โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์

ดัชนี มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์

ในตัวมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ (University of California, Berkeley.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ตั้งอยู่ในเมืองเบิร์กลีย์ ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองซานฟรานซิสโก ในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ. 2411 (ค.ศ. 1868) และเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงที่สุดในบรรดากลุ่มมหาวิทยาลัยในแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มีชื่อเสียงในหลากหลายด้านเช่น ประวัติศาสตร์ วรรณกรรม วิทยาศาสตร์ รวมถึงมีการค้นพบไซโคลตรอน (cyclotron) โดย เออร์เนสต์ ลอว์เรนซ์ และมีการค้นพบธาตุเคมี 17 ธาตุใหม่ การพัฒนาอินเทอร์เน็ต การพัฒนายูนิกซ์ BSD และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ติดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในโลกลำดับที่ 4 สำหรับการจัดอันดับของ ของปี 2012 และ อันดับที่ 5 สำหรับการจัดมหาวิทยาที่มีชื่อเสียงของ ของปี 2013 สำหรับนักศึกษาที่อาศัยอยู่ใน California จะมีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนและค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 12,876 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี (ปี พ.ศ. 2555) ส่วนนักศึกษาปริญญาตรีที่มาจากที่อื่นจะมีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนและค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 35,754 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี (ปี พ.ศ. 2555) ในปี..

110 ความสัมพันธ์: ชาญวิทย์ เกษตรศิริบทนำวิวัฒนาการพระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)พลูโทเนียมกันต์ดนย์ อะคาซานการฟื้นเห็นเป็น 3 มิติการรับมือ (จิตวิทยา)การทดสอบเอมส์การแข่งขันบาสเกตบอลชายชิงแชมป์ดิวิชัน 1 ของ NCAAการเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจงภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมมหาวิทยาลัยชิงหฺวามหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิสมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เดวิสมานะ มหาสุวีระชัยมิชิโอะ คะกุมีแชล ฟูโกยูนิกซ์ระบบการเห็นรัฐแคลิฟอร์เนียรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริการายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริการายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญลอการิทึมวิชาญ มีนชัยนันท์วิศวกรรมชีวเวชวิษณุ เครืองามวิทยาศาสตรบัณฑิตวงแหวนของดาวเนปจูนศุภชัย ตั้งวงศ์ศานต์สกล พันธุ์ยิ้มสมพล พงศ์ไทยสมภพ อมาตยกุลสมองของอัลเบิร์ต ไอนสไตน์สมองน้อยสมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิกสวนปริศนาสหรัฐสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจสุจินต์ จินายนสจวร์ต รัสเซลล์สจวร์ต เอ อารอนสันสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์สตาร์คราฟต์สติ (จิตวิทยา)...หอดูดาวอาเรซีโบอลัน วูออตโต สเติร์นอันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาอาร์คีออปเทอริกซ์อีริก อีริกสันฮันส์ ฮอลไลน์ฮิเดะโอะ ซะซะกิผลต่อสุขภาพจากเสียงจอร์จ สมูทจอห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอปจุรี วิจิตรวาทการธีรัตถ์ รัตนเสวีทิม ดิไวน์ดามีร์ ดุกอนิชดีน ออร์นิชดนัย ทายตะคุคริส ไพน์ตแชสวัฟ มีวอชประชัย เลี่ยวไพรัตน์ประพจน์ อัศววิรุฬหการประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ตปีเตอร์ สกิลลิงปีเตอร์ นอร์วิกนภ พรชำนินัยน์ตาปีศาจนาธาน เอเดรียนแอนดรูว์ โกรฟแอนติโปรตอนแถมสุข นุ่มนนท์แดเนียล คาฮ์นะมันแปซิฟิก-เทนโพสต์เกรสคิวเอลโรเบิร์ต แม็กนามาราโอเพนบีเอสดีโนวาร์ติสไบรอัน ทีไมโครโพรเซสเซอร์ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์เบิร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชันเกรซ มหาดำรงค์กุลเมลวิน แคลวินเมเว็นเวนเดล เมเรดิธ สแตนลีย์เหลก๊าเส่งเอริก ชมิดต์เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์เจ. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์เจ้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซาเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์เทา คนเลี้ยงสัตว์ บีเดอะฟอกออฟวอร์เครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่เคลดเต็มฟ้า กฤษณายุธเซลมัน แวกส์มันBerkeley Open Infrastructure for Network ComputingSETI@homeTHX 1138386BSD ขยายดัชนี (60 มากกว่า) »

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

ตราจารย์พิเศษ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 —) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ผู้สนใจศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยและประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 เคยเป็นอาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และชาญวิทย์ เกษตรศิริ · ดูเพิ่มเติม »

บทนำวิวัฒนาการ

"ต้นไม้บรรพชีวินวิทยาของสัตว์มีกระดูกสันหลัง" จากหนังสือ ''วิวัฒนาการมนุษย์'' ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5 (ลอนดอน, 1910) ของเฮเกิล (Ernst Haeckel) ประวัติวิวัฒนาการของสปีชีส์ต่าง ๆ สามารถจัดเป็นรูปต้นไม้วิวัฒนาการชาติพันธุ์ โดยมีสาขามากมายงอกออกจากลำต้นเดียวกัน วิวัฒนาการ (evolution) เป็นการเปลี่ยนแปลงในสรรพชีวิตตลอดหลายรุ่น และศาสตร์ชีววิทยาวิวัฒนาการ (evolutionary biology) เป็นศึกษาว่าเกิดขึ้นอย่างไร ประชากรสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาผ่านการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมซึ่งเข้ากับการเปลี่ยนแปลงลักษณะปรากฏของสิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมรวมทั้งการกลายพันธุ์ ซึ่งเกิดจากความเสียหายของดีเอ็นเอหรือข้อผิดพลาดในการถ่ายแบบดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต เมื่อความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรเปลี่ยนไปอย่างไม่เจาะจงแบบสุ่มเป็นเวลาหลายรุ่นเข้า การคัดเลือกโดยธรรมชาติจะเป็นเหตุให้พบลักษณะสืบสายพันธุ์มากขึ้นหรือน้อยลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป ขึ้นอยู่กับความสำเร็จทางการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเช่นนั้น โลกมีอายุประมาณ 4,540 ล้านปี และหลักฐานสิ่งมีชีวิตเก่าแก่ที่สุดโดยไม่มีผู้คัดค้านสืบอายุได้อย่างน้อย ระหว่างมหายุคอีโออาร์เคียนหลังเปลือกโลกเริ่มแข็งตัว หลังจากบรมยุคเฮเดียนก่อนหน้าที่โลกยังหลอมละลาย มีซากดึกดำบรรพ์แบบเสื่อจุลินทรีย์ (microbial mat) ในหินทรายอายุ ที่พบในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย หลักฐานรูปธรรมของชีวิตต้น ๆ อื่นรวมแกรไฟต์ซึ่งเป็นสสารชีวภาพในหินชั้นกึ่งหินแปร (metasedimentary rocks) อายุ ที่พบในกรีนแลนด์ตะวันตก และในปี 2558 มีการพบ "ซากชีวิตชีวนะ (biotic life)" ในหินอายุ ในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย Early edition, published online before print.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และบทนำวิวัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)

ตราจารย์ พระเจริญวิศวกรรม ศาสตราจารย์กิตติคุณ พระเจริญวิศวกรรม (26 เมษายน พ.ศ. 2438 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) มีนามเดิมว่า เจริญ เชนะกุล ปรมาจารย์หรือครูใหญ่ของเหล่าช่างทั้งปวง อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐานให้แก่วงการวิศวกรรมศาสตร์ของไทย และ บิดาแห่งการวิศวกรรมไทย นอกจากนั้นยังเป็น นายกคณะฟุตบอลแห่งสยาม คนที่ 5.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และพระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พลูโทเนียม

ลูโทเนียม (Plutonium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 94 และสัญลักษณ์ คือ Pu เป็นธาตุโลหะกัมมันตรังสี เป็นโลหะแอกทิไนด์สีขาวเงิน และจะมัวลงเมื่อสัมผัสอากาศซึ่งเกิดจากการรวมตัวกับออกซิเจน โดยปกติ พลูโทเนียมมี 6 ไอโซโทป และ 4 สถานะออกซิเดชัน สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับคาร์บอน ฮาโลเจน ไนโตรเจน และซิลิกอน เมื่อสัมผัสอากาศชื้นจะสร้างสารประกอบออกไซด์และไฮไดรด์มากกว่า 70 % ของปริมาตรซึ่งจะแตกออกเป็นผงแป้งที่สามารถติดไฟได้เอง พลูโทเนียมมีพิษที่เกิดจากการแผ่รังสีที่จะสะสมที่ไขกระดูก นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ทำให้การจัดการพลูโทเนียมเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ไอโซโทปที่สำคัญของพลูโทเนียม คือ พลูโทเนียม-239 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 24,100 ปี พลูโทเนียม-239 และ 241 เป็นวัสดุฟิสไซล์ ซึ่งหมายความว่านิวเคลียสของอะตอมสามารถแตกตัว โดยการชนของนิวตรอนความร้อนเคลื่อนที่ช้า ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงาน รังสีแกมมา และนิวตรอนจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ได้ นำไปสู่การประยุกต์สร้างอาวุธนิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทปที่เสถียรที่สุด คือ พลูโทเนียม-244 ซึ่งมีครึ่งชีวิตประมาณ 80 ล้านปี นานพอที่จะสามารถพบได้ในธรรมชาติ พลูโทเนียม-238 มีครึ่งชีวิต 88 ปี และปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา มันเป็นแหล่งความร้อนของเครื่องผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี ซึ่งใช้ในการให้พลังงานในยานอวกาศ พลูโทเนียม-240 มีอัตราของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมด้วยตัวเองสูง เป็นการเพิ่มอัตรานิวตรอนพื้นฐานของตัวอย่างที่มีไอโซโทปนี้ประกอบอยู่ด้วย การมีอยู่ของ Pu-240 เป็นข้อจำกัดสมรรถภาพของพลูโทเนียมที่ใช้ในอาวุธหรือแหล่งพลังงานและเป็นตัวกำหนดเกรดของพลูโทเนียม: อาวุธ (19%) ธาตุลำดับที่ 94 สังเคราะห์ได้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และพลูโทเนียม · ดูเพิ่มเติม »

กันต์ดนย์ อะคาซาน

กันต์ดนย์ อะคาซาน (เกิด 7 ธันวาคม พ.ศ. 2533) ชื่อเล่น แฟร์ เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-โมร็อกโก มีผลงานการแสดงละครเรื่องแรก เมียไม่ใช่เมีย ออกอากาศทางช่อง 5 รับบทเป็น หมอสกนธ์ ต่อมาเขาหมดสัญญากับสังกัดเอ็กแซ็กท์จึงผันตัวเป็นนักแสดงอิสระ จนในปี 2558 เขาเซ็นสัญญาเป็นนักแสดงในสังกัดของช่อง 3 และรับบทเป็นพระเอกครั้งแรกในละครเรื่อง ปะการังสีดำ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และกันต์ดนย์ อะคาซาน · ดูเพิ่มเติม »

การฟื้นเห็นเป็น 3 มิติ

การปิดตาอาจจะช่วยทำให้ตาที่ปิดแข็งแรงดีขึ้น แต่ก็ไม่ช่วยทำให้เห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาและเห็นเป็น 3 มิติ แต่บางครั้งก็อาจรักษาได้ด้วยวิธีอื่น ๆ การฟื้นเห็นเป็น 3 มิติ (Stereopsis recovery, recovery from stereoblindness) เป็นปรากฏการณ์ที่ผู้บอดไม่เห็นเป็น 3 มิติจะได้คืนสมรรถภาพการเห็นเป็น 3 มิติอย่างเต็มตัวหรือโดยส่วนหนึ่ง การรักษาคนไข้ที่มองไม่เห็นเป็น 3 มิติมีเป้าหมายให้ได้คืนสมรรถภาพนี้ให้มากที่สุด เป็นเป้าหมายที่มีในการแพทย์มานานแล้ว การรักษาจะมุ่งให้เห็นเป็น 3 มิติในทั้งเด็กเล็ก ๆ และคนไข้ที่เคยเห็นเป็น 3 มิติผู้ต่อมาเสียสมรรถภาพไปเนื่องจากภาวะโรค โดยเปรียบเทียบกันแล้ว การรักษาโดยจุดมุ่งหมายนี้ จะไม่ใช้กับคนไข้ที่พลาดระยะการเรียนรู้การเห็นเป็น 3 มิติในช่วงต้น ๆ ของชีวิตไป เพราะการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาและการเห็นเป็น 3 มิติ ดั้งเดิมเชื่อว่า เป็นไปไม่ได้ยกเว้นจะได้สมรรถภาพนี้ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ (critical period) คือในช่วงวัยทารกและวัยเด็กต้น ๆ แต่สมมติฐานนี้ก็ไม่ได้สอบสวนและได้กลายเป็นรากฐานของวิธีการรรักษาโรคการเห็นด้วยสองตาเป็นทศวรรษ ๆ จนกระทั่งเร็ว ๆ นี้ที่เกิดข้อสงสัย เพราะงานศึกษาเรื่องการฟื้นเห็นเป็น 3 มิติที่ได้ปรากฏในวารสารวิทยาศาสตร์และได้ปรากฏต่อสาธารณชนต่อมาว่า นักประสาทวิทยาศาสตร์ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และการฟื้นเห็นเป็น 3 มิติ · ดูเพิ่มเติม »

การรับมือ (จิตวิทยา)

ในสาขาจิตวิทยา การรับมือ (coping) เป็นการตั้งใจพยายามแก้ปัญหาส่วนตัวหรือกับคนอื่น แล้วเอาชนะ ลด หรืออดทนความเครียดหรือความรู้สึกขัดใจของตน ประสิทธิผลของความพยายามขึ้นอยู่กับรูปแบบความเครียดหรือความขัดแย้ง บุคคลอื่น และสถานการณ์อื่น ๆ กลไกการรับมือทางใจเรียกอย่างสามัญในภาษาอังกฤษว่า coping strategies (กลยุทธ์การรับมือ) หรือ coping skills (ทักษะการรับมือ) เป็นสิ่งที่ไม่รวมกลยุทธ์ใต้สำนึก (เช่น กลไกป้องกันตน) คำทั่วไปหมายถึงกลยุทธ์รับมือที่เป็นการปรับตัวที่ดี (adaptive) หรือว่าเป็นแบบสร้างสรรค์ ซึ่งก็คือ ช่วยลดความเครียด โดยกลยุทธ์บางอย่างพิจารณาว่า เป็นการปรับตัวผิด (maladaptive) คือ เพิ่มความเครียด การรับมือแบบผิด ๆ อาจจะเรียกได้ว่า เป็นการไม่รับมือ นอกจากนั้นแล้ว เป็นคำที่หมายถึงปฏิกิริยา คือเป็นการรับมือตอบสนองต่อตัวสร้างความเครียด (stressor) เทียบกับการรับมือล่วงหน้า (proactive coping) ซึ่งเป็นการกระทำเพื่อดักตัวก่อความเครียดที่จะเกิดในอนาคต การรับมือส่วนหนึ่งควบคุมโดยบุคลิกภาพคือลักษณะที่เป็นนิสัย แต่ส่วนหนึ่งก็คุมโดยสถานการณ์ทางสังคม โดยเฉพาะธรรมชาติของสิ่งแวดล้อมที่ก่อความเครี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และการรับมือ (จิตวิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

การทดสอบเอมส์

การทดสอบเอมส์ (Ames test) เป็นวิธีการทดสอบฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ซึ่งถูกค้นพบโดย ศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และการทดสอบเอมส์ · ดูเพิ่มเติม »

การแข่งขันบาสเกตบอลชายชิงแชมป์ดิวิชัน 1 ของ NCAA

การแข่งขันบาสเกตบอลชิงแชมป์ดิวิชัน 1 ของ NCAA (อังกฤษ: NCAA Men's Division I Basketball Championship) หรือนิยมเรียกโดยทั่วไปว่า มาร์ชแมดเนสส์ (March Madness) หรือ บิ๊กแดนซ์ (Big Dance) เป็นการแข่งขันที่จัดเป็นประจำทุกปีราวเดือนมีนาคม โดยนำทีมบาสเกตบอลมหาวิทยาลัยในดิวิชัน 1 สังกัด NCAA ในสหรัฐอเมริกา มาแข่งเพื่อหาแชมป์ในแต่ละปี เริ่มจัดแข่งขันครั้งแรก..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และการแข่งขันบาสเกตบอลชายชิงแชมป์ดิวิชัน 1 ของ NCAA · ดูเพิ่มเติม »

การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง

ร์วินให้เป็น '''ทฤษฎีวิวัฒนาการสังเคราะห์แบบปัจจุบัน''' (Modern evolutionary synthesis) การเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง (Genetic drift, allelic drift, Sewall Wright effect) เป็นการเปลี่ยนความถี่รูปแบบยีน (คือ อัลลีล) ในกลุ่มประชากรเพราะการชักตัวอย่างอัลลีลแบบสุ่มของสิ่งมีชีวิต คือ อัลลีลที่พบในสิ่งมีชีวิตรุ่นลูก จะเป็นตัวอย่างของอัลลีลที่ชักมาจากพ่อแม่ โดยความสุ่มจะมีบทบาทกำหนดว่า สิ่งมีชีวิตรุ่นลูกนั้น ๆ จะรอดชีวิตแล้วสืบพันธุ์ต่อไปหรือไม่ ส่วน ความถี่อัลลีล (allele frequency) ก็คืออัตราที่ยีนหนึ่ง ๆ จะมีรูปแบบเดียวกันในกลุ่มประชากร การเปลี่ยนความถี่ยีนอาจทำให้อัลลีลหายไปโดยสิ้นเชิงและลดความแตกต่างของยีน (genetic variation) เมื่ออัลลีลมีก๊อปปี้น้อย ผลของการเปลี่ยนความถี่จะมีกำลังกว่า และเมื่อมีก๊อปปี้มาก ผลก็จะน้อยกว่า ในคริสต์ทศวรรษที่ 20 มีการอภิปรายอย่างจริงจังว่า การคัดเลือกโดยธรรมชาติสำคัญเทียบกับกระบวนการที่เป็นกลาง ๆ รวมทั้งการเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจงแค่ไหน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และการเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม

ูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม (environmental geography), ภูมิศาสตร์มนุษย์และสิ่งแวดล้อม (human–environment geography) หรือ ภูมิศาสตร์บูรณาการ (integrated geography, integrative geography) เป็นสาขาหนึ่งของภูมิศาสตร์ว่าด้วยการอธิบายถึงข้อเท็จจริงและการตีความลักษณะของการมีปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ระหว่างปัจเจกบุคคลหรือสังคมมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยชิงหฺวา

หอประชุมใหญ่ (Grand Auditorium) สร้างในปี ค.ศ.1917 เป็นสถาปัตยกรรมแบบอเมริกันแบบ Jeffersonian architectural อันเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญและเด่นที่สุดในบริเวณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยชิงหฺวา (Tsinghua University) เป็นมหาวิทยาลัยในสาธารณรัฐประชาชนจีน ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และมหาวิทยาลัยชิงหฺวา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด

ในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University อ่านว่า สแตนเฟิร์ด) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มหาวิทยาลัยลีแลนด์สแตนฟอร์ดจูเนียร์ (Leland Stanford Junior University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่เมือง สแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโกประมาณ 60 กม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย

The seal of the University of California 1868 ที่ตั้งของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ทั้ง 10 แห่งในรัฐแคลิฟอร์เนีย มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย (University of California) เป็นระบบของกลุ่มมหาวิทยาลัย 10 แห่งในรัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งมีนักศึกษาทั้งหมด 191,000 คน และศิษย์เก่าในปัจจุบันมากกว่า 1,340,000 คน โดยมหาวิทยาลัยที่ตั้งแห่งแรกคือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2411 และล่าสุดคือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เมอร์เซด ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส

ตึกคณะนิติศาสตร์ของยูซีแอลเอ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส (ยูซีแอลเอ หรือ UCLA) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐที่ทำการวิจัยตั้งอยู่ในเขตเวสต์วูต ของมหานครลอสแอนเจลิส แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยนี้เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดเป็นอันดับสองในระบบมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ยูซีแอลเอเป็นส่วนหนึ่งของการให้การศึกษาเป็นระบบของรัฐบาลและถือเป็นมหาวิทยาลัยระบบไอวีลีคของรัฐบาล มหาวิทยาลัยเปิดสอนให้แก่นักเรียนในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาจำนวนกว่า 337 หลักสูตรในสาขาวิชาที่หลากหลายVazquez, Ricardo.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์

ในตัวมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ (University of California, Berkeley.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ตั้งอยู่ในเมืองเบิร์กลีย์ ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองซานฟรานซิสโก ในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ. 2411 (ค.ศ. 1868) และเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงที่สุดในบรรดากลุ่มมหาวิทยาลัยในแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มีชื่อเสียงในหลากหลายด้านเช่น ประวัติศาสตร์ วรรณกรรม วิทยาศาสตร์ รวมถึงมีการค้นพบไซโคลตรอน (cyclotron) โดย เออร์เนสต์ ลอว์เรนซ์ และมีการค้นพบธาตุเคมี 17 ธาตุใหม่ การพัฒนาอินเทอร์เน็ต การพัฒนายูนิกซ์ BSD และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ติดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในโลกลำดับที่ 4 สำหรับการจัดอันดับของ ของปี 2012 และ อันดับที่ 5 สำหรับการจัดมหาวิทยาที่มีชื่อเสียงของ ของปี 2013 สำหรับนักศึกษาที่อาศัยอยู่ใน California จะมีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนและค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 12,876 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี (ปี พ.ศ. 2555) ส่วนนักศึกษาปริญญาตรีที่มาจากที่อื่นจะมีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนและค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 35,754 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี (ปี พ.ศ. 2555) ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เดวิส

alt.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เดวิส · ดูเพิ่มเติม »

มานะ มหาสุวีระชัย

มานะ มหาสุวีระชัย อดีตหัวหน้าพรรคแทนคุณแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2498 ที่ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ เป็นบุตรของนายประวิทย์ และนางสุชา มหาสุวีระชั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และมานะ มหาสุวีระชัย · ดูเพิ่มเติม »

มิชิโอะ คะกุ

มิชิโอะ คะกุ (เกิด 24 มกราคม ค.ศ. 1947) เป็นนักฟิสิกส์เชิงทฤษฎีลูกครึ่งญี่ปุ่น-อเมริกัน ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์สอนอยู่ที่ City College of New York เขามีผลงานที่เป็นหนังสือทางฟิสิกส์หลายเล่ม และปรากฏตัวทางวิทยุและโทรทัศน์บ่อยครั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา อีกทั้งเขายังได้เขียนบล็อกและบทความออนไลน์อีกด้วย ในอดีตเขาได้เขียนหนังสือทางฟิสิกส์และสร้างชื่อเสียงให้เขาเอาไว้ 2 เล่ม คือ Hyperspace ซึ่งเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเขาในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยได้รับการโหวตเลือกจาก The New York Times ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และมิชิโอะ คะกุ · ดูเพิ่มเติม »

มีแชล ฟูโก

มีแชล ฟูโก (Michel Foucault,; 15 ตุลาคม ค.ศ. 1926 – 25 มิถุนายน ค.ศ. 1984) เป็นนักปรัชญา นักประวัติศาสตร์ความคิด นักทฤษฎีสังคม นักนิรุกติศาสตร์ และนักวิจารณ์วรรณกรรมชาวฝรั่งเศส เคยดำรงตำแหน่ง "ศาสตราจารย์ทางประวัติศาสตร์ของระบบความคิด" (Professor of the History of Systems of Thought) ที่วิทยาลัยฝรั่งเศส (Collège de France) และเคยสอนที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ สหรัฐอเมริกา ในฐานะนักทฤษฎีสังคม ฟูโกให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจกับความรู้ รวมถึงวิธีการที่สถาบันทางสังคมต่างๆ ใช้อำนาจและความรู้เป็นเครื่องมือในการควบคุมผู้คนในสังคม ฟูโกมักถูกมองว่าเป็นตัวแทนของญาณวิทยาแบบหลังโครงสร้างนิยมและเป็นตัวแทนของนักคิดยุคหลังสมัยใหม่ แต่ตัวเขาเองปฏิเสธเรื่องนี้มาโดยตลอด ฟูโกเลือกจะอธิบายว่าความคิดของเขาเป็นประวัติศาสตร์เชิงวิพากษ์ต่อความเป็นสมัยใหม่มากกว่า ความคิดของฟูโกมีอิทธิพลอย่างยิ่งทั้งในทางวิชาการและในทางการเคลื่อนไหวทางสังคม เช่น ในขบวนการหลังอนาธิปไต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และมีแชล ฟูโก · ดูเพิ่มเติม »

ยูนิกซ์

ูนิกซ์ (Unix แต่ชื่อตามเครื่องหมายการค้าคือ UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบหลายงาน หลายผู้ใช้ ที่เริ่มพัฒนาโดยกลุ่มพนักงานของห้องปฏิบัติการ AT&T Bell Labs โดยกลุ่มนักพัฒนาที่เป็นที่รู้จัก คือ Ken Thompson, Dennis Ritchie และ Douglas McIlroy.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และยูนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการเห็น

ังไม่มี เผื่ออนาคต mammalian visual systemsEye -refined.svg||thumb|200px|ระบบการเห็นประกอบด้วตา และ วิถีประสาทที่เชื่อมตากับpostscript.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และระบบการเห็น · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแคลิฟอร์เนีย

รัฐแคลิฟอร์เนีย (California,, แคลึฟอรฺนยะ) เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาและมีพื้นที่ใหญ่สุดเป็นอันดับสาม ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตก (ติดมหาสมุทรแปซิฟิก) ของสหรัฐอเมริกา มีชายแดนติดกับรัฐแอริโซนา รัฐเนวาดาและรัฐออริกอน และมีชายแดนระหว่างประเทศติดต่อกับรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียของประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงรัฐ คือ แซคราเมนโต ลอสแอนเจลิสเป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐแคลิฟอร์เนีย และเป็นนครใหญ่สุดอันดับสองของประเทศรองจากนครนิวยอร์ก รัฐแคลิฟอร์เนียยังมีเคาน์ตีที่มีประชากรที่สุดของประเทศ คือ ลอสแอนเจลิสเคาน์ตี และมีพื้นที่มากที่สุด คือ แซนเบอร์นาร์ดีโนเคาน์ตี ภูมิศาสตร์หลากหลายของรัฐแคลิฟอร์เนียมีตั้งแต่ชายฝั่งแปซิฟิกทางทิศตะวันตกถึงเทือกเขาเซียร์ราเนวาดาทางทิศตะวันออก และตั้งแต่ป่าเรดวูด–สนดักลาสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนถึงทะเลทรายโมฮาวีทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เซ็นทรัลแวลลี พื้นที่เกษตรกรรมหลัก กินพื้นที่ตอนกลางส่วนใหญ่ของรัฐ แม้รัฐแคลิฟอร์เนียจะขึ้นชื่อด้านภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนอบอุ่น แต่ขนาดที่ใหญ่หมายความว่าภูมิอากาศมีหลากหลายตั้งแต่ป่าฝนเขตอบอุ่นชื้นทางทิศเหนือ ถึงทะเลทรายแห้งแล้งด้านใน ตลอดจนแบบแอลป์หิมะในเขตภูเขา ทีแรกพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนียปัจจุบันมีชนเผ่าอเมริกันพื้นเมืองตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนมีการสำรวจของชาวยุโรปจำนวนหนึ่งระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ต่อมาจักรวรรดิสเปนอ้างสิทธิ์เป็นส่วนหนึ่งของอัลตาแคลิฟอร์เนียในอาณานิคมนิวสเปน พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นส่วนหนึ่งของเม็กซิโกใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และรัฐแคลิฟอร์เนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันวิจัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ โดยจำนวนผู้รับรวมถึง นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์ นักวิจัยของสถาบันนั้น โดยนับทั้งตอนก่อนและหลังที่จะได้รับ ข้อมูลด้านล่างเป็นข้อมูลปี พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และรายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่เปิดสอนวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ในสหรัฐอเมริกามี 199 มหาวิทยาลัย (ข้อมูล พ.ศ. 2549) ที่มีการเปิดสอนคณะวิศวกรรมศาสตร์ในระดับปริญญาตรี โท เอก โดยในแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีภาควิชาย่อยแตกต่างกันไป อาจขึ้นอยู่กับลักษณะทางภูมิศาสตร์ เช่นมหาวิทยาลัยในแถบฝั่งแปซิฟิก จะมีคณะวิศวกรรมมหาสมุทร ในขณะที่มหาวิทยาลัยในบริเวณตอนกลางของประเทศจะเน้นทางด้านอื่น ซึ่งรองรับชุมชน คณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐได้มีการจัดอันดับ โดยนิตยสาร ยูเอสนิวส์ ข้อมูลปี พ.ศ. 2549 การจัดอันดับจะคิดคะแนนรวมจาก สัมภาษณ์อาจารย์ที่มีชื่อเสียง 40% ผลงานวิจัยดีเด่น 25% จำนวนอาจารย์คณะ 25% และคะแนนสอบเข้า (GRE) ของผู้เข้าเรียน 10% อันดับของยูเอสนิวส์ ในส่วนของวิศวกรรมศาสตร์ ควบคุม 184 มหาวิทยาลัย และมักจะได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ ว่าคะแนนอันดับต่ำกว่า 20 มีคะแนนรีวิวใกล้เคียงกัน แต่อันดับต่างกันมาก เปรียบเทียบ MIT และ UIUC คะแนนต่างกัน 18 คะแนน อันดับมหาวิทยาลัยต่างกัน 4 อันดับ ขณะที่ มิชิแกนสเตต แตกต่างจาก ฮาร์วาร์ด ประมาณ 30 อันดับ ที่คะแนนต่างเท่ากัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่เปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ จัดอันดับโดยนิตยสาร ดีไซน์อินเทลลิเจนซ์ ข้อมูลปี ค.ศ. 2005.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และรายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และรายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

ลอการิทึม

ีม่วงคือฐาน 1.7 กราฟทุกเส้นผ่านจุด (1, 0) เนื่องจากจำนวนใด ๆ ที่ไม่เป็นศูนย์ เมื่อยกกำลัง 0 แล้วได้ 1 และกราฟทุกเส้นผ่านจุด (''b'', 1) สำหรับฐาน ''b'' เพราะว่าจำนวนใด ๆ ยกกำลัง 1 แล้วได้ค่าเดิม เส้นโค้งทางซ้ายเข้าใกล้แกน ''y'' แต่ไม่ตัดกับแกน ''y'' เพราะมีภาวะเอกฐานอยู่ที่ ''x''.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และลอการิทึม · ดูเพิ่มเติม »

วิชาญ มีนชัยนันท์

นายวิชาญ มีนชัยนาน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และวิชาญ มีนชัยนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมชีวเวช

วิศวกรรมชีวการแพทย์ หรือ วิศวกรรมชีวเวช (Biomedical Engineering) หรือ วิศวกรรมการแพทย์ (Medical Engineering) เป็นสาขาวิชที่นำเอาความรู้ทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ มาประยุกต์ใช้ร่วมกัน เพื่อออกแบบ สร้างหรือพัฒนาซอฟต์แวร์ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐาน สามารถใช้งานได้จริง รวมถึงการศึกษาค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่มีความซับซ้อน และต้องการขั้นตอนการผลิตที่มีมาตรฐาน และ ประสิทธิภาพสูง ตัวอย่างที่เป็นที่รู้จักกันแพร่หลายของงานด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ ได้แก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และวิศวกรรมชีวเวช · ดูเพิ่มเติม »

วิษณุ เครืองาม

ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, ที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง, นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์,กรรมการในคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ประธานกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วนว่าเป็นผู้ที่สามารถอธิบายกฎหมายได้เข้าใจที่สุด จากการได้รับการยอมรับจากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และดร.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคู่ขัดแย้งทางการเมือง เขาเป็นผู้มีผลงานทางกฎหมายจำนวนมาก คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์มติชน คอลัมน์ "เดินดินกินข้าวแกง" และหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คอลัมน์ "จันทร์สนุกศุกร์สนาน" และคอลัมน์พิเศษเต็มหน้า 4 ทุกวันอังคาร ตลอดจนจัดรายการโทรทัศน์ "อาทิตย์สโมสร" ทางสถานีโทรทัศน์ทีเอ็นเอ็น 24.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และวิษณุ เครืองาม · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และวิทยาศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

วงแหวนของดาวเนปจูน

วงแหวนแต่ละวงแหวนของดาวเนปจูน วงแหวนของดาวเนปจูน (Rings of Neptune) มีลักษณะมีความสว่างไม่มากนัก เพราะประกอบด้วยอนุภาคที่เป็นผงฝุ่นขนาด 1 ไมโครเมตร จนถึงขนาดประมาณ 10 เมตร เช่นเดียวกับวงแหวนของดาวพฤหัสบดีและดาวยูเรนัส ซึ่งนักดาราศาสตร์สำรวจพบระบบวงแหวนของดาวเนปจูนเป็นครั้งแรกในช่วงทศวรรษที่ 60 และในปี ค.ศ. 1989 ยานวอยเอเจอร์ 2 ได้บินผ่านเข้าไปใกล้ดาวเนปจูนและบันทึกภาพส่งกลับมายังโลก ทำให้นักดาราศาสตร์พบว่าดาวเนปจูนมีวงแหวนล้อมรอบด้วยกันถึง 5 วง วงแหวนของดาวเนปจูน ได้แก่ วงแหวนแอดัมส์, วงแหวนอราโก, วงแหวนแลสเซลล์, วงแหวนเลอ แวรีเย และวงแหวนกัลเลอ นอกจากนั้นยังมีวงแหวนที่จางมาก ๆ และยังไม่มีชื่ออีก 1 วง ที่อยู่ในวงโคจรเดียวกันกับดวงจันทร์แกลาเทีย และยังมีดวงจันทร์บริวารของดาวเนปจูนอีก 3 ดวง คือ เนแอด, ทาแลสซา และดิสพีนา ที่มีวงโคจรอยู่ภายในระบบวงแหวนเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และวงแหวนของดาวเนปจูน · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย ตั้งวงศ์ศานต์

ตราจารย์เกียรติคุณ ศุภชัย ตั้งวงศ์ศานต์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ อดีตประธานกรรมการบริหาร สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ SIPA อดีตผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) และอดีตรองอธิการบดีฝ่ายสิ่งเอื้ออำนวยทางวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ศุภชัย ตั้งวงศ์ศานต์ หรือ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ศุภชัย ตั้งวงศ์ศานต์ เคยได้รับพระราชทานเหรียญทอง และรางวัลทุนภูมิพล สำหรับการสอบได้คะแนนรวมเป็นที่ 1 ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และศุภชัย ตั้งวงศ์ศานต์ · ดูเพิ่มเติม »

สกล พันธุ์ยิ้ม

ตราจารย์ สกล พันธุ์ยิ้ม (31 มีนาคม 2486 -) เกิดที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานวิจัยดีเด่นในสาขาชีวเคมี อณูชีววิทยา พันธุศาสตร์ และพันธุวิศวกรรม เป็นเจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย สาขาชีวเคมี ประจำปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสกล พันธุ์ยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

สมพล พงศ์ไทย

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์สมพล พงศ์ไทย (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 —) เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา ซึ่งได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสมพล พงศ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ อมาตยกุล

ร.สมภพ อมาตยกุล กรรมการในคณะกรรมการกำหนดเป้าหมายและนโยบายกำลังคนภาครัฐในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานคณะกรรมการรางวัลคุณภาพแห่งชาติ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ กรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสมภพ อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมองของอัลเบิร์ต ไอนสไตน์

อัลเบิร์ต ไอนสไตน์ สมองของนักฟิสิกส์ อัลเบิร์ต ไอนสไตน์ถูกวิจัยและคาดคะเนอย่างมาก สมองของไอนสไตน์ถูกนำออกมาภายในเจ็ดชั่วโมงครึ่งหลังการเสียชีวิตของเขา ด้วยเขามีชื่อเสียงเป็นอัจฉริยบุคคลชั้นนำคนหนึ่งแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 สมองของเขาจึงได้รับความสนใจ มีการนำลักษณะต่าง ๆ ในสมองทั้งที่ปกติและแปลกไปใช้สนับสนุนความคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประสาทกายวิภาคศาสตร์กับความฉลาดทั่วไปและทางคณิตศาสตร์ การศึกษาทางวิทยาศาสตร์เสนอว่าบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการพูดและภาษานั้นเล็กกว่า ขณะที่บริเวณเกี่ยวกับจำนวนและการประมวลผลเชิงปริภูมินั้นใหญ่กว่า การศึกษาอื่น ๆ พบว่าสมองของไอนสไตน์มีจำนวนเซลล์เกลียมากกว่าปกต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสมองของอัลเบิร์ต ไอนสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมองน้อย

ซีรีเบลลัม หรือ สมองน้อย (Cerebellum) เป็นบริเวณของสมองที่ทำหน้าที่สำคัญในการประมวลการรับรู้และการควบคุมการสั่งการ เนื่องจากซีรีเบลลัมทำหน้าที่ประสานการควบคุมการสั่งการ จึงมีวิถีประสาทเชื่อมระหว่างซีรีเบลลัมและคอร์เท็กซ์สั่งการของซีรีบรัม (ซึ่งจะส่งข้อมูลไปยังกล้ามเนื้อเพื่อเคลื่อนไหว) และลำเส้นใยประสาทสไปโนซีรีเบลลาร์ (spinocerebellar tract) (ซึ่งทำหน้าที่ส่งข้อมูลการรับรู้อากัปกิริยาจากไขสันหลังกลับมายังซีรีเบลลัม) ซีรีเบลลัมทำหน้าที่ประมวลวิถีประสาทต่างๆ โดยใช้ข้อมูลเกี่ยวกับตำแหน่งของร่างกายและการเคลื่อนไหวละเอียดที่ส่งกลับเข้ามา รอยโรคที่เกิดในซีรีเบลลัมไม่ก่อให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือทำให้เกิดอัมพาต แต่จะเกิดความผิดปกติในการส่งข้อมูลกลับซึ่งทำให้เกิดความผิดปกติในการเคลื่อนไหวละเอียด, การรักษาสมดุล, ท่าทางและตำแหน่งของร่างกาย, และการเรียนรู้การสั่งการ การสังเกตของนักสรีรวิทยาในช่วงศตวรรษที่ 18 บ่งชี้ว่าผู้ป่วยที่เกิดความเสียหายที่ซีรีเบลลัมจะมีปัญหาในการประสานการสั่งการ (motor coordination) และการเคลื่อนไหว การวิจัยเกี่ยวกับหน้าที่ของซีรีเบลลัมในช่วงต้นถึงกลางศตวรรษที่ 19 จะศึกษาจากรอยโรคและการลองตัดซีรีเบลลัมในสมองของสัตว์ทดลอง นักวิจัยทางสรีรวิทยาได้บันทึกว่ารอยโรคดังกล่าวทำให้สัตว์มีการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ, ท่าเดินเงอะงะ, และกล้ามเนื้ออ่อนแรง จากการสังเกตในช่วงเวลานั้นทำให้เกิดข้อสรุปว่าซีรีเบลลัมเป็นโครงสร้างเกี่ยวกับการควบคุมการสั่งการ อย่างไรก็ตามในการวิจัยสมัยใหม่แสดงว่าซีรีเบลลัมมีหน้าที่ที่หลากหลายกว่าไม่ว่าจะเป็นหน้าที่เกี่ยวกับกระบวนการคิด (ประชาน; cognition), เช่น ความใส่ใจ, และกระบวนการทางภาษา, ดนตรี, และสิ่งกระตุ้นชั่วคราวอื่น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสมองน้อย · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก

มาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก (Association of Pacific Rim Universities หรือ APRU) ก่อตั้งเมือปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก · ดูเพิ่มเติม »

สวนปริศนา

วนปริศนา หรือ สวนลับ หรือ ในสวนศรี หรือ ในสวนลับ (The Secret Garden) เป็นวรรณกรรมเด็กของนางฟรานเซส ฮอดจ์สัน เบอร์เนทท์ ที่เดิมพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารเริ่มตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสวนปริศนา · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ

ริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ (10 ธันวาคม พ.ศ. 2497-) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตรและเลขาธิการพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ · ดูเพิ่มเติม »

สุจินต์ จินายน

ตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน ศาสตราจารย์ สุจินต์ จินายน (12 เมษายน พ.ศ. 2478 -) ศาสตราจารย์สาขาพันธุศาสตร์ และการปรับปรุงพันธุ์พืช ได้รับการคัดเลือกให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์ และชีววิทยา เมื่อปี พ.ศ. 2533 เคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสุจินต์ จินายน · ดูเพิ่มเติม »

สจวร์ต รัสเซลล์

วร์ต โจนาธาน รัสเซลล์ เป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ มีชื่อเสียงทางด้านปัญญาประดิษฐ์ รัสเซลล์เกิดที่เมืองพอร์ธสมัธ ประเทศอังกฤษ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับหนึ่งสาขาฟิสิกส์ ที่มหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ดในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสจวร์ต รัสเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

สจวร์ต เอ อารอนสัน

วร์ต เอ อารอนสัน (Stuart A. Aaronson) เป็นทั้งผู้เขียน และนักชีววิทยาโรคมะเร็งชาวอเมริกัน ที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล เขาเป็นผู้ประพันธ์ผลงานสิ่งพิมพ์กว่า 500 ชุด และถือครองสิทธิบัตรกว่า 50 รายการ รวมถึงดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านโรคเนื้องอกเจน บี และแจ็ค อาร์ อารอน และเป็นประธานวิทยาโรคมะเร็ง ที่โรงพยาบาลเมานต์ซีนาย ในนครนิวยอร์กจนถึงเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสจวร์ต เอ อารอนสัน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์คราฟต์

ตาร์คราฟต์ เป็นวิดีโอเกมประเภทวางแผนเรียลไทม์และบันเทิงคดีวิทยาศาสตร์การทหาร พัฒนาและจัดจำหน่ายโดยบลิซซาร์ด เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ออกบนระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2541 ต่อมา เกมขยายเป็นแฟรนไชส์ และเป็นเกมแรกของซีรีส์''สตาร์คราฟต์'' รุ่นแมคโอเอสออกในเดือนมีนาคม 2542 และรุ่นดัดแปลงนินเทนโด 64 ซึ่งพัฒนาร่วมกับแมสมีเดีย ออกในวันที่ 13 มิถุนายน 2543 การพัฒนาเกมนี้เริ่มขึ้นไม่นานหลังวอร์คราฟต์ 2: ไทด์สออฟดาร์กเนส ออกในปี 2538 สตาร์คราฟต์เปิดตัวในงานอี3 ปี 2539 ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบน้อยกว่าวอร์คราฟต์ 2 ฉะนั้น โครงการจึงถูกพลิกโฉมทั้งหมดแล้วแสดงต่อสาธารณะในต้นปี 2540 ซึ่งได้รับการตอบรับดีกว่ามาก เกมมีฉากท้องเรื่องในเส้นเวลาสมมติระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 25 ของโลก โดยมุ่งไปยังสามสปีชีส์ที่แก่งแย่งชิงความเป็นใหญ่ในส่วนห่างไกลของดาราจักรทางช้างเผือก ซึ่งเรียก ภาคคอปรูลู (Koprulu Sector) สามสปีชีส์นั้นได้แก่ เทอร์แรน (Terran) มนุษย์ซึ่งถูกเนรเทศจากโลก และมีทักษะการปรับตัวเข้ากับทุกสถานการณ์, เซิร์ก (Zerg) เผ่าพันธุ์คล้ายแมลงต่างดาวที่แสวงความสมบูรณ์ของพันธุกรรม และหมกมุ่นกับการกลืนกินเผ่าพันธุ์อื่น และโพรทอส (Protoss) เผ่าพันธุ์คล้ายมนุษย์ซึ่งมีเทคโนโลยีล้ำหน้าและความสามารถพลังจิต โดยพยายามรักษาอารยธรรมของพวกตนและวิถีชีวิตปรัชญาเคร่งครัดจากพวกเซิร์ก นักหนังสือพิมพ์ของอุตสาหกรรรมวิดีโอเกมจำนวนมากยกย่อง สตาร์คราฟต์ ว่าเป็นเกมที่ดีที่สุด และสำคัญที่สุดตลอดกาลเกมหนึ่ง และว่าได้ยกระดับการพัฒนาเกมวางแผนเรียลไทม์ สตาร์คราฟต์เป็นเกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลขายดีที่สุดเกมหนึ่ง โดยจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2552 สามารถขายได้ 11 ล้านแผ่นทั่วโลก เกมยังได้รับการยกย่องจากการบุกเบิกการใช้กลุ่มแยกมีเอกลักษณ์ในการเล่นวางแผนเรียลไทม์ และเรื่องที่เร้าความสนใจ รูปแบบหลายผู้เล่นของสตาร์คราฟต์ได้รับความนิยมเป็นพิเศษในประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งผู้เล่นและทีมร่วมการแข่งขันอาชีพ ได้รับการสนับสนุน และแข่งขันในทัวร์นาเมนต์ที่ถ่ายทอดทางโทรทัศน์ สตาร์คราฟต์มีการดัดแปลงและขยายแนวเรื่องผ่านชุดนวนิยาย ภาคเสริม (expansion pack) สตาร์คราฟต์: บรูดวอร์ และตัวเสริม (add-on) ที่ได้รับอนุญาตอีกสองตัว อีก 12 ปีให้หลัง ภาคต่อ สตาร์คราฟต์ 2: วิงส์ออฟลิเบอร์ตี ออกในเดือนกรกฎาคม 2553.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสตาร์คราฟต์ · ดูเพิ่มเติม »

สติ (จิตวิทยา)

ในสาขาจิตวิทยาของชาวตะวันตก สติ (Mindfulness แปลตามความหมายที่ใช้ได้ว่า "ความเป็นผู้มีสติ" "สติ" และ "การเจริญสติ") เป็น "การเพ่งความใส่ใจของตนไปที่อารมณ์ ความคิด และความรู้สึกที่เกิดขึ้นในขณะนี้ โดยตั้งใจ โดยยอมรับ โดยไม่มีการตัดสิน" ซึ่งสามารถฝึกได้โดยวิธีปฏิบัติกรรมฐาน ที่ดัดแปลงมาจากการเจริญอานาปานสติของชาวพุทธ เป็นวิธีการที่เริ่มเกิดความนิยมในโลกตะวันตกเพราะโปรแกรม Mindfulness-based stress reduction (ตัวย่อย MBSR แปลว่า การลดความเครียดอาศัยสติ) ของ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และสติ (จิตวิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

หอดูดาวอาเรซีโบ

ทางอากาศของหอดูดาวอาเรซีโบ หอดูดาวอาเรซีโบ (Observatorio de Arecibo; Arecibo Observatory) เป็นกล้องโทรทรรศน์วิทยุขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ใกล้กับเมืองอาเรซีโบทางตอนเหนือของปวยร์โตรีโก ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ร่วมกับมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation, NSF) ของสหรัฐอเมริกา ภายใต้หน่วยงานที่ชื่อว่า "ศูนย์ดาราศาสตร์และชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์แห่งชาติ" (National Astronomy and Ionosphere Center, NAIC) กล้องโทรทรรศน์วิทยุที่นี่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ยาว 305 เมตร เป็นกล้องโทรทรรศน์เดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยสร้างขึ้นมา โครงการก่อสร้างเริ่มต้นนำเสนอตั้งแต่ปี พ.ศ. 2501 โดยศาสตราจารย์ วิลเลียมส์ อี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และหอดูดาวอาเรซีโบ · ดูเพิ่มเติม »

อลัน วู

อลัน วู หรือ หวู เจิ้นเทียน หรือชื่อเดิม หวู เจิ้นยู่ เกิดเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2515 เป็นชาวสิงคโปร์ โดยมีเชื้อสายจีน-อเมริกัน เป็นนักแสดง, พิธีกร, อดีตวีเจเอ็มทีวี เอเชีย และที่สร้างชื่อเสียงที่สุดของอาชีพการงานของเขาก็คือการเป็นพิธีกรเรียลลิตี้โชว์ชื่อดังอย่าง ดิ อะเมซิ่ง เรซ เอเชี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และอลัน วู · ดูเพิ่มเติม »

ออตโต สเติร์น

ออตโต สเติร์น หรือออทโท ชแตร์น (Otto Stern, 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2431 - 17 สิงหาคม พ.ศ. 2512) เป็นนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน-เยอรมัน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และออตโต สเติร์น · ดูเพิ่มเติม »

อันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา

อันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา ได้มีการจัดโดยนิตยสารต่างๆ ภายในประเทศ เพื่อเป็นตัวแสดงให้เห็นถึง ประสิทธิภาพของมหาวิทยาลัยในขณะนั้น และรวมถึงเป็นข้อมูลสำหรับนักเรียนหรือนักศึกษาที่ต้องการศึกษาต่อช่วยในการตัดสินใจ ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศแรกที่มีการจัดอันดับมหาวิทยาลัยกันอย่างจริงจัง และ อันดับมหาวิทยาลัยที่จัดนั้น ก็ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเรียนต่อของนักศึกษา อัตราการสมัคร (admission rate) อัตราการเข้าเรียนจริง ๆ ของผู้ที่ได้รับการตอบรับแล้ว (yield rate) และการวางแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยต่างๆ สำหรับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดของสหรัฐอเมริกา คือ การจัดอันดับโดยนิตยสาร ยูเอสนิวส์แอนด์เวิลด์รีพอร์ต (US News and World Report) ซึ่งได้เริ่มการจัดอันดับ มหาวิทยาลัยในระดับปริญญาตรี (College) ในปี 2526 เป็นต้นมา โดยในชั้นแรก เป็นแค่คอลัมน์หนึ่งของนิตยสารเท่านั้น และ การจัดอันดับมหาวิทยาลัย ไม่ได้รับความสนใจมากนักต่อนักการศึกษา และมหาวิทยาลัยต่าง ๆ แต่ต่อมาด้วยความนิยมที่มีมากขึ้น ทำให้ นิตยสาร USNews ได้รับความนิยมจากนักเรียนในการตัดสินใจเลือกมหาวิทยาลัย แม้จะมีข้อผิดพลาด และได้รับการวิจารณ์จากนักการศึกษาอยู่เสมอ ๆ ในยุคแรก ๆ ภายหลังนิตยสารได้ใช้ผู้เชี่ยวชาญในด้านสถิติมาเป็นบรรณาธิการในด้านการจัดอันดับโดยเฉพาะ ต่อมาได้มีนิตยสารอื่น ๆ ทำการจัดทำการจัดอันดับมหาวิทยาลัยของสหรัฐ ฯ ออกมามากขึ้น เช่น สำหรับคณะบริหารธุรกิจ มีนิตยสาร เช่น นิตยสารบิซิเนสวีก(BusinessWeek), นิตยสารฟอรบส์ (Forbes) ซึ่งได้รับความนิยม ในสาขาปรัชญา ก็มี Gourmet Report แต่อย่างไรก็ได้ การจัดลำดับของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ นั้น มีความแตกต่างกันตามแต่อคติและการให้น้ำหนักของปัจจัยที่ใช้วัดคะแนน ตัวอย่างของความแตกต่าง อาทิ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และอันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

อาร์คีออปเทอริกซ์

อาร์คีออปเทอริกซ์ (Archaeopteryx) หรือที่รู้จักกันในชื่อภาษาเยอรมันว่า Urvogel (ออกเสียง:อูร์ฟอเกิล, แปลว่า "นกต้นกำเนิด" หรือ "นกชนิดแรก") เป็นสกุลของไดโนเสาร์เทอโรพอดซึ่งเป็นญาติใกล้ชิดกับนก ชื่อมาจากภาษากรีกโบราณ (archaīos) แปลว่า "เก่าแก่โบราณ" และ (ptéryx) แปลว่า "ขน" หรือ "ปีก" --> อาร์คีออปเทอริกซ์มีชีวิตอยู่ในช่วงปลายของยุคจูแรสซิกหรือประมาณ 150 ล้านปีมาแล้ว ในสถานที่ที่ปัจจุบันอยู่ทางตอนใต้ของประเทศเยอรมนี ในช่วงเวลาที่ยุโรปมีสภาพเป็นหมู่เกาะ เป็นทะเลตื้น ที่มีภูมิอากาศแบบเขตร้อน และอยู่ใกล้กับแนวเส้นศูนย์สูตรมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน มีขนาดและรูปร่างคล้ายกับนกสาลิกาปากดำ ตัวใหญ่ที่สุดอาจมีขนาดเท่านกเรเวน อาร์คีออปเทอริกซ์มีความยาวของลำตัวได้ถึง 0.5 เมตร (1.6 ฟุต) กล่าวคือเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก มีปีกกว้าง และอนุมานได้ว่ามีความสามารถในการบินหรือร่อนได้ อาร์คีออปเทอริกซ์มีลักษณะกระเดียดไปทางไดโนเสาร์ในมหายุคมีโซโซอิกขนาดเล็กมากกว่าลักษณะของนกในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมันมีลักษณะหลายประการที่เป็นลักษณะร่วมกับไดโนเสาร์ในกลุ่มของไดโนนายโคซอร์ (โดรมีโอซอร์ และ ทรูดอนติด) ได้แก่ลักษณะของกรามที่มีฟันแหลมคม มีนิ้วสามนิ้ว และมีกงเล็บ มีกระดูกหางยาว มีนิ้วเท้านิ้วที่สองยื่นยาวออกไปมากเป็นพิเศษ (killing claws) มีขนแบบนก (ซึ่งแสดงลักษณะของสัตว์เลือดอุ่น) และลักษณะโครงกระดูกอื่นๆ อีกหลายประการ ลักษณะดังกล่าวข้างต้นทำให้อาร์คีออปเทอริกซ์เป็นตัวแทนชิ้นแรกที่มีความชัดเจนของฟอสซิลในการส่งผ่านจากไดโนเสาร์สู่นก - Jamie Headden, Scott Hartman, and Rutger Jansma's skeletal restorations of most of the specimens.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และอาร์คีออปเทอริกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อีริก อีริกสัน

อีริก อีริกสัน (15 มิถุนายน 2445 – 12 พฤษภาคม 2537) เป็นชาวเยอรมันโดยกำเนิด เป็นนักจิตวิทยาพัฒนาการ และ นักจิตวิเคราะห์ เขาเป็นที่รู้จักันอย่างกว้างขว้างในทฤษฎีขั้นพัฒนาการทางจิตสังคม (Erikson's stages of psychosocial development).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และอีริก อีริกสัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ ฮอลไลน์

Haas-Haus ในเวียนนา, 1985-1990 ฮันส์ ฮอลไลน์ (Hans Hollein) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 1934 ในเวียนนา เป็นสถาปนิกชาวออสเตรียและเป็นนักออกแบบ ฮอลไลน์ได้รับอนุปริญญาจากวิทยาลัยทัศนศิลป์ในเวียนนา ในปี 1956 จากนั้นเข้าศึกษาที่สถาบันเทคโนโลยีอิลลินอยส์ ในปี 1959 และมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ในปี 1960 เขาทำงานกับหลายหน่วยงานในสวีเดนและสหรัฐอเมริกา ก่อนที่จะกลับมาที่เวียนนา ก่อตั้งบริษัทของตัวเองในปี 1964 เขาได้รับรางวัลพริตซ์เกอร์ในปี 1985 ผลงานโดยส่วนใหญ่ของฮอลไลน์เป็นงานสถาปัตยกรรม แต่เขาก็ยังมีงานออกแบบในฐานะดีไซเนอร์ อย่างเช่นกลุ่ม เมมฟิสกรุป และบริษัทอเลสซี เขายังออกแบบงานนิทรรศการเช่น งานเบียนเนลในเวนิซ และยังมีงานออกแบบฉากให้กับงานละครของอาร์เทอร์ ชนิตซ์เลอร์ ในละคร Der einsame Weg ที่โรงละครเบิร์กในเวียนนาด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และฮันส์ ฮอลไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิเดะโอะ ซะซะกิ

อะ ซะซะกิ ฮิเดะโอะ ซะซะกิ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 – 30 สิงหาคม พ.ศ. 2543) ภูมิสถาปนิกชาวอเมริกันเชื้อสายญี่ปุ่นผู้มีชื่อเสียง ผู้บุกเบิกแนวทางการออกแบบเชิงสหสาขาและนักการศึกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และฮิเดะโอะ ซะซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

ผลต่อสุขภาพจากเสียง

การจราจรเป็นแหล่งมลภาวะทางเสียงหลักในเมือง ผลต่อสุขภาพจากเสียง (Noise health effects) เป็นผลต่าง ๆ จากการได้รับเสียงดังจากที่ทำงานหรือที่อื่น ๆ ซึ่งอาจทำให้การได้ยินพิการ เกิดความดันสูง โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ ความรำคาญ และปัญหาในการนอน นอกจากนั้น ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน และความพิการของทารกแรกเกิด อาจมีเหตุจากเสียงดัง แม้ว่า หูตึงเหตุสูงอายุ (presbycusis) ก็อาจเกิดตามธรรมชาติได้เหมือนกัน แต่ว่าในประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศ ปัญหาสะสมจากเสียงก็พอสร้างความเสียหายต่อประชากรเป็นจำนวนมากภายในชั่วชีวิตแล้ว การได้รับเสียงดังยังก่ออาการเสียงในหู (tinnitus) ความดันสูง การตีบของหลอดเลือด (vasoconstriction) และปัญหาทางหัวใจหลอดเลือดอื่น ๆ นอกจากผลเหล่านี้ เสียงดังยังสามารถทำให้เครียด เพิ่มอัตราอุบัติเหตุในที่ทำงาน และก่อความก้าวร้าวและพฤติกรรมต้านสังคมอื่น ๆ แหล่งเสียงที่สำคัญที่สุดคือจากรถยนต์กับเครื่องบิน การฟังเสียงดนตรีดัง ๆ บ่อย ๆ และเสียงจากอุตสาหกรรม ในประเทศนอร์เวย์ เสียงจราจรพบว่า เป็นเหตุต่อความรำคาญเสียงถึง 88% ที่รายงาน เสียงอาจจะมีผลให้เกิดโรคจิตอีกด้วย เช่น เสียงประทัดอาจทำทั้งสัตว์เลี้ยงสัตว์ป่า หรือบุคคลที่ได้รับความบอบช้ำทางจิตใจให้แตกตื่น (คนที่บอบช้ำทางจิตใจรวมทั้งคนที่ผ่านสงครามมา) แต่เพียงแค่กลุ่มคนเสียงดังก็อาจจะก่อการร้องทุกข์หรือปัญหาพฤติกรรมอื่น ๆ แล้ว แม้ทารกก็ตื่นเสียงได้ง่ายอีกด้วย ค่าเสียหายทางสังคมเนื่องจากเสียงจราจรในประเทศยุโรป 22 ประเทศอาจมีค่าถึง 4 หมื่นล้านยูโรต่อปีโดยปี 2550 (ประมาณ 1.5 ล้านล้านบาท) โดยรถโดยสารและรถบรรทุกเป็นเหตุหลักของปัญหา เสียงจราจรอย่างเดียวทำให้สุขภาพของคนเกือบ 1/3 ในเขตยุโรปเสียหาย โดยประชากรยุโรป 1 ใน 5 จะได้รับเสียงตอนกลางคืนเป็นปกติในระดับที่อาจทำให้สุขภาพเสียหายอย่างสำคัญ เสียงยังเป็นอัตรายต่อระบบนิเวศทั้งทางบกและทางน้ำอีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และผลต่อสุขภาพจากเสียง · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ สมูท

อร์จ ฟิตซ์เจอรัลด์ สมูท ที่ 3 (George Fitzgerald Smoot III; เกิดวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945) เป็นนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์และนักจักรวาลวิทยาชาวอเมริกัน ผู้ชนะรางวัล 1 ล้านเหรียญสหรัฐจากการแข่งขันรายการทางโทรทัศน์ และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์เมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และจอร์จ สมูท · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอป

อห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอป (John Howard Northrop; 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1891 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1987) เป็นนักชีวเคมีชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองยองเกอส์ เป็นบุตรของนักสัตววิทยา จอห์น ไอเซอาห์ นอร์ทรอปและนักพฤกษศาสตร์ อลิซ ริช นอร์ทรอป บิดาของนอร์ทรอปเสียชีวิตจากเหตุห้องปฏิบัติการระเบิดก่อนนอร์ทรอปเกิดได้สองสัปดาห์ นอร์ทรอปเรียนที่โรงเรียนไฮสกูลยองเกอส์และเรียนต่อด้านเคมีที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นอร์ทรอปทำงานที่หน่วยการสงครามเคมี โดยช่วยผลิตแอซีโทนและเอทานอลจากวิธีการหมัก ต่อมานอร์ทรอปทำงานที่สถาบันร็อกเกอะเฟลเลอร์เพื่อการวิจัยทางการแพทย์ในนครนิวยอร์ก เขาทำงานอยู่ที่นี่จนกระทั่งเกษียณในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และจอห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอป · ดูเพิ่มเติม »

จุรี วิจิตรวาทการ

รศ.ดร.จุรี วิจิตรวาทการ รองศาสตราจารย์ ดร.จุรี วิจิตรวาทการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรรมการในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ยกร่าง พ.ศ. 2558) กรรมการศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ เลขาธิการมูลนิธิองค์กรเพื่อความโปร่งใสในประเทศไทย อดีตอธิการบดีคนที่ 10 ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เป็นสตรีที่มีบทบาทว่าด้วยสถานภาพสตรี เคยได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนประเทศไทยในคณะกรรมาธิการว่าด้วยสถานภาพสตรีแห่งสหประชาชาต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และจุรี วิจิตรวาทการ · ดูเพิ่มเติม »

ธีรัตถ์ รัตนเสวี

ีรัตถ์ รัตนเสวี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายรายการและสื่อดิจิตอล สถานีโทรทัศน์ วอยซ์ทีวี ก่อนหน้านี้ดำรงตำแหน่งโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร, อดีตผู้ดำเนินรายการ รัฐบาลยิ่งลักษณ์พบประชาชน, อดีตบรรณาธิการบริหาร อดีตผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักโทรทัศน์ และอดีตผู้ประกาศข่าว องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย หรือ ไทยพีบีเอส, อดีตผู้อำนวยการผลิต (Producer) และอดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์ไอทีวี และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และธีรัตถ์ รัตนเสวี · ดูเพิ่มเติม »

ทิม ดิไวน์

ทิม ดิไวน์ (Tim Devine) เป็นผู้บริหารและนักลงทุนชาวอเมริกัน เป็นผู้ก่อตั้งเว็บแคสเตอร์ (Webcastr) ดิไวน์เป็นที่รู้จักดีในฐานะผู้บริหารฝ่ายคัดสรรและพัฒนาศิลปิน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และทิม ดิไวน์ · ดูเพิ่มเติม »

ดามีร์ ดุกอนิช

มีร์ ดุกอนิช (Damir Dugonjič; 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988 —) เป็นนักว่ายน้ำชาวสโลวีน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และดามีร์ ดุกอนิช · ดูเพิ่มเติม »

ดีน ออร์นิช

ีน ออร์น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และดีน ออร์นิช · ดูเพิ่มเติม »

ดนัย ทายตะคุ

ร.ดนัย ทายตะคุ (3 มีนาคม) ภูมิสถาปนิกและนักวิจัย ผู้บุกเบิกและผู้เชี่ยวชาญแนวทางการออกแบบภูมิทัศน์นิเวศวิทยา นับว่าเป็นคนแรกของประเทศไทย จบมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเมื่อ พ.ศ. 2520 หลังจากสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อปี พ.ศ. 2526 แล้ว ได้เริ่มทำงานในตำแหน่งอาจารย์ประจำภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเวลา 5 ปี จึงศึกษาต่อปริญญาโทสาขาภูมิสถาปัตยกรรมที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ในสหรัฐอเมริกา ได้รับปริญญา Master of Landscape Architecture เมื่อปี พ.ศ. 2533 และศึกษาต่อปริญญาเอกสาขาการวางแผนสิ่งแวดล้อมที่ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ปี พ.ศ. 2542กลับมาดำรงตำแหน่งอาจารย์ในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม และได้ดำรงตำแหน่งประธานหลักสูตรปริญญาโทในปัจจุบัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และดนัย ทายตะคุ · ดูเพิ่มเติม »

คริส ไพน์

ริสโตเฟอร์ ไวต์ลอว์ ไพน์ (Christopher Whitelaw Pine) เกิดวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 1980 ในลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน แสดงในภาพยนตร์แนวโรแมนติกคอเมดี้ เรื่อง บันทึกรักเจ้าหญิงวุ่นลุ้นวิวาห์ (2004) และ Just My Luck (2006) เขายังแสดงในภาพยนตร์แนวไซไฟ เรื่อง สตาร์เทร็ค รับบทเป็น เจมส์ ที. เคิร์ก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และคริส ไพน์ · ดูเพิ่มเติม »

ตแชสวัฟ มีวอช

ตแชสวัฟ มีวอช (Czesław Miłosz,; 30 มิถุนายน ค.ศ. 1911 – 14 สิงหาคม ค.ศ. 2004) เป็นนักเขียนและกวีชาวโปแลน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และตแชสวัฟ มีวอช · ดูเพิ่มเติม »

ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ (28 สิงหาคม พ.ศ. 2487 —) อดีตหัวหน้าพรรคมัชฌิมาธิปไตย อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช เป็นผู้ก่อตั้งและอดีตผู้บริหารบริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทีพีไอ(ปัจจุบันคือ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน)) และบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) หรือทีพีไอโพลีน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และประชัย เลี่ยวไพรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประพจน์ อัศววิรุฬหการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประพจน์ อัศววิรุฬหการ หนือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ เกิดที่จังหวัดอุทัยธานี เป็นนักภาษาศาสตร์และนักอักษรศาสตร์ชาวไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและวรรณคดีบาลีและภาษาสันสกฤต พระไตรปิฎกฉบับภาษาจีน และพระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เคยดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็น กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และประพจน์ อัศววิรุฬหการ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ต

ประวัติอินเทอร์เน็ต เป็นการศึกษาความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต ความคิดเรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายเดียวที่สามารถให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต่างระบบกันสามารถสื่อสารกันได้นั้นได้มีการพัฒนาผ่านขั้นตอนหลายขั้นตอนด้วยกัน การหลอมรวมกันของการพัฒนาเหล่านั้นได้นำไปสู่เครือข่ายของเครือข่ายทั้งหลายที่รู้จักกันในชื่อว่า อินเทอร์เน็ต การพัฒนาเหล่านั้นมีทั้งในแง่การพัฒนาเทคโนโลยี และการรวมโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่ายและระบบโทรคมนาคมที่มีอยู่เดิมเข้าด้วยกัน ความคิดเรื่องนี้ในครั้งแรก ๆ ปรากฏขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 หากแต่การนำแนวคิดเหล่านี้ไปปฏิบัติได้จริงนั้นเริ่มขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 เมื่อถึงคริสต์ทศวรรษ 1980 เทคโนโลยีซึ่งนับได้ว่าเป็นพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตสมัยใหม่นั้นได้เริ่มแพร่หลายออกไปทั่วโลก ในคริสต์ทศวรรษ 1990 การมาถึงของเวิลด์ไวด์เว็บได้ทำให้การใช้อินเทอร์เน็ตกลายเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ต · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ สกิลลิง

ร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และปีเตอร์ สกิลลิง · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ นอร์วิก

ปีเตอร์ นอร์วิก เป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และปีเตอร์ นอร์วิก · ดูเพิ่มเติม »

นภ พรชำนิ

นภ พรชำนิ (เกิดเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2515 ที่เขตราชเทวี กรุงเทพฯ) เป็นนักร้องชาวไทย เข้ารับการศึกษาในระดับประถมและมัธยมต้นที่โรงเรียนเซนต์คาเบรียล ระดับมัธยมปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พญาไท ศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศึกษาต่อต่างประเทศในสาขา Business Administration ที่ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เริ่มเป็นศิลปินนักร้องรับเชิญ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และนภ พรชำนิ · ดูเพิ่มเติม »

นัยน์ตาปีศาจ

นัยน์ตาปีศาจนาซาร์” ที่ใช้ในการเป็นเครื่องรางในการป้องกันจากนัยน์ตาปีศาจที่ขายกันแพร่หลายในตุรกี นัยน์ตาปีศาจ (Evil eye) เป็นการมองที่เชื่อกันในหลายวัฒนธรรมว่าสามารถทำให้ผู้ถูกมองได้รับการบาดเจ็บหรือโชคร้าย อันเกิดจากการจ้องมองด้วยความอิจฉาหรือความเดียดฉันท์ คำนี้มักจะหมายถึงอำนาจของบุคคลใดบุคคลหนึ่งในการก่อให้เกิดสิ่งที่เลวร้ายได้ด้วยการมองอย่างประสงค์ร้าย ความเชื่อดังกล่าวทำให้วัฒนธรรมหลายวัฒนธรรมพยายามหาทางป้องกันก่อนที่จะเกิดสิ่งที่เลวร้ายขึ้น ความคิดและความสำคัญของนัยน์ตาปีศาจก็แตกต่างกันออกไปเป็นอันมากระหว่างวัฒนธรรมต่างๆ ความเชื่อนี้ปรากฏหลายครั้งในบทแปลของพันธสัญญาเดิม และแพร่ขยายออกไปอย่างกว้างขวางในบรรดาอารยธรรมของกลุ่มชนต่าง ๆ ในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน กรีซคลาสสิกอาจจะเรียนรู้จากอียิปต์โบราณ และต่อมาก็ผ่านความเชื่อนี้ต่อไปยังโรมันโบราณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และนัยน์ตาปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

นาธาน เอเดรียน

นาธาน การ์-จูน เอเดรียน (Nathan Ghar-jun Adrian; 7 ธันวาคม ค.ศ. 1988 —) เป็นนักว่ายน้ำชาวอเมริกัน และได้รับเหรียญรางวัลโอลิมปิก 4 เหรียญ (3 เหรียญทอง และ 1 เหรียญเงิน) นอกจากนี้เขายังเป็นผู้ครองสถิติโลก ในประเภท 50 ม. – 100 ม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และนาธาน เอเดรียน · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรูว์ โกรฟ

แอนดรูว์ โกรฟ (ซ้าย) ระหว่างการประชุม World Economic Forum ในปี 1997 แอนดรูว์ สตีเฟน โกรฟ (Gróf András István; Andrew Stephen Grove) หรือ แอนดี โกรฟ (เกิดเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1936) เป็นวิศวกรและนักธุรกิจชาวอเมริกันเชื้อสายยิวฮังการี เป็นพนักงานยุคเริ่มแรกของบริษัทอินเทล ต่อมาได้เป็นซีอีโอและประธานบริษัท เป็นผู้มีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จของบริษัท โกรฟเกิดในครอบครัวชาวยิวชนชั้นกลางในกรุงบูดาเปสต์ ประเทศฮังการี ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และแอนดรูว์ โกรฟ · ดูเพิ่มเติม »

แอนติโปรตอน

แอนติโปรตอน (antiproton) หรือชื่อที่รู้จักกันน้อยกว่าคือ เนกาตรอน (negatron) หรือ (อ่านว่า พีบาร์) เป็นปฏิยานุภาคของโปรตอน แอนติโปรตอนนั้นเสถียร แต่โดยทั่วไปมีอายุสั้น เพราะการชนกับโปรตอนจะทำให้อนุภาคทั้งสองประลัยในการระเบิดของพลังงาน พอล ดิแรกทำนายการมีอยู่ของแอนติโปรตอนซึ่งมีประจุไฟฟ้า -1 ตรงข้ามกับประจุไฟฟ้า +1 ของโปรตอน ในการบรรยายรางวัลโนเบลปี 1933 ดิแรกได้รับรางวัลโนเบลสำหรับการตีพิมพ์สมการดิแรกของเขาซึ่งทำนายการมีผลเฉลยบวกและลบของสมการพลังงาน (E.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และแอนติโปรตอน · ดูเพิ่มเติม »

แถมสุข นุ่มนนท์

ตราจารย์เกียรติคุณ แถมสุข นุ่มนนท์ เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยและนักประวัติศาสตร์ชาวไทย ผู้ซึ่งมีผลงานจากหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ เช่น เมืองไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ขบวนการ ร.ศ. 130 ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-สหรัฐอเมริกา ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองhttp://koha.library.tu.ac.th/cgi-bin/koha/opac-search.pl?q.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และแถมสุข นุ่มนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แดเนียล คาฮ์นะมัน

แดเนียล คาฮ์นะมัน (Daniel Kahneman, דניאל כהנמן เกิด 5 มีนาคม ค.ศ. 1934) เป็นนักจิตวิทยาชาวอิสราเอล-อเมริกัน ผู้มีชื่อเสียงเกี่ยวกับงานทางจิตวิทยาเรื่องการประเมินหลักฐานและการตัดสินใจ (judgment and decision-making) และงานทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (behavioral economics) ซึ่งเขาได้รับรางวัลรางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และแดเนียล คาฮ์นะมัน · ดูเพิ่มเติม »

แปซิฟิก-เทน

right แปซิฟิก-เทนคอนเฟอเรนซ์ (อังกฤษ: Pacific-10 Conference) นิยมเรียกย่อๆ ว่า แพ็ค-เทน (Pac-10) เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่อยู่ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกาชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก 10 แห่ง ที่รวมตัวกันเพื่อแข่งขันกีฬาระหว่างสถาบัน ปัจจุบันจัดการแข่งขันกีฬาประเภทชาย 11 รายการ ประเภทหญิงอีก 11 รายการ ที่สำคัญเช่น อเมริกันฟุตบอล (ชาย), บาสเกตบอล (ชายและหญิง), เบสบอล (ชาย), ซอฟต์บอล (หญิง), โปโลน้ำ (ชายและหญิง) เป็นต้น ประวัติของแปซิฟิก-เทน ย้อนหลังไปถึง 15 ธันวาคม ค.ศ. 1915 (พ.ศ. 2458) เมื่อมีการก่อตั้ง แปซิฟิกโคสคอนเฟอร์เรนซ์ (Pacific Coast Conference, PCC) นับแน่นั้นมามีการเปลี่ยนแปลงชื่อและสมาชิกจนกระทั่งเมื่อ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และแปซิฟิก-เทน · ดูเพิ่มเติม »

โพสต์เกรสคิวเอล

ต์เกรสคิวเอล (PostgreSQL) หรือนิยมเรียกว่า โพสต์เกรส (Postgres) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลในลักษณะของซอฟต์แวร์เสรีภายใต้สัญญาอนุญาตบีเอสดี ชื่อเดิมของซอฟต์แวร์คือ โพสต์เกรส ซึ่งต่อมาได้ถูกเปลี่ยนเป็นโพสต์เกรสคิวเอล โดยประกาศออกมาจากทีมหลักในปี 2550 ชื่อของโพสต์เกรสมาจากชื่อ post-Ingres ซึ่งหมายถึงตัวซอฟต์แวร์ที่พัฒนาต่อจากซอฟต์แวร์ชื่ออินเกรส โพสต์เกรสถูกใช้งานในเว็บไซต์ชื่อดังหลายแห่งเช่น ยาฮู! โซนี่ออนไลน์เกม สไกป์ และไฮไฟฟ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และโพสต์เกรสคิวเอล · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต แม็กนามารา

รเบิร์ต สแทรนจ์ แม็กนามารา (Robert Strange McNamara) ผู้บริหารธุรกิจชาวอเมริกัน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมคนที่แปดแห่งสหรัฐอเมริกา ในรัฐบาลประธานาธิบดี จอห์น เอฟ. เคนเนดีและลินดอน บี. จอห์นสัน ระหว่าง 21 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และโรเบิร์ต แม็กนามารา · ดูเพิ่มเติม »

โอเพนบีเอสดี

อเพนบีเอสดี (OpenBSD) เป็นระบบปฏิบัติการแบบเหมือนยูนิกซ์ (Unix-like) ที่สืบทอดมาจาก BSD แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และโอเพนบีเอสดี · ดูเพิ่มเติม »

โนวาร์ติส

นวาร์ติส อินเตอร์เนชั่นแนล เอจี (Novartis International AG) เป็นบริษัทข้ามชาติในอุตสาหกรรมยา มีฐานการผลิตอยู่ที่บาเซิล ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และโนวาร์ติส · ดูเพิ่มเติม »

ไบรอัน ที

รอัน ที (Brian Tee; เกิด 15 มีนาคม ค.ศ. 1977) เป็นนักแสดงชาวญี่ปุ่น เขาเป็นที่รู้จักกันดีในบทบาท "ดีเค เดอะ ดริฟต์ คิง" ในภาพยนตรฺ์เรื่อง เร็ว..แรงทะลุนรก ซิ่งแหกพิกัดโตเกียว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และไบรอัน ที · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครโพรเซสเซอร์

อินเทล 4004 ไมโครโพรเซสเซอร์ทั่วไปตัวแรกที่มีการจำหน่าย ไมโครโพรเซสเซอร์ (microprocessor) หมายถึงชิปที่ใช้เป็นหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และไมโครโพรเซสเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์

ทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ ไทมส์ไฮเออร์ (Times Higher Education) เป็นหนังสือพิมพ์จากลอนดอน ที่มีการรายงานอันดับสถาบันอุดมศึกษาทุกปี บรรณาธิการคือจอห์น โอ'เลรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เบิร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชัน

ร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชั่น (Berkeley Software Distribution -BSD; Berkeley Unix) เป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ที่พัฒนาและเผยแพร่โดย มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เริ่มต้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 70 ชื่อบีเอสดียังคงมีอยู่ในระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งสืบทอดมาจากดิสทริบิวชั่นนี้ เช่น FreeBSD, NetBSD, และ OpenBSD เป็นต้น บีเอสดีจัดว่าเป็นยูนิกซ์ที่ใช้กันแพร่หลายสำหรับคอมพิวเตอร์ระดับเวิร์กสเตชันในยุคนั้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะสัญญาอนุญาตใช้งานของบีเอสดีนั้นไม่ซับซ้อน ทำให้บริษัทอื่น ๆ นำเทคโนโลยีไปพัฒนาในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 80 จนสร้างความคุ้นเคยในวงกว้าง ถึงแม้ว่าในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 90 บีเอสดีจะถูกแทนที่ด้วย System V รีลีส 4.x และ OSF/1 แต่ในระยะหลังนี้มีการปรับปรุงและพัฒนาระบบปฏิบัติการโดยใช้ซอร์สโค้ดที่เปิดเผยของบีเอสดีเป็นแกนหลัก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเบิร์กลีย์ซอฟต์แวร์ดิสทริบิวชัน · ดูเพิ่มเติม »

เกรซ มหาดำรงค์กุล

กรซ มหาดำรงค์กุล (1 ตุลาคม พ.ศ. 2512) ชื่อเล่น เกรซ เป็นนักแสดงและพิธีกรหญิงชาวไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเกรซ มหาดำรงค์กุล · ดูเพิ่มเติม »

เมลวิน แคลวิน

มลวิน เอลลิส แคลวิน (Melvin Ellis Calvin; 8 เมษายน ค.ศ. 1911 – 8 มกราคม ค.ศ. 1997) เป็นนักชีวเคมีชาวอเมริกัน เกิดในครอบครัวชาวยิวที่เมืองเซนต์พอล รัฐมินนิโซตา เป็นบุตรของเอเลียส แคลวินและโรส เฮอร์วิตซ์http://www.royalsoced.org.uk/cms/files/fellows/biographical_index/fells_indexp1.pdf ต่อมาครอบครัวย้ายไปอยู่ที่เมืองดีทรอยต์ แคลวินเรียนที่โรงเรียนเซ็นทรัลไฮสกูลก่อนจะเรียนจบด้านวิทยาศาสตร์ที่วิทยาลัยเหมืองแร่และเทคโนโลยีมิชิแกน (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมิชิแกนในปัจจุบัน) และเรียนจบปริญญาเอกด้านเคมีจากมหาวิทยาลัยมินนิโซตาในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเมลวิน แคลวิน · ดูเพิ่มเติม »

เมเว็น

นสำรวจอวกาศเมเว็น (MAVEN) ย่อจาก Mars Atmosphere and Volatile Evolution (ชั้นบรรยากาศและวิวัฒนาการของสารระเหยได้ของดาวอังคาร) เป็นยานสำรวจอวกาศที่ปฏิบัติภารกิจสำรวจชั้นบรรยากาศของดาวอังคาร ดำเนินโดยองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (นาซา) ภารกิจนี้เป็นโครงการหนึ่งในแผนงานมาร์ส-สเค้าท์ (Mars Scout Program) ยานเมเว็นถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเมเว็น · ดูเพิ่มเติม »

เวนเดล เมเรดิธ สแตนลีย์

วนเดล เมเรดิธ สแตนลีย์ (Wendell Meredith Stanley; 16 สิงหาคม ค.ศ. 1904 – 15 มิถุนายน ค.ศ. 1971) เป็นนักชีวเคมีและนักวิทยาไวรัสชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองริดจ์วิลล์ เรียนจบปริญญาตรีสาขาเคมีจากวิทยาลัยเอิร์ลแฮม เรียนจบปริญญาโทและปริญญาเอกสาขาวิทยาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ หลังจากนั้นสแตนลีย์เดินทางไปศึกษาดูงานกับไฮน์ริช ออตโต วีลันด์ที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี แล้วกลับมาเป็นผู้ช่วยที่สถาบันร็อกเกอะเฟลเลอร์เพื่อการวิจัยทางการแพทย์ในนครนิวยอร์ก สแตนลีย์ทำงานอยู่ที่นี่จนถึงปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเวนเดล เมเรดิธ สแตนลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เหลก๊าเส่ง

หลก๊าเส่ง (ภาษากวางตุ้ง) หรือ ลี่เกียเซ้ง (ภาษาแต้จิ๋ว) หรือ ลี่จ๊าเฉิง (ภาษาจีนกลาง) (เกิดวันที่ 29 กรกฎาคม 2471 ณ เมืองแต้จิ๋ว, ประเทศจีน) เป็นนักธุรกิจใหญ่ชาวฮ่องกง นักลงทุน และนักการกุศล ตามนิตยสารฟอบส์ โดยเดือนพฤศจิกายน 2558 เขาเป็นบุคคลที่รวยที่สุดในเอเชีย โดยมีประเมินทรัพย์สินสุทธิที่ 34,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 1,190,167 ล้านบาท) เขาเป็นประธานกรรมการของบริษัท CK Hutchison Holdings โดยปี 2558 ซึ่งเป็นบริษัทที่บริหารจัดการสถานีคอนเทนเนอร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก และร้านขายผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอางที่ใหญ่ที่สุดในโลก นิตยสาร เอเชียวีก จัดเขาว่าเป็น "คนที่มีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชีย" ในปี 2544 กลุ่มบริษัทของเขาประเมินว่ามีค่าถึง 15% ของตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง นิตยสาร ฟอบส์ และตระกูลฟอบส์ให้รางวัล Malcolm S. Forbes Lifetime Achievement Award แก่เขาเป็นคนแรกในปี 2549 ในประเทศสิงคโปร์ แม้ว่าจะร่ำรวยมาก แต่เขากลับมีชื่อเสียงในการใช้ชีวิตอย่างสมถะ โดยมักจะใส่รองเท้าสีดำธรรมดาและนาฬิกาไซโก้ที่มีราคาไม่แพงมาก แต่เขาก็มีบ้านอยู่ในเขตที่แพงที่สุดที่หนึ่งในเกาะฮ่องกง และเป็นนักการกุศลที่ใจกว้างที่สุดคนหนึ่งในเอเชีย คือได้บริจาคทรัพย์เกินกว่า 2,180 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 77,843 ล้านบาท) เนื่องจากว่าบิดาของเขาเสียชีวิตตั้งแต่อายุน้อย ๆ ทำให้เขาต้องออกจากโรงเรียนก่อนอายุ 15 ปี แล้วทำงานในบริษัทขายพลาสติกซึ่งเขาต้องทำงานกว่า 16 ชม.ต่อวัน ต่อมาในปี 2493 (อายุ 22 ปี) เขาจึงตั้งบริษัทของตนเองชื่อว่า Cheung Kong Industries เริ่มต้นจากการผลิตพลาสติกโดยเฉพาะดอกไม้ประดิษฐ์ ต่อมาเขาได้ทำธุรกิจหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น ท่าเรือ โรงแรม อสังหาริมทรัพย์ ประกันชีวิต โทรศัพท์มือถือ และเหลได้สร้างบริษัทของเขาให้เป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์ชั้นนำในฮ่องกงแล้วเริ่มขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ในปี 2515.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเหลก๊าเส่ง · ดูเพิ่มเติม »

เอริก ชมิดต์

อริก เอเมอร์สัน ชมิดต์ (Eric Emerson Schmidt) (เกิด 27 เมษายน พ.ศ. 2498 ที่วอชิงตัน ดี.ซี.) เป็นผู้บริหารบริษัทกูเกิล และอดีตคณะกรรมการผู้บริหาร ของบริษัทแอปเปิล และยังคงเป็นกรรมการมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเอริก ชมิดต์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์

อ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ (Edward Teller, 15 มกราคม ค.ศ. 1908 - 9 กันยายน ค.ศ. 2003) เป็นบิดาของระเบิดไฮโดรเจนที่ใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันแทนปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันในระเบิดนิวเคลียร์แบบดั้งเดิม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์

. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์ (J., 22 เมษายน ค.ศ. 1904 – 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1967) นักฟิสิกส์ชาวสหรัฐอเมริกาผู้เป็นบิดาของระเบิดปรมาณู โดยเขาเป็นผู้อำนวยการห้องปฏิบัติการสร้างระเบิดปรมาณูเพื่อยุติสงครามในโครงการแมนฮัตตันสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สืบค้นวันที่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเจ. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซา

้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซา (His Royal Highness Prince Friso of Orange-Nassau) เป็นพระราชโอรสพระองค์กลางในสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์กับ เจ้าชายเคลาส์แห่งเนเธอร์แลนด์ เป็นพระราชอนุชาใน สมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลิม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์ และเป็นพระเชษฐาในเจ้าชายคอนสตันตินแห่งเนเธอร์แลนด์ พระองค์อภิเษกสมรสกับ เจ้าหญิงมาเบลแห่งออเรนจ์-นัสเซา มีพระธิดารวม 2 พระองค์ พระองค์สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ขณะมีพระชันษา 44 ชันษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเจ้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์

้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ (พระนามเต็ม โฮกุน มักนุส, ประสูติ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1973 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์มีพระเชษฐภคินีคือ เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทา คนเลี้ยงสัตว์ บี

วาดจินตนาการของดาวทู คนเลี้ยงสัตว์ บี ทู คนเลี้ยงสัตว์ บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 50 ปีแสง โคจรอยู่ในระบบดาวเคราะห์ทู คนเลี้ยงสัตว์ อยู่ในกลุ่มดาวคนเลี้ยงสัตว์ ประกาศในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเทา คนเลี้ยงสัตว์ บี · ดูเพิ่มเติม »

เดอะฟอกออฟวอร์

อะฟอกออฟวอร์: อีเลฟเวนเลสเซินส์ฟรอมเดอะไลฟ์ออฟโรเบิร์ต แม็กนามารา (The Fog of War: Eleven Lessons from the Life of Robert S. McNamara) (พ.ศ. 2546) คือภาพยนตร์สารคดีจากสหรัฐอเมริกาที่กำกับโดย เออร์โรล มอร์ริส เกี่ยวกับชีวิตและช่วงเวลาของโรเบิร์ต แม็กนามารา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกา เดอะ ฟอก ออฟ วอร์นำเสนอถึงความไม่แน่นอนในสนามรบระหว่างสงคราม ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลออสการ์ ประเภทภาพยนตร์สารดคียอดเยี่ยม และ Independent Spirit Award for Best Documentary Feature.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเดอะฟอกออฟวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่

รูปเครื่องเร่งอนุภาค LHC แผนผังแสดงส่วนต่างๆ ของ LHC แผนที่แสดงขอบเขตของ LHC ''superconducting quadrupole electromagnetas'' หรือท่อตัวนำยิ่งยวดแม่เหล็กไฟฟ้าสี่ขั้ว สำหรับใช้นำอนุภาคไปสู่จุดที่กำหนดสำหรับการชน เครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ (Large Hadron Collider; LHC) คือเครื่องเร่งอนุภาคที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีเป้าหมายที่จะสร้างอนุภาคโปรตอน 7 TeV ขึ้น เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงและข้อจำกัดของทฤษฎีทางฟิสิกส์อนุภาคที่มีอยู่ในปัจจุบันอันอยู่ภายใต้กฎของแรงทั้งสี่ องค์กรวิจัยนิวเคลียร์แห่งยุโรป (European Organization for Nuclear Research) หรือ เซิร์น (Conseil Européen pour la Recherche Nucléaire) เป็นผู้สร้างเครื่องนี้ขึ้นที่บริเวณเขตแดนประเทศฝรั่งเศสและสวิตเซอร์แลนด์ ใกล้กับกรุงเจนีวา เป็นท่อใต้ดินลักษณะเป็นวงแหวนขนาดความยาวเส้นรอบวง 27 กิโลเมตร เครื่อง LHC นี้ถือว่าเป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและใช้พลังงานสูงที่สุดของโลก สร้างขึ้นจากเงินทุนและการสนับสนุนรวมทั้งความร่วมมือจากนักฟิสิกส์มากกว่า 8,000 คน จาก 85 ประเทศ ในมหาวิทยาลัยและห้องทดลองทั่วโลกนับร้อยแห่ง ในระหว่างการก่อสร้าง เซิร์นเปิดโอกาสให้อาสาสมัครจากทั่วโลก ได้เข้าร่วมบริจาคการทำงานของคอมพิวเตอร์ เพื่อจำลองพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในเครื่อง LHC เพื่อช่วยในการออกแบบ และปรับแต่งระบบ ด้วยโครงการที่มีชื่อว่า LHC@home ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2547 โครงการนี้ดำเนินการบนระบบ Berkeley Open Infrastructure for Network Computing ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เครื่องเร่งนี้สามารถทำความเย็นลงได้ต่ำที่สุดที่ประมาณ 1.9 K (หรือ −271.25 °C) เป็นอุณหภูมิที่ทำลงไปใกล้อุณหภูมิสัมบูรณ์มากที่สุด ได้มีการทดสอบยิงอนุภาคเริ่มต้นสำเร็จแล้วในช่วงวันที่ 8-11 สิงหาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เคลด

แผนภาพวิวัฒนาการชาติพันธุ์ (Cladogram) หรือพงศาวลีของกลุ่มสิ่งมีชีวิต โดยลำต้น (เส้นตั้ง) ที่ฐานแต่ละฐานจะเป็นบรรพบุรุษร่วมกันสุดท้ายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นลูกหลานภายในพุ่มไม้ที่อยู่เหนือลำต้นนั้น ๆ กลุ่มย่อยสีน้ำเงินและสีแดง (ซ้ายและขวาสุด) เรียกว่า clade เพราะเป็นกลุ่ม "จากชาติพันธุ์เดียว" (monophyletic) โดยแต่ละกลุ่มจะมีบรรพบุรุษร่วมกันที่ฐาน ส่วนกลุ่มย่อยสีเขียวไม่เรียกว่า clade เพราะเป็นกลุ่ม paraphyletic และไม่รวมเอากลุ่มย่อยสีน้ำเงินแม้จะสืบทอดมาจากบรรพบุรุษร่วมกันซึ่งอยู่ที่ฐานของกลุ่มสีเขียว เคลด (clade จาก κλάδος, klados แปลว่า "สาขา") เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่รวมเอาบรรพบุรุษที่มีร่วมกันและลูกหลานของมันทั้งหมด โดยแสดงเป็น "สาขา" เดียวจากต้นไม้ชีวิต บรรพบุรุษร่วมกันอาจเป็นสิ่งมีชีวิตหนึ่งหน่วย กลุ่มประชากร สปีชีส์ (ไม่ว่าจะสูญพันธุ์ไปแล้วหรือยังมีอยู่) เป็นต้น จนไปถึงระดับอาณาจักร เคลดเป็นโครงสร้างซ้อนใน คือจะมีเคลดภายในเคลดเพราะสาขาใหญ่หนึ่ง ๆ จะแยกออกเป็นสาขาย่อย ๆ การแยกออกจะสะท้อนให้เห็นถึงประวัติวิวัฒนาการ เพราะแสดงกลุ่มประชากรที่แยกจากกันแล้ววิวัฒนาการแยกกันต่างหาก ๆ เคลดจะมาจากชาติพันธุ์เดียว (monophyletic) ในทศวรรษ 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา วิธีการศึกษาแบบแคลดิสติกส์ (คือใช้แนวคิดแบบเคลด) ได้ปฏิวัติการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต และได้แสดงความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการที่น่าทึ่งใจระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ โดยมีผลเป็นนักอนุกรมวิธานพยายามหลีกเลี่ยงการให้ชื่อกับหน่วยที่ไม่ใช่เคลด คือหน่วยที่ไม่ได้มาจากชาติพันธุ์เดียว (monophyletic).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเคลด · ดูเพิ่มเติม »

เต็มฟ้า กฤษณายุธ

ต็มฟ้า กฤษณายุธ เป็นนักร้อง นักแสดง นางแบบ และอดีตนักกีฬายิมนาสติกลีลาทีมชาติไทย เต็มฟ้าจบการศึกษาจาก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรนานาชาติ (EBA Program) ด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 และเป็นลูกสาวของ แหวน ฐิติมา สุตสุนทร นักร้องในสังกัด จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ กับบรรเจิด กฤษณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเต็มฟ้า กฤษณายุธ · ดูเพิ่มเติม »

เซลมัน แวกส์มัน

ซลมัน อับราฮัม แวกส์มัน (Selman Abraham Waksman; 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1888 – 16 สิงหาคม ค.ศ. 1973) เป็นนักชีวเคมีและนักจุลชีววิทยาชาวอเมริกันเชื้อสายยิว เกิดที่เขตเคียฟ จักรวรรดิรัสเซีย (ปัจจุบันอยู่ในประเทศยูเครน) เป็นบุตรของยาคอบ แวกส์มันและเฟรเดีย ลอนดอน แวกส์มันย้ายมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และเซลมัน แวกส์มัน · ดูเพิ่มเติม »

Berkeley Open Infrastructure for Network Computing

Berkeley Open Infrastructure for Network Computing หรือ BOINC เป็นซอฟต์แวร์โครงสร้างพื้นฐานสำหรับการสร้างโครงการ Distributed Computing สำหรับงานวิจัยที่ต้องใช้การประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก แต่แทนที่ผู้วิจัยจะต้องลงทุนซื้อเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ก็หันมาใช้ระบบ Grid Computing บนอินเทอร์เน็ต และอาศัยการคำนวณโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้อาสาสมัครตามบ้านแทน BOINC พัฒนาขึ้นโดยทีมงานจาก มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ นำโดย ดร. เดวิด แอนเดอร์สัน ผู้อำนวยการโครงการ และผู้พัฒนา SETI@home เมื่อ พ.ศ. 2542 โดยปรับปรุงความสามารถให้เป็นระบบที่เปิดกว้างขึ้น สามารถประยุกต์ไปใช้งานกับโครงการอื่นได้ นอกเหนือจากโครงการ เซติ BOINC ได้รับการบันทึกว่า สามารถประมวลผลได้ 615 TeraFLOPS ด้วยจำนวนผู้ใช้ ประมาณ 4.75 แสนเครื่อง (9 ก.ย. 49) เปรียบเทียบกับ Blue Gene ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกของ ไอบีเอ็ม สามารถคำนวณได้ 280 TFLOPS.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และBerkeley Open Infrastructure for Network Computing · ดูเพิ่มเติม »

SETI@home

right SETI@home หรือ Search for Extra-Terrestrial Intelligence at home เป็นโครงการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตในการค้นหาสัญญาณจากต่างดาว (Search for Extra-Terrestrial Intelligence - SETI - เซติ - โครงการที่รับการส่งเสริมจากคาร์ล เซแกน ในทศวรรษ 1960) โครงการ SETI@home ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ เริ่มเผยแพร่สู่สาธารณะเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 โดยในระยะแรกเป็นโปรแกรมสกรีนเซฟเวอร์ จะทำงานเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่มีการใช้งานอื่น ภาพถ่ายดาวเทียมของกล้องโทรทรรศน์วิทยุอาเรซีโบ กล้องโทรทรรศน์เดี่ยวขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โครงการ SETI@home วิเคราะห์สัญญาณที่บันทึกจากกล้องโทรทรรศน์วิทยุ หอดูดาวอาเรซีโบ ที่เมืองอาเรซีโบ เปอร์โตริโก ซึ่งเฝ้าฟังสัญญาณจากท้องฟ้าในช่วง declination -2 ถึง 38 องศา กินพื้นที่ประมาณ 25% ของท้องฟ้า ข้อมูลถูกบันทึกลงบนเทป DLT ขนาด 35 GB และขนส่งไปที่ห้องวิจัยที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เพื่อแบ่งเป็นส่วนย่อย ๆ เรียกว่า workunit เป็นช่วงสัญญาณความยาว 107 วินาที เพื่อส่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของอาสาสมัครจากทั่วโลกประมวลผล SETI@home ได้รับการสนับสนุนจากผู้ใช้ทั่วไป มีจำนวนผู้ร่วมโครงการถึง 5.2 ล้านคน ได้รับการบันทึกในกินเนสบุ๊ค (Guinness Book of World Records) ว่าเป็นโครงการ distributed computing ที่ใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน ด้วยจำนวนผู้ใช้ที่ยังทำการอยู่ในปัจจุบันประมาณ 3 แสนเครื่อง (5 ธ.ค. 49) โครงการนี้สามารถประมวลผลได้ 257 TeraFLOPS เปรียบเทียบกับ Blue Gene ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกของไอบีเอ็ม สามารถคำนวณได้ 280 TFLOPS ภาพหน้าจอของ SETI@home เวอร์ชันเก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และSETI@home · ดูเพิ่มเติม »

THX 1138

THX 1138 เป็นภาพยนตร์ไซไฟที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และTHX 1138 · ดูเพิ่มเติม »

386BSD

386BSD หรือ JOLIX เป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์BSDฟรี สำหรับเครื่องอินเทล 80386.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์และ386BSD · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

UC BerkeleyUniversity of California BerkeleyUniversity of California, Berkeleyมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบอร์กลีย์มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบอร์คลีย์มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กเลย์มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่เบอร์คเลย์มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่เบิร์กลีย์มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียเบิร์กลีย์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »