โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย

ดัชนี มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย

นจามิน แฟรงคลิน ผู้สถาปนามหาวิทยาลัย รูปปั้นเบนจามิน แฟรงคลิน หน้า College Hall มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย (University of Pennsylvania) (โดยทั่วไปเรียกว่า เพน (Penn) หรือ ยูเพน (UPenn)) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมือง ฟิลาเดลเฟีย ในรัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2283 (ค.ศ. 1740) โดยนายเบนจามิน แฟรงคลิน ซึ่งนับว่าเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับ 4 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งในสมาชิกไอวีลีก มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียได้รับการยอมรับให้เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของสหรัฐอเมริกาและของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีชื่อเสียงในด้าน การแพทย์ พาณิชยศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียนับว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เข้ายากและมีการแข่งขันสูงมากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในอันดับที่ 4 ของประเทศ โดยนิตยสารยูเอสนิว (US News & World Report 2010) นอกจากนี้ วิทยาลัยและคณะต่างๆในระดับปริญญาโทและเอกส่วนใหญ่ก็ถูกจัดอยู่ใน Top 10 เกือบทั้งสิ้น ในปัจจุบัน (ปี พ.ศ. 2552) มีนักศึกษาประมาณ 24,599 คน และคณาจารกว่า 4,127 คน ในปี..

70 ความสัมพันธ์: บรรเทอง รัชตะปีติชาลส์ โจวฟิลาเดลเฟียพรชัย รุจิประภาพิมล ศรีวิกรม์พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์กวาเม อึนกรูมากัล เพนน์การรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญาการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็กภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยาภิญโญ สุวรรณคีรีภิรมย์ กมลรัตนกุลมหาวิทยาลัยฮิโตะสึบะชิมารุต บุนนาครอยนูนรอบฮิปโปแคมปัสระบบการเห็นรัฐเพนซิลเวเนียรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริการายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกาลอว์เรนซ์ เลสสิกวอร์เรน บัฟเฟตต์วิศวกรรมชีวเวชวิสุทธ์ บุษยกุลวิทยาลัยฟิลลิปส์วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์วีรพงษ์ รามางกูรสมองของอัลเบิร์ต ไอนสไตน์สมเกียรติ อ่อนวิมลสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)สาคร สุขศรีวงศ์สิรินทรา วัณโณสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุลหม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรีหลุยส์ คาห์นอันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาอิวะซะกิ ยะโนะซุเกะอิวานกา ทรัมป์อีนิแอกจอตาจิกมี ทินเลย์จิม ทอมป์สันจิตพยาธิวิทยาสัตว์จิตวิทยาเชิงบวกทอรี เบิร์ชดอนัลด์ ทรัมป์ครอว์ฟอร์ด ลอง...คริสเตียน บี. แอนฟินเซนคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยต้นข้าว ปาณินท์ประวัติศาสตร์เภสัชกรรมประทุมพร วัชรเสถียรปรียา ฉิมโฉมปลายสมัยโบราณนิกร ดุสิตสินแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษโบ ไบเดนโอฬาร ไชยประวัติไกรศรี นิมมานเหมินท์ไอ. เอ็ม. เพไอวีลีกเบนจามิน แฟรงคลินเพจแรงก์เกรซ เคลลีเกื้อ วงศ์บุญสินเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟูมิฮิโตะ17 พฤษภาคม ขยายดัชนี (20 มากกว่า) »

บรรเทอง รัชตะปีติ

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ บรรเทอง รัชตะปีติ อายุ 74 ปี อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและบรรเทอง รัชตะปีติ · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ โจว

ลส์ กอง โจว (Charles Kong Djou) หรือในชื่อภาษาจีน โจว หย่งคัง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สภาคองเกรส สหรัฐอเมริกา โดยเป็นสมาชิกพรรครีพับลิกัน โจวเกิดเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2513 ที่ลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย แต่เติบโตที่รัฐฮาวาย บิดาเป็นชาวจีนเซี่ยงไฮ้ ส่วนมารดาเป็นชาวไทย อาศัยอยู่กรุงเทพมหานคร เขาลงสมัครรับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ภายหลังจากการลาออกจากตำแหน่งของนีล อาเบอร์ครอมบีย์ และสามารถเอาชนะ เอ็ด เคส อดีตสมาชิกสภาผู้แทนผู้แทนราษฎร พรรคเดโมแครต และคอลลีน ฮานาบูซา ประธานวุฒิสมาชิก พรรคเดโมแครต รัฐฮาวาย ถือเป็นชัยชนะครั้งแรกในรอบ 50 ปีของพรรครีพับลิกันในเขต 1 รัฐฮาว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและชาลส์ โจว · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลาเดลเฟีย

ฟิลาเดลเฟีย Philadephia หรือที่ เรียกกันว่า Philly หรือ The City of Brotherly Love เป็นเมืองหลวงแห่งแรก ของ America เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐเพนซิลเวเนีย และเป็นเมืองที่พลเมืองหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับ 6 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นเมืองที่มีพื้นที่เมืองจากประชากรเป็นอันดับ 5 Retrieved on March 12, 2011.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและฟิลาเดลเฟีย · ดูเพิ่มเติม »

พรชัย รุจิประภา

รชัย รุจิประภา เป็น ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตปลัดกระทรวงพลังงาน และอดีตปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและพรชัย รุจิประภา · ดูเพิ่มเติม »

พิมล ศรีวิกรม์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมล ศรีวิกรม์ (เกิด 14 เมษายน พ.ศ. 2507) นายกสมาคมเทควันโดแห่งประเทศไทย กรรมการโรงเรียนศรีวิกรม์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไทย และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและพิมล ศรีวิกรม์ · ดูเพิ่มเติม »

พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์

รงคเวโรจน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมคนแรกของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมาชิกสภาความมั่นคงแห่งชาติ ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและพิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

กวาเม อึนกรูมา

อึนกรูมา (ซ้าย) และมาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์ (ขวา) กวาเม อึนกรูมา (Kwame Nkrumah 21 กันยายน พ.ศ. 2452-27 เมษายน พ.ศ. 2515) เป็นผู้ก่อตั้งและประธานาธิบดีคนแรกของประเทศกานา และเป็นที่รู้จักกันในนามผู้มีอิทธิพลของ แพน-อัฟริกานิซึม ใน ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและกวาเม อึนกรูมา · ดูเพิ่มเติม »

กัล เพนน์

กัล เพนน์ (Kal Penn, कल पेन) เกิดเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2520 นักแสดงฮอลลีวูด มีชื่อจริงว่า กัลเพน สุเรศ โมที กัล เพนน์ ได้กล่าวว่าเรื่องราวของปู่ย่าตายายของเขาเดินขบวนกับ มหาตมา คานธี สำหรับอินเดียเป็นประเทศที่มีอิทธิพลสำคัญในความสนใจของเขาทางการเมือง ภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงของเขา คือ Harold & Kumar (คู่บ้าฮาป่วน) ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและกัล เพนน์ · ดูเพิ่มเติม »

การรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญา

การรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญา (Acceptance and commitment therapy ตัวย่อ ACT) เป็นรูปแบบจิตบำบัดแบบหนึ่งของ การบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (cognitive behavior therapy) หรือ clinical behavior analysis (CBA) เป็นการแทรกแซงทางจิตวิทยาที่มีหลักฐานเชิงประสบการณ์ ด้วยวิธีให้ยอมรับ (acceptance) และมีสติ โดยผสมกันต่างจากวิธีอื่น ๆ บวกกับการให้คำมั่นสัญญาและกลยุทธ์การเปลี่ยนพฤติกรรมอื่น ๆ เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นทางใจได้ วิธีนี้ในเบื้องต้นเคยเรียกว่า "comprehensive distancing" เริ่มในปี 1982 (โดย ศ. ดร. สตีเวน ซี. เฮย์ส) ตรวจสอบในปี 1985 (โดย Robert Zettle) แล้วจึงพัฒนาเป็นรูปแบบปัจจุบันในปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 มีโพรโทคอลหลายอย่างสำหรับ ACT ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมหรือสถานการณ์ที่ต้องการเปลี่ยน ยกตัวอย่างเช่น ในเรื่องสุขภาพทางพฤติกรรม จะมีรูปแบบสั้น ๆ ที่เรียกว่า focused acceptance and commitment therapy (FACT) จุดมุ่งหมายของ ACT ไม่ใช่เพื่อกำจัดความรู้สึกที่ไม่ดี แต่ว่า ให้อยู่ได้กับสิ่งที่ตนประสบ และ "ดำเนินไปในพฤติกรรมที่มีค่า" ACT ให้คนเปิดใจต่อความรู้สึกที่ไม่ดี แล้วศึกษาเพื่อที่จะไม่มีปฏิกิริยาต่อพวกมันเกินควร และไม่หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่พวกมันเกิดขึ้น ผลการรักษาเป็นแบบเวียนก้นหอยเชิงบวก ที่ความรู้สึกที่ดีขึ้นนำไปสู่การเข้าใจความจริงที่ดีขึ้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและการรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญา · ดูเพิ่มเติม »

การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก

การฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก (Commercial sexual exploitation of children ตัวย่อ CSEC) เป็นธุรกรรมทางการค้าที่อาศัยการฉวยประโยชน์ทางเพศ (sexual exploitation) จากเด็ก เช่นการค้าประเวณี และสื่อลามกอนาจาร อาจจะมีการบีบบังคับและการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก เท่ากับเป็นแรงงานบังคับและเป็นรูปแบบความเป็นทาสยุคปัจจุบัน รวมทั้งการให้บริการทางเพศของเด็กเพื่อผลประโยชน์แลกเปลี่ยน จะเป็นเงินทองหรืออะไรอย่างอื่นก็ดี ปฏิญญาของงานประชุมโลกใหญ่ต้านการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก (Declaration of the First World Congress against Commercial Sexual Exploitation of Children) ที่ประชุมในเมืองสตอกโฮล์มปี 2539 นิยาม CSEC ว่า CSEC ยังหมายถึงเซ็กซ์ทัวร์ และธุรกรรมทางเพศแบบอื่น ๆ ที่เด็กร่วมกิจกรรมทางเพศเพื่อแลกปัจจัยที่จำเป็นต่อชีวิต เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย หรือการศึกษา รวมทั้งรูปแบบที่สมาชิกในบ้านไม่ห้ามหรือแจ้งตำรวจเกี่ยวกับทารุณกรรมต่อเด็ก เนื่องจากได้ผลประโยชน์จากผู้กระทำผิด และอาจรวมการแต่งงานแบบคลุมถุงชนสำหรับเด็กที่ยังไม่ถึงอายุที่ยอมให้ร่วมประเวณีได้ ที่เด็กไม่ได้ยินยอมและถูกทารุณทางเพศ ศูนย์เพื่อเด็กหายและถูกฉวยผลประโยชน์แห่งชาติ (National Center for Missing and Exploited Children) ซึ่งเป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชน (แต่เบื้องต้นจัดตั้งโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกา) กล่าวว่า เด็กหญิง 1 ใน 5 และเด็กชาย 1 ใน 10 จะถูกฉวยประโยชน์หรือทารุณกรรมทางเพศก่อนจะโตเป็นผู้หใญ่ ส่วนกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) กล่าวว่า การฉวยประโยชน์ทางเพศจากเด็กเป็น "การล่วงละเมิดสิทธิที่รุนแรงที่สุดที่เด็กคนหนึ่งอาจจะต้องอดทนอดกลั้น".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและการฉวยประโยชน์การค้าทางเพศจากเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

ภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา

ตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิงภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา (ชื่อจีน:เล้าไซ้เคง) เริ่มรับราชการที่แผนกกุมารเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ภิญโญ สุวรรณคีรี

รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี (10 มีนาคม 2480 -) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี สถาปนิกสาขาสถาปัตยกรรมไทย นักการศึกษาสถาปัตยกรรมไทยประเพณี ศิลปินแห่งชาติและราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ประเภทสถาปัตยศิลป์ เป็นบุตรของ นายซ้อน – นางรื่น สุวรรณคีรี สมรสกับ นางลาวัณย์ สุวรรณคีรี มีธิดา ๓ คน ได้แก่ นางสาวดลฤดี สุวรรณคีรี, นางสาวปิยนุช สุวรรณคีรี และนางสาวพุทธชาติ สุวรรณคีรี รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี เกิดเมื่อ 10 มีนาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและภิญโญ สุวรรณคีรี · ดูเพิ่มเติม »

ภิรมย์ กมลรัตนกุล

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการอิสระ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพท..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและภิรมย์ กมลรัตนกุล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบะชิ

หอนาฬิกามหาวิทยาลัยฮิโตะสึบะชิ มหาวิทยาลัยฮิโตะสึบะชิ หรือย่อว่า เป็นมหาวิทยาลัยในจังหวัดโตเกียวที่เปิดสอนเฉพาะวิชาด้านสังคมศาสตร์ ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและมหาวิทยาลัยฮิโตะสึบะชิ · ดูเพิ่มเติม »

มารุต บุนนาค

ตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีหลายกระทรวง ปัจจุบันวางมือทางการเมือง แต่ยังคงดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและมารุต บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

รอยนูนรอบฮิปโปแคมปัส

รอยนูนรอบฮิปโปแคมปัส (parahippocampal gyrus) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า รอยนูนฮิปโปแคมปัส (hippocampal gyrus เป็นเขตเนื้อเทา ในคอร์เทกซ์เปลือกสมอง (cerebral cortex) ที่อยู่รอบๆ ฮิปโปแคมปัส เขตในสมองนี้มีความสำคัญในการเข้ารหัสความจำ (memory encoding) และการค้นคืนความจำ (memory retrieval) สมองเขตนี้เกี่ยวข้องกับบางกรณีของคนไข้ที่มีภาวะฮิปโปแคมปัสแข็ง (hippocampal sclerosis) ในคนไข้โรคจิตเภท (schizophrenia) เขตสมองนี้ในซีกสมองทั้งสองข้างมีขนาดไม่เท่ากัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและรอยนูนรอบฮิปโปแคมปัส · ดูเพิ่มเติม »

ระบบการเห็น

ังไม่มี เผื่ออนาคต mammalian visual systemsEye -refined.svg||thumb|200px|ระบบการเห็นประกอบด้วตา และ วิถีประสาทที่เชื่อมตากับpostscript.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและระบบการเห็น · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเพนซิลเวเนีย

รัฐเพนซิลเวเนีย รัฐทางตอนกลาง ของสหรัฐอเมริกา เครือรัฐเพนซิลเวเนีย (Commonwealth of Pennsylvania) เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกของสหรัฐอเมริกา รัฐเพนซิลเวเนียเป็นรัฐหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาเกี่ยวข้องที่สุดรัฐหนึ่ง เป็นที่ประกาศอิสรภาพของอเมริกา โดยมีฟิลาเดลเฟียเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของสหรัฐอเมริกาก่อนการจัดตั้งวอชิงตัน ดีซี ชื่อของรัฐมาจากภาษาละติน ตั้งโดย เควกเกอร์ วิลเลียม เพนน์ เมืองหลวงของรัฐคือ แฮร์ริสเบิร์ก และเมืองสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย และพิตส์เบิร์ก รวมไปถึงเมืองเฮอร์ชีย์ที่ตั้งของโรงงานชอกโกแลตเฮอร์ชีย์ มหาวิทยาลัยที่สำคัญในรัฐได้แก่ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน มหาวิทยาลัยพิตส์เบิร์ก และ มหาวิทยาลัยลีไฮฮ์ ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย อีเกิลส์ และ พิตส์เบิร์ก สตีลเลอรส์ ในปี 2550 เพนซิลเวเนียมีประชากร 12,432,792 คน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและรัฐเพนซิลเวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันวิจัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ โดยจำนวนผู้รับรวมถึง นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์ นักวิจัยของสถาบันนั้น โดยนับทั้งตอนก่อนและหลังที่จะได้รับ ข้อมูลด้านล่างเป็นข้อมูลปี พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและรายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่เปิดสอนวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ในสหรัฐอเมริกามี 199 มหาวิทยาลัย (ข้อมูล พ.ศ. 2549) ที่มีการเปิดสอนคณะวิศวกรรมศาสตร์ในระดับปริญญาตรี โท เอก โดยในแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีภาควิชาย่อยแตกต่างกันไป อาจขึ้นอยู่กับลักษณะทางภูมิศาสตร์ เช่นมหาวิทยาลัยในแถบฝั่งแปซิฟิก จะมีคณะวิศวกรรมมหาสมุทร ในขณะที่มหาวิทยาลัยในบริเวณตอนกลางของประเทศจะเน้นทางด้านอื่น ซึ่งรองรับชุมชน คณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐได้มีการจัดอันดับ โดยนิตยสาร ยูเอสนิวส์ ข้อมูลปี พ.ศ. 2549 การจัดอันดับจะคิดคะแนนรวมจาก สัมภาษณ์อาจารย์ที่มีชื่อเสียง 40% ผลงานวิจัยดีเด่น 25% จำนวนอาจารย์คณะ 25% และคะแนนสอบเข้า (GRE) ของผู้เข้าเรียน 10% อันดับของยูเอสนิวส์ ในส่วนของวิศวกรรมศาสตร์ ควบคุม 184 มหาวิทยาลัย และมักจะได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ ว่าคะแนนอันดับต่ำกว่า 20 มีคะแนนรีวิวใกล้เคียงกัน แต่อันดับต่างกันมาก เปรียบเทียบ MIT และ UIUC คะแนนต่างกัน 18 คะแนน อันดับมหาวิทยาลัยต่างกัน 4 อันดับ ขณะที่ มิชิแกนสเตต แตกต่างจาก ฮาร์วาร์ด ประมาณ 30 อันดับ ที่คะแนนต่างเท่ากัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่เปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ จัดอันดับโดยนิตยสาร ดีไซน์อินเทลลิเจนซ์ ข้อมูลปี ค.ศ. 2005.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและรายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ลอว์เรนซ์ เลสสิก

Lawrence Lessig ลอว์เรนซ์ เลสสิก (Lawrence Lessig) (เกิด 3 มิถุนายน พ.ศ. 2504) เป็นนักวิชาการชาวอเมริกัน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์กฎหมาย ที่วิทยาลัยกฎหมายสแตนฟอร์ด และเป็นผู้ก่อตั้ง ศูนย์เพื่ออินเทอร์เน็ตและสังคม (Center for Internet and Society) ของวิทยาลัย เขาเป็นที่รู้จักมากที่สุดในฐานะผู้สนับสนุนให้ลดข้อจำกัดกฎหมายเรื่องลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า และแถบความถี่คลื่นวิทยุ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการประยุกต์กับเทคโนโลยี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและลอว์เรนซ์ เลสสิก · ดูเพิ่มเติม »

วอร์เรน บัฟเฟตต์

วอร์เร็น เอ็ดเวิร์ด บัฟเฟตต์ (Warren Edward Buffett) เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 1930 ที่โอมาฮา, เนแบรสกา ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเป็นนักลงทุนผู้ใจบุญชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียงระดับโลก เขาเป็นหนึ่งในนักลงทุนที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในโลก เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่และซีอีโอของบริษัทเบิร์กเชียร์ ฮาธาเวย์ เขาได้รับการจัดอันดับให้เป็นบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกในช่วงครึ่งปีแรกของปี ค.ศ. 2008 ด้วยจำนวนเงิน 62,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ จากการจัดอันดับของนิตยสารฟอร์บส์และเป็นบุคคลที่รวยที่สุดเป็นอันดับสามในปี 2554 โดยมีทรัพย์สินประมาณ $50.0 พันล้าน ในปี 2555 นิตยสารอเมริกันยกย่องบัฟเฟตต์เป็นบุคคลที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดในโลก บัฟเฟตต์มักจะได้รับฉายาว่าเป็น เทพพยากรณ์แห่งโอมาฮา หรือไม่ก็ ปราชญ์แห่งโอมาฮา เขามีชื่อเสียงจากปรัชญาการลงทุนแบบเน้นคุณค่าและความเป็นอยู่อย่างประหยัด ถึงแม้ว่าเขาจะร่ำรวยก็ตาม เขายังมีชื่อเสียงจากความใจบุญ วันที่ 11 เมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและวอร์เรน บัฟเฟตต์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมชีวเวช

วิศวกรรมชีวการแพทย์ หรือ วิศวกรรมชีวเวช (Biomedical Engineering) หรือ วิศวกรรมการแพทย์ (Medical Engineering) เป็นสาขาวิชที่นำเอาความรู้ทางด้าน วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ มาประยุกต์ใช้ร่วมกัน เพื่อออกแบบ สร้างหรือพัฒนาซอฟต์แวร์ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐาน สามารถใช้งานได้จริง รวมถึงการศึกษาค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่มีความซับซ้อน และต้องการขั้นตอนการผลิตที่มีมาตรฐาน และ ประสิทธิภาพสูง ตัวอย่างที่เป็นที่รู้จักกันแพร่หลายของงานด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ ได้แก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและวิศวกรรมชีวเวช · ดูเพิ่มเติม »

วิสุทธ์ บุษยกุล

ตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล ศาสตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล (เกิด: 8 พฤศจิกายน 2462, จังหวัดอุดรธานี; อนิจกรรม: 21 มกราคม 2554, กรุงเทพมหานคร) บิดาเป็นชาวจังหวัดอุดรธานี มารดาเป็นชาวสมุทรสงคราม เนื่องจากบิดารับราชการในแผนกคลังจังหวัด เด็กชายวิสุทธิ์จึงต้องติดตามบิดาไปอยู่จังหวัดนครพนมตั้แต่อายุประมาณ 2-3ขวบ และได้เริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จึงได้ย้ายไปศึกษาต่อที่ โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและวิสุทธ์ บุษยกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยฟิลลิปส์

วิทยาลัยฟิลลิปส์ หรือ ฟิลลิปส์แอนโดเวอร์ หรือ แอนโดเวอร์ (อังกฤษ: Phillips Academy, Phillips Andover, Andover, Phillips Academy Andover, หรือ PA) เป็นโรงเรียนประจำ สหศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกา รับนักเรียนเกรด 9-12 รวมทั้งนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาแล้ว (post-graduate หรือ PG) โรงเรียนตั้งอยู่ในเมือง แอนโดเวอร์ รัฐ แมสซาชูเซตส์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยอยู่ทางเหนือของเมือง บอสตัน ประมาณ 25 ไมล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและวิทยาลัยฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์

SAIS - วอชิงตัน ดี.ซี. วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและวิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

วีรพงษ์ รามางกูร

วีรพงษ์ รามางกูร หรือ ดร.โกร่ง รองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตที่ปรึกษาเศรษฐกิจในหลายรัฐบาล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและวีรพงษ์ รามางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สมองของอัลเบิร์ต ไอนสไตน์

อัลเบิร์ต ไอนสไตน์ สมองของนักฟิสิกส์ อัลเบิร์ต ไอนสไตน์ถูกวิจัยและคาดคะเนอย่างมาก สมองของไอนสไตน์ถูกนำออกมาภายในเจ็ดชั่วโมงครึ่งหลังการเสียชีวิตของเขา ด้วยเขามีชื่อเสียงเป็นอัจฉริยบุคคลชั้นนำคนหนึ่งแห่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 สมองของเขาจึงได้รับความสนใจ มีการนำลักษณะต่าง ๆ ในสมองทั้งที่ปกติและแปลกไปใช้สนับสนุนความคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประสาทกายวิภาคศาสตร์กับความฉลาดทั่วไปและทางคณิตศาสตร์ การศึกษาทางวิทยาศาสตร์เสนอว่าบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการพูดและภาษานั้นเล็กกว่า ขณะที่บริเวณเกี่ยวกับจำนวนและการประมวลผลเชิงปริภูมินั้นใหญ่กว่า การศึกษาอื่น ๆ พบว่าสมองของไอนสไตน์มีจำนวนเซลล์เกลียมากกว่าปกต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและสมองของอัลเบิร์ต ไอนสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเกียรติ อ่อนวิมล

ผ.สมเกียรติ อ่อนวิมล เป็นประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จำกัด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท แปซิฟิก อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น จำกัด อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2543 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 อดีตนักสร้างสรรค์รายการข่าวและผู้ประกาศข่าวของหลายสถานีโทรทัศน์ในประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและสมเกียรติ อ่อนวิมล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

ตราจารย์พิเศษ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ประยุทธ์ อารยางกูร ฉายา ปยุตฺโต หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

สาคร สุขศรีวงศ์

. (พิเศษ) ดร.สาคร สุขศรีวงศ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทเงินทุน กรุงเทพธนาทร จำกัด (มหาชน) ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและสาคร สุขศรีวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สิรินทรา วัณโณ

รินทรา วัณโณ (1 กุมภาพันธ์ 2521 -) เป็นอาจารย์ประจำ ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท 2 สาขาทั้งสถาปัตยกรรม และภูมิสถาปัตยกรรม โดยอาจารย์ได้จบปริญญาตรีและโทสาขาสถาปัตยกรรม จาก Savannah College of Art and Design-SCAD สหรัฐอเมริกา 2544 และจบปริญญาโทในสาขาภูมิสถาปัตยกรรม จากมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา 2547 การที่อาจารย์เป็นบุตรสาวของอุปนายกสมาคมไม้ประดับแห่งประเทศไทย อาจารย์สุรัตน์ วัณโณทำให้อาจารย์สนใจเรื่องต้นไม้มาแต่เล็ก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและสิรินทรา วัณโณ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารจามจุรี 10 และศศินทร์ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University) เป็นสถาบันที่เปิดทำการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา (นานาชาติ) ทางด้านบริหารธุรกิจ การตลาด การจัดการ และสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยความร่วมมือกันระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย The Kellogg School of Management ของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น และ Wharton School ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย นอกจากนี้ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ยังเป็นสถาบันแห่งแรกในไทยที่ได้รับการรับรองจากสมาคมเพื่อพัฒนาวิทยาลัยธุรกิจ (Association to Advance Collegiate Schools of Business) ด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล (15 กรกฎาคม 2490 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐอดีตประธานกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี

ตราจารย์กิตติคุณ หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี (เกษมศรี) (19 ธันวาคม 2476 - ปัจจุบัน) นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สถาปนิกดีเด่น ผู้บุกเบิกงานวิจัยสถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้ร่วมก่อตั้งสาขาสถาปัตยกรรมไทย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรีได้รับพระราชทานปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จาก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2499 และได้รับปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ในปี พ.ศ. 2504 ศาสตราจารย์ กิตติคุณ หม่อมราชวงศ์ แน่งน้อย ศักดิ์ศรี เข้ารับราชการตำแหน่งอาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2500 จนเกษียณอายุราชการเมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและหม่อมราชวงศ์แน่งน้อย ศักดิ์ศรี · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ คาห์น

หลุยส์ อิซาดอร์ คาห์น (Louis Isadore Kahn) (20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1901 หรือ 1902 - 17 มีนาคม ค.ศ. 1974) เป็นสถาปนิกผู้มีชื่อเสียงระดับโลก มีพื้นเพเป็นคนยิวเอสโตเนีย อาศัยอยู่ในฟิลาเดลเฟีย สหรัฐอเมริกา หลังจากทำงานจำนวนมากหลายชิ้นให้กับหลายบริษัทในฟิลาเดลเฟีย เขาก็ก่อตั้งห้องศิลปะของตัวเองในปี 1935 ขณะที่ทำงานส่วนตัว เขาก็ยังเป็นนักวิจารณ์ด้านการออกแบบและอาจารย์โรงเรียนสถาปัตยกรรมศาสตร์เยล ตั้งแต่ปี 1947 ถึง 1957 และจากปี 1957 จนกระทั่งเสียชีวิตเขาเป็นอาจารย์สอนที่โรงเรียนออกแบบที่มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย งานของเขาได้รับอิทธิพลจากซากโบราณ มีลักษณะไปทางอนุสรณ์และสิ่งใหญ่โต ตึกอันหนัก วัสดุ ของเขารวมกันดูไม่ได้ซ่อนรูปน้ำหนัก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและหลุยส์ คาห์น · ดูเพิ่มเติม »

อันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา

อันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา ได้มีการจัดโดยนิตยสารต่างๆ ภายในประเทศ เพื่อเป็นตัวแสดงให้เห็นถึง ประสิทธิภาพของมหาวิทยาลัยในขณะนั้น และรวมถึงเป็นข้อมูลสำหรับนักเรียนหรือนักศึกษาที่ต้องการศึกษาต่อช่วยในการตัดสินใจ ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศแรกที่มีการจัดอันดับมหาวิทยาลัยกันอย่างจริงจัง และ อันดับมหาวิทยาลัยที่จัดนั้น ก็ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเรียนต่อของนักศึกษา อัตราการสมัคร (admission rate) อัตราการเข้าเรียนจริง ๆ ของผู้ที่ได้รับการตอบรับแล้ว (yield rate) และการวางแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยต่างๆ สำหรับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดของสหรัฐอเมริกา คือ การจัดอันดับโดยนิตยสาร ยูเอสนิวส์แอนด์เวิลด์รีพอร์ต (US News and World Report) ซึ่งได้เริ่มการจัดอันดับ มหาวิทยาลัยในระดับปริญญาตรี (College) ในปี 2526 เป็นต้นมา โดยในชั้นแรก เป็นแค่คอลัมน์หนึ่งของนิตยสารเท่านั้น และ การจัดอันดับมหาวิทยาลัย ไม่ได้รับความสนใจมากนักต่อนักการศึกษา และมหาวิทยาลัยต่าง ๆ แต่ต่อมาด้วยความนิยมที่มีมากขึ้น ทำให้ นิตยสาร USNews ได้รับความนิยมจากนักเรียนในการตัดสินใจเลือกมหาวิทยาลัย แม้จะมีข้อผิดพลาด และได้รับการวิจารณ์จากนักการศึกษาอยู่เสมอ ๆ ในยุคแรก ๆ ภายหลังนิตยสารได้ใช้ผู้เชี่ยวชาญในด้านสถิติมาเป็นบรรณาธิการในด้านการจัดอันดับโดยเฉพาะ ต่อมาได้มีนิตยสารอื่น ๆ ทำการจัดทำการจัดอันดับมหาวิทยาลัยของสหรัฐ ฯ ออกมามากขึ้น เช่น สำหรับคณะบริหารธุรกิจ มีนิตยสาร เช่น นิตยสารบิซิเนสวีก(BusinessWeek), นิตยสารฟอรบส์ (Forbes) ซึ่งได้รับความนิยม ในสาขาปรัชญา ก็มี Gourmet Report แต่อย่างไรก็ได้ การจัดลำดับของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ นั้น มีความแตกต่างกันตามแต่อคติและการให้น้ำหนักของปัจจัยที่ใช้วัดคะแนน ตัวอย่างของความแตกต่าง อาทิ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและอันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

อิวะซะกิ ยะโนะซุเกะ

ไฟล์:Iwasaki Yanosuke BOJ4.jpg อิวะซะกิ ยะโนะซุเกะ (1851-1908) เป็นนักธุรกิจชาวญี่ปุ่นและประธานคนที่ 2 ของมิตซูบิชิ ยะโนะซุเกะเกิดเมื่อปี 1851 เป็นน้องชายของ อิวะซะกิ ยะตะโร ต่อมาเมื่อยะตะโรถึงแก่กรรมในปี 1885 ยะโนะซุเกะจึงขึ้นเป็นประธานแทน ยะโนะซุเกะจบการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยโตเกียว และ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ก่อนจะมารับตำแหน่งประธานมิตซูบิชิต่อจากพี่ชาย หลังจากยะโนะซุเกะเป็นประธานมิตซูบิชิได้ 8 ปีเขาก็สละตำแหน่งให้ฮิสะยะดำรงตำแหน่งแทนในปี 1893 อีก 3 ปีต่อมายะโนะซุเกะได้เป็นประธานธนาคารกลางญี่ปุ่น ก่อนจะออกจากตำแหน่งในปี 1896 ยะโนะซุเกะถึงแก่กรรมเมื่อปี 1908 ขณะอายุได้ 57 ปี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2394 หมวดหมู่:นักธุรกิจชาวญี่ปุ่น หมวดหมู่:บุคคลจากแคว้นโทะซะ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและอิวะซะกิ ยะโนะซุเกะ · ดูเพิ่มเติม »

อิวานกา ทรัมป์

อิวานกา มารี ทรัมป์ เป็น นักการเมือง นักธุรกิจหญิงชาวอเมริกัน อดีตนักสังคม นักเขียนและนางแบบ เธอเป็นลูกสาวของดอนัลด์ ทรัมป์กับภรรยาคนแรกอิวานา ทรัมป์อดีตนางแบบ เธอเป็นรองประธานระดับสูงในบริษัทของพ่อเธอ และเป็นที่ปรึกษาในรายการ The Apprentice ของพ่อเธอด้วย เธอย้ายไป วอชิงตัน ดี.ซี. ในปี 2017 พร้อมสามีของเธอจาเร็ด คัชเนอร์ ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาอาวุโสของประธาราธิบดีสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:นักออกแบบเสื้อผ้าชาวอเมริกัน หมวดหมู่:นักเขียนสร้างแรงบันดาลใจชาวอเมริกัน หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายเยอรมัน หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายสกอตแลนด์ หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและอิวานกา ทรัมป์ · ดูเพิ่มเติม »

อีนิแอก

อีนิแอก อีนิแอก (ENIAC ย่อมาจาก Electronic Numerical Integrator and Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์อเนกประสงค์เครื่องแรกของโลก พัฒนาโดยกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2485 ช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อใช้ในการคำนวณวิถีการโจมตีของอาวุธในแบบต่างๆ อีนิแอกได้จัดเข้าสู่โครงการ ในคณะวิศวกรรมไฟฟ้า ที่ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ในปี 2486 และในปี 2490 ได้ถูกย้ายไปที่ Aberdeen Proving Ground ที่รัฐแมริแลน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและอีนิแอก · ดูเพิ่มเติม »

จอตา

ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง เรตินา หรือ จอตา"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑" หรือ จอประสาทตา (retina, พหูพจน์: retinae, จากคำว่า rēte แปลว่า ตาข่าย) เป็นเนื้อเยื่อมีลักษณะเป็นชั้น ๆ ที่ไวแสง บุอยู่บนผิวด้านในของดวงตา การมองเห็นภาพต่าง ๆ นั้นเกิดขึ้นได้โดยอาศัยเซลล์ที่อยู่บนเรตินา เป็นตัวรับและแปลสัญญาณแสงให้กลายเป็นสัญญาณประสาทหรือกระแสประสาท ส่งขึ้นไปแปลผลยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้เราสามารถมองเห็นภาพต่างๆได้ คือ กลไกรับแสงของตาฉายภาพของโลกภายนอกลงบนเรตินา (ผ่านกระจกตาและเลนส์) ซึ่งทำหน้าที่คล้ายกับฟิลม์ในกล้องถ่ายรูป แสงที่ตกลงบนเรตินาก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางเคมีและไฟฟ้าที่เป็นไปตามลำดับ ซึ่งนำไปสู่การส่งสัญญาณประสาทโดยที่สุด ซึ่งดำเนินไปยังศูนย์ประมวลผลทางตาต่าง ๆ ในสมองผ่านเส้นประสาทตา ในสัตว์มีกระดูกสันหลังในช่วงพัฒนาการของเอ็มบริโอ ทั้งเรตินาทั้งเส้นประสาทตามีกำเนิดเป็นส่วนหนึ่งของสมอง ดังนั้น เรตินาจึงได้รับพิจารณาว่าเป็นส่วนของระบบประสาทกลาง (CNS) และจริง ๆ แล้วเป็นเนื้อเยื่อของสมอง"Sensory Reception: Human Vision: Structure and function of the Human Eye" vol.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและจอตา · ดูเพิ่มเติม »

จิกมี ทินเลย์

ลียนโป จิกมี โยวเซอ ทินเลย์ (Lyonpo Jigmi Yoeser Thinley; ค.ศ. 1952 —) อดีตนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของภูฏาน ปัจจุบันเป็นหัวหน้าพรรคสหภูฏาน (Druk Phuensum Tshogpa - DPP, Bhutan United Party) ซึ่งชนะการเลือกตั้ง ได้เสียงข้างมากในสภา 44 ที่นั่ง จากทั้งหมด 47 ที่นั่ง ในการเลือกตั้งครั้งแรกของภูฏาน จิกมี ทินเลย์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและจิกมี ทินเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

จิม ทอมป์สัน

ม ทอมป์สัน หรือชื่อเต็ม เจมส์ แฮร์ริสัน วิลสัน ทอมป์สัน (James Harrison Wilson Thompson; 21 มีนาคม ค.ศ. 1906 — ค.ศ. 1967) เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกัน ที่มีชื่อเสียงจากการทำธุรกิจผ้าไหมในประเทศไทย และก่อตั้งบริษัทซึ่งมีชื่อเดียวกับเขาเองขึ้น เพื่อรองรับกิจการค้าผ้าไหมดังกล่าว เขาหายตัวไปจากโรงแรม บนแคเมอรอนไฮแลนด์ รัฐอิโปห์ ประเทศมาเลเซีย โดยไม่มีใครทราบเหตุการณ์ที่แน่ชัดว่าเกิดอะไรขึ้นกั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและจิม ทอมป์สัน · ดูเพิ่มเติม »

จิตพยาธิวิทยาสัตว์

ตพยาธิวิทยาสัตว์ (Animal psychopathology) เป็นการศึกษาโรคจิตและพฤติกรรมในสัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์ โดยประวัติแล้ว ศาสตร์มักจะเอามนุษย์เป็นศูนย์ (มานุษยประมาณนิยม) เมื่อศึกษาจิตพยาธิวิทยาในสัตว์เพื่อใช้เป็นแบบจำลองสำหรับโรคจิตในมนุษย์ แต่จากมุมมองทางวิวัฒนาการ จิตพยาธิของสัตว์จะพิจารณาได้อย่างเหมาะสมกว่าว่า เป็นพฤติกรรมที่ไม่ปรับตัว (non-adaptive) เพราะความพิการทางความรู้คิด ความพิการทางอารมณ์ หรือความทุกข์บางอย่าง บทความนี้แสดงจิตพยาธิสัตว์จำนวนหนึ่งแต่ไม่สมบูรณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและจิตพยาธิวิทยาสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตวิทยาเชิงบวก

ตวิทยาเชิงบวก (Positive psychology) เป็นสาขาย่อยใหม่ของจิตวิทยาที่ใช้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และการแทรกแซงที่มีประสิทธิผล เพื่อช่วยให้บุคคลมีชีวิตที่น่าพอใจ โดยสร้างความเจริญก้าวหน้าสำหรับบุคคล ครอบครัว และชุมชน และค้นหาเสริมสร้างอัจฉริยภาพกับความสามารถเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติสุขมากยิ่งขึ้น ศาสตร์นี้เพ่งความสนใจไปที่การพัฒนาตนเองแทนที่การรักษาโรค ซึ่งมักจะเป็นจุดสนใจของจิตวิทยาสาขาอื่น ๆ เป็นวิทยาการที่ค่อนข้างใหม่ งานประชุมครั้งแรกเกี่ยวกับศาสตร์นี้เกิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและจิตวิทยาเชิงบวก · ดูเพิ่มเติม »

ทอรี เบิร์ช

ทอรี เบิร์ช (Tory Burch) เกิด 17 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและทอรี เบิร์ช · ดูเพิ่มเติม »

ดอนัลด์ ทรัมป์

อนัลด์ จอห์น ทรัมป์ (Donald John Trump; เกิด 14 มิถุนายน ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 45 และยังเป็นนักธุรกิจ, พิธีกรรายการโทรทัศน์ และนักแสดงรับเชิญในภาพยนตร์หลายเรื่อง เขาเป็นประธานและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ของบริษัททรัมป์ออร์กาไนเซชัน ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐอเมริกา ทรัมป์ยังเป็นผู้ก่อตั้งทรัมป์เอนเตอร์เทนเมนต์รีสอร์ต ที่มีกิจการกาสิโนและโรงแรมหลายแห่งทั่วโลก และด้วยการใช้ชีวิตที่หรูหราและการพูดจาที่โผงผางทำให้เขามีชื่อเสียง ยังเป็นส่วนให้เขาประสบความสำเร็จในรายการเรียลลิตี้โชว์ทางช่องเอ็นบีซี ที่ชื่อ The Apprentice (ที่เขารับตำแหน่งพิธีกรและผู้อำนวยการสร้าง) ดอนัลด์เกิดและเติบโตในนครนิวยอร์ก เขาเป็นบุตรคนที่ 4 ใน 5 ของเฟรด ทรัมป์ เศรษฐีผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในนครนิวยอร์ก ดอนัลด์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากพ่อของเขาในเป้าหมายของอาชีพการเป็นนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และในครั้งจบการศึกษาจากโรงเรียนธุรกิจวอร์ตันแห่งมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและดอนัลด์ ทรัมป์ · ดูเพิ่มเติม »

ครอว์ฟอร์ด ลอง

รอว์ฟอร์ด ลอง บนแสตมป์สหรัฐฯ ครอว์ฟอร์ด วิลเลียมสัน ลอง (Crawford Williamson Long; 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 – 16 มิถุนายน ค.ศ. 1878) เป็นศัลยแพทย์และเภสัชกรชาวอเมริกัน เป็นบุคคลแรกที่ใช้ไดเอทิลอีเทอร์เป็นยาระงับความรู้สึก (anesthetic) ครอว์ฟอร์ด ลอง เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและครอว์ฟอร์ด ลอง · ดูเพิ่มเติม »

คริสเตียน บี. แอนฟินเซน

ริสเตียน โบห์เมอร์ แอนฟินเซน จูเนียร์ (Christian Boehmer Anfinsen, Jr.; 26 มีนาคม ค.ศ. 1916 – 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1995) เป็นนักชีวเคมีชาวอเมริกัน เกิดในครอบครัวชาวอเมริกันเชื้อสายนอร์เวย์ที่เมืองโมเนสเซน รัฐเพนซิลเวเนีย เป็นบุตรของโซฟี (นามสกุลเดิม รัสมุสเซน) และคริสเตียน โบห์เมอร์ แอนฟินเซน ซีเนียร์ ช่วงทศวรรษที่ 1920 ครอบครัวของแอนฟินเซนย้ายไปอยู่ที่เมืองฟิลาเดลเฟีย แอนฟินเซนเรียนที่วิทยาลัยสวาร์ธมอร์จนจบปริญญาตรีในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและคริสเตียน บี. แอนฟินเซน · ดูเพิ่มเติม »

คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย จัดตั้งเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2483 มีฐานะเป็นแผนกอิสระทันตแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยแต่งตั้งให้ศาสตราจาร.อ.หลวงวาจวิทยาวัฑฒน์ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนกอิสระคนแรกและต่อมาได้ดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรกเช่นกัน ปี 2559 คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์อันดับ 1 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับของ QS World University Rankings by Subject 2016.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ต้นข้าว ปาณินท์

รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและต้นข้าว ปาณินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เภสัชกรรม

ลังยาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในประเทศอิตาลี ประวัติศาสตร์เภสัชกรรม มีวิวัฒนาการไปพร้อมกับประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ เนื่องจากยาเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ และเภสัชกรรมเป็นส่วนหนึ่งของวิวัฒนาการทางการแพทย์ ทั้งแผนตะวันตกและตะวันออกมาช้านาน โดย "การแพทย์" สามารถแบ่งออกเป็นหลายสาขา ได้แก่ เวชกรรม เภสัชกรรม พยาบาล ทันตกรรม เป็นต้น โดยในระยะเริ่มแรก การแพทย์ของทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออกจะอยู่ในรูปองค์รวม โดยมี "แพทย์" เป็นผู้รับผิดชอบทั้งการรักษา การปรุงยา การดูแล จนกระทั่งเมื่อวิทยาการทางการแพทย์มีความก้าวหน้า ได้มีการจำแนกวิชาชีพออกตามความชำนาญมากขึ้น เพื่อฝึกหัดให้เกิดความชำนาญเฉพาะด้านแต่ละสาขา ระบบการแพทย์ในสมัยโบราณมักผูกพันกับอำนาจลี้ลับ เทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ผสมผสานกับการสังเกต ทดลอง วิเคราะห์ และหาความเชื่อมโยง รวมถึงการสังเกตพฤติกรรมสัตว์ในการบริบาลตนเองเมื่อเจ็บป่วย และได้นำมาดัดแปลงตามความเหมาะสม เกิดแนวคิดและถ่ายทอดสู่รุ่นลูกหลาน และพัฒนาขึ้นเป็นระบบ และเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นในแต่ละภูมิภาค ในสมัยโบราณ การจัดทำเภสัชตำรับขึ้นครั้งแรกเกิดขึ้นในดินแดนเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีการบันทึกโดยใช้อักษรคูนิฟอร์ม นับเป็นเภสัชตำรับฉบับแรกของโลก และเริ่มมีการแบ่งสายวิชาชีพเภสัชกรรมออกจากวิชาชีพเวชกรรมในสมัยพระเจ้าฮัมมูราบี ส่วนในจีน การแพทย์มักมีความผูกพันกับธรรมชาติ และใช้ปรัชญาของจีนร่วมในการรักษา ในอียิปต์เริ่มมีการจดบันทึกเภสัชตำรับเมื่อประมาณ 1500 ปีก่อนคริสต์ศักราช หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "ปาปิรุสอีเบอร์" ตลอดจนบูชาเทพเจ้าในการบำบัดโรคกว่า 10 องค์ ในสมัยกรีกโบราณ ชาวกรีกได้บูชาเทพแอสคลีปิอุส ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นเทพแห่งการแพทย์ เช่นเดียวกับพระธิดา คือ เทพีไฮเจีย เทพีแห่งสุขอนามัย โดยพระองค์จะถือถ้วยยาและงูไว้ งูเป็นสัญลักษณ์ในการดูดพิษของชาวกรีกโบราณ จนกระทั่งเป็นสัญลักษณ์ของวิชาชีพเภสัชกรรมในปัจจุบัน กรีกมีนักปราชญ์มากมาย จึงใช้ปรัชญาและทฤษฎีในการบำบัดรักษาโรคทั่วไป ส่วนในยุคโรมัน ซึ่งได้รับวิทยาการถ่ายทอดจากกรีก ได้ใช้ปรัชญาจากนักปราชญ์ในการบริบาลผู้ป่วยสืบต่อมา สมัยจักรวรรดิโรมัน กาเลนนับเป็นบุคคลสำคัญในการบริบาลผู้ป่วย โดยกาเลนจะปรุงยาด้วยตนเองเสมอจนถือว่ากาเลนเป็น "บิดาแห่งเภสัชกรรม" ในสมัยกลาง เมื่อโรมันเสื่อมอำนาจลง วิทยาการด้านการแพทย์เสื่อมถอยลง แต่วิทยาการทางการแพทย์ตะวันตกยังคงได้รับการถ่ายทอดจากชาวอาหรับที่มาค้าขายด้วย ในสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์ทรงประกาศกฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพเภสัชกรรม (Magna Charta of the Profession of Pharmacy) เมื่อ ค.ศ. 1240 ห้ามมิให้ดำเนินการตั้งร้านยาหรือธุรกิจเกี่ยวกับการขายยา ยกเว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากรัฐ และให้แยกวิชาชีพเภสัชกรรมออกจากวิชาชีพเวชกรรมอย่างเด็ดขาดเป็นครั้งแรก การจำแนกเภสัชกรรมออกจากเวชกรรม เรียกข้อมูลวันที่ 8 สิงหาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและประวัติศาสตร์เภสัชกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ประทุมพร วัชรเสถียร

รองศาสตราจารย์ ประทุมพร วัชรเสถียร (สกุลเดิม: เหล่าวานิช; 27 กันยายน พ.ศ. 2486 — 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553) ชื่อเล่น ตุ้ง เป็นนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้านการเมืองและนโยบายต่างประเทศแถบยุโรป, นักเขียน, นักจัดรายการวิทยุ และพิธีกรรายการโทรทัศน์ ตลอดจนเคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร..ประทุมพร เป็นรัฐศาสตรบัณฑิตแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นที่ 14 จากนั้น ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สหรัฐ ได้ป็นมหาบัณฑิตด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ส่วนด้านครอบครัว ประทุมพรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ และได้สมรสกับธีระ วัชรเสถียร สามีนับถือนิกายโรมันคาทอลิก มีบุตรชายด้วยกันคือพลธร วัชรเสถียร ร..ประทุมพร เป็นที่รู้จักมากในบทบาทนักเขียน และสื่อมวลชน ในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 เป็นหนึ่งใน 100 บุคคลที่ร่วมลงชื่อคัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของจอมพลถนอม กิตติขจร ด้วย ถึงแก่กรรมเมื่อเวลา 04.10 น. ของวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและประทุมพร วัชรเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ปรียา ฉิมโฉม

ปรียา ฉิมโฉม (สกุลเดิม เทพหัสดิน ณ อยุธยา, 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 – 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2550) นักผังเมืองและสถาปนิก ผู้บุกเบิกสำคัญผู้หนึ่งด้านการผังเมืองของประเทศไทย ตั้งแต่ครั้งยังเป็นกองผังเมืองจนถึงระดับกรมโดยได้เป็นผู้อำนวยการ (อธิบดี) คนที่ 3 ของสำนักผังเมือง (ปัจจุบันคือกรมโยธาธิการและผังเมือง) และนับเป็นอธิบดีหญิงคนแรกของกระทรวงมหาดไทย นางปรียา ฉิมโฉมเป็นนิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่น ที่ 1 (พ.ศ. 2476).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและปรียา ฉิมโฉม · ดูเพิ่มเติม »

ปลายสมัยโบราณ

ราณตอนปลาย (Late Antiquity) เป็นสมัยประวัติศาสตร์ที่ใช้โดยนักประวัติศาสตร์ในการบรรยายช่วงเวลาที่เปลี่ยนจากยุคโบราณคลาสสิกไปเป็นยุคกลางทั้งบนแผ่นดินใหญ่ยุโรปและบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน ของเขตของสมัยยังคงเป็นเรื่องที่โต้แย้งกันอยู่ แต่นักประวัติศาสตร์คนสำคัญปีเตอร์ บราวน์เสนอว่าเป็นช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 2 ถึง ที่ 8 โดยทั่วไปแล้วก็อาจจะเทียบได้กับช่วงเวลาตั้งแต่การสิ้นสุดของวิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 (ค.ศ. 235-ค.ศ. 284) ของจักรวรรดิโรมัน ไปจนถึงการจัดระบบบริหารของจักรวรรดิโรมันตะวันออกภายใต้การนำของจักรพรรดิเฮราคลิอัส และการพิชิตดินแดนโดยมุสลิมในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันประสบกับความเปลี่ยนแปลงอย่างขนานใหญ่ทั้งทางด้านสังคม, วัฒนธรรม และ ระบบการปกครองที่เริ่มขึ้นในรัชสมัยของจักรพรรดิไดโอคลีเชียนผู้ทรงเป็นผู้เริ่มการแบ่งจักรวรรดิออกเป็นสองส่วนคือจักรวรรดิโรมันตะวันออกและจักรวรรดิโรมันตะวันตกที่ปกครองโดยพระจักรพรรดิหลายพระองค์ เริ่มด้วยจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 เมื่อจักรวรรดิถูกเปลี่ยนเป็นจักรวรรดิคริสเตียน และการก่อตั้งคอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง การโยกย้ายถิ่นฐานของกลุ่มชนเจอร์มานิคต่อมาก็บั่นทอนเสถียรภาพของจักรวรรดิยิ่งขึ้นไปอีก ที่ในที่สุดก็นำไปสู่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกในปี ค.ศ. 476 และมาแทนที่ด้วยระบอบพระมหากษัตริย์ของชนเจอร์มานิค หรือ “ระบอบพระมหากษัตริย์ของอนารยชน” ผลก็คือการผสานระหว่างวัฒนธรรมกรีก-โรมัน เจอร์มานิค และ คริสเตียนที่กลายมาเป็นพื้นฐานของวัฒนธรรมของยุโรปตะวันตก การสูญเสียประชากร, ความรู้ทางเทคโนโลยี และ มาตรฐานความเป็นอยู่ของยุโรปตะวันตกในยุคนี้เป็นลักษณะของสถานภาพที่เรียกว่า “การล่มสลายของสังคม” (Societal collapse) โดยนักเขียนตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยามาจนกระทั่งเมื่อไม่นานมานี้ จากความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นและการขาดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของยุโรปตะวันตกในช่วงนี้โดยเฉพาะ ในช่วงระหว่างการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกมาจนถึงยุคกลาง ทำให้ได้ชื่อว่าเป็น “ยุคมืด” ที่มาแทนที่ด้วยคำว่า “ยุคโบราณตอนปลาย”.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและปลายสมัยโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

นิกร ดุสิตสิน

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ นิกร ดุสิตสิน เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและนิกร ดุสิตสิน · ดูเพิ่มเติม »

แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แอนน์แห่งเดนมาร์ก (Anne of Denmark; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1574 — 2 มีนาคม ค.ศ. 1619) เป็นพระธิดาองค์ที่สองของพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กและโซฟีแห่งเมคเลนบูร์ก-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ แอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีแห่งสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1589 และเป็นพระราชินีแห่งอังกฤษตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1589 กระทั่งเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1619 ที่พระราชวังแฮมป์ตันคอร์ตในอังกฤษ พระศพของพระองค์ตั้งอยู่ที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ แอนน์ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าเจมส์ที่ 1 เมื่อปี ค.ศ. 1589 เมื่อพระชนมายุได้ 14 พรรษา มีพระโอรสธิดาสามพระองค์ที่รอดมาได้จนโตรวมทั้งพระเจ้าชาลส์ที่ 1 พระองค์ทรงเป็นผู้มีความเด็ดเดี่ยวพอที่จะทรงใช้ความแตกแยกของการเมืองในสกอตแลนด์เป็นเครื่องมือในการเรียกร้องสิทธิในตัวพระโอรส เฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ จากพระเจ้าเจมส์ ดูเหมือนว่าพระองค์จะทรงรักพระเจ้าเจมส์ในตอนแรก แต่ต่อมาทั้งสองพระองค์ก็ทรงห่างเหินจากกัน จนในที่สุดก็ทรงแยกกันอยู่ แต่ก็ยังคงทรงมีความนับถือซึ่งกันและกันอยู่บ้าง เมื่อประทับอยู่ในอังกฤษ พระองค์ทรงหันความสนใจจากทางด้านการเมืองที่เป็นฝักเป็นฝ่ายไปเป็นการอุปถัมภ์ศิลปะ และการสร้างราชสำนักที่หรูหราของพระองค์เอง ทรงจัดให้มีการพบปะในซาลอนที่ทำให้เป็นราชสำนักของพระองค์เป็นราชสำนักที่มีวัฒนธรรมสูงที่สุดสำนักหนึ่งในยุโรป หลังจากปี ค.ศ. 1612 พระสุขภาพพลานามัยของพระองค์ก็เริ่มเสื่อมลง จนในที่สุดก็ทรงถอนตัวจากราชสำนัก ตามทางการแล้วพระราชินีแอนน์สวรรคตในฐานะที่เป็นโปรเตสแตนต์ แต่หลักฐานบางอย่างบ่งชี้ให้เห็นว่าอาจจะทรงเปลี่ยนไปนับถือนิกายโรมันคาทอลิกขณะใดขณะหนึ่งระหว่างที่ยังมีพระชนม์อยู่ นักประวัติศาสตร์เดิมไม่ได้เห็นว่าแอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีที่มีความสำคัญมากเท่าใดนัก และออกจะเป็นผู้มีความหลงพระองค์เอง แต่เมื่อไม่นานมานี้ ความเห็นเกี่ยวกับพระองค์ก็เริ่มจะเปลี่ยนไปโดยเริ่มมีความเห็นกันว่าพระองค์ทรงมีความเด็ดเดี่ยวเป็นตัวของตัวเองโดยเฉพาะทรงเป็นผู้มีความสำคัญในการเป็นผู้อุปถัมภ์ทางศิลปะระหว่างสมัยจาโคเบียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

โบ ไบเดน

ซฟ โรบิเนตต์ "โบ" ไบเดนที่ 3 (Joseph Robinette "Beau" Biden III; 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 – 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน เขาเป็นสมาชิกของพรรคเดโมแครต และเป็นลูกชายของโจ ไบเดน รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา และจิล ไบเดน สุภาพสตรีหมายเลขสองสหรัฐ เขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและโบ ไบเดน · ดูเพิ่มเติม »

โอฬาร ไชยประวัติ

อฬาร ไชยประวัติ อดีตประธานผู้แทนการค้าไทย และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองนายกรัฐมนตรี เป็นนักการเมืองสังกัดพรรคเพื่อไทย ในสมัยรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดร.โอฬารเป็นเหตุสำคัญในคำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดเพราะมีผลประโยชน์ทับซ้อนกรณีการแปรรูป บม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและโอฬาร ไชยประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

ไกรศรี นิมมานเหมินท์

นายไกรศรี นิมมานเหมินท์ เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในวิทยาการหลายด้าน ได้ทำการสำรวจค้นคว้าและเขียนบทความเผยแพร่ ทั้งด้านโบราณคดี ด้านประวัติศาสตร์และมานุษยวิทยา เป็นผู้ค้นพบเตาสังคโลกโบราณที่อำเภอสันกำแพง อำเภอสันทราย และอีกหลายแห่งในภาคเหนือ เป็นผู้คนพบเอกสารใบลานที่สำคัญชิ้นหนึ่งที่มีข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายมังราย เป็นผู้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความเป็นอยู่ ภาษา วัฒนธรรมของคนเผ่าผีตองเหลือง ที่จังหวัดน่าน นอกจากนี้ยังเป็นผู้มีบทบาทในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของล้านนา โดยเฉพาะการจัดเลี้ยงแบบขันโตก นายไกรศรี เป็นนักธุรกิจที่มีบทบาทในการพัฒนาตลาดวโรรส ซึ่งเป็นรวบรวมหุ้นจากเจ้านายฝ่ายเหนือในตระกูล ณ เชียงใหม่ จนกลายเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่และเข้ามาบริหารกิจการเบญจวรรณ บุญโทแสง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและไกรศรี นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอ. เอ็ม. เพ

อ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและไอ. เอ็ม. เพ · ดูเพิ่มเติม »

ไอวีลีก

ที่ตั้งของกลุ่มมหาวิทยาลัยในไอวีลีก ไอวีลีก (Ivy League) เป็นชื่อของกลุ่มการแข่งขันกีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนเก่าแก่ 8 แห่งที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐฯ ซึ่งได้เริ่มรวมตัวกันเป็นกลุ่มไอวีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2478 ไอวีคือเถาไม้เลื้อยที่นิยมปลูกเกาะคลุมผนังด้านนอกของตึกเรียนเก่าแก่ของมหาวิทยาลัย มีสีแดงในฤดูใบไม้ร่วง ซึ่งเป็นที่มาของชื่อกลุ่ม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและไอวีลีก · ดูเพิ่มเติม »

เบนจามิน แฟรงคลิน

นจามิน แฟรงคลิน (Benjamin Franklin) (– 17 เมษายน ค.ศ. 1790) เป็นหนึ่งในบิดาผู้สร้างชาติของสหรัฐอเมริกา เบนจามิน แฟรงคลิน เป็น ช่างพิมพ์ คนเรียงพิมพ์ นักเขียน นักปรัชญา นักการเมือง นักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ นักปฏิรูป และนักการทูต คนสำคัญในยุคแสงสว่างของสหรัฐอเมริกา ในฐานะนักวิทยาศาสตร์ เขามีผลงานหลายอย่างในด้านฟิสิกส์ ผลงานที่สำคัญคือคิดค้นสายล่อฟ้า และผลงานอื่นเช่นแว่นไบโฟคอล เตาแฟรงคลิน และฮาร์โมนิกาแก้ว เขาเป็นผู้เริ่มก่อตั้งห้องสมุดแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา และก่อตั้งสถานีดับเพลิงแห่งแรกในรัฐเพนซิลเวเนีย ผลงานในฐานะนักการเมืองเขาเป็นนักเขียนและผู้นำการเคลื่อนไหวคนสำคัญไปสู่การแยกตัวออกจากอาณานิคมและร่วมก่อตั้งชาติสหรัฐอเมริกา ในฐานะนักการทูต เขาได้เป็นทูตคนสำคัญในช่วงปฏิวัติอเมริกาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกาและประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนำไปสู่การแยกตัวของประเทศจากอาณานิคมของอังกฤษในที่สุด แฟรงคลินเริ่มต้นชีวิตจากการเป็นนักเรียงพิมพ์ในฟิลาเดลเฟีย ซึ่งสร้างความมั่งคั่งจากหนังสือ Poor Richard's Almanack และหนังสือพิมพ์เพนน์ซิลเวเนียแกเซตต์ (Pennsylvania Gazette) แฟรงคลินมีความสนใจในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีชื่อเสียงในฐานะนักวิทยาศาสตร์ชื่อดังของโลกคนหนึ่ง นอกจากนี้เขาได้เป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย และวิทยาลัยแฟรงคลินแอนด์มาร์แชลล์ เขายังได้รับเลือกให้เป็นประธานคนแรกของสมาคมปรัชญาอเมริกา จากผลงานของแฟรงคลินทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และการเมือง เขาได้ถูกยกย่องและกล่าวถึงในหลายด้าน เขาปรากฏในธนบัตรของสหรัฐอเมริกา (100 ดอลลาร์สหรัฐ) ชื่อของเขายังปรากฏเป็นชื่อ เมือง เคาน์ตี สถานศึกษา และผลงานอีกหลายด้านยังมีการกล่าวถึงตราบจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและเบนจามิน แฟรงคลิน · ดูเพิ่มเติม »

เพจแรงก์

ตัวอย่างเพจแรงก์สำหรับเครือข่ายอย่างง่าย (ค่าจาก 100) แสดงถึง หน้า B มีค่าเพจแรงก์สูงสุด เพราะมีจำนวนหน้าที่ลิงก์เข้าหามากสุด แต่ทว่า หน้า C มีเพจแรงก์สูงกว่าหน้า E แม้ว่าจะมีหน้าที่ลิงก์มาหน้าน้อยกว่า แต่หน้าที่มีน้ำหนักลิงก์เข้าหาหน้า C เพจแรงก์ (PageRank) คือขั้นตอนวิธีที่ใช้การวิเคราะห์เว็บลิงก์ตามทฤษฎีเครือข่ายที่ใช้เป็นพื้นฐานในตัวเสิร์ชเอนจินของกูเกิล โดยเพจแรงก์จะแสดงเป็นค่าตัวเลขบ่งบอกถึงความความสำคัญของข้อมูลในกลุ่มของชุดข้อมูล ตัวเลขของเพจแรงก์ของกูเกิลในปัจจุบันจะมีค่าระหว่าง 0 ถึง 10 (ถูกคำนวณค่าในลักษณะลอการิทึม) แสดงถึงความสำคัญของหน้านั้นบนตัวค้นหาของกูเกิล หน้าที่มีเพจแรงก์สูงจะปรากฏขึ้นมาก่อนหน้าที่มีเพจแรงก์ต่ำ ค่าของเพจแรงก์ถูกคำนวณจากจำนวนการอ้างถึงจากหน้าอื่น และน้ำหนักของหน้าที่ลิงก์เข้ามาห.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและเพจแรงก์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรซ เคลลี

้าหญิงเกรซแห่งโมนาโก หรือ เกรซ แพทริเซีย เคลลี (Grace Patricia Kelly; 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 – 14 กันยายน พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงภาพยนตร์ชาวอเมริกันผู้ได้รับรางวัลอะแคเดมี ได้เสกสมรสกับเจ้าชายเรนิเยที่ 3 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2499 เจ้าหญิงเกรซเป็นพระมารดาของเจ้าชายอัลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก หลังการอภิเษกสมรสแล้ว เจ้าหญิงเกรซถือสัญชาติพร้อมกันสองสัญชาติ คือทั้งอเมริกันและโมนาโก ชีวิตที่เป็นดัง “เทพนิยาย” ทำให้พระองค์เป็นชาวอเมริกันผู้เลื่องลือและเป็นที่รักมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและเกรซ เคลลี · ดูเพิ่มเติม »

เกื้อ วงศ์บุญสิน

ตราจารย์ ดร.เกื้อ วงศ์บุญสิน รองอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, นายกสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนอัสสัมชัญ, อดีตนายกสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้อำนวยการสถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและเกื้อ วงศ์บุญสิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟูมิฮิโตะ

้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ (11 กันยายน พ.ศ. 2509) พระนามเดิม คิโกะ คะวะชิมะ เป็นพระชายาในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอะกิชิโนะ และเป็นพระสุณิสาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟูมิฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

University of Pennsylvaniaมหาวิทยาลัยวาร์ตันมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนียวาร์ตัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »