โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ดัชนี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ไม่มีคำอธิบาย.

36 ความสัมพันธ์: พิธีสำเร็จการศึกษากลุ่มสถาบันวิชาการสาธารณสุขและเทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันพระบรมราชชนกกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44มหาวิทยาลัยราชภัฏมะโย่งมิสแกรนด์ยะลามิสแกรนด์ปัตตานีมิสแกรนด์นราธิวาสมูฮำมัดอารีฟีน จะปะกิยารายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยรายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทยรายชื่อคณะสาธารณสุขศาสตร์ในประเทศไทยรายชื่อคณะประมงในประเทศไทยรายชื่อคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทยสมมารถ เจ๊ะนาสุรินทร์ ปาลาเร่สถาบันสมทบอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอุสมาน อุเซ็งฮาลาลจังหวัดยะลาข้าวยำดี๋ ดอกมะดันคณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทยซูการ์โน มะทานิมุคตาร์ วาบาไบโอดีเซลเจะอามิง โตะตาหยง

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและพิธีสำเร็จการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มสถาบันวิชาการสาธารณสุขและเทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันพระบรมราชชนก

ตราพระราชทาน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร เป็นหน่วยงานส่วนกลางที่ประจำอยู่ในส่วนภูมิภาค สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข โดยในวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2537 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตให้อัญเชิญพระนามาภิไธย "สิรินธร" และพระนามาภิไธยย่อ "สธ" มาเป็นชื่อของวิทยาลัยการสาธารณสุข โดยเปลี่ยนชื่อเป็น "วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร" ปัจจุบัน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร มีจำนวน 7 แห่ง ดังนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและกลุ่มสถาบันวิชาการสาธารณสุขและเทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันพระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32 หรือ สุรนารีเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 8- 15 มกราคม พ.ศ. 2548 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา โดยมีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 32 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33 หรือ ศาลายาเกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 23 -30 มกราคม 2549 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จังหวัดนครปฐม โดยมีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34 หรือ ราชพฤกษ์เกมส์ จัดการแข่งขันวันที่ 19 –26 มกราคม 2550 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ จังหวัดนครนายก โดยมีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน โดยจัดการแข่งขัน 25 ชนิดกีฬา มีมหาวิทยาลัยเข้าร่วมการแข่งขัน 115 มหาวิทยาลัย มีการชิงชัยทั้งสิ้น 255 เหรียญทอง 255 เหรียญเงิน 323 เหรียญทองแดง และมีคำขวัญว่า "กีฬาสีเขียวเพื่อคุณภาพชีวิต สติปัญญา วิชาการ และกัลยาณมิตร" การแข่งขันในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสอันเป็นมิ่งมหามงคลยิ่งที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี 9 มิถุนายน 2549 และพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 34 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36 หรือ "หัวหมากเกมส์" จัดขึ้นวันที่ 11-18 มกราคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37 หรือ แม่โดมเกมส์ เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยในครั้งนี้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขัน โดยจะจัดการแข่งขันขึ้นในระหว่างวันที่ 22 - 30 มกราคม พ.ศ. 2553 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาจำนวน 111 แห่งเข้าร่วมแข่งขันใน 25 ชนิดกีฬา จำนวน 262 เหรียญทอง นอกจากนี้ ยังมีกีฬาสาธิตอีก 2 ชนิดกีฬา ได้แก่ กีฬาวีลแชร์และว่ายน้ำด้วยตีนกบ เพื่อแสดงให้เห็นว่านักศึกษาพิการมีความสามารถและมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยได้เท่าเทียมกับนักศึกษาทั่วไป สำหรับตราสัญลักษณ์ในการแม่โดมเกมส์ออกแบบเป็นรูปตึกโดมอันเกิดจากรูปคนสีเหลืองและคนสีแดงหันหน้าเข้าหากันแล้วชูธงชาติไทย โดยใช้คำขวัญว่า "Sports for Unity - We all are Thai" หรือ "สามัคคีที่แดนโดม" ส่วนสัญลักษณ์นำโชคนั้น คือ นกปรีดีชูคบเพลิงที่เปลวไฟเป็นรูป ๗๕ อันสื่อความหมายถึง การเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ 75 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 หรือ จามจุรีเกมส์ 38 เป็นการแข่งขันกีฬาระหว่างเหล่านิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดขึ้น ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 15 - 24 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41 โดยมีมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน หลังจากที่เคยเป็นเจ้าภาพมาแล้ว 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 12 (พ.ศ. 2527) และ ครั้งที่ 17 (พ.ศ. 2532) หลังจากนั้นก็ไม่ได้เป็นเจ้าภาพอีกเลย แต่มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้เสนอชื่อ เพื่อชิงเป็นเจ้าภาพกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41 หลังจากที่ไม่ได้เป็นเจ้าภาพนานกว่า 25 ปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 41 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43 หรือ "กันเกราเกมส์" จัดที่จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ระหว่างวันที่ 9–18 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44 หรือ สุรนารีเกมส์ 44 เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 21 กุมภาพันธ์-2 มีนาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏ

มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม "ราชภัฏ" จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและมหาวิทยาลัยราชภัฏ · ดูเพิ่มเติม »

มะโย่ง

การแสดงมะโย่งของชาวอำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มะโย่ง หรือ เมาะโย่ง (รูมี: Mak Yong, Mak Yung) เป็นการแสดงพื้นบ้านของชาวไทยเชื้อสายมลายูในแถบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งได้แก่ จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส และบางส่วนของจังหวัดสงขลา นอกจากนี้ยังมีการแสดงมะโย่งใน รัฐกลันตัน รัฐตรังกานู รัฐเกดะห์ และรัฐปะลิส ในประเทศมาเลเซีย และหมู่เกาะริเยา ในประเทศอินโดนีเซีย โดยการแสดงมะโย่ง เป็นศิลปะการร่ายรำที่ผสมผสานทางพิธีกรรม ความเชื่อ การละคร นาฏศิลป์ และดนตรีเข้าด้วยกัน ปัจจุบันการแสดงมะโย่งกำลังขาดผู้สืบทอด ในมาเลเซียมะโย่งเป็นการแสดงที่ถูกห้ามโดยพรรคอิสลามแห่งมาเลเซีย เพราะความที่แฝงความเชื่องของลัทธิวิญญาณนิยม (animism) และรากเหง้าความเชื่อฮินดู-พุทธดั้งเดิมของชาวมลายู ก่อนที่จะเปลี่ยนไปนับถืออิสลาม นอกจากนี้การเข้ามาของสื่อวิทยุโทรทัศน์ก็ทำให้การแสดงมะโย่งหมดความสำคัญลงไป อย่างไรก็ตามประเทศไทยได้เล็งเห็นความสำคัญของการแสดงมะโย่งในฐานะศิลปะพื้นบ้านของชาวไทยมลายู ทางมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลาจึงได้มีการฟื้นฟู และให้นักศึกษาได้ศึกษาและค้นหาความรู้และค้นหาความรู้ เพื่อนำมาปฏิบัติจริง โดย มะโย่ง หรือ เมาะโย่ง มีลีลาคล้ายคลึงกับมโนราห์มาก แสดงเพื่อความบันเทิง และเพื่อใช้แก้บนหรือสะเดาะเคราะห์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและมะโย่ง · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์ยะลา

มิสแกรนด์ยะลา (Miss Grand Yala) เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดยะลา จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและมิสแกรนด์ยะลา · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์ปัตตานี

มิสแกรนด์ปัตตานี (Miss Grand Pattani) เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดปัตตานี จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและมิสแกรนด์ปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์นราธิวาส

มิสแกรนด์นราธิวาส (Miss Grand Narathiwat) เป็นการประกวดนางงามของจังหวัดนราธิวาส จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและมิสแกรนด์นราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

มูฮำมัดอารีฟีน จะปะกิยา

มูฮำมัดอารีฟีน จะปะกิยา (เกิด 12 ตุลาคม พ.ศ. 2501) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและมูฮำมัดอารีฟีน จะปะกิยา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย แบ่งตามประเภทสถานศึกษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาด้านศึกษาศาสตร์หรือครุศาสตร์ (ยกเว้นวิชาด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดูเพิ่มเติมที่: รายชื่อคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมในประเทศไทย).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและรายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะสาธารณสุขศาสตร์ในประเทศไทย

ันอุดมศึกษาในประเทศไทยที่จัดการเรียนการสอนในสาขาสาธารณสุข มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและรายชื่อคณะสาธารณสุขศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะประมงในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาด้านการประมง หมายถึง การจัดการของมนุษย์ด้านการจับปลาหรือสัตว์น้ำอื่น ๆ การดูแลรักษาปลาสวยงามและการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ประมง เช่น น้ำมันปลา เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและรายชื่อคณะประมงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาด้านเกษตรศาสตร์ คือ วิชาว่าด้วยการเกษตรกรรม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและรายชื่อคณะเกษตรศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมมารถ เจ๊ะนา

นายสมมารถ เจ๊ะนา (เกิด 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและสมมารถ เจ๊ะนา · ดูเพิ่มเติม »

สุรินทร์ ปาลาเร่

ลตำรวจตรีสุรินทร์ ปาลาเร่ กรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสงขลา และอดีตกรรมการบริหารพรรคเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและสุรินทร์ ปาลาเร่ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันสมทบ

ันสมทบ (Affiliated Institutes) คือ สถาบันการศึกษาชั้นสูงหรือสถาบันวิจัยที่เข้าสมทบในมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจาก คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ยุบสถาบันการศึกษาที่อยู่นอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ดำเนินการสอนวิชาที่มีการสอนอยู่ในความควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ และให้สถาบันการศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รับสถานศึกษาดังกล่าวเข้าสมทบในมหาวิทยาลัย โดยสถาบันสมทบที่สังกัดมหาวิทยาลัยต่าง ๆ มีดังนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและสถาบันสมทบ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

การจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ในการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยรัฐ โดยมีมหาวิทยาลัยเข้าร่วม 50 มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยเดียวที่เข้าร่วมแต่เสนอว่าไม่ต้องการอยู่ในอันดับ และมหาวิทยาลัยเอกชนไม่ได้ร่วมด้วยเนื่องจากสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยแจ้งว่ายังไม่ให้ข้อมูลในปีนั้น การจัดอันดับนี้ใช้ชื่อว่า "โครงการฐานข้อมูลออนไลน์เพื่อประเมินศักยภาพของมหาวิทยาลัยไทย" ได้แบ่งหัวข้อการจัดอันดับออกเป็น 2 ส่วนหลักคือ ด้านการวิจัย และ ด้านการเรียนการสอน ได้จัดทำออกเป็น 2 ส่วนย่อยคือ อันดับในภาพรวมแบ่งแยกตามมหาวิทยาลัยแบ่งออกเป็นกลุ่ม และอันดับแบ่งแยกย่อยในแต่ละสาขาวิชา โดยแบ่งออกเป็น 7 สาขาวิชาย่อย ได้แก่ (1) สาขาวิทยาศาสตร์ (2) สาขาเทคโนโลยี (3) สาขาชีวการแพทย์ (4) สาขามานุษยวิทยาและศิลปกรรมศาสตร์ (5) สาขาสังคมศาสตร์ (6) สาขาเกษตร (7) สาขาศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

อุสมาน อุเซ็ง

อุสมาน อุเซ็ง (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 - ???) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา 1 สมั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและอุสมาน อุเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฮาลาล

ลาล (حلال) (บ้างสะกดว่า ฮะลาล หรือ หะลาล) เป็นศัพท์นิติศาสตร์อิสลามจากภาษาอาหรับ หมายความว่า กฎบัญญัติอนุมัติให้มุกัลลัฟ (มุสลิมที่อยู่ในศาสนนิติภาวะ) กระทำได้ อันได้แก่ การนึกคิด วาจา และการกระทำที่ศาสนาได้อนุมัติให้ เช่น การรับประทานเนื้อปศุสัตว์ที่ได้รับการเชือดอย่างถูกต้อง การค้าขายโดยสุจริตวิธี การสมรสกับสตรีตามกฎเกณฑ์ที่ได้ระบุไว้ เป็นต้น ในเมืองไทย คำว่า "ฮาลาล" เป็นที่รู้จักในความหมาย อาหารหรือสิ่งเจือปนที่ไม่ขัดกับหลักศาสนาอิสลาม อาหารสำเร็จรูปประเภทนี้จะมีตราฮาลาล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและฮาลาล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยะลา

ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและจังหวัดยะลา · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวยำ

้าวยำในมาเลเซีย ข้าวยำในอินโดนีเซีย ข้าวยำ หรือ ข้าวยำบูดู เป็นอาหารไทยภาคใต้ โดยถือกันว่าเป็นอาหารที่ครบโภชนาการมากที่สุด และมีคุณลักษณะพิเศษแตกต่างโดยเป็นอาหารจานเดียวที่มีน้ำปรุงร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและข้าวยำ · ดูเพิ่มเติม »

ดี๋ ดอกมะดัน

ี๋ ดอกมะดัน มีชื่อจริงว่า สภา ศรีสวัสดิ์ (เดิมชื่อ ศุภกรณ์) เกิดที่อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2494 จบการศึกษาประกาศนียบัตรขั้นสูง วิทยาลัยครู จังหวัดยะลา เริ่มอาชีพจากการเป็นครูที่จังหวัดยะลา และต่อมาเป็นโฆษกวงดนตรีลูกทุ่งชื่อดังต่าง ๆ จากนั้นก็ได้เป็นตลกแสดงบนเวทีคอนเสิร์ตลูกทุ่ง ใช้ชื่อหลายชื่อ แต่ไม่ประสบความสำเร็จถึงขั้นขีดสุดนานถึง 30 ปีเต็ม ต่อมาเริ่มมามีชื่อเสียงกับคณะเด๋อ ดู๋ ดี๋ ในปี พ.ศ. 2518 และเป็นพิธีกรในรายการพลิกล็อกคู่กับปัญญา นิรันดร์กุล ต่อมาได้รับเป็นนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย ในกลางปี พ.ศ. 2545 ปรากฏเป็นข่าวอื้อฉาวว่า ดี๋ ดอกมะดันถูกตรวจพบว่ามีปัสสาวะสีม่วงขณะอยู่ในผับ จึงต้องสงสัยว่าเสพยาเสพย์ติด แต่เจ้าตัวได้ปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยบอกว่าเป็นยาแก้หอบหืด ซึ่งต่อมาเรื่องเสพยาเสพย์ติดนี้ก็ได้ถูกพิสูจน์ว่าไม่เป็นความจริงและศาลก็ได้ยกฟ้องจากนั้นก็มีข่าวว่าได้ตบปาก ต้อย แอ๊คเนอร์ บรรณาธิการหนังสือพิมพ์มายา ชาแนลถึงเลือดกลบปาก จนถูกกล่าวหาว่าเป็นตลกมาเฟีย เนื่องจากไม่พอใจที่ได้พาดหัวว่า ตลกดังอักษรย่อ ”ด “ หิ้วนักข่าวสาวเข้าม่านรูด ทั้ง ๆ ที่เรื่องนี้เป็นเรื่องล้อเล่นกันมานานถึง 17 ปี ในทางการเมือง ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 ดี๋ ดอกมะดันได้เข้าร่วมกับทางพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยด้วย และได้ขึ้นเวทีปราศรัยและนำคณะตลกแสดงบนเวทีด้วย ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สภา ศรีสวัสดิ์ และลงเล่นการเมืองกับพรรคประชาธิปัตย์โดยลงสมัครเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) เขตห้วยขวาง ในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งแต่อย่างใด ชีวิตส่วนตัวสมรสกับนางเสาวลักษณ์ ศรีสวัสดิ์ มีบุตรสาว 2 คน คือ พรรณวรินทร์ ศรีสวัสดิ์ (บีม) บุตรสาวคนโตที่เป็นนักแสดงชื่อดัง กับ มนชญา ศรีสวัสดิ์ (เบล) ปัจจุบันบุตรสาวทั้งสองเปลี่ยนชื่อและนามสกุลเป็น วรานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ และ ชยานิษฐ์ จิราโรจน์เจริญ ต่อมา ดี๋ ดอกมะดัน ได้ป่วยเป็นโรคหอบอย่างหนักเนื่องจากสูบบุหรี่หนักและอยู่กับสุนัขของตนมาอยู่ในห้องของตนเอง เริ่มเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลตั้งแต่ปลายเดือนกันยายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและดี๋ ดอกมะดัน · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย

ณะรัฐศาสตร์ เปิดสอนศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการบริการรัฐ การเมืองการปกครอง รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งการศึกษาวิชารัฐศาสตร์นั้น เป็นการศึกษาในลักษณะของสหวิทยาการ กล่าวคือ ต้องอาศัยศาสตร์หลาย ๆ ศาสตร์เข้ามาประกอบการศึกษา อธิบายภาวะต่าง ๆ ทางสังคม ที่เกิดขึ้นได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและคณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ซูการ์โน มะทา

ซูการ์โน มะทา อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดยะลา สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงหนึ่งเดียวของพรรคพลังประชาชนในพื้นที่ภาคใต้ (การเลือกตั้ง พ.ศ. 2550).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและซูการ์โน มะทา · ดูเพิ่มเติม »

นิมุคตาร์ วาบา

นิมุคตาร์ วาบา (เกิด 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและนิมุคตาร์ วาบา · ดูเพิ่มเติม »

ไบโอดีเซล

อดีเซล บรรจุขวด ไบโอดีเซล (biodiesel) เป็นเชื้อเพลิงดีเซลที่ผลิตจากแหล่งทรัพยากรหมุนเวียน เช่น น้ำมันพืช ไขมันสัตว์ หรือสาหร่าย ไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิงดีเซลทางเลือก นอกเหนือจากดีเซลที่ผลิตจากปิโตรเลียม โดยมีคุณสมบัติการเผาไหม้ เหมือนกับดีเซลจากปิโตรเลียมมาก และสามารถใช้ทดแทนกันได้ คุณสมบัติสำคัญของไบโอดีเซลคือ สามารถย่อยสลายได้เอง ตามกระบวนการชีวภาพในธรรมชาติ และไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและไบโอดีเซล · ดูเพิ่มเติม »

เจะอามิง โตะตาหยง

อามิง โตะตาหยง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส พรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 เกิดวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2497 ที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรของ นายหะยีเจ๊ะดาราแม และนางหะยีวาเย๊าะ โตะตาหยง นายเจะอามิง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา จาก มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา อดีตนักข่าวและเป็นเจ้าของ ธุรกิจการค้ายางพารา โรงเลื่อยไม้ยางพารา และ รับเหมาก่อสร้าง ก่อนเข้าสู่วงการเมืองระดับประเทศ เคยทำงานการเมืองระดับท้องถิ่นมาก่อน จนกระทั่งได้รับตำแหน่งเป็น ประธานสภาจังหวัดนราธิวาส นายเจะอามิง เป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทแสดงความคิดเห็นผ่านสื่อสาธารณะ เกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างสม่ำเสมอ ทั้งการให้สัมภาษณ์ และเขียนบทความลงใน หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน โดยได้รับมอบหมายจากพรรคให้ดูแล นโยบายการแก้ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในฐานะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาและเจะอามิง โตะตาหยง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มรภ.ยะลามหาวิทยาลัยราชภัฎยะลาวิทยาลัยครูยะลา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »