade BodeVan Valkenburg, M. E. University of Illinois at Urbana-Champaign, "In memoriam: Hendrik W. Bode (1905-1982)", IEEE Transactions on Automatic Control, Vol. AC-29, No 3., March 1984, pp. 193-194. Quote: "Something should be said about his name. To his colleagues at Bell Laboratories and the generations of engineers that have followed, the pronunciation is boh-dee. The Bode family preferred that the original Dutch be used as boh-dah."; 24 ธันวาคม ค.ศ. 1905 – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1982) เป็นวิศวกร นักวิจัย นักประดิษฐ์ นักเขียน และนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายดัทช์ เป็นผู้บุกเบิกทฤษฎีระบบควบคุมยุคใหม่และระบบโทรคมนาคมทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งได้ปฏิวัติทั้งเนื้อหาและกระบวนวิธีในการทำวิจัย ผลงานวิจัยของเขาส่งผลกระทบอย่างมากต่อสาขาวิชาทางวิศวกรรมจำนวนมาก และเป็นรากฐานให้แก่นวัตกรรมยุคใหม่ เช่น คอมพิวเตอร์ หุ่นยนต์ และโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น โบดีเป็นหนึ่งในนักปรัชญาวิศวกรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคของเขา ได้รับความยกย่องในแวดวงวิชาการทั่วโลกมาอย่างยาวนาน (via Internet archive) เขายังมีชื่อเสียงในหมู่นักศึกษาวิศวกรรมยุคใหม่ โดยเฉพาะในการพัฒนาวิธีวิเคราะห์ขนาดและมุมแบบอะซิมโทติก ซึ่งตั้งชื่อตามชื่อของเขาว่า โบดีพล็อต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเฮนดริค เวด โบดี · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ แฟรนโก

มส์ เอ็ดเวิร์ด แฟรนโก (James Edward Franco) เกิดเมื่อวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1978 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ผู้กำกับ นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ และ ศิลปิน เขาเริ่มแสดงในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 ปรากฏในซีรีส์เรื่อง Freaks and Geeks และ แสดงนำในภาพยนตร์วัยรุ่นอีกหลายเรื่อง และในปี 2001 ได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ สาขานักแสดงยอดเยี่ยมจากซีรีส์เรื่อง James Dean จนเป็นที่รู้จักในต้นคริสต์ทศวรรษ 2000 บทบาทแฮร์รี ออสบอร์น ในภาพยนตร์เรื่องสไปเดอร์แมน ในปี 2005 เขาแสดงในภาพยนตร์สงครามเรื่อง The Great Raid ในบทโรเบิร์ต พรินซ์ ในปี 2006 แฟรนโกได้แสดงนำในภาพยนตร์ฮอลลีวูด 3 เรื่อง คือ Tristan & Isolde, Annapolis และ Flyboys ในปี 2008 แฟรนโกนักแสดงในหนังตลกเรื่อง Pineapple Express ซึ่งทำให้เขาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลลูกโลกทองคำในสาขานักแสดงยอดเยี่ยมประเภทภาพยนตร์เพลงหรือภาพยนตร์ตลก เขายังรับบทเด่นในภาพยนตร์ชีวประวัติเรื่อง ฮาร์วี่ย์ มิลค์ ผู้ชายฉาวโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเจมส์ แฟรนโก · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ เบ็ค (นักประวัติศาสตร์ศิลป์)

มส์ เบ็ค (James Beck) (14 พฤษภาคม ค.ศ. 1930 - 26 พฤษภาคม ค.ศ. 2007) เจมส์ เบ็คเป็นศาสตราจารย์วิชาประวัติศาสตร์ศิลปะของมหาวิทยาลัยโคลัมเบียและนักประวัติศาสตร์ศิลป์คนสำคัญชาวอเมริกันผู้มีความเชี่ยวชาญในสาขายุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และเป็นนักวิจารณ์ผู้มีความคิดเห็นรุนแรงต่อโครงการเด่นๆ หลายโครงการที่เกี่ยวกับการบูรณปฏิสังขรณ์งานศิลปะ และ การบ่งงานศิลปะแก่ศิลปินคนใหม่ (re-attributions of artworks) นอกจากนั้นเบ็คก็ยังเป็นผู้ก่อตั้งองค์การผู้สังเกตการณ์ศิลปะนานาชาติ (ArtWatch International) ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีจุดประสงค์ในการรณรงค์ต่อต้านพฤติกรรมอันขาดความรับผิดชอบที่เกิดขึ้นในแวดวงศิลป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเจมส์ เบ็ค (นักประวัติศาสตร์ศิลป์) · ดูเพิ่มเติม »

เจค จิลเลินฮาล

็อบ เบนจามิน จิลเลนฮอล เกิดวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2523 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ผู้ชนะเลิศรางวัลบาฟต้า สาขาดาราสมทบชายยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. 2549 และเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่องหุบเขาเร้นรัก (Brokeback Mountain) จิลเลนฮอลเป็นบุตรชายของผู้กำกับ สตีเฟน จิลเลนฮอล และนักเขียนบทภาพยนตร์ นาโอมิ โฟเนอร์ โดยเขาเริ่มการแสดงตั้งแต่อายุ 11 ปี และเป็นที่รู้จักครั้งแรกในภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงเรื่อง Donnie Darko เขารับบทบาทเป็นวัยรุ่นผู้มีปัญหาทางจิต ในปี พ.ศ. 2547 ได้แสดงภาพยนตร์เรื่อง The Day After Tomorrow จากนั้นในปี พ.ศ. 2548 เขารับบทบาทเป็นนาวิกโยธินผู้ท้อแท้และสับสนในภาพยนตร์เรื่อง Jarhead ในปีเดียวกันรับบทบาทเป็น "คาวบอยเกย์" ทำให้มีชื่อเสียงโด่งดังจากภาพยนตร์เรื่องหุบเขาเร้นรัก จิลเลนฮอลเป็นนักกิจกรรม มีบทบาทและร่วมสนับสนุนกิจกรรมการเมืองและทางสังคมหลายครั้ง ได้ร่วมโครงการประชาสัมพันธ์การรณรงค์เลือกตั้ง "ร็อก เดอะ โหวต" (Rock the Vote) และร่วมหาเสียงสนับสนุนให้พรรคเดโมแครต ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเจค จิลเลินฮาล · ดูเพิ่มเติม »

เจนนิเฟอร์ ลี

นนิเฟอร์ มิเชลล์ ลี (Jennifer Michelle Lee; Jennifer Michelle Rebecchi เมื่อเกิดปี ค.ศ. 1971)  หรือที่รู้จักกันในชื่อ เจนนิเฟอร์ ลี เป็นชาวอเมริกัน ผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียนบทภาพยนตร์ ที่รู้จักกันดีในชื่อของผู้เขียนและผู้กำกับการ์ตูนดิสนีย์ Frozen (2013) ซึ่งทำให้เธอได้รับรางวัลออสการ์สาขา Academy Award for Best Animated Feature  ลีเป็นผู้กำกับหญิงคนแรกของ Walt Disney Animation Studios ในการผลิตฟิเจอร์ฟิล์ม  ภาพยนตร์วอลต์ดิสนีย์ และเป็นผู้อำนวยการหญิงคนแรกของภาพยนตร์ที่สร้างรายได้มากกว่า 1 พันล้านเหรียญสหรัฐจากบ็อกซ์ออฟฟ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเจนนิเฟอร์ ลี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2

้าชายอาลี เรซาที่ 2 ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:رضا پهلوی, ประสูติ 28 เมษายน ค.ศ. 1966 - 4 มกราคม ค.ศ. 2011) พระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวีและอิหร่าน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชิมิ ยางซอม

้าฟ้าหญิงชิมิ ยางซอม พระราชสมภพเมื่อวันที่ 10 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเจ้าหญิงชิมิ ยางซอม · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขากลางสมุทร

ตำแหน่งการกระจายตัวทางภูมิศาสตร์ของเทือกเขากลางสมุทรของโลก จาก USGS เทือกเขากลางสมุทร เปลือกโลกใต้มหาสมุทรเกิดขึ้นที่เทือกเขากลางสมุทร ขณะที่ธรณีภาคชั้นนอกมุดลงไปยังฐานธรณีภาคที่ร่องลึกก้นสมุทร เทือกเขากลางสมุทร (mid-oceanic ridge) คือแนวเทือกเขาใต้ทะเลโดยจะมีแนวร่องหุบที่รู้จักกันในนามของร่องแยก (rift) ที่สันของแนวเทือกเขาซึ่งเกิดขึ้นจากกระบวนการธรณีแปรสัณฐาน รูปแบบของเทือกเขากลางสมุทรนี้เป็นลักษณะที่รู้จักกันว่าเป็นแนว “ศูนย์กลางของการแยกแผ่ขยายออก” ซึ่งเป็นการแผ่ขยายออกของแผ่นเปลือกโลกใต้มหาสมุทร การยกตัวของพื้นมหาสมุทรเป็นผลเนื่องมาจากกระแสการพาความร้อน (convection currents) ซึ่งเป็นการดันตัวขึ้นมาของหินหนืดจากชั้นฐานธรณีภาคตามแนวที่อ่อนตัวของพื้นมหาสมุทรโดยการปะทุขึ้นมาในรูปของลาวา เกิดเป็นเปลือกโลกใหม่เมื่อเย็นตัวลง เทือกเขากลางสมุทรเป็นแนวขอบเขตรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกทางเทคโทนิกสองแผ่นและถือกันว่าเป็นแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว เทือกเขากลางสมุทรของโลกมีการเชื่อมต่อกันเกิดเป็นระบบแนวเทือกเขากลางสมุทรระบบหนึ่งของทุกๆมหาสมุทรทำให้ระบบเทือกเขากลางสมุทรเป็นแนวเทือกเขาที่ยาวที่สุดของโลก แนวเทือกเขาที่ยาวต่อเนื่องกันนี้รวมกันแล้วมีความยาวทั้งสิ้นถึง 80,000 กิโลเมตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเทือกเขากลางสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

เทียนทอง ทองพันชั่ง

ผศ.ดร. เทียนทอง ทองพันชั่ง ผ. เทียนทอง ทองพันชั่ง เกิดวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 ที่จังหวัดสงขลา เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาเคมี ประจำปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเทียนทอง ทองพันชั่ง · ดูเพิ่มเติม »

เดอะนิวสคูล

ูเนียนสแควร์ จตุรัสที่มักถือว่าเป็นใจกลางของมหาวิทยาลัย เดอะนิวสคูล (The New School) เป็นมหาวิทยาลัยในนครนิวยอร์ก อาคารเกือบทั้งหมดตั้งอยู่ในย่านชุมชน Greenwich Village ตั้งแต่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเดอะนิวสคูล · ดูเพิ่มเติม »

เดอะแลนซิต

อะแลนซิต (The Lancet) เป็นวารสารการแพทย์ทั่วไปรายสัปดาห์ที่ทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน ที่เก่าแก่ที่สุดและรู้จักกันดีที่สุดวารสารหนึ่ง โดยมีการกล่าวว่า เป็นวารสารการแพทย์ที่มีเกียรติมากที่สุดวารสารหนึ่งของโลก ในปี 2557 เดอะแลนซิต จัดว่ามีอิทธิพลเป็นที่สองในบรรดาวารสารการแพทย์ทั่วไป โดยมีปัจจัยกระทบที่ 45 ต่อจากวารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์ ที่มีปัจจัยกระทบที่ 56 หน้าต่างแบบแลนซิตที่โบสถ์แห่งหนึ่งในสหราชอาณาจักร น.ทอมัส เวคลีย์ ศัลยแพทย์ชาวอังกฤษ ได้จัดตั้งวารสารขึ้นในปี 2366 (ค.ศ. 1823) โดยตั้งชื่อวารสารตามเครื่องมือผ่าตัดที่เรียกว่า "lancet" (มีดปลายแหลมสองคมขนาดเล็กสำหรับผ่าตัด) และตามชื่อส่วนของสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษที่เป็นช่องหน้าต่างโค้งยอดแหลม ซึ่งหมายถึง "แสงสว่างแห่งปัญญา" หรือ "เพื่อให้แสงสว่างเข้ามา" เดอะแลนซิต พิมพ์บทความงานวิจัยดั้งเดิม บทความปริทัศน์ บทความบรรณาธิการ งานปฏิทัศน์หนังสือ การติดต่อทางจดหมาย ข่าว และรายงานเค้ส และมีสำนักพิมพ์แอ็ลเซอเฟียร์เป็นเจ้าของตั้งแต่ปี 2534 หัวหน้าบรรณาธิการคือนายริชาร์ด ฮอร์ตัน ตั้งแต่ปี 2538 วารสารมีสำนักงานบรรณาธิการในนครลอนดอน นิวยอร์ก และปักกิ่ง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเดอะแลนซิต · ดูเพิ่มเติม »

เคนเนธ แอร์โรว์

นเนธ โจเซฟ แอร์โรว์ (Kenneth Joseph Arrow; 23 สิงหาคม ค.ศ. 1921 – 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2017) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกัน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ร่วมกับจอห์น ฮิคส์ เมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเคนเนธ แอร์โรว์ · ดูเพิ่มเติม »

เนโอมี โฟเนอร์ จิลเลนฮอล

เนโอมี โฟเนอร์ จิลเลนฮอล (Naomi Foner Gyllenhaal) เกิดเมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 1946 ในนิวยอร์ก เป็นนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวอเมริกัน มีผลงานอย่างภาพยนตร์เรื่อง Running on Empty, Losing Isaiah เป็นต้น จิลเลนฮอลเรียนที่ Barnard College จากนั้นก็เข้าเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ในนิวยอร์ก เธอแต่งงานกับผู้กำกับภาพยนตร์ สตีเฟน จิลเลนฮอล ซึ่งเป็นลูกสองคนคือ แมกกี จิลเลนฮอล และเจค จิลเลนฮอล ซึ่งทั้งคู่ก็เป็นนักแสดง ส่วนสามีเก่าของเธอคือเอริก โฟเนอร์ ศาสตราจารย์ทางด้านประวัติศาสตร์มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย หมวดหมู่:นักเขียนบทภาพยนตร์.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและเนโอมี โฟเนอร์ จิลเลนฮอล · ดูเพิ่มเติม »

CU

CU, Cu หรือ cu สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยโคลัมเบียและCU · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Columbia University

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »