เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ดัชนี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 139 ความสัมพันธ์: ชวลิต ยงใจยุทธพระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล)พระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)พระพุทธิสารโสภณ (เดช กตปุญฺโญ)พระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร (เจริญ กิ๊นเจี๊ยว)พระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์)พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ)พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)พระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช)พระราชญาณปรีชา (ถวิล กนฺตสิริ)พระราชวิสุทธิประชานาถ (อลงกต ติกฺขปญฺโญ)พระราชโพธิวรคุณ (พายัพ ฐิตปุญฺโญ)พระวิสุทธิญาณเถร (สมชาย ฐิตวิริโย)พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย)พระศาสนโศภน (ภา ภาณโก)พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)พระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)พระสุนทรธรรมเมธี (สุเทพ อาสโภ)พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)พระธรรมไตรโลกาจารย์ (พูนศักดิ์ วรภทฺทโก)พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดีพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้าพระเทพวิมลญาณ (ถาวร จิตฺตถาวโร)พระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร)พระเทพปฏิภาณวาที (สุนทร ญาณสุนฺทโร)พระเทพปริยัติวิมล (แสวง ธมฺเมสโก)พิธีสำเร็จการศึกษาพุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้พุทธวงศ์พจนานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทยกรุงเทพมหานครกะเทยการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทยการสอบสนามหลวงการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44กนิษฐา วิเชียรเจริญภาษาบาลีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้างมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสานมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมคธมหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์มูลนิธิปุญญานุภาพมูลนิธิแผ่นดินธรรม... ขยายดัชนี (89 มากกว่า) »

ชวลิต ยงใจยุทธ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและชวลิต ยงใจยุทธ

พระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล)

ระพรหมมงคล นามเดิม ทอง พรหมเสน ฉายา สิริมงฺคโล (21 กันยายน พ.ศ. 2466 - ปัจจุบัน) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายวิปัสสนาธุระ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร และที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 7.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล)

พระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)

ระพรหมวิสุทธาจารย์ นามเดิม มนตรี บุญถม ฉายา คณิสฺสโร เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต) รองแม่กองธรรมสนามหลวง และเจ้าอาวาสวัดเครือวัลย์วรวิหาร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)

พระพุทธิสารโสภณ (เดช กตปุญฺโญ)

ระพุทธิสารโสภณ รองศาสตราจารย์ ดร. นามเดิม เดช ศาลา ฉายา กตปุญฺโญ เจ้าอาวาสวัดวัดมัชฌันติการาม.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระพุทธิสารโสภณ (เดช กตปุญฺโญ)

พระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร (เจริญ กิ๊นเจี๊ยว)

ระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร นามเดิม เจริญ แซ่บู๊ ฉายา กิ๊นเจี๊ยว (Kính Chiếu) เป็นพระภิกษุนิกายมหายาน อดีตเจ้าคณะใหญ่คณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย และอดีตเจ้าอาวาสวัดกุศลสมาคร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร (เจริญ กิ๊นเจี๊ยว)

พระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์)

thumb พระยาบริรักษ์เวชชการ หรือนามเดิม ไล่ฮวด ติตติรานนท์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2435 - 26 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตสภานายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย (พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์)

พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)

มหาอำมาตย์โท พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ มานวธรรมศาสตร์สุปรีชา (สุหร่าย วัชราภัย) ป.ม. ท..ว. ท..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)

พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ)

มหาเสวกตรี พระยาศรีสุนทรโวหาร (24 มิถุนายน พ.ศ. 2424 - 6 สิงหาคม พ.ศ. 2466) นามเดิม ผัน สาลักษณ เจ้ากรมพระอาลักษณ์ องคมนตรี.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ)

พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2423 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2507) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ อดีตอธิบดีกรมต่างๆ อาทิ เช่น อธิบดีกรมที่ดินและโลหะกิจ เป็นต้น อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)

พระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช)

ระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช) หรือนามปากกา ปิยโสภณ ปัจจุบันเป็น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก และรักษาการเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย (ธรรมยุต) ทั้งยังเป็นพระนักวิชาการ, นักเขียนและนักบรรยายธรรมที่ผลิตผลงานออกมาในรูปวีซีดีและหนังสือออกมาสม่ำเสมอในยุคปัจจุบัน เป็นพระนักวิชาการรุ่นใหม่ที่มีผลงานสำคัญคือการหาทุนปั้นศาสนทายาท โดยโครงการนี้ อยู่ที่วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระราชญาณกวี (สุวิทย์ ปิยวิชฺโช)

พระราชญาณปรีชา (ถวิล กนฺตสิริ)

ระราชญาณปรีชา นามเดิม ถวิล ศรีใหม่ ฉายา กนฺตสิริ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร, เจ้าคณะแขวงวชิรพยาบาล (ธ).

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระราชญาณปรีชา (ถวิล กนฺตสิริ)

พระราชวิสุทธิประชานาถ (อลงกต ติกฺขปญฺโญ)

ระราชวิสุทธิประชานาถ (อลงกต ติกฺขปญฺโญ) เป็นเจ้าอาวาสวัดพระบาทน้ำพุ ผู้ให้การอุปการะช่วยเหลือผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี-เอดส์ หลายราย ปัจจุบันทางวัดยังคงรับผู้ป่วยมาดูแลอยู่เนือง.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระราชวิสุทธิประชานาถ (อลงกต ติกฺขปญฺโญ)

พระราชโพธิวรคุณ (พายัพ ฐิตปุญฺโญ)

ระราชโพธิวรคุณ นามเดิม พายัพ กาวิยศ ฉายา ฐิตปุญฺโญ น..เอก ป..6..(กิตติ์) เป็นพระราชาคณะชั้นราช ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยสะเก็ด เจ้าคณะอำเภอดอยสะเก็.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระราชโพธิวรคุณ (พายัพ ฐิตปุญฺโญ)

พระวิสุทธิญาณเถร (สมชาย ฐิตวิริโย)

ระวิสุทธิญาณเถร (หลวงปู่สมชาย ฐิตวิริโย) พระกรรมฐาน สายท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ อดีตประธานสงฆ์วัดเขาสุกิม เกิดเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระวิสุทธิญาณเถร (สมชาย ฐิตวิริโย)

พระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย)

ร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระศากยวงศ์วิสุทธิ์ (อนิลมาน ธมฺมสากิโย)

พระศาสนโศภน (ภา ภาณโก)

ระศาสนโศภน (ภา ภาณโก) (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2423 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง อดีตเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การปกครอง‎ ประธานกรรมการคณะธรรมยุต กรรมการมหาเถรสมาคม และดำรงตำแหน่งสำคัญอีกหลายตำแหน่งในคณะสงฆ์ไท.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระศาสนโศภน (ภา ภาณโก)

พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)

ระศาสนโศภน นามเดิม แจ่ม ฉายา จตฺตสลฺโล เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองคณะธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม รองประธานสังฆสภา และแม่กองธรรมสนามหลวงรูปแรก.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)

พระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)

ระสาสนโสภณ นามเดิม พิจิตร ฉายา ิตวณฺโณ นามสกุล ถาวรสุวรรณ วิทยฐานะ ป..9, น.เอก.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)

พระสุนทรธรรมเมธี (สุเทพ อาสโภ)

ระสุนทรธรรมเมธี,ดร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระสุนทรธรรมเมธี (สุเทพ อาสโภ)

พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)

ระธรรมโสภณ หรือ หลวงพ่อใหญ่ นามเดิม โกศล โพธิ์งาม ฉายา สิรินฺธโร (30 มิถุนายน พ.ศ. 2467) เป็นพระภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดสุรินทร์ และเป็นเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร ผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนวัดสุทธจินดา,เจ้าสำนักเรียนวัดสุทธจินดา, ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดสุทธจินดา, ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) ดูแลคณะสงฆ์ 6 จังหวัด คือ อุดรธานี หนองคาย เลย สกลนคร หนองบัวลำภูและ บึงกาฬ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)

พระธรรมไตรโลกาจารย์ (พูนศักดิ์ วรภทฺทโก)

ระธรรมไตรโลกาจารย์ นามเดิม พูนศักดิ์ ฉายา วรภทฺทโก นามสกุล มาเจริญ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต) รองแม่กองธรรมสนามหลวง เจ้าอาวาสวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระธรรมไตรโลกาจารย์ (พูนศักดิ์ วรภทฺทโก)

พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร)

ระธรรมไตรโลกาจารย์ นามเดิม เดช ฉายา ฐานจาโร เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร และอดีตนายกสภากรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 12, ตอน 41, 12 มกราคม ร..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร)

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 15 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาเอมน้อย ประสูติเมื่อวันพุธ แรม 10 ค่ำ เดือนยี่ ตรงกับวันที่ 28 มกราคม พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี

พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า (16 ธันวาคม พ.ศ. 2402 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2480) เป็นพระราชวงศ์ในราชสกุล ชมพูนุท ดำรงสมณศักดิ์สมเด็จพระสังฆราชเป็นพระองค์ที่ 11 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า

พระเทพวิมลญาณ (ถาวร จิตฺตถาวโร)

ระเทพวิมลญาณ นามเดิม ถาวร ฉายา จิตฺตถาวโร เป็นพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปทุมวนารามราชวรวิหาร และรองเจ้าคณะภาค 9 (ธรรมยุต) ผู้มีชื่อเสียงจากการสอนกรรมฐาน และก่อตั้งศาสนสถานหลายแห่ง เช่น วัดพุทธไทยถาวรรัฐนิวยอร์ค วัดป่าศรีถาวรรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา วัดเนรัญชราวาส ประเทศอินเดีย เป็นต้น.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระเทพวิมลญาณ (ถาวร จิตฺตถาวโร)

พระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร)

ระเทพวิสุทธิมงคล หรือ หลวงปู่ศรี มหาวีโร เป็นพระเถระฝ่ายวิปัสสนาธุระ ศิษย์พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต อดีตเจ้าอาวาสวัดประชาคมวนาราม.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร)

พระเทพปฏิภาณวาที (สุนทร ญาณสุนฺทโร)

ระเทพปฏิภาณวาที นามเดิม สุนทร ฉายา าณสุนฺทโร เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะเขตดุสิต ผู้ช่วยแม่กองธรรมสนามหลวง และนักเทศน์ชื่อดัง.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระเทพปฏิภาณวาที (สุนทร ญาณสุนฺทโร)

พระเทพปริยัติวิมล (แสวง ธมฺเมสโก)

ระเทพปริยัติวิมล นามเดิม แสวง ลูกอินทร์ ฉายา ธมฺเมสโก ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลั.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพระเทพปริยัติวิมล (แสวง ธมฺเมสโก)

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพิธีสำเร็จการศึกษา

พุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้

ทธชยันตี 2600 ปี หรือ พุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ (Buddhajanti: The Celebration of 2,600 Years of the Buddha’s Enlithenment) เป็น เทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาเถรวาท ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับวันวิสาขบูชา เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ในวันวิสาขบูชา พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้

พุทธวงศ์

ทธวงศ์ (พุทฺธวํส) หมายถึง สายของพระพุทธเจ้า พระโคตมพุทธเจ้าได้ตรัสเรื่องพุทธวงศ์ไว้คราวประทับ ณ นิโครธาราม ระหว่างการเสด็จนิวัตกรุงกบิลพัสดุ์ (หลังตรัสรู้) การสืบสายพุทธวงศ์ไม่ได้มาจากการสืบสายโลหิตหรือการชิงอำนาจปราบดาภิเษกอย่างการสืบราชสมบัติ แต่มาจากสั่งสมบำเพ็ญบารมีและรับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าในอดีต ในการสังคายนาครั้งที่ 1 ในศาสนาพุทธ พระอรหันต์สาวกที่ร่วมสังคายนาได้จัดให้เรื่อง "พุทธวงศ์" นี้เป็นคัมภีร์หนึ่งในหมวดอปทาน ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎกในพระไตรปิฎกภาษาบาลี ศาสนาพุทธเชื่อว่าพระพุทธเจ้าในอดีตมีจำนวนมากมายนับไม่ถ้วน แต่พระพุทธเจ้าในอดีตที่พระโคตมพุทธเจ้าทรงนับเข้าในพุทธวงศ์ของพระองค์มีอยู่ 24 พระองค์ เพราะ 24 พระองค์นี้เป็นผู้ประทานพยากรณ์ว่าพระโคตมโพธิสัตว์จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต เมื่อรวมพระโคตมพุทธเจ้าด้วย จึงมีพระพุทธเจ้าทั้งสิ้น 25 พระองค์ในพุทธวง.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพุทธวงศ์

พจนานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทย

นานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทย เป็นพจนานุกรมศัพท์ทางพระพุทธศาสนามหายานเล่มแรกของไทย ที่รวบรวมคำศัพท์ทางพระพุทธศาสนาจากพระไตรปิฎกจีน รวมถึงอรรถกถา และปกรณ์คัมภีร์ต่างๆ ภายในเล่มบรรจุคำศัพท์ทั้งภาษาจีน สันสกฤต บาลี มีคำแปลความหมายเป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทย เนื้อหาครอบคลุมทั้งพระพุทธศาสนามหายาน เถรวาท และลัทธิปรัชญาทั้งในอินเดีย จีน ญี่ปุ่น ตลอดจนขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมทางศาสนาของเอเชียตะวันออก จัดพิมพ์เผยแพร่โดยคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย เมื่อ..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและพจนานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทย

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและกรุงเทพมหานคร

กะเทย

กะเทย ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายว่า "คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง, คนที่มีจิตใจและกิริยาอาการตรงข้ามกับเพศของตน; ผลไม้ที่เมล็ดลีบ เช่น ลำไยกะเทย" ส่วนความหมายทางแพทยศาสตร์ หมายถึง คนที่มีอวัยวะของทั้งผู้หญิงและผู้ชายอยู่ในคน ๆ เดียวกัน ส่วนกะเทยที่มีจิตใจตรงข้ามกับเพศของตน ทางการแพทย์เรียกกลุ่มนี้ว่า "ลักเพศ".

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและกะเทย

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

ษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาที่จารึกพระไตรปิฎก ด้วยเป็นภาษาที่คนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลนิยมใช้กันทั่วไป จึงเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น หลังจากพุทธปรินิพพานมีการทำปฐมสังคายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ภาษาบาลีสำหรับจดจำพระไตรปิฎก พระสงฆ์สายเถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจลึกซึ้งและสามารถเทียบเคียงสอบทานกับพระไตรปิฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อรักษาการแปลความหมายจากพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกให้ถูกต้องไม่บิดเบือน และหน้าที่นี้ก็เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ในประเทศไทยเช่นเดียวกันเทวประภาส มากคล้าย เปรียญ..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

การสอบสนามหลวง

อบสนามหลวง คือการสอบไล่วัดความรู้พระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ไทย โดยคำว่า "สนามหลวง" นั้นสันนิษฐานว่ามาจากคำว่า "การสอบพระปริยัติธรรมบาลีในพระราชวังหลวง" โดยการสอบสนามหลวงในสมัยก่อนนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงรับเป็นพระราชภาระ ถวายความอุปถัมภ์การจัดสอบขึ้นในพระบรมมหาราชวัง โดยจัดสอบแบบปากเปล่า คือพระภิกษุหรือสามเณรผู้ศึกษาบาลีมีความรู้พอสมควรแล้ว เข้าสอบบาลีสนามหลวงโดยการแปลคัมภีร์ภาษาบาลีเป็นภาษาไทย หรือแต่งภาษาไทยเป็นภาษาบาลี ต่อหน้าพระที่นั่งและคณะกรรมการพระเถรานุเถระ โดยผู้สอบไล่ได้ในชั้นประโยคต่างๆ จะได้รับการพระราชทานสมณศักดิ์ พัดยศ ไตรจีวร และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งพระภิกษุสามเณรผู้สอบได้ให้เป็นเปรียญ และรับนิตยภัตของหลวง เป็นการยกย่องเชิดชู.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและการสอบสนามหลวง

การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง

การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง เป็นเหตุการณ์ในประเทศไทยที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 ในช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ 1 เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ พ.ต.ท.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43 หรือ "กันเกราเกมส์" จัดที่จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ระหว่างวันที่ 9–18 มกราคม..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44

กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44 หรือ สุรนารีเกมส์ 44 เป็นการแข่งกีฬาของนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 21 กุมภาพันธ์-2 มีนาคม..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 44

กนิษฐา วิเชียรเจริญ

ณหญิงกนิษฐา วิเชียรเจริญ (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463 - 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2545) นักรณรงค์เพื่อสิทธิสตรี เยาวชน และแม่ชีในศาสนาพุทธ ผู้ก่อตั้งสมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี และ "มหาประชาบดีเถรีวิทยาลัย" วิทยาลัยแม่ชีแห่งแรกของประเทศไทย เกิดวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและกนิษฐา วิเชียรเจริญ

ภาษาบาลี

ษาบาลี (ปาลิ; पाऴि); (Pali) เป็นภาษาที่เก่าแก่ภาษาหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป (อินโด-ยูโรเปียน) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน) ซึ่งจัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (มี พระไตรปิฎก เป็นต้น) โดยมีลักษณะทางไวยากรณ์ และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี จนถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ แม้กระทั่งอักษรโรมัน (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้ อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและภาษาบาลี

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขศรีล้านช้าง (Mahamakut Buddhist University, Sri Lanchang Campus) เป็นวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่ตำบลกุดป่อง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน (Mahamakut Buddhist University Isan Campus) เป็นวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(มจร.) คือสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาอื่นอีกมายมาย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถือกำเนิดจาก "มหาธาตุวิทยาลัย" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นภายในวัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมคธ

มหาวิทยาลัยมคธ (Magadh University) ชื่อย่อ: MU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาล อยู่ในตำบลโพธิคยา อำเภอคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย จัดตั้งขึ้นโดยรัฐบัญญัติมหาวิทยาลัยแห่งรัฐพิหาร พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมคธ

มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (Mahapajapati Buddhist College, Mahamakut Buddhist University) เป็น วิทยาลัย สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทยที่รับเฉพาะนักศึกษาหญิง และแม่ชี เท่านั้น.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและมหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็น"องค์กรการกุศล"จัดตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่เผยแผ่ พุทธธรรมโดยจัดตรวจชำระและแปลคัมภีร์พระพุทธศาสนา แล้วจำหน่ายเผยแผ่ในราคาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ปัจจุบัน ได้จัดพิมพ์ตำรับตำราทางพระพุทธศาสนาอันจะเป็นประโยชน์ในการเรียนนักธรรมและบาลีทุกระดับชั้นในราคาถูก และยังจัดพิมพ์และจำหน่ายหนังสือเกี่ยวแก่พระพุทธศาสน.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

มูลนิธิปุญญานุภาพ

มูลนิธิปุญญานุภาพ ก่อตั้งขึ้นเพื่อรำลึกถึงคุณุปการของท่านอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ในการก่อตั้งมูลนิธินี้ ท่านอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพได้เห็นชอบ โดยท่านได้ยกค่าลิขสิทธิ์หนังสือทางพระพุทธศาสนาที่ท่านแต่งขึ้นและจัดพิมพ์โดย มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ทั้งหมดเพื่อตั้งเป็นกองทุนสนับสนุนส่งเสริมการศึกษาพระพุทธศาสนา โดยให้ทุนพระภิกษุสามเณรที่เป็นนักศึกษาและครูอาจารย์ที่ทำวิจัยด้านพระพุทธศาสนาอยู่ ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย แต่ไม่มีทุนสนับสนุน คณะกรรมการมูลนิธิได้ดำเนินการจดทะเบียนกับ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ถูกต้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ตามเจตนารมณ์ของท่านอาจารย์ สุชีพ ปุญญานุภาพทุกประการ ปัจจุบัน มูลนิธิฯ ได้มอบทุนการศึกษาและทุนวิจัยแก่นักศึกษาและนักวิจัยแล้วเป็นจำนวนมาก.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและมูลนิธิปุญญานุภาพ

มูลนิธิแผ่นดินธรรม

มูลนิธิแผ่นดินธรรม ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เป็นองค์กรการกุศลทางพระพุทธศาสนา ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อผลิตรายการธรรมะป้อนโทรทัศน์เพื่อให้ประชาชนชาวพุทธทั่วไปได้เข้าใจหลักพุทธธรรมของพระพุทธเจ้าจากคัมภีร์พระไตรปิฎก ภาษาบาลี ทั้งในเชิงทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยเฉพาะในเชิงภาคปฏิบัตินั้น ทีมงานผู้ผลิตรายการแผ่นดินธรรมได้เลือกปฏิปทาของพระอาจารย์กรรมฐานหรือพระป่า เช่น พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต มานำเสนอเป็นประจำ เพื่อให้ประชาชนได้รู้ว่าหลักธรรมของพระพุทธเจ้านั้นทันสมัยอยู่เสมอ สามารถศึกษาและนำไปปฏิบัติได้จริง แม้สังคมจะเจริญเพียงใดก็ตาม.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและมูลนิธิแผ่นดินธรรม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 18 ซึ่งจัดร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ในระหว่าง..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

รายชื่อพระเกียรติยศในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัลและพระเกียรติยศ ดังรายการต่อไปนี้.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและรายชื่อพระเกียรติยศในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

รายชื่อมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทยเรียงตามการสถาปนา

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐในประเทศไทยเรียงตามการสถาปนา แบ่งได้ 3 ช่วง (ในการสถาปนาเป็น มหาวิทยาลัย หรือ สถาบัน) ดังนี้.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและรายชื่อมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทยเรียงตามการสถาปนา

รายชื่อวิทยาเขตของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

รายชื่อวิทยาเขตของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่มีการจัดการเรียนการสอนและการบริหารงานในรูปแบบวิทยาเขตนอกจังหวัดที่ตั้ง (ไม่นับรวมศูนย์จัดการศึกษานอกสถานที่ตั้ง ซึ่งใช้สถานของสถาบันอื่น) การเรียกชื่อวิทยาเขตของสถานศึกษาแต่ละแห่งแตกต่างกัน แต่ฐานะเท่าเทียบกัน เช่น.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและรายชื่อวิทยาเขตของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร แบ่งตามประเภทสถานศึกษ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย แบ่งตามประเภทสถานศึกษ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

รายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาด้านศึกษาศาสตร์หรือครุศาสตร์ (ยกเว้นวิชาด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดูเพิ่มเติมที่: รายชื่อคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมในประเทศไทย).

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและรายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อคณะสังคมศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาในกลุ่มสังคมศาสตร์ คือ สาขาวิชาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อศึกษาโลกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หน่วยสังคมต่าง ๆ ของมนุษย์ รวมทั้งพฤติกรรมของมนุษย์ในแง่มุมต่าง ๆ วิชาในสังคมศาสตร์แตกต่างจากวิชาในกลุ่มมนุษยศาสตร์ เนื่องจากหลาย ๆ สาขาวิชาในสังคมศาสตร์เน้นการหาความรู้และความสัมพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนินพฤติกรรมของมนุษย์และปรากฏการณ์ทางสังคมด้วยกระบวนการแบบปฏิฐานและประจักษ์นิยม ทั้งเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชิงคุณภาพ (qualitative method) อย่างเป็นวิทยาศาสตร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและรายชื่อคณะสังคมศาสตร์ในประเทศไทย

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดกำแพงเพชร

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดกำแพงเพชร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดกำแพงเพชร

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครศรีธรรมราช

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครศรีธรรมร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครศรีธรรมราช

วศิน อินทสระ

วศิน อินทสระ (17 กันยายน พ.ศ. 2477 —) เป็นนักเขียนนวนิยายอิงธรรมะ คอลัมนิสต์และนักปาฐกถาธรรมที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งในวงการพระพุทธศาสนา เป็นศิษย์อาจารย์ สุชีพ ปุญญานุภาพ อีกคนที่โด่งดังมาจากการเขียนนวนิยายอิงธรรมะ นวนิยายอิงธรรมะของท่านหลายเล่มได้รับการจัดทำเป็นภาพยนตร์วิดีโอเพื่อจัดจำหน่าย อาทิ พ่อผมเป็นมห.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและวศิน อินทสระ

วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร

วัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร หรือ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนบวรนิเวศและถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระอารามนี้เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชถึง 4 พระองค์ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทั้งยังเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๖ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) และ วัดประจำรัชกาลที่ ๙ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช).

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร

วัดมกุฎคีรีวัน

วัดมกุฏคีรีวัน ตั้งอยู่ที่ ต.โป่งตาลอง อ.ปากช่อง.นครราชสีมา วัดนี้ได้ก่อตั้งโดย สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตจาโร)อดีตเจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหารกรรมการมหาเถรสมาคมและอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ก่อตั้งสำนักปฏิบัติธรรม "มกุฏคีรีวัน" เมื่อปลายปี พุทธศักราช 2531.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและวัดมกุฎคีรีวัน

วัดสุทธจินดาวรวิหาร

วัดสุทธจินดาวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ขอพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและวัดสุทธจินดาวรวิหาร

วัดคุ้งตะเภา

วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณในเขตการปกครองของคณะสงฆ์มหานิกาย และเป็น 1 ใน 9 วัดศักดิ์สิทธิ์สำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ใกล้กับจุดตัดสี่แยกคุ้งตะเภา บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 (ถนนสายเอเชีย) วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และได้รับสถาปนาขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อปีขาล โทศก จุลศักราช 1132 อันเป็นปีที่พระองค์เสด็จขึ้นมาปราบปรามชุมนุมเจ้าพระฝางเมืองสวางคบุรี และประทับชำระคณะสงฆ์ จัดการหัวเมืองฝ่ายเหนือใหม่ตลอดฤดูน้ำ ดังปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งวัดคุ้งตะเภา เป็นเพียงวัดแห่งเดียวในปริมณฑลเมืองพิชัยและสวางคบุรี ที่ปรากฏหลักฐานการสถาปนาวัดในปีนั้น ตำนานวัดเล่าสืบกันมานับร้อยปีว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้คนย้ายกลับมาตั้งครัวเรือน สร้างวัดและศาลาการเปรียญขึ้นใหม่ ณ ริมคุ้งสำเภา พร้อมทั้งตรัสเรียกชื่อวัดที่ตั้งขึ้นใหม่นี้ว่า "วัดคุ้งตะเภา" ปัจจุบันทางราชการได้นำชื่อคุ้งตะเภาไปใช้ตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านและชื่อตำบลคุ้งตะเภาสืบมาจนปัจจุบัน วัดแห่งนี้เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา เคยเป็นวัดที่สถิตย์ของพระครูสวางคมุนี เจ้าคณะใหญ่เมืองฝางมาตั้งแต่โบราณ โดยเป็นวัดที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และสองพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นที่เคารพศรัทธายิ่งของชาวตำบลคุ้งตะเภา ซึ่งพระพุทธรูปทั้งสององค์นั้นจัดได้ว่าเป็น 2 ใน 9 พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สำคัญคู่บ้านคู่เมืองอุตรดิตถ์ คือ พระพุทธสุวรรณเภตรา และ พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี ปัจจุบันวัดคุ้งตะเภาเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เป็นสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3 (สำนักปฏิบัติธรรมภายใต้การกำกับของมหาเถรสมาคม)หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ และเป็นวัดประจำตำบลที่มีสถิติพระภิกษุสามเณรจำพรรษามากที่สุดในตำบลคุ้งตะเภา เป็นศูนย์กลางทางด้านศาสนศึกษาของคณะสงฆ์และคฤหัสถ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภาโดยพฤตินัย โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่มูลนิธิ ๒๕๐ ปี วัดคุ้งตะเภา ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ สำนักเลขานุการรองเจ้าคณะอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ฝ่ายการศึกษาคณะสงฆ์ สำนักศาสนศึกษาประจำตำบล และหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบลคุ้งตะเภา (อปต.) ซึ่งเป็นหน่วยอบรมฯ ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมี พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (แสงสิน) เป็นเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา (จร.).

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและวัดคุ้งตะเภา

วัดประชานิยม (จังหวัดกาฬสินธุ์)

วัดประชานิยม ตั้งอยู่เลขที่ ๘๔ ถนนถีนานนท์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบันมี พระเทพสารเมธี (บัวศรี ชุตินฺธโร) เป็นเจ้าอาวาส เป็นสถานที่ตั้งของ โรงเรียนพระปริยัติสามัญวัดประชานิยม และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ ที่ดินที่ตั้งวัดเนื้อที่ ๓๓ ไร่ ๒ งาน ๕๕ ตารางวา ตาม โฉนดที่ดิน เลขที่ ๒๐๒๗.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและวัดประชานิยม (จังหวัดกาฬสินธุ์)

วันชัย บุษบา

นายวันชัย บุษบา (เกิด 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2507) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย เขต 4 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและวันชัย บุษบา

วิษณุ เครืองาม

ตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม (15 กันยายน พ.ศ. 2494 -) ราชบัณฑิตและรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายกฎหมายในรัฐบาลปัจจุบัน หัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและวิษณุ เครืองาม

วีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์

นายวีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กาฬสินธุ์ เขต 2 พรรคเพื่อไท.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและวีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและศาสนาพุทธในประเทศไทย

ศาสนาเปรียบเทียบ

นาเปรียบเทียบ (Comparative religion) เป็นศาสนศึกษารูปแบบหนึ่งที่ศึกษาศาสนาทั่วโลกในด้านวิเคราะห์และตีความหมายโดยเปรียบเที.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและศาสนาเปรียบเทียบ

สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ (27 มิถุนายน 2497 —) อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย แกนนำกลุ่มขุนค้อน ประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร)

มเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น คณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช รักษาการเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต กรรมการมหาเถรสมาคม ประธานอำนวยการฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศ (ธรรมยุต) อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสีลาจารวัตรมีความรอบรู้ทั้งในทางคดีโลกและคดีธรรม กล่าวได้อย่างเต็มภาคภูมิว่า เป็นสมเด็จพระราชาคณะรูปแรกของไทยที่สำเร็จการศึกษาในทางคดีโลกถึงชั้นปริญญาเอก.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร)

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร)

มเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลั.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร)

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ)

มเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ นามเดิม ช่วง สุดประเสริฐ ฉายา วรปุญฺโญ เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง กรรมการมหาเถรสมาคมโดยตำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ (พระอารามหลวง) ประธานสมัชชามหาคณิสสร และอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ)

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธมฺมสาโร)

มเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธนฺมสาโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดราชผาติการาม วรวิหาร สังฆมนตรี แม่กองธรรมสนามหลวง เป็นต้น.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธมฺมสาโร)

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)

มเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) (21 มีนาคม พ.ศ. 2410) - (26 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตเจ้าอาวาสวัดสุปัฏนารามวรวิหาร อำเภอเมืองอุบลราชธานี วัดสุทธจินดาวรวิหาร มณฑลนครราชสีมา วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร กรุงเทพฯ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ แม่กองธรรมสนามมณฑลตลอดระยะที่ยังมิได้ยุบมณฑล รองแม่กองธรรมสนามหลวง กรรมการตรวจข้อสอบพระปริยัติธรรมสนามหลวง กรรมการมหาเถระสมาคม กรรมการมหามกุฎราชวิทยาลัย กรรมการฝ่ายศึกษาประชาบาล เขตปทุมวัน รองเจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต เจ้าคณะตรวจการภาค 3, 4, 5 องค์ประธานคณะวินัยธร ชั้นฎีกาตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับมหาสมณุตตมาภิเษกเมื่อปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม วาสน์ นิลประภา ฉายา วาสโน เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม อัมพร ประสัตถพงศ์ ฉายา อมฺพโร เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยทรงเริ่มดำรงตำแหน่งในวันที่ 12 กุมภาพัน..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม จวน ศิริสม ฉายา อุฎฺฐายี สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 16 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สุชิน ทองหยวก

น ทองหยวก อดีตพระมหาสุชิน สุชิโน วัดกันมาตุยาราม เกิดที่จังหวัดนครปฐม เป็นศิษย์สำคัญคนหนึ่งของอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ และอาจารย์เสถียร โพธินันทะ ที่มีความสามารถในด้านภาษาสันสกฤต เป็นผู้ที่รับผิดชอบในการสอนภาษาสันสกฤตและภาษาปรากฤต ให้พระนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 20 ปี เคยมีบทบาทในการร่วมจัดทำ พจนานุกรมพุทธศาสนาจีน-สันสกฤต-อังกฤษ-ไทย ร่วมกับคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย วัดโพธิ์แมนคุณาราม และเป็นผู้แปลงานชิ้นสำคัญในโลกทางปรัชญาของฝ่ายมหายานได้คือหนังสือชื่อ The Central Philosophy of Buddhism (ในชื่อภาษาไทยคือ ปรัชญามาธยมิก) ซึ่งเป็นหนังสือที่ใช้อ่านศึกษาพุทธปรัชญาโดยเฉพาะปรัชญาของท่าน นาคารชุน อย่างกว้างขวางเป็นภาษาไทยได้สำเร็.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสุชิน ทองหยวก

สุชีพ ปุญญานุภาพ

ีพ ปุญญานุภาพ (13 เมษายน พ.ศ. 2460 — 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2543) เป็นนักวิชาการที่ได้รับการยอมรับทั้งจากพุทธศาสนิกชนและคณะสงฆ์ไทยอย่างกว้างขวาง ในฐานะที่สมบูรณ์ด้วยวิชาความรู้ทางพระพุทธศาสนาอย่างเยี่ยมยอด หาใครเทียมได้ยาก ในเวลาเดียวกัน ก็มีความประพฤติที่ดีงาม สุภาพอ่อนโยน ระหว่างที่ท่านเคยบวชเป็นพระอยู่ในชื่อว่า สุชีโว ภิกขุ ท่านมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เพราะประการแรก ท่านเชี่ยวชาญพระพุทธศาสนาเป็นเลิศ ประการที่สอง ท่านรอบรู้วิชาการสมัยใหม่อย่างเยี่ยม ประการที่สาม ท่านเป็นพระภิกษุไทยรูปแรกที่บรรยายธรรมเป็นภาษาอังกฤษ ทำให้เกิดการติดต่อระหว่างชาวพุทธในต่างประเทศกับประเทศไทย แม้ว่าท่านจะมีภาระงานมากมาย แต่ท่านก็เป็นนักเขียน ที่ผลิตงานเขียน ทั้งในรูปหนังสือและตำราเผยแพร่ความรู้ด้านพุทธศาสนา รวมทั้งนวนิยายอิงธรรมะเป็นจำนวนมาก นอกจากนั้น ยังเป็นผู้บุกเบิกทำพจนานุกรมศัพท์พระพุทธศาสนาอีกด้วย อาจารย์สุชีพได้ถึงแก่กรรมลง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสุชีพ ปุญญานุภาพ

สุขวิช รังสิตพล

วิช รังสิตพล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคความหวังใหม่ และพรรคไทยรักไท.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสุขวิช รังสิตพล

สุเชาวน์ พลอยชุม

วน์ พลอยชุม เป็นรองศาสตราจารย์และอดีตผู้อำนวยการสถาบันภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่มีผลงานการเขียนและการวิจัยทางด้านพระพุทธศาสนาในประเทศไทยมากที่สุดท่านหนึ่งของประเทศในปัจจุบัน อ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสุเชาวน์ พลอยชุม

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

สถิตย์ ไชยปัญญา

ตย์ ไชยปัญญา เกิดที่จังหวัดเชียงราย เป็นนักวิชาการด้านภาษาสันสกฤตและฮินดี สังกัดคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สอนเกี่ยวกับภาษาฮินดีและวรรณคดีสันสกฤต รวมถึงเป็นอาจารย์พิเศษด้านภาษาฮินดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลั.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและสถิตย์ ไชยปัญญา

อักษรอริยกะ

ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉลองพระองค์ขาวเพื่อถือศีลแสดงธรรม สระและพยัญชนะของอักษรอริยกะ อักษรอริยกะ เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาบาลีในประเทศไทย ประดิษฐ์ขึ้นราวปี..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและอักษรอริยกะ

อำเภอชุมแพ

มแพ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดขอนแก่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไท.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและอำเภอชุมแพ

อำเภอพุทธมณฑล

อำเภอพุทธมณฑล เป็นอำเภอที่ตั้งขึ้นใหม่ที่สุดและมีพื้นที่น้อยที่สุดในจังหวัดนครปฐม.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและอำเภอพุทธมณฑล

อำเภอวังน้อย

วังน้อย เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภออุไทยน้อย ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและอำเภอวังน้อย

อำเภอวารินชำราบ

วารินชำราบ เป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอเมืองอุบลราชธานี มีระยะทางห่างจากอำเภอเมืองเพียง 2 กิโลเมตร อยู่คนละฝั่งของแม่น้ำมูล เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟอุบลราชธานีและสถาบันการศึกษาที่สำคัญของจังหวัด คือ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและอำเภอวารินชำราบ

อำเภอศรีราชา

อำเภอศรีราชา เป็นอำเภอขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและอำเภอศรีราชา

อำเภอปักธงชัย

ปักธงชัย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครราชสีมา อยู่ทางตอนใต้ของจังหวั.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและอำเภอปักธงชัย

อำเภอเมืองกาฬสินธุ์

มืองกาฬสินธุ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสิน.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและอำเภอเมืองกาฬสินธุ์

องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก

งฉัพพัณณรังสี เป็นธงศาสนาพุทธสากล ซึ่งรับรองโดยองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (The World Fellowship of Buddhists) เป็นองค์การทางศาสนาพุทธระหว่างประเทศ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นหนึ่งในกรรมการบริหารของสำนักงานใหญ่องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกเป็นเวลาหลายสิบปีก่อนที่ท่านจะเสียชีวิต เป็นผู้แปลชื่อองค์การนี้เป็นภาษาไทย อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพเข้าไปเกี่ยวข้องกับองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ตั้งแต่ท่านยังเป็นพระภิกษุอยู่วัดกันมาตุยาราม เมื่อท่านบุกเบิกให้มีการรื้อฟื้นมหาวิทยาลัยสงฆ์มหามกุฏราชวิทยาลัย จนมหาวิทยาลัยสงฆ์ถือกำเนิดขึ้นมาแล้ว ท่านได้รับเชิญไปประชุมที่ประเทศศรีลังกา โดยมีพระมหาแสง โฆสธมฺโม (ปัจจุบันคือศาสตราจารย์แสง จันทร์งาม) ร่วมเดินทางไปด้วย การไปประชุมครั้งนั้น เป็นการประชุมของชาวพุทธใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา เพราะเป็นการเชิญทั้งแกนนำชาวพุทธฝ่ายมหายาน เถรวาท และวัชรยานไปพร้อมกัน เพื่อทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาร่วมกัน ผู้นำชาวศรีลังกาที่เชิญชวนให้ชาวพุทธสามัคคีกันเผยแผ่มากกว่าจะต่างคนต่างทำงานกันก็คือ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดกาฬสินธุ์

ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดกาฬสินธุ์

จังหวัดกำแพงเพชร

ังหวัดกำแพงเพชร เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 8,607 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดกำแพงเพชร

จังหวัดยโสธร

ร เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย เดิมชื่อ บ้านสิงห์ท่า, เมืองยศสุนทร เป็นเมืองเก่าแก่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำชีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 200 ปี มีประเพณีบุญบั้งไฟที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ประเพณีหนึ่งเดียวในโลก จัดตั้งโดยคณะปฏิวัติของจอมพลถนอม กิตติขจร ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 70 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2515 อันให้แยกอำเภอยโสธร อำเภอกุดชุม อำเภอเลิงนกทา อำเภอคำเขื่อนแก้ว อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอป่าติ้ว ออกจากจังหวัดอุบลราชธานี แล้วรวมกันตั้งเป็นจังหวัดยโสธร และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2515 สืบไป โดยมีนายชัยทัต สุนทรพิพิธ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธรคนแรก.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดยโสธร

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดราชบุรี

จังหวัดร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด เดิมสะกดว่า ร้อยเอ็จ เป็นจังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ำชีในภาคอีสานตอนกลางหรือตอนบนของไท.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดร้อยเอ็ด

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดศรีสะเกษ

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดสุราษฎร์ธานี

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดสุรินทร์

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดสงขลา

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดอุบลราชธานี

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดขอนแก่น

จังหวัดปราจีนบุรี

ปราจีนบุรี เดิมสะกดว่า ปราจิณบุรี เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีการพบซากโบราณสถานในหลายพื้นที่ของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติอยู่ในเขตมรดกโลกถึง 3 แห่ง ทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่ามากที่สุดในภาคตะวันออกอีกด้วย แต่เดิมจังหวัดปราจีนบุรีมีพื้นที่กว้างใหญ่มาก เนื่องจากในอดีตเคยมีการยุบรวมจังหวัดนครนายกเข้ากับจังหวัดปราจีนบุรีในปี..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดปราจีนบุรี

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดนครราชสีมา

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดนครศรีธรรมราช

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดนครปฐม

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดเชียงใหม่

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจังหวัดเพชรบุรี

จิรโชค วีระสย

ตราจารย์พิเศษ ดร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและจิรโชค วีระสย

ธงชัย สุขโข

งชัย สุขโข อดีตพระพรหมสิทธิ ฉายา สุขญาโณ อดีตพระราชาคณะเจ้าคณะรอง เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าคณะภาค 10 เจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ประธานสำนักงานกำกับดูแลพระธรรมทูตไปต่างประเทศ หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ ๖ รองแม่กองธรรมสนามหลวง และกรรมการมหาเถรสมาคม.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและธงชัย สุขโข

ธงทอง จันทรางศุ

ตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ (8 มิถุนายน 2498 -) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ภายใต้คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและการสร้างความสามัคคีปรองดอง (ป.ย.ป.), กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 8, กรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,ประธานกรรมการ บริษัท ท่าเรือราชาเฟอร์รี่ จำกัด (มหาชน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ไวยาวัจกร วัดโสมนัสวิหาร, อุปนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประธานอนุกรรมการเครือข่ายสถาบันการศึกษาในรัชกาลที่ 6, ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สถาบันพระปกเกล้า, นายกสมาคมศิษย์เก่าสาธิตปทุมวัน, อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและธงทอง จันทรางศุ

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 232

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 232 หรือ ถนนวงแหวนรอบเมืองร้อยเอ็ด เป็นทางหลวงแผ่นดินที่มีลักษณะเป็นถนนวงแหวนเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาจราจรในเขตตัวจังหวัดร้อยเอ็ด ถนนวงแหวนรอบเมืองร้อยเอ็ดมีทั้งหมด 2 ช่วง คือถนนวงแหวนรอบเมืองร้อยเอ็ดด้านทิศเหนือและทิศใต้ ซึ่งเชื่อมต่อกันเป็นวงกลม แต่เดิมนั้น กรมทางหลวงได้กำหนดให้ถนนวงแหวนรอบเมืองร้อยเอ็ดเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 23 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 ได้กำหนดให้เมืองร้อยเอ็ด อุบลราชธานีและสุรินทร์ เป็นศูนย์กลางทางพัฒนาชนบททุ่งกุลาร้องไห้และเขตภาคอีสานตอนกลาง (มีฐานะเป็นเมืองรองจาก 3 เมืองใหญ่) เมืองร้อยเอ็ดได้เกิดการเปลี่ยนทางด้านเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นทำให้ภายในตัวเมืองชั้นในเกิดปัญหามากมายเช่น ปัญหาการจราจร การบุกรุกโบราณสถาน จึงมีการแก้ปัญหาด้วยการสร้างทางเลี่ยงเมืองร้อยเอ็ดทิศใต้ขึ้นและทิศเหนือในเวลาต่อมา ปัจจุบันวงแหวนรอบเมืองร้อยเอ็ด มีทั้งหมด 3 วง คือ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 232

ครุยวิทยฐานะไทย

ัณฑิตจากคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในชุดครุยวิทยฐานะไทย ครุยวิทยฐานะไทย เป็นชุดพิธีการซึ่งสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยโดยถือรับธรรมเนียมปฏิบัติมาจากพิธีการสำเร็จการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาทางตะวันตก ปัจจุบันครุยวิทยฐานะใช้ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรเพื่อแสดงถึงปริญญาวิทยฐานะที่ได้จากการสำเร็จการศึกษา ครุยวิทยฐานะสำหรับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐจะกำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาหรือกฎหมายอื่น ส่วนสถาบันอุดมศึกษาของเอกชนกำหนดไว้ในข้อบังคับของตน การใช้ครุยวิทยฐานะสำหรับมหาวิทยาลัยรัฐโดยไม่ชอบนั้นมีโทษ อนึ่ง มีการเข้าใจผิดว่าครุยวิทยฐานะไทยเป็นเป็นเสื้อครุยที่ได้รับพระราชทานจากพระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งมีเพียงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเท่านั้นที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๑, ตอน ๐ ง, ๖ ธันวาคม..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและครุยวิทยฐานะไทย

คุยหลัทธิ

หลัทธิ (Esotericism/Esoterism) หมายถึง แนวคิดหรือความรู้แบบหนึ่งที่ถูกสงวนไว้ให้รับรู้หรือเปิดเผยได้กับคนเฉพาะกลุ่ม โดยเฉพาะผู้ที่เป็นสมาชิกหรือผู้สนใจเป็นพิเศษ ขบวนการทางศาสนาที่มีแนวคิดแบบคุยหลัทธิ เช่น ลัทธิการเล่นแร่แปรธาตุ โหราศาสตร์ ไญยนิยม วัชรยาน ไสยศาสตร์ ลัทธิเซียนเทียนเต้า ลัทธิอนุตตรธรรม เจตนิยม เป็นต้น.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและคุยหลัทธิ

คณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย

ณะรัฐศาสตร์ เปิดสอนศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการบริการรัฐ การเมืองการปกครอง รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งการศึกษาวิชารัฐศาสตร์นั้น เป็นการศึกษาในลักษณะของสหวิทยาการ กล่าวคือ ต้องอาศัยศาสตร์หลาย ๆ ศาสตร์เข้ามาประกอบการศึกษา อธิบายภาวะต่าง ๆ ทางสังคม ที่เกิดขึ้นได้.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและคณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทย

ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์

ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์ เป็นนักวิชาการทางบูรพคดีศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล เคยมีผลงานเขียนทั้งบทกวีและบทความตามสื่อมวลชนมาระยะหนึ่งก่อนจะปักหลักทำงานสอนและวิจัยในวิชาชีพที่ถนัดอย่างจริงจังในปัจจุบัน.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์

ปรีดี เกษมทรัพย์

ตราจารย์ ปรีดี เกษมทรัพย์ นักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายแพ่ง และนิติปรัชญา อดีตสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตผู้ก่อตั้งและอดีตอธิการวิทยสถานแห่งวัฒนธรรมตะวันออก อดีตรองประธานสหพันธ์คีตาอาศรมแห่งโลก และอดีตประธานคีตาอาศรมแห่งประเทศไทย ท่านอาจารย์ปรีดีถือว่าเป็นปรมาจารย์ในแวดวงนิติศาสตร์ เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีกฎหมายสามชั้น และผู้ริเริ่มให้บรรยายวิชากฎหมายแพ่ง นิติปรัชญา ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย และหลักวิชาชีพนักกฎหมาย ขึ้นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นแห่งแรกของประเทศ ปัจจุบันท่านเป็นประธานกิติมศักดิ์มูลนิธิปรีดี เกษมทรัพย์ ที่ลูกศิษย์ลูกหาร่วมกันจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นมูลนิธิเพื่อให้การสนับสนุนด้านวิชานิติศาตร์ในประเทศไท.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและปรีดี เกษมทรัพย์

ปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ

นายปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ (ชื่อเล่น:โอเล่, เกิด 28 มิถุนายน พ.ศ. 2515) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร เขต 1 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อ

นาที รัชกิจประการ

นาที รัชกิจประการ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคภูมิใจไทย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดพัทลุง และอดีตประธานสภาพัฒนาสตรีจังหวัดพัทลุง.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและนาที รัชกิจประการ

แม่ชี

แม่ชีในกรุงเทพ นางชี หรือ แม่ชี เป็นนักพรตหญิงในศาสนาพุทธฝ่ายเถรวาท นุ่งขาวห่มขาว โกนศีรษะ ถือศีลแปด อาศัยในวัดเช่นเดียวกับภิกษุ แต่มิได้อุปสมบท บางแห่งจึงถือว่าแม่ชีไม่ใช่นักบวช แต่เป็นอุบาสิกาในพุทธบริษัทสี่เท่านั้น อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีการก่อตั้งสำนักชีโดยเฉพาะเพื่อจะได้ไม่ปะปนกับพระภิกษุซึ่งเป็นเพศชาย บางแห่งมีบทบาทจนเป็นที่ยอมรับในสังคม และบางสำนักนางชีสามารถออกบิณฑบาตรได้เช่นเดียวกับพระสงฆ์ นอกจากนี้ยังมีอุบาสิกาที่ถือศีลแปด เช่นกันแต่มิได้ปลงผม เรียกว่า ชีพราหมณ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและแม่ชี

แสง จันทร์งาม

ตราจารย์เกียรติคุณ แสง จันทร์งาม ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แสง จันทร์งาม เกิดเมื่อ 13 กุมภาพัน..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและแสง จันทร์งาม

โรงเรียนพระปริยัติธรรม

รงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นศาสนศึกษาแผนกสามัญศึกษา อยู่ในความผิดชอบของ กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ดำเนินการจัดการศึกษาทางวิชาการพระพุทธศาสนา แผนกนักธรรม-ภาษาบาลี และหลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ให้แก่พระภิกษุสามเณร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและโรงเรียนพระปริยัติธรรม

โรงเรียนวัดบวรนิเวศ

รงเรียนวัดบวรนิเวศ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาทั้งตอนต้นและตอนปลายเป็นโรงเรียนชายล้วน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนี้ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและโรงเรียนวัดบวรนิเวศ

ไพวรินทร์ ขาวงาม

วรินทร์ ขาวงาม (10 กุมภาพันธ์ 2504 -) กวี นักเขียน และคอลัมนิสต์ชาวไทย เจ้าของรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2538 จากหนังสือรวมบทกวี ม้าก้านกล้วย และศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ประจำปี..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและไพวรินทร์ ขาวงาม

เสถียร โพธินันทะ

อาจารย์เสถียร โพธินันทะ ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาคนหนึ่งของไทย ผู้บุกเบิกการศึกษาพระพุทธศาสนามหายาน และอดีตเลขาธิการคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน..

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและเสถียร โพธินันทะ

เทศบาลตำบลนาสาร

ทศบาลตำบลนาสาร อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอพระพรหม ประมาณ 4 ก.ม. ห่างจากจังหวัดนครศรีธรรมราช 15 ก.ม. อาชีพหลักของประชาชน ทำสวน/ทำไร่ และอาชีพเสริม ปลูกมันเทศ, ทำขนมแห้ง, ทำสวนผลไม้, เลี้ยงโค, ทำน.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและเทศบาลตำบลนาสาร

เทศบาลนครเชียงใหม่

ียงใหม่ (40px) เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และเป็นเมืองวัฒนธรรมที่สำคัญที่สุดในภาคเหนือของประเทศไทย เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดเชียงใหม่ และเป็นอดีตนครหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ห่างจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศเหนือเป็นระยะทาง มีแม่น้ำปิงไหลผ่านเมือง และตั้งอยู่ท่ามกลางภูเขาที่สูงที่สุดของประเทศ เขตเทศบาลมีพื้นที่ 40.22 ตารางกิโลเมตร โดยครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของอำเภอเมืองเชียงใหม่ ในแง่ของจำนวนประชากรของเทศบาลนครเชียงใหม่ซึ่งมีประมาณ 130,000 คน ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง นับว่าเป็นเทศบาลที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครปากเกร็ด และเทศบาลนครหาดใหญ่ นอกจากนี้ เทศบาลนครเชียงใหม่ยังเป็นเทศบาลนครแห่งแรกของประเทศไท.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและเทศบาลนครเชียงใหม่

เทศบาลเมืองศรีสะเกษ

ทศบาลเมืองศรีสะเกษ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเภทเทศบาลเมือง ระดับเทศบาลขนาดใหญ่ มีพื้นที่ครอบคลุม 7 ตำบล ในเขตอำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้งหน่วยงานการบริหารของอำเภอเมืองศรีสะเกษ รวมทั้งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการบริหาร สถาบันการศึกษา สถานพยาบาลและสาธารณสุข เศรษฐกิจ ตลอดจนการคมนาคมขนส่งของจังหวัดศรีสะเกษ.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและเทศบาลเมืองศรีสะเกษ

เปรียญธรรม 9 ประโยค

ัดยศเปรียญธรรม 9 ประโยค เปรียญธรรม 9 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.9) เป็นระดับชั้นสูงสุด ของการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย แต่เดิมภาษาบาลีคือภาษามคธที่คนในแคว้นมคธใช้พูดกันเท่านั้น เพราะภาษาบาลีไม่มีอักษรใช้เขียนเป็นตัวหนังสือ พระพุทธเจ้าตรัสสอนธรรมด้วยภาษามคธเพราะแคว้นมคธเป็นแคว้นใหญ่ เหตุที่ภาษาบาลีไม่มีอักษรเขียน จึงต้องอาศัยอักษรจากภาษาอื่นเป็นตัวเขียน เช่น อักษรเทวนาครี อักษรขอม อักษรไทย อักษรโรมัน เป็นต้น ในปัจจุบันภาษาบาลีถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว เหมือนภาษาละติน ถึงแม้มีคนใช้พูดอยู่ก็น้อยมาก ในพระพุทธศาสนามีเพียงนิกายเถรวาทที่ใช้ภาษาบาลี เช่นในพระไตรปิฎก เป็นต้น ความหวังผู้ที่สอบได้ ป..๙ สามารถเทียบเท่าระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต หรือ ดร.ทางฝ่ายโลกได้ คือ เป็น ดร.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและเปรียญธรรม 9 ประโยค

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ดู มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและ23 กุมภาพันธ์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Mahamakut Buddhist Universityมหามกุฏราชวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รายชื่อพระเกียรติยศในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีรายชื่อมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทยเรียงตามการสถาปนารายชื่อวิทยาเขตของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานครรายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยรายชื่อคณะศึกษาศาสตร์ในประเทศไทยรายชื่อคณะสังคมศาสตร์ในประเทศไทยรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดกำแพงเพชรรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครศรีธรรมราชวศิน อินทสระวัดบวรนิเวศราชวรวิหารวัดมกุฎคีรีวันวัดสุทธจินดาวรวิหารวัดคุ้งตะเภาวัดประชานิยม (จังหวัดกาฬสินธุ์)วันชัย บุษบาวิษณุ เครืองามวีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์ศาสนาพุทธในประเทศไทยศาสนาเปรียบเทียบสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร)สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ)สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธมฺมสาโร)สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสุชิน ทองหยวกสุชีพ ปุญญานุภาพสุขวิช รังสิตพลสุเชาวน์ พลอยชุมสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสถิตย์ ไชยปัญญาอักษรอริยกะอำเภอชุมแพอำเภอพุทธมณฑลอำเภอวังน้อยอำเภอวารินชำราบอำเภอศรีราชาอำเภอปักธงชัยอำเภอเมืองกาฬสินธุ์องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดยโสธรจังหวัดราชบุรีจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดศรีสะเกษจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดสุรินทร์จังหวัดสงขลาจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดขอนแก่นจังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดนครปฐมจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดเพชรบุรีจิรโชค วีระสยธงชัย สุขโขธงทอง จันทรางศุทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 232ครุยวิทยฐานะไทยคุยหลัทธิคณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทยปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์ปรีดี เกษมทรัพย์ปิยวัฒน พันธ์สายเชื้อนาที รัชกิจประการแม่ชีแสง จันทร์งามโรงเรียนพระปริยัติธรรมโรงเรียนวัดบวรนิเวศไพวรินทร์ ขาวงามเสถียร โพธินันทะเทศบาลตำบลนาสารเทศบาลนครเชียงใหม่เทศบาลเมืองศรีสะเกษเปรียญธรรม 9 ประโยค23 กุมภาพันธ์