โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มรณสักขีในศาสนาคริสต์

ดัชนี มรณสักขีในศาสนาคริสต์

การทรมานของนักบุญเอรัสมุส โดยเดียริค เบาท์ ราวปี ค.ศ. 1458 ในศาสนาคริสต์ มรณสักขี (martyr) หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนที่ถูกทรมานจนตายหรือถูกฆ่าหรือถูกลงโทษให้ประหารชีวิตเพราะความเชื่อ ในศาสนาคริสต์ยุคแรกมีผู้ถูกทรมานและฆ่าด้วยความทรมานต่างๆเช่นถูกขว้างด้วยก้อนหินให้ตาย ถูกตรึงกางเขน ถูกเผาทั้งเป็น และอื่น ๆ คำว่า “martyr” มาจากภาษากรีกที่แปลว่า “พยาน” การฆ่าเช่นนี้เป็นผลจากการพยายามกำจัดคริสต์ศาสนิกชนอย่างเป็นทางการ (การเบียดเบียนทางศาสนา) เช่นในสมัยจักรวรรดิโรมันก่อนที่คริสต์ศาสนาจะเป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมาย คริสต์ศาสนิกชนคนแรกที่เป็นมรณสักขีคือนักบุญสเทเฟนที่บันทึกไว้ใน ถูกขว้างด้วยก้อนหินจนถึงแก่ชีวิตเพราะศรัทธาในพระเยซูว่าเป็นพระเมสสิยาห์ และยังคงมีคริสต์ศาสนิกชนอีกหลายคนที่ถูกฆ่านอกจากนักบุญสเทเฟน ตามที่นักบุญเปาโลอัครทูตกล่าวว่ามีการขู่จะฆ่าสาวกของพระเยซูในเวลานั้นหลายครั้ง ในคริสต์ศตวรรษต่อมาก็มีการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนอย่างเป็นทางการอีกหลายครั้งเช่นในระหว่างการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ โดยถูกกล่าวหาว่าเป็นพวกนอกรีตหรือเป็น “พวกนิยมพระสันตะปาปา” (Papists).

70 ความสัมพันธ์: บารนาบัสบารโธโลมิวอัครทูตบุญเกิด กฤษบำรุงชีวประวัตินักบุญฟรันซิสโก เด ซูร์บารันฟีลิปอัครทูตพระสันตะปาปาพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันพระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดีพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขีพิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนการกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิวการตัดศีรษะยอห์นผู้ให้บัพติศมาการประกาศเป็นบุญราศีการประกาศเป็นนักบุญการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนมรณสักขี (แก้ความกำกวม)มรณสักขีแห่งสองคอนมรณสักขีแห่งเมืองลาวมาร์กาเรตแห่งแอนติออกยอห์นอัครทูตยอห์นผู้ให้บัพติศมายากอบ บุตรอัลเฟอัสยากอบ บุตรเศเบดียากอบผู้ชอบธรรมยูดาอัครทูตรายนามมรณสักขีประจำวันลุดมิลาแห่งโบฮีเมียวันวาเลนไทน์วันสมโภชนักบุญทั้งหลายวาสลัฟที่ 1 ดยุกแห่งโบฮีเมียวีจีลีโอแห่งเตรนโตอากาทาแห่งซิซิลีอาสนวิหารล็องกร์อิกเนเชียสแห่งแอนติออกฌาน ดาร์กจอห์น คริสซอสตอมธรรมสักขีทอมัส มอร์ทอมัส แบ็กกิตคิม แท-ก็อนฉากแท่นบูชาเกนต์ซีโมนเปโตรประวัติศาสตร์เดนมาร์กนักบุญฟีโลเมนานักบุญลอว์เรนซ์นักบุญสเทเฟนนักบุญอักแนสนักบุญอัลบันแห่งไมนซ์นักบุญอันดรูว์...นักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์นักบุญจอร์จนักบุญถือศีรษะนักบุญดันสตันนักบุญคริสโตเฟอร์นักบุญเดนิสนักบุญเซซีลีอานักพรตแบร์นาร์แห่งแกลร์โวแมกซิมิเลียน คอลบีแคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรียโบสถ์นักบุญอีเลียนโธมัสอัครทูตโดเมนีโก ซาวีโอเกย์ไอคอนเอดิท ชไตน์เซบาสเตียนเปาโล มิกิ21 มกราคม6 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (20 มากกว่า) »

บารนาบัส

รนาบัส (Βαρναβᾶς) เป็นคริสต์ศาสนิกชนผู้มีบทบาทสำคัญในการประกาศข่าวดีมาตั้งแต่ยุคแรก ได้รับยกย่องว่าเป็น "อัครทูต" แม้จะไม่ได้รับแต่งตั้งจากพระเยซูโดยตรง (ก่อนถูกตรึงกางเขน) ชาวมุสลิมและคริสต์ศาสนิกชนบางคน เช่น เคลเมนต์แห่งอะเล็กซานเดีย เชื่อว่าท่านเป็นผู้นิพนธ์พระวรสารนักบุญบารนาบัส และทอร์ทิวเลียนกล่าวว่าท่านเขียนจดหมายถึงชาวฮีบรูด้ว.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และบารนาบัส · ดูเพิ่มเติม »

บารโธโลมิวอัครทูต

รโธโลมิวอัครทูต (Bartholomew the Apostle; Βαρθολομαίος (Bartholomaios)) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เสียชีวิตที่ประเทศอาร์มีเนีย บารโธโลมิวเป็นหนึ่งในอัครทูตของพระเยซู ชื่อ “บารโธโลมิว” มาจากภาษาแอราเมอิก “bar-Tôlmay” (תולמי‎‎‎‎‎-בר‎‎) หมายความว่า “ลูกของโทลเม” (โทเลมี) หรืออาจจะเป็น “ลูกของคนไถนา” บางครั้งก็เชื่อกันว่าเป็นนามสกุลมากกว่าจะเป็นชื่อตัวEncyclopedia Britannica, micropedia.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และบารโธโลมิวอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

บุญเกิด กฤษบำรุง

ญราศีนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง (31 มกราคม พ.ศ. 2438 – 12 มกราคม พ.ศ. 2487) เป็นบาทหลวงชาวนครปฐม สังกัดมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ เมื่อรับศีลอนุกรมเป็นบาทหลวงแล้วได้ทำงานแพร่ธรรมในหลายจังหวัด จนกระทั่งเกิดกรณีพิพาทอินโดจีนขึ้น บาทหลวงบุญเกิดถูกตำรวจจับในข้อหา "กบฏภายนอกราชอาณาจักร" ศาลตัดสินให้จำคุก 15 ปีที่เรือนจำกลางบางขวาง และถึงแก่กรรมด้วยวัณโรคหลังจากติดคุกได้ 3 ปี บาทหลวงบุญเกิดได้รับยกย่องจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกว่าเป็นมรณสักขี และได้รับการประกาศเป็นบุญราศีเมื่อวันที่ 5 มีนาคม..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และบุญเกิด กฤษบำรุง · ดูเพิ่มเติม »

ชีวประวัตินักบุญ

นักบุญเซบาสเตียนโดยโจวันนี เบลลีนี ชีวประวัตินักบุญ (Hagiography) คือวรรณกรรมเกี่ยวกับประวัติชีวิตนักบุญหรือผู้นำคริสตจักร ส่วนคำว่า “hagiology” หมายถึง วิชาว่าด้วยชีวประวัตินักบุญ ชีวประวัตินักบุญในศาสนาคริสต์เน้นประวัติชีวิตและการอัศจรรย์ของผู้ได้รับการประกาศเป็นนักบุญในคริสตจักรโรมันคาทอลิก แองกลิคันคอมมิวเนียน อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ ในศาสนาอื่น ๆ อาจมีวรรณกรรมในลักษณะเดียวกัน โดยรวบรวมชีวประวัติของผู้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนานั้น ๆ เช่น คัมภีร์อปทานในสุตตันตปิฎก.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และชีวประวัตินักบุญ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซิสโก เด ซูร์บารัน

นักบุญลูกาผู้นิพนธ์พระวรสารที่อาจจะเป็นภาพเหมือนของซูร์บารันเอง ราว ค.ศ. 1635-1640http://www.humanitiesweb.org/human.php?s.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และฟรันซิสโก เด ซูร์บารัน · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปอัครทูต

ฟีลิปอัครทูต (Philip the Apostle) เป็นอัครทูตคนหนึ่งของพระเยซู คริสต์ศาสนิกชนเชื่อสืบกันมาว่าเขาได้เผยแผ่ศาสนาในประเทศกรีซ ประเทศซีเรีย และฟริเจีย จนถึงแก่กรรมเพราะถูกตรึงกางเขนที่เมืองเฮียราโพลิส ในปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และฟีลิปอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน

มเด็จพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน (Harold Godwinson หรือ Haraldur Guðinason) (ราว ค.ศ. 1022 – 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์และพระเจ้าแผ่นดินแองโกล-แซ็กซอนองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสันเสด็จพระราชสมภพราว ค.ศ. 1022 ที่เวสเซ็กซ์ อังกฤษ เป็นพระราชโอรสของกอดวิน เอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์ และ กีธา ธอร์เคลสเดิทเทียร์ ทรงเสกสมรสกับเอลด์จิธ สวอนเน็ค และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1066 จนทรงถูกสังหารในยุทธการเฮสติงส์ แบตเติล เมื่อทรงพยายามต่อต้านกองทัพของดยุคแห่งนอร์มังดีที่ยกมารุกรานอังกฤษ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066 หลังจากที่พระเจ้าฮาโรลด์เสด็จสวรรคต สภาวิททันก็ประกาศให้สมเด็จพระเจ้าเอ็ดการ์ เอเธลลิง ขึ้นครองราชสมบัติต่อมาแต่มิได้ทรงสวมมงก.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และพระเจ้าฮาโรลด์ กอดวินสัน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดี

ประติมากรรมเฉพาะหัวของนักบุญซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดีที่พล็อก พระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดี (Sigismund of Burgundy) เป็นพระมหากษัตริย์เบอร์กันดีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และพระเจ้าซีกิสมุนด์แห่งเบอร์กันดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขี

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขี (Edward the Martyr หรือ Eadweard II หรือ St Edward the Martyr) (ราว ค.ศ. 962 - 18 มีนาคม ค.ศ. 978) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์เวสเซ็กซ์ของราชอาณาจักรอังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขีเสด็จพระราชสมภพเมื่อราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขี · ดูเพิ่มเติม »

พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน

การให้บัพติศมาแก่ Neophytes วาดโดยมาซัชโช เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันเก็บอยู่ที่ฟลอเรนซ์ พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน (ศัพท์ประชากรศาสตร์) พิธีบัพติศมาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 88 (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ศีลล้างบาป (ศัพท์คาทอลิก) (Baptism มาจากภาษากรีก baptismos แปลว่า การล้าง) เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ ทำขึ้นเพื่อรับ "ผู้ที่เพิ่งรับเชื่อ" เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของคริสตจักร คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ระบุว่ายอห์นผู้ให้บัพติศมาเริ่มประกอบพิธีนี้ให้สาวกของตน โดยให้ผู้รับจุ่มตัวลงในแม่น้ำลึก ถือเป็นสัญลักษณ์ของการกลับใจและรอคอยอาณาจักรสวรรค์ซึ่งกำลังจะมาถึง พระเยซูทรงรับบัพติศมาจากยอห์นในครั้งนั้นด้วย จากนั้นจึงเริ่มปฏิบัติพระภารกิจของพระองค์ ต่อมาในศาสนาคริสต์ยุคแรก ผู้ให้บัพติศมาจะให้ผู้รับเปลือยกายลงแช่ในแม่น้ำ ซึ่งมีทั้งแบบให้จุ่มทั้งตัว ยืน หรือคุกเข่าในน้ำ แล้ว "ผู้ให้บัพติศมา" จะตักน้ำรดลงบน "ผู้รับบัพติศมา" ในปัจจุบันบางคริสตจักรยังรักษาวิธีการแบบเดิม บางคริสตจักรก็ใช้วิธีเทน้ำรดลงบนหน้าผากของผู้รับสามครั้ง การเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ก็ถือว่าเป็นการรับบัพติศมาด้วย เรียกว่า "พิธีบัพติศมาด้วยเลือด" เชื่อว่ามรณสักขีนั้นได้รับความรอดแล้วแม้จะยังไม่ได้รับบัพติศมาด้วยน้ำก็ตาม คริสตจักรโรมันคาทอลิกปัจจุบันรับรอง "พิธีบัพติศมาแห่งความปรารถนา" ซึ่งหมายถึงความตั้งใจจะรับบัพติศมาแต่เสียชีวิตเสียก่อนเข้าพิธี ก็ถือว่าได้รับความรอดแล้ว คริสต์ศาสนิกชนบางนิกายประกอบพิธีบัพติศมาแก่ทารกด้วย เพราะเชื่อว่าบัพติศมาเป็นทางแห่งความรอด จนเมื่อฮุลดริช ซวิงลี นักเทววิทยาศาสนาคริสต์สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 กล่าวว่าพิธีนี้ไม่จำเป็น คริสตจักรแบปทิสต์จึงประกอบพิธีบัพติศมาแก่ผู้เชื่อเองเท่านั้น ทุกวันนี้คริสต์ศาสนิกชนหลายกลุ่ม โดยเฉพาะเควเกอร์และแซลเวชันอาร์มีถือว่าพิธีนี้ไม่จำเป็นและไม่ประกอบพิธีนี้เลย แต่กลุ่มที่ยังมีพิธีนี้อยู่ก็มีรูปแบบพิธีแตกต่างกันไป ส่วนมากรับบัพติศมา "ในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์" (โปรเตสแตนต์) หรือ "เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต" (คาทอลิก) โดยถือตามพระมหาบัญชาก่อนการเสด็จขึ้นสวรรค์ของพระเยซู.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และพิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน · ดูเพิ่มเติม »

การกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิว

แสดงการสังเวยด้วยเลือดของไซมอนแห่งเทร้นท์อายุสองขวบที่หายตัวไป พ่อของเด็กกล่าวหาว่าถูกลักตัวไปโดยชาวยิว ซึ่งเป็นผลให้ชาวยิวสิบห้าคนถูกตัดสินให้เผาทั้งเป็น ไซมอนได้รับการสถาปนาให้เป็นนักบุญในปี ค.ศ. 1588 แต่มาถูกปลดในปี ค.ศ. 1965 การกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิว (Blood libel against Jews) เป็นข้อกล่าวหาที่ไม่ถูกต้องที่กล่าวหาว่าชาวยิวใช้เลือดมนุษย์ในพิธีกรรมทางศาสนา การกล่าวหากรณีนี้เกิดขึ้นครั้งแรกในบทเขียนของนักเขียนเพกันชาวกรีก-อียิปต์เอเพียน (Apion) ของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 1 ผู้อ้างว่าชาวยิวสังเวยชาวกรีกในศาสนสถาน หลังจากนั้นก็ไม่มีเหตุการณ์ทำนองเดียวกันที่ได้รับการบันทึกมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมื่อข้อกล่าวหานี้เริ่มเป็นที่เผยแพร่ในหมู่ชนคริสเตียนในยุโรป การกล่าวเรื่องการสังเวยด้วยเลือดมักจะกล่าวว่าชาวยิวใช้เลือดเด็กคริสเตียน ที่มักจะใช้กล่าวหาเมื่อมีเด็กที่เสียชีวิตโดยไม่ทราบสาเหตุ ในบางกรณีผูที่เป็นเหยื่อของการกล่าวหาไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ก็กลายเป็นผู้พลีชีพเพื่อศาสนาและเป็นที่นับถือของลัทธินิยมที่ตามมา และบางคนถึงกับได้รับการสถาปนาให้เป็นนักบุญ ข้อกล่าวหานี้ก็ยังคงมีอยู่ในกลุ่มคริสเตียนบางกลุ่มแม้ในปัจจุบันนี้ และเมื่อไม่นานมานี้ก็ในกลุ่มมุสลิมบางกลุ่ม ในตำนานของชาวยิวการกล่าวหานี้เป็นแรงกระตุ้นให้เกิดตำนานเกี่ยวกับโกเลมแห่งปรากโดยราไบจูดาห์ โลว์ เบน เบซาลเอล พระสันตะปาปาหลายองค์ก็กล่าวประณามการสังเวยด้วยเลือดไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยทางอ้อม แต่ก็ไม่มีพระสันตะปาปาองค์ใดที่ประกาศอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และการกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

การตัดศีรษะยอห์นผู้ให้บัพติศมา

การตัดศีรษะยอห์นผู้ให้บัพติศมา (Beheading of John the Baptist) เป็นเหตุการณ์หนึ่งที่ปรากฏในพระวรสารสหทรรศน์ โดยเฉพาะในพระวรสารนักบุญมาระโก.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และการตัดศีรษะยอห์นผู้ให้บัพติศมา · ดูเพิ่มเติม »

การประกาศเป็นบุญราศี

็ดบุญราศีมรณสักขีแห่งสองคอน เป็นคริสต์ศาสนิกชนชาวไทยกลุ่มแรกที่ได้รับการประกาศเป็นบุญราศี การประกาศเป็นบุญราศี (Beatification) คือกระบวนการที่คริสตจักรโรมันคาทอลิกกำหนดขึ้นเพื่อรับรองว่าบุคคลหนึ่งได้เข้าสู่สวรรค์และสามารถวอนขอพรจากพระเป็นเจ้าแทนมนุษย์บนโลกได้ กระบวนการนี้ถือเป็นขั้นตอนที่สี่ของการประกาศเป็นนักบุญ.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และการประกาศเป็นบุญราศี · ดูเพิ่มเติม »

การประกาศเป็นนักบุญ

การประกาศเป็นนักบุญ (canonization) เป็นกระบวนการที่คริสตจักรต่าง ๆ เช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ และแองกลิคัน ใช้ดำเนินการเพื่อขึ้นทะเบียนคริสต์ศาสนิกชนผู้ล่วงลับให้เข้าในสารบบนักบุญ.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และการประกาศเป็นนักบุญ · ดูเพิ่มเติม »

การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน

การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนในจักรวรรดิโรมัน ในภาพคริสตชนสตรีถูกสังหารขณะที่จักรพรรดิเนโรชายพระเนตรมาดู การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน (ศัพท์โรมันคาทอลิก) หรือ การข่มเหงคริสต์ศาสนิกชน (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Persecution of Christians) หมายถึงการเบียดเบียนศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนยุคแรกถูกเบียดเบียนทั้งจากชาวยิวและจักรวรรดิโรมันซึ่งปกครองดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอยู่ในขณะนั้น การเบียดเบียนครั้งนี้เกิดขึ้นตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 จนมาสิ้นสุดตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 4 เมื่อจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 และจักรพรรดิลิซิเนียสทรงประกาศพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลานเป็นการรับรองเสรีภาพทางศาสนาทั่วทั้งจักรวรรดิโรมัน จนต่อมาศาสนาคริสต์จึงกลายเป็นศาสนาประจำชาติจักรวรรดิโรมันอย่างเป็นทางการ มิชชันนารีและผู้เปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ก็มักตกเป็นเป้าของการเบียดเบียน เป็นที่มาให้เกิดมรณสักขีในศาสนาคริสต์เป็นจำนวนมาก แม้แต่ระหว่างนิกายในศาสนาคริสต์เองก็ยังเบียดเบียนกันเพราะกล่าวหาคริสต์ศาสนิกชนนิกายอื่นว่าเป็นพวกนอกรีต เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นมากในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มีการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 คริสต์ศาสนิกชนยังคงถูกเบียดเบียนจากชาวมุสลิมและกลุ่มรัฐที่เป็นอเทวนิยม เช่น สหภาพโซเวียต ในปัจจุบัน (ค.ศ. 2012) กลุ่มโอเพนดอรส์ประเมินว่ามีคริสต์ศาสนิกชนราวหนึ่งร้อยล้านคนถูกเบียดเบียน โดยเฉพาะในประเทศมุสลิม เช่น ประเทศอิหร่าน ประเทศซาอุดิอาระเบีย และประเทศคอมมิวนิสต์ เช่น ประเทศเกาหลีเหนือ จากการศึกษาของสันตะสำนักพบว่าร้อยละ 75 ของผู้ที่ถูกฆ่าตายเพราะศาสนาเป็นคริสต์ศาสนิกชน.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน · ดูเพิ่มเติม »

มรณสักขี (แก้ความกำกวม)

มรณสักขี สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และมรณสักขี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

มรณสักขีแห่งสองคอน

มรณสักขีแห่งสองคอน คือคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกชาวไทย 7 คน ที่ถูกตำรวจยิงเสียชีวิตเพราะไม่ยอมเลิกนับถือศาสนาคริสต์ ทั้ง 7 คนได้รับการยกย่องจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกว่าเป็นมรณสักขี และได้รับการประกาศเป็นบุญราศีพร้อมกันโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร นครรัฐวาติกัน เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และมรณสักขีแห่งสองคอน · ดูเพิ่มเติม »

มรณสักขีแห่งเมืองลาว

มรณสักขีแห่งเมืองลาว (ມໍຣະນະສັກຂີແຫ່ງເມືອງລາວ) เป็นคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก 11 คน ประกอบด้วยบาทหลวง ภราดา และฆราวาส ที่ถูกเจ้าหน้าที่ปะเทดลาวสังหารในช่วง..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และมรณสักขีแห่งเมืองลาว · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กาเรตแห่งแอนติออก

นักบุญมาร์กาเรตแห่งแอนติออก (Margaret of Antioch) หรือนักบุญมาร์กาเรตพรหมจารี (Margaret the Virgina) เป็นนักบุญ พรหมจารี และมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เสียชีวิตเมื่อราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และมาร์กาเรตแห่งแอนติออก · ดูเพิ่มเติม »

ยอห์นอัครทูต

นักบุญยอห์นอัครทูตราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 59-60 (John the Apostle; Ιωάννης) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดเมื่อราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และยอห์นอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

ยอห์นผู้ให้บัพติศมา

อห์นผู้ให้บัพติศมา (โปรเตสแตนต์เดิมเรียกว่ายอห์นผู้ให้รับบัพติศมา) ยอห์นผู้ทำพิธีล้าง(คาทอลิก) หรือนักบุญยอห์น แบปติสต์(คาทอลิก) (John the Baptist; John the Baptizer) เป็นนักเทศน์ชาวยิวในคริสศตวรรษที่ 1 ถือว่าเป็นผู้เผยพระวจนะในสี่ศาสนาคือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาบาไฮ และ “Mandaeanism” ท่านถูกกล่าวถึงในพระวรสาร คัมภีร์อัลกุรอาน และคัมภีร์ของศาสนาบาไฮ นักบุญยอห์นแบปติสต์บางทีก็รู้จักกันในชื่อ “ยอห์นผู้มาก่อน” (John the Forerunner) เพราะถือกันว่านักบุญยอห์นเป็นผู้มาล่วงหน้าก่อนพระเยซู.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และยอห์นผู้ให้บัพติศมา · ดูเพิ่มเติม »

ยากอบ บุตรอัลเฟอัส

กอบ บุตรอัลเฟอัส (James, son of Alphaeus) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ ไม่ทราบสถานที่เกิดและปีที่เกิด และเสียชีวิตโดยการตรึงกางเขนที่ออสตราไคน์ ทางตอนใต้ของประเทศอียิปต์ราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และยากอบ บุตรอัลเฟอัส · ดูเพิ่มเติม »

ยากอบ บุตรเศเบดี

กอบ บุตรเศเบดี (James, son of Zebedee หรือ Yaakov Ben-Zebedee) หรือนักบุญยากอบองค์ใหญ่ (James the Greater) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เสียชีวิตราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และยากอบ บุตรเศเบดี · ดูเพิ่มเติม »

ยากอบผู้ชอบธรรม

กอบ (יעקב. Ya'akov; Ἰάκωβος Iákōbos คำเดียวกันกับคำว่า "ยาโคบ") ผู้ได้รับสมัญญาว่าผู้ชอบธรรม เปาโลอัครทูตเรียกท่านว่าพี่/น้องขององค์พระผู้เป็นเจ้า แม้จะไม่ใช่อัครทูต แต่ก็มีบทบาทสำคัญในคริสตจักรยุคแรก ๆ จนได้รับเลือกเป็นผู้ปกครองดูแลคริสตจักรในกรุงเยรูซาเลมเป็นคนแรก เชื่อว่าเป็นผู้เขียนจดหมายของนักบุญยากอบ และเป็นคนละคนกับยากอบ บุตรเศเบดี ชาวคาทอลิกเชื่อว่าท่านเป็นคนเดียวกันกับอัครทูตยากอบ บุตรอัลเฟอั.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และยากอบผู้ชอบธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ยูดาอัครทูต

นักบุญยูดาอัครทูต (Jude the Apostle) หรือนักบุญยูดาสอัครทูต เป็นนักบุญและมรณสักขีในคริสต์ศาสนา เกิดราวก่อนคริสต์ศตวรรษหรือคริสต์ศตวรรษที่ 1 และเสียชีวิตคริสต์ศตวรรษที่ 1 ที่เปอร์เชีย เป็นหนึ่งในอัครทูตของพระเยซู เชื่อกันว่าเป็นองค์เดียวกับยูดา น้องชายของพระเยซู นักบุญยูดาอัครทูตบางครั้งรู้จักกันในนาม “นักบุญยูดาแห่งยากอบ” หรือ “ธัดเดอัส” ในพันธสัญญาใหม่ หรือบางที่ก็เรียกกันว่า “เลบเบอัส” (Lebbaeus) หรือ “ยูดาส ธัดเดอัส” แม้ว่านักบุญยูดอัครทูตจะมีใช้ชื่อตัวชื่อเดียวกับยูดาส อิสคาริโอทผู้เป็นอัครทูตอีกองค์หนึ่งที่ต่อมาทรยศต่อพระเยซู แต่เป็นนักบุญคนละองค์ชื่อยูดาสเป็นชื่อแบบกรีกที่มาจาก “ยูดาห์” (Judah) ซึ่งเป็นชื่อที่นิยมตั้งกันในบรรดาชาวยิวในสมัยนั้น คริสตจักรอโพสโตลิกอาร์มีเนียนถือว่านักบุญยูดอัครทูตและนักบุญบาร์โทโลมิวเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ประจำคริสตจักร ในคริสตจักรโรมันคาทอลิกนักบุญยูดาเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์สถานการณ์ที่หมดหวังและการต่อสู้ที่ไม่มีทางชนะ สัญลักษณ์ที่ใช้สำหรับนักบุญยูดาคือตระบอง บางครั้งก็จะเป็นรูปชายที่มีเปลวไฟรอบศีรษะ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ว่าได้มาปรากฏตัวในเทศกาลเพนเทคอสต์ (Pentecost) ซึ่งเป็นวันที่ห้าสิบหลังเทศกาลอีสเตอร์เมื่อนักบุญยูดาได้รับพระวิญญาณบริสุทธิ์พร้อมกับอัครทูตองค์อื่น ๆ บางครั้งก็จะสัญลักษณ์ขวาน หรือขวานกึ่งหอก (halberd) ซึ่งเป็นอาวุธที่ใช้สังหารนักบุญยูดา หรือบางครั้งก็จะสัญลักษณ์ม้วนหนังสือหรือหนังสือ (พระธรรมยูดา) หรือถือเครื่องมือช่างไม้.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และยูดาอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

รายนามมรณสักขีประจำวัน

ระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 และฝ่ายนิยมกษัตริย์ผู้เสียชีวิตโดยการตัดสินของฝ่ายรัฐสภา รายนามมรณสักขีประจำวัน (Martyrology) คือหนังสือแสดงรายชื่อของมรณสักขีในศาสนาคริสต์ หรือเฉพาะเจาะจงคือนักบุญที่จัดเรียงตามลำดับวันครบรอบหรือวันฉลอง บางครั้งก็จะเป็นรายชื่อที่รวบรวมขึ้นเฉพาะท้องถิ่นหรือเฉพาะโบสถ์ที่อาจจะเสริมด้วยชื่อที่มาจากโบสถ์ข้างเคียง หรือบางครั้งก็นำหลายเล่มมารวมเข้าด้วยกันเป็นเล่มเดียวกันที่อาจจะรวมหรือไม่รวมข้อมูลจากแหล่งวรรณกรรมอื่นก็ได้ คำนี้ในปัจจุบันเป็นใช้ในคริสตจักรละติน ในคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ เอกสารที่มีลักษณะใกล้เคียงกับรายนามมรณสักขีมากที่สุดคือ “ซิแนกซาเรียน” (Synaxarion) และฉบับที่ยาวกว่าคือ “เมโนโลเจียน” (Menologion) เนื้อหาก็จะมีสองแบบ แบบแรกเป็นแต่เพียงรายชื่อ และ แบบที่สองจะรวมประวัติชีวิตและเรื่องราวรายละเอียดของนักบุญแต่ละองค์ด้ว.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และรายนามมรณสักขีประจำวัน · ดูเพิ่มเติม »

ลุดมิลาแห่งโบฮีเมีย

การฆาตกรรมนักบุญลุมิลา ลุดมิลา (Ludmila) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ ประสูติราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และลุดมิลาแห่งโบฮีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

วันวาเลนไทน์

วันนักบุญวาเลนไทน์ (Saint Valentine's Day) หรือเรียก วันวาเลนไทน์ (Valentine's Day) ตรงกับวันที่ 14 กุมภาพันธ์ของทุกปี วันวาเลนไทน์มีการเฉลิมฉลองในหลายประเทศทั่วโลก ส่วนใหญ่เป็นประเทศทางตะวันตก แม้จะยังเป็นวันทำงานในทุกประเทศเหล่านั้นก็ตาม "วันนักบุญวาเลนไทน์" แต่เดิมเป็นเพียงวันฉลองนักบุญในศาสนาคริสต์ยุคแรกหนึ่งหรือสองคนชื่อวาเลนตินัส ความหมายโรแมนติกโดยนัยสมัยใหม่นั้นกวีเพิ่มเติมในอีกหลายศตวรรษต่อมาทั้งสิ้น มีการกำหนดวันวาเลนไทน์ขึ้นครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกลาซิอุสที่ 1 ใน..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และวันวาเลนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

วันสมโภชนักบุญทั้งหลาย

วันสมโภชนักบุญทั้งหลาย (All Saints' Day; All Hallows) เป็นวันสมโภชในศาสนาคริสต์ ที่จัดขึ้นเพื่อแสดงความเคารพและระลึกถึงนักบุญทั้งหลายที่สถิตอยู่บนสวรร.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และวันสมโภชนักบุญทั้งหลาย · ดูเพิ่มเติม »

วาสลัฟที่ 1 ดยุกแห่งโบฮีเมีย

วาสลัฟที่ 1 (Václav; Wenceslaus I) ดำรงตำแหน่งดยุกแห่งโบฮีเมียตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และวาสลัฟที่ 1 ดยุกแห่งโบฮีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

วีจีลีโอแห่งเตรนโต

นักบุญวีจีลีโอแห่งเตรนโต (San Vigilio di Trento) หรือวีจีลิอุสแห่งเทรนต์ (Vigilius Tridentinum) เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์และบิชอปองค์แรกของรัฐมุขนายกเทรนต์ และเป็นคนละคนกับสมเด็จพระสันตะปาปาวิจิเลียส ตามที่เล่าขานกันมาวิจิเลียส พลเมืองชั้นสูงของจักรวรรดิโรมันและเป็นบุตรของแม็กเซนเทีย หรือ ชายที่บางครั้งก็เรียกกันว่าธีโอโดเซียส พี่น้องชาย “คลอเดียน” และ “มาโกเรียน” ต่างก็ได้รับการประกาศเป็นนักบุญเช่นกัน วีจีลีโอได้รับการศึกษาที่เอเธนส์และดูเหมือนจะรู้จักกับจอห์น คริสซอสตอมด้วย จากนั้นวีจีลีโอก็เดินทางไปยังกรุงโรมและต่อไปยังเตรนโตในปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และวีจีลีโอแห่งเตรนโต · ดูเพิ่มเติม »

อากาทาแห่งซิซิลี

นักบุญอกาทา นักบุญอากาทาแห่งซิซิลี (อังกฤษ:agatha of sicily) เกิดเมื่อปี..231 เสียชีวิตเมื่อปี..251 นักบุญอากาทาเป็นหญิงพรหมจารี และเป็นมรณสักขี วันฉลองตรงกับวันที่5 กุมภาพันธ์ เธอเป็นนักบุญของศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก เธอเกิดที่ซิซิลี และเสียชีวิตที่ซิซิลี เธอเป็นนักบุญอุปถัมภ์ของซิซิลีและผู้ป่วยมะเร็งต่างๆโดยเฉพาะมะเร็งเต้านม นอกจากนี้ยังอุปถัมภ์ ไฟไหม้ แผ่นดินไหว และผู้ถูกข่มขืน.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และอากาทาแห่งซิซิลี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารล็องกร์

อาสนวิหารล็องกร์ (Cathédrale de Langres) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารนักบุญแมมมิสแห่งล็องกร์ (Cathédrale Saint-Mammès de Langres) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกอันเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลล็องกร์ ตั้งอยู่ที่เมืองล็องกร์ในจังหวัดโอต-มาร์น แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญแมมมิสแห่งไกซาเรอา มรณสักขีในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 3 ลักษณะเด่นของอาสนวิหารแห่งนี้อยู่ที่ความผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบบูร์กอญกับสถาปัตยกรรมกอทิก อาทิ เพดานแบบโค้งสัน หน้าบันหลักทิศตะวันตกซึ่งสร้างขึ้นใหม่ในแบบสถาปัตยกรรมคลาสสิก อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และอาสนวิหารล็องกร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิกเนเชียสแห่งแอนติออก

นักบุญอิกเนเชียสแห่งแอนติออก (St.) บาทหลวงชาวซีเรีย ดำรงตำแหน่งบิชอปแห่งแอนติออกราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาคริสตจักรให้เป็นระบบ ทั้งในด้านเทววิทยา คริสตจักรวิทยา พิธีศักดิ์สิทธิ์ และบทบาทหน้าที่ของมุขนายก.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และอิกเนเชียสแห่งแอนติออก · ดูเพิ่มเติม »

ฌาน ดาร์ก

น ดาร์ก (IPA) หรือโจนออฟอาร์ก (ราว 6 มกราคม ค.ศ. 1412 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1431) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญโยนออฟอาร์ค เป็นวีรสตรีของฝรั่งเศสและเป็นนักบุญในนิกายโรมันคาทอลิก โจนมาจากครอบครัวชาวนาที่เกิดทางตะวันออกของฝรั่งเศสและเป็นผู้นำกองทัพฝรั่งเศสในสงครามร้อยปีหลายครั้งที่ได้รับชัยชนะต่อฝ่ายอังกฤษโดยอ้างว่ามีพระเจ้าเป็นผู้ชี้ทาง และเป็นผู้มีส่วนทางอ้อมในการขึ้นครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 โจนถูกจับโดยฝ่ายเบอร์กันดีและถูกขายให้แก่ฝ่ายอังกฤษ ถูกพิจารณาคดี และถูกเผาทั้งเป็นในข้อหาว่าเป็นพวกนอกรีตเมื่ออายุ 19 ปี ยี่สิบสี่ปีต่อมาพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 ไม่ทรงสามารถที่จะแสดงพระองค์ว่าทรงได้รับอำนาจมาจากผู้ที่ถูกประณามว่าเป็นผู้นอกรีต สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 3 จึงทรงมีคำสั่งให้มีตั้งศาลใหม่ในการพิจารณาการดำเนินการการพิจารณาคดีและการตัดสินของศาลแรก ศาลสรุปว่าฌานเป็นผู้บริสุทธิ์ และทางวาติกันประกาศให้ฌานเป็น “มรณสักขี”w:fr:Jeanne d'ArcAndrew Ward (2005) ในปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และฌาน ดาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น คริสซอสตอม

นักบุญจอห์น คริสซอสตอม (Ἰωάννης ὁ Χρυσόστομος, John Chrysostom; ราว ค.ศ. 347 - 14 กันยายน ค.ศ. 407) เป็นอาร์ชบิชอปแห่งคอนสแตนติโนเปิลและเป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักรคนสำคัญ นักบุญจอห์น คริสซอสตอมมีชื่อเสียงว่าเป็นนักเทศน์และนักปาฐกถาผู้มีฝีปากดี ในการประกาศต่อต้านของการใช้อำนาจในทางที่ผิดของทั้งผู้นำทางการเมืองและทางศาสนา, "คริสต์ศาสนพิธีฉบับนักบุญจอห์น คริสซอสตอม" และ หลักการปฏิบัติทางศาสนา หลังจากการเสียชีวิตของแล้วนักบุญจอห์นก็ได้รับนามสกุลเป็นภาษากรีกว่า "Chrysostomos" ที่แปลว่า "วจนะน้ำผึ้ง" ที่แผลงมาเป็นภาษาอังกฤษว่า "Chrysostom" ชาวโรมันคาทอลิกและอีสเทิร์นคาทอลิกถือว่าจอห์น คริสซอสตอมเป็นนักบุญและเป็นหนึ่งในไฮเออราร์คผู้ศักดิ์สิทธิ์สามองค์ ร่วมกับ นักบุญเบซิลแห่งเซซาเรียและนักบุญเกรกอรีแห่งนาเซียนซัส นิกายออร์ทอดอกซ์และนิกายโรมันคาทอลิกถือว่าเป็นนักปราชญ์แห่งคริสตจักร ส่วนคอปติกออร์ทอดอกซ์ถือว่าเป็นนักบุญ.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และจอห์น คริสซอสตอม · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมสักขี

รรมสักขี (confessor) ในศาสนาคริสต์ใช้หมายถึง ผู้ยืนยันความเชื่อ หรือบาทหลวงผู้อภัยบาป.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และธรรมสักขี · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส มอร์

ทอมัส มอร์ (Thomas More) คริสตจักรโรมันคาทอลิกเรียกว่านักบุญทอมัส มอร์ เป็นนักกฎหมาย นักปรัชญาสังคม นักเขียน รัฐบุรุษ และนักมนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และประธานฝ่ายตุลาการอังกฤษตั้งแต่เดือนตุลาคม..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และทอมัส มอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส แบ็กกิต

นักบุญทอมัส แบ็กกิต (Thomas Becket) ต่อมารู้จักกันในชื่อ Thomas à Becket เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดใน..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และทอมัส แบ็กกิต · ดูเพิ่มเติม »

คิม แท-ก็อน

นักบุญอันดรูว์ คิม แท-ก็อน (김대건 안드레아 Gim Dae-geon Andeurea) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวเกาหลีองค์แรก ได้พลีชีพเป็นมรณสักขี และได้รับการประกาศเป็นนักบุญในปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และคิม แท-ก็อน · ดูเพิ่มเติม »

ฉากแท่นบูชาเกนต์

วิวเมื่อเปิดบานพับภาพ วิวเมื่อปิดบานพับภาพ ฉากประดับแท่นบูชาเกนต์ (Gents altaarstuk; Ghent Altarpiece) หรือ ลูกแกะของพระเจ้า (Het Lam Gods; Adoration of the Mystic Lamb) เป็นบานพับภาพเขียนเสร็จเมื่อ..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และฉากแท่นบูชาเกนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมนเปโตร

ซีโมนเปโตร (Σιμων Πέτρος ซีมอน เปโตฺรส) หรืออัครทูตเปโตร (Απόστολος Πέτρος อะโปสโตโลส เปโตฺรส) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญเปโตร (Saint Peter) เดิมชื่อซีโมน เป็นชาวประมงคนหนึ่งของตำบลเบทไซดา (ลก. 5:3;ยน.1:44) แต่ว่าต่อมาได้ย้ายมาตั้งหลักแหล่งที่เมืองคาร์เปอร์นาอุม (มก. 1: 21.29) นักบุญอันดรูว์ น้องชายของท่านได้เป็นคนแนะนำให้ท่านติดตามพระเยซู (ยน. 1:42) และอาจเป็นนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาที่ได้เป็นผู้ตระเตรียมจิตใจของท่านสำหรับการพบปะครั้งสำคัญของท่านกับพระเยซู พระเยซูทรงได้เปลี่ยนชื่อท่านใหม่ว่าเปโตร ซึ่งแปลว่า "ศิลา" (มธ. 16: 17-19) ครั้งหนึ่งพระเยซูตรัสถามท่านว่า "ท่านคิดว่าเราเป็นใคร" และเปโตรได้ทูลว่า "พระองค์คือพระคริสต์ พระบุตรพระเป็นเจ้า" พระเยซูจึงตรัสว่า "เราจะตั้งเราเป็นหัวหน้าแทนท่าน ทั้งจะมอบกุญแจอาณาจักรสวรรค์" (มธ. 16: 15-19) สัญลักษณ์ที่เห็นเด่นชัดในภาพคือ มือของท่านมีลูกกุญแจ เปโตรเป็นพยานบุคคลผู้หนึ่งที่ได้แลเห็นพระคูหาว่างเปล่าของพระอาจารย์ (ยน. 20:6) และได้เห็นการคืนพระชนม์ของพระเยซู (ลก. 23:34) หลังจากที่พระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว ท่านก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำบรรดาคริสตชน (กจ. 1: 15; 15:7) ได้กล่าวสรุปข่าวดี (พระวรสาร) (กจ. 2:14-41) และท่านเองเป็นคนแรกที่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเปิดคริสตจักรไปสู่พวกคนต่างชาติ (กจ.10-11) เปโตรเขียนจดหมาย 2 ฉบับที่ทรงคุณค่าอย่างมากคือ 1 และ 2 เปโตร ท้ายที่สุดเปโตรได้เสียสละชีวิตเพื่อพระเยซูตามคำทำนายของพระองค์ (ยน 21.18-19) ภารกิจด้านวิญญาณที่ได้รับมอบหมายมิใช่ว่าจะช่วยให้ท่านหมดจากสภาพของความเป็นคนหรือจากข้อบกพร่องต่าง ๆ ทางอารมณ์ก็หาไม่ (มธ.10: 41; 14:26,66-72; ยน. 13: 6;18:10; มธ. 14: 29-31) เปาโลอัครทูตเองก็มิได้ลังเลใจแต่อย่างใดที่จะพูดจาต่อว่าท่านเวลาที่พบกันที่เมืองแอนติออก (กจ.15; กท. 2:11-14) เพื่อเชิญชวนท่านว่าไม่ต้องปฏิบัติตามแบบของพวกยิว ในเรื่องนี้รู้สึกว่าเปโตร ยังตัดสินใจช้าและยังถือว่ากลุ่มคริสตชนซึ่งเดิมทีเป็นคนต่างศาสนาก็ยังด้อยกว่าหรือเป็นรองกลุ่มคริสตชนที่เดิมทีเป็นชาวยิว (กจ. 6: 1-2) ต่อเมื่อเปโตรได้มาที่กรุงโรม เมื่อนั้นแหละท่านจึงจะได้กลายเป็นอัครทูตของทุก ๆ คน และได้ทำหน้าที่ของท่านอย่างครบถ้วนคือเป็น "ศิลาหัวมุม" ของคริสตจักรของพระเยซูโดยรวมชาวยิวและคนต่างศาสนาให้เข้ามาอยู่ภายในอาคารเดียวกัน และท่านได้ประทับตราภารกิจหน้าที่นี้ด้วยการหลั่งโลหิตของท่านตามแบบพระอาจารย์ คริสตจักรโรมันคาทอลิกถือว่าท่านเป็นพระสันตะปาปาองค์แรก ท่านถูกจับตรึงกางเขน และได้ขอร้องให้หันศีรษะท่านลง เพราะคิดว่าไม่สมควรที่จะตายในลักษณะเดียวกับพระเยซูผู้เป็นพระอาจาร.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และซีโมนเปโตร · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ตราแผ่นดินเดนมาร์ก ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก (History of Denmark) ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรเดนมาร์กมีจุดเริ่มต้นเมื่อย้อนกลับไป 12,000 ปีก่อน ในช่วงการสิ้นสุดยุคน้ำแข็งช่วงสุดท้าย ด้วยจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ เรื่องราวของชาวเดนส์ได้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในเอกสารครั้งแรกในช่วงปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และประวัติศาสตร์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญฟีโลเมนา

รูปปั้นของนักบุญฟิโลเมนา นักบุญฟีโลเมนา หรือ นักบุญฟิโลมินา (Philomena) เป็นเด็กหญิงพรหมจารีย์ซึ่งเป็นนักบุญในนิกายโรมันคาทอลิก ที่เชื่อในพระเยซูคริสต์อย่างสุดชีวิต ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นบุคคลที่มีการมรณสักขีที่น่าจะมีอายุน้อยที่สุด เพราะเธอมีอายุเพียง13ปีเท่านั้น.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญฟีโลเมนา · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญลอว์เรนซ์

นักบุญลอว์เรนซ์ (Saint Lawrence; Laurentius) เป็นหนึ่งในเจ็ดพันธบริกรแห่งคริสตจักรกรุงโรม ได้ถวายงานรับใช้สมเด็จพระสันตะปาปาซิกซ์ตุสที่ 2 เมื่อจักรพรรดิวาเลเรียนเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนในปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญลอว์เรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญสเทเฟน

นักบุญสเทเฟนกำลังเทศน์ นักบุญสเทเฟน (Saint Stephen; Στέφανος Stephanos) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เสียชีวิตเมื่อราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญสเทเฟน · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญอักแนส

นักบุญอักแนส (Sancta Agnes) หรืออักแนสแห่งโรม เป็นคริสต์ศาสนิกชนสตรีชาวโรมันและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดเมื่อราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญอักแนส · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญอัลบันแห่งไมนซ์

นักบุญอัลบันแห่งไมนซ์ (Saint Alban of Mainz) เป็นนักบุญในคริสต์ศาสนาและเป็นมรณสักขีหรือผู้พลีชีพเพื่อศาสนา ผู้เกิดเมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 4 อาจจะเป็นกรีซหรือแอลเบเนีย ถึงแก่กรรมเมื่อราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญอัลบันแห่งไมนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญอันดรูว์

อันดรูว์อัครทูต (Ανδρέας อันเดฺรอัส; Andrew แอนดฺรูว) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญอันดรูว์ เป็นนักบุญและมรณสักขีในคริสต์ศาสนา เกิดเมื่อราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 1 ที่เมืองเบ็ธไซดาบนฝั่งทะเลกาลิลี และเสียชีวิตโดยการถูกตรึงกางเขนบนกางเขนรูป “X” เมื่อราวกลางหรือปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 ที่เมืองเพ็ทราส์ ในประเทศกรีซปัจจุบัน นักบุญอันดรูว์ เป็นหนึ่งในอัครทูตสิบสององค์ของพระเยซู ในคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ เรียกนักบุญอันดรูว์ว่า “Protocletos” หรือ “ผู้ถูกเรียกคนแรก” ชื่อ “แอนดรูว” มาจากภาษากรีกที่แปลว่า “เกียรติ” เช่นเดียวกับชื่อภาษากรีกอื่น ๆ เป็นชื่อที่ชาวยิวใช้กันทั่วไปในระหว่างร้อยถึงสองร้อยปีก่อนคริสต์ศตวรรษ เท่าที่ทราบนักบุญอันดรูว์ไม่มีชื่อบ่งเป็นภาษาฮิบรูและภาษาอราเมอิก ตามพันธสัญญาใหม่นักบุญแอนดรูว์เป็นลูกของโยนาห์หรือยอห์น (มัทธิว; ยอห์น) เกิดที่เมืองเบ็ธไซดาบนฝั่งทะเลกาลิลี(ยอห์น) และเป็นน้องชายของซีโมนเปโตร เปโตรและอันดรูว์เดิมเป็นชาวประมงฉะนั้นเมื่อพระเยซูเรียกตัวมาเป็นอัครทูตโดยกล่าวว่าเจ้าจงเป็น “ชาวประมงหามนุษย์” (ภาษากรีก: ἁλιείς ἀνθρώπων “halieis anthropon”)Metzger & Coogan (1993) Oxford Companion to the Bible, p 27.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญอันดรูว์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์

นักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์ (ภาษาอังกฤษ: Fourteen Holy Helpers; ภาษาเยอรมัน: Vierzehn Nothelfer) เป็นกลุ่มนักบุญทางคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกผู้เชื่อกันว่ามีอำนาจในการป้องกันภัยพิบัติโดยเฉพาะโรคร้าย กลุ่ม “Nothelfer” หรือ “ผู้ช่วยยามยาก” ก่อตั้งเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในบริเวณไรน์แลนด์ในประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน โดยมีสาเหตมาจากโรคระบาดซึ่งอาจจะเป็นกาฬโรคก็เป็นได้ ในจำนวนนักบุญ 14 องค์ 3 องค์เป็นพรหมจารี: นักบุญมาร์กาเร็ตแห่งอันติโอก, นักบุญบาร์บารา และ นักบุญแคทเธอรีนแห่งอเล็กซานเดรีย จากนักบุญ 3 องค์ก็เพิ่มเป็น 14 ที่จะเห็นในงานศิลปะ ลัทธินิยมนี้เริ่มในสำนักสงฆ์ที่เป็นที่เก็บวัตถุมงคลของนักบุญ นักบุญทุกคนในกลุ่มยกเว้นนักบุญไจลส์ล้วนแต่เป็นมรณสักขีหรือผู้พลีชีพเพื่อศาสนา นักบุญคริสโตเฟอร์ และ นักบุญไจลส์เป็นนักบุญเพื่อป้องกันเชื้อโรคโดยตรง นักบุญเด็นนิสเป็นนักบุญเพื่อผ่อนคลายการปวดหัว, นักบุญเบลสเป็นนักบุญสำหรับเมื่อเจ็บคอ, นักบุญอิราสมัสแห่งฟอร์เมียเป็นนักบุญสำหรับเวลาเจ็บท้อง, นักบุญบาร์บาราเมื่อเป็นไข้, นักบุญไวทัสเมื่อชัก, นักบุญแพนทาลิออนเป็นผู้พิทักษ์แพทย์, นักบุญไซริอาคัสเมื่อนอนเจ็บ, นักบุญคริสโตเฟอร์, บาร์บารา และ แคทเธอรีนป้องกันการตายโดยไม่รู้ตัว นักบุญไจลส์ไว้สวดเพื่อสารภาพบาป นักบุญยูสตัสเป็นผู้พิทักษ์เมื่อมีปัญหาในครอบครัว สำหรับสัตว์เลี้ยงที่ติดโรคก็ต้องสวดมนต์ต่อนักบุญจอร์จ, นักบุญเอลโม และนักบุญแพนทาลิออน นักบุญมาร์กาเร็ตป้องกันหญิงมีครรภ์ เมื่อลัทธินิยมนักบุญสิบสี่องค์เป็นที่แพร่หลายในคริสต์ศตวรรษที่ 16 สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5 ก็ให้ฎีกาไถ่บาป (indulgence) ให้แก้ผู้สักการะในลัทธิ แม้ว่านักบุญแต่ละองค์จะมึวันสมโภชของตนเองแต่การฉลองสำหรับ 14 องค์รวมกันทำกันในวันที่ 8 สิงหาคม แต่มิได้อยู่ในปฏิทินฉลองทางการของนิกายโรมันคาทอลิก เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปฏิทินเมื่อปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญจอร์จ

นักบุญจอร์จ (St.) เกิดเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญจอร์จ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญถือศีรษะ

นักบุญเดนิส นักบุญถือศีรษะ (Cephalophore) ในภาษาอังกฤษ "Cephalophore" มาจากภาษากรีกโบราณที่แปลว่า "ผู้ถือศีรษะ" หมายถึงนักบุญผู้ที่มักจะแสดงเป็นภาพผู้ถือศีรษะของตนเอง ที่โดยทั่วไปหมายถึงมรณสักขีในศาสนาคริสต์ที่ถูกสังหารโดยการบั่นคอ เมื่อถือศีรษะอยู่ในอ้อมแขนก็ทำให้ยากต่อจิตรกรในการพยายามวาดรัศมีที่เป็นสัญลักษณ์ว่าเป็นบุคคลศักดิ์สิทธิ์ ศิลปินบางคนก็วาดรัศมีในบริเวณที่เคยเป็นศีรษะ หรือบางครั้งนักบุญก็จะประคองศีรษะที่มีรัศมี ที่มาของการถือศีรษะมีด้วยกันสองแหล่ง ในความเห็นเกี่ยวกับนักบุญจูเวนตินัสและแม็กซิมัส นักบุญจอห์น คริสซอสตอมกล่าวว่าศีรษะของมรณสักขีเป็นสิ่งที่ทำให้เป็นที่สยดสยองแก่ปีศาจยิ่งไปกว่าเมื่อนักบุญสามารถพูดได้ และคริสซอสตอมเปรียบเทียบต่อไประหว่างทหารที่ได้รับบาดเจ็บในสนามรบกับผู้พลีชีพที่ประคองศีรษะของตนเองและถวายแก่พระเยซู อีกแหล่งหนึ่งมาจาก “ตำนานทอง” เกี่ยวกับประวัติชีวิตของนักบุญเดนิสผู้ก่อตั้งมุขมณฑลปารีสผู้ที่กล่าวกันว่าเป็นคนคนเดียวกับดิโอนิสิอัสผู้เป็นสมาชิกสภาอาเรโอปากัส ฉะนั้นนักบุญถือศีรษะคนแรกที่มีชื่อเสียงที่สุดก็เห็นจะเป็นนักบุญเดนิสนักบุญองค์อุปถัมภ์ปารีส ที่ใน “ตำนานทอง” บรรยายว่าแม้ว่าหลังจากที่ถูกตัดหัวแล้วก็ยังคงเดินต่อไปได้อีกเจ็ดไมล์ไปยังที่ที่เสียชีวิตที่มงมาตร์ขณะที่ดำเนินการเทศนาไปด้วย แม้ว่านักบุญเดนิสจะมีชื่อเสียงที่สุดในบรรดาผู้ถือศีรษะของตนเอง แต่ก็ยังมีนักบุญอื่นอีกหลายองค์ที่อีมิล นูร์รีผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับตำนานพื้นบ้านกล่าวว่ามีด้วยกันอย่างน้อยก็อีก 134 องค์เฉพาะในวรรณกรรมเกี่ยวกับนักบุญของฝรั่งเศสเท่านั้น การที่เรลิกของนักบุญมักจะถูกโขมยกันบ่อยครั้งในสมัยยุคกลางของยุโรป ฉะนั้นการที่นักบุญเองทำการระบุสถานที่ที่ตนต้องการที่จะฝังศพจึงอาจจะเป็นการช่วยหลีกเลี่ยง “การเคลื่อนย้ายเรลิก” (furta sacra หรือ Translation of relics) ก็เป็นได้.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญถือศีรษะ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญดันสตัน

นักบุญดันสตัน (Dunstan) เป็นอธิการอารามกลาสเบอรี บิชอปแห่งเวิร์สเตอร์ บิชอปแห่งลอนดอน และอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี หลังมรณกรรมให้รับการประกาศเป็นนักบุญในปี ค.ศ. 959 ท่านมีบทบาทสำคัญในการฟื้นฟูชีวิตอารามวาสีแบบศาสนาคริสต์และปฏิรูปคริสตจักรในอังกฤษ ออสเบิร์นแห่งแคนเทอร์เบอรี ศิลปินและธรรมาจารย์ ผู้เขียนชีวประวัติของท่านกล่าวว่าท่านมีทักษะด้าน “การวาดภาพและเขียนหนังสือ” ซึ่งเป็นความสามารถตามปกติของนักบวชอาวุโสในสมัยนั้น ท่านยังเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดเมื่อวันที่ ราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญดันสตัน · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญคริสโตเฟอร์

นักบุญคริสโตเฟอร์ (Saint Christopher; Άγιος Χριστόφορος) เป็นชาวคานาอัน ต่อมาได้นับถือศาสนาคริสต์และพลีชีพเป็นมรณสักขีในรัชสมัยจักรพรรดิเดซิอุสแห่งจักรวรรดิโรมันราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 และเป็นหนึ่งในนักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์ คริสตจักรโรมันคาทอลิกถือว่านักบุญคริสโตเฟอร์เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ผู้เดินทางและนักกีฬา แต่เมื่อปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญคริสโตเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเดนิส

นักบุญเดนิสแห่งปารีส เรียกโดยย่อว่านักบุญเดนิส (Dionysius; Denis de Paris เดอนี เดอ ปารี, Denis of Paris; Dionysius; Dennis; Denys) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 ในอิตาลี และเสียชีวิตเมื่อราวปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญเดนิส · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเซซีลีอา

นักบุญเซซีลีอา (Sancta Caecilia) เป็นนักบุญและเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี และเสียชีวิตราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักบุญเซซีลีอา · ดูเพิ่มเติม »

นักพรต

นักพรต (monk)กีรติ บุญเจือ, แก่นปรัชญายุคกลาง, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 131 คือผู้บำเพ็ญพรต หรือผู้ประพฤติตามข้อกำหนดการปฏิบัติทางศาสนาเพื่อข่มกาย ใจ ของตนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และนักพรต · ดูเพิ่มเติม »

แบร์นาร์แห่งแกลร์โว

นักบุญแบร์นาร์แห่งแกลร์โว (Bernard de Clairvaux; Bernard of Clairvaux) เป็นนักบุญในคริสตจักรโรมันคาทอลิกที่เกิดราว ค.ศ. 1090 ที่เมืองฟงแตน-แล-ดีฌง (Fontaine-lès-Dijon) ในประเทศฝรั่งเศส และถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1153 ที่แกลร์โว ในประเทศฝรั่งเศสเช่นกัน นักบุญแบร์นาร์เป็นอธิการอาราม (Abbot) ชาวฝรั่งเศสผู้มีบทบาทสำคัญในการปฏิรูปชีวิตอารามวาสีของคณะซิสเตอร์เชียน (Cistercian) หลังจากที่มารดาเสียชีวิตนักบุญแบร์นาร์ก็เข้าเป็นนักพรตสังกัดคณะซิสเตอร์เชียน สามปีต่อมาก็ถูกส่งไปก่อตั้งอารามใหม่ที่แบร์นาร์ตั้งชื่อว่า “Claire Vallée” (หุบเขาแกลร์) ที่เพี้ยนมาเป็น “Clairvaux” เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และแบร์นาร์แห่งแกลร์โว · ดูเพิ่มเติม »

แมกซิมิเลียน คอลบี

อนุสาวรีย์ของคอลบีแห่งแรก ตั้งอยู่ในโปแลนด์ นักบุญแมกซิมิเลียน มาเรีย คอลบี (Maximilian Maria Kolbe, 8 มกราคม ค.ศ. 1894 - 14 สิงหาคม ค.ศ. 1941) นักบุญในคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นไฟรอาร์คณะฟรันซิสกันคอนเวนชวล (Conventual Franciscan) ชาวโปแลนด์ ผู้อาสาตายแทนคนแปลกหน้าที่ชื่อว่า ฟรานซิส กาโยนิเชค ซึ่งเป็นเชลยในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ ซึ่งตั้งอยู่ในโปแลนด์ใต้อาณัติเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้รับการประกาศเป็นนักบุญและมรณสักขีแห่งเมตตาธรรมเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และแมกซิมิเลียน คอลบี · ดูเพิ่มเติม »

แคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรีย

นักบุญแคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรีย (ภาษาอังกฤษ: St. Catherine of Alexandria หรือ St. Catherine of the Wheel หรือ The Great Martyr Saint Catherine; ภาษากรีก: ἡ Ἁγία Αἰκατερίνη ἡ Μεγαλομάρτυς) เป็นนักบุญเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ ศาสนจักรออร์ทอดอกซ์ถือกันว่านักบุญแคเธอรินเป็นมรณสักขีคนสำคัญ และทางศาสนจักรโรมันคาทอลิกนับนักบุญแคเธอรินเป็นหนึ่งในนักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์ นักบุญแคเธอรินเป็นนักบุญองค์หนึ่งที่มาปรากฏตัวต่อนักบุญโยนออฟอาร.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และแคเธอรินแห่งอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์นักบุญอีเลียน

นักบุญอีเลียน (Church of Saint Elian; كنيسة مار اليان, Kaneesat Mar Elian) เป็นโบสถ์คริสต์นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ตั้งอยู่ที่ถนนเฏาะเราะฟะฮ์ อิบน์ อัลอับด์ (Tarafa ibn al-Abd) ใกล้ประตูเมืองแพลไมราBeattie and Pepper, 2001, p.55.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และโบสถ์นักบุญอีเลียน · ดูเพิ่มเติม »

โธมัสอัครทูต

มัสอัครทูต (Απόστολος Θωμάς อะโปสโตโลส ธอมัส) เป็นนักบุญและมรณสักขีในคริสต์ศาสนา เสียชีวิตเมื่อราว..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และโธมัสอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

โดเมนีโก ซาวีโอ

มนีโก ซาวีโอ (Domenico Savio; 2 เมษายน..) หรือ นักบุญดอมินิก ซาวีโอ เป็นเยาวชนชาวอิตาลี ศิษย์นักบุญโจวันนี บอสโก ถึงแก่มรณกรรมตั้งแต่อายุเพียง 14 ปี ต่อมาได้รับการประกาศเป็นนักบุญโดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 นับเป็นนักบุญที่อายุน้อยที่สุดที่ไม่ใช่มรณสักขีในคริสตจักรโรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และโดเมนีโก ซาวีโอ · ดูเพิ่มเติม »

เกย์ไอคอน

นักแสดงและนักร้อง จูดี การ์แลนด์ หนึ่งในเกย์ไอคอนคนสำคัญ เกย์ไอคอน (Gay icon) คือบุคคลสาธารณะ (อดีตหรือปัจจุบัน) ที่เป็นที่ยอมรับในหมู่เลสเบียน เกย์ ไบเซ็กชวลและคนข้ามเพศ (กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ หรือ LGBT) เกย์ไอคอนส่วนใหญ่มักมีลักษณะดังนี้ มีเสน่ห์ หรูหรา สามารถฝ่าฝันอุปสรรค มีความเป็นทั้งหญิงและชาย เหล่าไอคอนจะมีรสนิยมทางเพศหรือเพศไหนก็ได้ ถ้าเป็นกลุ่ม LGBT จะสามารถเปิดเผยอัตลักษณ์ทางเพศของตนได้หรือไม.

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และเกย์ไอคอน · ดูเพิ่มเติม »

เอดิท ชไตน์

อดิท ชไตน์ (Edith Stein) หรือนักบุญเทเรซา เบเนดิกตา แห่งไม้กางเขน (Saint Teresa Benedicta of the Cross) เป็นนักพรตหญิงนิกายโรมันคาทอลิกชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ท่านได้ถูกขังที่ค่ายกักกันเอาชวิทซ์ และถึงแก่มรณกรรมจากการถูกรมด้วยก๊าซพิษ คริสตจักรโรมันคาทอลิกยกย่องท่านเป็นพรหมจารีและมรณสักขี และได้รับการประกาศเป็นนักบุญโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ในปี..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และเอดิท ชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เซบาสเตียน

นักบุญเซบาสเตียน (St.) เสียชืวิตเมื่อวันที่ 20 มกราคม..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และเซบาสเตียน · ดูเพิ่มเติม »

เปาโล มิกิ

นักบุญเปาโล มิกิ, เว็บไซต์คณะเยสุอิตในประเทศไทย, เรียกข้อมูลวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และเปาโล มิกิ · ดูเพิ่มเติม »

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และ21 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: มรณสักขีในศาสนาคริสต์และ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Christian martyrมรณสักขีของคริสเตียนผู้พลีชีพเพื่อศาสนาผู้พลีชีพเพื่อคริสต์ศาสนา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »