โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิก

ดัชนี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิก (Technische Universität München, TUM; Munich University of Technology หรือ Technical University of Munich.) เป็นมหาวิทยาลัยใหญ่แห่งหนึ่งของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ที่มิวนิก (และเมือง Garching และ Weihenstephan นอกเมืองมิวนิก) ปัจจุบัน TUM มีนักศึกษาระดับอุดมศึกษาและบัณฑิตศึกษารวมกันประมาณ 20,000 คน ในจำนวนนี้เป็นชาวต่างประเทศ 3,700 คน TUM ได้มีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนานยาง เปิดสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเยอรมัน (German Institute of Science and Technology, GIST) ในประเทศสิงคโปร.

9 ความสัมพันธ์: บล็อกเชนรถไฟใต้ดินมิวนิกว็อล์ฟกัง เพาล์อัลแบร์ท ชเปียร์ฮันส์ ฟิชเชอร์ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญแอนสท์ รัสกาไฮน์ริช เฮิรตซ์เฮลมุต ยาห์น

บล็อกเชน

แผนภาพของบล็อกเชน (หรือโซ่บล็อก) สายโซ่หลักมีบล็อกต่อกันยาวสุดตั้งแต่บล็อกเริ่มต้น (สีเขียว) จนถึงบล็อกปัจจุบัน บล็อกกำพร้า (สีม่วง) จะอยู่นอกโซ่หลัก บล็อกเชน#timestamping block for bitcoin --> บล็อกเชน (blockchain) หรือว่า โซ่บล็อก ซึ่งคำอังกฤษดั้งเดิมเป็นคำสองคำคือ block chain เป็นรายการระเบียน/บันทึก (record) ที่เพิ่มขึ้น/ยาวขึ้นเรื่อย ๆ โดยแต่ละรายการเรียกว่า บล็อก ซึ่งนำมาเชื่อมต่อเป็นลูกโซ่ (เชน) โดยตรวจสอบความถูกต้องและรับประกันความปลอดภัยโดยวิทยาการเข้ารหัสลับ บล็อกแต่ละบล็อกปกติจะมีค่าแฮชของบล็อกก่อนหน้าซึ่งสามารถใช้ยืนยันความถูกต้องของบล็อกก่อนหน้า มีตราเวลาและข้อมูลธุรกรรม บล็อกเชนออกแบบให้ทนทานต่อการเปลี่ยนข้อมูลที่บันทึกแล้ว คือมันเป็น "บัญชีแยกประเภท (ledger) แบบกระจายและเปิด ที่สามารถบันทึกธุรกรรมระหว่างบุคคลสองพวกอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่ยืนยันได้และถาวร" เมื่อใช้เป็นบัญชีแยกประเภทแบบกระจาย บล็อกเชนปกติจะจัดการโดยเครือข่ายเพียร์ทูเพียร์ ซึ่งร่วมกันใช้โพรโทคอลเดียวกันเพื่อการสื่อสารระหว่างสถานี (node) และเพื่อยืนยันความถูกต้องของบล็อกใหม่ ๆ เมื่อบันทึกแล้ว ข้อมูลในบล็อกใดบล็อกหนึ่ง จะไม่สามารถเปลี่ยนย้อนหลังโดยไม่เปลี่ยนข้อมูลในบล็อกต่อ ๆ มาทั้งหมดด้วย ซึ่งจะทำได้ก็ต่อเมื่อได้การร่วมมือจากสถานีโดยมากในเครือข่าย บล็อกเชนออกแบบมาตั้งแต่ต้นเพื่อให้ปลอดภัย (secure by design) และเป็นตัวอย่างของระบบคอมพิวเตอร์แบบกระจายที่ทนต่อความผิดพร่องแบบไบแซนไทน์ได้สูง ดังนั้น ความเห็นพ้องแบบไม่รวมศูนย์ จึงเกิดได้โดยอาศัยบล็อกเชน ซึ่งอาจทำให้มันเหมาะเพื่อบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ, บันทึกระเบียนการแพทย์, ในการจัดการบริหารระเบียนแบบอื่น ๆ เช่น การจัดการผู้มีสิทธิเข้าถึงระบบ (identity management), การประมวลผลธุรกรรม, การสร้างเอกสารแสดงความเป็นเจ้าของ, การตามรอยการผลิตและขนส่งอาหาร, หรือการใช้สิทธิออกเสียง บุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้ใช้นามแฝง ซาโตชิ นากาโมโตะ ได้ประดิษฐ์บล็อกเชนขึ้นในปี 2008 (พ.ศ. 2551) เพื่อใช้กับเงินคริปโทสกุลบิตคอยน์ โดยเป็นบัญชีแยกประเภทแบบกระจาย บล็อกเชนทำให้บิตคอยน์เป็นเงินดิจิทัลสกุลแรกที่แก้ปัญหาการใช้จ่ายสินทรัพย์เกินกว่าครั้งเดียว (Double spending problem) ได้ โดยไม่จำเป็นต้องมีบุคคลที่สามซึ่งเชื่อใจหรือมีคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง เป็นการออกแบบซึ่งเป็นแรงบันดาลใจสำหรับโปรแกรมประยุกต์อีกมากมายหลายอย่าง ในกรณีของบิตคอยน์ ผู้ใช้งานจะทำการโดยเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถซื้อขายและยืนยันการใช้จ่ายบิตคอยน์ โดยจะมีการสร้างบล็อกขึ้นใหม่เพื่อเก็บรายการการซื้อขายแลกเปลี่ยน ในอัตราประมาณหนึ่งบล็อกต่อ 10 นาที และแต่ละบล็อกจะมีจำนวนธุรกรรมเฉลี่ยมากกว่า 500 รายการ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิกและบล็อกเชน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินมิวนิก

รถไฟใต้ดินมิวนิก (U-Bahn München –อูบาห์น มึนเชิน) เป็นระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ในเมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี เริ่มดำเนินการในปี ค.ศ. 1971 โดยบริษัทขนส่งมิวนิก (Münchner Verkehrsgesellschaft, MVG) ปัจจุบันมีจำนวน 7 เส้นทาง 96 สถานี ระยะทางทั้งสิ้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิกและรถไฟใต้ดินมิวนิก · ดูเพิ่มเติม »

ว็อล์ฟกัง เพาล์

ว็อล์ฟกัง เพาล์ (Wolfgang Paul; 10 สิงหาคม ค.ศ. 1913 – 7 ธันวาคม ค.ศ. 1993) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองโลเร็นทซ์เคียร์ชในแซกโซนี เป็นบุตรคนที่ 4 จากทั้งหมด 6 คนของทีโอดอร์และอลิซาเบธ (นามสกุลเดิม รัปเปิล) เพาล์ เพาล์เติบโตที่เมืองมิวนิกและเรียนที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิก ก่อนจะย้ายไปเรียนที่มหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเบอร์ลินและตามฮันส์ ค็อพเฟอร์มันน์ ที่ปรึกษาระดับปริญญาเอกไปที่มหาวิทยาลัยคีล เพาล์เรียนจบปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเบอร์ลินในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิกและว็อล์ฟกัง เพาล์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลแบร์ท ชเปียร์

แบร์โทลด์ คอนราด แฮร์มันน์ อัลแบร์ท ชเปียร์ (Berthold Konrad Hermann Albert Speer;; 19 มีนาคม ค.ศ. 1905 – 1 กันยายน ค.ศ. 1981) เป็นสถาปนิกชาวเยอรมัน เป็นหัวหน้าสถาปนิกของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ก่อนได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงสรรพาวุธของนาซีเยอรมนี ชเปียร์ยอมรับผิดในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ทำให้ได้รับฉายา "นาซีผู้กล่าวคำขอโทษ" (the Nazi who said sorry) อย่างไรก็ตาม ชเปียร์ปฏิเสธไม่รู้เห็นเกี่ยวกับฮอโลคอสต์ ชเปียร์เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิกและอัลแบร์ท ชเปียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ ฟิชเชอร์

ันส์ ฟิชเชอร์ (Hans Fischer; 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1881 – 31 มีนาคม ค.ศ. 1945) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองเฮิคสต์อัมไมน์ เป็นบุตรของดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิกและฮันส์ ฟิชเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ

ผศ.ดร. ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ ผ.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ (7 มกราคม 2511 -) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิกและธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

แอนสท์ รัสกา

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่สร้างโดยรัสกาในปี ค.ศ. 1933 แอนสท์ เอากุสต์ ฟรีดริช รัสกา (Ernst August Friedrich Ruska; 25 ธันวาคม ค.ศ. 1906 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1988) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองไฮเดลแบร์ก และเรียนที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิก หลังเข้าทำงานที่มหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเบอร์ลิน รัสกาได้ตั้งข้อสังเกตว่ากล้องจุลทรรศน์ที่ใช้อิเล็กตรอนจะให้รายละเอียดของภาพมากกว่าชนิดที่ใช้แสง เขาและมักซ์ นอลล์จึงได้ร่วมกันสร้างกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนขึ้น ต่อมารัสกาได้ร่วมงานกับบริษัทซีเมนส์ ซึ่งมีส่วนในการพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนในเชิงพาณิชย์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิกและแอนสท์ รัสกา · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช เฮิรตซ์

น์ริช เฮิรตซ์ (Heinrich Hertz; 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2400 — 1 มกราคม พ.ศ. 2437) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน และเป็นคนแรกที่พิสูจน์ถึงการมีอยู่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแสง เฮิรตซ์พิสูจน์ทฤษฎีโดยการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ส่งและรับคลื่นวิทยุโดยใช้การทดลอง นั่นให้เหตุผลถึงปรากฏการณ์แบบไร้สายอื่น ๆ ที่รู้จัก หน่วยวิทยาศาสตร์ของความถี่ รอบต่อวินาที ถูกตั้งชื่อเป็น เฮิรตซ์ เพื่อเป็นเกียรติแก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิกและไฮน์ริช เฮิรตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮลมุต ยาห์น

ซนีเซนเตอร์ ผลงานที่สำคัญของ เฮลมุต ยาห์น เฮลมุต ยาห์น (Helmut Jahn; 4 มกราคม พ.ศ. 2482 -) สถาปนิกชาวอเมริกัน-เยอรมัน เกิดที่ ประเทศเยอรมนีและได้อพยพมาที่สหรัฐอเมริกา เป็นสถาปนิกชื่อดังของโลกคนหนึ่งในยุคปัจจุบัน ผลงานของยาห์นที่สำคัญได้แก่ อาคารโซนีเซนเตอร์ที่กรุงเบอร์ลิน ส่วนตัวขยายอาคารที่สนามบินโอ'แฮร์ อาคารในสนามบินสุวรรณภูมิ และตึกวันลิเบอร์ตีเพลซ ตึกที่สูงสุดในเมืองฟิลาเดลเฟีย เฮลมุต ยาห์น เกิดที่เมืองเนิร์นแบร์ก ประเทศเยอรมนี หลังจากเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิก ระหว่าง พ.ศ. 2503 - 2508 เขาได้ทำงานกับ Peter C. von Seidlein เป็นเวลาหนึ่งปี ต่อมาในปี พ.ศ. 2508 เพื่อศึกษาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ต่อในระดับปริญญาโทที่สถาบันเทคโนโลยีอิลลินอยส์ (Illinois Institute Technology: IIT) ที่นั่น เขาได้ศึกษาในหลักสูตรที่ออกแบบโดย ลุดวิก มีส แวน เดอร์ โรห์ เรียนรู้ภาษาและเทคนิคของลัทธิสมัยใหม่แนวนานาชาติ (International Style modernism) ใน พ.ศ. 2510 เขาเข้าทำงานกับบริษัท ซี.เอฟ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งมิวนิกและเฮลมุต ยาห์น · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »