โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม

ดัชนี มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม

มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดใหญ่ ตั้งที่เมืองเบอร์มิงแฮม อันมีสถานะเป็นอำเภอในจังหวัดเวสต์มิดแลนด์ มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยอิฐแดง (Red Brick Universities) และเป็นมหาวิทยาลัยอิฐแดงแห่งแรก ก่อตั้งเมื่อ..

19 ความสัมพันธ์: บิกเบนฟิลลิดา ลอยด์กลุ่มรัสเซลมหาวิทยาลัยเลสเตอร์มอริส วิลคินส์ยานิส วารูฟากิสศิวัช พงษ์เพียจันทร์ศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัยสมบัติ ศรีสุรินทร์สมองน้อยหลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ (หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์)อักษรศาสตรบัณฑิตทัศนัย บูรณุปกรณ์ปีเตอร์ เบนเน็ต บารอนเบนเน็ตแห่งเอ็ดจ์บาสตันที่ 1ไลโกเกษม ศรีพยัคฆ์เจ้าชายซีอีโซแห่งเลโซโทเทเลโอคราเตอร์เนสซี

บิกเบน

หอนาฬิกาพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ซึ่งส่วนใหญ่มักถูกเรียกว่าบิ๊กเบน ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นชื่อเล่นของระฆังใบใหญ่ที่สุดที่แขวนไว้บริเวณช่องลมเหนือหน้าปัดนาฬิกา หอเอลิซาเบธ (Elizabeth Tower) (ก่อนหน้านี้เรียกว่า หอนาฬิกาพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ (Clock Tower, Palace of Westminster)) หรือรู้จักดีในชื่อ บิกเบน (Big Ben) เป็นหอนาฬิกาประจำพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ซึ่งในปัจจุบันใช้เป็นรัฐสภาอังกฤษ ตั้งอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระราชวัง หอนาฬิกานี้ถูกสร้างหลังจากไฟไหม้พระราชวังเวสต์มินสเตอร์เดิม เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2377 โดยชาลส์ แบร์รี เป็นผู้ออกแบบ หอนาฬิกามีความสูง 96.3 เมตร โดยที่ตัวนาฬิกาอยู่สูงจากพื้น 55 เมตร ตัวอาคารสร้างด้วยสถาปัตยกรรมสมัยสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (victorian gothic) ชื่อหอเอลิซาเบธตั้งขึ้นเพื่อฉลองพระราชพิธีพัชราภิเษก หรือพระราชพิธีมหามงคลฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สอง หลายคนเข้าใจว่าบิ๊กเบนเป็นชื่อหอนาฬิกาประจำรัฐสภาอังกฤษ แต่แท้ที่จริงแล้ว บิ๊กเบนเป็นชื่อเล่นของระฆังใบใหญ่ที่สุด หนักถึง 13,760 กิโลกรัม ซึ่งแขวนไว้บริเวณช่องลมเหนือหน้าปัดนาฬิกา ทั้งนี้มีระฆังรวมทั้งสิ้น 5 ใบ โดย 4 ใบจะถูกตีเป็นทำนอง ส่วนบิ๊กเบนจะถูกตีบอกชั่วโมงตามตัวเลขที่เข็มสั้นชี้บนหน้าปัดนาฬิกา ทว่าคนส่วนใหญ่กลับใช้ชื่อบิ๊กเบนเรียกตัวหอทั้งหมด บางทีมักเรียกหอนาฬิกานี้ว่า หอเซนต์สตีเฟน (St Stephen's Tower) หรือหอบิกเบน (Tower of Big Ben) ซึ่งที่จริงแล้วชื่อหอเซนต์สตีเฟนคือชื่อของหอในพระราชวังอีกหอหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นทางเข้าไปอภิปรายในสภา ในเวลาต่อมา รัฐสภาอังกฤษได้มีมติให้ตั้งชื่อหอนาฬิกานี้ว่า หอเอลิซาเบธ เมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2555 ปัจจุบันภายในหอนาฬิกาไม่เปิดให้สาธารณชนเข้าชม เว้นแต่สำหรับผู้ที่อาศัยในประเทศอังกฤษ จะต้องทำเรื่องขอเข้าชมผ่านสมาชิกรัฐสภาอังกฤษประจำท้องถิ่นของตน ถ้าเป็นเด็กต้องมีอายุเกิน 11 ปี จึงจะเข้าชมหอได้ สำหรับชาวต่างประเทศนั้นไม่อนุญาตให้ขึ้นไป ทั้งนี้ผู้ชมต้องเดินบันได 334 ขั้นขึ้นไปเพราะไม่มีลิฟต.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและบิกเบน · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลลิดา ลอยด์

ฟิลลิดา ลอยด์, CBE (Phyllida Lloyd; เกิด 17 มิถุนายน 1957) เป็นผู้กำกับละครเธียเตอร์และภาพยนตร์ชาวอังกฤษ รู้จักกันดีในงานการละครเวที และในฐานะผู้กำกับภาพยนตร์ Mamma Mia! (2008) และ The Iron Lady (2011).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและฟิลลิดา ลอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มรัสเซล

กลุ่มรัสเซล (Russell Group) เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ในสหราชอาณาจักร 18 มหาวิทยาลัยจากสมาชิก 19 แห่ง ติด 20 อันดับแรกของประเทศในด้านงบวิจัย กลุ่มรัสเซลมีมหาวิทยาลัยอันดับต้น ๆ ของสหราชอาณาจักรอยู่เป็นจำนวนมาก ผู้คนมักเปรียบเทียบกลุ่มรัสเซลของสหราชอาณาจักรกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบที่ไม่ค่อยจะสมเหตุผลเท่าไรนัก เนื่องจากสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำในสหรัฐอเมริกานั้น ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากเอกชน (ยกเว้นมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ที่มีบางสาขาได้รับการสนับสนุนจากรัฐ) จึงไม่มีความจำเป็นต้องจัดตั้งกลุ่มล็อบบี้วิ่งเต้น อย่างมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรซึ่งทุกแห่งรับงบประมาณรัฐ (ยกเว้นเพียงแห่งเดียวคือ มหาวิทยาลัยบักกิงแฮม ที่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนเต็มรูปแบบ) จุดประสงค์ของกลุ่มรัสเซลคือ เป็นกระบอกเสียงของสมาชิก (โดยเฉพาะการวิ่งเต้นล็อบบี้รัฐบาลและรัฐสภา) และจัดทำรายงานเพื่อสนับสนุนข้อเรียกร้องต่าง ๆ ประเด็นสนใจของกลุ่มได้แก่ ความต้องการเป็นผู้นำในการวิจัยของสหราชอาณาจักร เพิ่มรายรับให้มากที่สุด ดึงพนักงานและนักเรียนที่ดีที่สุด ลดการแทรกแซงจากรัฐบาล และใช้ประโยชน์จากความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยให้มากที.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและกลุ่มรัสเซล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเลสเตอร์

มหาวิทยาลัยเลสเตอร์ (University of Leicester) เป็นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่เน้นวิจัยในเมืองเลสเตอร์ แคว้นเลสเตอร์เชอร์ สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อ พ.ศ. 2500 โดยยกฐานะจากวิทยาลัยอุดมศึกษาเลสเตอร์ เลสเตอร์เชอร์ และรัตแลนด์ซึ่งตั้งเมื่อ พ.ศ. 2464 มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงในฐานะผู้คิดค้นการพิมพ์ลายนิ้วมือพันธุกรรมจนนำไปสู่การค้นพบโครงพระบรมอัฐิของสมเด็จพระราชาธิบดีริชาร์ดที่ 3 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในที่ร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและมหาวิทยาลัยเลสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มอริส วิลคินส์

มอริส ฮิว เฟรเดอริก วิลคินส์ (15 ธันวาคม พ.ศ. 2459 – 5 ตุลาคม พ.ศ. 2547) เป็นนักฟิสิกส์และนักชีววิทยาโมเลกุลชาวอังกฤษ (เกิดที่นิวซีแลนด์) ผู้มีบทบาทสำคัญในการค้นพบโครงสร้างดีเอ็นเอร่วมกับโรซาลินด์ แฟรงคลิน เรย์มอนด์ กอสลิง เจมส์ วัตสัน และนักวิทยาศาสตร์อีกหลายท่าน นอกจากนี้ยังได้ทำงานวิจัยด้านการวาวแสง การแยกไอโซโทป กล้องจุลทรรศน์ การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ และเรดาร์อีกด้วย งานที่เด่นที่สุดของเขาคือ ค้นคว้าโครงสร้างดีเอ็นเอ ซึ่งเขาได้ทำงานที่ราชวิทยาลัยลอนดอน ต่อมาได้แอบนำภาพที่โรซาลินด์ แฟรงคลินผู้เป็นผู้ร่วมงานไปให้เจมส์ วัตสัน และฟรานซิส คริก สร้างแบบจำลองจนได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์เมื่อ..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและมอริส วิลคินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยานิส วารูฟากิส

นิส วารูฟากิส (Yanis Varoufakis; Γιάνης Βαρουφάκης; เกิด 24 มีนาคม 2504) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ชาวกรีก ปัจจุบันเขาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังแห่งประเทศกรีซ ในการเลือกตั้งทั่วไปเดือนมกราคม 2558 เขาได้รับเลือกตั้งเข้ารัฐสภากรีก เป็นตัวแทนพรรคซีดดีซะ (Syriza) และดำรงตำแหน่งในรัฐบาลใหม่อเล็กซิส ซีปราสอีกสองวันถัดมา คือ วันที่ 27 มกราคม 2558 เขาเป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมือง ศาสตราจารย์และผู้ประพันธ์ และมีสัญชาติกรีก-ออสเตรเลีย วารูฟากิสเป็นผู้เข้าร่วมการอภิปรายปัจจุบันเรื่องวิกฤตโลกและทวีปยุโรป ผู้ประพันธ์เดอะโกลบอลมิโนทอร์ และตำราวิชาการหลายเล่มในวิชาเศรษฐศาสตร์และทฤษฎีเกม เป็นศาสตราจารย์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเอเธนส์และที่ปรึกษาเอกชนให้บริษัทแวลฟ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและยานิส วารูฟากิส · ดูเพิ่มเติม »

ศิวัช พงษ์เพียจันทร์

ตราจารย์ดร.ศิวัช พงษ์เพียจันทร์ เกิดเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2517 (ปัจจุบันอายุ 43 ปี) ที่อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรชายของ รองศาสตราจารย์เพทาย พงษ์เพียจันทร์ และ รองศาสตราจารย์พันทิพา พงษ์เพียจันทร์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ และเป็นผู้อำนวยการ ประจำสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์http://ssde.nida.ac.th/index.php/th/persional/อาจารย์ประจำ/45-รศ-ดร-ศิวัช-พงษ์เพียจันทร์ สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560 นอกจากนั้น ดร.ศิวัช ยังเป็นนักวิจัยด้านมลพิษทางอากาศประจำ เมือง Xi’an ประเทศจีน และเป็นหนึ่งในคณะทำงานโครงการวิจัยขั้วโลhttps://www.youtube.com/watch?v.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและศิวัช พงษ์เพียจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัย

ูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัย (Centre for Contemporary Cultural Studies) (ย่อว่า:CCCS) เป็นศูนย์วิจัยที่มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม อังกฤษ ก่อตั้งปี 1964 โดย ริชาร์ด ฮอกการ์ท ซึ่งเป็นผู้อำนวยการคนแรก เพื่อศึกษาสาขาวัฒนธรรมศึกษาซึ่งเป็นสาขาใหม่ในขณะนั้น ศูนย์ปิดตัวลงในปี 2002 ท่ามกลางการประท้วงของอาจารย์ นักศึกษา และศิษย์เก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัย · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ ศรีสุรินทร์

นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอก สุจินดา คราประยูร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและสมบัติ ศรีสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมองน้อย

ซีรีเบลลัม หรือ สมองน้อย (Cerebellum) เป็นบริเวณของสมองที่ทำหน้าที่สำคัญในการประมวลการรับรู้และการควบคุมการสั่งการ เนื่องจากซีรีเบลลัมทำหน้าที่ประสานการควบคุมการสั่งการ จึงมีวิถีประสาทเชื่อมระหว่างซีรีเบลลัมและคอร์เท็กซ์สั่งการของซีรีบรัม (ซึ่งจะส่งข้อมูลไปยังกล้ามเนื้อเพื่อเคลื่อนไหว) และลำเส้นใยประสาทสไปโนซีรีเบลลาร์ (spinocerebellar tract) (ซึ่งทำหน้าที่ส่งข้อมูลการรับรู้อากัปกิริยาจากไขสันหลังกลับมายังซีรีเบลลัม) ซีรีเบลลัมทำหน้าที่ประมวลวิถีประสาทต่างๆ โดยใช้ข้อมูลเกี่ยวกับตำแหน่งของร่างกายและการเคลื่อนไหวละเอียดที่ส่งกลับเข้ามา รอยโรคที่เกิดในซีรีเบลลัมไม่ก่อให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือทำให้เกิดอัมพาต แต่จะเกิดความผิดปกติในการส่งข้อมูลกลับซึ่งทำให้เกิดความผิดปกติในการเคลื่อนไหวละเอียด, การรักษาสมดุล, ท่าทางและตำแหน่งของร่างกาย, และการเรียนรู้การสั่งการ การสังเกตของนักสรีรวิทยาในช่วงศตวรรษที่ 18 บ่งชี้ว่าผู้ป่วยที่เกิดความเสียหายที่ซีรีเบลลัมจะมีปัญหาในการประสานการสั่งการ (motor coordination) และการเคลื่อนไหว การวิจัยเกี่ยวกับหน้าที่ของซีรีเบลลัมในช่วงต้นถึงกลางศตวรรษที่ 19 จะศึกษาจากรอยโรคและการลองตัดซีรีเบลลัมในสมองของสัตว์ทดลอง นักวิจัยทางสรีรวิทยาได้บันทึกว่ารอยโรคดังกล่าวทำให้สัตว์มีการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ, ท่าเดินเงอะงะ, และกล้ามเนื้ออ่อนแรง จากการสังเกตในช่วงเวลานั้นทำให้เกิดข้อสรุปว่าซีรีเบลลัมเป็นโครงสร้างเกี่ยวกับการควบคุมการสั่งการ อย่างไรก็ตามในการวิจัยสมัยใหม่แสดงว่าซีรีเบลลัมมีหน้าที่ที่หลากหลายกว่าไม่ว่าจะเป็นหน้าที่เกี่ยวกับกระบวนการคิด (ประชาน; cognition), เช่น ความใส่ใจ, และกระบวนการทางภาษา, ดนตรี, และสิ่งกระตุ้นชั่วคราวอื่น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและสมองน้อย · ดูเพิ่มเติม »

หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ (หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์)

ันตรี หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ (หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์) อำมาตย์ตรี นายพันตรี หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ อดีตนักการเมือง และรัฐมนตรีหลายกระทรวง หลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ มีชื่อจริงว่า หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์ เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและหลวงเดชาติวงศ์วราวัฒน์ (หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์) · ดูเพิ่มเติม »

อักษรศาสตรบัณฑิต

อักษรศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Litterarum หรือ Litterarum Baccalaureus, Bachelor of Letters ตัวย่อ อ.บ., B.Litt. หรือ Litt.B.) เป็นปริญญาในระดับปริญญาตรีระดับสองในมหาวิทยาลัยสำหรับนักศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวข้องตามความสนใจเฉพาะบุคล วิชาชีพ หรือการพัฒนาทางวิชาการ ขอบเขตของการศึกษาในสาขานี้อาจได้รับก่อนการศึกษาในระดับปริญญาตรีไม่ได้ศึกษาในเชิงลึก หรืออาจไม่เคยมีการเรียนการสอนต่อนักศึกษาอย่างเป็นทางการมาก่อนก็ได้ ปริญญานี้มีการมอบที่น้อยกว่าในหลายศตวรรษก่อนหน้าและในช่วงเวลาปัจจุบัน มีเพียงมหาวิทยาลัยสองแห่งในออสเตรเลียที่มอบปริญญานี้เท่านั้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและอักษรศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

ทัศนัย บูรณุปกรณ์

ทัศนัย บูรณุปกรณ์ หรือชื่อเล่นว่า ไก่ นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ หลานของนายบุญเลิศ บูรณุปกรณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและทัศนัย บูรณุปกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ เบนเน็ต บารอนเบนเน็ตแห่งเอ็ดจ์บาสตันที่ 1

ปีเตอร์ เฟรเดอริก บลักเกอร์ เบนเน็ต บารอนเบนเน็ตแห่งเอ็ดจ์บาสตันที่ 1 (Peter Frederick Blaker Bennett, 1st Baron Bennett of Edgbaston) (16 เมษายน พ.ศ. 2423 - 27 กันยายน พ.ศ. 2500) รู้จักกันในชื่อ เซอร์ปีเตอร์ เบนเน็ต ระหว่างปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและปีเตอร์ เบนเน็ต บารอนเบนเน็ตแห่งเอ็ดจ์บาสตันที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ไลโก

หอสังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วงโดยใช้อินเตอร์เฟอโรมิเตอร์ชนิดเลเซอร์ (Laser Interferometer Gravitational-Wave Observatory) หรือเรียกโดยย่อว่า ไลโก (LIGO) เป็นโครงการทดลองทางฟิสิกส์ขนาดใหญ่เพื่อสังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วง ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2535 โดยคิป ธอร์น และโรนัลด์ เดรเวอร์ แห่งสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย และเรนเนอร์ ไวส์ แห่งสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ร่วมกับนักวิทยาศาสตร์จากทั่วโลก ภายใต้การบริหารงานโดยองค์กรความร่วมมือวิทยาศาสตร์ไลโก เพื่อสังเกตการณ์และวิเคราะห์ผลจากข้อมูลที่ได้เพื่อใช้คลื่นความโน้มถ่วงนี้ในทางดาราศาสตร์ ไลโกได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากสภาสนับสนุนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งสหราชอาณาจักร สมาคมมักซ์พลังค์แห่งเยอรมนี และสภาวิจัยแห่งออสเตรเลี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและไลโก · ดูเพิ่มเติม »

เกษม ศรีพยัคฆ์

กษม ศรีพยัคฆ์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2446 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์และรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและเกษม ศรีพยัคฆ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายซีอีโซแห่งเลโซโท

้าชายซีอีโซแห่งเลโซโท (His Royal Highness Prince Seeiso of Lesotho).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและเจ้าชายซีอีโซแห่งเลโซโท · ดูเพิ่มเติม »

เทเลโอคราเตอร์

ทเลโอคราเตอร์ (Teleocrater; คำแปล: "อ่างที่สมบูรณ์" หมายถึง ใกล้เคียงกับเชิงกราน) สัตว์เลื้อยคลานในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ที่มีชีวิตอยู่ก่อนยุคไดโนเสาร์ จัดเป็นอาร์โคซอร์ชนิดหนึ่ง โดยซากดึกดำบรรพ์ถูกค้นพบตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและเทเลโอคราเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เนสซี

รคดี เนสซี หรือ สัตว์ประหลาดล็อกเนสส์ (Nessie, Loch Ness Monster) คือสิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่เชื่อว่าอาศัยอยู่ในทะเลสาบเนสส์ (ล็อกเนสส์) ในสกอตแลนด์ สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมและเนสซี · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

University of Birmingham

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »