โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน

ดัชนี มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน

ฟัลด์ฮอลล์ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน (Princeton University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองพรินซ์ตัน ในรัฐนิวเจอร์ซีย์ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2289 (ค.ศ. 1746) เป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่อันดับ 4 ของประเทศ โดยเมื่อก่อตั้งใช้ชื่อว่า วิทยาลัยนิวเจอร์ซีย์ แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น "มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน" ในปี..

63 ความสัมพันธ์: บัญญัติตะวันตกบัณฑูร ล่ำซำฟิลิป บ็อบบิตต์พอล ซีมัวร์พอล แอร์ดิชการลวงสัมผัสที่ผิวหนังแบบกระต่ายฐานข้อมูลโครงสร้างมหาวิทยาลัยบราวน์มหาวิทยาลัยมอสโกมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมหาวิทยาลัยโคลัมเบียมายา ลอว์เรนซ์มาร์วิน มินสกีมิเชลล์ โอบามายุน โบ-ซ็อนรัฐนิวเจอร์ซีย์รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์รายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริการายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริการิชาร์ด ไฟน์แมนวิทยาลัยฟิลลิปส์วิทยาเขตว็อล์ฟกัง เพาลีสวัสดิ์ ตันตระรัตน์สโลนเกรตวอลอันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาอาร์เธอร์ แมคโดนัลด์อาร์เทอร์ คอมป์ตันอำมหิต มร.ริปลีย์อี ซึง-มันอีเลียต สปิตเซอร์ผู้ชายหลายมิติจอห์น แนชจิม ทอมป์สันจุดบอดต่อความเอนเอียงจุดผลิตน้ำมันสูงสุดทิก เญิ้ต หั่ญดอนัลด์ รัมส์เฟลด์ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสันซีเชลล์ปาเดนีเอเบียร์ลีนาป๋วย อึ๊งภากรณ์นีล ดะแกรส ไทสันแบทแมน บีกินส์แฟรงก์ เกห์รีแพร์ วิกทอร์ เอดมันแอลัน ทัวริงแดเนียล คาฮ์นะมันโรเบิร์ต แลงดอน...โรเบิร์ต โอ วิลสันไมเคิล พอร์เตอร์ไอวีลีกไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์เบอร์นาร์ด ชูมีเชียร์ลีดเดอร์เรื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์เศรษฐยาธิปไตยเอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์เอริก ชมิดต์เอ็ดเวิร์ด แคลวิน เคนดัลล์เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2เขายอดราบใต้สมุทร ขยายดัชนี (13 มากกว่า) »

บัญญัติตะวันตก

มหาตำราของโลกตะวันตก''” (Great Books of the Western World) เป็นความพยายามในการรวบรวมบัญญัติตะวันตกเข้าเป็นชุดเดียวกันที่มีด้วยกันทั้งหมด 60 เล่ม บัญญัติตะวันตก (Western canon) เป็นคำที่หมายถึงตำราที่ถือว่าเป็น “บัญญัติ” หรือ “แม่แบบ” ของวรรณกรรมตะวันตก และที่กว้างกว่านั้นก็จะรวมทั้งศิลปะที่มีอิทธิพลในการเป็นพื้นฐานในการวิวัฒนาการของรูปแบบของวัฒนธรรมตะวันตก งานเหล่านี้เป็นประมวลงานที่ถือว่ามี “คุณค่าอันประมาณมิได้ทางด้านศิลปะ” บัญญัติดังกล่าวมีความสำคัญต่อทฤษฎี “การศึกษาชั่วอมตะ” (Educational perennialism) และ การวิวัฒนาการของ “วัฒนธรรมระดับสูง” แม้ว่าบัญญัติตะวันตกเดิมจะถือกันว่าเป็นสิ่งสำคัญ แต่กลายมาเป็นหัวข้อที่สร้างความขัดแย้งเพิ่มขึ้นตั้งแต่ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในทางปฏิบัติการโต้แย้งและความพยายามที่จะให้คำนิยามของบัญญัติมักจะลงเอยด้วยรายชื่อหนังสือประเภทต่างๆ ที่รวมทั้ง: วรรณคดีที่รวมทั้ง กวีนิพนธ์, นวนิยาย และ บทละคร, งานเขียนอัตชีวประวัติและจดหมาย, ปรัชญา และประวัติศาสตร์ และหนังสือสาขาวิทยาศาสตร์อีกสองสามเล่มที่ถือว่ามีความสำคัญ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและบัญญัติตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑูร ล่ำซำ

ัณฑูร ล่ำซำ (15 มกราคม พ.ศ. 2496) โลโก้ใหม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและบัณฑูร ล่ำซำ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิป บ็อบบิตต์

ฟิลิป เชส บ็อบบิตต์ (Philip Chase Bobbitt; เกิด 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1948) เป็นนักเขียน นักวิชาการ นักกฎหมาย และข้าราชการชาวอเมริกัน เคยสอนอยู่ในสหราชอาณาจักร เป็นผู้ที่มีความรู้ยอดเยี่ยมในด้านกลยุทธ์ทางทหาร กฎหมายรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังเคยเขียนหนังสือ Constitutional Fate: Theory of the Constitution (ค.ศ. 1982), The Shield of Achilles: War, Peace and the Course of History (ค.ศ. 2002) และ Terror and Consent: the Wars for the Twenty-first Century (ค.ศ. 2008) อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและฟิลิป บ็อบบิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

พอล ซีมัวร์

อล ซีมัวร์ (Paul Seymour; เกิด 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2493) เป็นนักคณิตศาสตร์ในสาขาทฤษฏีกราฟ, คณิตศาสตร์เชิงการจัด (คอมบินาทอริกส์), การหาค่าเหมาะที่สุด (optimization) และคณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง ที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน เมืองพรินซ์ตัน รัฐนิวเจอร์ซีย์ ประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและพอล ซีมัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

พอล แอร์ดิช

อล แอร์ดิช (Paul Erdős บางครั้งสะกด Erdos หรือ Erdös; Erdős Pál; 26 มี.ค. พ.ศ. 2456 - 20 ก.ย. พ.ศ. 2539) เป็นนักคณิตศาสตร์ผู้โดดเด่น ทั้งในด้านผลงาน และพฤติกรรมอันแปลกประหลาด ผลงานตีพิมพ์ของเขามีจำนวนมหาศาล มีผู้ร่วมตีพิมพ์รวมแล้วนับร้อยคน และเกี่ยวพันกับหลาย ๆ สาขาในคณิตศาสตร์ อาทิ คณิตศาสตร์เชิงการจัด ทฤษฎีกราฟ ทฤษฎีจำนวน การวิเคราะห์แบบคลาสสิก ทฤษฎีการประมาณ ทฤษฎีเซต และ ทฤษฎีความน่าจะเป็น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและพอล แอร์ดิช · ดูเพิ่มเติม »

การลวงสัมผัสที่ผิวหนังแบบกระต่าย

การลวงสัมผัสที่ผิวหนังแบบกระต่าย (cutaneous rabbit illusion) หรือ สภาวะกระโดดที่ผิวหนัง (cutaneous saltation คำว่า saltation (แปลว่ากระโดด) หมายถึงลักษณะเหมือนกับการกระโดดที่ปรากฏแก่ความรู้สึก) หรือ ปรากฏการณ์กระต่ายที่ผิวหนัง (cutaneous rabbit effect) เป็นการลวงความรู้สึกสัมผัสโดยการแตะหรือเคาะที่เขตผิวหนังสองเขตหรือมากกว่านั้นตามลำดับอย่างรวดเร็ว เกิดได้ง่ายที่สุดตามผิวของร่างกายที่มีการรับรู้สัมผัสที่ไม่ละเอียดโดยพื้นที่เช่นที่หน้าแขน การเคาะตามลำดับอย่างรวดเร็วเบื้องต้นใกล้ ๆ ข้อมือและต่อจากนั้นใกล้ ๆ ข้อศอก ก่อให้เกิดความรู้สึกว่ามีการเคาะกระโดดมาตามลำดับตามลำแขนจากข้อมือไปถึงข้อศอก แม้ว่าจะไม่มีการเคาะจริง ๆ ในระหว่างข้อมือถึงข้อศอก และโดยนัยเดียวกัน ถ้าเบื้องต้นเคาะใกล้ข้อศอก แล้งจึงเคาะใกล้ข้อมือ ก็จะทำให้เกิดความรู้สึกลวงถึงการเคาะกระโดดไปตามลำดับจากข้อศอกจนถึงข้อมือ การลวงความรู้สึกเช่นนี้ค้นพบโดยแฟร็งก์ เจ็ลดาร์ด และคารล์ เชอร์ริก ที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันในประเทศสหรัฐอเมริกาในต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 และกำหนดรายละเอียดเพิ่มขึ้นโดยเจ็ลดาร์ดในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและการลวงสัมผัสที่ผิวหนังแบบกระต่าย · ดูเพิ่มเติม »

ฐานข้อมูลโครงสร้าง

นข้อมูลโครงสร้าง (Structurae: Internationale Galerie und Datenbank des Ingenieurbaus Structurae: International Database and Gallery of Structure หรือเรียกสั้นๆ ว่า Structurae) "ฐานข้อมูลโครงสร้าง" เป็นฐานข้อมูลออนไลน์ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างทางวิศวกรรม และ โครงสร้างทางโยธาทุกรูปแบบเช่นสะพาน ตึก ตึกระฟ้า หอ เขื่อน และอื่นๆ นอกจากนั้นก็ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท และ บุคคล (วิศวกร สถาปนิก และผู้ก่อสร้าง) ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการออกแบบหรือก่อสร้างโครงสร้าง คำว่า "ฐานข้อมูลโครงสร้าง" มาจากภาษาลาติน "Strūctūra" ที่หมายถึงการกระทำการก่อสร้างและผลของสิ่งที่กระทำ "ฐานข้อมูลโครงสร้าง" ดำรงอยู่ได้โดยอาสาสมัครผู้ส่งข้อมูลและภาพประกอบเข้ามาในเป็นส่วนหนึ่งของฐานข้อมูล ข้อมูลแต่ละหัวข้ออ้างอิงไปยังนิตยสารทางวิชาการและแหล่งข้อมูลอื่นๆ ผู้ก่อตั้งนิโคลัส ยานบวร์กเป็นวิศวกรสร้างสะพานชาวเยอรมัน-ฝรั่งเศสผู้ก่อตั้งฐานข้อมูลขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและฐานข้อมูลโครงสร้าง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยบราวน์

มหาวิทยาลัยบราวน์ รัฐโรดไอแลนด์ มหาวิทยาลัยบราวน์ (Brown University) เป็นหนึ่งในกลุ่มมหาวิทยาลัยไอวีลีก ตั้งอยู่ที่เมืองโพรวิเดนซ์ รัฐโรดไอแลนด์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2307 ในชื่อ "วิทยาลัยโรดไอแลนด์" นับเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ลำดับที่ 3 ของ นิวอิงแลนด์, ลำดับที่ 7 ของสหรัฐฯ เป็นมหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาโดยไม่จำกัดเชื้อชาติศาสนา และเป็นมหาวิทยาลัยแรกในกลุ่มไอวีลีกที่สอนสาขาวิศวกรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2390).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและมหาวิทยาลัยบราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมอสโก

'มหาวิทยาลัยมอสโก มหาวิทยาลัยมอสโก หรือ มหาวิทยาลัยโลโมโนซอฟ (Моско́вский госуда́рственный университе́т и́мени М. В. Ломоно́сова: МГУ) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดในประเทศรัสเซีย ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและมหาวิทยาลัยมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย

Alma Mater มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Columbia University in the City of New York) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลกแห่งหนึ่ง เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของนครนิวยอร์กและเก่าแก่ที่สุดอันดับที่ห้าของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่นิวยอร์กซิตี ในรัฐนิวยอร์กในส่วนของชุมชนมอร์นิงไซด์บริเวณส่วนเหนือของเกาะแมนแฮตตัน ก่อตั้งก่อนการประกาศอิสรภาพของประเทศในปี พ.ศ. 2297 (ค.ศ. 1754) ในชื่อของ วิทยาลัยคิงส์ (King's College) โดยได้รับเงินสนับสนุนจากสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งอังกฤษ ภายหลังสหรัฐอเมริกาปฏิวัติ โคลัมเบียได้รับการสนับสนุนในฐานะเอกลักษณ์ทางปรัชญาของรัฐตั้งแต่ปี 2327 - 2330 ผู้ได้รับรางวัลโนเบล ทั้งที่เป็นศิษย์เก่าและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น 102 ท่าน ถือว่ามากที่สุดอันดับ 2 ของโลก ศิษย์เก่าที่เป็นประธานาธิบดีและนากยกรัฐมนตรีจากทั่วโลกจำนวน 29 ท่าน ศิษย์เก่าที่ดำรงตำแหน่ง CEO ของบริษัทยักษ์ใหญ่ของโลก (Fortune Global 500) จำนวน 45 ท่าน และมีผู้ชนะรางวัลออสการ์ 28 ท่าน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังเป็นผู้มอบรางวัลพูลิตเซอร์ แก่ผู้ได้รับเกียรติสูงสุดระดับชาติในวงการสิ่งพิมพ์ การบรรลุความสำเร็จทางวรรณกรรม และการประพันธ์เพลงในสาขาวารสารศาสตร์ เมื่อกว่า 100 ปีมาแล้ว ซึ่งวิทยาลัยวิชาการหนังสือพิมพ์ของโคลัมเบียนับได้ว่าโดดเด่นมากที่สุดของโลกในปัจจุบัน last.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

มายา ลอว์เรนซ์

มายา ลอว์เรนซ์ (Maya Lawrence; 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 —) เป็นนักกีฬาฟันดาบสากลชาวอเมริกันผู้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทีมชาติสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ที่กรุงลอนดอน โดยเธอได้เข้าแข่งขันในรายการเอเป้ในประเภทบุคคลและทีมของการแข่งขันฟันดาบ เธอได้รับรางวัลเหรียญทองแดงในเอเป้ทีมหญิง ร่วมกับ คอร์ทนีย์ เฮอร์ลีย์, เคลลี เฮอร์ลีย์ และ ซูซี สกันแลน ลอว์เรนซ์เติบโตขึ้นในทีเนก รัฐนิวเจอร์ซีย์ และเข้าศึกษาในโรงเรียนมัธยมทีเนก ที่ซึ่งเธอได้เริ่มฟันดาบเมื่อเป็นนักเรียนชั้นปีที่สอง พ่อแม่ของเธอคือ แพท ลอว์เรนซ์ ซึ่งเป็นโค้ชฟันดาบของโรงเรียนมัธยมทีเนก และ เรจินัลด์ ลอว์เรนซ์ ผู้ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่กีฬาในรัฐนิวเจอร์ซีย์ ใน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและมายา ลอว์เรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์วิน มินสกี

มาร์วิน ลี มินสกี (Marvin Lee Minsky (9 สิงหาคม ค.ศ. 1927- 24 มกราคม ค.ศ. 2016) เป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ชาวอเมริกันในสาขาปัญญาประดิษฐ์ เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งศูนย์ปฏิบัติการวิจัยปัญญาประดิษฐ์ที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ และผู้เขียนหนังสือด้านปัญญาประดิษฐ์และปรัชญามากม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและมาร์วิน มินสกี · ดูเพิ่มเติม »

มิเชลล์ โอบามา

นางมิเชลล์ ลาวอห์น โรบินสัน โอบามา (เกิด 17 มกราคม พ.ศ. 2507) เป็นภรรยาของบารัก โอบามา ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 44 ซึ่งนั่นทำให้เธอดำรงสถานะสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสหรัฐอเมริกา และนับเป็นคนแรกที่มีเชื้อสายแอฟริกัน-อเมริกัน มิเชลล์เกิดและโตในทางตอนใต้ของชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน และโรงเรียนกฎหมายมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ภายหลังจากจบการศึกษามิเชลล์ได้กลับไปทำงานกับสำนักงานกฎหมายซิดลีย์ออสตินในชิคาโก ก่อนจะพบรักกับบารัก และแต่งงานกัน ทั้งคู่มีบุตรสาวด้วยกันสองคนคือ มาเลีย แอน และซาช่า ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและมิเชลล์ โอบามา · ดูเพิ่มเติม »

ยุน โบ-ซ็อน

น โบ-ซ็อน (Yun Bo-seon; 26 สิงหาคม พ.ศ. 2440 - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2533) เป็นนักเคลื่อนไหวเพื่อเอกราชของเกาหลีและนักการเมืองและเป็นประธานาธิบดีเกาหลีใต้ ระหว่างปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและยุน โบ-ซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิวเจอร์ซีย์

รัฐนิวเจอร์ซีย์ (New Jersey) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาที่มีความหนาแน่นประชากรมากที่สุด ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ โดยอยู่ติดกับรัฐนิวยอร์ก ชื่อนิวเจอร์ซีย์มาจากชื่อของเกาะเจอร์ซีย์ บริเวณช่องแคบอังกฤษในยุโรป ชื่อเล่นของรัฐมีชื่อว่า "การ์เดนสเตต" (Garden State) ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่ตั้งรกรากในนิวเจอร์ซีย์คือ ชาวสวีเดน และชาวเยอรมัน เมืองสำคัญในรัฐนิวเจอร์ซีย์ได้แก่ นูอาร์ก (น้วก) เจอร์ซีซิตี และ แอตแลนติกซิตี ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ นิวยอร์ก ไจแอนต์, นิวยอร์ก เจ็ต, นิวเจอร์ซีย์ เน็ต, นิวเจอร์ซีย์ เดวิลส์ และ เมโทรสตารส์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและรัฐนิวเจอร์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ ศาสตราจารย์ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (14 กันยายน พ.ศ. 2489) เมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ศาสตราจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันวิจัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ โดยจำนวนผู้รับรวมถึง นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์ นักวิจัยของสถาบันนั้น โดยนับทั้งตอนก่อนและหลังที่จะได้รับ ข้อมูลด้านล่างเป็นข้อมูลปี พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและรายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่เปิดสอนวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ในสหรัฐอเมริกามี 199 มหาวิทยาลัย (ข้อมูล พ.ศ. 2549) ที่มีการเปิดสอนคณะวิศวกรรมศาสตร์ในระดับปริญญาตรี โท เอก โดยในแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีภาควิชาย่อยแตกต่างกันไป อาจขึ้นอยู่กับลักษณะทางภูมิศาสตร์ เช่นมหาวิทยาลัยในแถบฝั่งแปซิฟิก จะมีคณะวิศวกรรมมหาสมุทร ในขณะที่มหาวิทยาลัยในบริเวณตอนกลางของประเทศจะเน้นทางด้านอื่น ซึ่งรองรับชุมชน คณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐได้มีการจัดอันดับ โดยนิตยสาร ยูเอสนิวส์ ข้อมูลปี พ.ศ. 2549 การจัดอันดับจะคิดคะแนนรวมจาก สัมภาษณ์อาจารย์ที่มีชื่อเสียง 40% ผลงานวิจัยดีเด่น 25% จำนวนอาจารย์คณะ 25% และคะแนนสอบเข้า (GRE) ของผู้เข้าเรียน 10% อันดับของยูเอสนิวส์ ในส่วนของวิศวกรรมศาสตร์ ควบคุม 184 มหาวิทยาลัย และมักจะได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ ว่าคะแนนอันดับต่ำกว่า 20 มีคะแนนรีวิวใกล้เคียงกัน แต่อันดับต่างกันมาก เปรียบเทียบ MIT และ UIUC คะแนนต่างกัน 18 คะแนน อันดับมหาวิทยาลัยต่างกัน 4 อันดับ ขณะที่ มิชิแกนสเตต แตกต่างจาก ฮาร์วาร์ด ประมาณ 30 อันดับ ที่คะแนนต่างเท่ากัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่เปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ จัดอันดับโดยนิตยสาร ดีไซน์อินเทลลิเจนซ์ ข้อมูลปี ค.ศ. 2005.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและรายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด ไฟน์แมน

ริชาร์ด ฟิลลิปส์ ไฟน์แมน (Richard Phillips Feynman) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 เสียชีวิต 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988 เป็นหนึ่งในนักฟิสิกส์ ที่ทรงคุณค่าและมีอิทธิพลมากที่สุดของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในการจัดอันดับนักฟิสิกส์ยอดเยี่ยมตลอดกาลของโลก โดยสำนักข่าวบีบีซี ที่ให้นักฟิสิกส์ชั้นนำของโลกร่วม 100 คนช่วยกันตัดสิน ไฟน์แมน เป็นนักฟิสิกส์สมัยใหม่เพียงคนเดียว ที่ชนะใจเหล่านักฟิสิกส์ชั้นนำทั่วโลก โดยติดอันดับ 10 คนแรกของโลก (สมัยใหม่ในที่นี้ คือนับหลังจากยุคทองของทฤษฎีควอนตัม คือในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน ค.ศ. 2005) แม้แต่นักฟิสิกส์ผู้โด่งดังอย่างสตีเฟ่น ฮอว์คิง ก็ยังได้เพียงอันดับ 16 ในผลโหวต แน่นอนผลโหวตนี้ไม่สามารถตัดสินอะไรได้ แต่ก็เป็นเครื่องบ่งชี้อย่างดีว่า ไฟน์แมนมีอิทธิพลต่อวงการฟิสิกส์ยุคปัจจุบันแค่ไหน ทั้งในแง่ผลงานทางวิชาการ การสอนหนังสือ และการใช้ชีวิต ผลงานของไฟน์แมนมีมากมาย เช่น การขยายทฤษฎีพลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัมให้กว้างใหญ่ขึ้นมาก ซึ่งนำไปสู่รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ เมื่อปี ค.ศ. 1965 ซึ่งเขาได้ร่วมกับจูเลียน ชวิงเกอร์ และโทะโมะนะกะ ชินอิจิโร ไฟน์แมนปฏิเสธตำแหน่งนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ที่ที่ไอน์สไตน์อยู่, เพียงเพราะเขาต้องการสอนหนังสือให้กับเด็ก ครั้งหนึ่งเขาเคยพูดว่า "ผมอยากสอน เพราะในตอนที่ผมไม่มีไอเดียอะไรใหม่ ๆ ในงานวิจัย ผมก็ยังสามารถให้อะไรกับสังคมได้" ไฟน์แมนตัดสินใจรับตำแหน่งที่สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (แคลเทค) สร้างยุคทองของมหาวิทยาลัย ร่วมกับเมอเรย์ เกลมานน์ ผู้คิดค้นทฤษฎีควาร์ก, ไลนัส พอลลิง หนึ่งในนักเคมีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่ 20 หนึ่งในผู้คิดค้นทฤษฎีควอนตัมเคมี และนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำท่านอื่นๆ ในแง่ของการเป็นอาจารย์ เขาได้เขียนคำบรรยายฟิสิกส์ของไฟน์แมน (Feynman Lectures on Physics) อันโด่งดัง ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้สอนวิชาฟิสิกส์เป็นจำนวนมาก ทั้งในแง่เนื้อหาและการนำเสนอ เป็นการพลิกการเรียนการสอนฟิสิกส์แบบเก่า ๆ ให้เข้าใจง่าย นอกจากนั้นเขายังเป็นหนึ่งในผู้พัฒนาระเบิดนิวเคลียร์ลูกแรกของโลก ในโครงการแมนฮัตตัน เป็นหนึ่งในผู้ตรวจสอบการระเบิดของกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ และเป็นผู้ริเริ่มเสนอแนวคิดของนาโนเทคโนโลยี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและริชาร์ด ไฟน์แมน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยฟิลลิปส์

วิทยาลัยฟิลลิปส์ หรือ ฟิลลิปส์แอนโดเวอร์ หรือ แอนโดเวอร์ (อังกฤษ: Phillips Academy, Phillips Andover, Andover, Phillips Academy Andover, หรือ PA) เป็นโรงเรียนประจำ สหศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกา รับนักเรียนเกรด 9-12 รวมทั้งนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาแล้ว (post-graduate หรือ PG) โรงเรียนตั้งอยู่ในเมือง แอนโดเวอร์ รัฐ แมสซาชูเซตส์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยอยู่ทางเหนือของเมือง บอสตัน ประมาณ 25 ไมล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและวิทยาลัยฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาเขต

วิทยาเขต (campus) เป็นสถานที่ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยจัดตั้งขึ้นเพื่อจัดการศึกษา ซึ่งอาจจะประกอบด้วยห้องสมุด หอพัก อาคารต่าง ๆ ในรูปแบบเช่นเดียวกันกับมหาวิทยาลัย "วิทยาเขต" ถูกใช้เรียกครั้งแรกโดยวิทยาลัยนิวเจอร์ซีย์ (มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ในปัจจุบัน) ในช่วงทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 18 ต่อมามหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกา จึงได้นำคำว่า วิทยาเขต มาเรียกชื่อสถานที่จัดการศึกษานอกที่ตั้งของมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย โดยระบบการจัดการบริหารแบบวิทยาเขตอาจแบ่งเป็นสองแบบตามความหมายภาษาอังกฤษอันได่แก่ University System (วิทยาเขตแบ่งแยกออกจากกันเปรียบเสมือนคนละมหาวิทยาลัยและใช้ชุดบริหารและทรัพยากรแยกกันเพียงแต่ใช้ชื่อร่วมกันเท่านั้น เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน กำแพงแสน เป็นต้น) และ Multiple-Campus University (วิทยาเขตแบ่งแยกโดยสถานที่โดยยังอยู่ภายใต้การบริหารงานของ 1 มหาวิทยาลัย - สมาชิกในวิทยาเขตทุกวิทยาใช้ทรัพยากรร่วมกันกับส่วนกลางและมีการแบ่งปันกันภายในมหาวิทยาลัยและไม่แบ่งแยก เพียงแต่สถานที่ไม่ได้อยู่ด้วยกันเท่านั้น เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและวิทยาเขต · ดูเพิ่มเติม »

ว็อล์ฟกัง เพาลี

ว็อล์ฟกัง แอนสท์ เพาลี (Wolfgang Ernst Pauli, 25 เมษายน พ.ศ. 2443 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวออสเตรีย และหนึ่งในกลุ่มผู้บุกเบิกด้านฟิสิกส์ควอนตัม เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและว็อล์ฟกัง เพาลี · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ ตันตระรัตน์

ตราจารย์ สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ (4 ตุลาคม พ.ศ. 2492 -) เป็นนักวิชาการด้านโทรคมนาคมและการประมวลผลสัญญาณดิจิทัล คนสำคัญคนหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันเป็นราชบัณฑิต ประจำสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา และผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและสวัสดิ์ ตันตระรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สโลนเกรตวอล

องสโลนเกรตวอล สโลนเกรตวอลล์ (Sloan Great Wall) คือโครงข่ายขนาดยักษ์ของกาแลกซีจำนวนมาก และเป็นโครงสร้างที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเอกภพเท่าที่นักดาราศาสตร์ทราบในปัจจุบัน การค้นพบมันถูกเผยแพร่เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2546.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและสโลนเกรตวอล · ดูเพิ่มเติม »

อันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา

อันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา ได้มีการจัดโดยนิตยสารต่างๆ ภายในประเทศ เพื่อเป็นตัวแสดงให้เห็นถึง ประสิทธิภาพของมหาวิทยาลัยในขณะนั้น และรวมถึงเป็นข้อมูลสำหรับนักเรียนหรือนักศึกษาที่ต้องการศึกษาต่อช่วยในการตัดสินใจ ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศแรกที่มีการจัดอันดับมหาวิทยาลัยกันอย่างจริงจัง และ อันดับมหาวิทยาลัยที่จัดนั้น ก็ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเรียนต่อของนักศึกษา อัตราการสมัคร (admission rate) อัตราการเข้าเรียนจริง ๆ ของผู้ที่ได้รับการตอบรับแล้ว (yield rate) และการวางแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยต่างๆ สำหรับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดของสหรัฐอเมริกา คือ การจัดอันดับโดยนิตยสาร ยูเอสนิวส์แอนด์เวิลด์รีพอร์ต (US News and World Report) ซึ่งได้เริ่มการจัดอันดับ มหาวิทยาลัยในระดับปริญญาตรี (College) ในปี 2526 เป็นต้นมา โดยในชั้นแรก เป็นแค่คอลัมน์หนึ่งของนิตยสารเท่านั้น และ การจัดอันดับมหาวิทยาลัย ไม่ได้รับความสนใจมากนักต่อนักการศึกษา และมหาวิทยาลัยต่าง ๆ แต่ต่อมาด้วยความนิยมที่มีมากขึ้น ทำให้ นิตยสาร USNews ได้รับความนิยมจากนักเรียนในการตัดสินใจเลือกมหาวิทยาลัย แม้จะมีข้อผิดพลาด และได้รับการวิจารณ์จากนักการศึกษาอยู่เสมอ ๆ ในยุคแรก ๆ ภายหลังนิตยสารได้ใช้ผู้เชี่ยวชาญในด้านสถิติมาเป็นบรรณาธิการในด้านการจัดอันดับโดยเฉพาะ ต่อมาได้มีนิตยสารอื่น ๆ ทำการจัดทำการจัดอันดับมหาวิทยาลัยของสหรัฐ ฯ ออกมามากขึ้น เช่น สำหรับคณะบริหารธุรกิจ มีนิตยสาร เช่น นิตยสารบิซิเนสวีก(BusinessWeek), นิตยสารฟอรบส์ (Forbes) ซึ่งได้รับความนิยม ในสาขาปรัชญา ก็มี Gourmet Report แต่อย่างไรก็ได้ การจัดลำดับของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ นั้น มีความแตกต่างกันตามแต่อคติและการให้น้ำหนักของปัจจัยที่ใช้วัดคะแนน ตัวอย่างของความแตกต่าง อาทิ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและอันดับมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เธอร์ แมคโดนัลด์

อาร์เธอร์ บรูซ แมคโดนัลด์ (Arthur Bruce McDonald) เกิดเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและอาร์เธอร์ แมคโดนัลด์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เทอร์ คอมป์ตัน

อาร์เทอร์ ฮอลลี คอมป์ตัน (Arthur Holly Compton) (10 กันยายน พ.ศ. 2435 – 15 มีนาคม พ.ศ. 2505) เป็นนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิก..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและอาร์เทอร์ คอมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

อำมหิต มร.ริปลีย์

อำมหิต มร.ริปลีย์ ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดเรื่อง The Talented Mr.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและอำมหิต มร.ริปลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อี ซึง-มัน

อี ซึง-มัน (Yi Seung-man;; เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกในชื่อ "ซึงมัน รี" ("Syngman Rhee"); 26 มีนาคม พ.ศ. 2418 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นประธานาธิบดีคนแรกแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและอี ซึง-มัน · ดูเพิ่มเติม »

อีเลียต สปิตเซอร์

อีเลียต สปิตเซอร์ อีเลียต ลอเรนซ์ สปิตเซอร์ (Eliot Laurence Spitzer) (เกิดเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2502) เป็นทนายความชาวอเมริกัน และอดีตนักการเมืองพรรคเดโมแครต (Democratic Party) เขารับตำแหน่งผู้ว่าการรัฐนิวยอร์กตั้งแต่เดือนมกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและอีเลียต สปิตเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ชายหลายมิติ

ผู้ชายหลายมิติ (A Beautiful Mind) เป็นภาพยนตร์อเมริกันในปี 2001 ที่สร้างจากชีวิตจริงของจอห์น แนช เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ภาพยนตร์กำกับโดยรอน ฮาวเวิร์ด และเขียนบทโดยอคิวา โกลด์สแมน โดยยึดจากหนังสือขายดีที่เคยได้เสนอชื่อเข้าชิงรางวัลพูลิตเซอร์ ในปี 1998 ในชื่อหนังสือ A Beautiful Mind ชื่อเดียวกับหนัง โดยซิลเวีย นาซาร์ โดยภาพยนตร์นำแสดงโดยรัสเซลล์ โครว์ ร่วมกับเจนนิเฟอร์ คอนเนลลี, เอด แฮร์ริส และพอล เบตทานี เนื้อเรื่องเริ่มต้นในสมัยช่วงแรกในชีวิตของแนชที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน เขาได้พัฒนาแนวคิดที่จะปฏิวัติวงการคณิตศาสตร์โลก ในต้นเรื่อง แนชยังได้เกิดอาการจิตเภทหวาดระแวง ขณะที่ตัวแนชก็ทำให้เกิดภาระกับภรรยาและเพื่อน ๆ ของพวกเขา ภาพยนตร์เปิดตัวในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและผู้ชายหลายมิติ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แนช

อห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (John Forbes Nash, Jr.; 13 มิถุนายน 1928 – 23 พฤษภาคม 2015) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกัน มีความเชี่ยวชาญเรื่องทฤษฎีเกม ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ประจำปี 1994 จากผลงานเรื่องทฤษฎีเกมร่วมกับ Reinhard Selten และ John Harsanyi ชีวประวัติของแนชได้มีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ที่โด่งดังในวงการฮอลลีวูด ชื่อ ผู้ชายหลายมิติ ซึ่งเป็นภาพยนตร์ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ได้ถึง 8 รายการ เนื้อหาในภาพยนตร์จะเกี่ยวกับนักเศรษฐศาสตร์ผู้ปราชญ์เปรื่องคนหนึ่งที่มีชื่อเดียวกับเขา และต้องต่อสู้กับโรคประสาทหลอนเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและจอห์น แนช · ดูเพิ่มเติม »

จิม ทอมป์สัน

ม ทอมป์สัน หรือชื่อเต็ม เจมส์ แฮร์ริสัน วิลสัน ทอมป์สัน (James Harrison Wilson Thompson; 21 มีนาคม ค.ศ. 1906 — ค.ศ. 1967) เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกัน ที่มีชื่อเสียงจากการทำธุรกิจผ้าไหมในประเทศไทย และก่อตั้งบริษัทซึ่งมีชื่อเดียวกับเขาเองขึ้น เพื่อรองรับกิจการค้าผ้าไหมดังกล่าว เขาหายตัวไปจากโรงแรม บนแคเมอรอนไฮแลนด์ รัฐอิโปห์ ประเทศมาเลเซีย โดยไม่มีใครทราบเหตุการณ์ที่แน่ชัดว่าเกิดอะไรขึ้นกั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและจิม ทอมป์สัน · ดูเพิ่มเติม »

จุดบอดต่อความเอนเอียง

อดต่อความเอนเอียง"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ blind spot ว่า "จุดบอด" (bias blind spot) เป็นความเอนเอียงทางประชาน ที่เรารู้จัก/รู้จำว่า การประเมินตัดสินใจของผู้อื่นมีผลมาจากความเอนเอียง แต่ไม่รู้จัก/รู้จำว่า การประเมินตัดสินใจของเราเองก็มีผลมาจากความเอนเอียงด้วย ชื่อนี้บัญญัต.ญ.ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและจุดบอดต่อความเอนเอียง · ดูเพิ่มเติม »

จุดผลิตน้ำมันสูงสุด

กราฟแสดงการผลิตน้ำมันโลก ทั้งข้อมูลตามประวัติและข้อมูลอนาคตตามที่คาดหมาย และตามที่เสนอโดยนักธรณีวิทยา ดร. คิง ฮับเบิร์ต ได้ถึงจุดสูงสุดที่ 1.5 ล้านล้านลิตร (12,500 ล้านบาร์เรล) ต่อปีที่ประมาณปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) การผลิตน้ำมันดิบของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งแสดงลักษณะคล้ายคลึงกับเส้นโค้งฮับเบิร์ต (Hubbert curve) แต่ให้สังเกตความแตกต่างที่เกิดขึ้นเมื่อไม่กีปีมานี้ จุดผลิตน้ำมันสูงสุด (Peak oil) เป็นเหตุการณ์ตามทฤษฎีจุดสูงสุดฮับเบิร์ต (Hubbert peak theory) ของ ดร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและจุดผลิตน้ำมันสูงสุด · ดูเพิ่มเติม »

ทิก เญิ้ต หั่ญ

ระภิกษุทิก เญิ้ต หั่ญ ทิก เญิ้ต หั่ญ หรือ ชื่อที่ใช้เรียกทั่วไป ติช นัท ฮันห์ (Thích Nhất Hạnh) (fr: Thich Nhat Hanh) เป็นพระภิกษุชาวเวียดนามในพุทธศาสนานิกายเซน ชื่อทิก เญิ้ต หั่ญ เป็นฉายาในทางศาสนา โดยคำว่า "ทิก" เป็นคำใช้เรียกพระ ส่วน "เญิ้ต หั่ญ" เป็นนามทางธรรมที่มีความหมายว่า "การกระทำเพียงหนึ่ง (One Action)" ท่านเป็นพระมหาเถระนิกายเซน กวี และผู้สนับสนุนในเรื่องสันติภาพ มีงานเขียนเผยแผ่ตีพิมพ์ภาษาต่าง ๆ มากมาย และเป็นที่รู้จักกันดีในหมู่นักปฏิบัติธรรมชาวตะวันตก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและทิก เญิ้ต หั่ญ · ดูเพิ่มเติม »

ดอนัลด์ รัมส์เฟลด์

อนัลด์ เฮนรี รัมส์เฟลด์ (Donald Henry Rumsfeld) เป็นนักการเมืองและนักธุรกิจชาวอเมริกัน เขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกาคนที่ 13 ภายใต้ประธานาธิบดี เจอรัลด์ ฟอร์ด และคนที่ 21 ภายใต้ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช วาระแรกที่ตำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหมนั้น รัมส์เฟลด์ด้วยวัย 43 ปีถือเป็นรัฐมนตรีกลาโหมที่อายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐ นอกจากนั้น เขายังเคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐจากรัฐอิลลินอยส์, ผู้อำนวยการสำนักงานโอกาสทางเศรษฐกิจ, ที่ปรึกษาประธานาธิบดี, ผู้แทนถาวรสหรัฐประจำนาโต้ และ เสนาธิการทำเนียบขาว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและดอนัลด์ รัมส์เฟลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน

วเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน (Wilkinson Microwave Anisotropy Probe; WMAP) หรือ ดาวเทียมดับเบิลยูแมป ชื่อเดิมคือ แมป (MAP) และ เอ็กพลอเรอร์ 80 (Explorer 80) เป็นยานอวกาศที่วัดความแตกต่างของอุณหภูมิการแผ่รังสีความร้อนที่หลงเหลืออยู่จากเหตุการณ์บิกแบง หรือที่เรียกว่า การแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล โดยการตรวจวัดไปทั่วท้องฟ้า หัวหน้าโครงการคือศาสตราจารย์ ชาร์ลส์ แอล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน · ดูเพิ่มเติม »

ซีเชลล์

ซีเชลล์ (Zsh หรือ Z Shell) เป็น เชลล์ยูนิกซ์ ที่สามารถใช้เป็นเชลล์ปฏิสัมพันธ์ และเป็นตัวแปลคำสั่งภาษาที่ทรงพลังสำหรับการเขียนเชลล์สคริปต์ ซีเชลล์เป็นส่วนขยายของบอร์นเชลล์ที่ได้รับการปรับปรุงเป็นอย่างมาก รวมถึงการเพิ่มฟังก์ชั่นบางประการของแบช เคเชล และทีซีเชล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและซีเชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ปาเดนีเอเบียร์ลีนา

ปาเดนีเอเบียร์ลีนา (Падение Берлина) เป็นภาพยนตร์แนวสงครามของสหภาพโซเวียต และเป็นตัวอย่างของผลงานแนวสัจนิยมสังคมนิยม ปาเดนีเอเบียร์ลีนา มี 2 ภาค ออกฉายในวันที่ 21 มกราคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและปาเดนีเอเบียร์ลีนา · ดูเพิ่มเติม »

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ที่ประเทศอังกฤษ สเตฟาน คอลินยองส์ (Stefan Collingnon) นักวิชาการร่วมสมัยชาวเยอรมัน ได้กล่าวยกย่องป๋วยว่าเป็น "บิดาของเมืองไทยสมัยใหม่" (Founding Father of Modern Thailand) ในฐานะผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ป๋วยได้รับ รางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2508 และได้รับการยกย่องจากองค์กรยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก ในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและป๋วย อึ๊งภากรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นีล ดะแกรส ไทสัน

นีล ดะแกรส ไทสัน (Neil deGrasse Tyson; เกิด 5 ตุลาคม 1958) เป็นนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ผู้ประพันธ์และผู้สื่อสารวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน ตั้งแต่ปี 1996 เขาเป็นผู้อำนวยการท้องฟ้าจำลองเฮย์เดน ณ ศูนย์โลกและอวกาศโรสในนครนิวยอร์ก ศูนย์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติอเมริกา ซึ่งไทสันก่อตั้งแผนกฟิสิกส์ดาราศาสตร์ในปี 1997 และเป็นผู้ช่วยวิจัยในแผนกฯ ตั้งแต่ปี 2003 เขาเกิดและเติบโตในนครนิวยอร์ก มีความสนใจดาราศาสตร์ตั้งแต่อายุ 9 ปีหลังชมท้องฟ้าจำลองเฮย์เดน หลังสำเร็จการศึกษาจากไฮสกูลวิททยาศาสตร์บรองซ์ ซึ่งเขาเป็นบรรณาธิการอำนวยการของวารสารวิทยาศาสตร์กายภาพ เขาสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีวิชาฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดในปี 1980 หลังได้รับปริญญาโทในสาขาดาราศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยเท็กซัส ออสตินในปี 1983 เขาได้รับปริญญาโท (ปี 1989) และปริญญาเอก (ปี 1991) ในวิชาฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย อีกสามปีถัดมา เขาเป็นผู้ช่วยวิจัยหลังปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ในปี 1994 เขาเข้าร่วมเป็นนักวิทยาศาสตร์เจ้าหน้าที่ ณ ท้องฟ้าจำลองเฮย์เดนและศูนย์พรินซ์ตันเป็นนักวิทยาศาสตร์วิจัยและอาจารย์รับเชิญ ในปี 1996 เขาเป็นผู้อำนวยการท้องฟ้าจำลองและควบคุมดูแลโครงการบูรณะ 210 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งแล้วเสร็จในปี 2000 ระหว่างปี 1995 ถึง 2005 ไทสันเขียนความเรียงรายเดือนในคอลัมน์ "เอกภพ" ให้นิตยสารประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ซึ่งบางส่วนจัดพิมพ์ในหนังสือของเขา มรณะด้วยหลุมดำ (ปี 2007) และฟิสิกส์ดาราศาสตร์สำหรับคนรีบ (ปี 2017) ในช่วงเดียวกัน เขาเขียนคอลัมน์รายเดือนในนิตยสารสตาร์เดต ตอบคำถามเกี่ยวกับเอกภพโดยใช้นามปากกา "เมอร์ลิน" เนื้อความจากคอลัมน์ปรากฏในหนังสือของเขา ทัวร์เอกภพของเมอร์ลิน (ปี 1998) และเพียงชมดาวเคราะห์นี้ (ปี 1998) ไทสันรับราชการเป็นคณะกรรมการของรัฐบาลว่าด้วยอนาคตของอุตสาหกรรมห้วงอากาศ-อวกาศของสหรัฐปี 2001 และในคณะกรรมการดวงจันทร์ ดาวอังคารและกว่านั้นปี 2004 เขาได้รับเหรียญราชการโดดเด่นของนาซาในปีเดียวกัน ตั้งแต่ปี 2006 ถึง 2011 เขาเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์โนวาไซอันซ์นาว ทางพีบีเอส ตั้งแต่ปี 2009 เขาเป็นพิธีกรพอตคแสรายสัปดาห์ สตาร์ทอล์ก รายการแยกชื่อเดียวกันเริ่มแพร่สัญญาณทางเนชันแนลจีโอกราฟิกในปี 2015; ในปี 2014 เขาเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ คอสมอส: อะสเปซไทม์ออดิซีย์ (จักรวาล: การเดินทางปริภูมิ-เวลา) ซึ่งต่อจากซีรีย์คอสมอส: อะเพอร์ซันแนลโวยาจ (จักรวาล: การเดินทางส่วนบุคคล) ของคาร์ล เซแกนในปี 1980 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐมอบเหรียญสวัสดิการสาธารณะแก่ไทสันในปี 2015 สำหรับ "บทบาทโดดเด่นในการสร้างความตื่นเต้นแก่สาธารณะเกี่ยวกับสิ่งมหัศจรรย์ของวิทยาศาสตร์".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและนีล ดะแกรส ไทสัน · ดูเพิ่มเติม »

แบทแมน บีกินส์

แบทแมน บีกินส์ (อังกฤษ: Batman Begins) คือ ภาพยนตร์ชุดแบทแมนลำดับที่ 5 เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2548 กำกับโดย คริสโตเฟอร์ โนแลน นำแสดงโดย คริสเตียน เบล, ไมเคิล เคน, เลียม นีสัน, แคที โฮล์มส์, แกรี โอลด์แมน, ซิลเลียน เมอร์ฟี, มอร์แกน ฟรีแมน, ทอม วิลคินสัน, Rutger Hauer และเค็ง วะตะนะเบะ เนื้อเรื่องของภาพยนตร์แบทแมนภาคนี้เป็นอิสระจากภาพยนตร์ชุดแบทแมนที่สร้างมาก่อนหน้าโดยสิ้นเชิง โดยมีโครงเรื่องที่กล่าวถึงจุดกำเนิดของตัวละครแบทแมน ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากเส้นเรื่องของหนังสือการ์ตูนชุดแบทแมนดั้งเดิม เช่น แบทแมน: เดอะแมนฮูฟอลส์ (Batman: The Man Who Falls) แบทแมน: เยียร์วัน (Batman: Year One) และ แบทแมน: เดอะลองฮัลโลวีน (Batman: The Long Halloween) ที่มาของภาพยนตร์เรื่องนี้ มาจากความคิดของคริสโตเฟอร์ โนแลน และเดวิด เอส. โกเยอร์ (ผู้เขียนบทภาพยนตร์) ที่มาร่วมงานกันเมื่อช่วงต้นปี พ.ศ. 2546 ซึ่งภาคนี้ถือเป็นภาพยนตร์แบทแมนเรื่องแรก หลังจากที่ภาค แบทแมนแอนด์โรบิน (Batman & Robin) เมื่อ พ.ศ. 2540 ได้รับคำวิจารณ์ในแง่ลบและประสบความล้มเหลวในเชิงพาณิชย์ โดยในภาคนี้ เขาทั้งสองคนได้ดัดแปลงให้มีโทนสีมืดและมีความสมจริงของเนื้อเรื่องมากกว่าที่ภาคที่ผ่านมา การถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ ใช้วิธีการแสดงผาดโผนแบบดั้งเดิมและอาศัยการสร้างภาพด้วยคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก โดยสถานที่ที่ใช้ในการถ่ายทำในเบื้องต้น คือ อังกฤษและชิคาโก แบทแมน บีกินส์ ได้รับกระแสที่ดีทั้งจากคำวิจารณ์และการตอบรับเชิงพาณิชย์ โดยได้มีการสร้างภาพยนตร์ภาคต่อชื่อว่า แบทแมน อัศวินรัตติกาล (The Dark Knight) ขึ้นมา ซึ่งออกฉายในปี พ.ศ. 2551 กำกับโดยคริสโตเฟอร์ โนแลน และนำแสดงโดยคริสเตียน เบล เช่นเดิม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและแบทแมน บีกินส์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงก์ เกห์รี

แฟรงก์ โอเวน เกห์รี (Frank Owen Gehry) (ชื่อแต่กำเนิดคือ Ephraim Owen Goldberg; เกิด:28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472 -), Globe and Mail, July 28, 2010 เป็นสถาปนิกสัญชาติแคนาดา-อเมริกัน ปัจจุบันอาศัยในนครลอสแอนเจลิส จากผลงานออกแบบมากมายและแตกต่างจากยุคก่อนหน้านี้ ทำให้ในเวลาต่อมาชื่อของของเขาก็ได้กลายเป็นที่สนใจในหมู่สถาปนิกระดับโลก เขาได้รับการสรรเสริญว่า "งานของเกห์รี เป็นงานที่มีสำคัญที่สุดในวงการสถาปัตยกรรมร่วมสมัย" โดยเวิลด์อเมริกันเซอร์เวย์ (World Architecture Survey) ในปี 2010 รวมไปถึง "สถาปนิกที่มีความสำคัญที่สุดในยุคสมัยของพวกเรา" จาก วานิตีแฟร์ (Vanity Fair) เขาได้รับรางวัลพริตซ์เกอร์ ซ่งเป็นรางวัลสูงสุดในสายวิชาชีพสถาปนิกในปี 1989 และรางวัลอื่นๆอีกมาก รวมถึงได้ปริญญาเอกดุษฎีบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยระดับโลกอีกหลายที่เช่น มหาวิทยาลัยเยล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน เป็นต้น ผลงานของ แฟรงก์ เกห์รี นั้นมีหลากหลายรวมถึงอาคารพักอาศัย พิพิธภัณฑ์ สถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง ผลงานที่มีชื่อของเขาได้แก่ พิพิธภัณฑ์กุกเกนไฮม์ บิลบาโอ ในเมืองบิลเบา ประเทศสเปน ซึ่งเป็นอาคารที่มีไทเทเนียมเป็นวัสดุหลัก วอลต์ดิสนีย์คอนเสิร์ตฮอลล์ที่ ลอสแอนเจลิส และแดนซิงเฮาส์ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก อาคารเรย์แอนด์มาเรียสตาตาเซนเตอร์ ในสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ในเมืองแคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ อาคาร8 สปรูซสตรีท ในแมนฮัตตัน นิวยอร์ก เป็นต้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและแฟรงก์ เกห์รี · ดูเพิ่มเติม »

แพร์ วิกทอร์ เอดมัน

แพร์ วิกทอร์ เอดมัน (Pehr Victor Edman; 14 เมษายน ค.ศ. 1916 – 19 มีนาคม ค.ศ. 1977) เป็นนักชีวเคมีชาวสวีเดน เกิดที่กรุงสตอกโฮล์ม เป็นบุตรของวิกทอร์และอัลบา เอดมัน เรียนวิชาแพทย์ที่สถาบันแคโรลินสกา ต่อมาเอดมันถูกเกณฑ์เข้ากองทัพสวีเดนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หลังสงคราม เอดมันกลับไปเรียนปริญญาเอกที่สถาบันแคโรลินสกา ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและแพร์ วิกทอร์ เอดมัน · ดูเพิ่มเติม »

แอลัน ทัวริง

แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing; 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยาและวีรบุรุษสงครามชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุก ๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องอินิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริง ๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเขาในเรื่องนี้ นอกจากนั้นแล้ว การทดสอบของทัวริงที่เขาได้เสนอนั้นมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเรื่องปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งในขณะมีถกเถียงที่สำคัญว่า เป็นไปได้หรือไม่ที่จะกล่าวว่าเครื่องจักรนั้นมีสำนึกและสามารถคิดได้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและแอลัน ทัวริง · ดูเพิ่มเติม »

แดเนียล คาฮ์นะมัน

แดเนียล คาฮ์นะมัน (Daniel Kahneman, דניאל כהנמן เกิด 5 มีนาคม ค.ศ. 1934) เป็นนักจิตวิทยาชาวอิสราเอล-อเมริกัน ผู้มีชื่อเสียงเกี่ยวกับงานทางจิตวิทยาเรื่องการประเมินหลักฐานและการตัดสินใจ (judgment and decision-making) และงานทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (behavioral economics) ซึ่งเขาได้รับรางวัลรางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและแดเนียล คาฮ์นะมัน · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต แลงดอน

รเบิร์ต แลงดอน (Robert Langdon) เป็นตัวละครที่สร้างขึ้นโดย แดน บราวน์ เป็นศาสตราจารย์ด้านสัญลักษณ์วิทยาแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและโรเบิร์ต แลงดอน · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต โอ วิลสัน

รเบิร์ต โอ วิลสัน แพทยศาสตรบัณฑิต (5 ตุลาคม 1906 —) เป็นแพทย์ชาวอเมริกันและมิชชันนารีนิกายโปรแตสแตนท์ วิลสันเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและได้รับการฝึกทางการแพทย์จากสถาบันแพทยศาสตร์ฮาร์วาร์ด และสำเร็จการศึกษาในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและโรเบิร์ต โอ วิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล พอร์เตอร์

ตราจารย์ ไมเคิล ยูจีน พอร์เตอร์ (Michael Eugene Porter) (เกิดในปี พ.ศ. 2490) เป็นนักคิด นักบริหาร และนักเศรษฐศาสตร์ มีชื่อเสียงในส่วนของการบริหารเชิงกลยุทธ์ โดยเป็นผู้พัฒนาทฤษฎีในเรื่องกลยุทธ์การแข่งขัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและไมเคิล พอร์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอวีลีก

ที่ตั้งของกลุ่มมหาวิทยาลัยในไอวีลีก ไอวีลีก (Ivy League) เป็นชื่อของกลุ่มการแข่งขันกีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนเก่าแก่ 8 แห่งที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐฯ ซึ่งได้เริ่มรวมตัวกันเป็นกลุ่มไอวีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2478 ไอวีคือเถาไม้เลื้อยที่นิยมปลูกเกาะคลุมผนังด้านนอกของตึกเรียนเก่าแก่ของมหาวิทยาลัย มีสีแดงในฤดูใบไม้ร่วง ซึ่งเป็นที่มาของชื่อกลุ่ม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและไอวีลีก · ดูเพิ่มเติม »

ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์

ทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ ไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ ไทมส์ไฮเออร์ (Times Higher Education) เป็นหนังสือพิมพ์จากลอนดอน ที่มีการรายงานอันดับสถาบันอุดมศึกษาทุกปี บรรณาธิการคือจอห์น โอ'เลรี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและไทมส์ไฮเออร์เอดยูเคชันซัปพลีเมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์นาร์ด ชูมี

เบอร์นาร์ด ชูมี (Bernard Tschumi) เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1944 ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นสถาปนิก นักเขียน และนักศึกษาศาสตร์ เขามีส่วนร่วมกับสถาปัตยกรรมดีคอนสตรักทิวิสม์ เขาเกิดในครอบครัวชาวฝรั่งเศสและสวิส เขาทำงานและอยู่ที่นิวยอร์กและปารีส เขาศึกษาที่ปารีสและที่สถาบันเทคโนโลยีสวิส ซูริก ที่เขาได้รับสถาปัตยกรรมบัณฑิตในปี 1969 ชูมีสอนที่ Portsmouth Polytechnic ในพอร์ตสมัท สหราชอาณาจักร, สมาคมสถาปัตยกรรม วิทยาลัยสถาปัตยกรรมในลอนดอน, Institute for Architecture and Urban Studies ในนิวยอร์ก, มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน, Cooper Union ในนิวยอร์ก และมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ที่เขาเป็นคณบดี Graduate School of Architecture, Planning and Preservation ระหว่างปี 1988 ถึง 2003 ชูมีเป็นพลเมืองถาวรอเมริกัน หมวดหมู่:สถาปนิกชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:สถาปนิกชาวสวิส หมวดหมู่:บุคคลจากโลซาน หมวดหมู่:บุคคลจากสมาคมสถาปัตยกรรม วิทยาลัยสถาปัตยกรรม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและเบอร์นาร์ด ชูมี · ดูเพิ่มเติม »

เชียร์ลีดเดอร์

ียร์ลีดเดอร์ แสดงการเชียร์โดยยืนบนมือของเพื่อนร่วมทีมเชียร์ เชียร์ลีดเดอร์ของจอร์เจียเทค ขณะที่แข่งกีฬาบาสเกตบอล เชียร์ลีดเดอร์ (cheerleader) หรือ ผู้นำเชียร์ คือผู้ที่ทำหน้าที่ในการนำฝูงชนให้มีความฮึกเหิม โห่ร้อง ตะโกน ร้องเพลง ให้กำลังใจ เชียร์นักกีฬาที่กำลังทำการแข่งขัน เพื่อให้นักกีฬามีกำลังใจสู้ในการแข่งขัน ในประเทศไทยเน้นการให้จังหวะ รหัส สัญญาณ ให้กองเชียร์ร้องเพลง พร้อมเพรียง เสียงดัง และ เกิดความสนุกนานในการชมการแข่งขัน ส่วนเชียร์ลีดเดอร์ในบางประเทศถือเป็นนักกีฬาเช่นกัน เรียกว่ากีฬา เชียร์ลีดดิง (cheerleading)ซึ่งประกอบไปด้วยหลายแขนง ประกอบไปด้วย การต่อตัว การเชียร์ประกอบท่าท่างหรือที่เรียกว่าเชียร์และแชนท์ ยิมนาสติก การทำงานร่วมกันเป็นทีม การเต้น เป็นกีฬาที่ให้ทั้งความสนุกสนาน ความตื่นเต้น เนื่องจากทั้งหมดนี้มีการใช้ดนตรีเข้ามาประกอบจังหวะ ซึ่งประวัติศาสตร์ของกีฬาประเภทนี้มีมายาวนานแล้ว และปัจจุบันทุกประเทศเริ่มให้ความสนใจกีฬาประเภทนี้กันมากขึ้น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและเชียร์ลีดเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์

รื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์ (Madoff investment Scandal) เกิดเป็นคดีกลฉ้อฉลหุ้นและหลักทรัพย์ใหญ่ที่ค้นพบเมื่อปลายปี 2551 ในเดือนธันวาคมปีนั้น เบอร์นาร์ด แมดอฟฟ์ อดีตประธานแนสแด็กและผู้ก่อตั้งบริษัทวอลล์สตรีต บริษัท หลักทรัพย์ลงทุนเบอร์นาร์ด แอล.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและเรื่องอื้อฉาวการลงทุนแมดอฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐยาธิปไตย

รษฐยาธิปไตย หรือ ธนาธิปไตย (πλοῦτος,, 'ความมั่งคั่ง' + κράτος,, 'ปกครอง' - plutocracy, plutarchy) เป็นระบอบการปกครองที่คนมีเงินเป็นผู้ถือครองอำนาจทางการเมือง โดยเป็นรูปแบบหนึ่งของคณาธิปไตย และสามารถนิยามด้วยว่า เป็นสังคมที่ปกครองหรือควบคุมโดยประชาชนที่มั่งคั่งที่สุดส่วนน้อย เป็นการเมืองเพื่ออำนาจ เพื่อผลประโยชน์ และสิทธิพิเศษ ของกลุ่มคนที่มีอำนาจทางการเมือง โดยต้องใช้เงินเป็นองค์ประกอบหลัก มีการใช้คำทำนองนี้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและเศรษฐยาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์

กอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์ ถ่ายโดย คาร์ล แวน เวเช็น (Carl Van Vechten) ฟรานซีส สกอตต์ คีย์ ฟิตซ์เจอรัลด์ หรือ เอฟ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและเอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เอริก ชมิดต์

อริก เอเมอร์สัน ชมิดต์ (Eric Emerson Schmidt) (เกิด 27 เมษายน พ.ศ. 2498 ที่วอชิงตัน ดี.ซี.) เป็นผู้บริหารบริษัทกูเกิล และอดีตคณะกรรมการผู้บริหาร ของบริษัทแอปเปิล และยังคงเป็นกรรมการมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและเอริก ชมิดต์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด แคลวิน เคนดัลล์

อ็ดเวิร์ด แคลวิน เคนดัลล์ (Edward Calvin Kendall; 8 มีนาคม ค.ศ. 1886 – 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1972) เป็นนักชีวเคมีชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองเซาท์นอร์วอล์ก เป็นบุตรของจอร์จ สแตนลีย์ เคนดัลล์และเอวา ฟรานเชส แอบบอตต์ เรียนจบปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์ ปริญญาโทและปริญญาเอกสาขาเคมีจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ก่อนจะทำการศึกษาฮอร์โมนต่อมไทรอยด์ขณะทำงานที่บริษัทยาพาร์ค-เดวิสและโรงพยาบาลเซนต์ลูกา ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและเอ็ดเวิร์ด แคลวิน เคนดัลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2

้าชายอาลี เรซาที่ 2 ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:رضا پهلوی, ประสูติ 28 เมษายน ค.ศ. 1966 - 4 มกราคม ค.ศ. 2011) พระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวีและอิหร่าน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

เขายอดราบใต้สมุทร

อดราบใต้สมุทร เขายอดราบใต้สมุทร (guyot) คือภูเขาใต้ทะเลชนิดหนึ่งมีลักษณะพิเศษคือบนยอดเขานั้นจะเป็นพื้นที่ราบเรียบมักพบในมหาสมุทรที่มีความลึก 1,200-1,800 เมตรบางแห่งอาจมีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้างถึง 10 กิโลเมตร Encyclopædia Britannica Online, 2010.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและเขายอดราบใต้สมุทร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Princeton Universityมหาวิทยาลัยพรินสตั้นมหาวิทยาลัยปรินซ์ตัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »