เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มนุษย์

ดัชนี มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

สารบัญ

  1. 823 ความสัมพันธ์: Anterior cingulate cortexAnti-vascular endothelial growth factor therapyบริเวณบรอดมันน์ชอกเวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)ชะมดแผงหางปล้องชะมดเช็ดชะนีบันยิปชาลอมชาดกชิมูระ ชินปาจิชิมูระ ทาเอะชิมแปนซีบิ๊กฟุตชื่อชุมชนชุลีพร ดวงรัตนตรัยชีววิทยาชีววิทยามนุษย์ชีววิทยาของเซลล์ชีวิตมหัศจรรย์ ทรูแมน โชว์บทนำวิวัฒนาการชนิดใกล้สูญพันธุ์ช่วง มูลพินิจช่องประสาทกล้ามเนื้อลิ้นบ่ายบ่างฟิลิปปินช็อกโกแลตช้างอินเดียช้างแอฟริกาฟอลเลน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)ฟาราเมียร์ฟิชเชอร์ฟิล์มนัวร์ฟืนพ.ศ. 2503พ.ศ. 2504พ.ศ. 2540พ.ศ. 2550พ.ศ. 2563พญาแร้งพยาธิกายวิภาคพยาธิใบไม้ในตับพระกษิติครรภโพธิสัตว์พระกาฬไชยศรีพระมารดาพระเจ้าพระวราหะพระวิษณุพระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์พระสงฆ์... ขยายดัชนี (773 มากกว่า) »

Anterior cingulate cortex

ษาอังกฤษว่า anterior cingulate cortex (ตัวย่อ ACC) หมายถึงส่วนหน้าของเปลือกสมองส่วน cingulate cortex ซึ่งมีรูปคล้ายกับ "คอเสื้อ" ที่ล้อมส่วนหน้าของใยประสาทเชื่อมซีกสมองที่เรียกว่า corpus callosum ประกอบด้วยบริเวณบรอดมันน์ 24, 32, และ 33 ทำหน้าที่ต่าง ๆ มากมายเป็นส่วนของระบบประสาทอิสระ (autonomic nervous system) รวมทั้งควบคุมความดันเลือดและอัตราหัวใจเต้น เป็นต้น และยังทำหน้าที่ทางประชานเกี่ยวกับเหตุผลต่าง ๆ เช่น reward anticipation (ผ่านกระบวนการ classical conditioning) การตัดสินใจ การเห็นใจผู้อื่น การควบคุมความอยาก (impulse control) และการควบคุมอารมณ์ความรู้สึก ภาพ MRI แบ่งซ้ายขวา (sagittal) ส่วนเน้นสี แสดงตำแหน่งของ anterior cingulate cortex.

ดู มนุษย์และAnterior cingulate cortex

Anti-vascular endothelial growth factor therapy

Anti-vascular endothelial growth factor therapy หรือ anti-VEGF therapy หรือ anti-VEGF medication เป็นการระงับแฟกเตอร์ซึ่งโปรโหมตการเติบโตของเส้นเลือดที่เนื้อเยื่อบุโพรง คือ vascular endothelial growth factor (VEGF) เพื่อรักษามะเร็งบางอย่างและจุดภาพชัดเสื่อมเนื่องกับอายุ (AMD) ด้วยสารภูมิต้านทานโมโนโคลน เช่น bevacizumab (Avastin), ด้วยสารอนุพันธ์ เช่น ranibizumab (Lucentis), และด้วยโมเลกุลเล็ก ๆ ที่ใช้ทานได้ซึ่งยับยั้งเอนไซม์ tyrosine kinase ที่เริ่มทำงานอาศัย VEGF โมเลกุลรวมทั้ง lapatinib, sunitinib, sorafenib, axitinib, และ pazopanib โดยยาเหล่านี้บางอย่างมีหน่วยรับ VEGF เป็นเป้าหมาย ไม่ใช่มี VEGF เป็นเป้าหมายโดยตรง สารประกอบที่เป็นสารภูมิต้านทานทั้งสอง และยากิน 3 อย่างแรกมีวางขายในตลาด ส่วนยากิน 2 อย่างหลังคือ axitinib และ pazopanib ยังอยู่ในระยะการทดลองทางคลินิกเพื่อรักษาโรคนี้ งานปี 2008 ได้สรุปว่า ยาต้าน VEGF ได้แสดงประสิทธิผลในการรักษามะเร็งทั้งในหนูแบบจำลองและในมนุษย์ แต่ "ประโยชน์ที่ได้อย่างดีที่สุดก็ชั่วคราว แล้วก็ตามด้วยการฟื้นคืนการเจริญเติบโตของเนื้องอก" งานศึกษาต่อ ๆ มาเกี่ยวกับผลของยายับยั้ง VEGF ยังแสดงด้วยว่า แม้ยาอาจลดการเติบโตของเนื้องอกหลัก แต่ก็สามารถโปรโหมตการแพร่กระจายของเนื้องอกไปพร้อม ๆ กัน ส่วน AZ2171 (cediranib) ซึ่งเป็นยายับยั้ง tyrosine kinase แบบหลายเป้าหมายได้แสดงว่า มีผลต้านบวม (anti-edema) โดยลดสภาพให้ซึมผ่านได้ และช่วยปรับเส้นเลือดให้เป็นปกติ งานปริทัศน์เป็นระบบของคอเครนปี 2014 ศึกษาประสิทธิผลของ ranibizumab และ pegaptanib ในคนไข้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับอาการบวมในจุดภาพชัด (macular edema) ที่มีเหตุจากการอุดตันของเส้นเลือด คือ central retinal vein ในจอตา คนไข้ที่อยู่ในกลุ่มรักษาทั้งสองกลุ่มดีขึ้นทั้งในการเห็นภาพชัด (visual acuity) และการลดอาการบวมที่จุดภาพชัดในช่วงเวลา 6 เดือน.

ดู มนุษย์และAnti-vascular endothelial growth factor therapy

บริเวณบรอดมันน์

ตบร็อดแมนน์ 3-มิติ ผิวด้านข้างของสมอง เขตบร็อดแมนน์ต่าง ๆ มีตัวเลขกำกับ เขตบร็อดแมนน์ (Brodmann area) เป็นการกำหนดเขตต่าง ๆ ในเปลือกสมองของมนุษย์ มีการจำกัดขอบเขตโดยโครงสร้างและการจัดระเบียบของเซลล์ (cytoarchitectonics).

ดู มนุษย์และบริเวณบรอดมันน์

ชอกเวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

อกเวฟ (Shockwave) เป็นชื่อตัวละครหุ่นยนต์ฝ่ายเดสทรอน หรือ ดีเซปติคอนส์ จากการ์ตูนชุดเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (Transformers).

ดู มนุษย์และชอกเวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

ชะมดแผงหางปล้อง

มดแผงหางปล้อง (Large indian civet;; อีสาน: เหง็นแผงหางก่าน) เป็นชะมดชนิดหนึ่ง มีลำตัวสีเทาค่อนข้างดำ มีลายสีดำข้างลำตัว ข้างลำคอมีเส้นสีดำสามแถบพาดผ่านในแนวขวาง มีจุดเด่น คือ ส่วนหางมีลายสีดำสลับกับขาวเป็นปล้อง ๆ 5-6 ปล้อง มีขนสีดำสนิทพาดตั้งแต่กึ่งกลางหลังจนถึงโคนหาง เท้ามีสีดำ ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย จัดเป็นชะมดที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีความยาวลำตัวและหัว 75-85 เซนติเมตร ความยาวหาง 38-46 เซนติเมตร น้ำหนักตัว 8-10 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, อินโดจีน, ประเทศจีน, ฮ่องกง, มาเลเซีย และสิงคโปร์ สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้ในป่าหลากหลายประเภท แม้กระทั่งใกล้ชุมชนของมนุษย์ หากินในเวลากลางคืน กินอาหารได้หลากหลาย โดยจับเหยื่อจะใช้ฟันกัดและสะบัดอย่างแรงจนเหยื่อตายมากกว่าจะใช้เล็บตะปบ ตอนกลางวันจะนอนหลับตามโพรงไม้หรือโพรงหินหรือในถ้ำ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ดู มนุษย์และชะมดแผงหางปล้อง

ชะมดเช็ด

มดเช็ด หรือ ชะมดเชียง หรือ มูสัง (Indian small civet) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง จัดเป็นชะมดขนาดเล็ก ขาสั้น หูทั้งสองข้างอยู่ใกล้กัน เมื่อมองไกล ๆ อาจคล้ายแมว จนตามลำตัวมีสีน้ำตาลเหลือง และมีจุดสีดำขนาดเล็กแทรกอยู่ทั่วไปตามลำตัว มีแถบสีดำและขาวบริเวณลำคอ หางมีวงสีดำ 6-9 ปล้องพาดขวางอยู่ ทำให้มีดูมีลักษณะเป็นปล้องสีดำ ไม่มีขนแผงสันหลัง ปลายหางมีสีขาว ขาหลังมีต่อมกลิ่นที่ใช้สื่อสารระหว่างพวกเดียวกัน และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล ViverriculaBlanford, W.

ดู มนุษย์และชะมดเช็ด

ชะนี

นี (วงศ์: Hylobatidae; Gibbons; ภาษาเหนือ: อี่ฮุย, อี่วุย) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับวานร (Primates) เป็นลิงไม่มีหาง ซึ่งชะนีถูกจัดให้อยู่ในวงศ์ Hylobatidae และถูกจัดให้เป็น 1 ใน 4 ลิงที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด (ประกอบไปด้วย ชะนี, ชิมแปนซี, อุรังอุตัง, กอริลลา ซึ่งชะนีมีความใกล้เคียงมนุษย์น้อยที่สุดในบรรดาทั้ง 4 นี้ เนื่องจากมีแขนขาเรียวยาว มีฟันเขี้ยวที่แหลมคม และใช้ชีวิตหากินอยู่บนต้นไม้มากกว่าพื้นดิน) ซึ่งนับว่าชะนีมีแขนที่ยาวที่สุดในบรรดาสัตว์อันดับวานรทั้งหมด และมีฟันที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า Myers, P.

ดู มนุษย์และชะนี

บันยิป

ันยิป บนหนังสือพิมพ์ อิลลัสสเตรส ออสเตรเลียน นิวส์ ในปี ค.ศ. 1890 บันยิป หรือ เคียนปราตี (Bunyip, Kianpraty) เป็นชื่อเรียกสัตว์ประหลาดในตำนานพื้นบ้านของชาวอะบอริจินส์ ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองของออสเตรเลีย บันยิปถูกอธิบายถึงรูปลักษณ์ที่แตกต่างกันมากมาย เช่น หน้าแบนเหมือนสุนัขพันธุ์บูลด็อกและหางเหมือนปลา หรือคอยาวและมีจะงอยปากเหมือนนกอีมูและมีขนแผงคอที่ห้อยย้อยลงมาเหมือนงูทะเล หรือแม้แต่กระทั่งเหมือนมนุษย์ โดยความเชื่อเรื่องบันยิปนี้มีกระจายไปทั่วออสเตรเลี.

ดู มนุษย์และบันยิป

ชาลอม

"ชาลอม" ในภาษาฮีบรู ชาลอม (ฮีบรู: שָׁלוֹם, ฮีบรูเซฟาร์ติก/ฮีบรูอิสราเอล: Shalom; ฮีบรูอาซเกนาซี/ยิดดิช: Sholem, Shoilem, Shulem) เป็นคำภาษาฮีบรูที่หมายถึง สันติภาพ ความสมบูรณ์ และสวัสดิภาพ และสามารถใช้เป็นสำนวนในความหมายทั้งสวัสดีและลาก่อน คำนี้สามารถหมายถึงสันติภาพระหว่างสิ่งที่มีอยู่จริงสองอย่าง (โดยเฉพาะระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าหรือระหว่างสองประเทศ) หรือความเป็นอยู่ที่ดี สวัสดิภาพหรือความปลอดภัยของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล คำคำนี้ยังพบในรูปแบบอื่นๆอีก โดยมีความหมายเช่นเดียวกับ salaam ในภาษาอาหรับ sliem ในภาษามอลตา Shlama (ܫܠܡܐ) ในภาษาซีเรียค และภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย และ sälam ในภาษากลุ่มเซมิติกในเอธิโอเปีย คำเหล่านี้มีที่มาจากรากศัพท์ S-L-M ในภาษาเซมิติกดั้งเดิม.

ดู มนุษย์และชาลอม

ชาดก

ก (-saजातक) คือ เรื่องราวหรือชีวประวัติในอดีตชาติของพระโคตมพุทธเจ้า คือ สมัยที่พระองค์เป็นพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีอยู่ พระองค์ทรงนำมาเล่าให้พระสงฆ์ฟังในโอกาสต่าง ๆ เพื่อแสดงหลักธรรมสุภาษิตที่พระองค์ทรงประสงค์ เรียกเรื่องในอดีตของพระองค์นี้ว่า ชาดก ชาดกเป็นเรื่องเล่าคล้ายนิทาน บางครั้งจึงเรียกว่า นิทานชาดก ชาดกที่ทรงเล่านั้นมีหลายร้อยเรื่อง ว่าทรงเคยเกิดเป็นมนุษย์บ้าง เป็นสัตว์บ้าง แต่ที่รู้จักกันโดยทั่วไป คือ 10 ชาติสุดท้ายที่เรียกว่าทศชาติชาดก และชาติสุดท้ายที่สุดที่ทรงเสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดร จึงเรียกเรื่องพระเวสสันดรนี้ว่า มหาเวสสันดรชาดก.

ดู มนุษย์และชาดก

ชิมูระ ชินปาจิ

มูระ ชินปาจิ เป็นหนึ่งในตัวละครหลักในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ เป็นสมาชิกคนที่ 2 ของร้านรับจ้างสารพัด มักทำหน้าที่ตบมุกตัวละครอื่น.

ดู มนุษย์และชิมูระ ชินปาจิ

ชิมูระ ทาเอะ

มูระ ทาเอะ หรือ โอทาเอะ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ เป็นพี่สาวของชิมูระ ชินป.

ดู มนุษย์และชิมูระ ทาเอะ

ชิมแปนซี

มแปนซี (Chimpanzee; ชื่อวิทยาศาสตร์: Pan troglodytes) เป็นลิงไม่มีหางที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที.

ดู มนุษย์และชิมแปนซี

บิ๊กฟุต

กฟุตในภาพเคลื่อนไหวจากกล้องวิดีโอ ในปี ค.ศ. 1967 รู้จักกันดีในชื่อของภาพยนตร์ของแพตเตอร์สัน–กิมลิน (Patterson–Gimlin film) บิ๊กฟุต (Bigfoot) หรือ แซสแควตช์ (Sasquatch) หรือชื่อที่แปลตรงตัวว่า "ไอ้ตีนโต" เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่เชื่อว่ามีรูปร่างคล้ายมนุษย์หรือเอป แต่มีขนดก พบในสหรัฐอเมริกาและแคนาดาในทวีปอเมริกาเหนือ โดยชื่อที่เรียกมีที่จากรอยเท้าที่มีลักษณะคล้ายมนุษย์แต่ใหญ่โตกว่ามาก ส่วนใหญ่บรรยายว่ามีความสูงถึง 8 ฟุต หรือ 9 ฟุต น้ำหนักอาจถึง 800 ปอนด์ มีขนดกปกคลุมทั่วตัวสีเข้ม มีแขนยาว ไร้คอ และใบหน้าเหมือนมนุษย์ มีตาแหลมคม มีพละกำลังมหาศาลสามารถทุ่มก้อนหินขนาดเท่าลูกบาสเก็ตบอลไปไกลได้อย่างสบาย และมีสัตว์ลักษณะคล้ายเคียงกันที่พบในภูมิภาคอื่นของโลก เช่น ที่เทือกเขาหิมาลัยในเนปาล เรียกเป็นภาษาพื้นเมืองว่า "เยติ" (เนปาล: यती; Yeti) หรือ มนุษย์หิมะ ที่ออสเตรเลียเรียกว่า "ยาวี" (Yowie) เป็นต้น โดยบิ๊กฟุตยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ ต่างกันไปตามแต่ละชนเผ่าของอินเดียนแดง ซึ่งเป็นกลุ่มปฐมชาติของทวีปอเมริกาเหนือ เช่น "มายาเด็กเท็ก" ที่แปลได้ว่า "มนุษย์ขนดก" หรือ "มนุษย์กิ่งไม้", "หญิงตะกร้า" หรือ "ยายาริ" และคำว่า "แซสแควตช์" ตั้งขึ้นมาเมื่อปี..

ดู มนุษย์และบิ๊กฟุต

ชื่อ

ื่อ คือสิ่งที่มนุษย์ได้สร้างขึ้นเป็นคำต่าง ๆ เพื่อใช้แทนคน '''สัตว์''' สิ่งของ หรือสิ่งที่เป็นนามธรรมที่สามารถสัมผัสหรือรู้สึกได้ เพื่อนำมาเรียกหรืออ้างถึง การใช้ชื่อเรียกแทนบุคคลเป็นสิ่งที่ควรที่ตั้งแต่เกิดหากไม่ได้เป็นคนเร่ร่อน ตามกฎหมายแล้วบังคับให้ประชาชนทุกคนต้องมีชื่อตั้งแต่เกิด ซึ่งชื่ออาจจะซ้ำกันได้.

ดู มนุษย์และชื่อ

ชุมชน

ชุมชน คือกลุ่มคนที่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกัน โดยมีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน หมวดหมู่:สังคม หมวดหมู่:ชุมชน.

ดู มนุษย์และชุมชน

ชุลีพร ดวงรัตนตรัย

ลีพร ดวงรัตนตรัย (ชื่อเล่น ปุ๊กกี้) เกิด 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 เป็นนักแสดงชาวไทย การแสดงของเธอสามารถเรียกเสียงหัวเราะและสร้างสีสันให้กับละครทุกเรื่องในบทตลกร้ายอารมณ์ขัน และภาพลักษณ์หญิงเจ้าเนื้อใส่แว่น จึงเป็นที่จดจำของแฟนละครได้ไม่ยาก เธอเป็นที่รู้จักกันในการแสดงละครเรื่อง อรุณสวัสดิ์ เมื่อปี 2535 ทางช่อง 7 ทางด้านการแสดงภาพยนตร์เธอเป็นที่รู้จักกันในการแสดงภาพยนตร์เรื่อง หลบผี ผีไม่หลบ เมื่อปี 2546.

ดู มนุษย์และชุลีพร ดวงรัตนตรัย

ชีววิทยา

ีววิทยา (Biology) เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต และสิ่งมีชีวิต ซึ่งรวมถึง โครงสร้าง การทำงาน การเจริญเติบโต ถิ่นกำเนิด วิวัฒนาการ การกระจายพันธุ์ และอนุกรมวิธาน โดยเป็นการศึกษาในทุก ๆ แง่มุมของสิ่งมีชีวิต โดยคำว่า ชีววิทยา (Biology) มาจากภาษากรีก คือคำว่า "bios" แปลว่า สิ่งมีชีวิต และ "logos" แปลว่า วิชา หรือการศึกษาอย่างมีเหตุผล.

ดู มนุษย์และชีววิทยา

ชีววิทยามนุษย์

ีววิทยามนุษย์ (Human biology) เป็นสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับหลายสาขาวิชารวมกัน ไม่ว่าจะเป็นชีววิทยา, มานุษยชีววิทยา และแพทยศาสตร์ ซึ่งมุ่งเน้นไปที่มนุษย์ มีความเกี่ยวข้องกับชีววิทยาของไพรเมตและสาขาอื่นๆ อีกมาก การวิจัยทางชีววิทยามนุษย์เกี่ยวข้องกั.

ดู มนุษย์และชีววิทยามนุษย์

ชีววิทยาของเซลล์

Understanding cells in terms of their molecular components. ชีววิทยาของเซลล์ หรือ วิทยาเซลล์ (cell biology หรือ cytology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ ทั้งในด้านคุณสมบัติทางสรีรวิทยา, โครงสร้าง, ออร์แกเนลล์ที่อยู่ภายใน, ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม, วัฎจักรเซลล์, การแบ่งเซลล์, และการตายของเซลล์ การศึกษาคุณสมบัติของเซลล์ดังกล่าวเป็นการศึกษาในระดับจุลทรรศน์และระดับโมเลกุล การวิจัยในทางชีววิทยาของเซลล์นั้นกว้างขวางและหลากหลายมากตั้งแต่ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอย่างแบคทีเรียไปจนถึงเซลล์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่นในมนุษย์ ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของเซลล์และการทำงานของเซลล์เป็นพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ชีวภาพทุกสาขา ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างเซลล์แต่ละชนิดมีความสำคัญในด้านชีววิทยาของเซลล์และอณูชีววิทยา การศึกษาชีววิทยาเซลล์นั้นมีความเกี่ยวข้องกับพันธุศาสตร์, ชีวเคมี, อณูชีววิทยา และชีววิทยาของการเจริญ.

ดู มนุษย์และชีววิทยาของเซลล์

ชีวิตมหัศจรรย์ ทรูแมน โชว์

ีวิตมหัศจรรย์ ทรูแมน โชว์ ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดเรื่อง The Truman Show ออกฉายที่สหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ.

ดู มนุษย์และชีวิตมหัศจรรย์ ทรูแมน โชว์

บทนำวิวัฒนาการ

"ต้นไม้บรรพชีวินวิทยาของสัตว์มีกระดูกสันหลัง" จากหนังสือ ''วิวัฒนาการมนุษย์'' ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5 (ลอนดอน, 1910) ของเฮเกิล (Ernst Haeckel) ประวัติวิวัฒนาการของสปีชีส์ต่าง ๆ สามารถจัดเป็นรูปต้นไม้วิวัฒนาการชาติพันธุ์ โดยมีสาขามากมายงอกออกจากลำต้นเดียวกัน วิวัฒนาการ (evolution) เป็นการเปลี่ยนแปลงในสรรพชีวิตตลอดหลายรุ่น และศาสตร์ชีววิทยาวิวัฒนาการ (evolutionary biology) เป็นศึกษาว่าเกิดขึ้นอย่างไร ประชากรสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาผ่านการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมซึ่งเข้ากับการเปลี่ยนแปลงลักษณะปรากฏของสิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมรวมทั้งการกลายพันธุ์ ซึ่งเกิดจากความเสียหายของดีเอ็นเอหรือข้อผิดพลาดในการถ่ายแบบดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต เมื่อความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรเปลี่ยนไปอย่างไม่เจาะจงแบบสุ่มเป็นเวลาหลายรุ่นเข้า การคัดเลือกโดยธรรมชาติจะเป็นเหตุให้พบลักษณะสืบสายพันธุ์มากขึ้นหรือน้อยลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป ขึ้นอยู่กับความสำเร็จทางการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเช่นนั้น โลกมีอายุประมาณ 4,540 ล้านปี และหลักฐานสิ่งมีชีวิตเก่าแก่ที่สุดโดยไม่มีผู้คัดค้านสืบอายุได้อย่างน้อย ระหว่างมหายุคอีโออาร์เคียนหลังเปลือกโลกเริ่มแข็งตัว หลังจากบรมยุคเฮเดียนก่อนหน้าที่โลกยังหลอมละลาย มีซากดึกดำบรรพ์แบบเสื่อจุลินทรีย์ (microbial mat) ในหินทรายอายุ ที่พบในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย หลักฐานรูปธรรมของชีวิตต้น ๆ อื่นรวมแกรไฟต์ซึ่งเป็นสสารชีวภาพในหินชั้นกึ่งหินแปร (metasedimentary rocks) อายุ ที่พบในกรีนแลนด์ตะวันตก และในปี 2558 มีการพบ "ซากชีวิตชีวนะ (biotic life)" ในหินอายุ ในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย Early edition, published online before print.

ดู มนุษย์และบทนำวิวัฒนาการ

ชนิดใกล้สูญพันธุ์

ันธุ์ใกล้สูญพันธุ์ คือสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงสูงต่อการสูญพันธุ์ วลีนี้ถูกใช้เรียกอย่างคลุมเครือถึงสปีชีส์ที่มีคำอธิบายเป็นดังข้างต้น แต่สำหรับนักชีววิทยาอนุรักษ์จะหมายถึงสปีชีส์ที่อยู่ในกลุ่มใกล้การสูญพันธุ์ในบัญชีแดงของสหภาพเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ ซึ่งเป็นสถานะการอนุรักษ์ที่มีความร้ายแรงเป็นลำดับที่สอง รองจากกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงขั้นวิกฤติต่อการสูญพันธุ์ ปัจจุบันมีสัตว์และพืช 3079 และ 2655 ชนิดตามลำดับที่จัดอยู่ในกลุ่มใกล้สูญพันธุ์ เทียบกับในปี..

ดู มนุษย์และชนิดใกล้สูญพันธุ์

ช่วง มูลพินิจ

วง มูลพินิจ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปี พ.ศ. 2556 เป็นศิลปินที่มีชื่อเสียงชาวไทย มีผลงานปรากฏทั้งในด้านจิตรกรรมและประติมากรรมตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมา งานของช่วงในระยะแรกเริ่มเป็นภาพลายเส้นประยุกต์ลายไทย ต่อมาจึงใช้เทคนิคสีน้ำ และสีน้ำมัน ผลงานส่วนใหญ่แสดงถึงเรื่องราวของดอกไม้ แมลง สัตว์ มนุษย์ ผนึกเรื่องราวทางอุดมคติกับธรรมชาต.

ดู มนุษย์และช่วง มูลพินิจ

ช่องประสาทกล้ามเนื้อลิ้น

องประสาทกล้ามเนื้อลิ้น (hypoglossal canal) เป็นช่องหรือคลองที่อยู่ในกระดูกท้ายทอย (occipital bone) ของกะโหลกศีรษ.

ดู มนุษย์และช่องประสาทกล้ามเนื้อลิ้น

บ่าย

Türkenschanzpark ในเวียนนาระหว่างเวลาบ่ายอ่อน ๆ ผู้เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน ในนครนิวยอร์กระหว่างเวลาบ่ายแก่ ๆ บ่าย เป็นเวลาของวัน อยู่ระหว่างเที่ยงวันและเวลาเย็น บ่ายเป็นเวลาที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนตัวลงจากจุดจอมฟ้าบนท้องฟ้ามาจนถึงจุดใด ๆ ก่อนถึงปลายทางที่ขอบฟ้าในทิศตะวันตก ในชีวิตของมนุษย์ เวลาบ่ายคือช่วงเวลาครึ่งหลังของการทำงานและเวลาเรียน เวลาบ่ายยังมีความเกี่ยวข้องกับสุขภาพ ความปลอดภัย และผลิตภาพทางเศรษฐกิจด้วย โดยทั่วไป ในช่วงบ่ายอ่อน ๆ หลังจากคนส่วนใหญ่กินอาหารกลางวันกัน พวกเขาจะมีสมรรถนะในการทำงานลดลง ความตื่นตัวลดลง และความเป็นไปได้สูงที่จะเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต.

ดู มนุษย์และบ่าย

บ่างฟิลิปปิน

งฟิลิปปิน (Philippine Flying Lemur) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง บ่างฟิลิปปินจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงหนึ่งในสองชนิดเท่านั้นที่อยู่ในอันดับบ่าง (Dermoptera) ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน (อีกชนิดหนึ่งนั้นคือ บ่าง (Galeopterus variegatus)) และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นในสกุล Cynocephalus บ่างฟิลิปปินมีรูปร่างลักษณะคล้ายกับบ่างที่พบในภูมิภาคอินโดจีนและแหลมมลายู แต่มีขนาดที่เล็กกว่าและมีน้ำหนักตัวที่เบากว่า โดยมีความยาวประมาณ 14-17 นิ้ว น้ำหนักประมาณ 1-1.7 กิโลกรัม มีหัวโต หูเล็ก ตาโต พังผืดมีขนาดใหญ่และมีกรงเล็บเท้าเป็นพังผืด สามารถปีนต้นไม้เพื่อร่อนได้อย่างรวดเร็ว และสามารถร่อนได้ไกลกว่า 100 เมตร บ่างฟิลิปปินมีฟันทั้งหมด 34 ซี่ ใช้สำหรับกินอาหารจำพวก ยอดไม้, ใบไม้อ่อน หรือดอกไม้ มีพฤติกรรมคล้ายกับบ่าง คือ ออกหากินในเวลากลางคืน พักผ่อนในเวลากลางวันตามโพรงไม้หรือพุ่มไม้หนา ใช้เวลาตั้งท้องนาน 2 เดือน ลูกอ่อนจะยังเกาะที่หน้าท้องและดูดนมของแม่ บ่างฟิลิปปิน จะพบได้เฉพาะบนเกาะมินดาเนาและเกาะโบฮอล ในหมู่เกาะฟิลิปปินเท่านั้น ถูกล่าโดยมนุษย์เพื่อนำเนื้อไปทำอาหาร และกำจัดลงเพราะเป็นศัตรูของพืชสวน เช่น มะพร้าว หรือผลไม้ต่าง ๆ เป็นต้น.

ดู มนุษย์และบ่างฟิลิปปิน

ช็อกโกแลต

็อกโกแลต ช็อกโกแลต (chocolate; ช็อก(กะ)เล็ต) คือผลิตผลที่ได้มาจากเมล็ดของต้นโกโก้เขตร้อน ช็อกโกแลตเป็นส่วนผสมของของหวานหลายชนิดไม่ว่าจะเป็นไอศกรีม ลูกอม คุกกี้ เค้ก หรือว่าพาย ช็อกโกแลตถือได้ว่าเป็นของหวานอย่างหนึ่งที่ถูกใจคนทั่วโลก ช็อกโกแลตทำจากการหมัก คั่ว และบดอย่างละเอียดของเมล็ดโกโก้ซึ่งได้มาจากต้นโกโก้เขตร้อน (tropical cacao tree) ซึ่งมีต้นกำเนิดจากอเมริกากลางและเม็กซิโก ต้นโกโก้นั้นค้นพบโดยชาวอินเดียนแดงและชาวอัซเตก (Aztecs) แต่ในปัจจุบันได้แพร่กระจายและปลูกไปทั่วเขตร้อน เมล็ดของต้นโกโก้นั้นมีรสฝาดที่เข้มข้นมาก ผลผลิตของเมล็ดโกโก้รู้จักกันในนาม "ช็อกโกแลต" หรือบางส่วนของโลกในนาม "โกโก้" ผลิตภัณฑ์จากเมล็ดโกโก้รู้จักภายใต้หลายชื่อที่แตกต่างกันไปในส่วนต่าง ๆ ของโลก ในอเมริกา อุตสาหกรรมช็อกโกแลตได้จำกัดความไว้.

ดู มนุษย์และช็อกโกแลต

ช้างอินเดีย

้างอินเดีย (Indian elephant) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ในวงศ์ Elephantidae หรือช้าง เป็นช้างที่ถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคไพลโอซีนหรือประมาณ 5 ล้านปีก่อนมาแล้ว.

ดู มนุษย์และช้างอินเดีย

ช้างแอฟริกา

้างแอฟริกา หรือ ช้างแอฟริกัน (African elephant) เป็นช้างสกุลหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา จากหลักฐานฟอสซิลที่ค้นพบทำให้ทราบว่า ช้างแอฟริกาอาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกามาตั้งแต่ยุคไพลสโตซีน ช้างแอฟริกา จัดอยู่ในสกุล Loxodonta (/โล-โซ-ดอน-ตา/; เป็นภาษากรีกแปลว่า "ฟันเอียงข้าง") ซึ่งปัจจุบันหลงเหลือเพียง 2 ชนิด คือ.

ดู มนุษย์และช้างแอฟริกา

ฟอลเลน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

อะ ฟอลเลน (The fallen) เป็นชื่อตัวละครจากภาพยนตร์ซีรีส์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (Transformers).

ดู มนุษย์และฟอลเลน (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)

ฟาราเมียร์

ฟาราเมียร์ (Faramir) เป็นตัวละครตัวหนึ่งในจินตนิยายชุด เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นมนุษย์ชาวกอนดอร์ บุตรแห่งเดเนธอร.

ดู มนุษย์และฟาราเมียร์

ฟิชเชอร์

ฟิชเชอร์ (Fisher, Pekan, Pequam, Wejack, Fisher cat) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) ฟิชเชอร์จัดอยู่ในสกุลหมาไม้ (Martes spp.) มีความยาวลำตัวและส่วนหัวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 32-40 นิ้ว หางยาว 13-16 นิ้ว น้ำหนัก 1.3-5.4 กิโลกรัม มีอายุขัยประมาณ 10 ปี ทั้งในธรรมชาติและสถานที่เลี้ยง จัดเป็นหมาไม้ที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีสีขนสีดำและน้ำตาลเข้ม หางเรียวยาว สีขนจะเปลี่ยนไปในช่วงฤดูหนาว โดยปลายขนจะเปลี่ยนเป็นสีขาว พบกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้างขวางในทวีปอเมริกาเหนือ (แบ่งออกเป็น 3 ชนิดย่อย-ดูในตาราง) ในป่าที่หนาทึบเช่น ไม้เนื้อแข็งและโกเฟอร์ นอกจากนี้ยังอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำอีกด้วย ฟิชเชอร์ ผสมพันธุ์ในช่วงตอนต้นฤดูใบไม้ผลิ มีระยะเวลาตั้งท้องราว 353 วัน ออกลูกครั้งละ 1-5 ตัว (โดยเฉลี่ย 3) ซึ่งตัวเมียกว่าจะผสมพันธุ์และออกลูกได้อีกครั้งต้องเว้นเป็นระยะเวลานาน ลูกที่เกิดใหม่จะมีร่างกายและขนเบาบาง ตาจะยังปิดอยู่จะกระทั่งอายุได้ 7 สัปดาห์ จะอาศัย อยู่ในรังกับพ่อแม่จนอายุได้ 3 เดือน จึงจะแยกตัวออกไป ฟิชเชอร์ ถูกมนุษย์ล่าเพื่อเอาหนังและขนทำเป็นเสื้อขนสัตว์ เช่นเดียวกับสัตว์ในวงศ์นี้สกุลและชนิดอื่น.

ดู มนุษย์และฟิชเชอร์

ฟิล์มนัวร์

ปสเตอร์ Miller's Crossing โปสเตอร์ Femme Fatale ฟิล์มนัวร์ (Film Noir) ชื่อเรียกประเภทของภาพยนตร์ประเภทหนึ่ง โดยที่คำว่า "Noir" เป็นภาษาฝรั่งเศสแปลว่า "ดำ" หากจะแปลกันตรง ๆ ตัว ฟิล์มนัวร์ จึงแปลว่า "ฟิล์มดำ" หรือ "ภาพยนตร์ดำ" หรือ "ภาพยนตร์มืด" ภาพยนตร์ที่จะจัดให้อยู่ในประเภทฟิล์มนัวร์ นั้น จะเป็นภาพยนตร์ที่ใช้แสงและสีมืดทึบ หรือขาวดำเป็นหลัก แสดงให้เห็นถึงด้านมืดในใจมนุษย์ แต่ที่สำคัญที่สุดคือ เรื่องราวที่เกิดในเรื่อง ก็ไม่ได้บ่งบอกว่าใครดี ใครเลวกว่ากัน ทุก ๆ คนมีปนกันไปทั้งดีและเลว เอกลักษณ์อีกประการของฟิล์มนัวร์ ก็คือ ผู้หญิงที่เป็นตัวเอกในเรื่อง จะเป็นผู้หญิงที่มีเสน่ห์ทางเพศอย่างร้ายกาจ และจะหลอกล่อผู้ชายให้ตกเป็นเหยื่อของเธอได้ ตัวอย่างของภาพยนตร์ประเภทฟิล์มนัวร์ ได้แก่ Citizen Kane ของ ออร์สัน เวลส์ ในปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และฟิล์มนัวร์

ฟืน

กองฟืน ฟืน (firewood) คือท่อนไม้หรือเศษไม้ที่นำมาใช้เผาไหม้เป็นเชื้อเพลิงโดยไม่ผ่านการแปรรูป (ต่างจากเชื้อเพลิงไม้ประเภทอื่นๆ เช่นถ่านไม้) ส่วนใหญ่จะตัดมาจากต้นไม้โดยตรง, ตากให้แห้ง, หรือเก็บรวบรวมจากเศษไม้แห้ง โดยฟืนไม้แห้งจะเผาไหม้ได้ดีกว่าไม้สดชนิดเดียวกัน ฟืนเป็นหนึ่งในเชื้อเพลิงที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ และถือเป็นเชื้อเพลิงหมุนเวียนชนิดหนึ่ง ซึ่งจะทดแทนได้เองเมื่อต้นไม้เติบโตขึ้นอีกครั้ง แต่มักจะมีปัญหาจากความต้องการที่มีมากกว่าอัตราการทดแทน.

ดู มนุษย์และฟืน

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู มนุษย์และพ.ศ. 2503

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู มนุษย์และพ.ศ. 2504

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู มนุษย์และพ.ศ. 2540

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู มนุษย์และพ.ศ. 2550

พ.ศ. 2563

ทธศักราช 2563 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2020 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู มนุษย์และพ.ศ. 2563

พญาแร้ง

ญาแร้ง (อังกฤษ: Red-headed vulture, Asian king vulture, Indian black vulture, Pondicherry vulture; ชื่อวิทยาศาสตร์: Sarcogyps calvus) นกจำพวกอีแร้งชนิดหนึ่ง จัดเป็นอีแร้งขนาดใหญ่ และเป็นนกเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Sarcogyps.

ดู มนุษย์และพญาแร้ง

พยาธิกายวิภาค

วิทยากายวิภาค (Anatomical Pathology) เป็นวิชาว่าด้วยการเรียนรู้ร่างกายของมนุษย์โดยละเอียด เพื่อใช้วิเคราะห์สาเหตุแห่งความตายว่าเกิดจากโรคภัยไข้เจ็บทั่วไป อาวุธประเภทใด ภาวะความผิดปกติของร่างกายหรือบาดแผลตามร่างกายอาจใช้บ่งบอกความผิดปกติที่เกิดขึ้นก่อนหรือหลังความตาย สิ่งที่ทำให้เกิดความตาย เช่น ตายก่อนจมน้ำ หรือ จมน้ำตาย โดนวางยาหรือฆ่าตัวตายเอง เป็นต้น ลักษณะทางกายภาพของศพจะช่วยบอกเริ่มต้นว่าเป็นการตายธรรมดาหรือฆาตกรรม อันนำไปสู่การพิสูจน์ค้นหาผู้กระทำความผิดและนำไปลงโทษโดยตำรวจ นักนิติพยาธิวิทยากายวิภาค (FORENSIC PATHOLOGY) จึงต้องมีความเชี่ยวชาญด้านกายภาพ พยาธิสภาพ ลักษณะโรคและบาดแผลที่ทำให้เกิดบาดเจ็บหรือตาย เพราะความเห็นของพวกเขาจะเป็นประโยชน์ต่อตำรวจในการแยกแยะคดีอย่างเหมาะสม ส่วนใหญ่มักจะเป็นพยาธิแพทย์ด้านนิติเวชศาสตร์ซึ่งกฎหมายกำหนดหน้าที่ในการให้ความเห็นสาเหตุและพฤติการณ์ของการตายของเหยื่อไว้ ปัจจุบันแพทย์ด้านนี้จึงถือเป็นจุดเริ่มต้นของการระบุสาเหตุและพฤติการณ์การตาย จากนั้นจึงนำไปสู่การพิสูจน์ยืนยันความเห็นนั้นด้วยหลักฐานทางวิทยาศาสตร์สาขาอื่นได้ นอกจากนั้นศาสตร์ด้านพยาธิวิทยากายวิภาคยังเน้นความรู้ด้านการบ่งชี้ความปกติหรือไม่ปกติของศพ เพศ เนื่องจากบางครั้งศพอาจอยู่ในสภาพเน่าเปื่อย มีแค่โครงกระดูก ยากจะบอกเบื้องต้นได้ว่าคนตายเป็นเพศใด อายุเท่าไร สาเหตุการตายจากโรค สารเคมี บาดแผลในหรือนอกร่างกาย นักพยาธิวิทยากายวิภาคจะเป็นผู้ชี้ชัดได้ว่า ศพเป็นเพศชายหรือหญิง ผ่านการผ่าตัดแปลงเพศหรือไม่ มีการเสริมแต่งส่วนใดในร่างกายที่มิใช่ธรรมชาติ โครงกระดูกบอกได้ว่าเป็นเพศชายหรือหญิง โดยอาจดูจากโหนกคิ้ว กระดูกเชิงกราน ก็ได้ ล้วนเป็นข้อมูลเบื้องต้นให้พนักงานสอบสวนนำไปใช้สืบหาสาเหตุการตายและพยานหลักฐานต่อไปเพื่อนำผู้กระทำความผิดไปลงโทษตามกระบวนการยุติธรรม.

ดู มนุษย์และพยาธิกายวิภาค

พยาธิใบไม้ในตับ

''Fasciola hepatica'' พยาธิใบไม้ในตับ (liver fluke) เป็นสิ่งมีชีวิตในกลุ่มเชิง polyphyletic ซึ่งเป็นหนอนตัวแบนชั้น trematode ในไฟลัม Platyhelminthes พยาธิใบไม้ในตับตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่ในตับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด รวมถึงมนุษย์ด้วย โดยอาจอาศัยอยู่ในท่อน้ำดี ถุงน้ำดี หรือเนื้อตับก็ได้ พยาธิเหล่านี้กินเลือดเป็นอาหาร พยาธิตัวเต็มวัยจะวางไข่ออกมาในลำไส้ ตัวอย่างของพยาธิใบไม้ในตับเช่น.

ดู มนุษย์และพยาธิใบไม้ในตับ

พระกษิติครรภโพธิสัตว์

ระกษิติครรภโพธิสัตว์ (อ่านว่า /พฺระ-กะ-สิ-ติ-คับ-พะ-โพ-ทิ-สัด/, क्षितिगर्भ;; กฺษิติครฺภ) เป็นพระโพธิสัตว์ ซึ่งเป็นที่นับถือในศาสนาพุทธนิกายมหายานในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มักมีรูปลักษณ์เป็นพระภิกษุมหายาน นามของพระโพธิสัตว์องค์นี้อาจแปลได้ว่า "ขุมทรัพย์แห่งแผ่นดิน" ("Earth Treasury"), คลังแห่งแผ่นดิน ("Earth Store"), "บ่อเกิดแห่งแผ่นดิน"("Earth Matrix"), หรือ "ครรภ์แห่งแผ่นดิน" ("Earth Womb") พระกษิติครรภโพธิสัตว์ได้รับมอบหมายจากพระศากยมุนีพุทธเจ้าให้เป็นผู้แสดงธรรมโปรดสัตว์ในกามภูมิ 6 ในช่วงที่พระองค์ปรินิพพานไปแล้วและพระศรีอริยเมตไตรยยังไม่ได้ลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระกษิติครรภมีปณิธานสำคัญในการช่วยสัตวโลกทั้งหมดให้พ้นจากนรกภูมิ หากนรกยังไม่ว่างจากสัตว์นรกก็จะยังไม่ขอตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ด้วยเหตุดังกล่าว พระองค์จึงถือว่าเป็นพระโพธิสัตว์แห่งสัตว์ผู้ทุกข์ยากในอบายภูมิ มีนรกทั้งปวง เป็นต้น เช่นเดียวกับการเป็นผู้คุ้มครองเด็กทั้งหลาย และเทพอุปถัมภ์ของเด็กที่เสียชีวิตและทารกที่ตายจากการแท้งในวัฒนธรรมญี่ปุ่น รูปลักษณ์ของพระโพธิสัตว์องค์นี้ ปกติมักทำเป็นรูปพระภิกษุมหายาน มีรัศมีเปล่งรอบพระเศียรซึ่งปลงพระเกศาแล้ว หัตถ์หนึ่งทรงจับไม้เท้าซึ่งใช้เปิดประตูนรก อีกหัตถ์หนึ่งทรงถือแก้วจินดามณี (แก้วสารพัดนึก) เพื่อประทานแสงสว่างท่ามกลางความมืด สำหรับในประเทศไทยเอง มูลนิธิพุทธจักษุวิชชาลัย (佛眼禪林弘法基金會:地藏道場) พุทธมณฑลสาย 6 ได้สร้างวัดหรือธรรมสถาน เพื่ออุทิศแด่องค์พระกษิติครรภ์โพธิสัตว์โดยเฉพาะ โดยสร้างองค์พระกษิติครรภ์ ด้วยหินแกรนิตแกะสลักสูงรวมฐาน 13.99 เมตร และพระกษิติครรภ์ 6 ปาง ที่มีคติมาจากปุณฑริกสมาธิสูตร (蓮華三昩經) ที่ว่าพระกษิติครรภ์นิรมาณกายไปโปรดสัตว์ทั้ง 6 ภูมิ พร้อมพญายมราชทั้ง 10 ซึ่งในสูตรฝ่ายมหายานกล่าวว่า เป็นพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์องค์สำคัญ 10 พระองค์ นิรมาณกายมาโปรดสัตว์ และปฏิมากรรมหินแกะสลักนายนิรยบาล เป็นหินแกะสลักสูงใหญ่กว่าคนอีกรวมทั้งสิ้น 25 องค์โดยช่างฝีมือจากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ตามคติของพุทธมหายานแบบจีน และเผยแพร่กษิติครรภโพธิสัตว์มูลปณิธานสูตร (地藏本願經) และ กษิติครรภ์โพธิสัตว์ทศจักรสูตร (地藏十輪經) ซึ่งเป็นพระสูตรสำคัญของพระกษิติครรภ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นกษิติครรภมณฑล ที่มีอยู่ไม่กี่แห่งในโลก.

ดู มนุษย์และพระกษิติครรภโพธิสัตว์

พระกาฬไชยศรี

ระกาฬไชยศรี เป็นบริวารพระยม มีหน้าที่นำวิญญาณของมนุษย์ผู้ทำบาปไปสู่ยมโลก เป็นเทพารักษ์หล่อสำริด ปิดทอง สูง ๘๖ ซม.

ดู มนุษย์และพระกาฬไชยศรี

พระมารดาพระเจ้า

''แม่พระแห่งคาซัน'' พระมารดาพระเจ้า (Máter Déi; มาแตร์เดอี; มาเทอร์เดอี) หรือ พระชนนีพระเจ้า (Θεοτόκος เธโอโตกอส) เรียกโดยย่อว่าแม่พระ เป็นสมัญญาที่คริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ และอีสเทิร์นคาทอลิก ใช้หมายถึงพระนางมารีย์พรหมจารี ตามมติของสภาสังคายนาแห่งเอเฟซัสที่ประกาศว่าพระเยซูทรงเป็นพระเจ้าโดยสมบูรณ์ ดังนั้นมารดาพระเยซูจึงถือเป็นพระมารดาพระเจ้าด้วยMary, Mother of God by Carl E.

ดู มนุษย์และพระมารดาพระเจ้า

พระวราหะ

ประติมากรรมลอยองค์ขนาดใหญ่ของพระวราหะในลักษณะหมูป่าทั้งองค์ ที่ขชุราโห ประเทศอินเดีย พระวราหะ (lord Varaha) หรือ วราหะอวตาร(Varaha avatar) คือเทวดาองค์หนึ่งในศาสนาฮินดู เป็นอวตารของพระวิษณุ โดยปรากฏตามเนื้อเรื่องในคัมภีร์ปุราณะ อุปนิษัท และคัมภีร์อื่น ๆ ในศาสนาฮินดู มีกายเป็นมนุษย์ แต่ศีรษะเป็นหมูป่า หรือปรากฏองค์เป็นหมูป่าทั้งอง.

ดู มนุษย์และพระวราหะ

พระวิษณุ

ลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย. ศิลปะโจฬะที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี ประเทศอินเดีย.

ดู มนุษย์และพระวิษณุ

พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์

"''การรับเป็นมนุษย์''" เป็นส่วนหนึ่งของวัฏจักรชีวิตของพระเยซู โดยมีพระตรีเอกภาพอยู่ตรงกลางภาพ ฟรีโดลิน ไลเบอร์ วาดไว้ราวคริสต์ศตวรรษที่ 19 พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์ (ศัพท์ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ พระวจนาตถ์ทรงรับสภาพมนุษย์ (ศัพท์โรมันคาทอลิก) หรือ พระวาทะทรงเกิดเป็นมนุษย์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Incarnation of the Word) ในศาสนาคริสต์หมายถึงการที่พระเยซูซึ่งเชื่อว่าเป็นพระเจ้าพระบุตรหรือพระวจนะ ได้เสด็จลงมาบนโลกเพื่อรับสภาพมนุษย์ผ่านทางครรภ์ของนางมารีย์ (บางคริสตจักร เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ จึงยกย่องพระนางมารีย์พรหมจารีเป็นพระมารดาพระเจ้าด้วย) เรื่องพระเจ้ามารับสภาพมนุษย์ถือเป็นหลักคำสอนทางเทววิทยาที่หลักข้อเชื่อไนซีนให้การรับรอง โดยถือว่าพระเยซูเป็นพระบุคคลที่สองในพระเป็นเจ้าซึ่งเป็นตรีเอกภาพ ได้มารับสภาพมนุษย์โดยที่ธรรมชาติพระเป็นเจ้าเดิมยังดำรงอยู่ในตัว หลักข้อเชื่อนี้จึงถือว่าพระเยซูทรงเป็นทั้งมนุษย์และพระเป็นเจ้าโดยสมบูรณ์ ดังที่พระวรสารนักบุญยอห์นระบุว่า "พระวจนะเป็นพระเจ้...

ดู มนุษย์และพระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์

พระสงฆ์

ระสงฆ์ หมายถึง หมู่สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ซึ่งฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วเลื่อมใส สละเรือนออกบวช ถือวัตร ปฏิบัติ ตามพระธรรมวินัยที่พระบรมศาสดาสั่งสอนและกำหนดไว้ พระสงฆ์ จัดเป็นหนึ่งในพระรัตนตรัย ซึ่งได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ในพระรัตนตรัยหมายถึงเฉพาะพระอริยสงฆ์ คือบุคคลไม่ว่าคฤหัสถ์หรือนักบวช และไม่ว่ามนุษย์หรือเทวดา ที่ปฏิบัติธรรมจนได้บรรลุมรรคผล แต่โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าพระสงฆ์คือภิกษุหรือภิกษุณี คือมนุษย์ที่ได้ฟังคำสั่งสอนแล้วเกิดความเลื่อมใสจนสละเรือนออกบวชตามพระพุทธเจ้า เพราะต้องการจะได้บรรลุธรรมตามพระพุทธเจ้าสั่งสอนไว้ ถือเป็นนักบวชในพระพุทธศาสนา พระภิกษุปฏิบัติตามสิกขาบทที่กำหนดไว้จำนวน 227 ข้อ ส่วนพระภิกษุณีรักษาสิกขาบท 311 ข้อ บางครั้งเรียกว่าสงฆ์ ภิกษุรูปแรกในพระศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้าคือพระอัญญาโกณฑัญญ.

ดู มนุษย์และพระสงฆ์

พระอัศวิน

ระอัศวิน (Ashvins, สันสกฤต: अश्विन) เป็นเทพเจ้าตามคติความเชื่อของศาสนาฮินดู พระอัศวินเป็นเทพเจ้าฝาแฝดที่มีศีรษะเป็นม้า และมีร่างกายเป็นมนุษย์ องค์หนึ่งมีพระนามว่า นาสัตยอัศวิน (ความกรุณา) อีกองค์หนึ่งมีพระนามว่า ทัศรอัศวิน (ความรู้แจ้ง) เทียบได้กับเทพเจ้าตามเทพปกรณัมกรีก เช่น โฟบอส และ ดีมอส, ฮิปนอส และ ทานาทอส, แคสเตอร์ และ พอลลักซ์ เป็นต้น พระอัศวินเป็นพระโอรสของพระอาทิตย์ กับนางสัญญา นางสัญญาต้องการจะหนีพระอาทิตย์ไปบวชอยู่ในป่า จึงแปลงร่างเป็นม้าเพศเมีย แต่พระอาทิตย์ก็ยังแปลงร่างเป็นม้าเพศผู้ไปอยู่ด้วยจนเกิดเป็นพระอัศวินขึ้นมา พระอัศวิน เป็นเทพที่ประทานนำทรัพย์ต่าง ๆ มาให้มนุษย์ และยังปกป้องมนุษย์จากภัยอันตรายต่าง ๆ จนถึงโรคภัยไข้เจ็บ เพราะพระอัศวินยังมีหน้าที่เป็นแพทย์สวรรค์ด้วย พระอัศวิน ยังเป็นเทพแห่งแสงสว่าง ทั้งคู่จะขับรถม้านำหน้าราชรถของพระอาทิตย์มาก่อนเวลารุ่งสาง พระอัศวินได้ถูกกล่าวถึงเป็นอย่างมากในคัมภีร์ฤคเวท ซึ่งในคัมภีร์นั้นมีการกล่าวถึงพระนามของพระอัศวินถึง 400 ครั้ง ในมหากาพย์รามายณะ ทวิวิท และ แมนทะ ทหารวานร ของพระรามเป็นบุตรของพระอัศวินทั้งคู่ ในมหากาพย์มหาภารตะ นางมาทรี ชายาของท้าวปาณฑุได้ขอโอรสจากเทพเจ้าทั้งหลาย โดยที่พระนางมีลูกกับพระอัศวินสองคน คือ นกุล (เกิดจากพระนาสัตยอัศวิน) และ สหเทพ (เกิดจากพระทัศรอัศวิน).

ดู มนุษย์และพระอัศวิน

พระผู้สร้าง

ระยาห์เวห์ทรงสร้างอาดัม พระผู้สร้าง (Creator) หมายถึง พระเป็นเจ้า (ตามความเชื่อแบบเอกเทวนิยม) หรือเทวดาผู้เป็นใหญ่ (ตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยม) ที่มีอำนาจบันดาลให้โลก (ทั้งเอกภพและจักรวาล) เกิดขึ้น.

ดู มนุษย์และพระผู้สร้าง

พระผู้ไถ่

ในศาสนาคริสต์ พระผู้ไถ่ (Redeemer) หรือ พระผู้ช่วยให้รอด (Saviour) หมายถึง พระเยซู เพราะเชื่อว่าพระองค์ได้สละพระชนม์ชีพเพื่อไถ่มนุษย์ให้รอดจากบาป.

ดู มนุษย์และพระผู้ไถ่

พระคริสต์

รูป ''พระคริสต์ผู้ทรงสรรพานุภาพ'' ที่อารามนักบุญแคเธอริน พระพักตร์ของพระเยซูสองฝากแสดงอารมณ์ต่างกัน สื่อว่าพระเยซูมีสองธรรมชาติคือเป็นพระเป็นเจ้าและเป็นมนุษย์ในบุคคลเดียว''God's human face: the Christ-icon'' by Christoph Schoenborn 1994 ISBN 0-89870-514-2 page 154''Sinai and the Monastery of St.

ดู มนุษย์และพระคริสต์

พระแม่วาราหี

ระแม่วาราหิณี (वाराही) เป็นเทวีในศาสนาฮินดู องค์หนึ่งในคณะมาตฤกา เป็นพลังศักติของพระวราหะ ซึ่งเป็นอวตารปางที่ 3 ของพระวิษณุ พระแม่วาราหิณีมีพระวรกายเป็นมนุษย์ แต่มีศีรษะเป็นหมูป่า เช่นเดียวกับพระวราห.

ดู มนุษย์และพระแม่วาราหี

พระเจ้าสร้างอาดัม (มีเกลันเจโล)

ระเจ้าสร้างอาดัม (The Creation of Adam) เป็นจิตรกรรมฝาผนังโดยมีเกลันเจโลซึ่งถูกวาดไว้บนเพดานโบสถ์น้อยซิสทีนในนครรัฐวาติกัน ถูกวาดระหว่าง..

ดู มนุษย์และพระเจ้าสร้างอาดัม (มีเกลันเจโล)

พลรัตน์ รอดรักษา

ลรัตน์ รอดรักษา หรือ ป๊อบ เป็นนักแสดงชายชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากการประกวดและได้รับรางวัลจากแบรนด์เสื้อผ้า เจฟ็อกซ์ จากนั้นจึงได้มาเป็นนายแบบลงหนังสือแพรว ก่อนจะเซ็นสัญญาเป็นนักแสดงในสังกัดช่อง 3 โดยการชักนำของ ศิริพงศ์ อรุณไพโรจน์ โดยจะรับบทน่าสงสารกับบทดีในช่วงแรก ๆ และจะรับบทร้ายส่วนใหญ่ในภายหลัง หลังจากมีผลงานละครออกมาหลายครั้งก็ได้ออกจากวงการในปี..

ดู มนุษย์และพลรัตน์ รอดรักษา

พลังจิต

ลังจิตเป็นพลังอำนาจอันลึกลับที่มนุษย์เข้าใจกันว่า ในตัวของมนุษย์ด้วยกันจะมีความสามารถพิเศษ และมีพลังเหนือธรรมชาต.

ดู มนุษย์และพลังจิต

พลาสโมเดียม

พลาสโมเดียม (Plasmodium) เป็นสกุลของเชื้อปรสิตโปรโตซัวชนิดหนึ่งซึ่งทำให้เกิดโรคมาลาเรีย ในวงชีวิตของเชื้อชนิดนี้ต้องการโฮสต์สองตัวได้แก่พาหะที่เป็นยุงและโฮสต์ที่เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง มีเชื้อพลาสโมเดียมไม่ต่ำกว่าสิบชนิดที่สามารถทำให้เกิดการติดเชื้อในมนุษย์ได้ ส่วนชนิดอื่นๆ ก็ทำให้เกิดการติดเชื้อในสัตว์ชนิดอื่นเช่นนก สัตว์เลื้อยคลาน หรือสัตว์ฟันแทะ เป็นต้น หมวดหมู่:ปรสิตวิทยา หมวดหมู่:ปรสิต.

ดู มนุษย์และพลาสโมเดียม

พอร์พอยส์

อร์พอยส์ (Porpoise; การออกเสียง) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Phocoenidae พอร์พอยส์ จัดเป็นวาฬมีฟันขนาดเล็ก ลักษณะทั่วไปคล้ายกับโลมาทะเล (Delphinidae) แต่มีความแตกต่างไปจากโลมาทั่วไป คือ มีรูปร่างที่เล็กกว่า และมีรูปทรงที่อ้วนกลมกว่า อีกทั้งสรีระร่างกายของพอร์พอยส์ไม่อาจจะเก็บความอบอุ่นไว้ได้นาน ทำให้สูญเสียพลังงานในร่างกายได้รวดเร็วกว่า จึงต้องกินอาหารบ่อยครั้งและมากกว่าโลมาทะเลเพื่อสร้างพลังงานและความอบอุ่นให้แก่ร่างกาย นอกจากนี้แล้ว ครีบหลังของพอร์พอยส์นั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายกับครีบของปลาฉลาม แต่มีความสั้นทู่ ซึ่งในบางครั้งจะมีปุ่มขนาดเล็กเรียกว่า ทูเบอร์เคิล อยู่ตรงขอบครีบ ลักษณะของจมูกของพอร์พอยส์นั้นสั้นทู่และกลมกว่าโลมาทั่วไป ลักษณะของฟันก็มีลักษณะเล็ก ๆ เป็นตุ่มไม่แหลมคม ส่วนกระดูกคอนั้นติดต่อกับกระดูกสันหลัง ทำให้ไม่อาจจะขยับส่วนคอไปมาได้อย่างอิสระเหมือนโลมา และพฤติกรรมก็แตกต่างไปจากโลมาด้วย ได้แก่ ฝูงของพอร์พอยส์มีขนาดเล็กกว่า คือ มีจำนวนสมาชิกในฝูงเพียง 2–4 ตัวเท่านั้น ไม่ได้มีกันหลายสิบหรือร้อยตัวเหมือนโลมาทะเล และมีพฤติกรรมขี้อาย เกรงกลัวมนุษย์ ผิดกับโลมาทะเล และเป็นโลมาที่มีอายุขัยสั้นเพียงแค่ 20 ปีเท่านั้น พอร์พอยส์ นับเป็นสัตว์ในอันดับนี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด โดยชนิดที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ วิกีตา พบกระจายพันธุ์ทางตอนเหนือของอ่าวแคลิฟอร์เนีย มีขนาดโตเต็มที่ไม่ถึง 2 เมตรด้วยซ้ำ ขณะที่ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ก็มีความยาวเพียง 2.3 เมตรเท่านั้น.

ดู มนุษย์และพอร์พอยส์

พะยูน

ูน เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่ง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดเดียวที่เป็นสัตว์น้ำ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในทะเลเขตอบอุ่น มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dugong dugon อยู่ในอันดับพะยูน (Sirenia).

ดู มนุษย์และพะยูน

พันธุศาสตร์

ีเอ็นเอเป็นโมเลกุลพื้นฐานของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ดีเอ็นเอแต่ละสายประกอบขึ้นจากสายโซ่นิวคลีโอไทด์จับคู่กันรอบกึ่งกลางกลายเป็นโครงสร้างที่ดูเหมือนบันไดซึ่งบิดเป็นเกลียว พันธุศาสตร์ (genetics) เป็นอีกสาขาหนึ่งของชีววิทยา ศึกษาเกี่ยวกับยีน การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และความหลากหลายทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต พันธุศาสตร์ว่าด้วยโครงสร้างเชิงโมเลกุลและหน้าที่ของยีน พฤติกรรมของยีนในบริบทของเซลล์สิ่งมีชีวิต (เช่น ความเด่นและอีพิเจเนติกส์) แบบแผนของการถ่ายทอดลักษณะจากรุ่นสู่รุ่น การกระจายของยีน ความแตกต่างทางพันธุกรรมและการเปลี่ยนแปลงของพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต (เช่นการศึกษาหาความสัมพันธ์ของยีนตลอดทั่วทั้งจีโนม) เมื่อถือว่ายีนเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด พันธุศาสตร์จึงเป็นวิชาที่นำไปใช้ได้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ทั้งไวรัส แบคทีเรีย พืช สัตว์ และมนุษย์ (เวชพันธุศาสตร์) ได้มีการสังเกตมาแต่โบราณแล้วว่าสิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอดลักษณะจากรุ่นสู่รุ่น ซึ่งเป็นความรู้ที่มนุษย์ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ด้วยวิธีการคัดเลือกพันธุ์ อย่างไรก็ดี ความรู้พันธุศาสตร์สมัยใหม่ที่ว่าด้วยการพยายามทำความเข้าใจกระบวนการการถ่ายทอดลักษณะเช่นนี้เพิ่งเริ่มต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเกรเกอร์ เมนเดล แม้เขาไม่สามารถศึกษาเจาะลึกไปถึงกระบวนการทางกายภาพของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แต่ก็ค้นพบว่าลักษณะที่ถ่ายทอดนั้นมีแบบแผนจำเพาะ กำหนดได้ด้วยหน่วยพันธุกรรม ซึ่งต่อมาถูกเรียกว่า ยีน ยีนคือส่วนหนึ่งของสายดีเอ็นเอซึ่งเป็นโมเลกุลที่ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์สี่ชนิดเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว ลำดับนิวคลีโอไทด์สี่ชนิดนี้คือข้อมูลทางพันธุกรรมที่ถูกเก็บและมีการถ่ายทอดในสิ่งมีชีวิต ดีเอ็นเอตามธรรมชาติอยู่ในรูปเกลียวคู่ โดยนิวคลีโอไทด์บนแต่ละสายจะเป็นคู่สมซึ่งกันและกันกับนิวคลีโอไทด์บนสายดีเอ็นเออีกสายหนึ่ง แต่ละสายทำหน้าที่เป็นแม่แบบในการสร้างสายคู่ขึ้นมาได้ใหม่ นี่คือกระบวนการทางกายภาพที่ทำให้ยีนสามารถจำลองตัวเอง และถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้ ลำดับของนิวคลีโอไทด์ในยีนจะถูกแปลออกมาเป็นสายของกรดอะมิโน ประกอบกันเป็นโปรตีน ซึ่งลำดับของกรดอะมิโนที่มาประกอบกันเป็นโปรตีนนั้นถ่ายทอดออกมาจากลำดับของนิวคลีโอไทด์บนดีเอ็นเอ ความสัมพันธ์ระหว่างลำดับของนิวคลีโอไทด์และลำดับของกรดอะมิโนนี้เรียกว่ารหัสพันธุกรรม กรดอะมิโนแต่ละชนิดที่ประกอบขึ้นมาเป็นโปรตีนช่วยกำหนดว่าสายโซ่ของกรดอะมิโนนั้นจะพับม้วนเกิดเป็นโครงสร้างสามมิติอย่างไร โครงสร้างสามมิตินี้กำหนดหน้าที่ของโปรตีนนั้น ๆ ซึ่งโปรตีนมีหน้าที่ในกระบวนการเกือบทั้งหมดของเซลล์สิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับดีเอ็นเอในยีนยีนหนึ่ง อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลำดับกรดอะมิโนในโปรตีน เปลี่ยนโครงสร้างโปรตีน เปลี่ยนการทำหน้าที่ของโปรตีน ซึ่งอาจส่งผลต่อเซลล์และสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ได้อย่างมาก แม้พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจะมีบทบาทมากในการกำหนดลักษณะและพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต แต่ผลสุดท้ายแล้วตัวตนของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ เป็นผลที่ได้จากการผสมผสานกันระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ประสบ ตัวอย่างเช่น ขนาดของสิ่งมีชีวิตไม่ได้ถูกกำหนดโดยยีนเพียงอย่างเดียว แต่ได้รับผลจากอาหารและสุขภาพของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ด้วย เป็นต้น.

ดู มนุษย์และพันธุศาสตร์

พันนิชเชอร์

ันนิชเชอร์ (แฟรงค์ คาสเซิล)เป็นตัวละครซุเปอร์ฮีโรของมาร์เวลคอมิกส์ ปรากฏตัวครั้งแรกในต้นปี 1974 สร้างสรรค์โดย เจอร์รี่ คอนเวย์โดยตัวละครพันนิชเชอร์มีลักษณะวิธีที่ใช้ปราบปรามเหล่าอาชญากรที่ค่อนข้างรุนแรง ตาต่อตา ฟันต่อฟัน ทำให้พันนิชเชอร์เป็นตัวละครโปรดของเหล่าแฟนคอมมิคที่ชอบซุเปอร์ฮีโรที่ดิบ เถื่อนได้ดี.

ดู มนุษย์และพันนิชเชอร์

พารัลแลกซ์

ำลองอย่างง่ายของการเกิดพารัลแลกซ์ของวัตถุกับฉากหลังที่อยู่ห่างออกไปเมื่อเปลี่ยนตำแหน่งของผู้สังเกต เมื่อมองจาก "มุมมอง A" วัตถุจะอยู่หน้าฉากหลังสีน้ำเงิน แต่เมื่อเปลี่ยนไปเป็น "มุมมอง B" วัตถุจะไปปรากฏอยู่ข้างหน้าฉากหลังสีแดงแทน ภาพเคลื่อนไหวแสดงตัวอย่างของพารัลแลกซ์ เมื่อผู้สังเกตเคลื่อนจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง วัตถุที่อยู่ไกลกว่าจะดูเหมือนเคลื่อนที่ช้ากว่าวัตถุที่อยู่ใกล้ๆ พารัลแลกซ์ (Parallax) คือลักษณะการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งปรากฏ หรือความแตกต่างของตำแหน่งของวัตถุเมื่อมองผ่านมุมมองที่แตกต่างกัน สามารถวัดได้จากมุมของความเอียงระหว่างเส้นสังเกตทั้งสองเส้น คำนี้มีที่มาจากภาษากรีก παράλλαξις (parallaxis) หมายถึง "การเปลี่ยนแปลง" วัตถุที่อยู่ใกล้ผู้สังเกตจะมีพารัลแลกซ์มากกว่าวัตถุที่อยู่ไกล พารัลแลกซ์จึงสามารถใช้ในการประเมินระยะห่างได้ด้วย ในทางดาราศาสตร์ พารัลแลกซ์เป็นกระบวนการทางตรงทางเดียวที่สามารถใช้ในการประเมินระยะห่างของวัตถุ (คือดาวฤกษ์) ที่อยู่พ้นออกไปจากระบบสุริยะได้ ดาวเทียมฮิปปาร์คอสได้ใช้เทคนิคนี้ในการสังเกตการณ์ดาวฤกษ์ใกล้เคียงแล้วกว่า 100,000 ดวง นี่เป็นวิธีพื้นฐานในการตรวจวัดวัตถุห่างไกลในทางดาราศาสตร์ด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า บันไดระยะห่างของจักรวาล ปรากฏการณ์พารัลแลกซ์ทำให้เกิดผลข้างเคียงต่อเครื่องมือสังเกตการณ์เชิงแสงหลายชนิด เช่น กล้องส่องทางไกล กล้องจุลทรรศน์ และกล้องแบบสะท้อนสองเลนส์ที่มองวัตถุจากมุมมองที่แตกต่างกันเล็กน้อย สัตว์หลายชนิดรวมถึงมนุษย์ มีตา 2 ตาที่เหลื่อมมุมสังเกตการณ์กันเล็กน้อย เพื่อให้สามารถใช้ปรากฏการณ์พารัลแลกซ์ในการประเมินความลึกของภาพได้ กระบวนการเช่นนี้เรียกชื่อว่า stereopsis.

ดู มนุษย์และพารัลแลกซ์

พาวเวอร์ดอลส์

right ภาพจากเกม พาวเวอร์ดอลส์ 2 พาวเวอร์ดอลส์ (POWER DoLLS) เป็นเกมซิมูเลชั่นแนววางแผนการรบ พัฒนาโดยบริษัท โคงะโดสตูดิโอ (ปัจจุบันคือ บริษัท โคงะโดสตูดิโอ จำกัด) ซึ่งออกวางจำหน่ายในรูปแบบของเกมคอมพิวเตอร์, PC-FX และ เพลย์สเตชัน เนื้อหาของเกม พาวเวอร์ดอลส์ ได้เริ่มต้นขึ้นในปี..

ดู มนุษย์และพาวเวอร์ดอลส์

พิภพวานร

วานร (Planet of the Apes) เป็นเรื่องชุดแนวบันเทิงคดีวิทยาศาสตร์จากประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีสื่อหลักเป็นภาพยนตร์ นอกจากนี้ยังมีสื่ออื่นๆ เช่น หนังสือ ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ หนังสือการ์ตูน และอื่นๆ เล่าเรื่องเกี่ยวความขัดแย้งระหว่างมนุษย์และวานรที่มีสติปัญญาสูง ปะทะกันเพื่อถืออำนาจปกครอง เรื่องชุดนี้เริ่มต้นจากหนังสือนิยายเรื่อง La Planète des Singes (พ.ศ.

ดู มนุษย์และพิภพวานร

พิภพวานร (นวนิยาย)

วานร (La Planète des Singes, Planet of the Apes) เป็นนวนิยายบันเทิงคดีวิทยาศาสตร์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ..

ดู มนุษย์และพิภพวานร (นวนิยาย)

พิราวรรณ ประสพศาสตร์

ราวรรณ ประสพศาสตร์ (ชื่อเล่น: ต้อย) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2495 เป็นบุตรของดาราอาวุโส เฉลา ประสพศาสตร์ และ เดิมรับราชการเป็นพยาบาลกองทัพบก และเข้าทำงานเป็นพยาบาลของโรงพยาบาลเปาโล ก่อนที่จะเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยภาพยนตร์เรื่อง อยู่กับก๋ง ในบทนางเอก 1 ใน 2 คนเมื่อปี..

ดู มนุษย์และพิราวรรณ ประสพศาสตร์

พิสัยการได้ยิน

ัยการได้ยิน (Hearing range) หมายถึงพิสัยความถี่เสียงที่มนุษย์หรือสัตว์อื่น ๆ ได้ยิน แม้ก็อาจหมายถึงระดับความดังเสียงได้ด้วยเหมือนกัน มนุษย์ปกติจะได้ยินในพิสัยความถี่ 20-20,000 เฮิรตซ์ (Hz) แต่ก็จะต่างไปตามบุคคลพอสมควรโดยเฉพาะเสียงความถี่สูง และการสูญความไวเสียงความถี่สูงอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามอายุก็เป็นเรื่องปกติ ความไวต่อความถี่ต่าง ๆ แม้ในบุคคลก็ยังไม่เท่ากันอีกด้วย (ดูหัวข้อ เส้นชั้นความดังเสียงเท่า) มีสัตว์หลายอย่างที่สามารถได้ยินเสียงเกินพิสัยของมนุษย์ ยกตัวอย่างเช่น โลมาและค้างคาวสามารถได้ยินเสียงสูงจนถึง 100,000 Hz ช้างสามารถได้ยินเสียงต่ำจนถึง 14-16 Hz ในขณะที่วาฬบางชนิดสามารถได้ยินเสียงต่ำในน้ำจนถึง 7 Hz.

ดู มนุษย์และพิสัยการได้ยิน

พ็อลเทอร์ไกสท์

หน้าปกนิตยสาร ''La Vie Mysterieuse'' ของ ฝรั่งเศสฉบับเดือนเมษายน ค.ศ. 1911 หน้าปกเป็นรูปปรากฏการณ์พ็อลเทอร์ไกสท์ พ็อลเทอร์ไกสท์ (Poltergeist) เป็นชื่อเรียกปรากฏการณ์ชนิดหนึ่ง ที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน คำว่า "พ็อลเทอร์ไกสท์" มาจากภาษาเยอรมันคำว่า "Poltern" หมายถึง "ก่อความรำคาญหรือเอะอะมะเทิ่ง" และคำว่า "Geist" หมายถึง "ผี" เมื่อรวมความแล้ว คำว่า "พ็อลเทอร์ไกสท์" พอจะแปลความหมายได้ว่า "ผีที่น่ารำคาญหรือส่งเสียงดัง" ปรากฏการณ์พ็อลเทอร์ไกสท์จะแสดงออกด้วยการเคลื่อนข้าวของภายในบ้าน โดยที่ไม่มีใครไปเคลื่อนย้าย ซึ่งปรากฏการณ์เช่นนี้จะปรากฏในบ้านของโลกตะวันตก จึงมีความเชื่อกันว่าเป็นการกระทำของผี ซึ่งจะไม่ถึงขั้นหลอกหลอนมนุษย์จนขวัญผวา เพียงแค่ทำให้ตกใจเล่นเท่านั้น แต่ในบางกรณีก็อาจรุนแรงถึงขั้นทำให้ข้าวของเสียหายหรือเกิดเป็นรอยข่วน รอยกัดตามร่างกายมนุษย์ก็มี บางครั้งปรากฏการณ์พ็อลเทอร์ไกสท์อาจเกิดติดต่อกันเป็นวัน ๆ แต่นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่า พ็อลเทอร์ไกสท์ เป็นการกระทำที่เกิดจากมนุษย์เอง โดยเกิดจากความกดดัน โดยเฉพาะในวัยรุ่น เชื่อว่าเป็นลักษณะของการใช้พลังจิตแบบที่เคลื่อนย้ายสิ่งของ ที่เรียกว่าไซโคคิเนซิส (Psychokinesis) นั่นเอง โดยที่เจ้าตัวไม่รู้ตัว ขณะที่นักวิชาการชาวญี่ปุ่น โอทสึ โยะชิฮิโกะ แห่งมหาวิทยาลัยวะเซะดะ ที่ศึกษาเรื่องเหนือธรรมชาติต่าง ๆ เห็นว่า พ็อลเทอร์ไกสท์เป็นปรากฏการณ์ของพลาสมา คือ ไฟฟ้าสถิตที่ไหลวนอยู่ในอากาศ ซึ่งปรากฏการณ์แบบนี้เป็นปรากฏการณ์เดียวกับการเกิด "ลูกไฟวิญญาณ" หรือ "ฮิโตะดะมะ" (ญี่ปุ่น: 人魂) ตามความเชื่อของชาวจีนและชาวญี่ปุ่นนั่นเอง พ็อลเทอร์ไกสท์ได้ถูกอ้างอิงในวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยมีการเขียนเป็นนวนิยายในชื่อเดียวกันนี้ (ฉบับแปลเป็นภาษาไทยใช้ชื่อว่า "โพลเทอร์ไกสท์ผีเกเร") โดย เจมส์ คาห์น นักเขียนชาวอเมริกัน ในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และพ็อลเทอร์ไกสท์

กฎบัตรซาราโกซา

กฎบัตรซาราโกซา 2551 (THE 2008 ZARAGOZA CHARTER) การจัดแสดงนิทรรศการนานาชาติ ณ เมืองซาราโกซา เป็นการจัดแสดงนิทรรศการครั้งแรกที่กำหนดแนวคิดหลัก คือ น้ำและการพัฒนาที่ยั่งยืน (Water and Sustainable Development) และจัดแสดงที่ริมฝั่งแม่น้ำเอโบร เมืองซาราโกซา ราชอาณาจักรสเปน โดยมีประเทศต่างๆ เข้าร่วมงานถึง 104 ประเทศ องค์กรระดับนานาชาติ 3 แห่ง ตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเมืองต่างๆในราชอาณาจักรสเปน องค์การนิทรรศการนานาชาติ หรือ BIE หรือ (The Bureau International des Expositions; International Exhibitions Bureau) ได้ให้คำแนะนำแนวคิดการจัดแสดงนิทรรศการครั้งนี้ให้สอดคล้องกับงานขององค์การสหประชาชาติเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ BIE ตั้งเป้าหมายการจัดนิทรรศการระดับนานาชาติที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยตรง และเป็นการให้ความรู้แก่สาธารณชน การจัดงานที่ซาราโกซาครั้งนี้ตั้ง เป้าหมาย ให้ผู้เข้าชมหลายล้านคนได้รับความรู้เกี่ยวกับน้ำและปัญหาในการพัฒนาที่ยั่งยืน นอกจากงานนี้จะเป็นแหล่งรวมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแล้ว กิจกรรมของการประชุมสัมมนาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ (Water Tribune)เป็นการถ่ายทอดความรู้และทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ ตลอดจนความท้าทายในการจัดการทรัพยากรน้ำที่มนุษยชาติกำลังประสบอยู่ในปัจจุบันและในอนาคต ตลอดระยะเวลา 93 วันของการจัดแสดงนิทรรศการ เวทีนี้เป็นกิจกรรมใหญ่ที่สุดและรวบรวมกิจกรรมระดับนานาชาติเกี่ยวกับน้ำและการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งหมดไว้ การประชุมสัมมนาทรัพยากรน้ำนี้ เสร็จสิ้นก่อนวันปิดงานแสดงนิทรรศการเป็นเวลา 2 วัน โดยการนำเสนอบทสรุปและการวิเคราะห์ในรูปของกฎบัตรซาราโกซา 2008 (The 2008 Zaragoza Charter).

ดู มนุษย์และกฎบัตรซาราโกซา

กฎหมายสิ่งแวดล้อม

กฎหมายสิ่งแวดล้อม (environmental law) คือ กฎหมายประเภทหนึ่ง มักตราขึ้นเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก เนื้อหาครอบคลุมการป้องกัน และเยียวยาความเสื่อมโทรมแห่งสุขภาพทั้งของมนุษย์และอมนุษย์ และมักคาบเกี่ยวกับกฎหมายจารีตประเพณี สนธิสัญญา ข้อตกลง พันธกรณี กฎระเบียบ และนโยบาย ฯลฯ หลากชนิด กฎหมายสิ่งแวดล้อมของบางประเภทอาจกำหนดคุณภาพสิ่งแวดล้อม และจำกัดเงื่อนไขในการดำเนินกิจการบางประเภทของมนุษย์ เช่น กำหนดปริมาณของภาวะมลพิษที่จะให้มีได้ หรือกำหนดให้ต้องมีการวางแผนและการตรวจสอบกิจการบางอย่าง เป็นต้น นโยบายของรัฐ เป็นต้นว่า มาตรการกันไว้ดีกว่าแก้ (precautionary principles) การมีส่วนร่วมของประชาชน การจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม และมาตรการใครทำคนนั้นจ่าย (polluter pay principles) ล้วนเป็นลักษณะหนึ่งของกฎหมายสิ่งแวดล้อม ได้มีการริเริ่มจะให้มีกฎหมายสิ่งแวดล้อมขึ้นเป็นครั้งแรกในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมประมาณช่วง พ.ศ.

ดู มนุษย์และกฎหมายสิ่งแวดล้อม

กระสวยแซงเวลา

กระสวยแซงเวลา (อังกฤษ: The Time Machine) เป็นภาพยนตร์ไซไฟสัญชาติอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อปี ..

ดู มนุษย์และกระสวยแซงเวลา

กระดูกฝ่ามือ

กระดูกมือข้างซ้าย มุมมองจากด้านหลังมือ ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กระดูกฝ่ามือ (Metacarpal bones/Metacarpus) เป็นกลุ่มของกระดูกมือที่เชื่อมต่อระหว่างกระดูกข้อมือ (Carpus) และกระดูกนิ้วมือ (Phalanges) โดยจะมีจำนวน 5 ชิ้น เพื่อรองรับกระดูกนิ้วมือทั้ง 5.

ดู มนุษย์และกระดูกฝ่ามือ

กระดูกลูเนท

กระดูกลูเนท หรือ กระดูกรูปเสี้ยวพระจันทร์ (Lunate bone; Semilunar bone) เป็นกระดูกในที่อยู่ภายในมือของมนุษย์ มีลักษณะเด่นคือมีความเว้าและรูปร่างเหมือนพระจันทร์เสี้ยว ตั้งอยู่บริเวณตรงกลางของกระดูกข้อมือแถวต้น (proximal row) อยู่ระหว่างกระดูกสแคฟฟอยด์ (scaphoid) และกระดูกไตรกีตรัล (triangular bone) คำว่า ลูเนท (lunate) มาจากรากศัพท์ภาษาละตินคำว่า luna ที่แปลว่า ดวงจันทร.

ดู มนุษย์และกระดูกลูเนท

กระดูกสันหลัง

กระดูกสันหลัง มองจากด้านข้าง ส่วนต่างๆของแนวกระดูกสันหลัง ส่วนต่างๆกระดูกสันหลังหนึ่งชิ้น มองจากทางด้านข้าง กระดูกสันหลังส่วนคอ ชิ้นแรก มองจากทางด้านบน แนวกระดูกสันหลังส่วนคอตอนต้น แสดงกระดูกและเอ็นของข้อต่อบริเวณท้ายทอย กระดูกสันหลังส่วนอก มองจากทางด้านบน กระดูกสันหลัง (Vertebral column) ในกายวิภาคของมนุษย์ คือกระดูกแกนของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ตั้งแต่ส่วนต้นคอ ลงมาจนถึงส่วนก้น ภายในมีไขสันหลัง ซึ่งอยู่ในช่องไขสันหลังอีกทีหนึ่ง.

ดู มนุษย์และกระดูกสันหลัง

กระดูกหน้าผาก

กระดูกหน้าผาก (frontal bone) เป็นกระดูกที่อยู่ในกะโหลกศีรษะของมนุษย์ มีรูปร่างเหมือนเปลือกหอยแครง ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก.

ดู มนุษย์และกระดูกหน้าผาก

กระดูกฮาเมต

กระดูกฮาเมต (hamate bone or unciform bone) เป็นกระดูกที่อยู่ในข้อมือของมนุษย์ซึ่งมีลักษณะเด่นคือมีรูปร่างคล้ายลิ่ม และทีส่วนยื่นของกระดูกที่มีรูปร่างคล้ายตะขอออกมาจากพื้นผิวด้านฝ่ามือ กระดูกนี้เป็นกระดูกข้อมือ (carpus) ในแถวหลังที่วางตัวอยู่ทางด้านใกล้กลาง (ด้านนิ้วก้อย) ซึ่งมีฐานอยู่ด้านล่างติดกับกระดูกฝ่ามือชิ้นที่ 4 และ 5 ส่วนยอดชี้ขึ้นด้านบนและไปทางด้านข้างลำตัว รากศัพท์ของชื่อกระดูกมาจากภาษาละติน hamus แปลว่า ตะขอ.

ดู มนุษย์และกระดูกฮาเมต

กระดูกทราพีซอยด์

กระดูกทราพีซอยด์ (Trapezoid bone; lesser multangular bone) เป็นกระดูกข้อมือชิ้นหนึ่งในสัตว์สี่เท้า (tetrapod) รวมทั้งมนุษย์ มีขนาดเล็กที่สุดในกระดูกข้อมือแถวปลาย มีลักษณะเด่นคือมีรูปร่างเหมือนลิ่ม โดยมีปลายด้านหลังกว้าง และพื้นผิวด้านฝ่ามือแคบ กระดูกนี้มีหน้าประกบเกิดเป็นข้อต่อ 4 หน้าซึ่งแต่ละหน้าแยกกันด้วยขอบแหลมคม รากศัพท์ของ ทราพีซอยด์ (trapezoid) มาจากภาษากรีก trapezion แปลว่า สี่เหลี่ยมไม่สม่ำเสมอ ซึ่งมาจาก tra- แปลว่า สี่ และ peza แปลว่า เท้าหรือขอบ หากแปลตามตัวอักษรอาจแปลได้ว่า โต๊ะขนาดเล็ก มาจาก trapeza หมายถึง โต๊ะ และ -oeides หมายถึง รูปร่าง.

ดู มนุษย์และกระดูกทราพีซอยด์

กระดูกข้อมือ

ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กระดูกข้อมือ (Carpal bones; Carpus) เป็นกลุ่มของกระดูกชิ้นเล็กๆที่เรียงตัวอยู่ระหว่างกระดูกของส่วนปลายแขนและกระดูกฝ่ามือ (Metacarpal bones) และเป็นกระดูกที่ประกอบกันเป็นส่วนประกอบหลักของข้อมือ (wrist) กระดูกส่วนใหญ่ของกลุ่มกระดูกข้อมือจะมีรูปร่างคล้ายลูกเต๋า โดยที่พื้นผิวทางด้านหลังมือ (dorsal surface) และฝ่ามือ (palmar surface) จะมีลักษณะขรุขระเนื่องจากมีเอ็นและปลอกหุ้มเอ็น (tendon sheath) พาดผ่าน ขณะที่พื้นผิวด้านอื่นๆจะค่อนข้างเรียบเพื่อต่อกับกระดูกชิ้นอื่นๆได้อย่างสนิท สำหรับในมนุษย์ จะมีกระดูกข้อมือจำนวน 8 ชิ้น ซึ่งจะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือกระดูกข้อมือที่ติดต่อกับกระดูกเรเดียส จะเรียกว่า กระดูกข้อมือแถวแรก (proximal row) ซึ่งมีจำนวน 4 ชิ้น ส่วนอีกกลุ่มจะติดต่อกับกระดูกฝ่ามือ จะเรียกว่ากระดูกข้อมือแถวหลัง (distal row) ซึ่งมีจำนวน 4 ชิ้นเช่นกัน.

ดู มนุษย์และกระดูกข้อมือ

กระดูกข้างขม่อม

กระดูกข้างขม่อม (parietal bone) เป็นกระดูกที่อยู่ในกะโหลกศีรษะของมนุษย์ ซึ่งประกอบกันอยู่ด้านข้างและเป็นหลังคาด้านบนของกะโหลกศีรษะ กระดูกข้างขม่อมมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมไม่สม่ำเสมอ มีพื้นผิว 2 ด้าน ขอบกระดูก 4 ขอบ และมุมกระดูก 4 มุม.

ดู มนุษย์และกระดูกข้างขม่อม

กระดูกต้นขา

กระดูกต้นขา (Femur) เป็นกระดูกยาวที่อยู่ภายในต้นขา (thigh) ในมนุษย์ถือว่าเป็นกระดูกที่ยาวที่สุด มีปริมาตรมากที่สุด และแข็งแรงที่สุด ความยาวของกระดูกต้นขาโดยเฉลี่ยของมนุษย์ประมาณ 48 เซนติเมตร และเส้นรอบวงโดยเฉลี่ย 2.34 ซม.

ดู มนุษย์และกระดูกต้นขา

กระดูกแคปปิเตต

กระดูกแคปปิเตต (Capitate bone) เป็นกระดูกที่อยู่ในข้อมือของมนุษย์ กระดูกนี้นับว่าเป็นกระดูกข้อมือที่ใหญ่ที่สุดและตั้งอยู่ตรงกลางของข้อมือ ส่วนบนมีลักษณะเป็นหัวกระดูกกลม ซึ่งรับกับส่วนของกระดูกสแคฟฟอยด์ (scaphoid) และกระดูกลูเนท (lunate) และถัดลงมาเป็นส่วนคอดเรียกว่า คอกระดูก และด้านล่างเป็นตัวกระดูก รากศัพท์ของชื่อกระดูก มาจากภาษาละติน capitātus แปลว่า มีหัว มาจาก capit- แปลว่า หัว.

ดู มนุษย์และกระดูกแคปปิเตต

กระต่าย

กระต่ายสายพันธุ์เนเธอร์แลนด์ดวอฟ ซึ่งเป็นกระต่ายสายพันธุ์เล็ก และนิยมเป็นสัตว์เลี้ยงกันมากที่สุดชนิดหนึ่ง กระต่าย (Rabbit) เป็นสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับกระต่าย (Lagomorpha) ในวงศ์ Leporidae กระต่ายแม้จะมีฟันแทะเหมือนกับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) แต่ถูกจัดออกมาเป็นอันดับต่างหาก เนื่องมีจำนวนฟันที่ไม่เท่ากัน เพราะกระต่ายมีฟันแทะที่ขากรรไกรบน 2 แถว เรียงซ้อนกันแถวละ 2 ซี่ ฟันกรามบนข้างละ 6 ซี่ และฟันกรามล่างข้างละ 5 ซี่ เมื่อเวลาเคี้ยวอาหาร กระต่ายจะใช้ฟันทั้ง 2 ด้านเคี้ยวสลับกันไป ต่างจากสัตว์ฟันแทะโดยทั่วไปที่เคี้ยวเคลื่อนหน้าเคลื่อนหลัง ซึ่งสามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า (1\tfrac, C\tfrac, P\tfrac, M\tfrac) X 2.

ดู มนุษย์และกระต่าย

กระแตใต้

กระแตใต้ หรือ กระแตธรรมดา (common treeshrew, southern treeshrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับกระแต (Scandentia) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับกระรอก มีขนสีน้ำตาลแกมเขียว ส่วนใบหน้าแหลมยาว มีนิ้วที่เท้าหน้า 5 นิ้ว หางเรียวยาวเป็นพู่ มีเส้นขีดที่ไหล่ ลำตัวยาวประมาณ 17-24 เซนติเมตร หางยาว 17-24 เซนติเมตร ตัวเมียมีเต้านม 4 เต้า กระแตใต้ เป็นหนึ่งในกระแตที่พบได้ในประเทศไทย พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่คอคอดกระลงไปตลอดแหลมมลายู จนถึงอินโดนีเซีย เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืช, เมล็ดพืช, ผลไม้ และแมลงชนิดต่าง ๆ หากินได้ทั้งบนพื้นดิน, โคนต้นไม้ และบนต้นไม้ พบได้ในภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งป่าดิบทึบ และสวนสาธารณะหรือสวนผลไม้ในชุมชนของมนุษ.

ดู มนุษย์และกระแตใต้

กรดยูริก

กรดยูริก (Uric acid) เป็นสารประกอบเฮเทอโรไซคลิก (heterocyclic) ที่มีคาร์บอน ไนโตรเจน ออกซิเจน และไฮโดรเจน โดยมีสูตรเคมีเป็น C5H4N4O3 มันมีรูปแบบทั้งเป็นไอออนและเกลือที่เรียกว่าเกลือยูเรต (urate) และเกลือกรดยูเรต (acid urate) เช่น ammonium acid urate กรดยูริกเป็นผลของกระบวนการสลายทางเมแทบอลิซึมของนิวคลีโอไทด์คือพิวรีน (purine) และเป็นองค์ประกอบปกติของปัสสาวะ การมีกรดยูริกในเลือดสูงอาจทำให้เกิดโรคเกาต์ และสัมพันธ์กับโรคอื่น ๆ รวมทั้งโรคเบาหวาน และนิ่วในไตที่เกิดจาก ammonium acid urate.

ดู มนุษย์และกรดยูริก

กรดอะมิโน

กรดอะมิโน (amino acid) คือ ชีวโมเลกุลที่มีทั้งหมู่ฟังก์ชันอะมิโนและคาร์บอกซิลเป็นส่วนประกอบ กรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ในวิชาชีวเคมี คำว่า "กรดอะมิโน" มักหมายความถึงกรดอะมิโนแบบแอลฟา (alpha amino acids) ซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่ทั้งหมู่อะมิโนและหมู่คาร์บอกซิลติดอยู่กับคาร์บอนอะตอมเดียวกัน เรียกว่า \alpha-คาร์บอน เรซิดีวของกรดอะมิโน (amino acid residue) คือกรดอะมิโนที่ถูกดึงโมเลกุลของน้ำออกไปหนึ่งโมเลกุล (ไฮโดรเจนไอออนหนึ่งไอออนจากหมู่อะมิโน และไฮดรอกไซด์ไอออนหนึ่งไอออนจากหมู่คาร์บอกซิล) เรซิดีวของกรดมักเกิดขึ้นในขณะสร้างพันธะเพปไท.

ดู มนุษย์และกรดอะมิโน

กรดเบฮินิก

กรดเบฮินิก (behenic acid) หรือ กรดโดโคซาโนอิก (docosanoic acid) เป็นกรดคาร์บอกซิลิกและกรดไขมันอิ่มตัว มีสูตรเคมีคือ C21H43COOH เป็นผลึกหรือผงสีขาวถึงเหลือง ละลายในเฮกเซนและคลอโรฟอร์ม พบมากในน้ำมันมะรุม (Moringa oleifera) นอกจากนี้ยังพบในน้ำมันผักกาดก้านขาว, น้ำมันและผิวของถั่วลิสง โดยผิวถั่วลิสง 1 ตัน มีกรดเบฮินิกอยู่ 13 ปอนด์ (5.9 กก.).

ดู มนุษย์และกรดเบฮินิก

กลุ่มนิวเคลียส pulvinar

กลุ่มนิวเคลียส pulvinar (pulvinar nuclei, pulvinar thalami, nuclei pulvinaris) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า pulvinar เป็นกลุ่มนิวเคลียสที่อยู่ในทาลามัส pulvinar ปกติจัดอยู่ในกลุ่มนิวเคลียส lateral thalamic nuclei ในสัตว์ฟันแทะและสัตว์กินเนื้อ แต่เป็นคอมเพล็กซ์ต่างหากในไพรเมต เป็นคำที่ย่อมาจากคำในภาษาละตินว่า "pulvinus" ซึ่งแปลว่า เบาะ ในศาสนาของโรมโบราณ เป็นคำที่หมายถึงเก้าอี้ยาวมีเบาะสำหรับให้เทพใช้.

ดู มนุษย์และกลุ่มนิวเคลียส pulvinar

กลีบท้ายทอย

มองกลีบท้ายทอย หรือ กลีบท้ายทอย (occipital lobe, lobus occipitalis) เป็นกลีบสมองที่เป็นศูนย์ประมวลผลของการเห็นในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งโดยมากประกอบด้วยเขตต่างๆ ทางกายวิภาคของคอร์เทกซ์สายตา คอร์เทกซ์สายตาขั้นปฐม เป็นส่วนเดียวกับ เขตบร็อดแมนน์ 17 เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า V1 ซึ่งในมนุษย์ อยู่ที่สมองกลีบท้ายทอยใกล้กลาง (medial) ภายในร่องแคลคารีน (calcarine sulcus) เขต V1 นั้น บ่อยครั้งดำเนินต่อไปทางด้านหลังของสมองกลีบท้ายทอย และบ่อยครั้งเรียกว่า คอร์เทกซ์ลาย (striate cortex) เพราะเป็นเขตที่ระบุได้โดยริ้วลายขนาดใหญ่ของปลอกไมอีลิน ที่เรียกว่า ลายเจ็นนารี (Stria of Gennari) ส่วนเขตมากมายอื่นๆ ที่ทำหน้าที่ประมวลผลทางสายตาที่อยู่นอก V1 เรียกว่า เขตคอร์เทกซ์สายตานอกคอร์เทกซ์ลาย (extrastriate cortex) ซึ่งแต่ละเขตมีกิจเฉพาะของตนในการประมวลข้อมูลทางสายตา รวมทั้งการประมวลผลด้านปริภูมิ ด้านการแยกแยะสี และการรับรู้การเคลื่อนไหว ชื่อของสมองกลีบท้ายทอย (occipital lobe) เป็นชื่อสืบมาจากกระดูกท้ายทอย (occipital bone) ซึ่งมาจากคำในภาษาละตินว่า ob ซึ่งแปลว่า "ท้าย" และ caput ซึ่งแปลว่า "ศีรษะ".

ดู มนุษย์และกลีบท้ายทอย

กลีบขมับ

มองกลีบขมับ (Temporal lobe; lobus temporalis) ในทางประสาทกายวิภาคศาสตร์ เป็นส่วนของเปลือกสมองในซีรีบรัม อยู่บริเวณด้านข้างของสมอง ใต้ร่องด้านข้าง (lateral fissure) หรือร่องซิลเวียน (Sylvian fissure) ในซีกสมองทั้งสองข้างของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หากมองสมองของมนุษย์ให้เหมือนนวมนักมวย สมองกลีบขมับเป็นส่วนของนิ้วโป้ง สมองกลีบขมับมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับระบบความจำทางการเห็น การประมวลความรู้สึกคือการเห็น การเข้าใจในภาษา การบันทึกความทรงจำใหม่ ๆ อารมณ์ความรู้สึก และการเข้าใจความหมาย นอกจากนั้นแล้ว สมองกลีบขมับยังมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการได้ยิน เป็นที่อยู่ของคอร์เทกซ์การได้ยินปฐมภูมิ และสมองส่วนนี้ยังเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ความหมาย (semantics) ทั้งในการพูดและการมองเห็น.

ดู มนุษย์และกลีบขมับ

กล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์

กล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์ กล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์ (Sternocleidomastoid muscle) ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ในส่วนนอกของลำคอ ชื่อของกล้ามเนื้อมัดนี้มาจากจุดเกาะทั้งสามจุดของกล้ามเนื้อ ซึ่งได้แก่ กระดูกอก (sternum, sterno-) กระดูกไหปลาร้า (clavicle, cleido-) และมาสตอยด์ โพรเซส (mastoid process) ซึ่งเป็นส่วนนูนขนาดใหญ่บนกระดูกขมับ (temporal bone) ในบางครั้งอาจเรียกชื่อกล้ามเนื้อนี้ว่า สเตอร์โนมาสตอยด์ (sternomastoid) กล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์ทำหน้าที่หลักในการหมุนและการงอของศีรษะ นอกจากนี้ยังทำงานร่วมกับกลุ่มของกล้ามเนื้อสคาลีนนัส (scalenus muscles) เพื่อช่วยในการเคลื่อนไหวของช่องอกระหว่างการหายใจ แนวของกล้ามเนื้อนี้ยังใช้ในการแบ่งอาณาบริเวณทางกายวิภาคของลำคอเป็นสองส่วน คือพื้นที่สามเหลี่ยมลำคอด้านหน้า (anterior triangle of neck) และพื้นที่สามเหลี่ยมลำคอด้านหลัง (posterior triangle of neck).

ดู มนุษย์และกล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์

กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ

ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ (Biceps brachii muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่สำคัญมัดหนึ่งที่อยู่ในพื้นที่ด้านหน้าของต้นแขน (Anterior compartment of arm) กล้ามเนื้อมัดนี้มีหน้าที่หลายประการ แต่ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการงอแขนและการหมุนของปลายแขนโดยมีข้อศอกเป็นจุดหมุน กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ ยังเป็นกล้ามเนื้อที่ผู้คนส่วนใหญ่รู้จักกันดี เนื่องจากเป็นกล้ามเนื้อที่เห็นได้ชัดจากภายนอก และสามารถบริหารกล้ามเนื้อนี้ให้มีรูปร่างที่ต้องการได้ง่ายโดยการยกน้ำหนัก.

ดู มนุษย์และกล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ

กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ คาร์ไพ อัลนาริส

กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ คาร์ไพ อัลนาริส (flexor carpi ulnaris muscle; FCU) เป็นกล้ามเนื้อของปลายแขนของมนุษย์ ทำหน้าที่งอ (flex) และหุบ (adduct) มือ.

ดู มนุษย์และกล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ คาร์ไพ อัลนาริส

กล้ามเนื้อเดลทอยด์

กล้ามเนื้อเดลทอยด์ (Deltoid muscle) ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ หมายถึงกล้ามเนื้อรูปสามเหลี่ยมที่เป็นส่วนสำคัญของกล้ามเนื้อในบริเวณไหล่ และเป็นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของแขนที่มีข้อต่อไหล่เป็นจุดหมุน นอกจากนี้ยังนิยมใช้กล้ามเนื้อนี้ในการฉีดยาเข้าทางกล้ามเนื้อ (intramuscular injection) อีกด้วย ในตำรากายวิภาคศาสตร์บางเล่มอาจใช้คำว่า เดลทอยเดียส (deltoideus) ในการกล่าวถึงกล้ามเนื้อมัดนี้ อย่างไรก็ตาม ทั้งคำว่าเดลทอยด์และเดลทอยเดียส ต่างมาจากอักษรเดลตา (Delta) ในภาษากรีก ซึ่งเป็นอักษรรูปสามเหลี่ยม.

ดู มนุษย์และกล้ามเนื้อเดลทอยด์

กวางมูส

กวางมูส (moose) คือกวางขนาดใหญ่ที่พบในป่าเขตหนาวและอบอุ่นซีกโลกเหนือ สายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดคือสายพันธุ์อะแลสกา สามารถพบได้ในบริเวณป่าไทกา ในทวีปอเมริกาเหนือจะเรียกว่า มูส ในยูเรเชียจะเรียกว่า เอลก์ พบมากในบริเวณประเทศแคนาดา, ประเทศลัตเวีย, ประเทศเอสโตเนีย และประเทศรัสเซีย พวกมันเป็นสัตว์ที่ไม่รวมกันเป็นฝูงและมีขนาดใหญ่แถมยังมีเขาที่ค่อนข้างใหญ่ทำให้มันเคลื่อนที่ได้ค่อยข้างช้าทำให้พวกมันตกเป็นเหยื่อของนักล่าอย่างหมาป่าและมนุษย์ โดยปกติพวกมันจะเคลือนไหวช้าแต่ถ้าพวกมันโกรธหรือตกใจพวกมันก็สามารถวิ่งได้เร็วเช่นกัน พวกมันจะผสมพันธุ์กันในช่วงฤดูใบไม้ร่วงซึ่งช่วงนั้นมันจะมีการต่อสู้อย่างดุเดือดของตัวผู้เพื่อแย่งตัวเมี.

ดู มนุษย์และกวางมูส

กสิณไฟ

“กสิณไฟ” เป็นกรรมฐานกองที่มีพลังมากที่สุดในการปฏิบัติสมาธิภาวนา การเพ่งกสิณไฟสามารถช่วยประคองจิตของผู้ปฏิบัติให้เกิดสมาธิจนเข้าสู่รูปฌานและอรูปฌานได้ พลังแห่งกสิณไฟนอกจากจะมีอำนาจอยู่นอกเหนือกฎเกณฑ์ของธรรมชาติและกฎบัญญัติบนโลกแล้ว พลังแห่งกสิณไฟยังนำมาซึ่งพลังจิตที่สามารถแทรกแซงเข้าไปในวิถีชีวิตของเราได้ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นความสามารถในการบังคับธาตุทั้งสี่ (ดินน้ำ ลม ไฟ) เช่น ทำให้เกิดฝนตก ฟ้าร้อง มีลมพายุ หรือแม้กระทั่งสามารถนำไปใช้ควบคุมความคิดและจิตใจของคนเราได้อย่างน่าอัศจรรย์ยิ่ง พลังอำนาจของกสิณไฟจึงสมควรนำไปใช้อย่างถูกวิธี อย่างมีความเข้าใจ เพราะหากเราไม่มีความเข้าใจในอำนาจแห่งพลังกสิณไฟแล้ว ผู้ปฏิบัติที่สำเร็จกสิณไฟอาจไม่สามารถควบคุมพลังอำนาจพิเศษจากกสิณไฟได้ และอาจนำพลังอำนาจจากกสิณไฟนั้นไปใช้ในทางที่ผิด เช่น ใช้พลังอำนาจจิตจากกสิณไฟบังคับธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ หรือใช้พลังอำนาจจิตจากกสิณไฟครอบงำความรู้สึกนึกคิดและจิตใจของมนุษย์ ฯลฯ ซึ่งผลที่เกิดจากการใช้พลังอำนาจจิตจากกสิณไฟได้ก่อให้เกิดความเสียหายและสร้างความวุ่นวายต่อเพื่อนมนุษย์บนโลกเป็นอย่างมาก อันเป็นการสร้างบาปกรรมให้เกิดขึ้นจากการใช้พลังอำนาจจิตจากกสิณไฟโดยที่ผู้ฝึกกสิณไฟไม่ได้ตั้งใจ ผู้ที่ฝึกกสิณไฟจึงจำเป็นต้องเรียนรู้ถึงวิธีการควบคุมพลังอำนาจแห่งกสิณไฟ ผู้ที่ฝึกกสิณไฟจึงจำเป็นต้องให้สัจจะวาจารับศีลและปฏิญาณตนรับข้อห้ามต่างๆ กับครูบาอาจารย์ เพื่อเป็นการป้องกันมิให้ผู้ฝึกกสิณไฟในชั้นสูงนำเอาพลังอำนาจพิเศษจากกสิณไฟไปใช้เบียดเบียนผู้อื่น ด้วยขอบเขตของศีลห้าจะเป็นเครื่องเตือนใจของผู้ที่ฝึกกสิณไฟให้มีสติเท่าทันกิเลสทั้งปวง กล่าวกันว่าบรรดาผู้ปฏิบัติสมาธิภาวนาด้วยการเพ่งกสิณและสำเร็จกสิณ (ไฟ) ยามเมื่อตายลง ร่างกายสังขารของผู้ที่สำเร็จกสิณไฟจะสามารถลุกไหม้เผาทำลายตัวเองได้ ที่เป็นเช่นนี้ได้ก็สืบเนื่องมาจากพลังอำนาจของกสิณไฟที่พวกเขาได้เฝ้าฝึกปรือเอาไว้จนชำนิชำนาญ แม้เมื่อถึงเวลาที่พวกเขาได้ตายจากโลกนี้ พลังกสิณไฟที่อยู่ภายในจิตของผู้สำเร็จกสิณไฟจะทำหน้าที่ของตนด้วยการลุกไหม้เผาร่างกายสังขารอันเป็นก้อนธาตุทั้งสี่นี้ให้สูญสิ้นไป.

ดู มนุษย์และกสิณไฟ

กองทะเบียนประวัติอาชญากร

กองทะเบียนประวัติอาชญากร (Criminal Records Division) หรือ ทว.

ดู มนุษย์และกองทะเบียนประวัติอาชญากร

กะโหลกศีรษะ

วาดแสดงมุมมองจากทางด้านหน้าของกะโหลกศีรษะของมนุษย์ กะโหลกศีรษะ เป็นโครงสร้างของกระดูกที่ประกอบขึ้นเป็นโครงร่างที่สำคัญของส่วนศีรษะในสัตว์ในกลุ่มเครนิเอต (Craniate) หรือสัตว์ที่มีกะโหลกศีรษะ ซึ่งรวมทั้งสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิด กะโหลกศีรษะทำหน้าที่ปกป้องสมองซึ่งเป็นศูนย์กลางของระบบประสาท รวมทั้งเป็นโครงร่างที่ค้ำจุนอวัยวะรับสัมผัสต่างๆ ทั้งตา หู จมูก และลิ้น และยังทำหน้าที่เป็นทางเข้าของทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ การศึกษาเกี่ยวกับกะโหลกศีรษะมีประโยชน์อย่างมากหลายประการ โดยเฉพาะการศึกษาในเชิงกายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบระหว่างสัตว์ชนิดต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ด้านบรรพชีวินวิทยาและความเข้าใจถึงลำดับทางวิวัฒนาการ นอกจากนี้การศึกษาลงไปเฉพาะกะโหลกศีรษะมนุษย์ก็มีประโยชน์อย่างมากในการศึกษาด้านนิติเวชศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ รวมทั้งมานุษยวิทยาและโบราณคดี.

ดู มนุษย์และกะโหลกศีรษะ

กัมนอว์

กัมนอว์ (Camp Nou, "สนามใหม่") เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ตั้งอยู่ที่เมืองบาร์เซโลนา แคว้นกาตาลุญญา ประเทศสเปน เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ.

ดู มนุษย์และกัมนอว์

กั้ง

กั้ง (Mantis shrimps, Stomatopods) คือสัตว์น้ำจำพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในทะเล ในไฟลัมครัสตาเซียน ในอันดับสโตมาโตโพดา (Stomatopoda) ซึ่งมีอยู่หลากหลายสกุลและหลากหลายชนิด กั้ง โดยทั่วไปมีรูปร่างคล้ายกุ้งผสมกับตั๊กแตนตำข้าว ลำตัวยาวคล้ายตะขาบ หายใจด้วยเหงือกเช่นเดียวกับกุ้ง ลำตัวมีรูปร่างแบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 5 แต่ไม่ถึงปล้องที่ 8 กรีมีลักษณะแบนราบ มีขาทั้งหมด 3 คู่ เป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดขึ้นมาบนโลกตั้งแต่ 400 ล้านปีก่อน มักอาศัยอยู่ในทะเลโคลน หรือ บริเวณปากแม่น้ำ หรือตามแนวปะการัง และพบได้ถึงระดับความลึกกว่า 1,500 เมตร กั้งเป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดในโลกนี้มาก่อนกุ้ง มีจุดเด่น คือ มีดวงตาขนาดใหญ่ สามารถใช้สแกนมองภาพได้ดี โดยสามารถมองเห็นภาพชัดลึกได้ดี ตาแต่ละข้างของกั้งสามารถมองเห็นได้ 3 ตา และตาแต่ละดวงมองเห็นภาพได้ 3 ภาพ และสามารถกะระยะได้ดีมากเพื่อใช้ในการล่าเหยื่อ กั้งมีแก้วตาหลายพันชิ้น และสามารถมองเห็นสีได้ในระดับที่ซับซ้อน โดยถือว่าเป็นสัตว์จำพวกหนึ่งที่มีระบบการมองเห็นภาพดีที่สุดในอาณาจักรสัตว์โลก ไม่มีก้ามหนีบ แต่มีระยางค์ส่วนอกคู่ที่ 2 มีลักษณะเป็นก้ามสับขนาดใหญ่พับได้คล้ายมีดโกน และมีซี่ฟันแหลมคมเรียงกันเป็นแถวคล้ายหวี ใช้สำหรับฆ่าเหยื่อหรือป้องกันตัว ซึ่งสามารถใช้สับน้ำให้เกิดเป็นแรงขนาดมากได้ จนอาจถึงทำร้ายสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่า เช่น มนุษย์ให้ได้รับบาดเจ็บได้ กั้งถูกค้นพบแล้วกว่า 450 ชนิด ในประเทศไทยมีรายงานพบแล้วอย่างน้อย 61 ชนิด กั้งนิยมนำมารับประทานเป็นอาหารเช่นเดียวกับกุ้ง โดยปกติแล้วจะมีราคาสูงกว่ากุ้งธรรมดาหรือปู ในบางชนิดนิยมนำมาแช่กับน้ำปลารับประทานกับข้าวต้ม.

ดู มนุษย์และกั้ง

กาย

กาย กอง, หมวดหมู่, ที่รวม, ชุมนุม เช่น สัตวกาย (มวลสัตว์) พลกาย (กองกำลังทหาร) รถกาย (กองทหารรถ) ธรรมกาย (ที่รวมหรือที่ชุมนุมแห่งธรรม).

ดู มนุษย์และกาย

กายวิภาคศาสตร์

หัวใจและปอดของมนุษย์ ภาพจากหนังสือ ''Gray's Anatomy'' กายวิภาคศาสตร์ (anatomia, มาจาก ἀνατέμνειν ana: การแยก และ temnein: การตัดเปิด) เป็นแขนงหนึ่งของวิชาชีววิทยา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างของสิ่งมีชีวิต คำนี้หมายรวมถึงกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ (human anatomy), กายวิภาคศาสตร์สัตว์ (animal anatomy หรือ zootomy) และกายวิภาคศาสตร์พืช (plant anatomy หรือ phytotomy) ในบางแง่มุมกายวิภาคศาสตร์ก็มีความเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งกับวิชาคัพภวิทยา (embryology), กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ (comparative anatomy) และคัพภวิทยาเปรียบเทียบ (phylogenetics หรือ comparative embryology) โดยมีรากฐานเดียวกันคือวิวัฒนาการ (evolution) กายวิภาคศาสตร์สามารถแบ่งออกได้เป็นมหกายวิภาคศาสตร์ (gross anatomy หรือ macroscopic anatomy) และจุลกายวิภาคศาสตร์ (microscopic anatomy) มหกายวิภาคศาสตร์ เป็นการศึกษาโครงสร้างทางกายวิภาคที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จุลกายวิภาคศาสตร์เป็นการศึกษาโครงสร้างทางกายวิภาคขนาดเล็กซึ่งต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์ ได้แก่ มิญชวิทยา (histology) ซึ่งเป็นการศึกษาโครงสร้างของเนื้อเยื่อ และวิทยาเซลล์ (cytology) ซึ่งเป็นการศึกษาเซลล์ กายวิภาคศาสตร์มีประวัติศาสตร์เป็นเวลายาวนาน มีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะและโครงสร้างต่างๆ ของร่างกายอย่างต่อเนื่อง เช่นเดียวกันกับวิธีการศึกษาที่พัฒนาอย่างรวดเร็วตั้งแต่การศึกษาจากสัตว์ไปจนถึงการชำแหละ (dissect) ศพมนุษย์ จนกระทั่งพัฒนาเทคนิคที่อาศัยเทคโนโลยีที่ซับซ้อนในศตวรรษที่ 20 วิชากายวิภาคศาสตร์นั้นต่างจากพยาธิกายวิภาค (anatomical pathology หรือ morbid anatomy) หรือจุลพยาธิวิทยา (histopathology) ซึ่งเป็นการศึกษาลักษณะทางมหภาคและจุลภาคของอวัยวะที่เป็นโร.

ดู มนุษย์และกายวิภาคศาสตร์

การชำระให้บริสุทธิ์

ตามความเชื่อในศาสนาคริสต์ การชำระให้บริสุทธิ์ (sanctification) เป็นกระบวนที่พระเป็นเจ้าทรงช่วยมนุษย์ให้ได้รับความรอดและความบริสุทธิ์ในฝ่ายจิตวิญญาณ ผู้ได้รับการชำระให้บริสุทธิ์เรียกว่า "ผู้บริสุทธิ์" หรือ "ผู้ศักดิ์สิทธิ์" ในศาสนาพุทธเรียกการชำระจิตให้บริสุทธิ์จากกิเลสว่าว่า "วิสุทธิ" หรือ "ไตรสิกขา" ซึ่งเป็นหลักธรรมเพื่อการบรรลุมรรคผลนิพพาน.

ดู มนุษย์และการชำระให้บริสุทธิ์

การรับรู้รส

ตุ่มรับรส (Taste bud) รส หรือ รสชาติ (Taste, gustatory perception, gustation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับประสาทสัมผัสหนึ่งในห้า (นับตามโบราณ) โดยเป็นความรู้สึกที่ได้จากระบบรู้รส (gustatory system) รสเป็นความรู้สึกที่ได้เมื่อสารในปากก่อปฏิกิริยาเคมีกับเซลล์รับรส (taste receptor cell) ที่อยู่ในตุ่มรับรส (taste bud) ในช่องปากโดยมากที่ลิ้น รสพร้อม ๆ กับกลิ่น และการกระตุ้นที่ประสาทไทรเจมินัล (ซึ่งทำให้รู้เนื้ออาหาร ความเจ็บปวด และอุณหภูมิ) จะเป็นตัวกำหนดความอร่อยของอาหารหรือสารอื่น ๆ กล่าวอีกอย่างก็คือ ระบบรู้รสจะตรวจจับโมเลกุลอาหารและเครื่องดื่มเป็นต้น โดยมากที่ละลายในน้ำหรือไขมันได้ ซึ่งเมื่อรวมกับข้อมูลจากระบบรู้กลิ่นและระบบรับความรู้สึกทางกาย จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสารอาหาร ปริมาณ และความปลอดภัยของสิ่งที่เข้ามาในปาก มีรสชาติหลัก ๆ 5 อย่างคือ หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม และอุมะมิ ซึ่งรู้ผ่านวิถีประสาทที่แยกจากกัน ส่วนการรับรู้รสแบบผสมอาจเกิดขึ้นที่เปลือกสมองส่วนการรู้รสโดยประมวลข้อมูลที่ได้ในเบื้องต้นจากหน่วยรับรสหลัก ๆ การรับรู้รสจะเริ่มตั้งแต่สารที่มีรสทำปฏิกิริยากับน้ำลายซึ่งท่วมตุ่มรับรสที่อยู่บนโครงสร้างต่าง ๆ เช่นปุ่มลิ้น ทำให้โมเลกุลรสมีโอกาสทำปฏิกิริยากับหน่วยรับรสที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรสซึ่งอยู่รวมตัวกันที่ตุ่มรับรส รสหวาน อุมะมิ และขม จะเริ่มจากการจับกันของโมเลกุลกับ G protein-coupled receptors ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรส ส่วนความเค็มและความหวานจะรู้ได้เมื่อโลหะแอลคาไลหรือไอออนไฮโดรเจน (ตามลำดับ) ไหลเข้าไปในเซลล์รับรส ในที่สุดเซลล์รับรสก็จะลดขั้วแล้วส่งสัญญาณกลิ่นผ่านใยประสาทรับความรู้สึกไปยังระบบประสาทกลาง สมองก็จะประมวลผลข้อมูลรสซึ่งในที่สุดก็ทำให้รู้รส รสพื้นฐานจะมีส่วนต่อความรู้สึกอร่อยของอาหารในปาก ปัจจัยอื่น ๆ รวมทั้งกลิ่น ที่ตรวจจับโดยเยื่อบุผิวรับกลิ่นในจมูก, เนื้ออาหาร ที่ตรวจจับโดยตัวรับแรงกล และประสาทกล้ามเนื้อต่าง ๆ เป็นต้น, อุณหภูมิที่ตรวจจับโดยปลายประสาทรับร้อน, ความเย็น (เช่นที่ได้จากเมนทอล) กับรสเผ็สที่ได้จากตัวรับรู้สารเคมี, รูปลักษณ์ที่ปรากฏของอาหาร ที่เห็นได้ผ่านเซลล์รับแสงในจอตา, และสภาพทางจิตใจเอง เพราะเรารู้ทั้งรสที่เป็นอันตรายและมีประโยชน์ รสพื้นฐานทั้งหมดสามารถจัดเป็นไม่น่าพอใจ (aversive) หรือทำให้อยากอาหาร (appetitive) ความขมช่วยเตือนว่าอาจมีพิษ ในขณะที่ความหวานช่วยระบุอาหารที่สมบูรณ์ด้วยพลังงาน สำหรับมนุษย์ การรู้รสจะเริ่มลดลงราว ๆ อายุ 50 ปี เพราะการเสียปุ่มลิ้นและการผลิตน้ำลายที่น้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุมักทานรสจัดขึ้นเทียบกับเด็ก เช่น ต้องเติมเกลือ เติมพริกเป็นต้น ซึ่งอาจเป็นปัญหาต่อผู้มีความดันโลหิตสูงหรือมีปัญหาธำรงดุลอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย มนุษย์สามารถรู้รสแบบผิดปกติเพราะเป็นโรค dysgeusia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมดไม่ได้รู้รสได้เหมือน ๆ กัน สัตว์ฟันแทะบางชนิดสามารถรู้รสแป้ง (ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถ) แมวไม่สามารถรู้รสหวาน และสัตว์กินเนื้อหลายอย่างรวมทั้งหมาไฮยีน่า ปลาโลมา และสิงโตทะเลต่างก็ได้เสียการรู้รสชาติอาจถึง 4 อย่างจาก 5 อย่างที่บรรพบุรุษของพวกมันรู้.

ดู มนุษย์และการรับรู้รส

การรับรู้ความใกล้ไกล

ลักษณะต่าง ๆ รวมทั้งทัศนมิติแบบต่าง ๆ ขนาดโดยเปรียบเทียบ วัตถุที่บังกัน และอื่น ๆ ล้วนมีส่วนทำให้เห็นภาพถ่ายสองมิตินี้เป็น 3 มิติได้ การรับรู้ความใกล้ไกล เป็นสมรรถภาพทางการเห็นในการมองโลกเป็น 3 มิติ และการเห็นว่าวัตถุหนึ่งอยู่ใกล้ไกลแค่ไหน แม้เราจะรู้ว่าสัตว์ก็สามารถรู้สึกถึงความใกล้ไกลของวัตถุ (เพราะสามารถเคลื่อนไหวอย่างแม่นยำหรืออย่างสมควรตามความใกล้ไกล) แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ไม่รู้ว่า สัตว์รับรู้ความใกล้ไกลทางอัตวิสัยเหมือนกันมนุษย์หรือไม่ ความใกล้ไกลจะรู้ได้จากตัวช่วย (cue) คือสิ่งที่มองเห็นต่าง ๆ ซึ่งปกติจะจัดเป็น.

ดู มนุษย์และการรับรู้ความใกล้ไกล

การละเล่นพื้นเมือง

การละเล่นพื้นเมือง คือ การละเล่นที่แสดงเอกลักษณ์ของท้องถิ่นที่มีอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศไทย โดยสามารถแบ่งตามการละเล่นแต่ละภาค ได้แก.

ดู มนุษย์และการละเล่นพื้นเมือง

การวิ่งทางไกล

กลุ่มของนักวิ่งสมัครเล่นในการแข่งวิ่งทางไกลในสวิตเซอร์แลนด์ ภาพถ่ายของ Burton Holmes ชื่อ ''"1896: Three athletes in training for the marathon at the Olympic Games in Athens"'' การวิ่งทางไกล หรือ การวิ่งทน เป็นการวิ่งอย่างต่อเนื่องเป็นระยะทางอย่างน้อย 5 กิโลเมตร (3.1 ไมล์) ตามสรีรวิทยาแล้ว นับว่าเป็นการออกกำลังแบบแอโรบิกตามธรรมชาติและต้องใช้ความอดทน ในหมู่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มนุษย์ รวมถึงสัตว์ในอันดับวานร สามารถปรับตัวเพื่อวิ่งระยะทางไกลได้ดี สมมุติฐานการวิ่งทนเสนอไว้ว่าสัตว์สกุล โฮโม วิ่งทนเพราะการเดินทางข้ามพื้นที่กว้างใหญ่เพิ่มโอกาสในการไล่ล่า และยังสามารถล่าต่อเนื่องได้อีกด้วย การวิ่งทนยังพบในสัตว์กีบที่กำลังอพยพ และสัตว์กินเนื้อที่อาศัยบนพื้นดินบางประเภท เช่น หมา หมาป่า และไฮยีน่า ในสังคมมนุษย์รุ่นใหม่ มนุษย์มีหลายเหตุผลที่จะวิ่งทางไกล อาจทำไปเพื่อการออกกำลัง นันทนาการ การเดินทาง เหตุผลทางเศรษฐกิจ หรือเหตุผลทางวัฒนธรรม การวิ่งทางไกลสามารถช่วยปรับสุขภาพหัวใจและหลอดเลือดให้ดีขึ้น และยังช่วยทำให้สมรรถภาพร่างกายแบบแอโรบิกดีขึ้นโดยเป็นการเพิ่มกิจกรรมให้เอนไซม์และฮอร์โมน ซึ่งจะไปทำการกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อและหัวใจให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น บ่อยครั้ง ทั้งปัจจุบันและในอดีต ที่การวิ่งทางไกลจะถูกมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของการผึกทหาร การวิ่งเป็นอาชีพพบมากที่สุดในส่วนของการกีฬา ถึงแม้ว่าในสมัยก่อนยุคอุตสาหกรรม ผู้ส่งสาส์นเดินเท้าก็วิ่งเพื่อส่งข้อมูลไปยังสถานที่ที่ห่างไกลเช่นเดียวกัน การวิ่งทางไกลยังเป็นรูปแบบของประเพณีหรือพิธีของชนเผ่าต่าง ๆ เช่น ชนเผ่า Hopi และ Tarahumara ในกรีฑา ได้มีการกำหนดให้การแข่งขันวิ่งทางไกลต้องวิ่งเป็นระยะ 3 กิโลเมตร (1.86 ไมล์) ขึ้นไป ปกติจะมีการวิ่งอยู่ 3 ประเภท คือ ลู่และลาน การวิ่งบนถนน และการวิ่งวิบาก ซึ่งแตกต่างตามลักษณะภูมิประเทศ ได้แก่ ลู่วิ่งราดยาง ถนน และสภาพตามธรรมชาติ ตามลำดับ โดยปกติการวิ่งแข่งบนลู่จะมีระยะทางตั้งแต่ 3,000 เมตร ถึง 10,000 เมตร (6.2 ไมล์) ส่วนการวิ่งวิบากจะแข่งในระยะทางตั้งแต่ 5 ถึง 12 กิโลเมตร (3 ถึง 7.5 ไมล์) ในขณะที่การวิ่งแข่งบนถนนอาจมีระยะทางได้ยาวขึ้นถึง 100 กิโลเมตร (60 ไมล์) หรือมากกว่า การวิ่งวิบากในมหาวิทยาลัยที่สหรัฐอเมริกา ผู้ชายมีจะวิ่งเป็นระยะทาง 8000 เมตร ส่วนผู้หญิงจะวิ่งเป็นระยะทาง 6000 เมตร รายการวิ่งในโอลิมปิกฤดูร้อนมีระยะทาง 5,000 เมตร 10,000 เมตร และยังมีประเภทมาราธอน (42.195 กิโลเมตร หรือ 26 ไมล์ 385 หลา).

ดู มนุษย์และการวิ่งทางไกล

การวิเคราะห์

การวิเคราะห์ เป็นการแยกแยะสิ่งที่จะพิจารณาออกเป็นส่วนย่อยที่มีความสัมพันธ์กัน เพื่อทำความเข้าใจแต่ละส่วนให้แจ่มแจ้ง รวมทั้งการสืบค้นความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เพื่อดูว่าส่วนประกอบปลีกย่อยนั้นสามารถเข้ากันได้หรือไม่ สัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันอย่างไร ซึ่งจะช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างแท้จริง โดยพื้นฐานแล้ว การวิเคราะห์ถือเป็นทักษะที่มนุษย์ฝึกได้.

ดู มนุษย์และการวิเคราะห์

การศึกษาสร้างคุณค่า

การศึกษาสร้างคุณค่า เป็นระบบการศึกษาแบบแนวมนุษยนิยม สร้างคุณค่าความเป็นมนุษย์ เริ่มโดยจึเนะซาบุโร่ มาคิงุจิ นายกสมาคมโซคา งัคไก ท่านแรก.

ดู มนุษย์และการศึกษาสร้างคุณค่า

การสำรวจอวกาศ

การสำรวจอวกาศ คือการใช้วิทยาการด้านดาราศาสตร์และอวกาศเพื่อสำรวจและศึกษาห้วงอวกาศภายนอก การศึกษาอวกาศในทางกายภาพสามารถทำได้ทั้งโดยยานอวกาศที่ควบคุมโดยมนุษย์หรือโดยหุ่นยนต์ การเฝ้าสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า หรือที่เรียกว่าวิชาดาราศาสตร์ ได้กระทำกันมานานดังปรากฏในบันทึกประวัติศาสตร์ ทว่าการใช้จรวดเชื้อเพลิงเหลวขนาดใหญ่ที่เริ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทำให้การสำรวจอวกาศในทางกายภาพมีความเป็นจริงเป็นจังมากขึ้น ความก้าวหน้าในการสำรวจอวกาศเป็นผลจากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ล้ำยุครวมถึงการร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อความอยู่รอดในอนาคตของมนุษย์ชาติ ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างประโยชน์ในทางทหารหรือทางกลยุทธ์ที่เหนือกว่าประเทศอื่นๆ ในบางครั้งจึงมีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงประโยชน์ของการสำรวจอวกาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นเรื่องค่าใช้จ่ายและความปลอดภัย ครั้งหนึ่งการสำรวจอวกาศเป็นประเด็นการแข่งขันที่สำคัญระหว่างขั้วอำนาจ เช่นในระหว่างสงครามเย็น การสำรวจอวกาศยุคใหม่ช่วงแรกเป็นการแข่งขันกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับสหรัฐอเมริกา ได้แก่ การส่งยานที่สร้างด้วยมนุษย์ออกไปโคจรรอบโลกได้เป็นครั้งแรกในดาวเทียมสปุตนิก 1 ของสหภาพโซเวียต เมื่อ 4 ตุลาคม ค.ศ.

ดู มนุษย์และการสำรวจอวกาศ

การสืบเชื้อสายร่วมกัน

ในสาขาชีววิทยาวิวัฒนาการ การสืบเชื้อสายร่วมกัน หรือ การสืบสกุลร่วมกัน (Common descent) เป็นทฤษฎีที่อธิบายว่ากลุ่มสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ ได้มีบรรพบุรุษร่วมกันใกล้สุด (most recent common ancestor, MRCA) อย่างไร มีหลักฐานว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกสืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษร่วมกัน และในปี 2559 นักวิทยาศาสตร์ก็ได้ระบุยีน 355 ตัวจากบรรพบุรุษร่วมกันของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลก สิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กันจะมีบรรพบุรุษร่วมกันในช่วงการเกิดสปีชีส์ ที่สปีชีส์ต่าง ๆ จะกำเนิดจากกลุ่มบรรพบุรุษเดียวกัน โดยกลุ่มที่มีบรรพบุรุษร่วมกันใกล้กันกว่า ก็จะเป็นญาติใกล้ชิดกันมากกว่า และสิ่งมีชีวิตที่ยังมีชีวิตอยู่ทั้งหมดก็ได้มีบรรพบุรุษร่วมกันที่เรียกว่า บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (LUCA) ซึ่งมีชีวิตประมาณ 3,900 ล้านปีก่อน (โดยโลกเกิดเมื่อ 4,450 ล้านปี ± 1% ก่อน) หลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก 2 ชิ้นก็คือ.

ดู มนุษย์และการสืบเชื้อสายร่วมกัน

การจับปลาของนกกาน้ำ

ลิปวิดีโอการจับปลาของนกกาน้ำที่ทะเลสาบเอ๋อร์ไห่ เทศกาลอุไก การจับปลาของนกกาน้ำ (Cormorant fishing) เป็นการประมงแบบพื้นบ้านประเภทหนึ่ง นิยมทั้งในเอเชียตะวันออกและยุโรป ด้วยการใช้นกกาน้ำ ซึ่งเป็นนกที่เชียวชาญในการว่ายน้ำและดำน้ำจับปลาด้วยปาก ด้วยความที่มีจะงอยปากยาวแหลมและพังผืดที่เท้าเชื่อมติดกันเหมือนเป็ด โดยนกกาน้ำหลายชนิดสามารถเลี้ยงให้เชื่องได้ บางตัวอาจจะถือกำเนิดมาในคอกเลี้ยงของมนุษย์ การจับปลาด้วยวิธีการแบบนี้ เริ่มที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเป็นระยะเวลานานกว่า 1,500 ปี มาแล้ว ในจีนและญี่ปุ่น โดยชาวประมงจะพายเรือออกไปพร้อมด้วยฝูงนกกาน้ำ จากนั้นจะปล่อยให้นกลงไปในน้ำ และใช้ไม้พายตีน้ำเพื่อให้นกตื่นตัวและดำลงไป ทั้งนี้จะต้องใช้เชือกผูกคอนกด้วยเพื่อมิให้นกกลืนปลาลงไป แต่เมื่อนกตัวใดหาปลาได้ ชาวประมงจะแบ่งชิ้นปลาให้แก่นกเป็นรางวัล ปัจจุบัน วิธีการประมงแบบนี้ได้ลดน้อยลงไปตามกาลเวลา แต่ในญี่ปุ่นยังคงมีการอนุรักษ์ประเพณีนี้อยู่ ที่เมืองเซะกิ จังหวัดกิฟุ มีประเพณีการจับปลาอะยุ ที่แม่น้ำนะงะระ โดยเป็นประเพณีที่มีมาอย่างยาวนานกว่า 1,300 ปีแล้ว เรียกว่า "เทศกาลอุไก" (鵜飼) โดยผู้ที่จับปลาจะเรียกว่า "อุโช" (鵜匠) จะมีในระหว่างวันที่ 11 พฤษภาคม-15 ตุลาคม ของทุกปี ซึ่งถือเป็นประเพณีใหญ่มีการเฉลิมฉลองด้วยพลุและดอกไม้ไฟ ที่จีน ที่ทะเลสาบเอ๋อร์ไห่ ในมณฑลยูนนาน ยังคงอนุรักษ์การจับปลาด้วยนกกาน้ำอยู่ โดยถือเป็นไฮไลต์การท่องเที่ยวที่สำคัญประการหนึ่งของทะสาบแห่งนี้ ในยุโรป ที่ประเทศอังกฤษ พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ โปรดการเลี้ยงนกกาน้ำให้จับปลามาก ถึงขนาดสร้างบ่อน้ำขนาดใหญ่เพื่อให้นกกาน้ำได้จับปลา ในบริเวณที่ปัจจจุบันเป็นที่สถานที่ตั้งรัฐสภาอังกฤษ.

ดู มนุษย์และการจับปลาของนกกาน้ำ

การทดสอบทัวริง

การทดสอบของทัวริง เป็นวิธีการที่ แอลัน ทัวริง ได้เสนอขึ้นในปี..

ดู มนุษย์และการทดสอบทัวริง

การดูแลและหาเพื่อน

การดูแลและหาเพื่อน (Tend-and-befriend) เป็นพฤติกรรมของสัตว์บางชนิดรวมทั้งมนุษย์ เพื่อตอบสนองต่อภัยโดยป้องกันหรือดูแลเลี้ยงลูก (tend) และโดยหาพวกหรือกลุ่มสังคมเพื่อช่วยป้องกันให้กันและกัน (befriend) มีสมมติฐานว่าพฤติกรรมนี้เป็นการตอบสนองปกติของหญิงต่อความเครียด เหมือนกับที่การตอบสนองหลักของชายเป็นแบบสู้หรือหนี เป็นแบบจำลองทางทฤษฎีที่ตั้งขึ้นโดย ดร.

ดู มนุษย์และการดูแลและหาเพื่อน

การคลอดทางช่องคลอด

การคลอดทางช่องคลอดหมายถึงการคลอดทารกผ่านทางช่องคลอดของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม รวมถึงมนุษย์ด้วย เป็นขั้นตอนปกติของการเกิดของสิ่งมีชีวิตที่เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมด ยกเว้น monotreme ซึ่งอาศัยการวางไข่ การคลอดทางช่องคลอดอาจแบ่งได้เป็น.

ดู มนุษย์และการคลอดทางช่องคลอด

การควบคุมอารมณ์ตนเอง

การควบคุมอารมณ์ตนเอง (Emotional self-regulation) เป็นความสามารถในการตอบสนองทางอารมณ์ต่อประสบการณ์ในรูปแบบที่สังคมยอมรับได้แต่ยืดหยุ่นพอที่จะเป็นปฏิกิริยาแบบฉับพลัน และเป็นความสามารถในการผัดผ่อนปฏิกิริยาแบบฉับพลันถ้าจำเป็น หรือสามารถนิยามได้ว่า เป็นกระบวนการไม่ว่าจะเป็นภายนอกหรือภายในที่มีหน้าที่ตรวจสอบ ประเมิน และเปลี่ยนปฏิกิริยาทางอารมณ์ การควบคุมอารมณ์ของตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการควบคุมอารมณ์ ซึ่งรวมการควบคุมทั้งตัวเองและผู้อื่น การควบคุมอารมณ์เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนรวมทั้งการเริ่ม การยับยั้ง หรือปรับสภาพหรือพฤติกรรมในสถานการณ์หนึ่ง ๆ เช่นปรับความรู้สึกในใจที่เป็นอัตวิสัย การรู้คิด การตอบสนองทางสรีรภาพที่สัมพันธ์กับอารมณ์ (เช่นการเต้นของหัวใจหรือการทำงานทางฮอร์โมน) และพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับอารมณ์ (ไม่ว่าจะเป็นทางกายหรือทางสีหน้า) นอกจากนั้น โดยกิจ การควบคุมอารมณ์ยังอาจหมายถึงกระบวนการต่าง ๆ เช่น การใส่ใจในงานที่กำลังทำ และการหยุดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมที่คนอื่นบอก การควบคุมอารมณ์เป็นกิจที่สำคัญมากในชีวิตมนุษย์ ทุก ๆ วัน มนุษย์ได้รับสิ่งเร้ามากมายหลายอย่างที่อาจทำให้เกิดการตื่นตัว ปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่ไม่เหมาะสม สุด ๆ หรือไม่ระวัง อาจจะทำให้เข้ากับสังคมไม่ได้ ดังนั้น ทุกคนต้องควบคุมอารมณ์ของตนในรูปแบบต่าง ๆ เกือบตลอดเวลา ในเรื่องสุขภาพจิต การควบคุมอารมณ์ที่ผิดปกติ (emotional dysregulation) นิยามว่าเป็นความลำบากในการควบคุมอิทธิพลของความตื่นตัวทางอารมณ์ต่อรูปแบบและคุณภาพทางความคิด ทางการกระทำ และทางปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น/สิ่งอื่น บุคคลที่มีการควบคุมอารมณ์ผิดปกติจะแสดงรูปแบบการตอบสนองที่เป้าหมาย การตอบสนอง และ/หรือวิธีการแสดงออก ไม่เข้ากับสิ่งที่สังคมยอมรับได้ ยกตัวอย่างเช่น การควบคุมอารมณ์ผิดปกติสัมพันธ์อย่างสำคัญกับอาการของโรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล ความผิดปกติในการรับประทาน และการติดสารเสพติด การควบคุมอารมณ์ได้น่าจะสัมพันธ์กับสมรรถภาพทางสังคมและกับการแสดงออกทางอารมณ์ที่เหมาะสม.

ดู มนุษย์และการควบคุมอารมณ์ตนเอง

การตั้งครรภ์

การตั้งครรภ์ คือ การเจริญของลูกตั้งแต่หนึ่ง ที่เรียก เอ็มบริโอหรือทารกในครรภ์ ในมดลูกของหญิง เป็นชื่อสามัญของการตั้งครรภ์ในมนุษย์ การตั้งครรภ์แฝดเกี่ยวข้องกับการมีเอ็มบริโอหรือตัวอ่อนมากกว่าหนึ่งในการตั้งครรภ์ครั้งเดียว เช่น ฝาแฝด การคลอดปกติเกิดราว 38 สัปดาห์หลังการเริ่มตั้งท้อง หรือ 40 สัปดาห์หลังเริ่มระยะมีประจำเดือนปกติครั้งสุดท้ายในหญิงซึ่งมีความยาวรอบประจำเดือนสี่สัปดาห์ การร่วมเพศหรือเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทำให้เกิดการเริ่มตั้งท้อง เอ็มบริโอเป็นลูกที่กำลังเจริญในช่วง 8 สัปดาห์แรกหลังเริ่มตั้งท้อง จากนั้นใช้คำว่า ทารกในครรภ์ จนกระทั่งคลอด นิยามทางการแพทย์หรือกฎหมายของหลายสังคมมีว่า การตั้งครรภ์ของมนุษย์แบ่งเป็น 3 ไตรมาสเพื่อง่ายต่อการอ้างอิงช่วงการเจริญก่อนเกิด ไตรมาสแรกมีความเสี่ยงการแท้งเอง (การตายธรรมชาติของตัวอ่อนหรือทารกในครรภ์) สูงสุด ในไตรมาสที่สองเริ่มเฝ้าสังเกตและวินิจฉัยการเจริญของทารกในครรภ์ได้ง่ายขึ้น ไตรมาสที่สามมีการเจริญของทารกในครรภ์เพิ่มและการเจริญของแหล่งสะสมไขมันของทารกในครรภ์ จุดความอยู่รอดได้ของทารกในครรภ์ (point of fetal viability) หรือจุดเวลาที่ทารกในครรภ์สามารถดำรงชีวิตได้นอกมดลูก ปกติตรงกับปลายไตรมาสที่ 2 หรือต้นไตรมาสที่ 3 ทารกที่คลอดก่อนจุดนี้มีความเสี่ยงสูงต่อภาวะทางการแพทย์หรือตาย ในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร 40% ของการตั้งครรภ์เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจ และระหว่าง 25% ถึง 50% ของการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจเหล่านี้เป็นการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดในสหรัฐอเมริกา หญิง 60% ใช้การคุมกำเนิดระหว่างเดือนที่เกิดการตั้งครร.

ดู มนุษย์และการตั้งครรภ์

การประมวลผลคำพูด

การประมวลผลคำพูด (speech processing) เป็นการศึกษาสัญญาณเสียงพูด และ วิธีในการประมวลผลสัญญาณประเภทนี้ การประมวลผลสัญญาณเสียงพูดในปัจจุบัน จะอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิทัล โดยสาขานี้มีเนื้อหาร่วมระหว่างการประมวลผลสัญญาณดิจิทัลกับการประมวลภาษาธรรมชาติ กล่าวคือมีการประมวลผลทั้งสองส่วน ทั้งตัวสัญญาณเสียง (พาหะนำสาร) และภาษา (สาร) การประมวลผลคำพูด อาจแบ่งเป็นหัวข้อย่อยได้ดังนี้.

ดู มนุษย์และการประมวลผลคำพูด

การปรับภาวะให้เกิดความกลัว

การปรับภาวะให้เกิดความกลัว"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ conditioning ว่า "การปรับภาวะ" (fear conditioning) เป็นรูปแบบทางพฤติกรรมที่สิ่งมีชีวิตเรียนรู้เพื่อพยากรณ์เหตุการณ์ที่ไม่น่าพึงใจ เป็นรูปแบบแห่งการเรียนรู้โดยจับคู่สิ่งแวดล้อมที่ปกติเป็นกลาง ๆ (เช่นสถานที่) หรือตัวกระตุ้นที่เป็นกลาง ๆ (เช่นเสียง) กับตัวกระตุ้นที่ไม่น่ายินดี (เช่นถูกไฟดูด เสียงดัง หรือกลิ่นเหม็น) ในที่สุด การจับคู่เช่นนั้นเป็นเหตุให้สิ่งมีชีวิตตอบสนองด้วยความกลัว ต่อตัวกระตุ้นหรือสิ่งแวดล้อมที่ในตอนแรกเป็นกลาง ๆ เพียงลำพังโดยปราศจากตัวกระตุ้นที่ไม่น่ายินดี ถ้าใช้ศัพท์ที่เกี่ยวกับการปรับสภาวะแบบคลาสสิก (classical conditioning) ตัวกระตุ้นหรือสิ่งแวดล้อมที่เป็นกลาง ๆ เรียกว่า สิ่งเร้ามีเงื่อนไข (conditional stimulus) ส่วนตัวกระตุ้นที่ไม่น่ายินดีเรียกว่า สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข (unconditional stimulus) และความกลัวที่เกิดขึ้นในที่สุดของการปรับสภาวะเรียกว่า การตอบสนองมีเงื่อนไข (conditional response) มีการศึกษาเรื่องการปรับภาวะให้เกิดความกลัวในสัตว์สปีชีส์ต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่หอยทากจนกระทั่งถึงมนุษย์ ในมนุษย์ ความกลัวมีเงื่อนไขวัดได้โดยการรายงานของผู้รับการทดสอบและการตอบสนองทางผิวหนังโดยการนำกระแสไฟ (galvanic skin response) ในสัตวอื่น ความกลัวมีเงื่อนไขวัดได้โดยการมีตัวแข็งของสัตว์ (คือช่วงเวลาที่สัตว์ทำการสังเกตการณ์โดยไม่มีการเคลื่อนไหว) หรือโดย fear potentiated startle ซึ่งเป็นการตอบสนองโดยรีเฟล็กซ์ต่อตัวกระตุ้นที่น่ากลัว ความเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ และการตอบสนองในกล้ามเนื้อวัดโดยการบันทึกคลื่นไฟฟ้าในกล้ามเนื้อ (electromyography) ก็สามารถใช้ได้ในการวัดความกลัวมีเงื่อนไข การปรับภาวะให้เกิดความกลัวเชื่อกันว่า อาศัยเขตในสมองที่เรียกว่า อะมิกดะลา (amygdala) การตัดออกหรือการยับยั้งการทำงานของอะมิกดะลาสามารถยับยั้งทั้งการเรียนรู้และการแสดงออกของความกลัว การปรับภาวะให้เกิดความกลัวบางประเภท (แบบ contextual และ trace) ก็อาศัยเขตฮิปโปแคมปัสด้วย ซึ่งเป็นเขตสมองเชื่อกันว่ารับพลังประสาทนำเข้าจากอะมิกดะลาและประสานสัญญาณนั้นกับข้อมูลประสบการณ์ที่เคยมีมาก่อนที่ทำให้ตัวกระตุ้นนั้นมีความหมาย ทฤษฎีที่ใช้อธิบายประสบการณ์ที่ให้เกิดความบาดเจ็บหรือความเครียดทางจิตใจ บอกเป็นนัยว่า ความหวาดกลัวที่อาศัยอะมิกดะลาจะไม่อาศัยฮิปโปแคมปัสในช่วงเวลาที่กำลังประสบความเครียดอย่างรุนแรง และจะมีการบันทึกประสบการณ์นั้นไว้ทางกายภาพหรือโดยเป็นภาพ เป็นความรู้สึกที่สามารถจะกลับมาเกิดขึ้นอีกปรากฏเป็นอาการต่าง ๆ ทางกายภาพ หรือเป็นภาพย้อนหลัง (flashback) โดยที่ไม่มีความหมายเกี่ยวข้องเหตุการณ์ที่กำลังเกิดในปัจจุบัน นักทฤษฎีบางพวกเสนอว่า ความกลัวมีเงื่อนไขเป็นไปร่วมกับเหตุเกิดของโรควิตกกังวลประเภทต่าง ๆ ทั้งโดยกิจและโดยระบบประสาท งานวิจัยเกี่ยวกับการได้มา (acquisition) การทำให้มั่นคง (consolidation) และความสูญไป (extinction) ของความกลัวมีเงื่อนไข อาจจะนำไปสู่การบำบัดรักษาทางเวชกรรมหรือทางจิตบำบัดใหม่ ๆ เพื่อโรคต่าง ๆ เช่น โรคดิสโซสิเอทิฟ โรคกลัวประเภทต่าง ๆ และความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (post-traumatic stress disorder).

ดู มนุษย์และการปรับภาวะให้เกิดความกลัว

การปรับตัว (ชีววิทยา)

ในชีววิทยา คำว่า การปรับตัว (adaptation, adaptive trait) มีความหมาย 3 อย่างที่เกี่ยวข้องกัน คือ.

ดู มนุษย์และการปรับตัว (ชีววิทยา)

การปรับตัวไม่ดี

การปรับตัวไม่ดี (maladaptation) เป็นลักษณะทางพันธุกรรม (trait) ที่/หรือว่าได้กลายเป็นมีโทษมากกว่ามีคุณ เทียบกับการปรับตัว (adaptation) ที่มีคุณมากกว่ามีโทษ สิ่งมีชีวิตทุกหน่วย ตั้งแต่แบคทีเรียจนถึงมนุษย์มีทั้งลักษณะที่ปรับตัวดีและไม่ดี โดยเหมือนกับการปรับตัวที่ดี การปรับตัวไม่ดีอาจเกิดขึ้นในระยะเวลาระดับธรณีกาล หรือแม้แต่ภายในช่วงอายุหนึ่งของสัตว์หรือกลุ่มสัตว์ มันอาจเป็นการปรับตัว ที่แม้จะสมเหตุสมผลในช่วงเวลานั้น ได้มีความเหมาะสมที่ลดลง ๆ และกลายมาเป็นปัญหาโดยตนเองเมื่อเวลาผ่านไปเรื่อย ๆ นี่เป็นเพราะว่าเป็นไปได้เมื่อเวลาผ่านไป ที่การปรับตัวที่ดีอย่างหนึ่ง จะกลายเป็นลักษณะที่ไม่เหมาะสมโดยการคัดเลือก หรือกลายมาเป็นการทำงานผิดปกติมากกว่าเป็นการปรับตัวที่ดี ให้สังเกตว่าแนวคิดในเรื่องนี้ ตามที่เริ่มกล่าวถึงในคริสต์ศตวรรษที่ 19 อาศัยมุมมองที่ผิดพลาดของทฤษฎีวิวัฒนาการ คือเชื่อกันว่า การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตมีแนวโน้มตามธรรมชาติที่จะเสื่อมลงแล้วกลายเป็นการปรับตัวที่ไม่ดี แล้วในที่สุดก็จะสร้างความพิการถ้าไม่คัดออกจากกรรมพันธุ์ แต่ความจริงแล้ว ประโยชน์ที่ได้จากการปรับตัวอย่างหนึ่งน้อยครั้งมากที่จะเป็นตัวตัดสินการอยู่รอดโดยตนเอง แต่ว่าเป็นสิ่งที่ดุลกับการปรับตัวที่เสริมกันและต่อต้านกันอื่น ๆ ซึ่งต่อ ๆ มาจะไม่สามารถเปลี่ยนโดยไม่มีผลต่อการปรับตัวอย่างอื่น ๆ ได้ หรือกล่าวอีกอย่างก็คือ ปกติแล้วจะไม่สามารถได้ประโยชน์จากการปรับตัวที่ดี โดยไม่มีราคาเป็นการปรับตัวที่ไม่ดี ลองพิจารณาตัวอย่างที่ดูง่าย ๆ คือ ปรากฏแล้วว่ามันยากมากที่สัตว์จะวิวัฒนาการการหายใจได้ทั้งในน้ำและบนบก และการปรับตัวให้หายใจได้ดีกว่าในที่หนึ่งก็จะทำให้แย่ลงในอีกที่หนึ่ง.

ดู มนุษย์และการปรับตัวไม่ดี

การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง

การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (หรือ การทำให้เชื่อง) หรือ การปรับตัวเป็นไม้เลี้ยง (domestication, domesticus) เป็นทฤษฎีวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับความสัมพันธ์แบบพึ่งพาอาศัยกันระหว่างพืชหรือสัตว์ กับมนุษย์ผู้มีอิทธิพลในการดูแลรักษาและการสืบพันธุ์ของพวกมัน เป็นกระบวนการที่ประชากรสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมผ่านรุ่นโดยการคัดเลือกพันธุ์ (selective breeding) เพื่อเน้นลักษณะสืบสายพันธุ์ที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ โดยมีผลพลอยได้เป็นความเคยชินของสิ่งมีชีวิตต่อการพึ่งมนุษย์ ทำให้พวกมันสูญเสียความสามารถในการดำรงชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ ชาลส์ ดาร์วินเข้าใจถึงลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) จำนวนไม่มากจำนวนหนึ่ง ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงต่างจากบรรพบุรุษพันธุ์ป่า เขายังเป็นบุคคลแรกที่เข้าใจความแตกต่างระหว่างการคัดเลือกพันธุ์แบบตั้งใจ ที่มนุษย์เลือกลักษณะสืบสายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตโดยตรงเพื่อจะได้ลักษณะตามที่ต้องการ กับการคัดเลือกที่ไม่ได้ตั้งใจ ที่ลักษณะมีวิวัฒนาการไปตามการคัดเลือกโดยธรรมชาติ หรือตามการคัดเลือกอื่น ๆ สิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงจะต่างจากสิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าทางพันธุกรรม และในบรรดาสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ก็ยังมีความแตกต่างกันระหว่างลักษณะสืบสายพันธุ์ที่นักวิจัยเชื่อว่า จำเป็นในระยะต้น ๆ ของกระบวนการปรับนำมาเลี้ยง (domestication trait) และลักษณะที่พัฒนาขึ้นต่อ ๆ มาหลังจากที่สิ่งมีชีวิตพันธุ์ป่าและพันธุ์เลี้ยงได้แยกออกจากกันแล้ว (improvement trait) คือลักษณะที่จำเป็นโดยทั่วไปมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงทั้งหมด และเป็นลักษณะที่คัดเลือกในระยะต้น ๆ ของกระบวนการ ในขณะที่ลักษณะที่พัฒนาต่อ ๆ มาจะมีอยู่ในบางพวกของสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยง ถึงแม้ว่าอาจจะมีแน่นอนในพันธุ์ (breed) ใดพันธุ์หนึ่งโดยเฉพาะ หรือในกลุ่มประชากรในพื้นที่โดยเฉพาะ การปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง (domestication) ไม่ควรสับสนกับการทำสัตว์ให้เชื่อง (taming) เพราะว่า การทำให้เชื่องเป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมของสัตว์ป่า ให้กลัวมนุษย์น้อยลงและยอมรับการมีมนุษย์อยู่ใกล้ ๆ ได้ แต่ว่าการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง เป็นการเปลี่ยนพันธุกรรมของสัตว์พันธุ์ที่นำมาเลี้ยงอย่างถาวร เป็นการเปลี่ยนความรู้สึกของสัตว์ต่อมนุษย์โดยกรรมพันธุ์ สุนัขเป็นสิ่งมีชีวิตแรกที่ปรับนำมาเลี้ยง และแพร่หลายไปทั่วทวีปยูเรเชียก่อนการสิ้นสุดสมัยไพลสโตซีน ก่อนการเกิดขึ้นของเกษตรกรรม และก่อนการนำสัตว์อื่น ๆ ต่อ ๆ มามาเลี้ยง ข้อมูลทั้งทางโบราณคดีและทางพันธุกรรมแสดงนัยว่า การแลกเปลี่ยนยีน (gene flow) ที่เป็นไปทั้งสองทางระหว่างสิ่งมีชีวิตที่นำมาเลี้ยงกับพันธุ์ป่า เช่น ลา ม้า อูฐทั้งพันธุ์โลกเก่าและโลกใหม่ แพะ แกะ และหมู เป็นเรื่องสามัญ และเพราะความสำคัญของการนำสิ่งมีชีวิตมาเลี้ยงต่อมนุษย์ และคุณค่าของมันโดยเป็นแบบจำลองของกระบวนการวิวัฒนาการและของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีนี้ จึงดึงดูดความสนใจของนักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ รวมทั้งโบราณคดี บรรพชีวินวิทยา มานุษยวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมสาขาต่าง ๆ สุนัขและแกะเป็นสิ่งมีชีวิตพันธุ์แรก ๆ ที่มนุษย์ปรับนำมาเลี้ยง.

ดู มนุษย์และการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยง

การปรับตาดูใกล้ไกล

การปรับตาดูไกลและใกล้ '''Lens'''.

ดู มนุษย์และการปรับตาดูใกล้ไกล

การนับรวมทุกกลุ่มคน

การนับรวมทุกกลุ่มคน (Inclusiveness or Inclusion) หมายถึง การเปิดช่องทางให้ปัจเจกบุคคลและกลุ่มทุกกลุ่มเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสังคมของพลเมือง มีความเท่าเทียมกันทางสังคมในด้านสิทธิเสรีภาพ มีโอกาสและความเสมอภาคในกระบวนการอภิปรายถกเถียงและการตัดสินใจในทางการเมือง โดยการนับประชาชนทุกคนในสังคมให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของความเป็นพลเมืองที่มีสิทธิเสรีภาพอย่างเสมอหน้ากัน ทุกคนสามารถเข้าถึงอำนาจตามกฎหมายในการมีส่วนร่วมทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง อย่างไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ความเป็นส่วนหนึ่งของสังคมของพลเมืองจึงเป็นการรวมประชาชนทุกฝั่งฝ่ายเข้าเป็นสังคมเดียว ความหมายดังกล่าวจึงตรงข้ามกับความเหนือกว่าเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะบุคคล (exclusiveness) ซึ่งหมายถึงการให้สิทธิพิเศษแก่คนบางกลุ่ม จนกลายเป็นอภิสิทธิชนในสังคม.

ดู มนุษย์และการนับรวมทุกกลุ่มคน

การแทนความรู้

การแทนความรู้ (Knowledge representation) เป็นสาขาหลักที่สำคัญที่สุด สาขาหนึ่งของปัญญาประดิษ.

ดู มนุษย์และการแทนความรู้

การเพิ่มอำนาจ

การเพิ่มอำนาจ (Empowerment) เป็นคำศัพท์ที่ใช้กล่าวถึงบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ตลอดเวลาในอดีตไม่มีอำนาจ (powerless) แต่มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญในทางบริบทสังคม การเมือง ทำให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวสามารถมีอำนาจที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งในด้านของการเจรจาต่อรอง การตัดสินใจ และความสามารถในการกำหนดเส้นทางหรือวิถีชีวิตของตัวเอง คำว่าการเพิ่มอำนาจจึงมักใช้กับประชาชนหรือกลุ่มทางสังคมที่ไม่ได้รับสิทธิ เสรีภาพจากรัฐ หรือเป็นกลุ่มที่ถูกกดขี่ขูดรีดจากระบบเศรษฐกิจ และเกิดการเปลี่ยนแปลงสำคัญ ไม่ว่าจะมาจากวิกฤติเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงกฎหมาย หรือการรวมตัวเคลื่อนไหวทางสังคม ทำให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวมีอำนาจมากยิ่งขึ้น หรือเป็นสาเหตุให้เกิดการเพิ่มอำนาจในการต่อสู้ต่อรองให้กลุ่มที่เคยไม่มีอำนาจดังกล่าว (Kurian, 2011: 504-505).

ดู มนุษย์และการเพิ่มอำนาจ

การเกิดเซลล์สืบพันธุ์

การเกิดเซลล์สืบพันธุ์ (gametogenesis) คือกระบวนการอย่างหนึ่งในสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นการแบ่งเซลล์และทำให้เกิดความแตกต่างกันของเซลล์แม่ (gametocyte) ที่มีโครโมโซมสองชุด (diploid) หรือชุดเดียว (haploid) ให้กลายเป็นเซลล์สืบพันธุ์ (gamete) ที่มีโครโมโซมเพียงชุดเดียว การเกิดเซลล์สืบพันธุ์เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis) หรือไมโทซิส (mitosis) ขึ้นอยู่กับวงจรชีวิตของสิ่งมีชีวิตนั้น.

ดู มนุษย์และการเกิดเซลล์สืบพันธุ์

การเรียน

การเรียนรู้ หมายถึง การได้รับความรู้ พฤติกรรม ทักษะ คุณค่า หรือความพึงใจ ที่เป็นสิ่งแปลกใหม่หรือปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่ และอาจเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์สารสนเทศชนิดต่าง ๆ ผู้ประมวลทักษะของการเรียนรู้เป็นได้ทั้งมนุษย์ สัตว์ และเครื่องจักรบางชนิด ความก้าวหน้าในการเรียนรู้เมื่อเทียบกับเวลามีแนวโน้มเป็นเส้นโค้งแห่งการเรียนรู้ (learning curve) การเรียนรู้ของมนุษย์อาจเกิดขึ้นจากส่วนหนึ่งของการศึกษา การพัฒนาส่วนบุคคล การเรียนการสอน หรือการฝึกฝน การเรียนรู้อาจมีการยึดเป้าหมายและอาจมีความจูงใจเป็นตัวช่วย การศึกษาว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไรเป็นส่วนหนึ่งของสาขาวิชาประสาทจิตวิทยา (neuropsychology) จิตวิทยาการศึกษา (educational psychology) ทฤษฎีการเรียนรู้ (learning theory) และศึกษาศาสตร์ (pedagogy) การเรียนรู้อาจทำให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ (habituation) หรือการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม (classical conditioning) ซึ่งพบในสัตว์หลายชนิด หรือทำให้เกิดกิจกรรมที่ซับซ้อนมากขึ้นอย่างเช่นการเล่น ซึ่งพบได้เฉพาะในสัตว์ที่มีเชาวน์ปัญญา การเรียนรู้อาจก่อให้เกิดความตระหนักอย่างมีสำนึกหรือไม่มีสำนึกก็ได้.

ดู มนุษย์และการเรียน

การเห็นเป็น 3 มิติ

การเห็นเป็น 3 มิติ (Stereopsis มาจากภาษากรีกโบราณคำว่า στερεο- คือ stereo- แปลว่า "แข็ง/มี 3 มิติ" และ ὄψις คือ opsis แปลว่า "การปรากฏ การมองเห็น") เป็นคำที่ใช้บ่อยที่สุดโดยหมายถึงการรับรู้ความใกล้ไกลและการรับรู้โครงสร้างและวัตถุที่มี 3 มิติ โดยอาศัยข้อมูลจากตาทั้งสองของบุคคลผู้มีพัฒนาการทางการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาที่เป็นปกติ " เพราะตาของมนุษย์และของสัตว์มากมายอื่น ๆ อยู่ในตำแหน่งตามแนวนอนที่ต่างกันบนศีรษะ การเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาจะเป็นผลจากภาพสองภาพซึ่งต่างกันเล็กน้อยที่ฉายตกลงที่จอตาทั้งสอง และภาพจะแตกต่างโดยหลักเป็นตำแหน่งที่ต่างกันของวัตถุต่าง ๆ ตามแนวนอน ความแตกต่างเช่นนี้เรียกในภาษาอังกฤษว่า horizontal disparities (ความต่างตามแนวนอน) หรือโดยคำที่กว้างกว่าคือ binocular disparities (ความต่างที่สองตา) โดยเปลือกสมองส่วนการเห็นจะแปลความต่างเช่นนี้ให้เป็นการรับรู้ความใกล้ไกล (depth perception) แม้ความต่างที่เห็นด้วยสองตาจะมีอยู่ตามธรรมชาติเมื่อมองทัศนียภาพด้วยสองตา แต่ก็สามารถสร้างขึ้นโดยแสดงภาพ 2 มิติที่ต่างกันสองภาพต่อแต่ละตาต่างหาก ๆ โดยเทคนิคที่เรียกว่า stereoscopy (ภาพ 3 มิติ) ความใกล้ไกลที่รับรู้จากเทคนิคเช่นนี้เรียกในภาษาอังกฤษว่า stereoscopic depth (ความใกล้ไกลจากภาพ 3 มิติ) แต่การรับรู้ความใกล้ไกลและโครงสร้างวัตถุ 3 มิติ ก็เป็นไปได้ด้วยข้อมูลจากแค่ตาเดียว เช่น ขนาดของวัตถุที่ต่างกัน และพารัลแลกซ์เนื่องกับการเคลื่อนไหว (motion parallax) ซึ่งเป็นความแตกต่างของวัตถุหนึ่ง ๆ เมื่อเวลาผ่านไปถ้าผู้มองกำลังเคลื่อนที่อยู่" แม้ความรู้สึกใกล้ไกลในกรณีเช่นนี้ จะไม่ชัดเท่ากับที่ได้จากความต่างที่เห็นด้วยสองตา" ดังนั้น คำภาษาอังกฤษว่า stereopsis หรือ stereoscopic depth บางครั้งจึงหมายถึงการรับรู้ความใกล้ไกลด้วยการเห็นเป็นภาพเดียวด้วยสองตาโดยเฉพาะ ๆ คือหมายถึงเมื่อเรา "เห็นเป็น 3 มิติ" -->.

ดู มนุษย์และการเห็นเป็น 3 มิติ

การเดินป่า ล่าสัตว์ แกะรอยในเพชรพระอุมา

การเดินป่า ล่าสัตว์ แกะรอยในเพชรพระอุมา เป็นการรวบรวมรายละเอียดและทักษะในการล่าสัตว์และการแกะรอยในเพชรพระอุมา นำมาจากทักษะและประสบการณ์ในการเดินป่าของพนมเทียน เช่นศิลปะในการดำรงชีพ ศิลปะในการล่าสัตว์ รวมทั้งศิลปะในการแกะรอยสัตว์ในเชิงพราน นำมาผูกเสริมเติมแต่งให้แก่ตัวละครในเพชรพระอุมา ให้มีทักษะความสามารถและประสบการณ์ในการเดินป่า รวมทั้งการล่าสัตว์เพื่อใช้เป็นอาหาร ซึ่งการล่าสัตว์แกะรอยนั้นเป็นศิลปะเก่าแก่สืบทอดกันมาในหมู่พรานป่าและพรานพื้นเมือง เช่นเคล็ดลับในการสะกดรอยสัตว์ การตามสัตว์ที่ได้รับบาดเจ็บ การดูทางด่านของสัตว์ การนั่งห้างและการส่องสัตว์ การสังเกตทิศทางในการเดินป่าโดยใช้ต้นไม้และกิ่งไม้เป็นตำหนิป้องกันการหลงทาง การสังเกตท้องฟ้าและดวงดาว ฯลฯ โดยการล่าสัตว์แกะรอยในเพชรพระอุมา มีดังนี้.

ดู มนุษย์และการเดินป่า ล่าสัตว์ แกะรอยในเพชรพระอุมา

การเคลื่อนที่ (ฟิสิกส์)

การเคลื่อนที่ในฟิสิกส์ หมายถึง การเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุในช่วงเวลาหนึ่ง ถูกอธิบายด้วย การกระจัด ระยะทาง ความเร็ว ความเร่ง เวลา และอัตราเร็ว การเคลื่อนที่ของวัตถุจะถูกสังเกตได้โดยผู้สังเกตที่เป็นส่วนหนึ่งของกรอบอ้างอิง ทำการวัดการเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุเทียบกับกรอบอ้างอิงนั้น ถ้าตำแหน่งของวัตถุไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับกรอบอ้างอิง อาจกล่าวได้ว่าวัตถุนั้นอยู่นิ่งหรือตำแหน่งคงที่ (ระบบมีพลวัตแบบเวลายง) การเคลื่อนที่ของวัตถุจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เว้นเสียแต่มีแรงมากระทำ โมเมนตัมคือปริมาณที่ใช้ในการวัดการเคลื่อนที่ของวัตถุ โมเมนตัมของวัตถุเกี่ยวข้องกับมวลและความเร็วของวัตถุ และโมเมนตัมทั้งหมดของวัตถุทั้งหมดในระบบโดดเดี่ยว (อย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอก) ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลาตามที่อธิบายไว้ในกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม เนื่องจากไม่มีกรอบอ้างอิงที่แน่นอนดังนั้นจึงไม่สามารถระบุการเคลื่อนที่แบบสัมบูรณ์ได้ ดังนั้นทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาลจึงสามารถเคลื่อนที่ได้ การเคลื่อนที่ใช้ได้กับวัตถุ อนุภาค การแผ่รังสี อนุภาคของรังสี อวกาศ ความโค้ง และปริภูมิ-เวลาได้ อนึ่งยังสามารถพูดถึงการเคลื่อนที่ของรูปร่างและขอบเขต ดังนั้นการเคลื่อนที่หมายถึงการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องในการกำหนดค่าของระบบทางกายภาพ ตัวอย่างเช่นเราสามารถพูดถึงการเคลื่อนที่ของคลื่นหรือการเคลื่อนที่ของอนุภาคควอนตัมซึ่งการกำหนดค่านี้ประกอบด้วยความน่าจะเป็นในการครอบครองตำแหน่งที่เฉพาะเจาะจง การเคลื่อนที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนตำแหน่ง เช่น ภาพนี้เป็นรถไฟใต้ดินออกจากสถานีด้วยความเร็ว.

ดู มนุษย์และการเคลื่อนที่ (ฟิสิกส์)

การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย

การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย (Postmortem Change) เป็นการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาหลายอย่างภายในร่างกายของมนุษย์เมื่อเสียชีวิต ซึ่งแพทย์จะต้องนำสิ่งที่ตรวจพบในศพมาประเมินเพื่อหาสาเหตุและระยะเวลาของการตาย เพื่อประสานงานให้แก่พนักงานสอบสวนเพื่อใช้ในการติดตามค้นหาพยานหลักฐานในการจับกุมตัวผู้กระทำความผิดมารับโทษ การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย จะเกิดขึ้นเมื่อมีการตาย ซึ่งการตายนั้นอาจเกิดจากการฆ่าตัวตายหรือถูกบุคคลอื่นกระทำจนถึงแก่ความตาย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 15 ระบุไว้ว่า "สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดและอยู่รอดเป็นทารก สิ้นสุดลงเมื่อตาย" และตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร์ พ.ศ.

ดู มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย

กาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์

แสดงต้นไม้บรรพชีวินวิทยาของสัตว์มีกระดูกสันหลังทำใน ปี ค.ศ. 1879 (ของ Ernst Haeckel) ประวัติวิวัฒนาการของสปีชีส์ต่าง ๆ ได้รับการพรรณนาว่าเป็นต้นไม้วิวัฒนาการชาติพันธุ์ โดยมีสาขาต่าง ๆ มากมายแยกออกจากลำต้นต้นเดียว แม้ว่าข้อมูลที่ใช้สร้างต้นไม้นี้จะล้าสมัยแล้ว แต่ก็ยังแสดงหลักการบางอย่างที่ต้นไม้ที่ทำขึ้นในปัจจุบันอาจจะทำให้เห็นได้ไม่ชัดเจน "พุ่มไม้" ด้านบนขวาสุดเป็นพวกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมรวมทั้งมนุษย์ กาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์ (timeline of human evolution) แสดงเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ในกระบวนการวิวัฒนาการของมนุษย์และของบรรพบุรุษมนุษย์ ซึ่งรวมคำอธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับสัตว์บางประเภท บางสปีชีส์ หรือบางสกุล ซึ่งอาจจะเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ บทความไม่มุ่งจะแสดงกำเนิดของชีวิตซึ่งกล่าวไว้ในบทความกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต แต่มุ่งจะแสดงสายพันธุ์ที่เป็นไปได้สายหนึ่งที่ดำเนินมาเป็นมนุษย์ ข้อมูลของบทความมาจากการศึกษาในบรรพชีวินวิทยา ชีววิทยาพัฒนาการ (developmental biology) สัณฐานวิทยา และจากข้อมูลทางกายวิภาคและพันธุศาสตร์ การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์เป็นส่วนสำคัญของมานุษยวิท.

ดู มนุษย์และกาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์

กินรี

รูปหล่อโลหะของ กินร และ กินรี ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กินรี (ตัวเมีย) และ กินนร (ตัวผู้) เป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ ร่างกายท่อนบนเป็นมนุษย์ ท่อนล่างเป็นนก มีปีกบินได้ ตามตำนานเล่าว่าอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ เชิงเขาไกรลาศ นับเป็นสัตว์ที่มีปรากฏในงานศิลปะของไทยมาก ส่วนในวรรณคดีไทยก็มีการอ้างถึงกินรีด้วยเช่นกัน.

ดู มนุษย์และกินรี

กุสตาฟ (จระเข้)

กุสตาฟ กุสตาฟ (Gustave) เป็นชื่อเรียกของจระเข้เพศผู้ตัวหนึ่ง เป็นจระเข้แม่น้ำไนล์ (Crocodylus niloticus) ที่มีความยาวกว่า 20 ฟุต และหนักถึง 2,000 ปอนด์ ในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และกุสตาฟ (จระเข้)

ญิน

นิทานพันหนึ่งราตรี ญิน หรือ ดีญิน (جني jinnī, genie, dijinn; แปลว่า ผี หรือ ปีศาจ) เป็นสิ่งมีชีวิตเหนือธรรมชาติชนิดหนึ่ง ตามความเชื่อของชาวอาหรับ มีระบุอยู่ในอัลกุรอาน โดยทั่วไปแล้ว ลักษณะของญิน หรือ ดีญิน จะคล้ายคลึงกับผีหรือปีศาจ ตามความเชื่อของศาสนาหรือลัทธิอื่น หากแต่ญินกำเนิดมาจากไฟไร้ควันที่อัลลอฮฺทรงสร้างขึ้น และกำเนิดก่อนมนุษย์คนแรก คือ อาดัม เป็นเวลานานมาก จัดเป็นทูตสวรรค์อย่างหนึ่ง ญินเกิดมาเพื่อสร้างความดี (อิบาดะฮ์) ถวายแด่อัลลอฮฺ ญินอาศัยอยู่บนโลกมนุษย์ แต่อยู่อีกมิติหนึ่ง มีสังคมเหมือนกับมนุษย์ มีการดำเนินชีวิต มีเกิด มีตาย มีปัญญา มีศรัทธา มีปฏิเสธ มีความสามารถเหนือมนุษย์ สามารถทำในสิ่งที่หลากหลายมากกว่า อายุยืนยาวมากกว่ามาก สามารถบินได้ ปรากฏกายได้ จำแลงกายทั้งในรูปมนุษย์และสัตว์ ญินสามารถมองเห็นมนุษยได้ แต่มนุษย์จะมองไม่เห็นญิน เว้นแต่ญินจะปรากฏร่างให้เห็นเอง โดยรากศัพท์ของคำว่าญิน หมายถึง "ปกปิดซ่อนเร้น" ญินสามารถหลอกล่อหรือหลอกลวงมนุษย์ให้หลงผิดไปได้ด้วย หากผู้ใดที่พยายามติดต่อหรือสื่อสารกับญินจะสุ่มเสี่ยงมากต่อการผิดต่อหลักศาสนาหรือกลายเป็นผู้นอกรีต เนื่องจากเป็นการเข้าไปสู่ไสยศาสตร์ แต่ญิน มิใช่ผี ตามคติของศาสนาอิสลาม ผู้ที่ตายไปแล้วจะถูกนำไปพักรออยู่ในโลกแห่งบัรซัค ไม่สามารถออกมาอาละวาดหลอกหลอนผู้คนอย่างความเชื่อโดยทั่วไป เพียงแต่มีชัยฏอน หรือ อิบลิส ซึ่งก็เป็นญินตนหนึ่งที่ผิดต่ออัลลอฮฺ ปัจจุบันความเชื่อเรื่องญินยังคงมีอยู่ในหมู่ชาวชนบทหรือชาวเบดูอิน ผู้ที่อ้างว่าได้เคยพบเจอกับญิน อ้างว่าญินมีสภาพไม่มีตัวตน มองไม่เห็น แต่สามารถสัมผัสหรือรู้สึกได้ในบางสถานที่ เช่น ได้ยินเสียงคนเรียกชื่อตน แต่เมื่อหันไปมองแล้วกลับไม่พบตัว เป็นต้น โดยสถานที่ ๆ เชื่อว่ามีญินอาศัยอยู่ เช่น เพตรา ในจอร์แดน หรือหมู่บ้านชาวประมงร้างแห่งหนึ่งใกล้กับรัฐราสอัลไคมาห์ ของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ก็เชื่อว่าเป็นที่สิงสถิตย์ของญิน ในเชิงวัฒนธรรม ญิน เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อของ "จินนี่" ในนิทานพันหนึ่งราตรี ยักษ์หรืออสูรในตะเกียงวิเศษของอาละดินหรืออาลีบาบา ก็คือ ญิน.

ดู มนุษย์และญิน

ฝูหนิวเล่อเล่อ

ตุ๊กตาสัตว์นำโชคประจำพาราลิมปิก 2008 ฝูหนิวเล่อเล่อ ฝูหนิวเล่อเล่อ คือ มาสคอตประจำมหกรรมกีฬาพาราลิมปิกฤดูร้อน 2008 เป็นสัญลักษณ์ของความมานะอุตสาหะ ความแข็งแรง อดทน ไม่ย่อท้อ เป็นตัวแทนทางจิตวิญญาณที่จะเสริมสร้างกำลังใจให้กับเหล่าคนพิการ ที่ถึงแม้ร่างกายจะไม่สมบูรณ์ ก็จะไม่ย่อท้อ ไม่ยอมแพ้ ต่อสู้อย่างเต็มความสามารถเท่าที่พวกเขาเหล่านั้นจะทำได้ ฝูหนิวเล่อเล่อ ได้รับการออกแบบให้เป็นรูปวัว สัตว์ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมนุษย์ โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากวัฒนธรรมทางการเกษตรแห่งอารยธรรมจีนโบราณ.

ดู มนุษย์และฝูหนิวเล่อเล่อ

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ดู มนุษย์และภาพยนตร์

ภารกิจแอบจิ๊กตัวแม่บนดาวมฤตยู

รกิจแอบจิ๊กตัวแม่บนดาวมฤตยู (อังกฤษ: Mars Needs Moms) เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี ค.ศ. 2011 กำกับโดย ไซมอน เวลส์ โดยมี เซธ กรีน และแดน ฟอกเกลอร์ นำแสดง.

ดู มนุษย์และภารกิจแอบจิ๊กตัวแม่บนดาวมฤตยู

ภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็ก

วะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็ก.

ดู มนุษย์และภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็ก

ภาษา (แก้ความกำกวม)

ษาเป็นชุดสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายเพื่อการสื่อสาร เช่น.

ดู มนุษย์และภาษา (แก้ความกำกวม)

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ดู มนุษย์และภาษาเกาหลี

ภูมิศาสตร์

แผนที่โลก ภูมิศาสตร์ (geography) เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่ทำการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะ ของสถานที่ที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ภูมิศาสตร์จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดวางสิ่งต่าง ๆ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่แบ่งแยกสิ่งหนึ่งออกจากสิ่งอื่น ๆ โดยภูมิศาสตร์พยายามค้นหาเพื่อที่จะตีความให้กระจ่างถึงความสำคัญ ของสิ่งที่เหมือนและแตกต่างกันระหว่างพื้นที่ในรูปของสาเหตุและความเกี่ยวเนื่อง ปัจจุบันการศึกษาด้านภูมิศาสตร์ จะมุ่งเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดเบื้องต้นที่เกี่ยวกับพื้นที่มากกว่าที่จะศึกษาลักษณะเฉพาะและสถานที่ต่าง ๆ ของโลกอย่างคร่าว ๆ อย่างที่เคยปฏิบัติขึ้นมาในระยะแรก ๆ ภูมิศาสตร์ได้เปลี่ยนแนวทางมาสู่การศึกษารายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้น ๆ โดยเฉพาะ ซึ่งจะใช้การศึกษานี้พิจารณาว่า "มีสิ่งใดบ้างที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดสิ่งนั้นสิ่งนี้ขึ้น และแต่ละสิ่งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร" โดยถือรูปแบบและวิธีการดังกล่าวว่า เป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือเกิดปรากฏการณ์พิเศษในพื้นที่นั้น ๆ ขึ้น และถือว่าเป็น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ ที่เกิดขึ้น ซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาของโลก ลักษณะทางสภาพภูมิอากาศ เป็นต้น โดยจะมีความเกี่ยวเนื่องและมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในแต่ละลักษณะที่กล่าวถึง.

ดู มนุษย์และภูมิศาสตร์

ภูมิศาสตร์มนุษย์

350px คาร์ล ริทเทอร์ นักภูมิศาสตร์ชาวเยอรมัน - ถือกันว่าเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกภูมิศาสตร์สมัยใหม่ คู่กับ อเล็กซานเดอร์ ฟอน ฮุมโบลด์ท ภูมิศาสตร์มนุษย์ เป็นหนึ่งในสองสาขาหลักของภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์มนุษย์คือการศึกษาความเข้าใจและการใช้งานผืนโลกของมนุษย์ และกระบวนการที่มีผลกระทบต่อสิ่งนั้น มันเกี่ยวโยงกับทั้งสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ภูมิศาสตร์มนุษย์นั้นโดยทั่วไปแตกต่างอยากมากจากภูมิศาสตร์กายภาพ โดยมันเน้นมากกว่าในการศึกษาแบบแผนที่จับต้องไม่ได้หรือเป็นนามธรรมรอบ ๆ กิจกรรมของมนุษย์ และเปิดรับวิธีวิจัยเชิงคุณภาพมากกว่า ภูมิศาสตร์มนุษย์รวมเอาแง่มุมทางมนุษย์ การเมือง วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจของสังคมศาสตร์เอาไว้ ในขณะที่จุดเน้นหลักของภูมิศาสตร์มนุษย์จะไม่ใช่ภูมิทัศน์เชิงกายภาพของโลก แต่มันก็เป็นไปไม่ได้ที่จะคุยเรื่องภูมิศาสตร์มนุษย์ โดยไม่พูดถึงภูมิทัศน์ทางกายภาพที่กิจกรรมของมนุษย์ดำเนินอยู่ในนั้น และโดยไม่พูดถึงภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นตัวเชื่อมสำคัญระหว่างมนุษย์และโลก ภูมิศาสตร์มนุษย์นั้นมีความหลากหลายทั้งในวิธีวิทยาและทฤษฎี ซึ่งรวมถึงวิธีในแบบสตรีนิยม มาร์กซิสม์ หลังโครงสร้างนิยม ฯลฯ และใช้ทั้งระเบียบวิธีเชิงคุณภาพ (เช่น ชาติพันธุ์วรรณาและการสัมภาษณ์) และเชิงปริมาณ (เช่น การสำรวจทางสถิติ, การวิเคราะห์ทางสถิติ, และการสร้างตัวแบบ) สาขาหลักของภูมิศาสตร์มนุษย์ ได้แก่ วัฒนธรรม, การพัฒนา, เศรษฐกิจ, สุขภาพ, ประวัติศาสตร์, การเมือง, ประชากร, การท่องเที่ยว, และเมือง.

ดู มนุษย์และภูมิศาสตร์มนุษย์

มหาชน

มหาชน สามารถหมายถึง.

ดู มนุษย์และมหาชน

มหาวิทยาลัยรังสิต

มหาวิทยาลัยรังสิต (Rangsit University; ชื่อย่อ: มรส. - RSU) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในประเทศไทย ถูกจัดอยู่ในลำดับที่ 20 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในประเทศ นอกจากนี้ยังถูกจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่ดีที่สุด ลำดับที่ 1 ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และมหาวิทยาลัยรังสิต

มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ

มหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ (Case Western Reserve University หรือ CASE หรือ CWRU หรือ CASE WESTERN) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่เน้นทางด้านการวิจัย ตั้งอยู่ในเมืองคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และมหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟ

มหาสฟิงซ์

มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่า หมอบเฝ้าอยู่ใกล้กับ พีระมิดคาเฟร มหาสฟิงซ์ (The Great Sphinx of Giza) คือ รูปสฟิงซ์แกะสลักด้วยหินขนาดใหญ่ที่สุด ใน ประเทศอียิปต์ มีตัวเป็น สิงโต และมีหัวเป็น มนุษย์ อยู่ในบริเวณหมู่พีระมิดทั้ง 3 แห่งกิซ่า หมอบเฝ้าอยู่ใกล้กับ พีระมิดคาเฟร โดยหันหน้าไปทาง ทิศตะวันออก สฟิงซ์คือชื่อ สัตว์ประหลาด ในตำนานไอยคุปต์วิทยา และมีในตำนานชนชาติอื่นด้วย มีลักษณะต่างกันไป แต่จะมีตัวเป็นสิงโตเหมือนกัน สฟิงซ์ในตำนานกรีก มีใบหน้าและช่วงอก เป็นหญิงสาว มีปีกแบบนกอินทรีย์ และสามารถพูดภาษามนุษย์ได้ สฟิงซ์จะคอยถามคำถาม กับมนุษย์ที่หลงมาพบมันเข้า หากตอบคำถามไม่ได้ มนุษย์ผู้เคราะห์ร้ายนั้นก็จะถูกสังหาร ส่วนสฟิงซ์ของอียิปต์โบราณ ไม่มีปีกมีหน้าเป็นมนุษย์ผู้ชาย และยังมีแบบที่หัวเป็นแกะ (Criosphinx) และหัวเป็นนกเหยี่ยว (Hierocosphinx) อีกด้วย ชาวอียิปต์โบราณ แกะสลักหินเป็นรูปสฟิงซ์ไว้เป็นจำนวนมาก แต่ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่า นี้เอง โดยนักโบราณคดีเชื่อว่า มหาสฟิงซ์แห่งกิซ่าเป็นอนุสาวรีย์ของ ฟาโรห์คาเฟร (Khafre) หรือ คีเฟรน(Chephren) ฟาโรห์ในราชวงศ์ที่ 4 ผู้สร้างพีระมิดคาเฟร เมื่อประมาณ 2600 ปี ก่อนคริสตกาล โดยเชื่อว่าใบหน้าของมหาสฟิงซ์ จำลองมาจากใบหน้า ของฟาโรห์คีเฟรน และสามารถสังเกตว่าส่วนหัวของ มหาสฟิงซ์ มีสัญลักษณ์ของฟาโรห์อียิปต์ แสดงเอาไว้อย่างชัดเจน คือมีเคราที่คาง มีงูจงอางแผ่แม่เบี้ยที่หน้าผาก และยังมีเครื่องประดับ รัดเกล้าแบบฟาโรห์ ประกอบเข้ากับผ้าคลุมศีรษะ และคออีกด้วย จึงถือกันว่ามหาสฟิงซ์นี้ เป็นอนุสาวรีย์แกะสลักเก่าแก่ที่สุดที่รู้จักกัน อียิปต์โบราณถือกันว่าสฟิงซ์เป็นร่างจำแลงภาคหนึ่งของเทพเจ้า การที่ฟาโรห์คาเฟร ให้แกะสลักใบหน้าสฟิงซ์เป็นใบหน้าของพระองค์ จึงเป็นการแสดงว่าพระองค์เปรียบดังเทพเจ้านั่นเอง.

ดู มนุษย์และมหาสฟิงซ์

มหาสีลวชาดก

มหาสีลวชาดก เป็นเรื่องที่ว่าด้วยการปรารภความเพียร ในครั้งที่พระโคตมพุทธเจ้าเสวยพระชาติเป็น พระมหาสีลวร.

ดู มนุษย์และมหาสีลวชาดก

มหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธ

มหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธ (Great Race of Yith) หรือ ยิธเธียน เป็นมนุษย์ต่างดาวซึ่งมีบทบาทในเรื่องชุดตำนานคธูลู ยิธเธียนปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Shadow Out of Time ของเอช.

ดู มนุษย์และมหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธ

มอธแมน

วาดมอธแมน ประติมากรรมมอธแมนที่เมืองพอยต์เพลสเซนต์ มอธแมน หรือ มอธแมนแห่งพอยต์เพลสเซนต์ หรือ เบิร์ดแมน (อังกฤษ: Mothman, The Mothman of Point Pleasant, Birdman) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่มีผู้อ้างว่าพบเห็นที่เมืองพอยต์เพลสเซนต์ ในรัฐเวสต์เวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู มนุษย์และมอธแมน

มัดแฟล็ปส์

มัดแฟล็ปส์ (Mudflap) เป็นตัวละครจากเรื่องทรานส์ฟอร์มเมอร.

ดู มนุษย์และมัดแฟล็ปส์

มังกรยุโรป

วาดมังกรยุโรปสู้กับอัศวิน คิงกิโดรา มังกรยุโรป (European dragon) เป็นมังกรในความเชื่อของยุโรปสมัยกลาง แต่มีความแตกต่างจากมังกรจีนหรือมังกรทิเบตมาก ซึ่งเป็นสัตว์กึ่งเทพเจ้ามีอิทธิฤทธิ์ดลบันดาลให้เกิดฝน เกิดความอุดมสมบูรณ์ได้ แต่มังกรของยุโรปเป็นสัตว์ที่เสมือนตัวแทนของความชั่วร้ายหรือปีศาจ เป็นสัตว์ที่มุ่งร้ายต่อมนุษย์ โดยมากมีลักษณะเป็นสัตว์สี่ขา มีปีกกว้างใหญ่คล้ายค้างคาว หางยาวปลายหางเป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายหัวหอก สามารถพ่นไฟได้ มังกรในตำนานพื้นบ้านของยุโรป มักเป็นสัตว์ที่เฝ้าสมบัติและหวงทรัพย์สินเหล่านั้น โดยมากมักจับเอาเจ้าหญิงแสนสวยไปขังไว้บนยอดปราสาท และเป็นอัศวินซึ่งเสมือนวีรบุรุษเข้ามาช่วยเจ้าหญิงและฆ่ามังการนั้นตาย ตำนานมังกรของยุโรป ที่เป็นที่รู้จัก เช่น ซิคฟรีด (Siegfried) ในตำนานแร็กนาร็อกของยุโรปเหนือ ที่สังหารมังกรแล้วเลือดมังการอาบตัวทำให้เกิดความอมตะ ไม่มีวันตาย เป็นต้น กระนั้นมังกรของยุโรป ก็มักใช้เป็นตราสัญลักษณ์ของตระกูลขุนนาง อัศวิน หรือประดับบนธงของบางประเทศ เวลส์ เป็นต้น เพราะถือเป็นการแสดงถึงพลังอำน.

ดู มนุษย์และมังกรยุโรป

มังกรจีน

วาดมังกรจีนโบราณ มังกรจีน (อักษรจีนตัวเต็ม: 龍; อักษรจีนตัวย่อ: 龙; พินอิน: lóng; ฮกเกี้ยน: เล้ง; ไทยถิ่นเหนือ: ลวง) เป็นสัญลักษณ์โดดเด่นอันหนึ่งของจักรพรรดิและวัฒนธรรมจีน มีลักษณะที่มาจากสัตว์หลาย ๆ ชนิดผสมผสานกัน ลักษณะลำตัวยาวเหมือนงู มีเขี้ยวขนาดใหญ่หนึ่งคู่อยู่ที่บริเวณขากรรไกรด้านบน มีหนวดยาวลักษณะเหมือนกับไม้เลื้อย และมีแผงคอเหมือนกับของสิงโตอยู่บน คอ, คาง และข้อศอก มีเกล็ดสีเขียวเข้มทั่วทั้งบริเวณลำตัวรวมทั้งสิ้น 117 เกล็ด ซึ่งเกล็ดมังกรจำนวน 81 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยางซึ่งเป็นเกล็ดที่มีความดี เกล็ดมังกรจำนวน 36 แผ่น มีคุณสมบัติเป็นหยินซึ่งจะเป็นเกล็ดที่มีความชั่ว ลักษณะเขาของมังกรจะมีสันหลังทอดยาวไปตามหลังและหาง เป็นหนามยาวและสั้นสลับกัน มีขา 4 ขาและกรงเล็บแข็งแรง เกล็ดของมังกรจีนนั้น จะมีลักษณะเฉพาะเปลี่ยนไปตามแต่ละชนิดของมังกร ตั้งแต่สีเขียวเข้มจนถึงสีทอง หรือบางแหล่งกล่าวกันว่า มังกรจีนนั้นมีหลายสี เช่น สีน้ำเงิน สีดำ สีขาว สีแดง สีเขียว หรือสีเหลือง แต่ในกรณีของมังกรชนิด chiao หลังของมังกรจะเป็นสีเขียว บริเวณด้านข้างเป็นสีเหลือง และใต้ท้องเป็นสีแดงเข้ม มังกรจีนชนิดหนึ่งจะมีปีกที่ด้านข้างของลำตัว และสามารถที่จะเดินบนน้ำได้ แต่สำหรับมังกรจีนอีกชนิดหนึ่งเมื่อสะบัดแผงคอไปข้างหน้าและข้างหลัง จะทำให้เกิดเสียงที่ฟังดูเหมือนกับเสียงขลุ่ย มังกรจีนจะมีโหนกอยู่บนหัวซึ่งทำให้สามารถบินได้ เรียกโหนกที่อยู่บนหัวว่า ch’ih muh แต่ถ้ามังกรจีนตัวใดไม่มีโหนกที่บริเวณหัว จะกำคทาเล็ก ๆ ที่เรียกว่า po-shan ซึ่งสามารถทำให้มังกรลอยตัวในอากาศได้(ปัจจุบัน ประเทศทางตะวันตก ก็เพิ่งเจอ วัตถุลึกลับบางอย่างสามารถลอยในอากาศได้เป็นระยะเวลาสั้นๆ) ในประเทศจีนคนโบราณมีความเชื่อกันว่ามังกรคือสัตว์ที่ทรงพลังและศักดิ์สิทธิ์แห่งฟ้าและดิน ได้รับการกล่าวกันว่ามีความเป็นมิตร มากกว่าความร้ายกาจ เป็นสัญลักษณ์ที่นำมาซึ่งความสุข และความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมือง พบได้ใน แม่น้ำและทะเลสาบ ชอบที่จะอยู่ท่ามกลางสายฝน มังกรได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้สร้างกฎแห่งความใจบุญ และเป็นสิ่งที่เสริมสร้างความมั่นใจ และความเชื่อมั่นให้แก่กษัตริย์ในราชวงศ์ชิง กษัตริย์จะนั่งบนบัลลังก์มังกร เดินทางโดยเรือมังกร เสวยอาหารบนโต๊ะมังกร และบรรทมบนเตียงมังกร.

ดู มนุษย์และมังกรจีน

มังกรโกโมโด

มังกรโกโมโด (Komodo dragon; ชื่อวิทยาศาสตร์: Varanus komodoensis) เป็นสัตว์เลื้อยคลานในอันดับกิ้งก่าชนิดหนึ่ง มีถิ่นอาศัยอยู่บนเกาะโกโมโด, รินจา, ฟลอเรส และกีลีโมตังในประเทศอินโดนีเซีย อยู่ในวงศ์และสกุลเดียวกับเหี้ย (Varanidae) จัดเป็นตะกวดชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันนี้ ตัวโตเต็มวัยมีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 2-3 เมตร (6.6 ถึง 9.8 ฟุต) และมีน้ำหนักประมาณ 90 กิโลกรัม (150 ปอนด์) มังกรโกโมโดมีรูปร่างหน้าตาเหมือนตัวเงินตัวทองชนิดอื่นทั่วไป แต่ทว่ามีลำตัวใหญ่และยาวกว่ามาก มีลำตัวสีเทาออกดำกว.

ดู มนุษย์และมังกรโกโมโด

มัตสึไดระ คาทาคุริโกะ

มัตสึไดระ คาทาคุริโกะ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และมัตสึไดระ คาทาคุริโกะ

มันติคอร์

มันติคอร์ มันติคอร์ (Manticore) เป็นสัตว์ที่เกิดจากจากการผสมพันธุ์ระหว่าง คนกับสัตว์ มีฟันอันแหลมคม นิสัยเจ้าเล่ห์ มีหน้าเป็นคน ตัวเป็นสิงโต ชื่อของมัน มาจากภาษาเปอร์เซีย คือ martikhora แปลว่า ผู้กินคน คนเอเชียยุคโบราณต่างก็รู้จัก มันติคอร์ ในศตวรรษที่สอง มีนักประวัติศาสตร์โรมันบรรยายถึง ความน่ากลัวของมันติคอร์จากเรื่องบอกเล่าที่มีมาราว 700 ปี ก่อนหน้านั้นว่าในอินเดียมีสัตว์ป่าชนิดหนึ่งที่มีอำนาจ น่าเกรงขาม รูปร่างใหญ่ราวกับสิงโตตัวที่ใหญ่ที่สุด มีผิวสีแดง ขนหยาบคล้ายสุนัข ในภาษาอินเดียเรียกมันว่า มาร์ติคอรัส อย่างไรก็ตาม ใบหน้าของมันไม่ใช่สัตว์ แต่กลับเป็นใบหน้าของมนุษย์ มีฟันบนสามแถว และฟันล่างอีกสามแถว เป็นฟันที่แหลมคมและใหญ่กว่าเขี้ยวของสุนัขล่าเนื้อ ใบหูของมันก็คล้ายกับของมนุษย์ เว้นแต่ว่ามีขนาดใหญ่กว่าและมีขนหยาบ ตาของมันมีสีน้ำเงินเทาคล้ายนัยน์ตามนุษย์ แต่เท้าและกรงเล็บของมันเหมือนของสิงโต ที่ปลายหางของมันคือหางของแมงป่อง ที่อาจจะมีความยาวเกินกว่า 18 นิ้ว ที่ปลายสุดของหาง มีเหล็กในที่สามารถต่อยคนถึงตายได้ทันที มันสามารถปล่อยเหล็กในที่มีลักษณะเหมือนกับลูกศร และสามารถยิงไปได้ไกล เมื่อปล่อยเหล็กในไปแล้วมันก็จะม้วนหางกลับ หากมันจะยิงเหล็กในไปทิศตรงข้าม มันจะยืดหางออไปจนสุดแทน สัตว์ที่ถูกเหล็กในของมันติคอร์จะตายทันที ช้างเป็นสัตว์ชนิดเดียว ที่มันติคอร์จะไม่ทำร้.

ดู มนุษย์และมันติคอร์

มาม่า

alt.

ดู มนุษย์และมาม่า

มาร์เทิน

มาร์เทิน หรือ หมาไม้ (marten) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกินเนื้อขนาดเล็กสกุลหนึ่ง ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) อันเป็นวงศ์เดียวกับนาก, เพียงพอน, หมาหริ่ง และวุลเวอรีน ใช้ชื่อสกุลว่า Martes มาร์เทิน มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวเพรียวยาว ส่วนใบหน้าคลายกับสุนัข ใบหูมีขนาดกลมเล็ก หางยาวเป็นพวง มีอุ้งเท้าที่หนาและมีกรงเล็บที่แหลมคม ขนหนานุ่มมีสีขนที่หลากหลาย ตั้งแต่สีเหลืองจนถึงสีน้ำตาลเข้มจนถึงดำ แตกต่างไปกันตามชนิดและแต่ละภูมิภาคที่อาศัย มีขนาดลำตัวและน้ำหนักพอ ๆ กับแมว ปกติเป็นสัตว์ที่หากินและอาศัยเพียงลำพัง ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์ มาร์เทิน เป็นสัตว์ที่คล่องแคล่วว่องไวปราดเปรียว ส่วนมากมักหากินในเวลากลางคืน สามารถกินได้ทั้งพืชและสัตว์ ปีนต้นไม้ได้อย่างคล่องแคล่ว สามารถหากินได้ทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปอเมริกาเหนือ, ยุโรป, เอเชียเหนือ, ไซบีเรีย, เอเชียตะวันออก, ตอนใต้ของอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถปรับตัวให้เข้ากับภูมิประเทศที่หลากหลายได้ทั้งป่าดิบ, ป่าละเมาะ จนถึงชุมชนของมนุษย์ใกล้กับชายป.

ดู มนุษย์และมาร์เทิน

มาสค์ไรเดอร์เบลด

มาสค์ไรเดอร์เบลด เป็นภาพยนตร์ซีรีส์มาสค์ไรเดอร์ลำดับ 14 และเป็นเรื่องที่ 2 ที่ใช้การ์ดเป็นหลัก เริ่มออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ทีวีอาซาฮีในช่วงซูเปอร์ฮีโรไทม์เมื่อวันที่ 25 มกราคม ค.ศ.

ดู มนุษย์และมาสค์ไรเดอร์เบลด

มาซาย

มาไซ มาไซ (Maasai) เป็นชาติพันธุ์กึ่งเร่ร่อนมีประชากรประมาณ 800,000 คน อาศัยอยู่ใน ประเทศเคนยา และ แทนซาเนีย ชนเผ่ามาซายเลี้ยงฝูงสัตว์ตามทุ่งหญ้ารอบตีนเขาคิลิมันจาโรมาช้านาน ประมาณ 300 ปี เชื่อว่าชนเผ่ามาซายอพยพจากแถบลุ่มแม่น้ำไนล์ตอนเหนือลงมาทางใต้ตามหุบเขาทรุด เกรตริฟต์แวลลีย์ อาหารหลักของชนเผ่ามาซายคือ นมวัว และ นมคน คนเผ่านี้ฆ่าสัตว์กินในโอกาสที่มีงานฉลอง พิธีฉลองส่วนใหญ่จัดขึ้นเมื่อผู้ชายรุ่นหนึ่งได้เลื่อนฐานะในสังคม ในช่วงเวลาอื่นถือว่าวัวควายมีค่าเกินกว่าจะกินเป็นอาหาร วัวยังใช้เป็นสินสอดแก่ฝ่ายหญิงตามประเพณีอีกด้วย ชนเผ่ามาซายไม่มีบ้านถาวรแต่จะอยู่ในกระท่อมโครงไม้พอกด้วยโคลนและขึ้วัว ล้อมรั้วด้วยไม้พุ่มมีหนาม ทุกสามสี่ปีเมื่อทุ่งหญ้าโกร๋นเกรียนและรั้วหมดสภาพแล้ว ทั้งเผ่าก็จะออกเร่ร่อนต่อไป.

ดู มนุษย์และมาซาย

มานุษยรูปนิยม

มานุษยรูปนิยม (Anthropomorphism) หรือ บุคคลวัต หรือ บุคลาธิษฐาน (personification) คือ การเอาลักษณะของมนุษย์ไปใช้กับสิ่งที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น สัตว์ สิ่งไม่มีชีวิต ปรากฏการณ์ องค์การ รวมถึงวิญญาณและเทวดา คำภาษาอังกฤษบัญญัติขึ้นช่วง..

ดู มนุษย์และมานุษยรูปนิยม

มานุษยวิทยา

มานุษยวิทยา (anthropology) คือ วิชาที่เกี่ยวกับมนุษย์ มานุษยวิทยา เกิดจาก วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ, มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร.

ดู มนุษย์และมานุษยวิทยา

มานุษยวิทยาสังคม

มานุษยวิทยาสังคม เป็นสาขาหนึ่งของวิชามานุษยวิทยาว่าด้วยการศึกษาว่ามนุษย์ที่มีชีวิตอยู่ในปัจจุบันประพฤติปฏิบัติตนอย่างไรในกลุ่มของสังคม.

ดู มนุษย์และมานุษยวิทยาสังคม

มิซึนาชิ เรย์นะ

มิซึนาชิ เรย์นะ เป็นตัวละครในการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน.

ดู มนุษย์และมิซึนาชิ เรย์นะ

มือ

มือ (Hand) คืออวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกายอยู่ต่อแขน สำหรับจับ หยิบ สิ่งของต่าง.

ดู มนุษย์และมือ

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ.

ดู มนุษย์และมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

มีนวิทยา

มีนวิทยา (Ichthyology) เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปลา ลักษณะรูปร่างภายนอกของปลา ระบบภายในตัวปลา รวมถึงอนุกรมวิธานของปลา ออกเป็นกลุ่มหรือประเภท ปลาในที่นี้ประกอบด้วยปลากระดูกแข็ง ปลากระดูกอ่อน ได้แก่ ฉลามและกระเบน และปลาไม่มีขากรรไกร โดยไม่ครอบคลุมไปถึงสัตว์น้ำจำพวกอื่น เช่น หมึก, กบ, กุ้ง, ปู, วาฬ หรือโลมา ซึ่งไม่จัดว่าเป็นปลา การศึกษาทางด้านมีนวิทยามีความสัมพันธ์อย่างมากกับสาขาวิชาชีววิทยาทางทะเล ชลธีวิทยา และสมุทรศาสตร์ และเรียกนักวิทยาศาสตร์ที่เชี่ยวชาญและศึกษาศาสตร์ทางด้านนี้ว่า "นักมีนวิทยา" มีนวิทยา ถือได้ว่าเป็นแขนงย่อยของสัตววิทยา โดยคำว่า "Ichthyology" ที่ใช้เป็นชื่อภาษาอังกฤษนั้น มาจากภาษากรีกคำว่า "Ichthys" (ἰχθύς) แปลว่า ปลา, "logy" หรือ "logos" (λόγος) แปลว่า วิชา หรือ เรื่องราว, "มีน" มาจากภาษาบาลีสันสกฤต แปลว่า ปลา และ "วิทยา" มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่า ความรู้ โดยบุคคลแรกที่ถือได้ว่าศึกษาศาสตร์มีนวิทยาเป็นคนแรกของโลก คือ อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีกโบราณที่มีชื่อเสียง เพราะเป็นผู้ริเริ่มจำแนกสิ่งมีชีวิต บันทึกของอริสโตเติลได้กล่าวถึงโครงสร้าง อุปนิสัย การอพยพย้ายถิ่น ฤดูกาลสืบพันธุ์ และความรู้อื่น ๆ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับปลามากชนิด แต่ความจริงมนุษย์รู้จักปลามานานกว่า 50,000 ปีแล้ว จากหลักฐานที่มนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้วาดภาพปลาไว้ที่ผนังถ้ำ เช่น รูปปลาบึกที่อุทยานแห่งชาติผาแต้ม เป็นต้น การศึกษาเกี่ยวกับปลาในระยะต่อมาโดยมากยังอ้างอิงผลงานของอริสโตเติล จะมีเพิ่มเติมก็เป็นเรื่องปลีกย่อย จนกระทั่งในศตวรรษที่ 18 การศึกษาเกี่ยวกับปลาตื่นตัวมากขึ้น มีการเขียนตำราวิชาทางวิชาการ ซึ่งใช้อ้างอิงมาจนถึงทุกวันนี้ มีการจำแนกหมวดหมู่ปลากระดูกอ่อน ปลากระดูกแข็ง ศึกษากายวิภาค สรีรวิทยา วิวัฒนาการของปลาจากซากดึกดำบรรพ์ มีนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาศาสตร์ด้านมีนวิทยาที่มีชื่อเสียงหลายคน อาทิ อัลเบิร์ต กึนเธอร์, จอร์จส์ คูเวียร์, อเล็กซานเดอร์ เอ็มมานูเอล อกาซซี, หลุยส์ อกาซซี (บุตรของอกาซซี) รวมถึง คาโรลัส ลินเนียส ผู้ให้กำเนิดหลักการอนุกรมวิธานที่ใช้มาถึงปัจจุบันด้วย สำหรับในประเทศไทย ศาสตร์แขนงนี้เริ่มต้นขึ้นเมื่อ ดร.

ดู มนุษย์และมีนวิทยา

มณีแดนสรวง

มณีแดนสรวง เป็นละครโทรทัศน์แนวโรแมนติกและแฟนตาซี บทประพันธ์โดย พงศกร หรือ นายแพทย์พงศกร จินดาวัฒนะ เขียนบทโทรทัศน์โดย ณัชภีม กำกับการแสดงโดย คมกฤษ ตรีวิมล โดยออกอากาศทางไทยทีวีสีช่อง 3.

ดู มนุษย์และมณีแดนสรวง

มนุษยพันธุศาสตร์

มนุษยพันธุศาสตร์เป็นสาขาย่อยของพันธุศาสตร์ที่ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมในมนุษย์ มีเนื้อหาครอบคลุมและทับซ้อนสาขาวิชาอื่นๆ เช่น พันธุศาสตร์คลาสสิก เซลล์พันธุศาสตร์ อณูพันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์ชีวเคมี จีโนมิกส์ พันธุศาสตร์ประชากร พันธุศาสตร์การเจริญ พันธุศาสตร์คลินิก และการให้คำปรึกษาทางพันธุกรรม หมวดหมู่:มนุษยพันธุศาสตร์ หมวดหมู่:มนุษย์ หมวดหมู่:พันธุศาสตร์.

ดู มนุษย์และมนุษยพันธุศาสตร์

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ดู มนุษย์และมนุษยศาสตร์

มนุษยนิยม

มนุษยนิยม (Humanism) หมายถึงประเภทกว้างๆ ของปรัชญาเชิงจริยศาสตร์ ที่ยืนยันถึงความสง่างามและคุณค่าของมนุษย์ทุกคน โดยอาศัยหลักความสามารถของบุคคลนั้นในการบ่งชี้ได้ด้วยตนเองว่าสิ่งใดถูกสิ่งใดผิด โดยได้การยอมรับโดยมนุษย์ทั่วไปที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะคุณภาพเชิงตรรกยะหรือเชิงเหตุผล มนุษยนิยมเป็นองค์ประกอบเฉพาะหลายๆ ตัวของระบบปรัชญาและได้รับการผนวกไว้ในหลายสำนักคิดทางศาสนา มนุษยนิยม วางเงื่อนไขไว้ให้มีการค้นหาความจริงและศีลธรรมในวิธีการที่มนุษย์จะนำมาใช้สนองความต้องการของมนุษย์ด้วยกัน เมื่อมองไปที่ ความสามารถในการกำหนดและตัดสินได้ด้วยตนเอง มนุษยนิยมจะไม่รับการชั่งใจและตัดสินใจโดยสิ่งที่อยู่เหนือความเข้าใจ เช่นการตัดสินใจที่ขึ้นอยู่กับ "ความเชื่อที่ปราศจากเหตุผล" สิ่งเหนือธรรมชาติ หรือด้วยคำทำนายที่อ้างไว้ในคัมภีร์ใดๆ มนุษยนิยมสนับสนุนจริยธรรมสากล (universal morality) ที่อยู่พื้นฐานของมนุษย์ทั่วไปที่มีความเป็นอยู่ธรรมดา ซึ่งแสดงให้เห็นได้ว่า การแก้ปัญหาในสังคมมนุษย์และปัญหาทางวัฒนธรรมของมนุษย์จะใช้แนวทางเฉพาะกลุ่มชนแคบๆ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งไม่ได้.

ดู มนุษย์และมนุษยนิยม

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ดู มนุษย์และมนุษย์

มนุษย์ชวา

วาดกะโหลก มนุษย์ชวา มนุษย์ชวา (Java Man) เป็นชื่อตั้งตามฟอสซิลที่ขุดพบในปี 1891 โดยศัลยแพทย์ชาวดัตช์ที่ชื่อ เออแฌน ดูว์บัว เมื่อปี..

ดู มนุษย์และมนุษย์ชวา

มนุษย์ช้าง

ซฟ แคร์รี เมอร์ริค ในปี ค.ศ. 1889 ดิ เอเลแฟนท์แมน หรือ มนุษย์ช้าง (The Elephant Man) เป็นภาพยนตร์อเมริกันที่ออกฉายในปี..

ดู มนุษย์และมนุษย์ช้าง

มนุษย์ล่องหน

The Invisible Man ฉบับพิมพ์ครั้งแรก ปี 1897 มนุษย์ล่องหน (The Invisible Man) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ที่เขียนโดย เอช.จี. เวลส์ นักเขียนชาวอังกฤษ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และมนุษย์ล่องหน

มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน

ในสาขาบรรพมานุษยวิทยา คำว่า มนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน หรือ มนุษย์ปัจจุบัน (anatomically modern human, ตัวย่อ AMH) หรือ โฮโมเซเปียนส์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern Homo sapiens, ตัวย่อ AMHS) หมายถึงสมาชิกของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่มีรูปพรรณสัณฐานภายในพิสัยลักษณะปรากฏของมนุษย์ปัจจุบัน มนุษย์ปัจจุบันวิวัฒนาการมาจากมนุษย์โบราณ (archaic humans) ยุคหินกลาง (แอฟริกา) ประมาณ 300,000 ปีก่อน.

ดู มนุษย์และมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน

มนุษย์ต่างโลก

Close Encounters of the Third Kind เป็นภาพยนตร์ไซไฟ ที่ออกฉายในปี..

ดู มนุษย์และมนุษย์ต่างโลก

มนุษย์นกฮูก

มิวนาน สถานที่พบเห็น มนุษย์นกฮูก (Owlman) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่มีผู้อ้างว่าพบเห็นในประเทศอังกฤษ ในยุคทศวรรษที่ 70 ที่มีรูปร่างคล้ายมนุษย์ผสมกับนกฮูกหรือนกเค้าแมวขนาดใหญ่ คล้ายกับมอธแมน ในเวสต์เวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา บางครั้ง มนุษย์นกฮูก ยังมีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น มนุษย์นกฮูกคอร์นิช (Cornish Owlman) หรือ มนุษย์นกฮูกแห่งมิวนาน (Owlman of Mawnan).

ดู มนุษย์และมนุษย์นกฮูก

ม็อบ (แก้ความกำกวม)

ม็อบ (Mob) อาจหมายถึง.

ดู มนุษย์และม็อบ (แก้ความกำกวม)

ยอดเขาคิลิมันจาโร

thumb ยอดเขาคิลิมันจาโร (Mount Kilimanjaro) ชื่อภูเขามาจากภาษาสวาฮีลี หมายความว่า "ภูเขาที่ทอแสงแวววาว" ยอดเขาคิลิมันจาโรตั้งอยู่ในเขตประเทศแทนซาเนียใกล้พรมแดนประเทศเคนยา ลักษณะเป็นภูเขาไฟยอดเดี่ยวที่สูงที่สุดในโลก และเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปแอฟริกาอีกด้วย มีความสูงกว่า 5,895 เมตร ตรงบริเวณยอดเขามียอดเขาด้วยกัน 5 ยอด เรียงตามลำดับความสูง คือ.

ดู มนุษย์และยอดเขาคิลิมันจาโร

ยา

thumb ยา เป็นวัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ, วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์, วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป หรือวัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างหรือการกระทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว.

ดู มนุษย์และยา

ยามาซากิ ซางารุ

มาซากิ ซางารุ (ชื่อในมังงะภาษาไทย) หรือ ยามาซากิ ซาการุ (ชื่อในอะนิเมะภาษาไทย) เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และยามาซากิ ซางารุ

ยามาโมโตะ ทาเคชิ

ระวังสับสนกับ ยามาโตะ ทาเคชิ ตัวละครในเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น ยามาโมโตะ ทาเคชิ หรือ เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดย สึงุรุ อิโนะอุเอ.

ดู มนุษย์และยามาโมโตะ ทาเคชิ

ยางิว คิวเบ

งิว คิวเบ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และยางิว คิวเบ

ยาปฏิชีวนะ

การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".

ดู มนุษย์และยาปฏิชีวนะ

ยานพาหนะ

ักรยานยนต์เป็นยานพาหนะชนิดหนึ่ง ยานลอยตัวเป็นพาหนะชนิดหนึ่ง ยานพาหนะ หมายถึงวัตถุหรือสิ่งประดิษฐ์ที่ไม่ใช่สิ่งมีชีวิตซึ่งสามารถเคลื่อนย้ายขนส่งไปได้ ยานพาหนะส่วนใหญ่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ อาทิ จักรยาน รถยนต์ จักรยานยนต์ รถไฟ เรือ และเครื่องบิน เป็นต้น หรือไม่ได้สร้างขึ้นโดยมนุษย์แต่สามารถเคลื่อนย้ายขนส่งไปได้ เช่น ภูเขาน้ำแข็งหรือท่อนซุงลอยน้ำ เป็นต้น ยานพาหนะสามารถชักจูงโดยสัตว์ เช่น รถม้าหรือเกวียนเทียมวัว อย่างไรก็ตามตัวสัตว์เองนั้นก็ไม่ได้เรียกว่าเป็นยานพาหนะ ซึ่งรวมไปถึงมนุษย์ที่เคลื่อนย้ายขนส่งมนุษย์ด้วยกันเอง (คนอุ้มคน) ก็ไม่ได้เรียกว่าเป็นยานพาหนะ แต่สัตว์และมนุษย์เหล่านั้นจะเรียกว่าเป็น พาหนะ (ไม่มีคำว่ายาน) ยานพาหนะแบ่งตามการเคลื่อนย้ายได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ยานพาหนะส่วนใหญ่ที่เคลื่อนย้ายขนส่งบนพื้นจะมีล้อ เช่น เกวียน, จักรยาน,รถยนต์ และรถไฟ และส่วนยานพาหนะที่ไม่ได้เคลื่อนที่บนพื้นมักถูกเรียกว่า craft เช่น watercraft, sailcraft, aircraft (อากาศยาน), hovercraft (ยานสะเทินน้ำสะเทินบก) และ spacecraft (ยานอวกาศ).

ดู มนุษย์และยานพาหนะ

ยุคก่อนประวัติศาสตร์

ก่อนประวัติศาสตร์ (อังกฤษ: Prehistory) โดยทั่วไปหมายถึงช่วงเวลาที่ไม่มีการบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ โดยมนุษย์ (ในบางครั้งหมายถึง ช่วงเวลาก่อนมีอารยธรรมมนุษย์).

ดู มนุษย์และยุคก่อนประวัติศาสตร์

ยุคหินกลาง (แอฟริกา)

ในสาขาบรรพมานุษยวิทยาและชีววิทยาวิวัฒนาการเป็นต้น ยุคหินกลาง (Middle Stone Age ตัวย่อ MSA) เป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ของแอฟริการะหว่างยุคหินต้น (Early Stone Age) และยุคหินหลัง ๆ (Later Stone Age) โดยทั่วไปพิจารณาว่าเริ่มประมาณ 280,000 ปีก่อนและยุติประมาณ 50,000-25,000 ปีก่อน จุดเริ่มต้นของเครื่องมือหินแบบ MSA อาจเริ่มตั้งแต่ 550,000-500,000 ปีก่อน และดังนั้น นักวิจัยบางคนพิจารณาว่านั่นเป็นจุดเริ่มต้นของ MSA MSA บ่อยครั้งเข้าใจผิดว่าเท่ากับยุคหินเก่ากลาง (Middle Paleolithic) ของยุโรป เพราะมีระยะเวลาเกือบเหมือนกัน แต่ยุคหินเก่ากลางของยุโรปสัมพันธ์กับสปีชีส์มนุษย์ที่ต่างกัน ซึ่งก็คือ ''Homo neanderthalensis'' เปรียบเทียบกับแอฟริกาที่ไม่มีมนุษย์สปีชีส์นี้ในช่วง MSA นอกจากนั้นแล้ว งานโบราณคดีในแอฟริกายังได้ให้หลักฐานเป็นจำนวนมากที่แสดงว่า พฤติกรรมและลักษณะทางประชานของมนุษย์ปัจจุบันได้เริ่มพัฒนาขึ้นในแอฟริกาช่วง MSA ก่อนกว่าที่พบในยุโรปช่วงยุคหินเก่ากลางอย่างมาก อนึ่ง ราชบัณฑิตยสถานแปลคำว่า Mesolithic period (12,000-7,000 ปีก่อนในยุโรป และ 22,000-11,500 ปีก่อนในลิแวนต์) ว่า "ยุคหินกลาง" ซึ่งอาจซ้ำกับคำแปลของ Middle Stone Age (280,000-25,000 ปีก่อนในแอฟริกา) ได้เหมือนกัน แต่ให้สังเกตว่าคำแต่ละคำหมายเอาสิ่งที่ต่างกันแทบสิ้นเชิง MSA สัมพันธ์กับทั้งมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบัน (anatomically modern humans) สปีชีส์ Homo sapiens และกับมนุษย์โบราณ (archaic Homo sapiens) ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า Homo helmei ด้วย หลักฐานที่เป็นรูปธรรมยุคต้น ๆ ของ MSA มาจากโบราณสถานต่าง ๆ ใน Gademotta Formation ในเอธิโอเปีย, หมวดหินแคปธิวริน (Kapthurin Formation) ในประเทศเคนยา และ Kathu Pan ในแอฟริกาใต้ เครื่องมือยุคหินกลางแอฟริกา (MSA) จากถ้ำบลอมโบส์ แอฟริกาใต้.

ดู มนุษย์และยุคหินกลาง (แอฟริกา)

ยุคหินเก่า

ชาวพาลีโออินเดียน (Paleo-Indians) กำลังล่า Glyptodon ที่ถูกล่าจนศูนย์พันธุ์สองพันปีหลังมุษย์มาถึงอเมริกาใต้ Cave of Altamira and Paleolithic Cave Art of Northern Spain ยุคหินเก่า (Paleolithic) เป็น ช่วงเวลาก่อนประวัติศาสตร์ของมนุษย์ มีจุดเด่นอยู่ที่การพัฒนาเครื่องมือหินยุคแรกเริ่ม และครอบคลุมประมาณ 95% ของเทคโนโลยีก่อนประวัติศาสตร์ของมนุษย์ เริ่มตั้งแต่การใช้เครื่องมือหินครั้งแรก คาดว่าโดย ''Homo habilis'' เมื่อ 2.6 ล้านปีก่อน จนถึงปลายสมัยไพลสโตซีนประมาณ 10,000 ปีก่อนปัจจุบันToth, Nicholas; Schick, Kathy (2007).

ดู มนุษย์และยุคหินเก่า

ยุคโจมง

มง หมายถึงคาบเวลาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น ประมาณ 14,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึง 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นพ้องกันว่า เมื่อประมาณ 40,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ระหว่างหมู่เกาะญี่ปุ่นกับแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชียยังคงเชื่อมต่อกันด้วยแผ่นน้ำแข็ง โดยอาศัยหลักฐานทางโบราณคดี นักวิชาการสันนิษฐานว่ามนุษย์ Homo sapiens ได้อพยพจากทางตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของเอเชียมาอาศัยบนหมู่เกาะญี่ปุ่นในช่วง 35,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช และดำรงชีวิตแบบนักล่า-เก็บของป่าและใช้เครื่องมือหิน นักโบราณคดีได้ค้นพบเครื่องมือหิน ที่อยู่อาศัย และซากดึกดำบรรพ์ของมนุษย์ในยุคนั้นทั่วหมู่เกาะญี่ปุ่น นอกจากนี้ การศึกษาใน พ.ศ.

ดู มนุษย์และยุคโจมง

ยูเธอเรีย

ยูเธอเรีย (Infarclass Eutheria) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง เป็นชั้นฐานของเธอเรีย หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม.

ดู มนุษย์และยูเธอเรีย

รหัสยลัทธิ

รหัสยลัทธิ หรือลัทธิรหัสยนิยม (mysticism) คือลัทธิหรือความเชื่อที่ว่ามีรหัสยภาวะ (mystery) เป็นภาวะความจริงหรือคุณค่าบางอย่างซึ่งบุคคลจะรู้ได้ด้วยการใช้ความสามารถพิเศษเหนือกว่าการรับรู้โดยทั่วไปของมนุษย์ เช่น การเข้าฌาน การเข้าถึงพระเจ้า เป็นต้น ผู้ที่เข้าถึงรหัสยภาวะนี้ได้เรียกว่ารหัสยิก (mystic).

ดู มนุษย์และรหัสยลัทธิ

รอยนูนหลังร่องกลาง

หวของรอยนูนหลังร่องกลาง รอยนูนหลังร่องกลาง (postcentral gyrus, gyrus postcentralis) ด้านข้างของสมอง เป็นโครงสร้างที่โดดเด่นในสมองกลีบข้างของมนุษย์ และเป็นจุดสังเกตที่สำคัญ เป็นที่อยู่ของคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ (primary somatosensory cortex) เป็นเขตรับสัญญาณความรู้สึกหลักของระบบรับความรู้สึกทางกาย (somatosensory system) และเหมือนกับเขตรับความรู้สึกอื่น ๆ เขตนี้มีแผนที่ปริภูมิของความรู้สึกซึ่งเรียกว่า "cortical homunculus"Cortical homunculus เป็นแผนที่ภูมิลักษณ์ของส่วนต่าง ๆ ในร่างกายในคอร์เทกซ์สั่งการหลักและคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ คือส่วนในสมองของมนุษย์ที่มีบทบาทในการเคลื่อนไหว และการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างระบบสั่งการและระบบรับรู้ความรู้สึก คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิในยุคต้น ๆ มีขอบเขตที่กำหนดโดยงานวิจัยกระตุ้นผิวสมองของไวล์เดอร์ เพ็นฟิลด์ และงานวิจัยศักย์ผิวสมองของบาร์ด วูลซีย์ กับมาร์แชลล์ ที่เป็นไปในช่วงเวลาเดียวกัน แม้ว่าในเบื้องต้นจะกำหนดอย่างคร่าว ๆ ว่าเป็นส่วนเดียวกับเขตบร็อดแมนน์ 3-1-2 งานวิจัยในภายหลังของจอน คาสส์ เสนอว่า เพื่อความเหมือนกันกับเขตรับรู้ความรู้สึกอื่น ๆ ควรที่จะกล่าวเขตบร็อดแมนน์ 3 ว่าเป็นคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ เนื่องจากว่าเขตนั้นได้รับสัญญาณมากที่สุดจาก thalamocortical radiations (วิถีประสาททาลามัส-คอร์เทกซ์) ซึ่งมาจากลานสัญญาณที่รับรู้การสัมผั.

ดู มนุษย์และรอยนูนหลังร่องกลาง

รอยนูนหน้าส่วนบน

รอยนูนหน้าส่วนบน หรือ รอยนูนสมองกลีบหน้าส่วนบน (superior frontal gyrus, gyrus frontalis superior, ตัวย่อ SFG) เป็นส่วน 1 ใน 3 ของสมองกลีบหน้าของมนุษย์ อยู่ติดกับ ร่องสมองกลีบหน้าส่วนบน (superior frontal sulcus) ทางด้านข้าง และโดยเหมือนกับ รอยนูนหน้าส่วนล่างและรอยนูนหน้าส่วนกลาง รอยนูนหน้าส่วนบนจริงๆ แล้วเป็นเขตสมองโดยประสาทกายวิภาค ไม่ใช่เป็นรอยนูนจริง.

ดู มนุษย์และรอยนูนหน้าส่วนบน

ระบบการได้ยิน

ระบบการได้ยิน (auditory system) เป็นระบบรับความรู้สึก/ระบบประสาทสัมผัส ซึ่งรวมทั้งอวัยวะการฟังคือหู และระบบประสาทเกี่ยวกับการฟัง กายวิภาคของหู แม้ว่าช่องหูจะยาวเกินสัดส่วนในรูป.

ดู มนุษย์และระบบการได้ยิน

ระบบการเงินในระดับจุลภาค

ระบบการเงินในระดับจุลภาค หรือ ไมโครไฟแนนซ์ (Micro-Finance) หมายถึง ระบบการเงินที่เน้นการปล่อยสินเชื่อจำนวนเล็กๆ (micro credit) ให้แก่คนที่ไม่มีงานทำ และคนยากจนผู้ซึ่งไม่มีโอกาสเข้าถึงสินเชื่อในรูปแบบปกติผ่านทางสถาบันทางการเงินรายย่อยๆ ที่อาจจัดทำขึ้นเองโดยความร่วมมือของชุมชน (สถาบันไมโครไฟแนนซ์) เพื่อให้ประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งคนยากจนในชุมชนนั้นมีโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่มีดอกเบี้ยในราคาตลาดหรือต่ำกว่า และไม่มีการเรียกร้องหลักทรัพย์ใดๆ เป็นการค้ำประกันในการกู้ยืม ระบบการเงินในระดับจุลภาคถือกำเนิดและออกแบบมาเพื่อช่วยเหลือผู้ยากไร้ที่โดยสภาวะปกติไม่สามารถเข้าถึงระบบการกู้เงินจากสถาบันทางการเงินขนาดใหญ่ที่มีกฎเกณฑ์ กติกา ตามระบบทุนนิยมเสรี เพราะมีเงื่อนไขและข้อจำกัดต่างๆ ที่สถาบันการเงินเหล่านั้นได้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นมาตรการป้องกันตนเองจากการขาดทุน (ขาดทุนกำไร) (Yunus, 2007: 49).

ดู มนุษย์และระบบการเงินในระดับจุลภาค

ระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศ (Information System หรือ IS) เป็นระบบพื้นฐานของการทำงานต่างๆ ในรูปแบบของการเก็บ (input) การประมวลผล (processing) เผยแพร่ (output) และมีส่วนจัดเก็บข้อมูล (storage) องค์ประกอบของระบบสารสนเทศคือ ฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์, มนุษย์, กระบวนการ, ข้อมูล, เครือข่าย ระบบสารสนเทศนั้นจะประกอบด้ว.

ดู มนุษย์และระบบสารสนเทศ

ระบบอวัยวะ

ตัวอย่างของระบบอวัยวะ:ระบบประสาท ระบบประสาทในร่างกาย ระบบอวัยวะ (organ system) เป็นกลุ่มของอวัยวะที่ทำงานร่วมกัน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมและสัตว์อื่นๆ รวมทั้งมนุษย์ เช่น ระบบไหลเวียนโลหิต, ระบบทางเดินหายใจ, ระบบประสาท เป็นต้น กลุ่มของระบบอวัยวะหลายๆ ระบบรวมกันประกอบเป็นสิ่งมีชีวิต (organism).

ดู มนุษย์และระบบอวัยวะ

ระบบตรวจสอบลายพิมพ์นิ้วมืออัตโนมัติ

ระบบตรวจสอบลายพิมพ์นิ้วมืออัตโนมัติ (Automated Fingerprint Identification System) หรือ AFIS เป็นการนำเอาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มาใช้งานร่วมกับหลักวิชาการทางด้านการตรวจสอบลายพิมพ์นิ้วมือบุคคล เพื่อใช้ในการตรวจสอบประวัติข้อมูลของผู้กระทำความผิด ร่วมกับการตรวจสอบข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลทะเบียนประวัติอาชญากรของสำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ตำรว.

ดู มนุษย์และระบบตรวจสอบลายพิมพ์นิ้วมืออัตโนมัติ

รัญญา ศิยานนท์

รัญญา ศิยานนท์ (ชื่อจริง: อรัญญา เอกโกศิยนนท์; ชื่อเล่น: บุ๋ม; เกิด 11 ตุลาคม พ.ศ. 2511) เป็นนักแสดงและผู้กำกับการแสดงชาวไท.

ดู มนุษย์และรัญญา ศิยานนท์

รา (เทพ)

145px รา (Ra) หรือ เร (Re) หรือ อาเมน-รา (Amen-Ra) หรือ อามอน-รา (Amon-Ra) คือ เทพแห่งดวงอาทิตย์ในตำนานเทพเจ้าแห่งไอยคุปต์ของอียิปต์ โบราณสัญลักษณ์ของเทพราคือวงกลมหนุนอยู่บนเรือ แต่ส่วนมากมักเป็นมนุษย์ พระเศียรเป็นนกเหยี่ยว เชื่อว่าถือกำเนิดมาจากแม่น้ำแห่งเทพนุน กายล้อมรอบด้วยกลีบดอกบัว ทุกวันเมื่อเข้าสู่ราตรีกาล เทพราจะกลับมาบรรทมในดอกบัวนี้ สัญลักษณ์ของพระองค์เป็นนกศักดิ์สิทธิ์ เรียกว่า นกเบนนู (Bennu bird) เกาะที่ยอดพีระมิด ถือเป็นสัญลักษณ์แห่งแสงอาทิตย์ เทพราเป็นดั่งบิดาแห่งมวลมนุษย์และสรรพสิ่งทั้งหลาย ทรงสร้างเทพชู เทพแห่งลม เทพีเตฟนุต เทวีแห่งสายฝน เทพเกบ เทพแห่งปฐพี เทพีนัต เทวีแห่งท้องฟ้าและ เทพฮาปี เทพแห่งแม่น้ำนิลนาม เทพรามีหลายพระนามด้วยกันคือ ในตอนเช้ามักถูกเรียกว่า เฆปรี (Khepri) หรือ เฆเปรา (Khepera) เรียกว่าราในตอนกลางวัน และตุม (Tum) หรืออาตุม (Atum) ในตอนเย็น เทพรา จะเสด็จออกจากเมืองเฮลีโอโปลิสพร้อมกับเหล่าเทพเจ้า โดยใช้เรือสุริยันเป็นยานพาหนะ เพื่อตรวจเยื่ยมราษฎรในแคว้นทั้ง 12 แคว้น ทำให้เกิดแสงอาทิตย์ตลอด 12 ชั่วโมงใน 1 วัน และในเวลากลางคืนพระองค์จะท่องไปในแดนมตภพดูอัตจากฝั่งตะวันตกไปฝั่งตะวันออก และมีตำนานเกี่ยวกับเทพราอีกมากมาย แต่ก่อนเทพราจะมีเฉพาะฟาโรห์เท่านั้นที่สักการะได้.

ดู มนุษย์และรา (เทพ)

ราม ราชพงษ์

ื่อ ราม ราชพงษ์ เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน..

ดู มนุษย์และราม ราชพงษ์

รายชื่อตัวละครในครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!

'''ตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!''' แถวที่ 1 - เบลเฟกอล, ซันซัส, สเพลฮี สควอลโล, โรคุโด มุคุโร, โคชิม่า เคน, คาคิโมโตะ จิคุสะ แถวที่ 2 - มิอุระ ฮารุ, ยามาโมโตะ ทาเคชิ, ซาวาดะ สึนะโยชิ, รีบอร์น, ดร.จามาล แถวที่ 3 - เบียงกี้, ซาซางาวะ เคียวโกะ, โกคุเดระ ฮายาโตะ, ซาซางาวะ เรียวเฮ แถวที่ 4 - บาจิล, ฟูตะ, ดีโน่, ฮิบาริ เคียวยะ แถวที่ 5 - อี้ผิง, แรมโบ้ ตัวละครจากการ์ตูนมังงะและอะนิเมะเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! (Reborn!; 家庭教師ヒットマンREBORN!の登場人物) ซึ่งเขียนโดยอากิระ อามาโนะ เรื่องราวตั้งอยู่ในเมืองสมมุติชื่อ นามิโมริ ในยุคปัจจุบันของญี่ปุ่น ตัวละครหลักของเรื่องมีเชื้อสายญี่ปุ่น แต่มีความสัมพันธ์กับแก๊งมาเฟียอิตาลี โดยตัวละครอื่นๆในเรื่องมีเชื้อสายอิตาเลียน รวมทั้งตัวร้ายส่วนใหญ่ของเรื่อง โครงเรื่องมีเนื้อหาเกี่ยวกับชีวิตของซาวาดะ สึนะโยชิ เด็กนักเรียนธรรมดาจนกระทั่งรีบอร์น นักฆ่ามือของวองโกเล่ แฟมิลี่ มาเฟีย แห่งอิตาลี ได้มาทำการฝึกฝนให้สึนะเป็นหัวหน้าแก๊งมาเฟีย รุ่นที่ 10 ของวองโกเล่ แฟมิลี.

ดู มนุษย์และรายชื่อตัวละครในครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!

รายชื่อนวนิยายไทย

รายชื่อนวนิยายไท.

ดู มนุษย์และรายชื่อนวนิยายไทย

รายการสัตว์

รายชื่อสัตว์ เป็นการรวบรวมรายชื่อของสัตว์ทุกไฟลัมและสปีชีส์ไว้ เพื่อเป็นการสะดวกต่อค้นหา การศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับสัตว์ ได้แก่ สัตว์บก • สัตว์น้ำ • สัตว์ปีก • สัตว์เลื้อยคลาน • สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก เรียงตามลำดับตัวอักษร สำหรับผู้ที่จะเพิ่มเติมรายชื่อสัตว์ ขอให้เรียงลำดับตามตัวอักษร เพื่อให้ง่ายต่อการเพิ่มเติมรายชื่อ ในส่วนของรายชื่อสัตว์ที่มีคนเริ่มเขียนบทความแล้วดูได้ที่ หมวดหมู่ รายชื่อสัตว์ และ สัตว์ที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ หมวดหมู่:สัตว์.

ดู มนุษย์และรายการสัตว์

รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.

ดู มนุษย์และรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ดู มนุษย์และรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้.

ดู มนุษย์และรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

รายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์

ตารางต่อไปนี้จะแสดงข้อมูลส่วนหนึ่งในบรรดาซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ที่เป็นสายพันธุ์มนุษย์ (hominin) ซึ่งใช้เป็นหลักฐานสนับสนุนวิวัฒนาการของมนุษย์เริ่มต้นตั้งแต่การตั้งขึ้นของวงศ์ย่อย "Hominini" ในสมัย Miocene ปลายคือประมาณ 6 ล้านปีก่อน (ดูการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ที่บทความการจำแนกชั้นของไพรเมต-วงศ์ลิงใหญ่) เนื่องจากว่า มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์เป็นพัน ๆ โดยมากไม่สมบูรณ์ บ่อยครั้งเป็นเพียงแค่กระดูกหรือฟันชิ้นเดียว และน้อยครั้งจะได้โครงกระดูกหรือแม้แต่กะโหลกศีรษะทุกชิ้น ตารางนี้ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายเพื่อจะแสดงซากดึกดำบรรพ์ที่ได้ค้นพบทั้งหมด แต่เพื่อจะแสดงสิ่งค้นพบที่สำคัญที่สุด รายการจะเรียงลำดับตามอายุโดยประมาณ ตามการหาอายุโดยสารกัมมันภาพรังสี (เช่นจากคาร์บอนกัมมันตรังสี) หรือเทคนิคอื่น ๆ (เช่น incremental dating) ชื่อสปีชีส์เป็นชื่อตามมติในปัจจุบัน หรือว่า ถ้าไม่มี ก็จะแสดงชื่ออื่น ๆ ไว้ด้วย ส่วนชื่อสปีชีส์ที่เคยใช้แต่ตกไปแล้วอาจจะพบได้ในเว็บไซต์ของซากดึกดำบรรพ์เอง ให้สังเกตว่า ซากดึกดำบรรพ์ที่แสดงโดยมากไม่ได้รับการพิจารณาว่า เป็นสัตว์บรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน (Homo sapiens) แต่เป็นญาติใกล้ชิดกับบรรพบุรุษมนุษย์ และดังนั้น จึงมีความสำคัญในการศึกษาเรื่องการสืบทอดสายพัน.

ดู มนุษย์และรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์

ราศีเมถุน

ราศีเมถุน หรือ ราศีมิถุน (Gemini จากgeminī แปลว่า "ฝาแฝด" (พหูพจน์)) เป็นราศีที่ 3 ตามตำราของโหราศาสตร์ตะวันตก อยู่ระหว่างราศีพฤษภกับราศีกรกฎ ช่วงวันที่ครอบคลุมของราศีเมถุนนั้น ในแบบสายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 22 พฤษภาคม ถึง 21 มิถุนายน ส่วนแบบนิรายนะจะครอบคลุมระหว่างวันที่ 16 มิถุนายน ถึง 15 กรกฎาคม สัญลักษณ์ของราศีนี้มีที่มาจากพี่น้องฝาแฝดแคสเตอร์และพอลลักซ์ในเทพปกรณัมกรีกและโรมัน.

ดู มนุษย์และราศีเมถุน

ร่มชูชีพ

ร่มชูชีพของอพอลโล่ 15 การฝึกร่มชูชีพ ร่มชูชีพ (Parachutes) คือวัตถุที่ช่วยให้มนุษย์และสิ่งของเคลื่อนที่ช้าลงในการตกสู่พื้นโลก หรืออาจช่วยให้วัตถุที่ขนานกับพื้นโลกเคลื่อนที่ช้าลงเช่นในการแข่งรถ คำว่าร่มชูชีพในภาษาอังกฤษ (parachute) มาจากภาษาฝรั่งเศส "para", แปลว่าต่อต้าน "chute" แปลว่าการตก "parachute" จึงหมายถึง ต่อต้านการตก ร่มชูชีพถูกคิดค้นขึ้นในปี..

ดู มนุษย์และร่มชูชีพ

ร่างกายมนุษย์

ร่างกายมนุษย์ เป็นโครงสร้างทั้งหมดของมนุษย์ ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิดที่รวมกันเป็นเนื้อเยื่อซึ่งรวมกันเป็นระบบอวัยวะ สิ่งเหล่านี้คงภาวะธำรงดุลและความอยู่รอดของร่างกายมนุษย์ ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยศีรษะ, คอ, ลำตัว (ซึ่งรวมถึงอกและท้อง), แขนและมือ, ขา และเท้า การศึกษาร่างกายมนุษย์เชื่อมโยงกับกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา มิญชวิทยา และคัพภวิทยา ร่างกายมีความแตกต่างทางกายวิภาคแบบต่าง ๆ สรีรวิทยามุ่งไปที่ระบบและอวัยวะของมนุษย์และการทำงานของอวัยวะ หลายระบบและกลไกมีปฏิกิริยาต่อกันเพื่อคงภาวะธำรงดุล โดยมีระดับที่ปลอดภัยของสารต่าง ๆ เช่น น้ำตาลและออกซิเจนในเลือ.

ดู มนุษย์และร่างกายมนุษย์

ลอตเตโนะโอะโมะชะ!

ลอตเตโนะโอะโมะชะ! คือ ซีรีส์การ์ตูนญี่ปุ่นที่เขียนขึ้นโดยยูอิ ฮะงะ เรื่องราวเกี่ยวกับชายหนุ่มคนหนึ่งที่ชื่อ นาโอยะ ที่ต้องเข้าไปพัวพันกับโลกแห่งเวทมนตร์ โดยการถูกซื้อตัวจากจูดิธ เสนาธิการทหารหญิง เพื่อให้เข้ามาอยู่ในฮาเร็มขององค์หญิงอัสตาล็อตเต้เพื่อดูดเมล็ดพันธุ์แห่งชีวิต ล็อตเต้ โนะ โอโมะจะ! นั้นเริ่มตีพิมพ์ในนิตยสาร เดงเกะคิ มาโอ ในเดือนกรกฎาคม..

ดู มนุษย์และลอตเตโนะโอะโมะชะ!

ละองละมั่ง

thumb thumb ละองละมั่ง (Eld's deer, Thamin, Brow-antlered deer; Pitraa, Fickela, Meijaard, Groves (2004). Evolution and phylogeny of old world deer. Molecular Phylogenetics and Evolution 33: 880–895.) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง เป็นกวางขนาดกลาง ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแดง แต่สีขนจะอ่อนลงเมื่อเข้าสู่ฤดูร้อน ขนหยาบและยาว ในฤดูหนาวขนจะยาวมาก แต่จะร่วงหล่นจนดูสั้นลงมากในช่วงฤดูร้อน ในตัวผู้จะเรียกว่า ละอง ตัวเมียซึ่งไม่มีเขาจะเรียกว่า ละมั่ง แต่จะนิยมเรียกคู่กัน สันนิษฐานว่าเพี้ยนมาจากภาษาเขมรคำว่า "ลำเมียง" (រេបីស) ละองตัวที่ยังโตไม่เต็มวัยจะมีขนแผงคอที่ยาว ลูกแรกเกิดจะมีจุดสีขาวกระจายอยู่รอบตัว และจุดนี้จะจางหายเมื่ออายุมากขึ้น ขอบตาและริมฝีปากล่างมีสีขาว มีความยาวลำตัวและหัว 150–170 เซนติเมตร ความยาวหาง 220–250 เซนติเมตร น้ำหนัก 95–150 กิโลกรัม ถูกแบ่งออกเป็น 3 ชนิดย่อย ในประเทศไทยพบ 2 ชนิดได้แก่ ละองละมั่งพันธุ์ไทยที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ละองละมั่งพันธุ์พม่า ซันไก.

ดู มนุษย์และละองละมั่ง

ลัทธิอำนาจนิยม

อำนาจนิยม (authoritarianism) เป็นรูปแบบการจัดระเบียบทางสังคมซึ่งมีลักษณะของการอ่อนน้อมต่ออำนาจหน้าที่ ตามปกติมักตรงข้ามกับปัจเจกนิยมและอิสรนิยม ในทางการเมือง รัฐบาลอำนาจเป็นรัฐบาลซึ่งอำนาจหน้าที่ทางการเมืองกระจุกตัวอยู่กับนักการเมืองกลุ่มเล็ก อำนาจนิยม เป็นระบอบการเมืองที่มีฐานอยู่บนอุดมการณ์ทางการเมืองแบบเผด็จการชนิดที่ผู้ปกครองสามารถใช้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเหนือรัฐ หรือกลุ่มคนใดๆ ในการธำรงไว้ซึ่งเป้าหมายสูงสุด คือ การรักษาอำนาจของตน (Kurian, 2011: 103) โดยมักจะไม่คำนึงถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นที่เป็นปฏิปักษ์กับผู้นำ ควบคุมสื่อมวลชน ผูกขาดการใช้อำนาจและจำกัดการตรวจสอบ กล่าวได้ว่า ระบอบอำนาจนิยมเป็นระบอบการเมืองที่ใช้แพร่หลายมากที่สุดเป็นระยะเวลายาวนานที่สุด ในประวัติศาสตร์การปกครองของมนุษยชาติ ทุกวันนี้ “อำนาจนิยม” เป็นคำที่ถูกใช้ถึงบ่อยครั้งที่สุด เมื่อกล่าวถึงระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย ลักษณะสำคัญของระบอบอำนาจนิยม คือ การกระทำและการตัดสินใจของผู้ปกครองไม่ถูกจำกัดโดยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของประชาชน ในขณะที่สิทธิ เสรีภาพของประชาชนมีอยู่อย่างจำกัด กล่าวอีกนัยหนึ่ง สิทธิทางการเมืองของประชาชน หากมีอยู่บ้าง ก็จำกัดเต็มที ด้วยเหตุที่ผู้ปกครองอำนาจนิยมจะสร้างกฎระเบียบ มาตรการที่เข้มงวด เพื่อจำกัดกิจกรรมของบุคคลและกลุ่มบุคคลที่ต้องการมีส่วนร่วมในการจัดสรรสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนส่วนใหญ่ในสังคมมักไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงออกทางการเมืองใดๆ ยกเว้น กิจกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากอำนาจรัฐ ฉะนั้น การต่อสู้ทางการเมืองในรูปแบบการชุมนุมประท้วงและเดินขบวนตามจังหวะและโอกาส จึงแทบจะเป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมชนิดเดียวที่ทำได้ ในขณะที่เสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนที่จะวิพากษ์วิจารณ์และตั้งคำถามต่อระบบการเมืองจะถูกตรวจสอบ หากฝ่าฝืนจะมีมาตรการลงโทษ อำนาจนิยมมีลักษณะของอำนาจที่เข้มข้นและรวมเข้าสู่ศูนย์กลางอย่างมาก ซึ่งรักษาไว้โดยการปราบปรามทางการเมืองและการกีดกันคู่แข่งที่เป็นไปได้ รัฐบาลอำนาจนิยมใช้พรรคการเมืองและองค์การมวลชนเพื่อระดมคนมารอเป้าหมายของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม ในระบอบอำนาจนิยม ประชาชนสามารถดำเนินชีวิตประจำวันในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับมิติทางการเมืองได้อย่างปกติ สามารถเลือกประกอบอาชีพ นับถือศาสนา และสังสรรค์หาความสุขได้โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงจากรัฐบาล แต่กระนั้น ในบางประเทศสิทธิและเสรีภาพในการดำเนินชีวิตอาจถูกควบคุมโดยธรรมเนียมปฏิบัติ บรรทัดฐานหรือความเชื่อทางศาสนาที่เข้มงวด ซึ่งอาจเป็นส่วนหนึ่งหรือคนละส่วนกับอำนาจรัฐในระบบการเมืองก็ได้ ประเทศที่จัดได้ว่าเป็นระบอบอำนาจนิยม เช่น อิหร่าน สหภาพเมียนมาร์ (พม่า--Union of Myanmar) ซาอุดิอาระเบีย และอินโดนีเซีย ภายใต้นายพลซูฮาร์โต เป็นต้น ข้อมูลที่น่าสนใจ คือ ประสบการณ์ทางการเมืองของประเทศในลาตินอเมริกา นำมาสู่คำเรียกขาน “ระบอบราชการอำนาจนิยม” (bureaucratic authoritarianism) ที่ใช้อธิบายประเทศจำนวนหนึ่งที่เคยเป็นประชาธิปไตย แต่เกิดหักเหจนในที่สุดระบอบประชาธิปไตยต้องล่มสลาย และถูกแทนที่ด้วยแนวร่วมระหว่างคณะทหารกับพลเรือนที่ทำการรัฐประหารยึดกุมสถาบันการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง ชนชั้นนำที่ประกอบด้วย ทหาร ข้าราชการพลเรือน นักเทคนิคระดับสูง (technocrats) ตลอดจนนักธุรกิจชั้นนำดำเนินนโยบายที่เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม แต่ปิดกั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบาย และการเข้ามาแข่งขันในตลาดการเมือง โดยคณะทหารและระบบราชการดังกล่าว แสดงบทบาททางการเมืองในฐานะที่เป็นสถาบัน ไม่ใช่ตัวบุคคล นักวิชาการลาตินอเมริกาวิเคราะห์ว่า ระบอบราชการอำนาจนิยม เป็นผลจากการพัฒนาอุตสาหกรรมทุนนิยมแบบพึ่งพา ประเทศที่จัดว่าใช้ระบอบราชการอำนาจนิยม เช่น บราซิล อาร์เจนตินา และ ชิลี ในยุคปัจจุบันที่ปรากฏมากที่สุดคือ “อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง” (electoral authoritarianisms) หรือระบอบอำนาจนิยมที่มีเปลือกนอกฉาบด้วยผู้นำที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งปรากฏให้เห็นในหลายประเทศแถบตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ (Linz, 2000: 34; Badie, 2011: 107) ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน กระบวนการอันสำคัญและจำเป็นกระบวนการหนึ่งที่มิอาจขาดหายไปได้เลยก็คือ การเลือกตั้ง (election) เพราะเป็นกระบวนการที่จะทำให้ประชาชนเจ้าของอำนาจได้แสดงออกซึ่งเจตจำนงเสรีของแต่ละบุคคล ทว่าการเลือกตั้งก็อาจมิใช่ตัวบ่งชี้ถึงความเป็นประชาธิปไตยเสมอไป เพราะระบอบอำนาจนิยมในหลายประเทศได้อาศัยกระบวนการเลือกตั้งมาเป็นเครื่องมือในการสร้างความชอบธรรมในการปกครอง และการใช้อำนาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเพื่อประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง ด้วยการอ้างเสียงสนับสนุนข้างมาก ทำให้เกิดอำนาจนิยมแบบใหม่ที่เรียกว่า อำนาจนิยมที่มาจากการเลือกตั้ง (electoral authoritarianism) ทำให้เกิดข้อถกเถียงว่า การเลือกตั้งมิได้เท่ากับการมีประชาธิปไตยเสมอไป หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การเลือกตั้งเป็นปัจจัยที่ “จำเป็น” แต่อาจไม่ “เพียงพอ” ที่จะแบ่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ออกจากระบอบการปกครองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย เส้นแบ่งใหม่ที่เกิดขึ้นระหว่างการเลือกตั้งของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และระบอบอำนาจนิยมที่แฝงเร้นอยู่ในคราบประชาธิปไตยตัวแทนจอมปลอม (authoritarianism disguised in the form of representative democracy) จึงอยู่ที่มิติด้านคุณภาพของการเลือกตั้งและประสิทธิภาพของกลไกตรวจสอบด้วย กล่าวคือ การเลือกตั้งจะต้องเป็นการเลือกตั้งที่เสรี เที่ยงธรรม และโปร่งใส (free, fair, and transparent election) ที่ปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอกอื่นๆ อาทิ การซื้อสิทธิ์ขายเสียง การแทรกแซงของคณะทหาร ไม่มีการครอบงำ หรือจำกัดคู่แข่งทางการเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง จึงจะนับได้ว่าเป็นการเลือกตั้งที่เพียงพอและจำเป็นที่จะนำไปสู่ระบอบเสรีประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง (Badie, 2011: 112-114) และเมื่อได้ชัยชนะและมีเสียงข้างมากแล้ว หากใช้กลไกเสียงข้างมากบ่อนทำลายกลไกตรวจสอบ ก็อาจนำไปสู่อำนาจนิยมซึ่งเกิดขึ้นภายใต้เสื้อคลุมประชาธิปไตย นอกจากนั้น ความแตกต่างระหว่างอำนาจนิยมและประชาธิปไตยที่สำคัญไม่แพ้การเลือกตั้ง คือ การมีหลักนิติธรรมที่ไม่เอนเอียง มีรัฐบาลที่ตรวจสอบได้ และมีกระบวนการยุติธรรมที่เป็นอิสระปราศจากการแทรกแซงหรืออคต.

ดู มนุษย์และลัทธิอำนาจนิยม

ลัทธิเชมันแบบเกาหลี

อหมอขณะประกอบพิธีกรรม ลัทธิมู (무교 Mugyo "ลัทธิเชมัน") หรือ ลัทธิชิน (신교) Singyo "ลัทธิแห่งเทพเจ้า") เป็นศาสนาพื้นเมืองของชาวเกาหลีJung Young Lee, 1981.

ดู มนุษย์และลัทธิเชมันแบบเกาหลี

ลายเจ็นนารี

ในสมองมนุษย์ ลายเจ็นนารี ("stria of Gennari" หรือ "band of Gennari" หรือ "line of Gennari" หรือ "bands of Baillarger") เป็นแถบแอกซอนมีปลอกไมอีลินเข้าไปสู่ชั้น 4B ของคอร์เทกซ์สายตาปฐมภูมิจากชั้น 4Cα โครงสร้างนี้มองเห็นด้วยตาเปล่าและอยู่ติดกับคอร์เทกซ์สายตาปฐมภูมิ แม้ว่าสปีชีส์อื่นจะมีเขตในสมองที่เรียกว่าคอร์เทกซ์สายตาปฐมภูมิ แต่ว่าบางพวกไม่มีลายเจ็นนารี.

ดู มนุษย์และลายเจ็นนารี

ลำดับชั้นของทูตสวรรค์ในศาสนาคริสต์

ริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ เชื่อว่าทูตสวรรค์มีหน้าที่ต่าง ๆ กัน โดยผู้เขียนที่ใช้ชื่อว่าดิโอนิสิอัสสมาชิกสภาอาเรโอปากัส (Dionysius the Areopagite d.ca.

ดู มนุษย์และลำดับชั้นของทูตสวรรค์ในศาสนาคริสต์

ลำดับสงวน

accessdate.

ดู มนุษย์และลำดับสงวน

ลำไส้เล็กส่วนกลาง

ลำไส้เล็กส่วนกลาง (Jejunum) เป็นส่วนที่สองของลำไส้เล็กในมนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูง เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, สัตว์เลื้อยคลาน และนก ลำไส้เล็กส่วนกลางอยู่ระหว่างลำไส้เล็กส่วนต้นและลำไส้เล็กส่วนปลาย ในมนุษย์โตเต็มวัย ลำไส้เล็กมีความยาวประมาณ 6-7 เมตร สองในห้าของความยาวลำไส้เล็กคือความยาวของลำไส้เล็กส่วนกลาง ซึ่งเท่ากับความยาวประมาณ 2.5 เมตร โดยลำไส้เล็กส่วนกลางนี้เป็นส่วนที่มีวิลไลมากที่สุดและมีการดูดซึมมากที่สุดด้ว.

ดู มนุษย์และลำไส้เล็กส่วนกลาง

ลิมโฟไซต์

ลิมโฟไซต์ (lymphocyte) เป็นเม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกันของสัตว์มีกระดูกสันหลัง รวมถึงมนุษย์ อาจแบ่งออกเป็นเซลล์เอ็นเค (natural killer/NK cell, ทำหน้าที่ในระบบภูมิคุ้มกันแบบพื้นฐานและการทำลายเซลล์) เซลล์ที (ระบบภูมิคุ้มกันแบบปรับตัวและการทำลายเซลล์) และเซลล์บี (ระบบภูมิคุ้มกันแบบปรับตัว ทำงานผ่านแอนติบอดี) เป็นเซลล์ที่พบเป็นส่วนใหญ่ในระบบน้ำเหลือง (lymph) จึงได้ชื่อว่าลิมโฟไซต์ ("เซลล์น้ำเหลือง") * หมวดหมู่:น้ำเหลือง หมวดหมู่:เนื้อเยื่อน้ำเหลือง หมวดหมู่:ระบบน้ำเหลือง หมวดหมู่:ระบบภูมิคุ้มกัน.

ดู มนุษย์และลิมโฟไซต์

ลิง

แสม (''Macaca fascicularis'') ลิงที่คุ้นเคยและพบได้บ่อยที่สุดในประเทศไทย อาจพบได้ถึงในชุมชนเมืองhttp://1081009.tourismthailand.org/trip/dcp?id.

ดู มนุษย์และลิง

ลิงบาบูน

ลิงบาบูน (Baboons; بابون) เป็นสกุลของลิง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Papio ลิงบาบูนเป็นลิงที่จัดได้ว่ามีขนาดใหญ่ แขนและขายาวเท่ากัน ทำให้สามารถเดินด้วยขาทั้ง 4 ข้างได้เป็นอย่างดี ขณะที่ส่วนหางที่สั้น และร่างกายที่กำยำแข็งแรง ทำให้วิ่งได้รวดเร็วพอ ๆ กับม้า ลิงบาบูนส่วนมากจะหากินและอาศัยบนพื้นดินมากกว่าขึ้นต้นไม้ ตามแถบที่โล่งกว้างมากกว่าที่รกชัฏ โดยจะขึ้นต้นไม้เฉพาะตอนนอนเท่านั้น หากินในเวลากลางวัน มีลักษณะเด่น คือ มีใบหน้ายาวเหมือนสุนัข และมีฟันเขี้ยวที่แข็งแรงและยาวโง้ง มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง อาจถึง 200-300 ตัว มีตัวผู้ขนาดใหญ่เป็นจ่าฝูง หากินผลไม้ เมล็ดพืช ตลอดจนสัตว์ขนาดเล็กอย่างแมงป่องและแมงมุมโดยการพลิกก้อนหินหา หรือแม้กระทั่งล้มสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น ไก่ฟ้า หมูป่า หรือแอนทิโลปที่เป็นตัวลูกหรือตัวขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ ลิงบาบูนขึ้นชื่อว่าเป็นลิงที่มีอุปนิสัยดุร้าย ก้าวร้าว เนื่องจากเป็นลิงที่กินเนื้อเป็นอาหารหลัก โดยอาจโจมตีทำร้ายมนุษย์ได้ด้วย แต่กระนั้นก็ยังมีผู้นำมาฝึกให้เล่นละครลิงหรือละครสัตว์ได้ นอกจากนี้แล้ว ลิงบาบูนยังเป็นลิงที่สามารถออกเสียงได้เหมือนกับเสียงสระในภาษาอังกฤษได้อีกด้วย เนื่องจากมีกล้ามเนื้อลิ้นที่สร้างความแตกต่างในการออกเสียงแต่ละสระได้เหมือนกับมนุษย์ และถึงแม้ว่าจะมีกล่องเสียงสูง ซึ่งต่างจากมนุษย์ที่ออกเสียงด้วยการใช้กล่องเสียงต่ำ แต่ลิงบาบูนก็ไม่สามารถที่จะพูดได้จริง.

ดู มนุษย์และลิงบาบูน

ลู่ตูง

ลู่ตูง (Lutung) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานร (Primates) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Trachypithecus จัดอยู่ในจำพวกค่าง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) โดยชื่อสามัญคำว่า "Lutung" มาจากภาษามลายู เนื่องจากมีความแตกต่างจากค่างสกุลที่พบในอนุทวีปอินเดี.

ดู มนุษย์และลู่ตูง

ล่าสุดขอบจักรวาล

ล่าสุดขอบจักรวาล (Serenity) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นสัญชาติอเมริกันที่ออกฉายในปี ค.ศ. 2005 กำกับโดย จอสส์ เวห์ดอน นำแสดงโดย นาธาน ฟิลเลี่ยน, อลัน ตัดย์ค, อดัม บัลด์วิน, ซัมเมอร์ กลู.

ดู มนุษย์และล่าสุดขอบจักรวาล

วรายุฑ มิลินทจินดา

วรายุฑ มิลินทจินดา เกิดวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2498 เป็นนักแสดง ผู้จัดละครชาวไท.

ดู มนุษย์และวรายุฑ มิลินทจินดา

วัยสูงอายุ

วัยสูงอายุ หรือ วัยชรา หมายถึง มนุษย์ที่มีอายุอยู่ในช่วงปลายของชีวิต นิยามของผู้สูงอายุอาจแตกต่างกันไปเมื่อพิจารณาจากแง่มุมต่าง ๆ อาทิ ทางชีววิทยา ประชากรศาสตร์ การจ้างงาน และทางสังคมวิทยา ในทางสถิติมักถือว่าผู้ที่อยู่ในวัยสูงอายุคือบุคคลที่มีอายุ 60-65 ปีขึ้นไป สำหรับประเทศไทยกำหนดไว้ว่าผู้สูงอายุคือบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่จะมีสัดส่วนผู้สูงอายุต่อประชากรทั้งประเทศสูงกว่าประเทศกำลังพัฒนา สำหรับประเทศไทยมีสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ 2.

ดู มนุษย์และวัยสูงอายุ

วัดพรหมทินใต้

วัดพรหมทินใต้ เป็นวัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 ตำบลหลุมข้าว อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี เป็นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งของอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี โดยมีโบราณสถาน, แหล่งขุดค้นทางโบราณคดี, พิพิธภัณฑ์วัตถุโบราณ, หลวงพ่อพระพุทธพรหม สูง 9 เมตร (หล่อเสร็จในวันเดียว) และยังมีพระพนัสบดีที่ขุดค้นพบในบริเวณวัดซึ่งมีอายุกว่า 1,300 ปี ปัจจุบันมีพระอธิการสายันต์ อินทวัณโณ ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน.

ดู มนุษย์และวัดพรหมทินใต้

วัดเส้าหลิน

วัดเส้าหลินหรือสำนักเส้าหลิน (เส้าหลินซื่อ; แต้จิ๋ว: เสี้ยวลิ้มยี่; ฮกเกี้ยน: เชี้ยวหลิมซี; คำแปล: วัดป่าบนเขาเส้าซื่อ) เป็นวัดทางพระพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเก่าแก่อายุมากกว่า 1,500 ปี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเทือกเขาซงซาน หนึ่งในจำนวนห้ายอดเขาอันศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของชาวจีน เป็นเทือกเขาที่มีชื่อเสียงมากที่สุดทั้งในด้านของประวัติศาสตร์และในแวดวงยุทธภพ ประกอบด้วยยอดเขาน้อยใหญ่จำนวน 72 ยอด แบ่งเป็นสองกลุ่มคือในกลุ่มของเขาไท่ซื่อ จำนวน 36 ยอด และกลุ่มของเขาเส้าซื่อ จำนวน 36 ยอด ในอำเภอเติงเฟิง เมืองเจิ้งโจว มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน อยู่กึ่งกลางระหว่างเมืองเจิ้งโจวและเมืองลั่วหยาง บริเวณรอบ ๆ วัดเส้าหลินเป็นพื้นที่โล่งกว้าง ใช้สำหรับฝึกวิทยายุทธของหลวงจีน รายล้อมด้วยป่าเจดีย์หรือถ่าหลิน ซึ่งเป็นสุสานของอดีตเจ้าอาวาสและหลวงจีน ซึ่งมีมาตั้งแต่ในยุคสมัยของราชวงศ์ถัง วัดเส้าหลินมีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดในประเทศจีนและในต่างประเทศ ได้รับการกล่าวขานในเรื่องของกระบวนท่าวิทยายุทธ เพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินเป็นอย่างมาก เป็นแหล่งวิชาการต่อสู้และศิลปะการป้องกันตัวที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจีน ปรากฏชื่อในนิยายกำลังภายในหลายต่อหลายเรื่อง ซึ่งล้วนแต่กล่าวถึงวิชาเพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินอยู่เสมอ โดยเฉพาะนิยายกำลังภายในของกิมย้งเช่น มังกรหยก, จอมใจจอมยุทธ์, จิ้งจอกภูเขาหิมะ เป็นต้น ปัจจุบันมีหลวงจีนที่บวชเพื่อศึกษาธรรมะและกังฟูจำนวน 180 รูป มีหลวงจีน ซือ หย่งซิน ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศจีน ที่ทางรัฐบาลจีนได้ร้องขอต่อองค์กรยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก และได้รับการพิจารณาให้เป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.

ดู มนุษย์และวัดเส้าหลิน

วาฬบรูด้า

วาฬบรูด้า หรือ วาฬแกลบ (Bryde's whale, Eden's whale; ชื่อวิทยาศาสตร์: Balaenoptera edeni) เป็นวาฬขนาดใหญ่ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จัดอยู่ในวงศ์ Balaenopteridae โดยชื่อ วาฬบรูด้า เป็นการตั้งเพื่อให้เป็นเกียรติ แก่กงสุลชาวนอร์เวย์ ในประเทศแอฟริกาใต้ ที่ชื่อโยฮัน บรูด้.

ดู มนุษย์และวาฬบรูด้า

วาฬสีน้ำเงิน

วาฬสีน้ำเงิน (Blue whale; ชื่อวิทยาศาสตร์: Balaenoptera musculus) เป็นวาฬบาลีน (Balaenopteridae) และถือเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก วาฬสีน้ำเงินในขนาดปกติโดยทั่วไปจะยาวประมาณ 26-29 เมตร แต่ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยพบมีความยาว 31.2 เมตร น้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ ประมาณ 100-200 ตัน เฉพาะลิ้นก็มีน้ำหนักเกือบเท่าช้างหนึ่งตัว หัวใจมีขนาดเท่ารถยนต์คันหนึ่ง และเส้นเลือดบางเส้นกว้างขนาดที่มนุษย์พอจะลงไปว่ายน้ำได้ และครีบหางก็มีขนาดกว้างกว่าปีกของเครื่องบินโดยสารขนาดเล็ก จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกเท่าที่เคยมีมา มีขนาดใหญ่กว่าไดโนเสาร์ชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก อาศัยอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้, แอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย รวมถึงในมหาสมุทรแอนตาร์กติกด้วย และแม้จะมีขนาดร่างกายใหญ่โต แต่วาฬสีน้ำเงินก็มีรูปร่างเพรียวยาวเหมาะแก่การว่ายน้ำ จึงสามารถว่ายน้ำได้เร็วถึง 20 นอตต่อชั่วโมง ลูกวาฬจะกินเฉพาะนมแม่ที่มีไขมันสูงถึงร้อยละ 40 มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นชั่วโมงละ 4 กิโลกรัม กินเคยและแพลงก์ตอนเป็นอาหาร แต่ก็อาจจะกินสัตว์น้ำขนาดเล็กเช่น ปลาขนาดเล็กเข้าไปด้วย สามารถดำน้ำลงไปหาอาหารได้ลึกถึง 100 เมตร และปกติจะดำน้ำนาน 20 นาที แต่มีบันทึกสูงสุดว่าดำได้นานถึง 40 นาที และพ่นน้ำได้สูงถึง 9 เมตร ทั้งนี้ วาฬสีน้ำเงินที่โตเต็มวัยกินเคยวันหนึ่งได้มากถึง 4 ตัน วาฬสีน้ำเงินถูกล่าอย่างหนักเพื่อต้องการไขมันและน้ำมัน โดยเฉพาะในช่วง 70 ปีแรกของศตวรรษที่ 20 คาดว่ามีวาฬสีน้ำเงินราว 500,000 ตัวถูกฆ่าตาย ประชากรวาฬรอบเกาะเซาท์จอร์เจียในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ถูกฆ่าแบบล้างบาง รวมทั้งพวกที่เคยหากินอยู่นอกชายฝั่งญี่ปุ่นด้วย ประชากรวาฬสีน้ำเงินบางกลุ่มลดจำนวนลงถึงร้อยละ 93 จนเข้าสู่สภาพของการเป็นสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ กระทั่งถึงช่วงกลางทศวรรษ 1950 จึงได้มีการอนุรักษ์ขึ้นมาอย่างจริงจัง นอกจากนี้แล้ว วาฬสีน้ำเงินยังเป็นสัตว์ที่ส่งเสียงร้องได้กว้างไกลที่สุดในโลกอีกด้วย โดยสามารถส่งได้ได้ดังถึง 1,500 กิโลเมตร ในลักษณะของคลื่นเสียงที่มีความหลากหลาย ซึ่งเชื่อกันว่าไม่ได้เป็นไปในการสื่อสารเพียงอย่างเดียว หากแต่ยังใช้การนำทางอีกด้วย ปัจจุบัน มีปริมาณวาฬสีน้ำเงินในซีกโลกใต้อยู่ประมาณ 1,350 ตัว อีกทั้งมีหลักฐานว่ามีจำนวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี แต่ยังไม่มีการประมาณจำนวนวาฬชนิดนี้ที่ดีพอในบริเวณอื่นของโลก.

ดู มนุษย์และวาฬสีน้ำเงิน

วานรวิทยา

ลิงบาบูนโอลิฟ วานรวิทยา หรือ ไพรเมตวิทยา (Primatology) คือวิชาว่าด้วยการศึกษาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชั้นสูงสุด (primates) ได้แก่ลิงและคน นับเป็นสาขาวิชาที่หลากหลายในหมวดวิชาชีววิทยา มานุษยวิทยา จิตวิทยาและอื่นๆ มานุษยวิทยากายภาพเป็นสาขาหนึ่งของวานรวิทยาคือวานรวิทยาว่าด้วยสกุล Homo โดยเฉพาะ Homo sapiens วิชานี้ครอบคลุมไปถึงการศึกษา Hominidae หรือสิ่งมีชีวิตที่คล้ายคนซึ่งรวมถึงบรรพบุรุษของมนุษย์และลิงใหญ่อื่น ๆ วานรวิทยาสมัยใหม่นับเป็นวิทยาศาสตร์ที่มีความหลากหลายมากที่สุดสาขาหนึ่ง โดยมีขอบข่ายนับตั้งแต่การศึกษาทางสรีรของบรรพบุรุษวานรและและการศึกษาวานรในที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของมัน ไปจนถึงการทดลองด้านจิตวิทยาของสัตว์และภาษาวานร วิชานี้ได้เปิดให้เห็นแสงสว่างเป็นอย่างมากในพฤติกรรมพื้นฐานรวมทั้งพฤติกรรมโบราณของบรรพบุรุษเหล่านี้.

ดู มนุษย์และวานรวิทยา

วิญญาณ

วิญญาณ (soul; जीव) ในทางปรัชญาหมายถึงสิ่งซึ่งเชื่อกันว่าเป็นสารัตถะของชีวิตมนุษย์ อาจรวมถึงสิ่งมีชีวิตประเภทอื่น ๆ ด้วย วิญญาณเป็นสิ่งที่ไม่เน่าเปื่อย เป็นอมตะ ศาสนาอับราฮัมเชื่อว่าเฉพาะมนุษย์เท่านั้นที่มีวิญญาณ มนุษย์จึงเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเดียวที่ไม่ตาย (ในส่วนวิญญาณ) และอาจไปรวมกับพระเป็นเจ้าได้ ขณะที่ศาสนาอื่น ๆ บางศาสนา เช่น ศาสนาเชนเชื่อว่าไม่เฉพาะมนุษย์แต่สิ่งมีชีวิตทุกชีวิตมีวิญญาณ ส่วนลัทธิวิญญาณนิยมเชื่อว่าทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต (เช่น แม่น้ำ ภูเขา) ล้วนมีวิญญาณทั้งสิ้น บางลัทธิเชื่อว่าโลกก็มีวิญญาณเรียกว่าวิญญาณโลก หรืออาตมันในศาสนาฮินดู คำว่าวิญญาณ มักมีความหมายแนวเดียวกับจิต สปิริต และตัวตน.

ดู มนุษย์และวิญญาณ

วิวรณ์

อห์นแห่งปัทมอสกำลังเขียนหนังสือวิวรณ์ตามที่ได้รับการเปิดเผยจากพระเจ้า ภาพวาดโดยเฮียโรนิมัส บอส ในศาสนาแบบเทวนิยมและเทววิทยา วิวรณ์ (revelation) หมายถึง การที่สิ่งเหนือธรรมชาติ เช่น เทวดา พระเป็นเจ้า ได้เปิดเผยความจริงหรือความรู้สำคัญบางประการแก่มนุษย์ หลาย ๆ ศาสนาเชื่อว่า คัมภีร์ของตนมาจากการวิวรณ์ของพระเจ้าหรือสิ่งเหนือธรรมชาติ เช่น ชาวยิวเชื่อว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานคัมภีร์โทราห์ที่ภูเขาซีนาย ชาวมุสลิมเชื่อว่าอัลลอฮ์ได้ประทานคัมภีร์อัลกุรอานแก่นบีมุฮัมมัดเป็นคำ ๆ ทีละอักษร ส่วนศาสนาฮินดูก็ถือว่าพระเวทเป็น “อเปารุเษยะ” (ไม่ใช่ฝีมือมนุษย์) แต่บรรดาฤๅษีได้สดับฟังจากพระเจ้ามาโดยตรง จึงเรียกว่า "ศรุติ" (สิ่งที่ได้ฟังมา) คริสต์ศาสนิกชนก็เชื่อว่าคัมภีร์ไบเบิลทั้งพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ในศาสนาอับราฮัม วิวรณ์จึงถือเป็นสิ่งสำคัญมาก เพราะเป็นการแสดงถึงเจตจำนงและพระญาณสอดส่องของพระเจ้าต่อมนุษย์ ในพันธสัญญาใหม่มีหนังสือเล่มหนึ่งชื่อ "หนังสือวิวรณ์" เป็นส่วนสุดท้ายของคัมภีร์ไบเบิล กล่าวถึงวันสิ้นโลกและการพิพากษาครั้งสุดท้.

ดู มนุษย์และวิวรณ์

วิวัฒนาการกระดูกหูสำหรับได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

วิวัฒนาการกระดูกหูสำหรับได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (evolution of mammalian auditory ossicles) เป็นเหตุการณ์ทางวิวัฒนาการที่มีหลักฐานยืนยันดีที่สุด และสำคัญที่สุด เหตุการณ์หนึ่ง โดยมีทั้งซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพ (transitional fossil) จำนวนมากและตัวอย่างที่เยี่ยมของกระบวนการ exaptation คือการเปลี่ยนจุดประสงค์ของโครงสร้างที่มีอยู่แล้วในระหว่างวิวัฒนาการ ในสัตว์เลื้อยคลาน แก้วหูจะเชื่อมกับหูชั้นในผ่านกระดูกท่อนเดียว คือ columella ในขณะที่ขากรรไกรล่างและบนจะมีกระดูกหลายท่อนที่ไม่พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม คือ ในช่วงวิวัฒนาการของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม กระดูกชิ้นหนึ่งของขากรรไกรล่างและบน (articular และ quadrate) หมดประโยชน์โดยเป็นข้อต่อ และเกิดนำไปใช้ใหม่ในหูชั้นกลาง ไปเป็นตัวเชื่อมกับกระดูกโกลนที่มีอยู่แล้ว รวมกันกลายเป็นโซ่กระดูกสามท่อน (โดยเรียกรวมกันว่ากระดูกหู) ซึ่งถ่ายทอดเสียงได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่า และดังนั้นช่วยให้ได้ยินได้ดีกว่า ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม กระดูกหูสามท่อนนี้เรียกว่า กระดูกค้อน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน ตามลำดับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์ปีกยังต่างจากสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ เพราะมีคอเคลียที่วิวัฒนาการเกิดขึ้น หลักฐานว่า กระดูกค้อนและกระดูกทั่งมีกำเนิดเดียวกัน (homologous) กับกระดูก articular และ quadrate ของสัตว์เลื้อยคลานเบื้องต้นมาจากคัพภวิทยา แล้วต่อมา การค้นพบซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพมากมายก็ได้ยืนยันข้อสรุปนี้ โดยให้ประวัติการเปลี่ยนสภาพอย่างละเอียด ส่วนวิวัฒนาการของกระดูกโกลนจาก hyomandibula เป็นเหตุการณ์ต่างหากที่เกิดขึ้นก่อน.

ดู มนุษย์และวิวัฒนาการกระดูกหูสำหรับได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

วิวัฒนาการของการเห็นสี

การเห็นสี (Color vision) หรือการเห็นเป็นสี เป็นการปรับตัวเพื่อรับรู้สิ่งเร้าทางตา เพื่อให้สามารถแยกแยะแสงโดยขึ้นกับองค์ประกอบทางความยาวคลื่นของมัน การเห็นสีจำเป็นต้องมีโปรตีนอ็อปซิน (opsin) ต่างหาก ๆ ที่ดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นแสงต่าง ๆ กัน โดยสัตว์ในแต่ละกลุ่ม ๆ จะมีอ็อปซินต่างหาก ๆ จำนวนไม่เท่ากัน เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโดยมากรวมทั้งสุนัขจะเห็นภาพสีด้วยเซลล์ 2 ชนิด (dichromacy) แต่ไพรเมตจำนวนหนึ่งรวมทั้งมนุษย์ ก็สามารถเห็นภาพสีด้วยเซลล์ 3 ชนิด (trichromacy) จึงทำให้สัตว์กลุ่มต่าง ๆ มองเห็นเป็นสีได้ดีไม่เท่ากัน.

ดู มนุษย์และวิวัฒนาการของการเห็นสี

วิวัฒนาการของมนุษย์

''Homo sapiens sapiens'' ชาวอาข่าในประเทศไทย วิวัฒนาการของมนุษย์ (Human evolution) เป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่นำไปสู่การปรากฏขึ้นของ "มนุษย์ปัจจุบัน" (modern human มีนามตามอนุกรมวิธานว่า Homo sapiens หรือ Homo sapiens sapiens) ซึ่งแม้ว่าจริง ๆ แล้วจะเริ่มต้นตั้งแต่บรรพบุรุษแรกของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด แต่บทความนี้ครอบคลุมเพียงแค่ประวัติวิวัฒนาการของสัตว์อันดับวานร (primate) โดยเฉพาะของสกุล โฮโม (Homo) และการปรากฏขึ้นของมนุษย์สปีชีส์ Homo sapiens ที่จัดเป็นสัตว์วงศ์ลิงใหญ่เท่านั้น การศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการมนุษย์นั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลายสาขา รวมทั้งมานุษยวิทยาเชิงกายภาพ (หรือ มานุษยวิทยาเชิงชีวภาพ), วานรวิทยา, โบราณคดี, บรรพชีวินวิทยา, พฤติกรรมวิทยา, ภาษาศาสตร์, จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary psychology), คัพภวิทยา และพันธุศาสตร์ กระบวนการวิวัฒนาการเป็นความเปลี่ยนแปลงของลักษณะสืบสายพันธุ์ (trait) ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตผ่านหลายชั่วยุคชีวิต เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดความหลายหลากกับสิ่งมีชีวิตในทุกระดับชั้น รวมทั้งระดับสปีชีส์ ระดับสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต และแม้กระทั่งโครงสร้างระดับโมเลกุลเช่นดีเอ็นเอและโปรตีน สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกสืบสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกันที่มีชีวิตประมาณ 3.8 พันล้านปีก่อน การเกิดสปีชีส์ใหม่ ๆ และการแยกสายพันธุ์ออกจากกันของสิ่งมีชีวิต สามารถอนุมานได้จากลักษณะสืบสายพันธุ์ทางสัณฐานและทางเคมีชีวภาพ หรือโดยลำดับดีเอ็นเอที่มีร่วมกัน คือ ลักษณะสืบสายพันธุ์และลำดับดีเอ็นเอที่มีกำเนิดเดียวกัน จะมีความคล้ายคลึงกันระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันเร็ว ๆ นี้มากกว่าระหว่างสปีชีส์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันมานานแล้ว ดังนั้นความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันจึงสามารถใช้สร้างแบบของต้นไม้สายพันธุ์สิ่งมีชีวิต ที่แสดงความสัมพันธ์เชิงญาติ โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่ยังมีอยู่หรือใช้ซากดึกดำบรรพ์เป็นหลักฐานข้อมูล รูปแบบความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในโลกเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกิดขึ้นของสปีชีส์ใหม่ ๆ และการสูญพันธุ์ไปของสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ งานวิจัยต่าง ๆ ทางพันธุศาสตร์แสดงว่า สัตว์อันดับวานรรวมทั้งมนุษย์แยกออกจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น ๆ เมื่อประมาณ โดยมีซากดึกดำบรรพ์ปรากฏเป็นครั้งแรกสุดเมื่อประมาณ ส่วนลิงวงศ์ชะนี (Hylobatidae) แยกสายพันธุ์ออกจากสายพันธุ์วงศ์ลิงใหญ่ (Hominidae) รวมทั้งมนุษย์ ซึ่งเป็นวงศ์หนึ่ง ๆ ของสัตว์อันดับวานรนั้น เมื่อ แล้วลิงวงศ์ Ponginae (ลิงอุรังอุตัง) ก็แยกออกจากสายพันธุ์เมื่อประมาณ จากนั้น การเดินด้วยสองเท้า (bipedalism) ซึ่งเป็นการปรับตัวพื้นฐานที่สุดของสัตว์เผ่า Hominini ซึ่งเป็นสายพันธุ์ของมนุษย์ที่ลิงชิมแปนซีได้แยกออกไปแล้ว ก็เริ่มปรากฏในสัตว์สองเท้าแรกสุดในสกุล Sahelanthropus หรือ Orrorin โดยมีสกุล Ardipithecus ซึ่งเป็นสัตว์สองเท้าที่มีหลักฐานชัดเจนกว่า ตามมาทีหลัง ส่วนลิงกอริลลาและลิงชิมแปนซีแยกออกจากสายพันธุ์ในช่วงเวลาใกล้ ๆ กัน คือลิงกอริลลาเมื่อ และลิงชิมแปนซีเมื่อ โดยอาจจะมี Sahelanthropus เป็นบรรพบุรุษสุดท้ายร่วมกันระหว่างชิมแปนซีและมนุษย์ สัตว์สองเท้ายุคเริ่มต้นเหล่านี้ในที่สุดก็วิวัฒนาการมาเป็นเผ่า hominini เผ่าย่อย Australopithecina (australopithecine ปกติรวมสกุล Australopithecus, Paranthropus, และในบางที่ Ardipithecus) ที่ และหลังจากนั้นจึงเป็นเผ่าย่อย Hominina ซึ่งรวมเอามนุษย์สกุล โฮโม เท่านั้น มนุษย์สกุลโฮโมที่มีหลักฐานยืนยันพวกแรกที่สุดเป็นสปีชีส์ Homo habilis ซึ่งเกิดขึ้นประมาณ โดยเชื่อกันว่า สืบสายพันธุ์มาจาก homonin ในสกุล Australopithecus เป็นสปีชีส์แรก ๆ ที่มีหลักฐานชัดเจนว่าใช้เครื่องมือหิน และการปรับตัวของสายพันธุ์มนุษย์อีกอย่างหนึ่งคือ การขยายขนาดของสมอง (encephalization) ก็ได้เริ่มขึ้นที่มนุษย์ยุคต้นนี้ ซึ่งมีขนาดสมองที่ประมาณ 610 ซม3 คือมีขนาดใหญ่กว่าของลิงชิมแปนซีเล็กน้อย (ระหว่าง 300-500 ซม3) มีนักวิทยาศาสตร์ที่เสนอว่า นี้อยู่ในช่วงเวลาที่ยีนมนุษย์ประเภท SRGAP2 มีจำนวนเป็นสองเท่าเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาของสมองกลีบหน้าได้รวดเร็วกว่าในสัตว์อื่น ๆ ต่อมา มนุษย์สปีชีส์ Homo erectus/ergaster ก็เกิดขึ้นในช่วงประมาณ ที่มีปริมาตรกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของลิงชิมแปนซีคือ 850 ซม3 การขยายขนาดของสมองเช่นนี้เทียบเท่ากับมีเซลล์ประสาทเพิ่มขึ้น 125,000 เซลล์ทุกชั่วยุคคน สปีชีส์นี้เชื่อว่าเป็นพวกแรก ๆ ที่สามารถควบคุมไฟ และใช้เครื่องมือหินที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นมนุษย์สกุล Homo พวกแรกที่อพยพออกไปตั้งถิ่นฐานทั่วทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย และทวีปยุโรป อาจเริ่มตั้งแต่ ดังนั้น การวิวัฒนาการของสายพันธุ์มนุษย์ก่อนหน้านี้ล้วนเป็นไปในแอฟริกาเท่านั้น ส่วนกลุ่มมนุษย์โบราณที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า Archaic humans ก็เกิดวิวัฒนาการขึ้นต่อมาประมาณ 600,000 ปีก่อน สืบสายพันธุ์มาจาก H.

ดู มนุษย์และวิวัฒนาการของมนุษย์

วิวัฒนาการของคอเคลีย

ำว่า คอเคลีย มาจากคำภาษาละตินที่แปลว่า "หอยโข่ง/หอยทาก, เปลือก, หรือเกลียว" ซึ่งก็มาจากคำกรีก คือ kohlias ส่วนคำปัจจุบันที่หมายถึง หูชั้นในรูปหอยโข่ง พึ่งเริ่มใช้ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 คอเคลียของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจะมีอวัยวะของคอร์ติ ซึ่งมีเซลล์ขนที่แปลแรงสั่นที่วิ่งไปในน้ำที่ล้อมรอบ ให้เป็นกระแสไฟฟ้าที่ส่งไปยังสมองเพื่อประมวลเสียง ส่วนอวัยวะที่มีรูปเป็นหอยโข่งประมาณว่าเกิดในต้นยุคครีเทเชียสราว ๆ 120 ล้านปีก่อน นอกจากนั้นแล้ว เส้นประสาทที่วิ่งไปยังคอเคลียก็เกิดในยุคครีเทเชียสเหมือนกัน วิวัฒนาการของคอเคลียในมนุษย์เป็นเรื่องสำคัญทางวิทยาศาสตร์เพราะว่าดำรงเป็นหลักฐานได้ดีในซากดึกดำบรรพ์ ในศตวรรษที่ผ่านมา ทั้งนักวิทยาศาสตร์ นักชีววิทยาเชิงวิวัฒนาการ และนักบรรพชีวินวิทยา ได้พยายามพัฒนาเทคนิคใหม่ ๆ เพื่อข้ามอุปสรรคในการทำงานกับวัตถุโบราณที่บอบบาง ในอดีต นักวิทยาศาสตร์จำกัดมากในการตรวจดูตัวอย่างโดยไม่ทำให้เสียหาย แต่ในปัจจุบัน เทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ระดับไมโคร (micro-CT scanning) ช่วยให้สามารถแยกแยะซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์จากซากตกตะกอนอื่น ๆ และเทคโนโลยีรังสีเอกซ์ ก็ช่วยให้ตรวจสมรรถภาพการได้ยินของสัตว์ที่สูญพันธุ์ไปแล้วได้ และช่วยสร้างความรู้ใหม่ ๆ เกี่ยวกับทั้งบรรพบุรุษมนุษย์และสัตว์อื่น ๆ ที่อยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน.

ดู มนุษย์และวิวัฒนาการของคอเคลีย

วิศวกรรมสารสนเทศ

วิศวกรรมสารสนเทศ (Information Engineering) เป็นสาขาทางวิศวกรรมศาสตร์ ว่าด้วยการนำความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสาขาต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดการข้อมูลข่าวสาร ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อความต้องการของมนุษย์ การจัดการข้อมูลข่าวสาร ในที่นี้นั้นหมายถึงการกระทำใด ๆ ต่อข้อมูล เช่น การจัดเก็บ การรับส่งข้อมูล การประมวลผลข้อมูล เป็นต้น สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ จะมุ่งเน้นการศึกษาและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในสาขาต่าง ๆ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม ตลอดจนถึงสาขาทางวิศวกรรมไฟ้ฟ้าอื่น ๆ เช่น ระบบควบคุม เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แล้วส่งผ่านระบบโครงข่ายการสื่อสารแบบมีสายหรือแบบไร้สายไปยังปลายทาง ตลอดจนการจัดเก็บและการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด เป็นต้น.

ดู มนุษย์และวิศวกรรมสารสนเทศ

วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental science) หมายถึง การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของสิ่งแวดล้อมต่อมนุษย์ และมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อม ในเรื่องของชนิด ปริมาณ และสัดส่วนของการอยู่ร่วมกันภายในระบบสิ่งแวดล้อมนั้นๆ ที่มีบทบาท และความสำคัญต่อมนุษย์เป็นหลักสำคัญ โดยจะเน้นถึงปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น ใช้หลักการประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์ มาเพื่อการศึกษาสิ่งแวดล้อมอย่างมีขั้นตอนและมีเงื่อนไข สำหรับการค้นคว้าหาความจริงต่างๆ ซึ่งขั้นตอนเหล่านั้นได้แก่ การสังเกต, การบันทึก, การทดลอง และขบวนการให้เหตุผล แต่ยังคงพิจารณาถึง ชนิด ปริมาณ และสัดส่วนของสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ในสภาพธรรมชาติที่ไม่มีมนุษย์ยุ่งเกี่ยวโดยตรงด้วย หรืออยู่เป็นระบบที่จะมีบทบาทโดยตรง หรือต่อมนุษย์ไม่มีทางใดก็ทางหนึ่ง สามารถรวมถึง พืช สัตว์ ทะเล น้ำ ดิน อากาศได้ เป็นต้น จนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการกำหนดมาตรฐานสิ่งแวดล้อมได้ และสามารถนำไปปฏิบัติได้กับแบบฉบับของชีวิต หรือนำไปปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่ตนเองอาศัยอยู่ให้เหมาะต่อคุณภาพชีวิตที่ดีได้.

ดู มนุษย์และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

วิทยาศาสตร์สุขภาพ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ วิทยาศาสตร์สุขภาพสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วน ส่วนแรก คือ การศึกษา วิจัย และความรู้ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ส่วนที่ 2 คือ การนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสุขภาพ, รักษาโรค และทำความเข้าใจการทำงานของร่างกายมนุษย์และสัตว์ งานวิจัยด้านนี้วางอยู่บนฐานของชีววิทยา, เคมี และฟิสิกส์ รวมไปถึงความรู้ด้านสังคมศาสตร์ เช่น สังคมวิทยาการแพท.

ดู มนุษย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจีน เป็นสิ่งที่น่าสนใจและน่าศึกษาอย่างมาก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจีนเจริญก้าวหน้ามาก่อนตะวันตกหลายร้อยปี สิ่งประดิษฐ์บางอย่างนั้นคนจีนคิดค้นได้ก่อนชาวตะวันตกถึงกว่าหนึ่งพันปี แต่น่าเสียดายที่เรารู้เรื่องเหล่านี้น้อยมาก เพราะเราต่างโดนวัฒนธรรมตะวันตกครอบงำด้วยกันทั้งสิ้น.

ดู มนุษย์และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน

วิตรูวิอุส

''วิทรูเวียนแมน'' เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี วิตรูวิอุส มีชื่อเต็มว่า มาร์กุส วิตรูวิอุส ป็อลลิโอ (Marcvs Vitrvvivs Pollio; เกิดในช่วง 80-70 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 25 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นนักเขียน สถาปนิก และวิศวกรแห่งอาณาจักรโรมัน เป็นบุคคลที่มีบันทึกเกี่ยวกับประวัติชีวิตส่วนตัวน้อยมาก สิ่งที่คนรุ่นหลังรู้จักเกี่ยวกับตัวเขาคือผ่านผลงานของเขา วิตรูวิอุสเกิดในสถานภาพราษฎรโรมันเต็มตัว ได้เข้ารับราชการทหารและประจำอยู่ในกองวิศวกรรมซึ่งมีหน้าที่สร้างเครื่องกลต่าง ๆ เพื่อใช้ในการทำสงคราม ต่อมาได้รับการว่าจ้างจากจักรพรรดิเอากุสตุสให้ทำงานกับราชสำนัก วันเวลาของการเสียชีวิตของวิตรูวิอุสนั้นนักประวัติศาสตร์ไม่สามารถหาหลักฐานที่ชัดเจนได้ แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ว่า ในยุคสมัยที่เขาอยู่นั้น เขาไม่ได้เป็นคนสำคัญที่มีชื่อเสียงแต่อย่างใด นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า วิตรูวิอุสเป็นผู้เขียนศาสตรนิพนธ์ชื่อ ว่าด้วยสถาปัตยกรรม (De architectvra) โดยเขียนเป็นภาษาละตินและภาษากรีก เป็นงานที่เขียนถวายให้กับจักรพรรดิเอากุสตุส และเป็นหนังสือเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมเพียงเล่มเดียวในยุคนั้นที่มีหลักฐานหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน ข้อความเขียนโดยวิตรูวิอุสที่ได้รับการอ้างอิงมากที่สุดและยังคงใช้กันมาต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน คือ สถาปัตยกรรมต้องมีคุณลักษณะสามประการ ได้แก่ ความแข็งแรงมั่นคง (firmitas), การใช้ประโยชน์ได้ (vtilitas) และความงาม (venvstas) แนวคิดที่สำคัญอีกประการของวิตรูวิอุสนั้นคือ แนวคิดเกี่ยวกับการมองสถาปัตยกรรมเป็นการสร้างสรรค์เลียนแบบองค์ประกอบของธรรมชาติ เพราะมนุษย์ต้องใช้วัสดุจากธรรมชาติมาสร้างสถาปัตยกรรม ภาษาของสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นต้องมีความสัมพันธ์กับลักษณะทางธรรมชาติของมนุษย์ ชาวกรีกได้นำหลักการนี้ไปเป็นพื้นฐานในการพัฒนาองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมคลาสสิก เช่น เสาแบบดอริก เสาแบบไอออนิก หรือเสาแบบคอรินเทียน ทุกสัดส่วนที่เกิดขึ้นนั้นมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่งานอันเป็นสุดยอดแห่งการสร้างสรรค์ของธรรมชาติ ได้แก่ร่างกายของมนุษย์นั่นเอง แนวคิดเกี่ยวกับร่างกายมนุษย์ดังกล่าวได้รับการนำไปถ่ายทอดเป็นภาพเขียนที่มีชื่อเสียงชื่อ "วิทรูเวียนแมน" หรือมนุษย์วิตรูวิอุส ซึ่งเขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี.

ดู มนุษย์และวิตรูวิอุส

วิตามินบี12

วงแหวง corrin ที่เป็นโครงสร้างประกอบของวิตามิน methylcobalamin (ดังที่แสดง) เป็นรูปแบบของวิตามินบี12 อย่างหนึ่ง แต่ก็ยังคล้ายกับรูปแบบอื่น ๆ ของวิตามิน ปรากฏเป็นผลึกสีแดงซึ่งละลายน้ำเป็นสีแดงเข้ม วิตามินบี12 (12, cobalamin) เป็นวิตามินละลายน้ำได้ที่เป็นกุญแจสำคัญในการทำงานเป็นปกติของสมองกับระบบประสาท และการสร้างเม็ดเลือดแดง เป็นรูปแบบหนึ่งของวิตามินบี 8 อย่าง ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซึมในเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายมนุษย์ โดยมีผลเฉพาะต่อการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ เมแทบอลิซึมของกรดไขมันและกรดอะมิโน ไม่มีเห็ดรา พืช หรือสัตว์ (รวมทั้งมนุษย์) ที่สามารถสร้างวิตามินบี12ได้ มีแต่สิ่งมีชีวิตประเภทแบคทีเรียและอาร์เคียที่มีเอนไซม์เพื่อสังเคราะห์มันได้ แหล่งของวิตามินที่ได้พิสูจน์แล้วเป็นผลิตภัณฑ์สัตว์รวมทั้งเนื้อ ปลา ผลิตภัณฑ์นม และอาหารเสริม แต่ก็มีงานวิจัยที่แสดงว่า ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่มาจากสัตว์บางอย่างอาจเป็นแหล่งธรรมชาติของวิตามินได้ เพราะอยู่ร่วมกับแบคทีเรีย (bacterial symbiosis) วิตามินบี12 เป็นวิตามินที่ใหญ่ที่สุด มีโครงสร้างซับซ้อนที่สุด และสามารถสังเคราะห์โดยหมักแบคทีเรีย (bacterial fermentation-synthesis) แล้วใช้เสริมอาหารและเป็นวิตามินเสริม วิตามินบี12 เป็นกลุ่มสารประกอบที่มีโครงสร้างเคมีเกี่ยวข้องกัน (หรือที่เรียกว่า vitamer) ซึ่งมีฤทธิ์ทางชีวภาพ และมีธาตุโคบอลต์ (Co) ที่ไม่สามัญทางเคมี-ชีวภาพ อยู่ตรงกลางวงแหวนเชิงระนาบแบบ tetra-pyrrole ที่เรียกว่าวงแหวน corrin (ดูรูป) ซึ่งสามารถผลิตได้โดยแบคทีเรีย hydroxocobalamin แต่ร่างกายสามารถแปรรูปแบบวิตามินไปในแบบต่าง ๆ ได้ วิตามินค้นพบโดยความสัมพันธ์ของมันกับโรคภาวะเลือดจางเหตุขาดวิตามินบี12 (pernicious anemia) ซึ่งเป็นโรคภูมิต้านตนเอง และมีผลทำลายเซลล์ผนัง (parietal cell) ที่มีหน้าที่หลั่งไกลโคโปรตีน คือ intrinsic factor ในกระเพาะอาหาร เซลล์เหล่านี้ยังมีหน้าที่หลั่งกรดย่อยอาหารในกระเพาะอีกด้วย เพราะว่า intrinsic factor จำเป็นต่อการดูดซึมวิตามินตามปกติ การขาดโปรตีนนี้เพราะโรค จึงทำให้ขาดวิตามินบี12 ยังมีรูปแบบการขาดวิตามินแบบเบากว่าอื่น ๆ ที่ผลติดตามทางชีวเคมีก็ปรากฏชัดแล้ว.

ดู มนุษย์และวิตามินบี12

วงศ์กบลูกศรพิษ

กบลูกศรพิษ (Poison dart frogs, Dart-poison frogs, Poison frogs, Poison arrow frogs) เป็นวงศ์ของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง ในอันดับกบ (Anura) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dendrobatidae.

ดู มนุษย์และวงศ์กบลูกศรพิษ

วงศ์กระต่าย

วงศ์กระต่าย (Hare, Rabbit) เป็นวงศ์ของสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับกระต่าย (Lagomorpha) ในวงศ์ Leporidae สัตว์ที่อยู่ในวงศ์นี้แม้จะมีฟันแทะเหมือนกับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) แต่ถูกจัดออกมาเป็นอันดับต่างหาก เนื่องมีจำนวนฟันที่ไม่เท่ากัน เพราะกระต่ายมีฟันแทะที่ขากรรไกรบน 2 แถว เรียงซ้อนกันแถวละ 2 ซี่ ฟันกรามบนข้างละ 6 ซี่ และฟันกรามล่างข้างละ 5 ซี่ เมื่อเวลาเคี้ยวอาหาร กระต่ายจะใช้ฟันทั้ง 2 ด้านเคี้ยวสลับกันไป ต่างจากสัตว์ฟันแทะโดยทั่วไปที่เคี้ยวเคลื่อนหน้าเคลื่อนหลัง ซึ่งสามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า (1\tfrac,C\tfrac,P\tfrac,M\tfrac) X 2.

ดู มนุษย์และวงศ์กระต่าย

วงศ์กระแต

วงศ์กระแต (Treeshrew) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ในอันดับกระแต (Scandentia) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tupaiidae มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับกระรอก ซึ่งอยู่ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ซึ่งเป็นสัตว์ต่างอันดับกัน แต่ไม่มีฟันเป็นฟันแทะเหมือนกระรอก มีส่วนหน้าและจมูกยื่นแหลมยาวกว่า นิ้วเท้าหน้ามีทั้งหมด 5 นิ้ว และมีลักษณะคล้ายกับนิ้วของไพรเมต (Primate) หรือลิงมากกว่ากระรอก ใช้ประโยชน์ในการหยิบจับได้ดีกว่า มีพฤติกรรมการเลี้ยงลูกที่แปลก คือ หลังจากออกลูกแล้ว กระแตตัวแม่จะให้นมลูกอ่อนจนตัวด้วยเป่งไปน้ำนม ซึ่งมากถึงร้อยละ 50 ของน้ำหนักตัว หลังจากนั้นก็จะทิ้งลูกไปนานถึง 48 ชั่วโมงก่อนที่จะวกกลับมาให้นมจนเป่งแบบเดิมอีก นมของกระแตมีสัดส่วนไขมันสูงเป็นพิเศษ (ราวร้อยละ 26) ซึ่งทำให้ลูกกระแตรักษาอุณหภูมิร่างกายไว้ได้ที่ 37 องศาเซลเซียส โดยไม่ต้องพึ่งความอบอุ่นจากแม่ นอกจากนี้ยังมีโปรตีนมากถึงร้อยละ 10 ลูกกระแตสามารถออกจากรังได้ขณะที่มีอายุเพียง 4 สัปดาห์ มีการกระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หากินทั้งพืชและสัตว์ขนาดเล็ก พบได้ทั้งในป่าดิบ, ชุมชนของมนุษย์ พื้นที่เกษตรกรรม เช่น สวนผลไม้ หรือสวนสาธารณะ ปัจจุบันมีการแบ่งออกเป็นทั้งหมด 4 สกุล (ดูในตาราง) พบทั้งหมด 19 ชนิด ในประเทศไทยพบได้ 4 ชนิด คือ กระแตเหนือ (Tupaia belangeri), กระแตเล็ก (T.

ดู มนุษย์และวงศ์กระแต

วงศ์ย่อยวัวและควาย

วงศ์ย่อยวัวและควาย เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ในอันดับสัตว์กีบคู่ (Artiodactyla) ในวงศ์ใหญ่ Bovidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bovinae สัตว์ในวงศ์นี้มีลักษณะโดยรวม เป็นสัตว์ที่มนุษย์รู้จักเป็นอย่างดี คือ วัวและควาย ซึ่งใช้เลี้ยงเป็นปศุสัตว์และใช้แรงงานในการเกษตรกันมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสัตว์ที่มีกล้ามเนื้อบึกบึนกำยำล่ำสัน เต็มไปด้วยพละกำลัง เขามีความโค้งและเรียวแหลมที่ปลาย มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย แต่บางกลุ่มที่มีลักษณะที่แตกต่างออกไป คือ คอยาว ขายาว มีลายขวางตามลำตัว อาจมีลายบนใบหน้า มีเขาบิดเป็นเกลียว ซึ่งมักพบเฉพาะในตัวผู้ แต่บางชนิดพบได้ทั้งตัวผู้และตัวเมีย พบกระจายพันธุ์ไปในทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปอเมริกาใต้และโอเชียเนีย แบ่งออกได้เป็น 10 สกุล ดังนี้.

ดู มนุษย์และวงศ์ย่อยวัวและควาย

วงศ์ย่อยหอยมือเสือ

วงศ์ย่อยหอยมือเสือ (Giant clam; วงศ์ย่อย: Tridacninae) เป็นวงศ์ย่อยของหอยสองฝา ในวงศ์ใหญ่ Cardiidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tridacninae เป็นหอยสองฝาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก แบ่งออกได้เป็น 2 สกุล 9 ชนิด ได้แก.

ดู มนุษย์และวงศ์ย่อยหอยมือเสือ

วงศ์ย่อยหนู

วงศ์ย่อยหนู (Old World rats and mice, วงศ์ย่อย: Murinae) เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์ฟันแทะในวงศ์หนู (Muridae) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Murinae มีจำนวนสมาชิกในวงศ์นี้กว่า 519 ชนิด ถือว่าเป็นวงศ์ของสัตวฟันแทะที่มีความหลากหลายมากที่สุดวงศ์หนึ่ง และถือได้ว่ามีจำนวนสมาชิกพอ ๆ กับค้างคาวซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมด้วยกัน หากแต่ค้างคาวมิใช่สัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ พบกระจายพันธุ์ในซีกโลกที่ได้ชื่อว่าเป็นโลกเก่า คือ แอฟริกา, เอเชีย, ยุโรป ตลอดจนโอเชียเนียด้วย โดยมีสกุลกว่า 129 สกุล โดยที่บางสกุลก็ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว โดยที่สกุลที่เป็นที่รู้จักกันคือ Rattus ซึ่งเป็นสกุลที่มีขนาดใหญ่ และพบได้ทั่วไปตามบ้านเรือนของมนุษย์ ได้แก่ หนูบ้าน (R.

ดู มนุษย์และวงศ์ย่อยหนู

วงศ์ย่อยปลากระดี่

วงศ์ย่อยปลากระดี่ เป็นวงศ์ย่อยของปลาน้ำจืดในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Luciocephalinae สมาชิกในวงศ์ย่อยนี้ ประกอบไปด้วยสกุลต่าง ๆ ได้แก.

ดู มนุษย์และวงศ์ย่อยปลากระดี่

วงศ์ย่อยปลากัด

วงศ์ย่อยปลากัด (Fighting fish & Paradise fish) เป็นวงศ์ย่อยของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ที่มีอวัยวะหายใจลักษณะคล้ายเขาวงกต ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macropodusinae เป็นปลาขนาดเล็ก เมื่อโตเต็มที่แล้วไม่เกินนิ้วมือของมนุษย์ จัดเป็นวงศ์ย่อยที่มีความหลากหลายที่สุดของวงศ์ใหญ่นี้ เป็นปลาที่มีสีสันสวยงาม โดยเฉพาะตัวผู้ จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยสมาชิกที่เป็นที่รู้จักกันดีของวงศ์ย่อยนี้ คือ ปลากัด มีพฤติกรรมการวางไข่ทั้งก่อหวอดและอมไข่ พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และเอเชียตะวันออก.

ดู มนุษย์และวงศ์ย่อยปลากัด

วงศ์ย่อยแกะและแพะ

วงศ์ย่อยแกะและแพะ เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ (Artiodactyla) ในวงศ์ใหญ่ Bovidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Caprinae ลักษณะที่สำคัญของวงศ์นี้ คือจะมีเขาในทั้งตัวผู้และตัวเมีย แต่ตัวผู้จะมีเขาที่ใหญ่และตันกว่า ใช้สำหรับต่อสู้กันเพื่อแย่งตัวเมียในฤดูผสมพันธุ์ และป้องกันตัว ลักษณะของเขา เช่นความคมและความโค้งของเขา จะแตกต่างกันไปในแต่ละชนิด ตัวผู้มักมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียราวร้อยละ 20-30 ตัวเมียจะมีเต้านม 2 หรือ 4 เต้า และจะมีขนที่หนานุ่มตลอดทั้งลำตัว ลักษณะกีบเท้าจะมีการพัฒนาให้มีลักษณะพิเศษ คือ มีแผ่นกีบที่มีความหนา และมีความชื้นมาก เพื่อสะดวกในการป่ายปีนที่สูง เนื่องจากเป็นสัตว์ที่มีนิเวศวิทยาอยู่รวมกันเป็นฝูงและอาศัยอยู่บนภูเขา, หน้าผา หรือที่ราบสูง สามารถแบ่งออกได้เป็นสกุล 12 สกุล ดังนี้.

ดู มนุษย์และวงศ์ย่อยแกะและแพะ

วงศ์ลิงใหญ่

ลิงใหญ่ หรือ โฮมินิด (Hominid, Great ape) เป็นวงศ์หนึ่งในทางอนุกรมวิธานของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานร (Primates) จำพวกเอป หรือลิงไม่มีหาง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hominidae ซึ่งในปัจจุบันนี้มีดำรงเผ่าพันธุ์อยู่เพียง 4 สกุล คือ Pan, Gorilla, Homo และPongo ลักษณะสำคัญของวงศ์นี้ คือ มีฟันเขี้ยวขนาดเล็กและอยู่ในระดับเดียวกับฟันอื่น ๆ เดินด้วยขาหลัง 2 ขา เนื่องจากเปลี่ยนวิถีชีวิตจากบนต้นไม้มาสู่พื้นดิน เดิมเคยเชื่อว่าในวงศ์นี้ ประกอบไปด้วยสกุล 3 สกุล คือ Ramapithecus, Australopithecus และ Homo แต่จากการศึกษาเพิ่มเติมพบว่า Ramapithecus มีลักษณะคล้ายลิงอุรังอุตังมากกว่า Australopithecus และHomo จึงจัดให้อยู่ในวงศ์ย่อย Ponginae ของลิงอุรังอุตัง ในวงศ์นี้ ชนิดที่ทราบว่าสูญพันธุ์ไปแล้วจำนวนหนึ่งถูกจัดกลุ่มกับมนุษย์ในวงศ์ย่อย Homininae ส่วนชนิดอื่น ๆ ถูกจัดในวงศ์ย่อย Ponginae กับลิงอุรังอุตัง บรรพบุรุษร่วมกันหลังสุดของลิงใหญ่เคยมีชีวิตอยู่เมื่อประมาณ 14 ล้านปีก่อน เมื่อบรรพบุรุษของลิงอุรังอุตังวิวัฒนามาจากบรรพบุรุษของอีก 3 ชนิดที่เหลือDawkins R (2004) The Ancestor's Tale.

ดู มนุษย์และวงศ์ลิงใหญ่

วงศ์ลิงโลกเก่า

ลิงโลกเก่า (Old world monkey) คือ ลิงที่อยู่ในวงศ์ Cercopithecidae ในวงศ์ใหญ่ Cercopithecoidea ซึ่งแบ่งออกได้เป็นอีก 2 วงศ์ย่อย ลิงโลกเก่า คือ ลิงที่อยู่ในบริเวณซีกโลกที่เรียกว่า โลกเก่า คือ ทวีปเอเชีย, แอฟริกา และยุโรป ซึ่งลิงกลุ่มนี้มีลักษณะโดยรวม คือ ไม่มีหางยาวสำหรับการยึดเหนี่ยว ขณะเดียวกันกลับมีการพัฒนานิ้วหัวแม่มือให้หันเข้าหากัน สามารถพับหัวแม่มือเข้าหาฝ่ามือได้ เพื่อช่วยในการจับสิ่งของ มีฟันกราม 2 ซี่ เช่นเดียวกับมนุษย์ ปัจจุบันมีความสามารถในการมองเห็นได้ดีมาก สันนิษฐานว่าลิงโลกเก่าอาจเป็นบรรพบุรุษของเอป หรือลิงไม่มีหาง.

ดู มนุษย์และวงศ์ลิงโลกเก่า

วงศ์วัวและควาย

วงศ์วัวและควาย เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในอันดับสัตว์กีบคู่ (Artiodactyla) วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bovidae จัดเป็นสัตว์กินพืช ลักษณะเด่นของสัตว์ในวงศ์นี้ จะมีเขาที่ไม่มีการแตกกิ่ง ไม่มีการหลุดหรือเปลี่ยนในตลอดช่วงอายุขัย มีกระเพาะอาหารแบ่งเป็น 4 ห้องหรือ 4 ส่วน และมีการหมักย่อย โดยการหมักของกระเพาะอาหารจะอาศัยแบคทีเรียในท่อทางเดินอาหาร โดยส่วนใหญ่ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ในกระเพาะอาหารจะอยู่ที่ 6.7+0.5 มีถุงน้ำดี นอกจากนั้นสัตว์ในตระกูลนี้สามารถสำรอก อาหารออกมาจากกระเพาะหมัก เพื่อทำการเคี้ยวใหม่ได้ ที่เรียกว่า "เคี้ยวเอื้อง" ลูกที่เกิดใหม่จะใช้เวลาไม่นานในการเดินและวิ่งได้ อันเนื่องจากการวิวัฒนาการเพื่อให้เอาตัวรอดจากสัตว์กินเนื้อที่เป็นผู้ล่าในห่วงโซ่อาหาร สัตว์ที่อยู่ในวงศ์นี้ เป็นสัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยและผูกพันอย่างดีในฐานะเป็นสัตว์เศรษฐกิจและปศุสัตว์ ได้แก่ วัว, ควาย, แพะ, แกะ เป็นต้น สำหรับสัตว์ป่า มีการกระจายพันธุ์ไปในทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปออสเตรเลีย ในแอฟริกาและบางส่วนของทวีปเอเชีย จะมีบางชนิดที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับกวาง (Cervidae) เช่น อิมพาลาหรือแอนทีโลป แต่ความเป็นจริงแล้วเป็นสัตว์ในวงศ์นี้.

ดู มนุษย์และวงศ์วัวและควาย

วงศ์หนู

วงศ์หนู (Rat, Mice, Mouse; วงศ์: Muridae) เป็นวงศ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมวงศ์หนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Muridae นับเป็นสัตว์ที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี และนับเป็นวงศ์ของสัตว์ฟันแทะที่มีความหลากหลายและจำนวนสมาชิกมากที่สุดด้วย ด้วยมีจำนวนสมาชิกมากกว่า 700 ชนิด ตั้งแต่อาร์กติกเซอร์เคิลจนถึงปลายสุดของทวีปอเมริกาใต้ โดยยังแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อยได้อีก 5 วงศ์ (ดูในตาราง).

ดู มนุษย์และวงศ์หนู

วงศ์จิ้งจกและตุ๊กแก

วงศ์จิ้งจกและตุ๊กแก (Gecko) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับย่อยกิ้งก่า (Lacertilia) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Gekkonidae เป็นวงศ์ที่คุ้นเคยเป็นอย่างดีในชื่อสามัญว่า "จิ้กจก" และ "ตุ๊กแก" มีลักษณะโดยรวม คือ ส่วนมากมีขาเห็นได้ชัดเจน ยกเว้นในวงศ์ย่อยบางวงศ์ในออสเตรเลียที่ไม่มีขา ผิวหนังของลำตัวมีเกล็ดขนาดเล็กปกคลุมและอาจมีตุ่มกระจายอยู่บ้าง ไม่มีกระดูกในชั้นหนังทางด้านหลังของลำตัว แต่บางชนิดอาจจะมีกระดูกในชั้นหนังทางด้านท้องของลำตัว กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์คลาวิเคิลเป็นรูปตัวที และกระดูกไหปลาร้าเป็นรูปหักมุม สามารถสะบัดหางให้หลุดจากลำตัวได้เพื่อหลอกศัตรูที่มาคุกคาม โดยตำแหน่งที่ปล่อยหางหลุดนั้นอยู่ทางด้านท้ายของก้านกระดูกทางด้านข้างของกระดูกสันหลังส่วนหางทุกปล้อง พื้นผิวด้านบนมีลิ้นมีตุ่มกลม ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับร่องที่ขอบด้านในของกระดูกขากรรไกร กระดูกพเทอรีกอยด์ไม่มีฟัน เป็นวงศ์ที่มีขนาดใหญ่ โดยยังแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยอีก 4 วงศ์ (ดูในตาราง) มีจำนวนสมาชิกในวงศ์มากมายถึงเกือบ 1,000 ชนิด และ 109 สกุล ซึ่งจำนวนนี้ยังไม่แน่นอน เนื่องจากมีการสำรวจพบเจอชนิดใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นทุกปี ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ มีเพียงไม่สกุลเท่านั้น เช่น Hoplodacatylus ที่ตกลูกเป็นตัว ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของวงศ์นี้ที่เป็นที่รับรู้อย่างดีของมนุษย์ คือ เสียงร้อง อันเป็นที่มาของชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร์ที่ใช้เรียก สัตว์เลื้อยคลานในวงศ์นี้โดดเด่นมากในการส่งเสียงร้อง โดยมีแผ่นเยื่อกำเนิดเสียงและกล่องเสียงจึงทำให้เกิดเสียงได้ และด้วยความซับซ้อนมากกว่าเสียงที่เกิดจากการผลักดันอากาศออกทางจมูกหรือปาก ในตัวผู้ของหลายชนิดใช้เสียงในการประกาศอาณาเขตตลอดจนใช้ดึงดูดตัวเมีย โดยเป็นเสียงร้องที่สั้นและมักร้องซ้ำ ๆ และติดต่อกันหลายครั้ง แม้ว่าส่วนใหญ่เสียงร้องอาจจะคล้ายคลึงกันแต่ชนิดที่ต่างกันแม้อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกันก็มีเสียงที่ต่างกัน โดยทั่วไปตัวผู้จะส่งเสียงร้องไปยังทิศทางที่มีตัวผู้ตัวอื่นหรือมีตัวเมียอยู่ตรงนั้น แต่บางครั้งก็อาจส่งเสียงร้องได้โดยไม่มีทิศทาง ในสกุล Ptenopus ที่พบในแอฟริกา เมื่ออกจากโพรงในช่วงใกล้ค่ำและส่งเสียงร้องประสานกันคล้ายกับเสียงร้องของกบ นอกจากนี้แล้วในบางชนิดจะมีเสียงร้องอย่างจำเพาะระหว่างแสดงพฤติกรรมปกป้องอาณาเขต และเป็นเสียงร้องช่วงยาวมากกว่าเสียงร้องที่ใช้ในเวลาทั่วไป ซึ่งเสียงร้องเตือนนี้นอกจากจะใช้ร้องเตือนสัตว์ประเภทเดียวกันที่มาเข้าใกล้ ยังร้องเตือนสัตว์ที่ใหญ่ รวมถึงมนุษย์ได้ด้วย โดยทั้งตัวผู้และตัวเมียจะส่งเสียงร้องได้เท่ากัน โดยเฉพาะเสียงร้องประกาศอาณาเขตนี้ โดยชนิดที่มีเสียงร้องที่ซับซ้อนและหลากหลายที่สุด คือ ตุ๊กแกบ้าน (Gekko gecko) เพราะมีเสียงที่ขึ้นต้นด้วยพยางค์เดียวที่ร้องถี่ ๆ ติดกันหลายครั้งแล้วตามด้วยเสียงร้องที่เป็น 2 พยางค์ นอกจากนี้แล้วลักษณะพิเศษเฉพาะที่สำคัญอีกประการของสัตว์เลื้อยคลานวงศ์นี้ คือ สามารถเกาะติดกับผนังได้เป็นอย่างดี โดยไม่หล่นลงมา ด้วยหลักของสุญญากาศที่บริเวณใต้ฝ่าเท้าทั้ง 4 ด้าน โดยเป็นแผ่นหนังที่เรียงตัวต่อกัน ซึ่งแผ่นหนังแต่ละแผ่นมีเส้นขนจำนวนมากและแต่ละเส้นนั้นยาวประมาณ 60-90 ไมครอน เรียกว่า "เซต้า" ซึ่งส่วนปลายของขนนั้นแตกแขนงและขยายออกเป็นกลุ่ม การเรียงตัวของแผ่นหนังและรายละเอียดของเส้นขนนี้ใช้ในการอนุกรมวิธานแยกประเภท แต่ในหลายสกุลก็ไม่อาจจะเกาะติดกับผนังได้ วงศ์จิ้งจกและตุ๊กแกนี้กระจายไปอยู่ทุกมุมโลก ยกเว้นในเขตขั้วโลก มีทั้งหากินในเวลากลางวันและกลางคืน เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มนุษย์รู้จักเป็นอย่างดี เพราะสามารถพบเห็นได้ทั่วไปแม้กระทั่งในบ้านเรือน.

ดู มนุษย์และวงศ์จิ้งจกและตุ๊กแก

วงศ์งูแมวเซา

วงศ์งูแมวเซา หรือ วงศ์งูหางกระดิ่ง หรือ วงศ์งูพิษเขี้ยวพับ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Viperidae, Viper, Rattlesnake) เป็นวงศ์ของงูวงศ์หนึ่ง ที่มีพิษร้ายแรงมากวงศ์หนึ่ง ที่ทำอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์ต่าง ๆ ให้ตายได้ด้วยน้ำพิษ มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวป้อมและมีหัวค่อนข้างเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีขนาดใหญ่กว่าส่วนคอมาก เกล็ดบนหัวมีขนาดเล็กยกเว้นสกุล Causus ที่เป็นแผ่นใหญ่ มีแอ่งรับรู้สึกคลื่นความร้อนอินฟราเรดอยู่ระหว่างช่องเปิดจมูกกับตาหรืออยู่ทางด้านล่างของเกล็ดที่ปกคลุมหัว กระดูกพรีแมคซิลลาไม่มีฟัน กระดูกแมคซิลลาหมุนได้ และมีเขี้ยวพิษขนาดใหญ่เพียงซี่เดียวที่เป็นท่อกลวง เขี้ยวเคลื่อนไหวได้จากการปรับปรุงให้รอยต่อระหว่างกระดูกแมคซิลลากับกระดูกพรีฟรอนทัลขยับได้ ฟันเขี้ยวจะยกตั้งขึ้นเมื่ออ้าปากและเอนราบไปกับพื้นล่างของปากเมื่อหุบปาก ช่องเปิดของตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัลหรือกระดูกฟรอนทัล-กระดูกพาไรทัล-กระดูกพาราสฟีนอยด์ ขากรรไกรล่างไม่มีกระดูกโคโรนอยด์ ไม่มีกระดูกเชิงกราน ไม่มีปอดข้างซ้ายหรือมีแต่เล็กมาก มีท่อนำไข่ทั้งสองข้างและเจริญเท่ากัน เป็นวงศ์ที่มีขนาดใหญ่ มีจำนวนสมาชิกประมาณ 221 ชนิด ประมาณ 32 สกุล และแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อยได้อีก 4 วงศ์ แพร่กระจายไปทุกมุมโลก ยกเว้นบางพื้นที่ เช่น ทวีปอเมริกาใต้, ทวีปออสเตรเลีย, บางส่วนในทวีปเอเชีย และทวีปแอนตาร์กติกา โดยสมาชิกในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักดี คือ งูหางกระดิ่ง คือ งูที่อยู่ในวงศ์ย่อย Crotalinae ที่พบได้ในทะเลทรายในทวีปอเมริกาเหนือจนถึงอเมริกากลาง สำหรับในทวีปเอเชีย ชนิด Azemiops feae พบได้ในพม่า, จีนตอนกลาง และเวียดนาม จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ย่อย Azemiopinae สำหรับในประเทศไทยจัดว่าเป็นงูที่มีพิษร้ายแรง ได้แก่ งูกะปะ หรือ งูปะบุก (Calloselasma rhodostoma) ที่จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Crotalinae และงูแมวเซา (Daboia russellii) ที่อยู่ในวงศ์ย่อย Viperinae เป็นต้น.

ดู มนุษย์และวงศ์งูแมวเซา

วงศ์งูแสงอาทิตย์

วงศ์งูแสงอาทิตย์ (Sunbeam snakes) เป็นวงศ์ของงูไม่มีพิษวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Xenopeltidae มีทั้งหมดเพียง 2 ชนิด และสกุลเดียวเท่านั้น คือ Xenopeltis คือ งูแสงอาทิตย์ (X.

ดู มนุษย์และวงศ์งูแสงอาทิตย์

วงศ์งูเหลือม

วงศ์งูเหลือม (Python) เป็นวงศ์ของงูไม่มีพิษขนาดใหญ่ นับเป็นงูที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน ใช้ชื่อวงศ์ว่า Pythonidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีกระดูกพรีแมคซิลลามีฟันยกเว้นในสกุล Aspidites ที่ไม่มี กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวกันตามยาว ช่องเปิดตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัล ขากรรไกรมีกระดูกโคโรนอยด์ มีกระดูกของรยางค์ต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัล ขากรรไกรล่างมีกระดูกโคโรนอยด์ มีกระดูกของรยางค์ขาคู่หลังที่ยังลดรูปไม่หมดและเป็นแท่งขนาดเล็กที่มองเห็นได้ทางช่องเปิดทวารร่วม มีกระดูกเชิงกรานขนาดเล็กที่ยังลดรูปไม่หมดฝังอยู่ในกล้ามเนื้อของลำตัว มีปอดข้างซ้ายใหญ่ มีท่อนำไข่มั้งสองข้างเจริญเท่ากัน มีแอ่งรับคลื่นความร้อนกระจายอยู่บริเวณขอบปากบนและล่าง เป็นงูขนาดใหญ่และไม่มีพิษ จึงมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงและเรี่ยวแรงพละกำลังมาก จึงใช้วิธีการรัดเหยื่อจนกระดูกหักและขาดใจตายจึงกลืนกินเข้าไปทั้งตัว ล่าเหยื่อด้วยการรอให้เข้ามาใกล้แล้วจึงเข้ารัด มีการกระจายพันธุ์ในหลายภูมิประเทศทั้งป่าดิบชื้น, ทะเลทราย ไปจนเกาะแก่งต่าง ๆ กลางทะเล หรือในชุมชนเมือง ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ พบตั้งแต่ทะเลทรายซาฮาราในทวีปแอฟริกา, เอเชียใต้, เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสเตรเลีย มีขนาดตั้งแต่ 30 เซนติเมตร จนถึงกว่า 10 เมตร แต่มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 1 เมตร หากินทั้งบนบก, ในน้ำ และบนต้นไม้ โดยกินสัตว์เลือดอุ่นจำพวกสัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นหลัก ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ตัวเมียจะเป็นผู้ดูแลไข่ด้วยการกกจนกระทั่งฟักเป็นตัว ปริมาณไข่ขึ้นอยู่กับอายุและความแข็งแรงของตัวเมีย มีทั้งหมด 8 สกุล 26 ชนิด เป็นงูที่มนุษย์รู้จักและคุ้นเคยเป็นอย่างดี คือ งูหลาม (Python bivittatus) และงูเหลือม (P.

ดู มนุษย์และวงศ์งูเหลือม

วงศ์ตะพาบ

วงศ์ตะพาบ (Soft-shelled turtle) เป็นวงศ์ของเต่าจำพวกหนึ่ง ที่ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trionychidae ตะพาบ เป็นเต่าที่มีลักษณะเด่นคือ ลำตัวแบน จมูกแหลม กระดองอ่อนนิ่ม มีกระดองหลังค่อนบ้างเรียบแบน กระดองมีลักษณะเป็นหนังที่ค่อนข้างแข็งเฉพาะในส่วนกลางกระดอง แต่บริเวณขอบจะมีลักษณะนิ่มแผ่นกระดองจะปราศจากแผ่นแข็งหรือรอยต่อ ซึ่งแตกต่างจากกระดองของเต่าอย่างสิ้นเชิง ซึ่งขอบที่อ่อนนิ่มนี้เรียกว่า "เชิง" กระดองส่วนท้องหุ้มด้วยผิวหนังเรียบ มีส่วนที่เป็นกระดูกน้อยมาก กระดองจะมีรูปร่างกลมเมื่อ ยังมีขนาดเล็ก และจะรีขึ้นเล็กน้อยเมื่อโตเต็มวัยตั้งแต่คอส่วนบนไปจรดขอบกระดองจะมีตุ่มแข็งเล็ก ๆ ขึ้นอยู่ ส่วนหัวมีขนาดใหญ่ คอเรียวยาวและสามารถเอี้ยวกลับมาด้านข้าง ๆ ได้ มีจมูกค่อนข้างยาวแต่มีขนาดเล็กและส่วนปลายจมูกอ่อน ตามีขนาดเล็กโปนออกมาจากส่วนหัวอย่างเห็นได้ชัด มีฟัน ขากรรไกรแข็งแรงและคม มีหนังหุ้มกระดูกคล้ายริมฝีปาก ขาทั้งสี่แผ่กว้างที่นิ้วจะมีพังพืดเชือมติดต่อกันแบบใบพายอย่างสมบูรณ์ มีเล็บเพียง 3 นิ้ว และมีหางสั้น มักอาศัยอยู่ในน้ำมากกว่าบนบก โดยตะพาบสามารถกบดานอยู่ใต้น้ำได้นานกว่าเต่า แม้จะหายใจด้วยปอด แต่เมื่ออยู่ในน้ำ ตะพาบจะใช้อวัยวะพิเศษช่วยหายใจเหมือนปลา เรียกว่า "Rasculavpharyngcal capacity" ตะพาบจัดเป็นเต่าน้ำที่จะพบได้ในแหล่งน้ำที่เป็นน้ำจืดและน้ำกร่อยในเขตร้อนทุกทวีปทั่วโลก ทั้ง อเมริกาเหนือ, แอฟริกา และเอเชีย ไปจนถึงโอเชียเนีย เมื่อจะวางไข่ ตะพาบจะคลานขึ้นมาวางไข่ในพื้นทรายริมตลิ่งริมน้ำที่อาศัย โดยขุดหลุมแบบเดียวกับเต่าทะเลและเต่าจำพวกอื่นทั่วไป ตะพาบเป็นสัตว์ที่กินสัตว์มากกว่าจะกินพืช โดยหลายชนิดมีอุปนิสัยที่ดุร้ายกว่าเต่า ตะพาบเป็นเต่าที่มนุษย์นิยมนำมาทำเป็นอาหาร โดยเฉพาะซุปในอาหารจีนและอาหารญี่ปุ่น หรืออาหารเกาหลี โดยเชื่อว่าทั้งเนื้อและกระดองเป็นเครื่องบำรุงกำลังและเสริมสมรรถนะทางเพศ โดยตะพาบชนิดที่นิยมใช้เพื่อการบริโภคนี้คือ ตะพาบไต้หวัน (Pelodiscus sinensis) ซึ่งในหลายประเทศได้มีการเพาะเลี้ยงตะพาบไต้หวันเป็นสัตว์เศรษฐกิจรวมทั้งประเทศไทยด้วย สำหรับตะพาบชนิดที่หายากที่สุดในโลก หลายข้อมูลระบุว่าคือ ตะพาบยักษ์แยงซีเกียง (Rafetus swinhoei) ซึ่งเป็นตะพาบขนาดใหญ่ เป็นสัตว์พื้นเมืองที่พบได้เฉพาะในประเทศจีนและเวียดนามเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันพบเพียง 5 ตัวใน 2 ที่เท่านั้น คือที่สวนสัตว์ในประเทศจีน 4 ตัว และที่ทะเลสาบคืนดาบที่เมืองฮานอย 1 ตัว แต่ในทัศนะของ กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์ นักสำรวจธรรมชาติและผู้เชี่ยวชาญเรื่องสัตว์น้ำและปลาน้ำจืดชาวไทย ที่มีผลงานค้นพบปลาน้ำจืดชนิดใหม่ของโลกหลายชนิด เห็นว่า ตะพาบชนิดที่หายากที่สุดในโลกน่าจะเป็น "กริวดาว" หรือ "ตะพาบหัวกบลายจุด" ซึ่งเป็นตะพาบที่เคยจัดให้เป็นชนิดเดียวกับตะพาบหัวกบ (Pelochelys cantorii) ซึ่งเป็นตะพาบขนาดใหญ่อีกชนิดหนึ่ง ที่พบได้ในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย แต่ทว่า กริวดาว นั้น มีความแตกต่างจากตะพาบหัวกบ คือ มีจุดสีเหลืองอ่อนเป็นวงกระจายอยู่บริเวณขอบกระดอง โดยที่ไม่แปรเปลี่ยนไปตามวัย เหมือนตะพาบหัวกบ ซึ่งถึงแม้จะเป็นตะพาบขนาดใหญ่แล้ว แต่ลายจุดนี้ยังคงเห็นได้ชัดเจน ซึ่งกิตติพงษ์ได้ระบุไว้ว่า ตะพาบแบบนี้ไม่ได้พบเห็นมานานตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และวงศ์ตะพาบ

วงศ์ปลากระเบนหางสั้น

วงศ์ปลากระเบนหางสั้น (Freshwater stingray, River stingray, Short-tail stingray) เป็นปลากระเบนวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Potamotrygonidae โดยคำว่า "Potamotrygon" เป็นภาษากรีก (Ποταμός; potamos) แปลว่า "แม่น้ำ" และภาษากรีกคำว่า "trygon" แปลว่า "ปลากระเบน" พบกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาใต้ มีรูปร่างกลมคล้ายจานข้าวหรือแผ่นซีดี หางมีขนาดสั้นเมื่อเทียบกับปลากระเบนในวงศ์อื่น ๆ พบทั้งหมด 4 สกุล ในหลายชนิด (ดูในเนื้อหาข้างล่าง) บางชนิดหางสั้นมากจนดูขัดกับขนาดลำตัว เช่น ชนิด Paratrygon aiereba มีขนาดแตกต่างออกไปตามชนิด ตั้งแต่มีขนาดไม่เกิน 2 ฟุต เช่น ชนิด Potamotrygon hystrix ไปจนถึงขนาดหนึ่งเมตร เช่น P.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลากระเบนหางสั้น

วงศ์ปลากะพงแดง

วงศ์ปลากะพงแดง หรือ วงศ์ปลากะพงข้างปาน (วงศ์: Lutjanidae, Snapper) เป็นวงศ์ปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) มีลักษณะคือ มีครีบหลังยาวต่อเนื่องไปจนถึงโคนหาง แบ่งเป็นครีบแข็ง 10-12 ซี่ ครีบอ่อน 10-17 ซี่ ครีบก้นที่เป็นครีบอ่อน 7-11 ซี่ ส่วนหัวใหญ่ ปากมีลักษณะกว้างยาว ยืดหดได้ ฟันมีลักษณะเล็กแหลมคมและมีหลายแถวในขากรรไกร ซึ่งบางชนิดอาจมีฟันเขี้ยวได้เมื่อโตเต็มที่ ริมฝีปากหนา พบทั้งหมด 17 สกุล มีมากกว่า 160 ชนิด โดยมีสกุลใหญ่คือ Lutjanus โดยพบในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิก แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถปรับตัวให้อาศัยและหากินในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ เช่น ปลากะพงแดง (Lutjanus argentimaculatus) หรือ ปลากะพงข้างปาน (L.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลากะพงแดง

วงศ์ปลาวัว

วงศ์ปลาวัว หรือ วงศ์ปลางัว หรือ วงศ์ปลากวาง (วงศ์: Balistidae, Triggerfish, ฮาวาย: Humuhumu) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes) มีรูปร่างโดยรวม ลำตัวกว้างแบนเป็นทรงกลมรีคล้ายรูปไข่ ข้างตำแหน่งตาอยู่สูงบริเวณด้านบนของหัว ที่ครีบหลังอันแรกจะมีหนามแข็ง 3 อัน สามารถพับเก็บได้ และจะตั้งขึ้นได้เพื่อใช้ในการข่มขู่ศัตรู มีก้านครีบหางจำนวน 12 ก้าน และ 18 ก้านครีบที่ครีบหลัง มีเกล็ดที่ใหญ่แข็งและหนังหนา ส่วนของใบหน้ายาวและยื่นแหลมออกมา ปากมีขนาดเล็ก ภายในมีฟัน 4 ซี่ที่ด้านนอก และด้านในอีก 3 ซี่ ที่แหลมคมมาก ใช้สำหรับขบกัดสัตว์มีเปลือกต่าง ๆ กินเป็นอาหาร รวมถึงฟองน้ำ, ปะการัง, สาหร่าย หรือเม่นทะเลด้วย เช่นเดียวกับปลาปักเป้า อันเป็นปลาในอันดับเดียวกัน แต่อยู่ต่างวงศ์กัน พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่น เช่น อินโด-แปซิฟิก, หมู่เกาะฮาวาย, ทะเลแดง, มหาสมุทรอินเดีย, ทะเลอันดามัน, อ่าวไทย, ทะเลฟิลิปปิน และมหาสมุทรแอตแลนติก ตาของปลาวัวสามารถกลอกกลิ้งไปมาได้ อันเป็นลักษณะเฉพาะ โดยปกติแล้ว เป็นปลาที่มีอุปนิสัยดุร้าวก้าวร้าวมาก มักไล่กัดปลาอื่นหรือแม้แต่พวกเดียวกันเองที่รุกล้ำเข้ามาในถิ่นที่อยู่อาศัย เป็นปลาที่จะหากินและอาศัยอยู่ในแนวปะการัง มีพฤติกรรมหากินโดยซอกซอนหากินเอาในแนวปะการังในเวลากลางวัน และนอนหลับพักผ่อนในเวลากลางคืน เป็นปลาที่ว่ายน้ำได้รวดเร็วมากโดยใช้ครีบหลัก ๆ ทั้ง 2 ครีบในด้านบนและด้านล่างของลำตัว ขณะที่ครีบหางใช้เป็นตัวควบคุมทิศทาง เป็นปลาที่มีพฤติกรรมผสมพันธุ์วางไข่ โดยวางไข่ตามพื้นในรังซึ่งตัวผู้จะทำหน้าที่เฝ้าระวัง ซึ่งบางชนิดจะมีนิสัยดุร้ายมากในช่วงนี้ โดยมากแล้วเป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายสวยงามสดใสมาก จึงเป็นที่นิยมมากของนักดำน้ำและนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามด้วย แต่ว่าเป็นปลาที่ดุร้ายมาก สามารถพุ่งเข้ากัดจนเป็นแผลเหวอะหรือไล่มนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์ที่ใหญ่กว่ามากได้อย่างไม่เกรงกลัว มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 25-50 เซนติเมตร โดยมีชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาวัวไททัน (Balistoides viridescens) ที่ใหญ่ได้ถึง 75 เซนติเมตร หรือราว 1 เมตร และนับเป็นชนิดที่อันตรายมาก เพราะมีรายงานการกัดและไล่นักดำน้ำมาแล้วในหลายที.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลาวัว

วงศ์ปลาสลิดทะเล

ระวังสับสนกับ ปลาสลิดหิน ปลาวงศ์อื่น ดูที่ วงศ์ปลากะพงสลิด วงศ์ปลาสลิดทะเล หรือ วงศ์ปลาสลิดหิน (Rabbitfish, Spinefish) เป็นวงศ์ของปลาทะเลกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Siganidae (/ซิ-กะ-นิ-ดี้/) มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวแบบรูปไข่และแบนด้านข้าง หัวมีขนาดเล็ก เกล็ดมีขนาดเล็ก ครีบหางมีทั้งแบบตัดตรงและเว้าลึก ครีบหลังมีหนามแหลมคมและจะกางออก ซึ่งจะมีต่อมพิษที่เงี่ยงของครีบหลัง ครีบก้น และครีบท้อง เพื่อใช้ในการป้องกันตัว เป็นปลาที่กินพืชเป็นอาหารหลัก โดยมีพฤติกรรมการกินแบบแทะเล็มคล้ายกระต่าย อันเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ มักพบในเขตชายฝั่งตามพื้นท้องทะเล, กองหินหรือแนวปะการัง และในดงหญ้าทะเล เป็นปลาที่สามารถรับประทานได้ แต่จะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เมื่อมือเปล่าจับ หนามเหล่านี้จะทิ่มตำ.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลาสลิดทะเล

วงศ์ปลาสาก

วงศ์ปลาสาก หรือ วงศ์ปลาน้ำดอกไม้ (Barracuda, Seapike) วงศ์ปลากระดูกแข็งน้ำเค็มวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sphyraenidae มีลักษณะโดยรวม คือ มีลำตัวค่อนข้างกลมยาว หัวแหลม ปากกว้าง กรามล่างยื่นยาวกว่ากรามบน มีฟันแหลมคมแข็งแรง ตาโต เกล็ดเล็กบางขอบเรียบ มีครีบหลัง 2 ตอน พื้นลำตัวมีสีแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด ทั้งสีน้ำตาลอมเหลือง หรือลายบั้งขวางลำตัวเป็นท่อน ๆ หรือแต้มจุด แต่โดยมากมักเป็นสีฟ้าเทา ครีบหางเป็นแฉกรูปตัววี (V) มีขนาดความยาวตั้งแต่ 30-180 เซนติเมตร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่บางครั้งอาจถึง 1,000 ตัว เป็นปลาที่มีความว่องไวปราดเปรียว ไล่ล่าฝูงปลาชนิดต่าง ๆ กินเป็นอาหาร นับเป็นผู้ล่าอันดับต้น ๆ ของห่วงโซ่ชีวิตในทะเลจำพวกหนึ่ง เมื่อยังเป็นปลาขนาดเล็ก จะอาศัยอยู่รวมกับฝูงปลาอย่างอื่น อาทิ ปลากะตัก ตามกองหินหรือแนวปะการังใต้น้ำ หรือตามปากแม่น้่ำ ที่เป็นแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืด ปลาสาก สามารถทำอันตรายต่อมนุษย์ได้ เช่นเดียวกับปลาฉลาม ด้วยการกัดจากกรามและฟันที่แข็งแรง สามารถงับปลาอื่นที่เป็นอาหารให้ขาดสองท่อนได้จากการงับเพียงครั้งเดียว ที่สหรัฐอเมริกามีกรณีที่ปลากระโดดขึ้นมาจากน้ำงับแขนของเด็กผู้หญิงวัย 14 ปีที่นั่งอยู่บนเรือ เป็นแผลฉกรรจ์ต้องเย็บไปทั้งสิ้น 51 เข็ม แต่ไม่เคยมีรายงานว่าทำอันตรายได้ถึงแก่ชีวิต ปลาสาก เป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ ด้วยนิยมบริโภคและซื้อขายกันในตลาดสด และนิยมตกเป็นเกมกีฬา สามารถแบ่งออกเป็นชนิดได้ทั้งหมด 26 ชนิด ในสกุลเดียว กระจายพันธุ์ในเขตร้อนของมหาสมุทรอินเดีย และแปซิฟิก ในทวีปอเมริกาพบได้ตั้งแต่บราซิลไปจนถึงฟลอร.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลาสาก

วงศ์ปลาสินสมุทร

วงศ์ปลาสินสมุทร (Angelfish, Marine angelfish) เป็นปลากระดูกแข็งทะเลวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacanthidae (/โป-มา-แคน-ทิ-ดี้/) ปลาสินสมุทรนั้นมีรูปร่างและสีสันโดยรวมคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae) บางสกุล เช่น Chaetodon กล่าวคือ มีรูปร่างแบนข้างเป็นทรงรีหรือรูปไข่ในแนวนอน ปากมีขนาดเล็กมีริมฝีปากหนา เกล็ดเล็กละเอียดกลม ไม่มีหนามที่ขอบตาด้านหน้า ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของปลาในวงศ์นี้ เส้นข้างลำตัวโค้งและสมบูรณ์ ครีบท้องและครีบทวารมนกลม ก้านครีบแข็งค่อนข้างจะยาวกว่าก้านครีบอ่อน โดยก้านครีบอันแรกของครีบเอวจะยาวมาก ครีบหางมีลักษณะเป็นหางตัดหรือมนกลม ปลาสินสมุทรจัดเป็นปลาที่พบได้ในแนวปะการังวงศ์หนึ่งที่มีขนาดใหญ่ คือ มีขนาดตั้งแต่ 10-40 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีสีสันและลวดลายเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ ตามช่วงวัย มีอาณาบริเวณหากินค่อนข้างชัดเจน อีกทั้งเป็นปลาที่ไม่เกรงกลัวมนุษย์ ซ้ำยังมักว่ายน้ำเข้าหามาเมื่อมีผู้ดำน้ำลงไปในแนวปะการัง พบแพร่กระจายพันธุ์ในทะเลเขตอบอุ่นและเขตร้อนทั่วโลก ทั้ง มหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย โดยอาศัยและหากินในแนวปะการังเป็นหลัก แต่ก็มีบางชนิดที่หากินลึกลงไปกว่านั้นเป็นร้อยเมตร ไม่จัดว่าเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เช่นเดียวกับปลาการ์ตูนหรือปลาผีเสื้อ อันเนื่องจากสีสันที่สวยงาม พบทั้งหมด 9 สกุล (ดูในตาราง) มีประมาณ 74 ชนิด ในน่านน้ำไทย พบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน พบไม่ต่ำกว่า 40 ชนิด อาทิ ปลาสินสมุทรจักรพรรดิ (Pomacanthus imperator), ปลาสินสมุทรวงฟ้า (P.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลาสินสมุทร

วงศ์ปลาอินทรี

วงศ์ปลาอินทรี (Mackerels, Tunas, King mackerels) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง จัดอยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Scombridae มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวเพรียวยาวเป็นทรงกระสวย นัยน์ตากลมโต มีครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ตอน โดยตอนหลังมีลักษณะแข็งและมีขนาดเล็ก มีครีบท้องและครีบก้น กล้ามเนื้อก่อนถึงโคนหางมีเนื้อเยื่อขวางอยู่เรียกว่า "คีล" (Keel) โคนครีบหางกิ่วเล็กแต่แข็งแรง มีครีบแบ่งเป็นแฉก 2 แฉกเว้าลึก ครีบท้องขนานยาวไปกับความยาวลำตัว มีขนาดความยาวแตกต่างกันตั้งแต่ 20 เซนติเมตร ไปจนถึงเกือบ 3 เมตร บางสกุลอาจมีลวดลายตามความยาวหรือแนวลำตัว ในปากมีฟันและกรามที่แข็งแรง มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ ในทะเลเปิดในเขตอบอุ่นทั่วโลก เป็นปลาที่มีการอพยพย้ายถิ่น ในปลาขนาดเล็กกินแพลงก์ตอนและสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า และในปลาขนาดใหญ่จะไล่กินปลาขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร ว่ายน้ำได้อย่างรวดเร็ว เพราะใช้ครีบและหางแนบกับลำตัวเมื่อว่ายน้ำ โดยมีสถิติสูงสุดที่บันทึกได้คือ 75 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยปลาในวงศ์นี้ เป็นที่รู้จักกันในชื่อสามัญภาษาไทยโดยรวมกัน คือ ปลาทู, ปลาโอ, ปลาทูน่า และปลาอินทรี เป็นต้น เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก เพราะเป็นปลาที่มนุษย์ใช้ในการบริโภค ทั้งปรุงสุดหรืออาหารกระป๋อง รวมทั้งทำอาหารสัตว์ และตกกันเป็นเกมกีฬาด้วย ปัจจุบันแบ่งออกได้เป็น 55 ชนิด 15 สกุล และแบ่งออกได้เป็น 2 วงศ์ย่อย โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาทูน่าครีบน้ำเงินเหนือ (Thunnus thynnus) ที่มีรายงานยาวเต็มที่ที่เคยพบคือ 458 เซนติเมตร และมีน้ำหนักถึง 684 กิโลกรัม.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลาอินทรี

วงศ์ปลาดาบลาว

วามหมายอื่น: สำหรับปลาชนิดอื่นที่เป็นปลาน้ำจืด ดูได้ที่ ปลาฝักพร้า วงศ์ปลาดาบลาว (Wolf herring) เป็นปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหลังเขียว (Clupeiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Chirocentridae มีรูปร่างโดยรวม คือ ปากเชิดขึ้น มีฟันแหลมคมมาก ลำตัวเพรียวยาว แบนข้าง ท้องเป็นสันแหลม แนวสันหลังและสันท้องตรงเกือบขนานกัน ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางหาง ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก เกล็ดมีขนาดเล็กและบาง ด้านหลังลำตัวสีน้ำเงิน ด้านข้างและท้องสีขาวเงิน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1 เมตร กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก การจำแนก มีอยู่เพียงสกุลเดียวเท่านั้น คือ Chirocentrus มีอยู่ 2 ชนิด ได้แก.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลาดาบลาว

วงศ์ปลาดุกทะเล

วงศ์ปลาดุกทะเล (Eeltail catfishes, Coral catfishes, Eel catfishes, Stinging catfishes) เป็นวงศ์ปลากระดูกแข็ง ในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Plotosidae (/โพล-โต-ซิ-ดี/) มีลักษณะสำคัญคือ มีหนวด 4 คู่ คือ หนวดที่บริเวณมุมปากทั้งปากบนและปากล่าง และที่คาง ครีบหลังมีเงี่ยงเป็นฟันเลื่อย ไม่มีครีบไขมัน ครีบหลัง ครีบหางและครีบก้นยาวติดต่อกัน โดยที่ส่วนคอดหางเป็นต้นไปเรียวเล็กลงทำให้แลดูคล้ายปลาไหล อันเป็นที่มาของชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ เป็นปลาทะเล ที่มักอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่ง ตามแนวปะการังหรือกอสาหร่าย โดยมีพบเข้าไปอยู่ในแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำจืดด้วย เช่น ปากแม่น้ำ หรือป่าชายเลน ในวัยเล็กมักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินในเวลากลางคืน พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทะเลแถบมหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย ตั้งแต่ทะเลญี่ปุ่น จนถึงฟิจิ, ปาปัวนิวกินีและโอเชียเนีย มีทั้งหมด 35 ชนิด ใน 10 สกุล (ดูในตาราง) สำหรับในประเทศไทยพบเป็นชนิดที่สำคัญ 2 ชนิด คือ ปลาดุกทะเลลาย (Plotosus lineatus) และปลาดุกทะเลยักษ์ (P.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลาดุกทะเล

วงศ์ปลางวงช้าง

วงศ์ปลางวงช้าง (Elephantfish, Freshwater elephantfish, Mormyrid) วงศ์ปลาในชั้นปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง อยู่ในอันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ซึ่งเป็นอันดับร่วมกับปลาตะพัดหรือปลาอะโรวาน่า และปลาอะราไพม่าหรือปลาช่อนอเมซอน รวมทั้งปลากรายด้วย ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mormyridae พบเฉพาะในทวีปแอฟริกา มีทั้งหมด 18 สกุล และหลายชนิด จนถึงปัจจุบันพบกว่า 200 ชนิด มีลักษณะสำคัญคือ เป็นปลาที่มีรูปร่างแบนข้างและเพรียวยาว ข้อหางคอดเล็ก ครีบหางเล็กและสั้น ครีบหลังยาวและต่อติดกันเป็นแผง ส่วนหัวกลมมนอย่างเห็นได้ชัด ส่วนมากเล็กและงุ้มลง ในบางสกุลและบางสายพันธุ์ ปากมีลักษณะยื่นยาวออกมาคล้ายงวงช้าง จึงทำให้เป็นที่มาชื่อสามัญ ตามีขนาดเล็ก สีลำตัวมักมีสีดำหรือสีน้ำตาลเทาหรือสีเทา มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินตามพื้นท้องน้ำ อาหารได้แก่ ลูกปลาและลูกกุ้งขนาดเล็ก รวมทั้งสิ่งมีชีวิตหน้าดินเล็ก ๆ ขนาดเล็กสุดเพียง 5 เซนติเมตร ใหญ่สุด คือ Mormyrops anguilloides ที่มีขนาด 1.5 เมตร เป็นปลาที่มีความสามารถพิเศษคือ สามารถปล่อยกระแสไฟฟ้าอย่างอ่อน ๆ ได้ เพื่อช่วยในการนำทาง, หาอาหาร และติดต่อสื่อสารกันเองด้วยนอกจากประสาทสัมผัสที่บริเวณปากที่ยื่นยาวออกมา ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ได้ทำการศึกษาแล้วพบว่า ปลาในวงศ์นี้มีน้ำหนักของสมองเมื่อเทียบกับน้ำหนักตัวแล้วเทียบเท่ากับน้ำหนักสมองของมนุษย์เลยทีเดียว นับได้ว่าเป็นปลาที่มีความเฉลียวฉลาดมากทีเดียว มีความสำคัญ คือ นิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามในหลายชนิด และใช้บริโภคเป็นอาหารพื้นเมืองในปลาที่มีขนาดใหญ.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลางวงช้าง

วงศ์ปลาตะพัด

วงศ์ปลาตะพัด (Bonytongues fish, Arowana) วงศ์ปลาวงศ์หนึ่งในอันดับ Osteoglossiformes มีลักษณะสำคัญที่วิวัฒนาการจากปลาในยุคโบราณคือ มีส่วนกระดูกที่หัวแข็ง หรือลิ้นแข็งเป็นกระดูก คำว่า Osteoglossidae (/ออส-ที-โอ-กลอส-ซิ-ดี้/) เป็นภาษากรีกหมายถึง "ลิ้นกระดูก" อธิบายลักษณะของปลาในกลุ่มนี้.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลาตะพัด

วงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ

วงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Archer fishes) เป็นวงศ์ของปลากระดูกแข็งกลุ่มปลาที่มีก้านครีบ ในอันดับ Perciformes ใช้ชื่อวงศ์ว่า Toxotidae (/ท็อก-ออท-อิ-ดี้/; มาจากคำว่า "Toxots" เป็นภาษากรีกหมายถึง "นักยิงธนู").

ดู มนุษย์และวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ

วงศ์ปลาเฉี่ยว

วงศ์ปลาเฉี่ยว (วงศ์: Monodactylidae) เป็นวงศ์ปลาจำพวกหนึ่ง ในอันดับปลากะพง (Perciformes) เป็นปลาที่มีรูปร่างโดยรวมคือ แบนข้างมากเป็นรูปสี่เหลี่ยม หัวเล็ก ปากมีขนาดเล็ก ครีบหลังและครีบท้องคม ครีบอกและครีบหางสั้น มีลายพาดสีดำบริเวณหางและช่องปิดเหงือก ตากลมโต เกล็ดเล็กละเอียดมาก ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยเป็นปลาขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ที่สุดไม่เกินฝ่ามือของมนุษย์ อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลหรือปากแม่น้ำ สามารถปรับตัวให้อาศัยได้ทั้งน้ำเค็ม-น้ำกร่อย-น้ำจืด ได้เป็นอย่างดี แพร่พันธุ์โดยการวางไข่ในบริเวณที่เป็นน้ำจืดหรือมีปริมาณความเค็มน้อย โดยปลาตัวเมียจะวางไข่ก่อนที่ปลาตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อผสม ก่อนที่ลูกปลาจะค่อย ๆ เติบโตและอพยพไปอยู่ในบริเวณที่เป็นน้ำกร่อยหรือน้ำเค็มมากขึ้น ซึ่งปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในสถานที่เลี้ยง พบในทะเลแถบเขตร้อนอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลภูมิภาคแอฟริกาตะวันออกไปจนถึงออสเตรเลีย มีทั้งหมด 2 สกุล 6 ชน.

ดู มนุษย์และวงศ์ปลาเฉี่ยว

วงศ์นกแสก

วงศ์นกแสก (Barn-owl, วงศ์: Tytonidae) เป็นวงศ์ของนกล่าเหยื่อในอันดับนกเค้าแมว (Strigiformes) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Tytonidae นับเป็นวงศ์ของนกเค้าแมววงศ์หนึ่ง นอกเหนือจากวงศ์นกเค้าแมว (Strigidae) มีลักษณะทั่วไป คือ มีขนาดใหญ่กว่านกในวงศ์นกเค้าแมว ใบหน้ากลมแบน มีขนสีขาวเต็มหน้า ทำให้คล้ายรูปหัวใจ ตามีสีดำ อยู่ด้านหน้า และมีขนาดเล็กกว่าวงศ์นกเค้าแมว ปากเป็นจะงอยงุ้ม สีเหลืองเทา ชมพู หลังและปีกสีน้ำตาลอ่อน มีสีน้ำตาลเทาเป็นส่วน ๆ คอ อก ท้อง สีขาว ขาวนวล มีจุดสีน้ำตาลเข้มทั่วไป ปีกยาว หางสั้น ขนปีกและหางมีลายขวางสีเหลืองสลับน้ำตาลอ่อน ขาใหญ่ มีขนคลุมขา ตีนสีชมพู นิ้วมีเล็บยาว รูปร่างลักษณะตัวผู้และตัวเมียจะคล้ายกัน โดยตัวเมียจะโตกว่าเล็กน้อย ลำตัวตั้งตรง มีพฤติกรรมการหากินและเป็นอยู่คล้ายกับนกในวงศ์นกเค้าแมว โดยแบ่งออกได้เป็น 2 สกุล 16 ชนิด และยังมีอีก 4 สกุล ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว (ดูในตาราง) พบกระจายพันธุ์ไปในทุกทวีปทั่วโลก ในหลายภูมิประเทศ ทั้งในป่าดิบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล จนถึงชุมชนเมืองของมนุษย์ สำหรับในประเทศไทย พบได้ 3 ชนิด คือ นกแสก (Tyto alba) นกแสกทุ่งหญ้า (Tyto capensis) และนกแสกแดง (Phodilus badius) ซึ่งมีขนาดเล็กกว่า และพบได้เฉพาะในป่าเท่านั้น.

ดู มนุษย์และวงศ์นกแสก

วงศ์นกเป็ดน้ำ

วงศ์นกเป็ดน้ำ (Duck, Goose, Swan, Teal) เป็นวงศ์ของสัตว์ปีก ในอันดับ Anseriformes ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anatidae ลักษณะทั่วไปของนกในวงศ์นี้ คือ เป็นนกน้ำลำตัวป้อม มีลักษณะเด่นคึอ ปากแบนใหญ่ หางสั้น มีแผ่นพังผืดยึดนิ้วเท้า จึงช่วยให้ว่ายน้ำได้ดี มีลำคอเรียวยาว เมื่อเวลาว่ายน้ำจะโค้งเป็นรูปตัวเอส ขนเคลือบด้วยไขมันกันน้ำได้เป็นอย่างดี โดยน้ำไม่สามารถเข้าไปในชั้นขนได้ ตัวเมียมีลายสีน้ำตาลไม่ค่อยสวยงาม ต่างจากตัวผู้ที่มีสีสดใสกว่าชอบลอยตัวรวมกันเป็นฝูงในแหล่งน้ำ ทั้งในแหล่งน้ำจืดและแหล่งน้ำกร่อย หาอาหารโดยใช้ปากไชจิกพืชน้ำ จับกินสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ตามผิวน้ำ หรืออาจจะดำลงไปจับใต้น้ำ ส่วนใหญ่ทำรังตามริมน้ำด้วยพืชน้ำ บางชนิดทำรังในโพรงไม้หรือซอกกำแพง และมีพฤติกรรมจับคู่อยู่เพียงตัวเดียวไปตลอด จะเปลี่ยนคู่ก็ต่อเมื่อคู่นั้นได้ตายลง มักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง สามารถบินได้ และบินได้ในระยะไกล ๆ หลายชนิดเป็นนกอพยพที่จะอพยพกันเป็นฝูงตามฤดูกาล โดยมากจะเป็นไปในฤดูหนาวที่อุณหภูมิลดต่ำลง มักจะบินอพยพจากซีกโลกทางเหนือลงสู่ซีกโลกทางใต้ ซึ่งอุณหภูมิอุ่นกว่า จากนั้นเมื่อถึงฤดูร้อนก็จะอพยพกลับไป และแพร่พันธุ์วางไข่ โดยนกที่อยู่ในวงศ์นี้ เป็นนกที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ เป็ด, หงส์ และห่าน ชนิดต่าง ๆ ด้วยว่าเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลินและบริโภคเนื้อและไข่เป็นอาหาร สามารถแบ่งออกได้เป็นราว 146 ชนิด ใน 40 สกุล จึงสามารถแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 5 วงศ์ (ดูในตาราง) โดยที่พบในประเทศไทยราว 25 ชนิด เช่น เป็ดก่า (Asarcornis scutulata), เป็ดแดง (Dendrocygna javanica), เป็ดคับแค (Nettapus coromandelianus) และเป็ดหงส์ (Sarkidiornis melanotos) เป็นต้น.

ดู มนุษย์และวงศ์นกเป็ดน้ำ

วงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา

วงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (วงศ์: Phasianidae) เป็นวงศ์ของสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์ปีก อันดับไก่ (Galliformes) โดยใช้ชื่อวงศ์ว่า Phasianidae ลักษณะโดยรวมของนกในวงศ์นี้ มีจะงอยปากสั้นหนาแข็งแรง ปลายแหลม มีหงอน มีเหนียง 2 เหนียง ขนหางมี 8-32 เส้น ขาแข็งแรง แต่ละข้างมีตีนนิ้วยื่นไปข้างหน้า 3 นิ้ว ข้างหลัง 1 นิ้ว นิ้วที่ยื่นไปข้างหลังอยู่สูงกว่านิ้วอื่นเล็กน้อย ตัวผู้มีเดือยข้างละเดือย กินเมล็ดพืชและสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ โดยเฉพาะแมลงและหนอนบนพื้นดินเป็นอาหาร นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูง ปีกมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับนกในวงศ์อื่น จึงทำให้ไม่สามารถบินได้ แต่จะบินได้ในระยะใกล้ ๆ เช่น บินขึ้นต้นไม้ มักอาศัยอยู่ในป่าไผ่และป่าละเมาะ มีความแตกต่างระหว่างเพศชัดเจน ตัวผู้จะมีขนาดและสีสันรวมทั้งลักษณะสวยงามกว่าตัวเมีย ไข่มีสีเปลือกทั้งขาว, สีนวล และลายประแต้มสีต่าง ๆ มีขนาดแตกต่างกันมาก ตั้งแต่ยาวเป็นเมตร จนเพียง 20 เซนติเมตร มีการกระจายพันธุ์ในหลายทวีปทั่วโลก ได้แก่ เอเชีย, ยุโรป, อเมริกาเหนือ และแอฟริกา แบ่งออกได้เป็น 4 วงศ์ย่อย (ดูได้ในตาราง) พบราว 156 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบทั้งสิ้น 26 ชนิด อาทิ ไก่นวล (Rhizothera longirostris), นกคุ่มญี่ปุ่น (Coturnix japonica), ไก่จุก (Rollulus rouloul), ไก่ป่า (Gullus gullus) เป็นต้น นกในวงศ์นี้ มีความผูกพันกับมนุษย์มาอย่างช้านาน ด้วยการใช้เนื้อและไข่บริโภคเป็นอาหาร อาทิ ไก่ที่เลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจในปัจจุบัน ก็มีต้นทางมาจากไก่ป่า หรือไข่นกกระทา ก็นำมาจากไข่ของนกคุ่มญี่ปุ่น หรือบางชนิดที่มีความสวยงามหรือโดดเด่น ก็ถูกเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม เช่น ไก่ฟ้าสีทอง (Chrysolophus pictus), นกยูง (Pavo spp.) เป็นต้น.

ดู มนุษย์และวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา

วงศ์เหี้ย

วงศ์เหี้ย (Monitor lizard, Goanna) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานในอันดับ Squamata ใช้ชื่อวงศ์ว่า Varanidae (/วา-รา-นิ-ดี้/).

ดู มนุษย์และวงศ์เหี้ย

ศพ

องแกะ ศพ คือ ร่างของมนุษย์ที่ตายแล้ว สำหรับร่างของสัตว์ที่ตายแล้ว เรียก "ซาก".

ดู มนุษย์และศพ

ศักดิ์ศรี

ศักดิ์ศรี คือ คุณค่าที่มาจากความเป็นอิสระของมนุษย์หรือความสามารถในการกำหนดตัวเอง (autonomy) มีองค์ประกอบหลักสองประการคือเป็นคุณค่าที่ปราศจากเงื่อนไขและเป็นคุณค่าที่นำไปเปรียบเทียบไม่ได้ หมวดหมู่:สิทธิมนุษยชน หมวดหมู่:จริยธรรม หมวดหมู่:กฎหมายรัฐธรรมนูญ.

ดู มนุษย์และศักดิ์ศรี

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.

ดู มนุษย์และศาสนาพุทธ

ศาสนาพุทธกับจิตวิทยา

นาพุทธกับจิตวิทยา (Buddhism and psychology) เหลื่อมกันทั้งในทางทฤษฎีและการปฏิบัติในศตวรรษที่ผ่านมา โดยมีความเกี่ยวข้องกันหลัก ๆ 4 อย่าง คือ.

ดู มนุษย์และศาสนาพุทธกับจิตวิทยา

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ.

ดู มนุษย์และศิลปินแห่งชาติ

ศีรษะ

ีรษะของมนุษย์ภาคตัดตามแนวขวาง (Sagittal plane) ในทางกายวิภาคศาสตร์ ศีรษะ (caput, มักสะกดผิดเป็น "ศรีษะ") หรือ หัวของสัตว์ ถือว่าเป็นส่วนที่ยื่นออกมาจากแกนกลางของร่างกาย ในมนุษย์มีส่วนประกอบที่ทำให้เป็นศีรษะเช่น กะโหลกศีรษะ ใบหน้า สมอง เส้นประสาทสมอง เยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง ฟัน อวัยวะรับความรู้สึกพิเศษ และโครงสร้างอื่นๆ เช่นหลอดเลือด หลอดน้ำเหลือง และไขมัน สัตว์ชั้นต่ำหลายชนิดมีศีรษะมากกว่า 1 ศีรษะ สัตว์หลายชนิดไม่ถือว่ามีส่วนศีรษะ แต่สัตว์ที่มีรูปแบบสมมาตร 2 ด้าน (bilaterally symmetric forms) จะต้องมีศีรษ.

ดู มนุษย์และศีรษะ

สกุล (ชีววิทยา)

ในทางชีววิทยา สกุล (อังกฤษ genus) เป็นการจัดกลุ่มเอาสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ที่มีลักษณะใกล้เคียงเข้ามารวมกัน ในการตั้งชื่อแบบทวินาม ชื่อสิ่งมีชีวิตประกอบขึ้นจากสองส่วน คือ สกุล ซึ่งต้องขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ และ สปีชีส์ ตัวอย่างหนึ่งคือ Homo sapiens เป็นชื่อเรียกมนุษย์ อยู่ในสกุล Homo ชื่อสกุลในอาณาจักรหนึ่งสามารถซ้ำกับชื่อสกุลหรือชื่อในอนุกรมวิธานของอาณาจักรอื่นได้ ตัวอย่างเช่น Anura เป็นชื่อสกุลของพืชในวงศ์ และเป็นชื่ออันดับของกบ Aotus เป็นชื่อสกุลของถั่วและลิง เป็นต้น แต่ชื่อสกุลในอาณาจักรหนึ่ง ๆ ต้องห้ามซ้ำกัน หมวดหมู่:ชีววิทยา หมวดหมู่:การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์.

ดู มนุษย์และสกุล (ชีววิทยา)

สกุลชิมแปนซี

กุลชิมแปนซี (Chimpanzee, Bonobo, Chimp) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีวิวัฒนาการสูง ใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด ในอันดับวานร เป็นลิงไม่มีหาง ใช้ชื่อสกุลว่า่ Pan มีถิ่นที่อยู่ในแถบทวีปแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกากลางระดับเส้นศูนย์สูตร ตัวผู้จะหนักราว 110 ปอนด์ มีส่วนสูงเฉลี่ย 5 ฟุต ส่วนตัวเมียหนักราว 88 ปอนด์และสูงเฉลี่ย 4 ฟุต สามารถปีนป่ายต้นไม้ได้เป็นอย่างดี แต่ชอบที่จะหากินและอาศัยอยู่้บนพื้นดินมากกว่า ขนตามลำตัวสั้นสีน้ำตาลดำหรือเทาเข้ม แต่ที่มือและเท้าไม่มีขน รวมทั้งบริเวณใบหน้าและใบหู มีลักษณะเด่น คือ ไม่มีดั้งจมูก ขากรรไกรค่อนข้างยื่นออกมา มีฟันกรามที่พัฒนาใช้การได้ดี มีปริมาตรสมองราว 400 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีโครโมโซมจำนวน 24 คู่ และมีดีเอ็นเอร่วมกับมนุษย์ถึงร้อยละ 99.4 เนื่องจากมีบรรพบุรุษร่วมกันมา แต่ได้แยกวิวัฒนาการออกจากกันเมื่อราว 5-6 ล้านปีก่อน มีพฤติกรรมกินพืชเป็นอาหารหลัก โดยปกติเป็นสัตว์ที่รักสงบ แต่ก็มีบางครั้งที่ตัวผู้จะมีพฤติกรรมดุร้าย มักยกพวกเข้าโจมตีกัน และยังมีพฤติกรรมล่าลิงชนิดอื่น ได้แก่ ลิงโลกเก่ากินเป็นอาหารอีกด้วย เป็นสัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นครอบครัว มีความสัมพันธ์เป็นเครือญาติกัน โดยมีตัวผู้เป็นจ่าฝูง ออกลูกครั้งละเพียง 1 ตัว อายุขัยโดยเฉลี่ย 40 ปี เป็นสัตว์ที่มีความเฉลียวฉลาด มีการแสดงออกทางอารมณ์คล้ายคลึงและใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด รวมทั้งกล้ามเนื้อและสรีระ ทั้งนี้เพราะระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์และชิมแปนซีนั้นคล้ายกันมาก แต่ถึงอย่างนั้นเมื่อเปรียบเทียบกันต่อหน่วยน้ำหนักแล้ว ชิมแปนซีมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงกว่ามนุษย์ 2-3 เท่า โดยมีการศึกษาพบว่า ชิมแปนซีมีความทรงจำดีัเสียยิ่งกว่ามนุษย์ที่เป็นผู้ใหญ่เสียอีก และจดจำคำศัพท์ของมนุษย์ได้ถึง 125 คำ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ดู มนุษย์และสกุลชิมแปนซี

สกุลยาสุฮิโกทาเกีย

กุลยาสุฮิโกทาเกีย เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Yasuhikotakia (/ยา-สุ-ฮิ-โก-ทา-เกีย/) มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวยาว แบนข้าง คอดหางใหญ่ มีหนังหนาคลุมเกล็ดมิด มีเขี้ยวพับเก็บได้ในร่องบริเวณด้านหน้าของตา ปากเล็กยื่นแหลมมีหนวด 3 คู่ รอบปาก ปลาในสกุลนี้ เดิมเคยจัดอยู่ในสกุล Botia แต่ในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และสกุลยาสุฮิโกทาเกีย

สกุลรัสบอร่า

กุลรัสบอร่า เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ซึ่งตั้งชื่อโดย ปีเตอร์ บลีกเกอร์ ในปี ค.ศ. 1859 ใช้ชื่อสกุลว่า Rasbora (/รัส-บอ-รา/) มีลักษณะโดยรวม คือ ครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว 1 ก้าน และก้านครีบแขนง 7 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน ปากแคบ มีปุ่มในปากล่าง ไม่มีหนวด และจุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่กึ่งกลางลำตัว มีการกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในแหล่งน้ำของทวีปแอฟริกา, ทวีปเอเชีย พบตั้งแต่เอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงเอเชียตะวันออก มีสมาชิกในสกุลนี้จำนวนมาก โดยในประเทศไทยจะเรียกปลาในสกุลนี้รวม ๆ กันว่า "ปลาซิว" มีอยู่หลายชนิด สำหรับในประเทศไทย ปลาที่ได้ชื่อว่าปลาซิว คือ ปลาที่อยู่ในสกุลนี้มากที่สุด มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการใช้บริโภคกันในท้องถิ่นและการเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงาม โดยอาจเรียกทับศัพท์ตามชื่อวิทยาศาสตร์ไปว่า รัสบอร่า โดยรวบรวมปลาได้จากการจับทีละมาก ๆ จากธรรมชาติและเพาะขยายพันธุ์ได้เองในที่เลี้ยง อีกทั้งยังถือเป็นห่วงโซ่อาหารเบื้องต้นตามธรรมชาติอีกด้วย เนื่องจากปลาในสกุลนี้มีขนาดเล็กและกินพืชเป็นอาหาร จึงมักตกเป็นอาหารของปลาและสัตว์น้ำขนาดใหญ่กว่าเสมอ แต่ในปัจจุบัน ได้มีการแบ่งแยกเป็นสกุลใหม่ ได้แก่ Kottelatia 1 ชนิด, Boraras 5 ชนิด, Breviora 2 ชนิด, Microrasbora 7 ชนิด และ Trigonostigma 4 ชน.

ดู มนุษย์และสกุลรัสบอร่า

สกุลเตตราโอดอน

กุลเตตราโอดอน เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาปักเป้า จัดอยู่ในวงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Tetraodon (/เต-ตรา-โอ-ดอน/) มีรูปร่างโดยรวม ป้อมสั้น อ้วนกลม ครีบทั้งหมดสั้น ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 12-14 ก้าน ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 10-12 ก้าน เยื่อจมูกยื่นออกมาเป็นหลอด ปลายแยกเป็นสองแฉก ใต้ผิวหนังมีเกล็ดที่พัฒนาเป็นหนามเล็ก ๆ ซ่อนอยู่ ผิวหนังมักมีจุดสีดำแตกต่างกันไปตามแต่ชนิด เมื่อตกใจหรือต้องการป้องกันตัว สามารถพองลมให้ใหญ่ขึ้นมาได้ ในปากมีฟันที่แหลมคมใช้สำหรับขบกัดเปลือกของสัตว์น้ำมีกระดอง ต่าง ๆ ได้ รวมถึงหอย ซึ่งเป็นอาหารหลัก มีอุปนิสัยดุร้าย มักจะชอบกัดกินเกล็ดหรือครีบหางของปลาชนิดต่าง ๆ ที่ติดอวนของชาวประมงอยู่เสมอ ๆ นอกจากนี้แล้วยังสามารถซ่อนตัวใต้พื้นทรายเพื่ออำพรางตัวหาอาหารได้ในบางชนิด ในบางชนิดก็สามารถเปลี่ยนสีลำตัวได้ และยังสามารถเป่าน้ำจากปากเพื่อคุ้ยหาอาหารในพื้นทรายได้ด้วย ภายในตัวและอวัยวะภายในมีสารพิษที่เรียกว่า เตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) อยู่ เมื่อรับประทานเข้าไปแล้วจะทำให้เกิดอาการแพ้อย่างรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ โดยรวมแล้ว ปลาในสกุลนี้จะว่ายน้ำได้ช้ากว่าปลาปักเป้าในสกุลอื่น เช่น Takifugu หรือ Auriglobus เนื่องจากมีครีบที่สั้นและรูปร่างที่อ้วนกลมกว่า พบได้ทั้งทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืด โดยกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาจนถึงเอเชีย มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและใช้บริโภคในบางท้องถิ่น.

ดู มนุษย์และสกุลเตตราโอดอน

สมองใหญ่

ทเลนเซฟาลอน (Telencephalon) เป็นส่วนของสมองส่วนหน้า เป็นโครงสร้างที่ใหญ่ของสมองซึ่งทำหน้าที่หลากหลาย อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ซีรีบรัม (Cerebrum) หรือ สมองใหญ่ ในทางเทคนิค เทเลนเซฟาลอนหมายถึงซีรีบรัล เฮมิสเฟียร์ (cerebral hemispheres) และโครงสร้างเล็กๆ อื่นๆ ภายในสมอง สมองส่วนนี้เป็นส่วนที่อยู่หน้าสุดในการแบ่งส่วนของสมองในเอ็มบริโอ เจริญมาจากโปรเซนเซฟาลอน.

ดู มนุษย์และสมองใหญ่

สมัยไพลสโตซีน

มัยไพลสโตซีน (Pleistocene เครื่องหมาย PS) เป็นธรณีกาลระหว่าง 2,588,000-11,700 ปีก่อนที่มียุคน้ำแข็งเกิดขึ้นซ้ำ ๆ กัน ชาลส์ ไลเอลล์ บัญญัติคำนี้ขึ้นในปี..

ดู มนุษย์และสมัยไพลสโตซีน

สอดรู้ สอดเห็น สอดเป็น สอดตาย

อดรู้ สอดเห็น สอดเป็น สอดตาย ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์เรื่อง The Blair Witch Project เป็นภาพยนตร์ในแนวสารคดี ความยาว 86 นาที ออกฉายในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และสอดรู้ สอดเห็น สอดเป็น สอดตาย

สังคมวิทยา

ังคมวิทยา (อังกฤษ: sociology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิตทางสังคมของมนุษย์, กลุ่มคน, และสังคม สิ่งที่สาขาวิชานี้สนใจคือ กฎเกณฑ์ และกระบวนการทางสังคม ที่ยึดเหนี่ยวหรือแบ่งแยกผู้คน ทั้งในสภาวะที่เป็นปัจเจก และในฐานะของสมาชิกของสมาคม, กลุ่ม, หรือสถาบัน สังคมวิทยาสนใจพฤติกรรมมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสิ่งมีชีวิตทางสังคม ดังนั้นการศึกษาทางด้านนี้ จึงครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์การพบปะกันของคนที่ไม่รู้จักกันบนท้องถนน ไปจนถึงการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางสังคมในระดับโลก.

ดู มนุษย์และสังคมวิทยา

สัตว์มีกระดูกสันหลัง

ัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) สิ่งมีชีวิตประเภทนี้มีกระดูกสันหลังหรือไขสันหลัง สิ่งมีชีวิตที่มีกระดูกสันหลังเริ่มมีวิวัฒนาการมาเป็นเวลาประมาณ 505 ล้านปี ในยุคแคมเบรียนกลาง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของช่วงยุคแคมเบรียน โครงกระดูกของไขสันหลัง ถูกเรียกว่ากระดูกสันหลัง Vertebrate เป็นไฟลัมย่อยที่ใหญ่ที่สุดใน Chordates รวมทั้งยังมีสัตว์ที่คนรู้จักมากที่สุดอีกด้วย (ยกเว้นแมลง) ปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (รวมทั้งมนุษย์) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกระดูกสันหลังทั้งสิ้น ลักษณะเฉพาะของไฟลัมย่อยนี้คือระบบของกล้ามเนื้อจำนวนมาก เช่นเดียวกับระบบประสาทส่วนกลางที่ถูกวางในกระดูกสันหลังเป็นส่วน ๆ สัตว์มีกระดูกสันหลัง คือกระดูกสันหลังจะอยู่เป็นแนวยาวไปตามด้านหลังของสัตว์ กระดูกสันหลังจะต่อกันเป็นข้อๆ ยืดหยุ่น เคลื่อนไหวได้มีหน้าที่ช่วยพยุงร่างกายให้เป็นรูปร่างทรวดทรงอยู่ได้และยังช่วยป้องกันเส้นประสาทอีกด้วย สัตว์พวกมีกระดูกสันหลัง นักวิทยาศาสตร์ยังแบ่งออกเป็น 5 พวกคือ.

ดู มนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลัง

สัตว์รังควาน

ัตว์รังควาน หรือ สัตว์ก่อความรำคาญ (pest) หมายถึงสัตว์หลายชนิดที่รบกวนมนุษย์หรือสิ่งที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ ในความหมายอย่างหลวม ๆ อาจรวมถึง หนอนพยาธิ ปรสิต จุลชีพก่อโรค วัชพืช ด้วย ในความหมายที่กว้างที่สุด สัตว์รังควานอาจหมายถึงผู้แข่งขันของมนุษยชาต.

ดู มนุษย์และสัตว์รังควาน

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก

ัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก หรือที่นิยมเรียกทั่วไปว่า สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ (Amphibians) เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในชั้น Amphibia อาศัยอยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก มีลักษณะเฉพาะ คือ ผิวหนังมีต่อมเมือกทำให้ผิวหนังชุ่มชื้นตลอดเวลา ผิวหนังเปียกลื่นอยู่เสมอ ไม่มีเกล็ดตัวไม่แห้งหรือไม่มีขน หายใจด้วยเหงือก, ปอด, ผิวหนัง หรือผิวในปากในคอ โดยชั้นผิวหนังนั้นมีลักษณะพิเศษสามารถแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้เนื่องจากมีโครงข่ายหลอดเลือดฝอยจำนวนมาก เพื่อใช้ในการหายใจ สืบพันธุ์โดยการผสมพันธุ์ภายนอกลำตัว สืบพันธุ์เมื่ออายุ 2–3 ปี ออกลูกเป็นไข่อยู่ในน้ำ ไม่มีเปลือก วางไข่เป็นกลุ่มในน้ำมีสารเป็นวุ้นหุ้ม ลูกอ่อนที่ออกจากไข่มีรูปร่างคล้ายปลาเรียกว่า "ลูกอ๊อด" อยู่ในน้ำหายใจด้วยเหงือก เมื่อเติบโตเต็มที่แล้วมีปอดหายใจ ขึ้นบกได้ แต่ต้องอยู่ใกล้น้ำ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกส่วนใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทั้งภายนอกและภายในอย่างสิ้นเชิง ไปตามวงจรชีวิต ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้ำ หายใจด้วยเหงือก เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนรูปร่างอาศัยอยู่บนบก หายใจด้วยปอดหรือผิวหนัง โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งในช่วงระหว่างฤดูหนาวถึงฤดูร้อน ส่วนใหญ่จะขุดรูจำศีล เพื่อหนีความแห้งแล้ง มิให้ผิวหนังแห้ง ถ้าผิวหนังแห้งจะหายใจไม่ได้และตายในที่สุด เพราะก๊าชจากอากาศต้องละลายไปกับน้ำเมือกที่ผิวหนัง แล้วจึงแพร่เข้าสู่กระแสโลหิต ระยะนี้จะใช้อาหารที่สะสมไว้ในร่างกายอย่างช้า ๆ นิวต์และซาลามานเดอร์ก็เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเหมือนกัน แต่แตกตางกันตรงที่นิวต์และซาลามานเดอร์จะยังคงหางของมันไว้ เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกถือเป็นสัตว์เลือดเย็นเช่นเดียวกับสัตว์พวกปลา หรือแมลง หรือสัตว์เลื้อยคลาน ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานสัตว์ในชั้นแล้วกว่า 6,500 ชน.

ดู มนุษย์และสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก

สัตว์สังคม

ลิงกอริลลาและสัตว์ประเภทลิงชั้นสูงเป็นที่ทราบว่าเป็นสัตว์ที่มีระบบสังคมที่คล้ายคลึงกันและซับซ้อน สัตว์สังคม (Social animal) มีความหมายอย่างกว้างๆ สำหรับสิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธ์ติดต่อกับสมาชิกตัวอื่นๆ ในสปีชีส์เดียวกันถึงจุดที่เรียกว่ามีทราบได้ว่าเป็นระบบสังคมที่เป็นเอกลักษณ์ ลิงกอริลลาและสัตว์ประเภทลิงชั้นสูงเป็นที่ทราบว่าเป็นสัตว์ที่มีระบบสังคมที่คล้ายคลึงกันและซับซ้อน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และนกมีการสังคมพอที่จะมีความสัมพันธ์ระหว่างแม่และลูก คำว่า “สัตว์สังคม” มักจะใช้ก็ต่อเมื่อระดับของการสังคมมีมากกว่าที่กล่าว โดยการมีกลุ่มสัตว์ใหญ่ที่อยู่ด้วยกัน และสัตว์ที่อยู่ในกลุ่มมีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างใดอย่างหนึ่ง พฤติกรรมทางสังคมของสัตว์หรือการรวมเป็นกลุ่มเป็นสาขาที่ศึกษาในจิตวิทยาเปรียบเทียบ, พฤติกรรมสัตว์, ชีววิทยาเชิงสังคม, นิเวศวิทยาเชิงพฤติกรรม และ วิทยาการคอมพิวเตอร์ (ปัญญาประดิษฐ์) โดยทั่วไปแล้วการศึกษาสัตว์สังคมจะคำนึงถึง.

ดู มนุษย์และสัตว์สังคม

สัตว์ประหลาด

รา หนึ่งในสัตว์ประหลาดของเทพปกรณัมกรีกที่มีชื่อเสียง สัตว์ประหลาด หรือ อสูรกาย (Monster, Cryptid) หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่ผิดแปลกจากสภาพแวดล้อมโดยทั่ว ๆ ไป หรือสัตว์ที่มนุษย์ไม่เป็นที่รู้จัก สัตว์ประหลาดถูกกล่าวถึงในตำนานหรือนิทานของชนชาติต่าง ๆ มาแต่อดีตแล้ว โดยคำว่า Monster ที่หมายถึง สัตว์ประหลาด หรือ อสูรกาย ในภาษาอังกฤษนั้นมาจากภาษาละตินคำว่า Monstrum ซึ่งหมายถึง การเกิดสิ่งผิดปกติทางชีววิทยามักจะที่ถูกนำมาเป็นสัญลักษณ์ว่าสิ่งที่ถูกต้องภายในเพื่อธรรมชาติ ความหมายของคำว่า Monster ไม่เหมือนกับปีศาจ ซึ่งหมายถึง ความชั่วร้าย โดยปกติแล้ว Monster หรือ สัตว์ประหลาด จะหมายถึงสิ่งที่น่ารังเกียจหรือผิดศีลธรรม หรือความผิดปกติทางร่างกายหรือจิตใจอย่างน่าเกลียด หรือความวิปริตทางธรรมชาติ นอกจากนี้แล้วยังนำมาใช้เปรียบเปรยกับผู้ที่มีลักษณะโลภโมโทสันหรือบุคคลที่แลดูน่ากลัวด้วย นอกจากนี้แล้ว สัตว์ประหลาดยังปรากฏตัวในสื่อวัฒนธรรมร่วมสมัยทั้งการ์ตูน ภาพยนตร์ และวิดีโอเกม โดยทั่วไปแล้ว สัตว์ประหลาดมักมีลักษณะน่ากลัวและดุร้าย แต่ในสื่อสารมวลชนยุคใหม่ก็มีสัตว์ประหลาดที่มีบทบาทในลักษณะของอสูรกายที่เป็นมิตรหรือถูกเข้าใจผิด เช่น คิงคอง หรือ อสูรกายของแฟรงเกนสไตน์ เป็นต้น ในภาพยนตร์มีเนื้อหาเกี่ยวกับสัตว์ประหลาดอยู่มากมาย อาทิ Godzilla ของฮอลลีวู้ดในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และสัตว์ประหลาด

สัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์

รูปสเก็ตสัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์ เทียบกับมนุษย์ สัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์ หรือ สัตว์ประหลาดบรอกตันเคาน์ตี หรือ ปีศาจแฟลทวูดส์ (อังกฤษ: Flatwoods Monster, Braxton County Monster, Phantom of Flatwoods) เป็นสิ่งมีชีวิตประหลาดที่มีรายงานการพบที่เมืองแฟลทวูดส์ ในบรอกตันเคาน์ตี รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา ในคืนวันที่ 12 กันยายน ค.ศ.

ดู มนุษย์และสัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์

สัตว์เลื้อยคลาน

ัตว์เลื้อยคลาน (reptile) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Reptilia มาจากคำว่า Repera ที่มีความหมายว่า "คลาน" เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่จัดเป็นสัตว์ในกลุ่มแรก ๆ ของโลกที่มีการดำรงชีวิตบนบกอย่างแท้จริง สัตว์เลื้อยคลานในยุคดึกดำบรรพ์ที่รอดชีวิตจากการสูญพันธุ์และยังดำรงชีวิตในปัจจุบัน มีจำนวนมากถึง 7,000 ชนิดชนิดของสัตว์เลื้อยคลาน, สัตววิทยา, บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 364 กระจายอยู่ทั่วโลกทั้งชนิดอาศัยในแหล่งน้ำและบนบก จัดเป็นกลุ่มของสัตว์ที่ประสบความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนสภาพร่างกายในการเอาตัวรอดจากเหตุการณ์หินอุกกาบาตพุ่งชนโลกมามากกว่า 100 ล้านปีมาแล้ว ในยุคจูแรสซิกที่อยู่ในมหายุคมีโซโซอิก ซึ่งมีอายุของยุคที่ยาวนานถึง 100 ล้านปี จัดเป็นยุคที่สัตว์เลื้อยคลานมีวิวัฒนาการจนถึงขีดสุด มีสัตว์เลื้อยคลานมากมายหลากหลายขนาด ตั้งแต่กิ้งก่าตัวเล็ก ๆ จนถึงไทรันโนซอรัส เร็กซ์ซึ่งเป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ ที่มีจำนวนมากมายครอบครองพื้นที่ทั่วทุกแห่งในโลก ยุคจูแรสซิกจึงถือเป็นยุคของสัตว์เลื้อยคลานอย่างแท้จริง ต่อมาภายหลังเกิดเหตุการณ์อุกกาบาตพุ่งชนโลก ทำให้กลุ่มสัตว์บกที่อาศัยในยุคจูแรสซิก เกิดล้มตายและสูญพันธุ์อย่างกะทันหันโดยไม่ทราบสาเหตุของการสูญพันธุ์ที่ชัดเจนและแน่นอน.

ดู มนุษย์และสัตว์เลื้อยคลาน

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

ัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammalia) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Mammalia มาจากคำว่า Mamma ที่มีความหมายว่า "หน้าอก" เป็นกลุ่มของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ที่มีการวิวัฒนาการและพัฒนาร่างกายที่ดีหลากหลายประการ รวมทั้งมีระบบประสาทที่เจริญก้าวหน้า สามารถดำรงชีวิตได้ในทุกสภาพสิ่งแวดล้อมสัตววิทยา (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 411 มีขนาดของร่างกายและรูปพรรณสัณฐานที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของสายพันธุ์ มีลักษณะเด่นคือมีต่อมน้ำนมที่มีเฉพาะในเพศเมียเท่านั้น เพื่อผลิตน้ำนมเพื่อใช้เลี้ยงลูกวัยแรกเกิด เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นเส้น ๆ (hair) หรือขนอ่อน (fur) ปกคลุมทั่วทั้งร่างกาย เพื่อเป็นการรักษาอุณหภูมิในร่างกาย ยกเว้นสัตว์น้ำที่ไม่มีขน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่จัดอยู่ในประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจำนวนประชากรประมาณ 4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์บก เช่น สุนัข ช้าง ลิง เสือ สิงโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สำหรับสัตว์น้ำที่จัดเป็นเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน แต่สำหรับสัตว์ปีกประเภทเดียวที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคือค้างคาว ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จัดอยู่ในประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการร่อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาเท่านั้นที่ออกลูกเป็น.

ดู มนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเล

ัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเล (Marine mammals) คือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่อาศัยอยู่ในทะเลหรืออาศัยอยู่ใกล้ทะเล โดยสัตว์ในกลุ่มนี้มีจำนวนทั้งสิ้น 129 ชนิด (Species) ตัวอย่างของสัตว์ในกลุ่มนี้ ได้แก่ แมวน้ำ วาฬ โลมา วอลรัส หมีขั้วโลก ฯลฯPompa, S., Ehrlich, P.

ดู มนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเล

สาบนรสิงห์

นรสิงห์ เป็นนวนิยายประพันธ์โดย จินตนา ปิ่นเฉลียว ในนามปากกา จินตวีร์ วิวัธน..จินตนิยายแห่งเทพ ที่เป็นหนึ่งในตำนาน ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางช่อง 5 (ปี 2539)กำกับโดย จารึก สงวนพงษ์ บทโทรทัศน์โดย อัครกิตต.

ดู มนุษย์และสาบนรสิงห์

สารัตถะ

ในทางปรัชญา สารัตถะ (essence) คือคุณลักษณะหรือภาวะอันเป็นเนื้อแท้ ซึ่งทำให้สิ่งหนึ่ง ๆ เป็นตัวของตัวเอง แตกต่างจากสิ่งอื่น ๆ คตินิยมที่ยอมรับว่าสารัตถะมีอยู่จริง เรียกว่าสารัตถนิยม (essentialism) แต่ละคตินิยมมีทัศนะเกี่ยวกับสารัตถะของมนุษย์ต่างกันไป นักเหตุผลนิยมถือว่าความมีเหตุผลเป็นสารัตถะของมนุษย์ อัตถิภาวนิยมว่าเป็นเสรีภาพ บางศาสนาถือว่าเป็นวิญญาณ เป็นต้น.

ดู มนุษย์และสารัตถะ

สาวกลายพันธุ์

วกลายพันธุ์ หรือ เอลเฟนลีด เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของ ริน โอคาโมโตะ (OKAMOTO Lynn ในภาษาอังกฤษ) ลงตีพิมพ์ในนิตยสารยังก์จัมป์รายสัปดาห์ ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และสาวกลายพันธุ์

สิทธิแรงงาน

ทธิแรงงาน (Labour Rights) หมายถึงสิทธิของผู้ใช้แรงงานในความสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง ทั้งสิทธิทางกฎหมายและสิทธิมนุษยชน เช่น อัตราค่าจ้าง จำนวนชั่วโมงการทำงาน สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในที่ทำงาน สิทธิในการจัดตั้งสหภาพแรงงาน เป็นต้น สิทธิแรงงานมักจะได้รับการรับรองโดยการออกฎหมายว่าด้วยสิทธิแรงงาน การจำกัดชั่วโมงการทำงาน และการกำหนดอัตราค่าแรงขั้นต่ำ.

ดู มนุษย์และสิทธิแรงงาน

สิงโต

งโต (Lion) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว สิงโตมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo มีขนาดลำตัวใหญ่ ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่งทั่วไป (P.

ดู มนุษย์และสิงโต

สิ่งมีชีวิตตัวแบบ

''Escherichia coli'' เป็นสิ่งมีชีวิตตัวแบบที่เป็นโพรแคริโอตและแบคทีเรียแกรมลบ แมลงวันทองเป็นสัตว์ทดลองที่ใช้มากที่สุดชนิดหนึ่ง ''Saccharomyces cerevisiae'' เป็นโพรแคริโอตตัวแบบที่ใช้ศึกษามากที่สุดในอณูชีววิทยาและชีววิทยาของเซลล์ สิ่งมีชีวิตตัวแบบ หรือ สิ่งมีชีวิตแบบจำลอง (model organism) เป็นสปีชีส์สิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ ที่ใช้อย่างกว้างขวางในการศึกษาเพื่อเข้าใจปรากฏการณ์ทางชีววิทยาต่าง ๆ โดยคาดหวังว่า สิ่งที่ค้นพบในแบบจำลองจะช่วยให้เข้าใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ สิ่งมีชีวิตแบบจำลองจะเป็นแบบยังมีชีวิตอยู่ และได้ใช้อย่างกว้างขวางในงานวิจัยโรคมนุษย์ที่การทดลองในมนุษย์เป็นไปไม่ได้หรือไม่ถูกจริยธรรม กลยุทธ์นี่ใช้ได้ก็เพราะสิ่งมีชีวิตทั้งหมดสืบเชื้อสายร่วมกันจากบรรพบุรุษเดียวกัน โดยได้อนุรักษ์วิถีเมแทบอลิซึม วิถีพัฒนาการ และกระบวนการอื่น ๆ ทางพันธุกรรมตลอดวิวัฒนาการ แม้การศึกษาสิ่งมีชีวิตตัวแบบจะให้ข้อมูลที่ดี แต่ก็ต้องระวังเมื่อประยุกต์ใช้กับสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในการวิจัยโรคมนุษย์ สิ่งมีชีวิตตัวแบบจะทำให้เข้าใจกระบวนการของโรคดีขึ้นโดยไม่ต้องเสี่ยงทำอันตรายแก่มนุษย์ สปีชีส์ที่เลือกปกติจะผ่านเกณฑ์ความสมมูลทางอนุกรมวิธาน (taxonomic equivalency) บางอย่างกับมนุษย์ คือสัตว์จะมีปฏิกิริยาทางสรีรภาพต่อโรคหรือต่อการรักษา ในรูปแบบที่คล้าย ๆ กับของมนุษย์ ถึงแม้จะไม่สามารถระบุได้อย่างชัดเจนว่า กระบวนการทางชีววิทยาที่พบในสัตว์ตัวแบบจะเป็นอย่างเดียวกันในมนุษย์ แต่วิธีการรักษาและยาจำนวนมากที่ใช้ในโรคมนุษย์ ก็ได้พัฒนาอาศัยแนวคิดที่ได้จากสัตว์ตัวแบบเป็นบางส่วน มีแบบจำลองโรค 3 ประเภทหลัก ๆ คือ homologous (กำเนิดเดียวกัน), isomorphic (สมสัณฐาน) และ predictive (พยากรณ์) สัตว์จำลองแบบกำเนิดเดียวกันจะมีเหตุโรค อาการ และการรักษาเหมือนกับของมนุษย์ที่มีโรค สัตว์จำลองแบบสมสัณฐานจะมีอาการและการรักษาเหมือนกัน สัตว์จำลองแบบพยากรณ์จะมีสภาพเพียงแค่บางอย่างที่คล้ายกับมนุษย์ผู้มีโรค แต่ก็มีประโยชน์ในการคาดหมายกลไกต่าง ๆ เกี่ยวกับโร.

ดู มนุษย์และสิ่งมีชีวิตตัวแบบ

สิ่งมีชีวิตนอกโลก

นหุ่นยนต์รถสำรวจคิวริออซิตี้โรเวอร์) มนุษย์ต่างดาวในจินตนาการของคนส่วนใหญ่ มนุษย์ต่างดาว (alien) เป็นสิ่งที่เชื่อว่าอาจมีอยู่จริงแต่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ ลักษณะเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่นอกโลก ซึ่งในความคิดของคนส่วนใหญ่ มักจะวาดภาพ มนุษย์ต่างดาว ลักษณะคล้ายคนแต่ ตัวเขียว หัวโต ตาโต เคยมาเยือนโลกโดยมากับ จานบิน สิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrial life) (จากคำภาษาละติน: extra และ terrestris) ถูกกำหนดให้เป็นชีวิตที่ไม่ได้เกิดจากโลก มันมักจะหมายถึง สิ่งมีชีวิตนอกโลก หรือเรียกเพียงว่า มนุษย์ต่างดาว (หรือมนุษย์ต่างดาวในอวกาศเพื่อให้แตกต่างจากคำจำกัดความอื่น ๆ ของมนุษย์ต่างภิภพหรือมนุษย์ต่างดาว) รูปแบบชีวิตเหล่านี้ตามสมมติฐานของชีวิตช่วงระยะเริ่มจากสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียขั้นพื้นฐานเหมือนสิ่งมีชีวิตที่เรียบง่ายไปไกลจนถึงขั้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเกินกว่าสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์ ความเป็นไปได้ว่ายังอาจจะมีไวรัส (viruses) ที่มีการดำรงชีวิตอยู่แบบสิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrially) ได้รับการเสนอขึ้น การพัฒนาและการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับชีวิตต่างดาวที่เป็นที่รู้จักกันในนามของวิชาที่เรียกว่า "ชีววิทยานอกโลก" หรือ "ชีวดาราศาสตร์" ("exobiology" or "astrobiology") แม้ว่าวิชาชีวดาราศาสตร์จะยังคงพิจารณาถึงชีวิตที่เกิดขึ้นที่เป็นขั้นพื้นฐานบนโลกที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์อยู่ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่าชีวิตนอกโลกเป็นสิ่งที่มีความเป็นไปได้ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานโดยตรงในการดำรงอยู่ของมัน นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ได้มีการค้นหาอย่างต่อเนื่องสำหรับสัญญาณของชีวิตนอกโลก, จากวิทยุที่ใช้ในการตรวจจับสัญญาณต่างดาวที่มีความเป็นไปได้, ไปจนถึงกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีศักยภาพเพียงพอสำหรับเป็นสถานที่เอื้ออาศัยสำหรับสภาพชีวิตที่อาจสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้มันก็ยังมีบทบาทที่สำคัญต่องานเขียนทางด้านเกี่ยวกับนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อีกด้วย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา, ผลงานทางด้านนิยายวิทยาศาสตร์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของฮอลลีวู้ด, ได้ช่วยเพิ่มทวีความสนใจให้มากขึ้นของประชาชนในความเป็นไปได้เกี่ยวกับชีวิตนอกโลก บางส่วนสนับสนุนให้ใช้วิธีการเชิงรุกสำหรับในความพยายามและได้รับการติดต่อกับสิ่งมีชีวิตจากห้วงอวกาศ, ในขณะที่อีกบางส่วน ยืนยันว่ามันก็อาจจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เราชาวโลกเราได้สำหรับในการที่จะกระตือรือร้นเรียกร้องความสนใจจากมนุษย์ต่างดาว ในอดีตที่ผ่านมา, ความขัดแย้งกันระหว่างวัฒนธรรมที่เจริญและคนพื้นเมืองนั้นก็ยังไม่ได้เป็นไปด้วยดี.

ดู มนุษย์และสิ่งมีชีวิตนอกโลก

สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง

งแวดล้อมสรรค์สร้าง (built environment) กล่าวถึงบริเวณโดยรอบที่ถูกสร้างขึ้นโดยมนุษย์ให้เหมาะสำหรับกิจกรรมของมนุษย์ โดยเริ่มจากระดับขอบเขตของคน ย่าน และเมือง โดยมักจะรวมถึงโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ไฟฟ้าหรือประปา ซึ่งในทางปฏิบัติคำนี้จะถูกกล่าวถึงในส่วนของ การออกแบบ การก่อสร้าง และ การจัดการ สิ่งโดยรอบให้เหมาะสมกับมนุษย์ ไม่ควรจำกัดจำเพาะแต่ว่าเป็นการทำเพื่อการปรับปรุง ออกแบบ ก่อสร้างเพื่อ "มนุษย์" เพราะจะทำให้เกิดผลกระทบต่อสรรพชีวิตอื่น แต่ควรใช้กรอบแนวคิดที่เป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน และการคิดแบบองค์รวม (Sustainable Development & Holistic Thinking) จึงควรนิยามว่า "สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง" (lang-en|built environment) กล่าวถึงบริเวณโดยรอบที่ถูกสร้างขึ้นโดยมนุษย์ให้เหมาะสำหรับกิจกรรมการอยู่อาศัยของมนุษย์ที่กลมกลืนกับธรรมชาติและเอื้อต่อระบบนิเวศอย่างสมดุลตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเริ่มจากระดับขอบเขตของ คน ย่าน และเมือง โดยมุ่งเน้นไปที่ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสีเขียว (Green Infrastructure) เช่น ระบบสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า หรือ ประปา ระบบสาธารณูปการ เช่น โรงเรียน สถานที่ราชการ โรงบำบัดและกำจัดของเสีย สวนสาธารณะ พื้นที่อันควรสงวนคุ้มครองและอนุรักษ์ ซึ่งในทางปฏิบัติคำนี้จะถูกกล่าวถึงในส่วนของ การออกแบบ การก่อสร้าง และ การจัดการ สิ่งโดยรอบให้เหมาะสมกับมนุษ.

ดู มนุษย์และสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง

สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ

น้ำตกโฮปตัน ในประเทศออสเตรเลีย ในช่วงเวลาที่ทางการอนุญาตให้เข้าชมได้ ทะเลสาบบัคอับบ์ ในเทือกเขาสวิสแอลป์ พื้นที่ที่เป็นภูเขาโดยทั่วไปจะได้รับผลกระทบจากผู้คนน้อยกว่าพื้นที่ราบ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่าสิ่งแวดล้อม เป็นคำที่ใช้เรียกสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติบนโลกหรือบนภูมิภาคอื่น ๆ ที่มีปรากฏการณ์ดังกล่าวโดยรวม สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ สามารถจำแนกโยดูกอนระบบธรรมชาติโการรบกวนของมนุษย์มากเกินไป ซึ่งรวมไปถึงพืช สัตว์ จุลินทรีย์ ดิน หิน ชั้นบรยากา และปรชาติที่เกิขึ้นายใต้อบเขตของสิ่งดังกล่าว.

ดู มนุษย์และสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ

สื่อที่มนุษย์สามารถอ่านได้

รหัสแท่งอันแสดงข้อมูลที่ทั้งมนุษย์และเครื่องสามารถอ่านได้ สื่อหรือรูปแบบที่มนุษย์สามารถอ่านได้ หมายถึงตัวแทนของข้อมูลหรือสารสนเทศที่มนุษย์สามารถอ่านได้โดยธรรมชาติ ในทางคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ มนุษย์สามารถอ่านได้ มักจะเข้ารหัสเป็นข้อความแอสกีหรือยูนิโคด (เป็นตัวหนังสือ) มากกว่าที่จะแสดงแทนด้วยเลขฐานสอง ข้อมูลแทบจะทั้งหมดสามารถแจงส่วนได้ด้วยเครื่องจักรหรือคอมพิวเตอร์ ที่ติดตั้งหรือสร้างชุดคำสั่งที่เหมาะสม ซึ่งเหตุผลต่าง ๆ ที่เครื่องจักรหรือคอมพิวเตอร์เลือกรูปแบบเลขฐานสองเหนือกว่ารูปแบบข้อความ มุ่งไปที่ปัญหาต่าง ๆ ของพื้นที่ว่างของหน่วยเก็บ เนื่องจากการแทนเลขฐานสองตามปกติจะใช้พื้นที่เพียงไม่กี่ไบต์ และประสิทธิภาพของการเข้าถึง (อินพุตและเอาต์พุต) โดยไม่ต้องผ่านการแปลงหรือแจงส่วนซ้ำ ในบริบทส่วนใหญ่ อีกทางหนึ่งของตัวแทนที่มนุษย์สามารถอ่านได้ก็คือ สื่อหรือรูปแบบของข้อมูลที่ เครื่องสามารถอ่านได้ ซึ่งออกแบบมาเพื่อให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เชิงกล หรือเชิงแสง หรือคอมพิวเตอร์ อ่านข้อมูลได้เป็นหลัก ตัวอย่างเช่น รหัสผลิตภัณฑ์สากล (Universal Product Code: UPC) เป็นรหัสแท่งที่มนุษย์อ่านเข้าใจได้ยาก แต่ถ้าอ่านด้วยอุปกรณ์ที่ถูกต้องจะได้ผลดีและน่าเชื่อถือมาก แต่ในขณะเดียวกันสายอักขระของตัวเลขที่ประกอบอยู่บนฉลากมีเพื่อให้มนุษย์สามารถอ่านสารสนเทศของรหัสแท่งนั้น ในบางเขตอำนาจศาล ฉลากรหัสแท่งที่ใช้ในการค้าปลีกจะต้องแสดงราคาที่มนุษย์สามารถอ่านได้บนสินค้านั้น เมื่อภาษามาร์กอัปเชิงโครงสร้างอย่างสูงและเป็นมาตรฐานเกิดขึ้น เช่นเอกซ์เอ็มแอล (XML) หน่วยเก็บข้อมูลมีราคาถูกลง และเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลเร็วขึ้นแต่ถูกลง ทำให้ความสามารถในการอ่านได้ของมนุษย์และเครื่อง เรียกได้ว่าแทบจะไม่แตกต่างกันอย่างในอดีต นอกจากนี้ ตัวแทนข้อมูลเชิงโครงสร้างสามารถบีบอัดได้อย่างมีประสิทธิผลมาก สำหรับการส่งผ่านหรือการเก็บบันทึก องค์การหลายองค์การได้กำหนดนิยามข้อมูลที่มนุษย์สามารถอ่านได้กับข้อมูลที่เครื่องสามารถอ่านได้ และวิธีการที่จะนำมาใช้ในสาขาที่เกี่ยวข้องได้อย่างไร เช่น สหภาพไปรษณีย์สากล บ่อยครั้งที่ศัพท์ มนุษย์สามารถอ่านได้ นำไปใช้อธิบายถึงชื่อหรือสายอักขระขนาดสั้น ที่ง่ายต่อการเข้าใจและการจดจำมากกว่าสัญกรณ์วากยสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและขนาดยาว เช่น สายอักขระยูอาร์แอล (URL).

ดู มนุษย์และสื่อที่มนุษย์สามารถอ่านได้

สุดยอดสิ่งมีชีวิต

อดสิ่งมีชีวิต (The Most Extreme) เป็นรายการซีรีส์หนึ่งของเคเบิลทีวีอเมริกา ในช่องอนิมอล เพลเน็ท (Animal Planet) ออกอากาศครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.

ดู มนุษย์และสุดยอดสิ่งมีชีวิต

สี

วงล้อสี สี คือการรับรู้ความถี่ (ความกว้างคลื่นหรือความยาวคลื่น) ของแสง ในทำนองเดียวกันกับที่ระดับเสียง มนุษย์สามารถรับรู้สีได้เนื่องจากโครงสร้างอันละเอียดอ่อนของดวงตา ซึ่งมีความสามารถในการรับรู้แสงในช่วงความถี่ที่ต่างกัน การรับรู้สีนั้นขึ้นกับปัจจัยทางชีวภาพ (คนบางคนตาบอดสี ซึ่งหมายถึงคนคนนั้นเห็นสีบางค่าต่างจากคนอื่นหรือไม่สามารถแยกแยะสีที่มีค่าความอิ่มตัวใกล้เคียงกันได้ หรือแม้กระทั่งไม่สามารถเห็นสีได้เลยมาแต่กำเนิด), ความทรงจำระยะยาวของบุคคลผู้นั้น, และผลกระทบระยะสั้น เช่น สีที่อยู่ข้างเคียง บางครั้งเราเรียกแขนงของวิชาที่ศึกษาเรื่องของสีว่า รงคศาสตร์ วิชานี้จะครอบคลุมเรื่องของการรับรู้ของสีโดยดวงตาของมนุษย์, แหล่งที่มาของสีในวัตถุ, ทฤษฎีสีในวิชาศิลปะ, และฟิสิกส์ของสีในสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้.

ดู มนุษย์และสี

สีดา ราม ศึกรักมหาลงกา

ีดา ราม ศึกรักมหาลงกา หรือ สีดาราม ศึกรักมหาลงกา (Siya Ke Ram) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามครั้งสำคัญในวรรณกรรมเรื่องยิ่งใหญ่ รามายณะ ที่กล่าวการยกทัพของพระรามกับพญาทศกัณฐ์ เพื่อชิงเอานางสีดาคืนมา นำแสดงโดย อาชิช ชาร์มา, มาดิรักศรี มันเดิล ออกอากาศทาง ช่อง 8 ออกอากาศ ทุกวันเสาร์- อาทิตย์ เวลา 10.00 น.

ดู มนุษย์และสีดา ราม ศึกรักมหาลงกา

สถาบันนิยม

ันนิยม (Institutionalism) เป็นแนวคิดที่ใช้อธิบายชีวิตทางสังคมการเมือง ภายใต้กรอบความคิดว่าพฤติกรรมของมนุษย์หรือตัวแสดงทางการเมืองต่าง ๆ จะถูกกำหนดและกำกับโดยบริบทเชิง “สถาบัน” ที่คอยจัดความสัมพันธ์ที่มีอยู่ในสังคม ซึ่งสถาบันจะมีกฎ ระเบียบ กติกา และบรรทัดฐานบางอย่างในการกำกับมนุษย์ในสังคม และมนุษย์จะแสดงพฤติกรรมผ่านสถานภาพและบทบาทของตัวเองออกมาเป็นหน้าที่ของตน ทั้งบทบาทและหน้าที่ดังกล่าวจะถูกกำกับโดยองค์กร หรือสถาบันทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เช่น สถาบันการเมือง สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา องค์กรเศรษฐกิจ เป็นต้น และมนุษย์หนึ่งคนสามารถอยู่ในความสัมพันธ์ของหลายสถาบันและจะมีบทบาทหน้าที่หลายอย่างควบคู่กันไป ตัวอย่างเช่น ชายไทยอายุ 20 ปี ภายใต้สถาบันการเมืองจะมีบทบาทเป็นพลเมือง มีสิทธิและหน้าที่ในการไปเลือกตั้ง ภายใต้สถาบันศาสนาอาจมีบทบาทเป็นพุทธมามกะ หรือผู้สืบสานศาสนาอื่นใดที่นับถือ ภายใต้สถาบันการศึกษามีบทบาทเป็นนิสิตนักศึกษาจึงมีหน้าที่ในการเรียน และมีหน้าที่ต้องไปเกณฑ์ทหารหรือเรียนรักษาดินแดน เนื่องจากกฎหมายที่ออกโดยรัฐบาลซึ่งเป็นสถาบันการเมืองกำหนดเช่นนั้น (Peters, 2005: 1-3).

ดู มนุษย์และสถาบันนิยม

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในเนปาล ทำจากดินและหิน สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น (Vernacular architecture) หมายถึง สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นในแต่ละท้องถิ่นที่มีลักษณะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อม เพื่อสนองความต้องการนั้น ๆ รูปแบบของสิ่งก่อสร้างอาจจะพัฒนาไปจากรูปแบบเดิม เพื่อให้เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต โดยใช้วัสดุก่อสร้างที่หามาได้ตามท้องถิ่นนั้น ๆ การก่อสร้างเป็นการช่วยเหลือกันในชุมชน จากบุคคลทุกเพศทุกวัยทั้ง เด็ก ผู้หญิง คนหนุ่ม-สาว คนเฒ่า-คนแก่ อาจเป็นผู้มีประสบการณ์ทางการก่อสร้างหรือไม่มีก็ได้ การทำงานร่วมกันในชุมชนเป็นการถ่ายทอดประสบการณ์ วัฒนธรรม วิถีชีวิต เรื่องราวต่าง ๆ ของชุมชนอย่างเป็นธรรมชาติ หมวดหมู่:สถาปัตยกรรม.

ดู มนุษย์และสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น

สถาปัตยกรรมภายใน

ปัตยกรรมภายในเป็นงานสถาปัตยกรรมสาขาหนึ่งที่แยกออกมาจาก สถาปัตยกรรมหลัก (อาคาร) ความหมายของคำว่า สถาปัตยกรรมภายใน จะมีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า "ออกแบบตกแต่งภายในและมัณฑนศิลป์" ซึ่งมีความหมายค่อนข้างตรงตัวอยู่แล้ว สถาปัตยกรรมภายใน น่าจะหมายรวมถึง "การก่อเกิดความงามที่ยังประโยชน์ แฝงความหมายแห่งศิลปกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม เพื่อตอบสนองการใช้งานของมนุษย์ ที่เป็นผู้ใช้สอยพื้นที่ว่างภายในอาคาร (space) มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (human and environment) โดยเกี่ยวโยงถึงการพิจารณาถึงระยะและขนาดเนื้อที่ต่างๆ อันเกี่ยวข้องกับ สัดส่วนของมนุษย์ (human scale in architecture) ความต้องการระยะและเนื้อที่ใช้สอยภายในอาคาร (human scale) อันจะเกี่ยวพันกับการ ยืน เดิน นั่ง นอน และการที่มนุษย์จะทำกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ว่างของอาคาร การที่จะออกแบบให้อาคารมีรูปแบบและพื้นที่เพื่อตอบสองการใช้งานของมนุษย์ โดยการเลือกใช้วัสดุต่างๆ ตามคุณสมบัติมาใช้งานให้ก่อเกิดเป็นรูปร่าง ทั้ง พื้น ผนัง เพดาน ทั้งสามมิติ และห่อหุ้มพื้นที่ว่างเอาไว้ให้มนุษย์ได้ใช้งาน ทั้งจากร่างกาย และสายตา รวมถึงอารมณ์ ความรู้สึก ผ่านรูปแบบ สีสัน ผิวสัมผัส (Texture)ของวัสดุต่างๆ อาจหมายรวมให้กว้างไปถึงงานระบบต่างๆที่เข้ามามีส่วนร่วมกับการใช้อาคาร เช่น แสง สี เสียง และระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลายที่กล่าวมาพอจะประกอบรวมกัน เป็นคำว่า สถาปัตยกรรมภายใน ในยุคสมัยปัจจุบันได้ หรืออาจกล่าวสั้นๆได้คือ "การออกแบบพื้นที่ว่างภายในอาคาร (space) และการเลือกใช้วัสดุมาก่อสร้างเพื่อห่อหุ้มพื้นที่ว่างภายในอาคารเพื่อตอบสนองการใช้งานของมนุษย์(human scale) รวมถึงการประดับตกแต่ง ศิลปะแขนงต่างๆ (arts)" "ถ้ากล่าวถึงการประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน" ในประเทศไทยก็ให้ยึดถือเอาตามสภาสถาปนิก ถ้ากล่าวถึงความหมายแต่อย่างเดียวมิใช้การประกอบวิชาชีพควบคุม "ให้ยึดถือข้างต้นเป็นหลัก" ในประเทศไทยสถาปัตยกรรมภายใน เป็นสาขาวิชาชีพควบคุม อยู่ภายใต้ สภาสถาปนิก คำจำกัดความของสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ ถูกระบุใน พรบ.สถาปนิก 2543 และ กฎกระทรวงว่าด้วยการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม..

ดู มนุษย์และสถาปัตยกรรมภายใน

สงครามมหาเทพประจัญบาน

งครามมหาเทพประจัญบาน (Clash of the Titans) เป็นภาพยนตร์อเมริกันในปี 2010 แนวแอคชั่น กำกับโดย หลุยส์ เลเทอร์ริเออร์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เรีเมคจากภาพยนตร์เรื่อง Clash of the Titans นำแสดงโดย แซม เวิร์ธธิงตัน, เจมม่า อาร์เทอร์ตัน, แมดส์ มิคเคลสัน, อเล็กซา ดาวาโลส, เรล์ฟ ไฟนส์, เลียม นีสัน.

ดู มนุษย์และสงครามมหาเทพประจัญบาน

สตาร์ เทรค

ตาร์ เทรค (Star Trek) เป็นชื่อของแฟรนไชส์สื่อบันเทิง นิยายวิทยาศาสตร์ สัญชาติอเมริกัน สร้างโดยยีน ร็อดเดนเบอร์รี ปัจจุบันสถานีโทรทัศน์ ซีบีเอส เป็นเจ้าของและเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ทั้งหมดFor a more detailed history of the ownership of the franchise, see the corporate ownership section.

ดู มนุษย์และสตาร์ เทรค

สนทนาประสาสมัคร

นทนาประสาสมัคร เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทสนทนา เพื่อรายงานผลการปฏิบัติงานของรัฐบาลไทย ออกอากาศทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.30-09.30 น.

ดู มนุษย์และสนทนาประสาสมัคร

สเปลบี สควอโล่

ปลบี สควอโล่ (Superbia Squalo) เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดย ฮิโรกิ ทาคาฮาชิ สมาชิกของหน่วยวาเรียหน่วยลอบสังหารที่แข็งแกร่งที่สุดของวองโกเล่ เป็นตัวแทนแห่งความทรนง,โอหัง (Pride) หนึ่งในบาปเจ็ดประการ.

ดู มนุษย์และสเปลบี สควอโล่

สเปซ มารีนส์

http://warhammer40k.wikia.com/wiki/Space_Marines fi:Warhammer-universumi#Space Marines.

ดู มนุษย์และสเปซ มารีนส์

หมวดคำอักษรจีน

หมวดคำอักษรจีนในพจนานุกรมคังซี (1) หมวดคำอักษรจีนในพจนานุกรมคังซี (2) หมวดคำอักษรจีน หมายถึงดัชนีคำศัพท์ในพจนานุกรมภาษาจีน (หรือภาษาอื่นที่ใช้อักษรจีน) ซึ่งแบ่งตามลักษณะของการประกอบอักษร อักษรจีนแต่ละตัวจะถูกจัดเข้าไว้ในหมวดคำเพียงหมวดเดียว เรียงตามลำดับจำนวนขีดและการเขียน และแต่ละหมวดก็จะมีความหมายไปในทางเดียวกัน การแบ่งอักษรจีนเป็นหมวดคำเริ่มต้นขึ้นในอักษรานุกรมซัวเหวินเจี่ยจื้อ (說文解字) เขียนโดย สวี่ เซิ่น (許慎) นักคัมภีรศาสตร์สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก แต่เดิม สวี่ เซิ่น ได้แบ่งหมวดคำอักษรจีนไว้เป็น 540 หมวด ต่อมาพจนานุกรมคังซีในสมัยราชวงศ์ชิง ได้รวบรวมหมวดคำที่คล้ายกันเข้าจนเหลือ 214 หมวด เช่นเดียวกับพจนานุกรมจงหัว และเมื่อมีการประกาศใช้อักษรจีนตัวย่อ พจนานุกรมฮั่นหยู่จึงมีหมวดคำ 200 หมวดเท่านั้น (ส่วนพจนานุกรมซินหัวเรียงลำดับตามพินอิน).

ดู มนุษย์และหมวดคำอักษรจีน

หมาจิ้งจอก

หมาจิ้งจอก หรือ สุนัขจิ้งจอก หรือเรียกสั้น ๆ ว่า จิ้งจอก (fox, jackal; อีสาน: หมาจอก) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม วงศ์ Canidae ในเผ่า Vulpini ลักษณะทั่วไปของหมาจิ้งจอกจะมีขนาดลำตัวที่เล็กกว่าสุนัขบ้านทั่วไป และคล้ายกับสุนัขไทยพื้นเมือง จมูกแหลมยาว หูใหญ่ชี้ตั้ง ฟันกรามแข็งแรงและแหลมคม หางยาวเป็นพวง ขนสีน้ำตาลแกมเหลือง หมาจิ้งจอกมีทั้งหมด 27 ชนิด ใน 5 สกุล พบได้ทั่วโลก แม้กระทั่งขั้วโลกเหนือ สามารถปรับตัวให้เข้ากับทุกสภาพแวดล้อมได้ สำหรับในประเทศไทย หมาจิ้งจอกจัดอยู่ในสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป..

ดู มนุษย์และหมาจิ้งจอก

หมาจิ้งจอกทอง

หมาจิ้งจอกทอง หรือ หมาจิ้งจอกเอเชีย (pmc Reed wolf) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Canis aureus ในวงศ์สุนัข (Canidae) และถึงแม้ว่าจะได้ชื่อสามัญว่าในภาษาไทยว่า "หมาจิ้งจอก" แต่ก็มิได้เป็นหมาจิ้งจอกแท้ ๆ เพราะมิได้อยู่ในสกุล Vulpini แต่จัดเป็นหมาป่าที่มีขนาดเล็ก (แจ็กคัล) กว่าหมาใน.

ดู มนุษย์และหมาจิ้งจอกทอง

หมาจิ้งจอกเฟนเนก

หมาจิ้งจอกเฟนเนก หรือ หมาจิ้งจอกทะเลทราย (Fennec fox, Desert fox) เป็นหมาจิ้งจอกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Vulpes zerda อยู่ในวงศ์สุนัข (Canidae) หมาจิ้งจอกเฟนเนกเป็นหมาจิ้งจอกขนาดเล็ก ถือได้ว่าเป็นสัตว์ในวงศ์สุนัขที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก เนื่องจากขนาดเมื่อโตเต็มที่แล้ว มีน้ำหนักเฉลี่ยเพียง 1.75 กิโลกรัมสำหรับตัวผู้ และ 1.25 กิโลกรัมสำหรับตัวเมีย ซึ่งถือได้ว่าเล็กกว่าสุนัขบ้านเสียอีก นับได้ว่ามีขนาดน้ำหนักตัวใกล้เคียงกับชิวาวา ซึ่งเป็นสุนัขขนาดเล็ก และมีความยาวลำตัวประมาณ 24-40 เซนติเมตร มีความยาวหาง 8 นิ้ว มีขนสีน้ำตาลเหลืองตลอดทั้งตัว ดวงตาสีดำ มีจุดเด่นที่เห็นได้ชัดเจนคือ ใบหูที่ยาวมาก บางตัวอาจยาวได้ถึง 15 เซนติเมตร คล้ายกับหมาจิ้งจอกหูค้างคาว (Otocyon megalotis) ซึ่งถือได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกขนาดเล็กเช่นกัน แต่มีขนาดใหญ่กว่า หมาจิ้งจอกเฟนเนกมีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกา โดยอาศัยอยู่ในทะเลทราย มีพฤติกรรมรวมกันเป็นฝูงขนาดเล็ก หากินในเวลากลางคืน โดยมีอาหารหลักคือ แมลงชนิดต่าง ๆ ด้วยการขุดคุ้ยจากการฟังเสียงจากใบหูที่มีขนาดใหญ่ นอกจากนั้นแล้วยังสามารถกินสัตว์ที่มีขนาดเล็ก, ไข่นก และผลไม้ได้อีกด้วย กระนั้นหมาจิ้งจอกเฟนเนกก็ยังตกเป็นเหยื่อของสัตว์กินเนื้อที่มีขนาดใหญ่กว่าได้อีกด้วย แต่ด้วยสภาพร่างกายที่เหมาะกับการอาศัยอยู่ในทะเลทราย ทำให้สามารถเอาตัวรอดได้ โดยขนที่อุ้งเท้าจะหนาสำหรับใช้เดินบนพื้นทรายที่ร้อนระอุได้ ขนสีน้ำตาลเหมือนสีของทรายของช่วยให้อำพรางตัวได้ในทะเลทราย นอกจากนี้แล้วยังหนาต่างจากสัตว์ที่อยู่ในทะเลทรายจำพวกอื่น ๆ โดยขนจะทำหน้าที่สะท้อนความร้อนจากแสงแดดในเวลากลางวันออกไป ส่วนตอนกลางคืนก็ทำหน้าที่สะสมความอบอุ่นไว้เพื่อต่อสู้กับความหนาวเย็น เนื่องจากเป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคึน ขยายพันธุ์ด้วยการตั้งท้องนานครั้งละ 2 เดือน เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 9 เดือน โดยจะตกลูกปี​ละ​ครั้ง ​เป็น​สัตว์​ที่​มี​คู่​ตัว​เดียว​ตลอด​ชีวิต ตัวผู้​จะ​ดุร้าย​และ​หวง​คู่ อีก​ทั้ง​ทำ​หน้าที่​คอย​หา​อาหาร​ให้​ตัวเมีย​ตลอด​เวลา​ช่วง​ที่​ตั้ง​ท้อง​และ​ให้​นม ตกลูกครั้งละ 2-4 ตัว คำว่า "เฟนเนก" นั้น มาจากภาษาอาหรับคำว่า "ثعلب" (fanak) หมายถึง "หมาจิ้งจอก" ส่วนชื่อชนิดทางวิทยาศาตร์คำว่า zerda มาจากภาษากรีกคำว่า xeros ซึ่งหมายถึง "ความแห้ง" อันหมายถึงสภาพของสถานที่อยู่อาศัยนั่นเอง ด้วยรูปลักษณ์ที่น่ารัก และมีขนาดเล็ก จึงทำให้หมาจิ้งจอกเฟนเนกกลายเป็นสัตว์เลี้ยงชนิดหนึ่งของมนุษย์ เช่นเดียวกับ สัตว์เลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลินชนิดอื่น ๆ นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นฉายาของทีมฟุตบอลทีมชาติแอลจีเรียอีกด้วย โดยเรียกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า Les Fennecs หมายถึง "หมาจิ้งจอกทะเลทราย".

ดู มนุษย์และหมาจิ้งจอกเฟนเนก

หมาป่าดิงโก

หมาป่าดิงโก (อังกฤษ: Dingo) สุนัขป่าชนิดหนึ่ง พบได้เฉพาะที่ออสเตรเลียเท่านั้น หมาป่าดิงโกเป็นสุนัขป่าเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่มีรูปร่างหน้าตาคล้ายสุนัขบ้านมากที่สุด จึงสันนิษฐานว่าบรรพบุรุษของหมาป่าดิงโก สืบเชื้อสายมาจากสุนัขบ้านจากเอเชียอาคเนย์ (รวมถึงประเทศไทยด้วย) โดยเข้ามาอยู่ในออสเตรเลียเมื่อราว 3,000-4,000 ปีก่อน หมาป่าดิงโกจัดเป็นสัตว์เพียงชนิดเดียวเท่านั้นในวงศ์สุนัข (Canidae) ที่พบในออสเตรเลีย แผนที่แสดงความเป็นไปได้ในการอพยพของหมาป่าดิงโก หมาป่าดิงโกเป็นสุนัขป่าขนสั้น หางเป็นพวง สีขนมีหลากหลายมาก ส่วนใหญ่จะเป็นสีน้ำตาลอมเหลือง ในบางตัวอาจมีสีเทาหรือแดง แม้กระทั่งขาวล้วนหรือดำล้วนก็มี มีอุปนิสัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ มีนิสัยดุร้ายและปราดเปรียวมาก แม้พื้นที่ ๆ อาศัยอยู่จะเป็นทะเลทรายหรือที่ราบกว้างใหญ่ แต่หมาป่าดิงโกก็สามารถป่ายปีนก้อนหินหรือหน้าผาได้อย่างคล่องแคล่ว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ สูงประมาณ 52-60 เซนติเมตร ความยาวลำตัวตั้งแต่ปลายจมูกจรดหาง 117-124 เซนติเมตร น้ำหนักตัวประมาณ 13-24 กิโลกรัม หมาป่าดิงโกจัดเป็นสัตว์อันตรายชนิดหนึ่งในออสเตรเลีย โดยจะโจมตีใส่สัตว์เลี้ยงของมนุษย์เช่น แกะ หรือ ม้า ได้ แม้กระทั่งโจมตีใส่มนุษย์และทำร้ายจนถึงแก่ความตายได้ด้วย หมาป่าดิงโกเป็นสุนัขที่ไม่เชื่อง ดังนั้น จึงตกเป็นสัตว์ที่ถูกล่าในศตวรรษที่ผ่านมา ปัจจุบัน หมาป่าดิงโก มีสถานะที่มีความเสี่ยงในการสูญพันธุ์ ในทางตอนใต้และตะวันออกของออสเตรเลีย มีการแบ่งเขตเป็นพื้นที่อนุรักษ์พันธุ์หมาป่าดิงโก เพื่อไม่ให้หมาป่าดิงโกเข้ามาปะปนกับมนุษย์หรือสัตว์ชนิดอื่น โดยกั้นเป็นรั้วยาวกว่าครึ่งของประเทศออสเตรเลีย ซึ่งจัดเป็นแนวรั้วที่ยาวที่สุดในโลก ในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และหมาป่าดิงโก

หมาป่านิวกินี

หมาป่านิวกินี (อังกฤษ: New Guinea singing dog, New Guinea highland dog; ชื่อย่อ: NGSD) หมาป่าชนิดหนึ่ง ที่มีรูปร่างหน้าตาคล้ายกับสุนัขบ้านมากที่สุด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Canis lupus hallstromi ในวงศ์สุนัข (Canidae) มีรูปร่างของกะโหลกศีรษะเป็นรูปสี่เหลี่ยม มีส่วนสูง 13-16.5 นิ้ว น้ำหนักประมาณ 17-30 ปอนด์ มีขนสั้นและหนาแน่น มีขนสีน้ำตาลแดง ส่วนท้อง คอ หน้าอก และหางมีสีขาว มีฟันที่มีขนาดใหญ่และแข็งแรงกว่าสุนัขสายพันธุ์อื่น ๆ โดยเฉพาะฟันกรามบน จากการศึกษาซากดึกดำบรรพ์ พบว่าหมาป่านิวกินีอาศัยอยู่บนเกาะนิวกินีมาตั้งแต่ยุคหินแล้ว โดยอยู่ร่วมกับชนพื้นเมืองเช่นเดียวกับสุนัขสายพันธุ์อื่น ๆ ทั่วโลก โดนมีอุปนิสัยฉลาด และเป็นมิตรกับมนุษย์ หมาป่านิวกินี มีจุดเด่นอีกประการคือ เสียงหอนที่แหลมสูงและหอนได้ต่อเนื่องเป็นเวลานานกว่าสุนัขสายพันธุ์อื่น จึงเป็นที่มาของชื่อในภาษาอังกฤษว่า "Singing Dog" (สุนัขร้องเพลง) เป็นที่รู้จักครั้งแรกของชาวโลก ในทศวรรษที่ 50 เนื่องจากชาวตะวันตกที่เดินทางไปศึกษาสัตว์ป่าที่เซาเทิร์นไฮแลนส์ บนเกาะนิวกินี และได้รับรายงานจากการที่หมาป่านิวกินีไปฆ่าเป็ดไก่ของชาวบ้าน และได้รับการอนุกรมวิธาน โดยทีแรกให้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Canis hallstromi แต่ได้มีการเปลี่ยนในภายหลัง โดยจัดให้เป็นชนิดย่อยว่า hallstromi ขณะที่ชื่อสกุลและชนิดใช้ว่า Canis lupus เช่นเดียวกับหมาป่าชนิดที่พบในยุโรป หมาป่านิวกินี ถูกส่งไปสหรัฐอเมริกาครั้งแรกในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และหมาป่านิวกินี

หมึก (สัตว์)

หมึก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาหมึก เป็นสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่ได้รวดเร็ว และว่องไว มีหนวดรอบปาก 4-5 คู่ บนหนวดมีปุ่มดูดเรียงเป็นแถว มีหน้าที่จับเหยื่อป้อนเข้าปาก เป็นสัตว์ที่มีอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา ชั้นเซฟาโลพอดซึ่งเป็นชั้นของสัตว์ที่มีลำตัวอ่อนนิ่ม ชั้นย่อย Coleoidea ต่างจากกลุ่มสัตว์ที่ใกล้เคียงกันคือ Nautiloidea ซึ่งมีเปลือกแข็งห่อหุ้มภายนอกร่างกาย แต่หมึกส่วนใหญ่กลับมีกระดูกหรือเปลือกอยู่ภายในเพื่อใช้ประโยชน์ในการเป็นทุ่นหรือพยุงร่างกาย ซึ่งเรียกว่า ลิ้นทะเล ยังมีบางชนิดที่ไม่มีกระดูก แต่มีกระดูกอ่อนทดแทนเพื่อใช้ในการพยุงโครงสร้างร่างกาย คำว่า Cephalopoda ซึ่งเป็นชื่อชั้นที่ใช้เรียกหมึก มาจากภาษากรีกแปลรวมกันว่า "สัตว์หัว-เท้า" (head-footed animals) เนื่องจากหมึกเป็นสัตว์ที่ไม่มีแขนขา เพียงแต่มีระยางค์ยื่นออกจากจากรอบ ๆ บริเวณปากเรียกว่า หนวด เท่านั้นเอง หมึกวิวัฒนาการมาจากมอลลัสกา ในปลายยุคแคมเบรียน หรือราว 500 ล้านปีก่อน แต่กระนั้นหมึกและหอยในยุคปัจจุบันนี้ ก็ยังมีระบบทางร่างกายหลายอย่างเหมือนกัน กล่าวคือ ระบบทางเดินอาหาร, ปาก, ฟัน และกล้ามเนื้อแบบแมนเทิล ปัจจุบัน ได้มีการค้นพบหมึกแล้วว่า 1,000 ชนิด ชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ หมึกมหึมา (Mesonychoteuthis hamiltoni) ซึ่งเป็นหมึกในอันดับหมึกกล้วย อาศัยอยู่ในห้วงน้ำลึกของมหาสมุทรแอตแลนติก อาจยาวได้ถึง 14 เมตร นับเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย และเล็กที่สุดมีขนาดไม่เกิน 1 เซนติเมตรด้วยซ้ำ เช่น หมึกในวงศ์ Idiosepiidae เป็นต้น หมึกมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการใช้เป็นอาหารมาช้านาน ในแทบทุกวัฒนธรรม หมึกถือเป็นสัตว์ทะเลที่ใช้ปรุงเป็นอาหาร ซึ่งสามารถปรุงสุดได้ทั้งสดและตากแห้ง เช่น ในอาหารไทย เช่น หมึกผัดกะเพรา หรือ หมึกย่าง เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังใช้ทำเป็นอาหารสัตว์ โดยเฉพาะลิ้นทะเล ซึ่งมีแคลเซียมเป็นจำนวนมาก จึงนิยมให้นกหรือสัตว์ปีกกินเพื่อเพิ่มแคลเซียมในร่างกาย นอกจากนี้แล้ว หมึกยังมักถูกอ้างอิงถึงในวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะหมึกยักษ์หรือหมึกที่มีขนาดใหญ่ เช่น โจมตีใส่เรือดำน้ำนอติลุสของกัปตันนีโม ในนวนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง Twenty Thousand Leagues Under the Sea เป็นต้น สำหรับหมึกที่พบในน่านน้ำไทย ได้แก่ หมึกกระดองลายเสือ (Sepia pharaonis), หมึกกล้วย (Photololigo duvauceli), หมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana), หมึกสายราชา (Octopus rex) เป็นต้น เลือดปลาหมึกมีสีน้ำเงิน.

ดู มนุษย์และหมึก (สัตว์)

หมึกกระดอง

ลิ้นทะเล หมึกกระดอง เป็นมอลลัสคาประเภทหมึกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sepiida.

ดู มนุษย์และหมึกกระดอง

หมึกสายวงน้ำเงิน

หมึกสายวงน้ำเงิน หรือ หมึกบลูริง (Blue-ringed octopus) เป็นหมึกในสกุล Hapalochlaena ในอันดับหมึกยักษ์ จัดเป็นหมึกขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง มีจุดเด่น คือสีสันตามลำตัวที่เป็นจุดวงกลมคล้ายแหวนสีน้ำเงินหรือสีม่วงซึ่งสามารถเรืองแสงได้เมื่อถูกคุกคาม ตัดพื้นลำตัวสีขาวหรือเขียว แลดูสวยงามมาก แต่ทว่า หมึกสายวงน้ำเงินนั้นมีพิษที่ผสมอยู่ในน้ำลายที่มีความร้ายแรงมาก ซึ่งร้ายแรงกว่างูเห่าถึง 20 เท่า ผู้ที่ถูกกัดจะตายภายใน 2-3 นาที ทั้งสามารถฆ่าคนได้ 26 คนในคราวเดียว นับเป็นหนึ่งในสัตว์น้ำที่มีพิษร้ายแรงมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก.

ดู มนุษย์และหมึกสายวงน้ำเงิน

หมูหริ่ง

หมูหริ่ง, หมูหรึ่ง หรือ หมูดิน (hog badger, Indian badger) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arctonyx collaris อยู่ในวงศ์ Mustelidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเพียงพอนหรือวีเซล โดยที่หมูหริ่งอยู่ในสกุล Arctonyx นับเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้.

ดู มนุษย์และหมูหริ่ง

หมีกริซลี

หมีกริซลี (grizzly bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) จัดเป็นชนิดย่อยของหมีสีน้ำตาล (U.

ดู มนุษย์และหมีกริซลี

หลักสูตร

หลักสูตร (curriculum (เอกพจน์) หรือ curricula (พหูพจน์)) เป็นคำที่เกิดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเริ่มใช้คำนี้อย่างแพร่หลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยในตำราเรียนเล่มแรกที่เขียนอธิบายเกี่ยวกับหลักสูตรของจอห์น แฟรงคลิน บอบบิทในปี..

ดู มนุษย์และหลักสูตร

หลุมยุบ

หลุมยุบ หลุมยุบ (Sinkhole) คือ ธรณีพิบัติภัยประเภทหนึ่ง ที่มีลักษณะพื้นผิวพังทลายเป็นหลุม ซึ่งเกิดจากหินตะกอนที่มีองค์ประกอบทางเคมีจำพวกคาร์บอเนต เช่น หินปูน ชั้นเกลือ หรือ หินตามธรรมชาติที่สามารถถูกละลายด้วยน้ำ ซึ่งเมื่อเกิดการไหลเวียนของน้ำใต้ดิน จะทำให้หินใต้ดินดังกล่าวละลาย เกิดช่องว่างใต้ดินขึ้น จนถึงจุดๆหนึ่งที่บริเวณพื้นผิวมีน้ำหนักมากเกินไป จะทำให้เกิดการถล่ม เกิดเป็นหลุมยุบ หลุมยุบปรากฏและพบมากในหลายๆ รัฐของประเทศอเมริกา เช่น ฟลอริดา เท็กซัส อลับามา เคนตักกี้ และเพนซิวาเนีย เป็นต้น สาเหตุการเกิดหลุมยุบ ไม่จำเป็นต้องเกิดจากธรรมชาติเท่านั้น อาจจะจากการกระทำของมนุษย์ได้ เช่น การใช้งานที่ดินทางด้านชลประทานหรือการสูบน้ำ เพื่อการก่อสร้างและพัฒนา หรือมีการก่อสร้างและส่งผลกระทบทำให้เกิดการเปลี่ยนทางน้ำ หรือระบบทางน้ำธรรมชาติใหม่ หรือ มีการปล่อยน้ำจากโรงงานอุตสาหรรม ซึ่งจากที่กล่าวมาทำให้เกิดหลุมยุบได้ หรือการบรรทุกของที่หนักเกินไป ถนนที่รถบรรทุกวิ่งผ่านมากๆ ย่อมทำให้เกิดหลุมยุบได้เร็วยิ่งขึ้น.

ดู มนุษย์และหลุมยุบ

หลุยส์ ลีกคี

หลุยส์ ซีมอร์ บาเซตต์ ลีกคี (Louis Seymour Bazett Leakey; 7 สิงหาคม ค.ศ. 1903 - 1 ตุลาคม ค.ศ. 1972) นักบรรพชีวินวิทยาและธรรมชาติวิทยาชาวเคนยา ผู้มีส่วนสำคัญในการศึกษาวิวัฒนาการของมนุษย์จากการเฝ้าสังเกตพฤติกรรมของเอป เป็นกำลังสำคัญในการก่อตั้งองค์กรเพื่อวิจัย และพิทักษ์สัตว์ป่าในแอฟริกา หลุยส์ ลีกคี เกิดในครอบครัวมิชชันนารีชาวอังกฤษที่อาศัยอยู่ในกรุงไนโรบี ประเทศเคนยา จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ แล้วเริ่มงานเป็นหมอสอนศาสนา ก่อนจะหันมาศึกษางานด้านโบราณคดี มานุษยวิทยา และบรรพชีวินวิท.

ดู มนุษย์และหลุยส์ ลีกคี

หอยเต้าปูนกลอรีออฟอินเดีย

หอยเต้าปูนกลอรีออฟอินเดีย (Glory of India) เป็นหอยฝาเดี่ยวในวงศ์หอยเต้าปูน (Conidae) ชนิดหนึ่ง เป็นหอยเต้าปูนชนิดหนึ่ง ที่มีเปลือกสวยงาม มีสีน้ำตาลเข้มเหมือนช็อคโกแล็ต แต้มด้วยลายดอกสีขาวรูปสามเหลี่ยมตลอดทั้งเปลือก มีความยาวตั้งแต่ 46 มิลลิเมตร จนถึง 185 มิลลิเมตร พบแพร่กระจายพันธุ์เฉพาะทะเลอาหรับตั้งแต่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดีย จนถึงทะเลแดง และแอฟริกาใต้ เป็นหอยที่มีเข็มพิษที่ใช้ล่าเหยื่อและป้องกันตัว ด้วยพิษที่ร้ายแรง ที่สามารถทำให้มนุษย์ถึงแก่ชีวิตได้ เหมือนหอยเต้าปูนชนิดอื่น ๆ ขณะที่เปลือกมีความสวยงาม จึงนิยมที่จะเก็บสะสม.

ดู มนุษย์และหอยเต้าปูนกลอรีออฟอินเดีย

หอยเต้าปูนหาดราไวย์

หอยเต้าปูนหาดราไวย์ (Rawai cone snail) เป็นหอยฝาเดี่ยวชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์หอยเต้าปูน (Conidae) เป็นหอยเต้าปูนขนาดเล็ก มีความยาวโดยเฉลี่ย 20-46 มิลลิเมตร ถูกตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ตามชื่อของหาดราไวย์ ในจังหวัดภูเก็ต สถานที่ ๆ พบครั้งแรก มีเข็มพิษที่สามารถฆ่ามนุษย์ให้ถึงแก่ความตายได้เหมือนหอยเต้าปูนชนิดอื่น ๆ สีของเปลือกโดยปกติจะเป็นสีเดียวทั้งเปลือก คือ สีแดงปนส้มสด มีตุ่มเป็นแนวเพียงเล็กน้อย แต่ในบางตัวที่จัดว่าสวยจะนิยมเก็บเป็นของสะสม คือ เปลือกมีสีส้มสลับกับแดงสด มีแถบสีเข้ม-อ่อนสลับกันไล่เรียงเป็นทางยาวตลอดทั้งเปลือก ขณะที่ทางก้นหอยเป็นแต้ม และแถบสลับสีแดงและส้ม ตุ่มขึ้นชัดเจนเหมือนไข่มุกถึง 3-4 ชั้น.

ดู มนุษย์และหอยเต้าปูนหาดราไวย์

หัวโขน

มงกุฏสามกลีบขององคต สีเขียว ปากหุบ ตาโพลง หัวโขน เป็นงานศิลปะชั้นสูง ใช้สำหรับสวมครอบศีรษะ ปิดบังส่วนหน้าของผู้แสดงโขนอย่างมิดชิด เป็นศิลปวัตถุประเภทประณีตศิลป์ และงานศิลปะที่ได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นอย่างวิจิตรตระการตาเช่นเดียวกับเครื่องแต่งกาย ประณีตบรรจงตามแบบช่างไทย มีรูปลักษณะสวยงาม ลักษณะคล้ายหน้ากาก แตกต่างตรงที่เป็นการสร้างจำลองรูปทรงใบหน้าและศีรษะทั้งหมด เจาะช่องเป็นรูกลมที่นัยน์ตาของหัวโขน ให้ตรงกับนัยน์ตาของผู้แสดงเพื่อการมองเห็น แบ่งเป็น 2 ประเภทคือหัวโขนสำหรับใช้ในการแสดง หมายความถึงหัวโขนที่สื่อถึงตัวละครนั้น ๆ เช่น พระ ยักษ์ เทวดา วานรและสัตว์ต่าง ๆ สร้างขึ้นด้วยกรรมวิธีแบบโบราณ ตามเอกลักษณ์ของหัวโขนที่ถูกต้องและสมบูรณ์แบบของศิลปะไทย และหัวโขนที่ใช้สำหรับเป็นของประดับตกแต่งหรือของที่ระลึก หมายความถึงหัวโขนที่ทำขึ้นโดยการหล่อ ปั้น ฉีดและขึ้นรูปด้วยพลาสติกหรือกรรมวิธีอื่น ๆ ลงรักปิดทอง ประดับกระจก.

ดู มนุษย์และหัวโขน

หัวเราะ

หนุ่มสาวขณะที่กำลังหัวเราะ หัวเราะ เป็นการแสดงออกของมนุษย์ที่มีภาวะอารมณ์ขัน หัวเราะเป็นปฏิกิริยาต่อเรื่องขำขัน สิ่งที่น่าขัน โดยแสดงออกเป็นการเปล่งเสียงพร้อมกับยิ้ม การหัวเราะโดยผิดธรรมชาติ อาจเกิดได้เช่น การได้รับก๊าซหัวเราะ เป็นต้น.

ดู มนุษย์และหัวเราะ

หุ่นยนต์

อาซีโม คือ android หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้า ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกันและคล้ายคลึงกับมนุษย์ หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ การควบคุมระบบต่าง ๆ ในการสั่งงานระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ สามารถทำได้โดยทางอ้อมและอัตโนมัติ โดยทั่วไปหุ่นยนต์ถูกสร้างขึ้นเพื่อสำหรับงานที่มีความยากลำบากเช่น งานสำรวจในพื้นที่บริเวณแคบหรืองานสำรวจดวงจันทร์ดาวเคราะห์ที่ไม่มีสิ่งมีชีวิต ปัจจุบันเทคโนโลยีของหุ่นยนต์เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เริ่มเข้ามามีบทบาทกับชีวิตของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านอุตสาหกรรมการผลิต แตกต่างจากเมื่อก่อนที่หุ่นยนต์มักถูกนำไปใช้ ในงานอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีการนำหุ่นยนต์มาใช้งานมากขึ้น เช่น หุ่นยนต์ที่ใช้ในทางการแพทย์ หุ่นยนต์สำหรับงานสำรวจ หุ่นยนต์ที่ใช้งานในอวกาศ หรือแม้แต่หุ่นยนต์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นเครื่องเล่นของมนุษย์ จนกระทั่งในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาให้หุ่นยนต์นั้นมีลักษณะที่คล้ายมนุษย์ เพื่อให้อาศัยอยู่ร่วมกันกับมนุษย์ ให้ได้ในชีวิตประจำวันได้ หุ่นยนต์ถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ 1.หุ่นยนต์ชนิดที่ติดตั้งอยู่กับที่ (fixed robot) เป็นหุ่นยนต์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปไหนได้ด้วยตัวเอง มีลักษณะเป็นแขนกล สามารถขยับและเคลื่อนไหวได้เฉพาะแต่ละข้อต่อ ภายในตัวเองเท่านั้น มักนำไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่นโรงงานประกอบรถยนต์ 2.

ดู มนุษย์และหุ่นยนต์

หุ่นยนต์อัตโนมัติ

หุ่นยนต์อัตโนมัติ (Autonomous robots) เป็นหุ่นยนต์ที่สามารถทำงานตามคำสั่งที่กำหนดได้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ไม่แน่นอนโดยปราศจากการควบคุมจากมนุษย์ ในปัจจุบันหุ่นยนต์หลายชนิดมีคุณสมบัติของความอัตโนมัติ (autonomy)ในระดับหนึ่ง หุ่นยนต์ต่างชนิดถูกสร้างต่างวัตถุประสงค์ ความอัตโนมัติก็จะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับชนิดของงาน งานบางอย่างต้องการหุ่นยนต์ที่มีความอัตโนมัติสูง เช่นงานสำรวจอวกาศ, งานตัดหญ้า, งานดูดฝุ่น และงานบำบัดน้ำเสียเป็นต้น สำหรับหุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมยุคใหม่ แม้ว่าตัวหุ่นยนต์ประเภทแขนกล (Robot arm) จะถูกยึดอยู่กับที่ เราก็สามารถพิจารณาได้ว่ามันมีความอัตโนมัติภายใต้สภาวะแวดล้อมของมัน ซึ่งเป้าหมายในการทำงานของมันคือหยิบจับวัตถุที่ไหลมาตามสายพานให้ถูกต้อง โดยจะไม่ทราบได้เลยว่าวัตถุชิ้นต่อไปจะผ่านมาเมื่อไร จึงกล่าวได้ว่า ความอัตโนมัติเป็นสาขาหนึ่งของวิทยาการหุ่นยนต์อันจะช่วยให้หุ่นยนต์สามารถอยู่รอดในสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นพื้นดิน ใต้น้ำ ในอากาศ ใต้ดิน หรือในอวกาศ หุ่นยนต์อัตโนมัติแบบสมบูรณ์ (fully autonomous robot) เรียกได้ว่าเป็นหุ่นยนต์ที่มีความสามารถดังต่อไปนี้.

ดู มนุษย์และหุ่นยนต์อัตโนมัติ

หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์

อาซิโม ของฮอนด้า ตัวอย่างหนึ่งของหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ (อังกฤษ: humanoid robot) คือหุ่นยนต์ที่ออกแบบขึ้นมาโดยมีพื้นฐานมาจากร่างกายมนุษย์ โดยทั่วไปแล้วหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์มีลำตัวพร้อมหัว สองแขน และสองขา แม้หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์บางรูปแบบจะจำลองเฉพาะบางส่วนของร่างกายเท่านั้น ตัวอย่างเช่น ตัวแต่เอวขึ้นไป หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์บางตัวยังอาจมี 'ใบหน้า' พร้อม 'ตา' และ 'ปาก' อีกด้วย แอนดรอยด์ (android) คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่สร้างเลียนแบบมนุษย์เพศชาย และ gynoid คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่สร้างเลียนแบบมนุษย์เพศหญิง หุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์เป็นหุ่นยนต์อัตโนมัติ เนื่องจากมันสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมหรือตัวมันเอง และยังคงทำงานต่อเพื่อบรรลุเป้าหมาย สิ่งนี้เป็นข้อแตกต่างหลักระหว่างฮิวแมนนอยด์และหุ่นยนต์ชนิดอื่น เช่นหุ่นยนต์อุตสาหกรรม ที่ใช้ปฏิบัติภารกิจในสภาพแวดล้อมที่มีโครงสร้างชัดเจนมาก ในบริบทนี้ ความสามารถของหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์อาจรวมถึง แต่ไม่จำกัดแค่สิ่งเหล่านี้.

ดู มนุษย์และหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์

หุ่นไล่กา

หุ่นไล่กา กลางนาข้าวในประเทศญี่ปุ่น หุ่นไล่กา เป็นหุ่นสร้างขึ้นเลียนแบบมนุษย์ ปักไว้ในนา เพื่อให้นกที่จะมาจิกกินพืชผลตกใจกลัว โดยมากจะทำจากฟางข้าว หุ่นไล่กาในแต่ละท้องถิ่นมีลักษณะการสร้างที่แตกต่างกันไป แต่โดยมากมีลักษณะร่วมกันคือ รูปร่างคล้ายคน มีแขน ขา ศีรษะ คล้ายคนจริง อาจจะสวมหมวกฟางเก่าที่ไม่ใช้แล้ว ที่แขนทั้งสองข้างขยับได้เมื่อโดนลมพัด ทำให้นกตกใจกลัว ไม่กล้าเข้ามา หุ่นหรืออุปกรณ์แบบอื่นที่สร้างขึ้นเพื่อไล่นกในนา หรือในทุ่งไร่ ก็นิยมเรียกว่าหุ่นไล่กา เช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน พื้นที่ทำนาลดน้อยลง และศัตรูพืชมีมากขึ้น การสร้างหุ่นไล่กาเพื่อจุดประสงค์ดังกล่าวจึงไม่ค่อยปรากฏ เว้นแต่จะสร้างขึ้นเพื่อความสนุกสนาน เป็นงานอดิเรก หรือประโยชน์อย่างอื่น หมวดหมู่:เกษตรกรรม หมวดหมู่:ศิลปะ.

ดู มนุษย์และหุ่นไล่กา

หู

หู เป็นอวัยวะของสัตว์ที่ใช้การดักคลื่นเสียง เป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทการได้ยิน สัตว์แต่ละประเภทจะมีตำแหน่งหูที่แตกต่างกันออกไป.

ดู มนุษย์และหู

หูชั้นในรูปหอยโข่ง

หูชั้นในรูปหอยโข่ง หรือ อวัยวะรูปหอยโข่ง หรือ คอเคลีย (cochlea,, จาก κοχλίας, kōhlias, แปลว่า หมุนเป็นวงก้นหอย หรือเปลือกหอยทาก) เป็นอวัยวะรับเสียงในหูชั้นใน เป็นช่องกลวงมีรูปร่างเป็นก้นหอยโข่งอยู่ในกระดูกห้องหูชั้นใน (bony labyrinth) โดยในมนุษย์จะหมุน 2.5 ครั้งรอบ ๆ แกนที่เรียกว่า modiolus และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 9 มม.

ดู มนุษย์และหูชั้นในรูปหอยโข่ง

หงส์

หงส์ (มักเขียนผิดเป็น หงษ์) เป็นนกน้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ในสกุล Cygnus ในวงศ์ Anatidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเป็ดและนกเป็ดน้ำ มีลักษณะทั่วไป มีขนสีขาวทั้งตัว จะงอยปากสีเหลืองส้มและมีปุ่มสีดำที่ฐานของปาก มักรวมฝูงในบึงน้ำเพื่อกินพืชน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบในทวีปเอเชียทางตอนเหนือ, ยุโรปทางตอนเหนือ, อเมริกา และออสเตรเลีย หงส์ สามารถร่อนลงบนพื้นน้ำแข็งหรือผิวน้ำที่เยือกตัวเป็นน้ำแข็งได้ เพราะมีอุ้งตีนที่ใหญ่คล้ายใบพายซึ่งช่วยกระจายน้ำหนักได้เมื่อร่อนลง แต่จะควบคุมการร่อนได้ดีกว่าในบริเวณที่น้ำแข็งละลาย หงส์มีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก.

ดู มนุษย์และหงส์

หงส์ดำ

หงส์ดำ (Black swan) เป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง จัดเป็นหงส์ชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับหงส์ชนิดอื่น ๆ แต่มีลักษณะเด่น คือ ตัวผู้มีสีขนทั่วตัวสีดำอมเทา ยกเว้นขนปีกสำหรับบินเส้นยาวเท่านั้นที่เป็นสีขาวซึ่งตัดกับลำตัวเห็นเด่นชัดสะดุดตา นัยน์ตาสีแดงเข้ม จะงอยปากสีแดงแต่มีแถบขาว ปลายปาก ขาและเท้าสีดำ ขณะที่ตัวเมียเหมือนตัวผู้ทุกประการ แต่มีขนาดเล็กกว่าและลำคอสั้นกว่า มีขนาดโตเต็มที่ มีความยาวประมาณ 110–142 เซนติเมตร น้ำหนัก 3.7–9 กิโลกรัม ความกว้างของปีกจากข้างหนึ่งไปถึงอีกข้างหนึ่ง 1.6–2 เมตร กระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศออสเตรเลีย เช่น รัฐนิวเซาท์เวลส์, รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย รวมถึงเกาะแทสมาเนีย มีพฤติกรรมชอบรวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ หากินสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ รวมถึงพืช เมล็ดพืช เป็นอาหาร โดยสามารถพบได้ถึงแหล่งน้ำกร่อยหรือน้ำเค็มได้ด้วย เสียงร้องเหมือนเสียงทรัมเป็ต มักร้องในเวลาเย็นหรือกลางแสงจันทร์ในคืนเดือนหงายขณะกำลังบิน เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 2 ปี ทำรังโดยการใช้ เศษกิ่งไม้หรือใบไม้แห้งมาปู วางไข่ครั้งละ 5-6 ฟอง ไข่มีสีขาวแกมเขียว ระยะเวลาฟักไข่นาน 34-37 ฟอง หงส์ดำ เป็นนกที่ไม่พบในประเทศไทย แต่มีรายงานว่าในต้นเดือนกรกฎาคม พ.ศ.

ดู มนุษย์และหงส์ดำ

หนอนมรณะมองโกเลีย

วาดในจินตนาการของหนอนมรณะมองโกเลีย ของ ปีเตอร์ เดิร์ก นักเขียนชาวเบลเยี่ยม หนอนมรณะมองโกเลีย (Mongolian Death Worm) คือ สัตว์ประหลาดที่เชื่อว่ารูปร่างคล้ายหนอนหรือไส้เดือนขนาดใหญ่ อาศัยในทะเลทรายโกบี ในมองโกเลี.

ดู มนุษย์และหนอนมรณะมองโกเลีย

หนังสือปฐมกาล

หนังสือปฐมกาล (Book of Genesis; בראשית; ܣܦܪܐ ܕܒܪܝܬܐ; Γένεση) มาจากภาษากรีกว่า “การเกิด” หรือ “ที่มา” เป็นหนังสือที่กล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโลก มนุษย์ และอิสราเอล ซึ่งเป็นตัวแทนของชนชาติที่พระเจ้าได้เลือกไว้ (ซึ่งมีความนัยทางเทววิทยา) ชื่อ "ปฐมกาล" แปลมาจากคำแรกของคัมภีร์ฮีบรูคำว่า בראשית (B'reshit or Bərêšîth) แปลว่า "ในปฐมกาล..." (in the begining...).

ดู มนุษย์และหนังสือปฐมกาล

หนังสือปัญญาจารย์

หนังสือปัญญาจารย์ (Ecclesiastes) เป็นหนังสือในคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิม เป็นลำดับที่ 4 ในหมวดบทเพลง ผู้เขียนปัญญาจารย์กล่าวถึงตนเพียงว่าเป็นบุตรของ กษัตริย์ดาวิด ของชนชาติอิสราเอลในนครเยรูซาเลม คริสต์ศาสนาเชื่อว่าเป็นกษัตริย์ซาโลมอน เนื้อหากล่าวถึง ชีวประวัติและประสบการณ์ในชีวิตที่วางใจในพระเจ้า ประกอบด้วย คำอุปมา คำพังเพย และคติพจน์ แต่ละประโยคสะท้อนให้เห็นถึง ความหมายของชีวิตและวิธีดำเนินชีวิตอย่างดีที่สุด เน้นถึงกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ ล้วนไร้ค่าไม่มีความหมายใด ล้วนจบลงด้วยความตาย จึงเตือนสติให้แสวงหาสติปัญญา จากพระเจ้า เพื่อเป็นเส้นทางในการดำเนินชีวิตอย่างถูกต้อง ผู้เขียนไม่ได้ชี้ชัดถึงความหมายของชีวิตนิรันดร์ แต่แนะนำให้พอใจในสิ่งที่พระเจ้าประทานให้ในสรรพสิ่งกิจวัตรประจำวัน เช่น หน้าที่ การงาน อาหาร และทรัพย์สินที่ได้โดยชอบธรรม.

ดู มนุษย์และหนังสือปัญญาจารย์

หนุมาน สงครามมหาเทพ

หนุมาน สงครามมหาเทพ (Mahabali Hanuman, Sankatmochan Mahabali Hanuman) เป็นละครโทรทัศน์ที่กล่าวถึงสงครามครั้งสำคัญในวรรณกรรมเรื่องยิ่งใหญ่ รามายณะ ที่กล่าวการยกทัพของพระรามกับพญาทศกัณฐ์ เพื่อชิงเอานางสีดาคืนมา โดยเรื่องนี้จะเน้นตัวละคร หนุมาน เป็นตัวละครหลัก นำแสดงโดย นิรภัย วัทวา, เกกัน มาลิค ออกอากาศทาง ช่อง 8 ออกอากาศ ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 19.00 น.

ดู มนุษย์และหนุมาน สงครามมหาเทพ

หนู

หนู เป็นสกุลของสัตว์ฟันแทะ ที่อยู่ในวงศ์ Muridae ใช้ชื่อสกุลว่า Rattus มีการกระจายพันธุ์อยู่ในซีกโลกที่เรียกว่า "โลกเก่า" อันได้แก่ ทวีปเอเชีย, ยุโรป และแอฟริกา ตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 2–3 เดือน ในขณะที่ตัวผู้อายุ 3 เดือนขึ้นไป.

ดู มนุษย์และหนู

หนูบ้าน

หนูบ้าน, หนูนอร์เวย์, หนูสีน้ำตาล หรือ หนูท่อ เป็นหนูชนิดที่พบเห็นได้บ่อยที่สุด เพราะเป็นหนูชนิดที่กระจายพันธุ์ไปอยู่ทั่วโลก พบได้ทุกสภาพแวดล้อม รวมถึงบ้านเรือนที่อาศัยของมนุษย์ สันนิษฐานว่าหนูบ้านกระจายพันธุ์มาจากประเทศนอร์เวย์ในภูมิภาคสแกนดิเนเวียที่เป็นแหล่งกำเนิดดั้งเดิม ไปทั่วทุกมุมโลกจากการติดไปกับเรือขนส่งสินค้าในยุควิคตอเรีย ซึ่งมันสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทุกรูปแบบได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีอัตราการสืบพันธุ์ที่สูงและทักษะในการเอาตัวรอดที่เยี่ยมอีกด้วย หนูบ้านจัดได้ว่าเป็นหนูชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล Rattus มีน้ำหนักโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 300-350 กรัม (ในบางตัวอาจหนักได้ถึง 400 กรัม) ขนาดลำตัวและหัวยาวประมาณ 180-250 มิลลิเมตร หางยาวประมาณ 150-220 มิลลิเมตร เท้าหลังยาวประมาณ 35-40 มิลลิเมตร หูยาวประมาณ 17-23 มิลลิเมตร ลักษณะขนหยาบมีสีน้ำตาลปนเทา ท้องสีเทา ส่วนจมูกทู่ ใบหูเล็ก ตาเล็ก หางสั้นมี 2 สี ด้านบนสีดำ ด้านล่างสีจาง มีเกล็ดหยาบ ๆ ที่หาง และด้านบนของเท้าหลังมีสีขาว มีเต้านมรวม 6 คู่ อยู่ที่อก 3 คู่ ท้อง 3 คู่ ถ้าอยู่ในชุมชนของมนุษย์ มักอยู่ตามรูท่อระบายน้ำ ใต้ถุนตึกหรือบ้านเรือน บริเวณลำคลอง กองขยะหรือตลาดสด สามารถผสมพันธุ์และออกลูกได้ตลอดทั้งปี โดยออกลูกปีละ 4-7 ครอก ลูกหนึ่งครอกมีจำนวน 8–12 ตัว เริ่มเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3-5 เดือน เมื่อผสมแล้วจะตั้งท้องเพียง 21-22 วัน เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้แทบทุกอย่างและกินไม่เลือก รวมถึงมีพฤติกรรมกินซากพวกเดียวกันเองด้วย แม้จะไม่พบบ่อยมากนัก มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 2 ปี ให้ลูกได้ตลอดทั้งชีวิต 6-10 ครอก จัดเป็นสัตว์ที่สร้างความรำคาญและเป็นพาหะนำโรคระบาดร้ายแรงที่ทำให้ถึงชีวิตมาสู่มนุษย์ได้อย่างมากที่สุดชนิดหนึ่ง เช่น กาฬโรค ที่เคยระบาดอย่างรุนแรงมาแล้วในทวีปยุโรปในยุคกลาง ที่เรียกว่า ความตายสีดำ (Black Death) และโรคอื่น ๆ อีก เช่น โรคฉี่หนู หรือ เลปโตสไปโรซ.

ดู มนุษย์และหนูบ้าน

หนูหริ่งบ้าน

หนูหริ่งบ้าน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ในวงศ์หนู (Muridae) หนูหริ่งบ้านจัดเป็นหนูที่มีขนาดเล็ก น้ำหนักตัวเมื่อโตเต็มที่ทั้งตัวผู้และตัวเมียประมาณ 30-40 กรัม มีขนสีน้ำตาลอ่อนตลอดทั้งลำตัว ส่วนท้องสีขาว ไม่มีขนที่หาง ขาหน้ามี 4 นิ้ว ขาหลังมี 5 นิ้ว ตัวเมียมีเต้านม 10 เต้า มีอายุขัยประมาณ 1.5-3 ปี หนูหริ่งบ้านเป็นสัตว์ที่มีความปราดเปรียวว่องไว ออกหากินในเวลากลางคืน โดยกินอาหารได้แทบทุกอย่างเช่นเดียวกับหนูทั่วไป และจัดเป็นหนูอีกชนิดหนึ่งที่พบได้ตามบ้านเรือนของมนุษย์ มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบแทบทุกมุมของโลกและทุกทวีป แต่เชื่อว่า ดั้งเดิมเป็นสัตว์ที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย ก่อนจะกระจายไปทั่วโลกอย่างในปัจจุบัน หนูหริ่งบ้านเป็นหนูชนิดที่ได้รับความนิยมในการนำมาเป็นสัตว์เลี้ยง โดยมีการปรับปรุงพัฒนาสายพันธุ์โดยชาวจีนและชาวญี่ปุ่นจนกลายเป็นหนูเผือกทั้งตัว ตาสีแดง และพัฒนาจนเป็นสีต่าง ๆ ตามลำตัว โดยแรกเรี่มเลี้ยงกันในพระราชวัง และเป็นหนูชนิดที่นิยมเป็นสัตว์ทดลองและเลี้ยงเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงแก่สัตว์เลื้อยคลาน.

ดู มนุษย์และหนูหริ่งบ้าน

หนูผี

หนูผี (Shrews) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กวงศ์หนึ่ง อยู่ในอันดับตุ่น (Soricomorpha) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Soricidae ครั้งหนึ่ง หนูผีเคยถูกจัดให้อยู่ในอันดับสัตว์กินแมลง (Insectivora) หนูผี มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับหนู ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) ซึ่งเป็นสัตว์คนละอันดับมาก แต่ทว่ามีขนาดเล็กกว่ามาก มีฟันที่แหลมคมที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด สามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า ตามลำตัวมีขนที่อ่อนนุ่มสีคล้ำปกคลุม ตาและใบหูมีขนาดเล็กมากฝังอยู่ในขน ดังนั้นตาและหูของหนูผีใช้การไม่ค่อยดี จึงอาศัยประสาทการดมกลิ่นจากจมูกเป็นหลัก โดยมักจะกระดุกกระดิกจมูกสอดส่ายหากลิ่นตามพื้นดิน หรือบางครั้งก็ชูขึ้นสูดกลิ่นในอากาศ หนูผี โดยขุดรูตื้น ๆ อยู่ในดินหรือซุกซ่อนในพงหญ้า กินอาหารหลักจำพวก แมลง และอาจมีเมล็ดพืชบ้าง หนูผีเป็นสัตว์ที่มีระบบการเผาผลาญอาหารสูงมาก ดังนั้น จึงจะหากินอยู่ตลอดเวลา ด้วยการหากิน 3 ชั่วโมง และนอนหลับ 3 ชั่วโมง เป็นเช่นนี้สลับกันไปตลอด หากไม่เช่นแล้ว อาจทำให้ถึงตายได้ หนูผี เป็นสัตว์ที่มีอุปนิสัยดุร้าย มักกัดกันเองเสมอ ๆ โดยหากเมื่อต่อสู้กันแล้ว มักจะขู่ศัตรูด้วยการยืนด้วยสองขาหลังส่งเสียงร้องแหลมเล็กให้หนีไป หากได้กัดแล้ว จะกัดด้วยการกัดที่หางและขาหลังของกันและกันเป็นวงกลมเช่นนี้ต่อไปเรื่อย ๆ พร้อมกับเสียงดังข่มขู่กันตลอด หนูผี บางชนิดเมื่อกัดแล้วมีพิษ และถือเป็นสัตว์ที่มีต่อมน้ำพิษที่มีกลิ่นเหม็นอย่างรุนแรงอยู่ใต้ผิวหนัง ดังนั้น หนูผีจึงมักไม่ค่อยตกเป็นอาหารของสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ ยกเว้นนกเค้าแมว หนูผี ทำรังด้วยใบไม้และฟาง ออกลูกครอกละ 5-8 ตัว ปีหนึ่ง ๆ อาจออกได้หลายครอก ลูกอ่อนจะสามารถหาเลี้ยงตัวเองได้เมื่อมีอายุได้ 5 สัปดาห์ แต่หนูผีมักมีอายุสั้นไม่เกินหนึ่งปี กระจายพันธุ์ไปในทุกพื้นที่ทุกทวีปของโลก พบในหลากหลายภูมิประเทศ รวมถึงในบ้านเรือนของมนุษย์ หนูผีที่พบในบ้านจะไม่ทำลายข้าวของเหมือนเช่นหนูบ้านทั่วไป เนื่องด้วยไม่ใช่สัตว์ฟันแทะ แต่อาจจะมีขโมยเศษอาหารได้ ทำให้เกิดกลิ่นเหม็บสาบรุนแรง และอาจจะจับแมลงสาบกินได้ และกลิ่นเหม็นอันรุนแรงของหนูผีจะไล่หนูบ้านออกไปได้ นอกจากนี้แล้ว หนูผียังสามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้เก่งกว่าหนูมาก โดยสามารถกลั้นหายใจใต้น้ำได้นานถึง 20 วินาที เพื่อจับสัตว์น้ำต่าง ๆ เช่น หอย หรือตัวอ่อนของแมลงปอ กินเป็นอาหาร หนูผี ในปัจจุบันนี้พบแล้วกว่า 385 ชนิด ใน 26 สกุล แบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยได้ 3 วงศ์ (ดูในตาราง)สำหรับชนิดที่พบได้ในประเทศไทยมีหลายชนิด อาทิ หนูผีบ้าน (Suncus murinus), หนูผีจิ๋ว (S.

ดู มนุษย์และหนูผี

หนูผีบ้าน

หนูผีบ้าน (Asian house shrew, Grey musk shrew, Asian musk shrew) เป็นหนูผีชนิดหนึ่ง มีสีขนและหางสีเทาอมดำตลอดตัว จมูกยื่นแหลมยาว ตามีขนาดเล็กมาก มีความยาวตั้งแต่ปลายจมูกถึงรูทวารประมาณ 9-14.5 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 100 กรัม จัดเป็นหนูผีที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย หนูผีบ้าน เป็นหนูผีชนิดที่สามารถพบได้ทั่วไปอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ทวีปแอฟริกาฝั่งตะวันออก และเกาะมาดากัสการ์ เรื่อยมาจนถึงอนุทวีปอินเดีย, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงเอเชียตะวันออก เป็นหนูผีที่สามารถปรับตัวให้อยู่กับสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย สามารถพบได้ในที่ชุมชนของมนุษย์ หรือในบ้านเรือน เป็นสัตว์ที่กินแมลงเป็นหลัก ในประเทศไทยพบได้ทุกภูม.

ดู มนุษย์และหนูผีบ้าน

หนูผีจิ๋ว

หนูผีจิ๋ว หรือ หนูผีอีทรัสแคน (Dwarf shrew, Etruscan pygmy shrew) เป็นหนูผีชนิดหนึ่ง หนูผีจิ๋ว มีเท้าหลังสั้นมากและมีสีคล้ำในตัวเต็มวัย กะโหลกลาดแบน จมูกแหลมยาวมาก ตามีขนาดเล็กมาก ใบหูมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดลำตัว มีความจากหลายจมูกถึงรูทวารเพียง 4–5.6 เซนติเมตร และมีน้ำหนักเพียง 1.8 กรัม เท่านั้น ซึ่งครั้งหนึ่งเคยถูกจัดให้เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลกมาแล้ว ก่อนจะถูกแทนที่ตำแหน่งนี้ด้วยการค้นพบค้างคาวคุณกิตติ (Craseonycteris thonglongyai) ในเวลาต่อมา หนูผีจิ๋ว มีพฤติกรรมชอบอาศัยในที่เปียกชื้นและมีหญ้าขึ้นรก หากินแมลงขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ตามพื้นดินเป็นอาหาร ไม่จัดว่าเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองแต่อย่างใด พบกระจายพันธุ์ในทวีปยุโรป, แอฟริกาเหนือ และบางส่วนในทวีปเอเชีย สำหรับในประเทศไทย พบได้ในป่าในภาคเหนือ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ดู มนุษย์และหนูผีจิ๋ว

หนูจี๊ด

หนูจี๊ด (อังกฤษ: Polynesian rat, Pacific rat; ชื่อวิทยาศาสตร์: Rattus exulans) เป็นหนูชนิดหนึ่งในวงศ์ Muridae วงศ์ย่อย Murinae เป็นหนูที่มีขนาดเล็กที่สุดที่อยู่ในสกุล Rattus มีขนสีน้ำตาลเข้มจนถึงดำ ขนชั้นนอกแข็ง หางมีสีดำเรียบสนิทมีความยาวกว่าความยาวลำตัวและหัวรวมกันเสียอีก และไม่มีขน ส่วนท้องสีขาว มีความยาวลำตัวและหัว 10.5 เซนติเมตร หางยาว 12.8 เซนติเมตร น้ำหนัก 36 กรัม ตัวเมียมีเต้านมทั้งหมด 4 คู่ 2 คู่แรกอยู่ที่หน้าอก อีก 2 คู่อยู่ที่หน้าท้อง สามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปี โดยตั้งท้องนานประมาณ 21-22 วัน ตกลูกครั้งละ 7-12 ตัว ปีหนึ่งสามารถออกลูกได้ราว 5-6 ครอก อายุขัยมากที่สุดที่พบประมาณ 6 ปี หนูจี๊ด เป็นหนูที่สามารถพบได้ทั่วไปตามบ้านเรือน พื้นที่เกษตรกรรมเช่น โรงนา, ยุ้งฉาง แต่กลับไม่พบในที่นา และสามารถพบได้ในป่าและถ้ำ เป็นหนูที่มีพฤติกรรมว่องไวมาก ทำรังโดยไม่ขุดรู สามารถปีนป่ายและกระโดดได้เก่ง สามารถไต่ไปตามเส้นลวดที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางแคบ ๆ ได้เป็นระยะทางหลายเมตร โดยใช้หางที่ยาวนั้นช่วยทรงตัวและเกาะเกี่ยว ว่ายน้ำเก่ง กินอาหารได้แทบทุกชนิด และกินอาหารตามที่มนุษย์กินได้ด้วย โดยกินมากเป็นน้ำหนักประมาณ 10 เท่าของน้ำหนักตัวต่อวัน พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์จนถึงภูมิภาคออสตราเลเชีย, โอเชียเนีย จนถึงฮาวายและโพลินีเซีย โดยมีชื่อเรียกในภาษาเมารีว่า kiore จัดเป็นหนูชนิดหนึ่งที่สามารถพบได้ตามบ้านเรือนเช่นเดียวกับ หนูท้องขาว (R.

ดู มนุษย์และหนูจี๊ด

หน่วยรับกลิ่น

รงสร้างของ rhodopsin ซึ่งเป็น G protein-coupled receptor ที่หน่วยรับกลิ่นจะมีโครงสร้างคล้าย ๆ doi.

ดู มนุษย์และหน่วยรับกลิ่น

หน่วยรับรส

หน่วยรับรส (taste receptor) เป็นหน่วยรับความรู้สึกประเภทหนึ่ง อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์รับรส และอำนวยให้รู้รส เมื่ออาหารหรือสารอื่น ๆ เข้ามาในปาก โมเลกุลของอาหารที่ละลายอยู่ในน้ำลายจะจับกับหน่วยรับรสในช่องปากและในที่อื่น ๆ ซึ่งก่อปฏิกิริยาภายในเซลล์ และในที่สุดทำให้เซลล์หลั่งสารสื่อประสาท อำนวยให้เกิดกระแสประสาทส่งไปยังสมอง แล้วทำให้รู้รส ระบบรับรสมีหน้าที่หลักเกี่ยวกับสารอาหาร มนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสามารถรับรู้รสหลัก ๆ ได้ 5 อย่างคือ รสเค็ม เปรี้ยว หวาน ขม และอุมะมิ หน่วยรับรสสามารถแบ่งออกเป็นแบบทั่ว ๆ ไปสองหมู่คือ.

ดู มนุษย์และหน่วยรับรส

หน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีน

รงสร้างแบบ α-helix โดยมีโดเมนข้ามเยื่อหุ้มเซลล์ 7 โดเมนของ G protein-coupled receptor หน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีน (G protein-coupled receptors ตัวย่อ GPCRs) ที่มีชื่ออื่น ๆ อีกว่า seven-(pass)-transmembrane domain receptors, 7TM receptors, heptahelical receptors, serpentine receptor, และ G protein-linked receptors (GPLR), เป็นกลุ่ม (family) โปรตีนหน่วยรับ (receptor) กลุ่มใหญ่ ที่ตรวจจับโมเลกุลนอกเซลล์ แล้วจุดชนวนวิถีการถ่ายโอนสัญญาณ (signal transduction) ภายในเซลล์ ซึ่งในที่สุดมีผลเป็นการตอบสนองของเซลล์ เป็นหน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีน (G protein) ที่เรียกว่า seven-transmembrane receptor เพราะมีโครงสร้างที่ข้ามผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ถึง 7 ครั้ง GPCRs จะพบแต่ในยูแคริโอตรวมทั้งยีสต์, choanoflagellate, และสัตว์ ลิแกนด์ที่จับและเริ่มการทำงานของหน่วยรับเช่นนี้รวมทั้งสารประกอบไวแสง กลิ่น ฟีโรโมน ฮอร์โมน และสารสื่อประสาท โดยมีขนาดต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่โมเลกุลเล็ก ๆ จนถึงเพปไทด์และโปรตีนขนาดใหญ่ GPCRs มีบทบาทในโรคหลายอย่าง และเป็นเป้าหมายการออกฤทธิ์ของยาปัจจุบันประมาณ 34% มีวิถีการถ่ายโอนสัญญาณสองอย่างเกี่ยวกับ GPCRs คือ.

ดู มนุษย์และหน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีน

ห่าน

ห่าน จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์ปีก เป็นสัตว์ที่มนุษย์นิยมนำมาเลี้ยงเพื่อเฝ้าบ้าน หรือกำจัดวัชพืชในสวน และนำมาเลี้ยงเพื่อบริโภคเป็นอาหาร ห่าน จัดเป็นนกขนาดใหญ่ที่อยู่ในวงศ์ Anatidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเป็ด, หงส์ และนกเป็ดน้ำชนิดต่าง ๆ ห่านมีลักษณะทั่วไปคล้ายกับหงส์ แต่หงส์มีขนาดใหญ่กว่า และมีจุดเด่น คือ ในตัวผู้เมื่อถึงวัยโตเต็มที่แล้วจะมีปุ่มเนื้อแข็งหรือโหนกบริเวณก่อนถึงจะงอยปากตอนบน เด่นเห็นได้ชัดเจน ห่าน แบ่งออกได้เป็น 3 สกุล ด้วยกัน (ดูในตาราง) แต่ในส่วนในประเทศไทยที่กลายมาเป็นต้นสายพันธุ์ห่านที่เลี้ยงกันในเชิงพาณิชย์อย่างในปัจจุบัน ได้แก่ ห่านเทาปากชมพู (Anser anser) และห่านเทาปากดำ (A.

ดู มนุษย์และห่าน

อมนุษย์

อมนุษย์ เป็นศัพท์ในบาลี-สันสกฤษ 1.

ดู มนุษย์และอมนุษย์

อรสา พรหมประทาน

อรสา พรหมประทาน มีชื่อเล่นว่า "ติ๋ว" มีชื่อจริงชื่อ อรสา ทองพรหม เข้าสู่วงการบันเทิงจากการประกวด และได้รางวัล มิสเอซี ประจำปี..

ดู มนุษย์และอรสา พรหมประทาน

อรหัน

ประติมากรรมอรหัน ผลงานของธงชัย ศรีสุขประเสริฐ อรหัน (/ออ-ระ-หัน/) เป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ชนิดหนึ่ง มีรูปร่างตัวและปีกเป็นนก มี 2 เท้า แต่มีศีรษะเป็นมนุษย์หรือยักษ์ คล้ายกับกินรี อรหัน มีอีกชื่อหนึ่งเรียกว่า "จิงโจ้" มักพบตามภาพจิตรกรรมฝาผนังต่าง ๆ เช่น จิตรกรรมฝาผนังที่อุโบสถวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร หรือภาพลายรดน้ำตามตู้พระธรรม เป็นต้น.

ดู มนุษย์และอรหัน

อวสานวิทยา

อวสานวิทยา หรือ โลกาวินาศศาสตร์ (Eschatology) เป็นการศึกษาเหตุการณ์ที่จะเป็นจุดสิ้นสุดของประวัติศาสตร์โลก หรือชะตากรรมสุดท้ายของมนุษยชาติ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะหมายถึงการสิ้นสุดของทั้งจักรวาล.

ดู มนุษย์และอวสานวิทยา

อวสานผีชีวะ

อวสานผีชีวะ เป็นภาพยนตร์แอคชั่นที่ออกฉายในปี..

ดู มนุษย์และอวสานผีชีวะ

อวัยวะ

อวัยวะ เป็นกลุ่มของเนื้อเยื่อที่มีหน้าที่คล้ายกัน พืชและสัตว์ต้องพึ่งอวัยวะหลายชิ้นในระบบอวัยวะ หน้าที่ของระบบอวัยวะมักจะมีหน้าที่ทับซ้อนกัน เช่น ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ทั้งในระบบประสาท (nervous system) และระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ทำให้การศึกษาทั้งสองระบบมักจะทำร่วมกันเรียกว่า ระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ (neuroendocrine system) เช่นเดียวกันกับ ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (musculoskeletal system) ซึ่งเป็นความเกี่ยวข้องกันระหว่างระบบกล้ามเนื้อ (muscular system) และ ระบบโครงกระดูก (skeletal system).

ดู มนุษย์และอวัยวะ

อสูรน้อยคิทาโร่

อสูรน้อยคิทาโร่ เป็นภาพยนตร์ญี่ปุ่น แนวแอ็คชั่นแฟนตาซี ที่สร้างมาจากการ์ตูนเรื่อง อสูรน้อยคิทาโร่ นำแสดงโดย เอย์จิ เวนท์ซ, เรนะ ทานากะ, คันเป ฮาซามะ, โย โออิซุมิ เข้าฉายในประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ.

ดู มนุษย์และอสูรน้อยคิทาโร่

ออมนิทริกซ์

ออมนิทริกซ์ (Omnitrix) เป็นอุปกรณ์ของมนุษย์ต่างดาว จากการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกาเรื่องเบ็นเท็น มีลักษณะคล้ายๆกับกำไลข้อมือ ซึ่งเบ็น ตัวเอกของเรื่องหรือตัวละครอื่นๆในเรื่อง ใช้มันเปลี่ยนร่างเป็นเอเลี่ยนที่ถูกเก็บอยู่ข้างใน ซึ่งนิสัยมักจะนึกคิดของตัวเองอยู่เสมอ.

ดู มนุษย์และออมนิทริกซ์

อะมิกดะลา

มองมนุษย์แบ่งหน้าหลัง อะมิกดะลามีสีแดงเข้ม อะมิกดะลา (พหูพจน์: amygdalae ออกเสียงว่า เอกพจน์: amygdala หรือ corpus amygdaloideum มาจาก ἀμυγδαλή, amygdalē, แปลว่า อัลมอนด์, ทอนซิล แสดงไว้ในตำรากายวิภาคของเกรย์ ว่า nucleus amygdalæ) เป็นกลุ่มของนิวเคลียสรูปอัลมอนด์ ฝังลึกอยู่ในสมองกลีบขมับส่วนกลาง (medial temporal lobe) ในสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ซับซ้อนรวมทั้งมนุษย์ด้วย อะมิกดะลามีบทบาทที่สำคัญที่สุดในการปฏิบัติการในระบบความจำ กับในการตอบสนองโดยความรู้สึก และเป็นส่วนหนึ่งของระบบลิมบิก.

ดู มนุษย์และอะมิกดะลา

อัญชลี ไชยศิริ

อัญชลี ไชยศิริ (ชื่อเล่น: จุ๋ม; 22 เมษายน พ.ศ. 2499 — 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2556) เป็นนักแสดงหญิงชาวไท.

ดู มนุษย์และอัญชลี ไชยศิริ

อัมเบรลลาคอร์ปอเรชัน

The Umbrella Corporation อัมเบรลลาคอร์ปอเรชัน (Umbrella Corporation) เป็นบริษัท ในเกม และภาพยนตร์ Resident Evil ตามชื่อ ภาษาอังกฤษ (หรือ"Biohazard"" ใน ภาษาญี่ปุ่น)ไม่ใช่เป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นแต่ประการใด โดยเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นกับเมือง Raccoon Cityซึ่งเป็นเมืองสมมุติ โดยเป็นเมืองเล็กๆที่อยู่ตรงรอยต่อระหว่าง สหรัฐ กับ แคนนาดา โดยตามเนื้อเรื่องนั้นปัจจุบันเมืองนี้ได้ถูกลบออกจากแผนที่โลกไปแล้ว (Umbrella Corporation)เป็นบริษัทถูกก่อตั้งเพื่อผลิตเวชภัณฑ์ยา และได้ทำการทดลองด้านการทหารเพือเป็นอาวุธ เชื้อโรคในการโจมตีเพื่อควบโลกโดยการร่วมมือกัน ระหว่าง สหรัฐ และ พันธมิตร ได้มีการวิจัยไวรัสอันตรายเพื่อนำไปเพิ่มความสามารถทางกายจนเกิดการทดลองกับสัตว์ที่กระหายเลือดทำให้ได้รับ ผลดังกล่าวจนเป็นมนุษย์พันธุ์พิเศษ แต่ด้วยความต้องการที่กระหายได้มีการขัดแย้งจนไวรัสนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุ์กรรมของไวรัสจนสามารถเปลี่ยนศพและมนุษย์เป็นปีศาจได้.

ดู มนุษย์และอัมเบรลลาคอร์ปอเรชัน

อัลมาส์

อัลมาส์ หรือ อัลมาตี (อังกฤษ: Almas; Almasty, Almasti; บัลแกเรีย: Алмас; เชเชน; Алмазы, ตุรกี: Albıs; มองโกล: Алмас; ภาษามองโกลแปลว่า "คนป่า") สิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ที่เชื่อว่ามีรูปร่างคล้ายมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ พบตามเทือกเขาและป่าในภูมิภาคเอเชียกลาง รวมถึงไซบีเรีย มีลักษณะคล้าย เยติ ในเทือกเขาหิมาลัย และ บิ๊กฟุต ในทวีปอเมริกาเหนือ.

ดู มนุษย์และอัลมาส์

อัลลอฮ์

นาอิสลามเรียกพระเป็นเจ้าว่า อัลลอฮ์ บ้างก็สะกดว่า อัลลอฮฺ, อัลลอหฺ หรือ อัลเลาะห์ ตรงกับภาษาอังกฤษ "God" เชื่อว่าทรงเป็นพระผู้สร้างมนุษย์ สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต และทุกสรรพสิ่งในจักรวาล พระองค์ทรงมีโดยไร้จุดเริ่มต้น และทรงมีอยู่นิรันดร์โดยไม่มีจุดจบ พระองค์แตกต่างกับทุกสรรพสิ่งอย่างสิ้นเชิง ทรงดำรงด้วยพระองค์เอง มิต้องทรงพึ่งพาสิ่งใด พระองค์เป็นพระผู้เป็นเจ้าเอกองค์เดียว ไม่มีพระผู้เป็นเจ้าอื่นใดอีกนอกเหนือจากพระองค์ ตามความเชื่อของอิสลาม อัลลอฮ์ทรงมีความสามารถในการบันดาลทุกสรรพสิ่ง ทรงรอบรู้โดยไม่จำกัดขอบเขต อัลลอฮ์เป็นพระปฐมนามแห่งพระองค์ พระองค์มีพระนามอันวิจิตรอื่น ๆ อีกมากถึง 99 พระนาม ซึ่งบ่าวของพระองค์สามารถใช้นามเหล่านั้นเรียกพระองค์ได้ พระองค์ทรงบริสุทธิ์ ไม่มีบุตร ไร้ภาคี ทรงอยู่นอกเหนือกาละและเทศะ เพราะทั้งสองสิ่งนั้น เป็นสิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง พระองค์ทรงกำหนดระบบและปัจจัยของทุกสรรพสิ่ง อีกทั้งยังได้กำหนดจุดเริ่มต้นและจุดจบของสรรพสิ่งที่พระองค์สร้างทั้งมวล อัลลอฮ์ คืออัตมันที่ทรงสิทธิในการได้รับการเคารพบูชาอย่างแท้จริง ไม่มีสิ่งใดอย่างเด็ดขาดที่ควรแก่การเคารพบูชานอกเหนือจากพระองค์ ชาวมุสลิมถือว่าอัลลอฮ์คือพระยาห์เวห์ในศาสนาคริสต์และศาสนายูดาห.

ดู มนุษย์และอัลลอฮ์

อัลคาไลน์ ฟอสฟาเตส

อัลคาไลน์ฟอสฟาเตส (alkaline phosphatase, ALP) เป็นเอนไซม์ไฮโดรเลสที่ทำหน้าที่ย้ายหมู่ฟอสเฟตจากโมเลกุลหลายชนิด เช่นนิวคลีโอไทด์ โปรตีน และอัลคาลอยด์ กระบวนการดึงหมู่ฟอสเฟตออกเรียกว่า ดีฟอสโฟริเลชัน (dephosphorylation) ซึ่งจากชื่อก็แสดงให้เห็นว่าอัลคาไลน์ฟอสฟาเตสทำงานได้ดีในสภาพแวดล้อมที่เป็นเป็นเบส (alkaline) ค่า pH ที่เหมาะสมที่สุดของการทำงานของเอนไซม์นี้ใน E.

ดู มนุษย์และอัลคาไลน์ ฟอสฟาเตส

อัลโซ สปราค ซาราธุสตรา (ชเตราส์)

ต้นฉบับจดหมาย ลายมือของนีทเช ถึง Heinrich Köselitz เพื่อนสนิท ระบุว่าจะตั้งชื่อหนังสือว่า Also sprach Zarathustra โน้ตเพลงของชเตราส์ อัลโซ สปราค ซาราธุสตรา (Also sprach Zarathustra; Thus Spoke Zarathustra, Op.

ดู มนุษย์และอัลโซ สปราค ซาราธุสตรา (ชเตราส์)

อันดับกบ

กบ เป็นอันดับของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anura (/อะ-นู-รา/) มีรูปร่างโดยรวม คือ เป็นสัตว์ไม่มีหาง เพราะกระดูกสันหลังส่วนหางได้เชื่อมรวมเป็นชิ้นเดียวยาว กระดูกสันหลังลดจำนวนลงมาจากสัตว์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เพราะมีไม่เกิน 9 ปล้อง มีขาหลังยาวจากการยืดของกระดูกทิเบียกับกระดูกฟิบูลาและของกระดูกแอสทรากากัสกับกระดูกแคลลาเนียม โดยมีบางส่วนเชื่อมติดกันและเต็มไปด้วยมัดกล้ามเนื้อแข็งแรง เพื่อใช้ในการกระโดด มีส่วนหัวที่ใหญ่และแบนราบ ปากกว้างมาก กบในระยะวัยอ่อนจะมีลักษณะแตกต่างไปจากตัวเต็มวัยอย่างชัดเจน เรียกว่า "ลูกอ๊อด" โดยมีรูปร่างคล้ายปลา มีส่วนหัวที่โตมาก มีหาง ไม่มีฟัน โดยในส่วนโครงสร้างของจะงอยปากเป็นสารประกอบเคอราติน หายใจด้วยเหงือกเหมือนซาลาแมนเดอร์ พฤติกรรมการกินอาหารของลูกอ๊อดจะแตกต่างกันไป โดยอาจจะกินแบบกรองกิน หรือกินพืช และกินสัตว์ เมื่อเปลี่ยนรูปร่างเป็นตัวเต็มวัยจึงเปลี่ยนลักษณะการกิน รวมทั้งเปลี่ยนสภาพโครงสร้างของอวัยวะระบบย่อยอาหารรวมทั้งระบบอวัยวะอย่างอื่น ซึ่งการเปลี่ยนรูปร่างของกบนั้นจะต่างจากซาลาแมนเดอร์เป็นอย่างมาก การสืบพันธุ์ของกบนั้นมีหลากหลายมาก ส่วนการปฏิสนธิจะเกิดขึ้นภายนอกตัว โดยทั้ง 2 เพศมีพฤติกรรมกอดรัดกันระหว่างผสมพันธุ์ กบส่วนมากจะป้องกันดูแลไข่ นอกจากบางชนิดเท่านั้นที่เก็บไข่ไว้บนหลัง ที่ขา ในถุงบนหลัง หรือในช่องท้อง หรือบางชนิดวางไข่ติดไว้กับพืชน้ำที่เติบโตในน้ำหรือบนกิ่งไม้ของต้นไม้เหนือน้ำและเฝ้าไข่ไว้ การปฏิสนธิที่เกิดขึ้นภายในตัวจะพบเพียงกับกบบางชนิดเท่านั้น เช่น Ascaphus truei เป็นต้น และการเจริญของเอมบริโอภายในไข่และวัยอ่อนที่ออกจากไข่มีรูปร่างเป็นเหมือนตัวเต็มวัยเลย โดยไม่ผ่านขั้นการเป็นลูกอ๊อดเกิดขึ้นกับหลายสกุลในหลายวงศ์ อาทิ สกุล Hemiphractus และStefania เป็นต้น กบ เป็นสัตว์ที่ถือกำเนิดมาแล้วราว 200 ล้านปีก่อน และเป็นสัตว์ที่อยู่รอดพ้นมาได้จากการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่เมื่อ 65 ล้านปีก่อน ที่ทำให้ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ โดยนักวิทยาศาสตร์ที่ทำการศึกษาถึงเรื่องนี้ เชื่อว่า เพราะกบเป็นสัตว์ที่หลบซ่อนตัวอยู่ใต้ดินได้อย่างเป็นดี และเป็นสัตว์ที่ปรับตัวได้ดีให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศแบบใหม่ จากการศึกษาพบว่า กบในยุคปัจจุบันราวร้อยละ 88 เป็นกบที่มีที่มาจากอดีตที่สามารถย้อนไปไกลได้ถึง 66–150 ล้านปีก่อน โดยศึกษาจากการตรวจสอบทางพันธุกรรมและเปรียบเทียบระดับยีนและโมเลกุลระหว่างกบในยุคปัจจุบัน และซากดึกดำบรรพ์ของกบในยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยพบว่า กบใน 3 วงศ์ คือ Microhylidae หรืออึ่งอ่าง, Natatanura ที่พบในทวีปแอฟริกา และHyloidea ที่พบในทวีปอเมริกาใต้ เป็นกบที่สืบสายพันธุ์มาจากกบในยุคก่อนประวัติศาสตร์ และปัจจุบันได้มีการสืบสายพันธุ์และแตกแขนงทางชีววิทยาไปทั่วโลก ปัจจุบัน ได้มีการอนุกรมวิธานกบออกเป็นวงศ์ทั้งหมด 27 วงศ์ ใน 419 สกุล ปัจจุบันพบแล้วกว่า 6,700 ชนิด นับว่าเป็นอันดับที่มีความหลากหลายมากที่สุดของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ และก็ยังคงมีการค้นพบชนิดใหม่ขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี ประมาณ 60 ชนิดต่อปี โดยกบส่วนใหญ่จะพบในเขตร้อน โดยใช้หลักการพิจารณาจาก โครงสร้างกระดูก, กล้ามเนื้อขา, รูปร่างลักษณะของลูกอ๊อด และรูปแบบการกอดรัด เป็นต้น.

ดู มนุษย์และอันดับกบ

อันดับกระต่าย

อันดับกระต่าย (Rabbit, Hare, Pika; ชื่อวิทยาศาสตร์: Lagomorpha-ออกเสียงว่า /ลา-โก-มอร์-ฟา/ มาจากภาษากรีกคำว่า "λαγος" หมายถึง กระต่ายป่า และ "μορφή" หมายถึง ลักษณะ, รูปร่าง) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับหนึ่ง มีลักษณะโดยรวมคล้ายกับสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) เช่น หนู หรือกระรอก ด้วยว่ามีฟันในลักษณะฟันแทะเหมือนกัน ซึ่งเดิมเคยถูกรวมไว้อยู่ด้วนกัน แต่ว่าสัตว์ในอันดับนี้มีฟันแทะที่แตกต่างจากสัตว์ฟันแทะ คือมี ฟันตัดบนหรือฟันหน้า 2 คู่ (4 ซี่ คู่แรกอยู่ด้านหน้า คู่หลังจะซ่อนอยู่ข้าง ๆ ภายในกรามบน) ขณะที่ สัตว์ฟันแทะมี 1 คู่ (2 ซี่) เท่านั้น ทำให้การเคี้ยวของอาหารของสัตว์ทั้งสองอันนี้ไม่เหมือนกัน กล่าวคือ สัตว์ในอันดับกระต่ายจะใช้ฟันทั้ง 2 คู่นี้เคี้ยวสลับกัน จึงจะเห็นเมื่อเวลาเคี้ยวจะใช้กรามสลับข้างกันซ้าย-ขวา อีกทั้งพฤติกรรมการกินก็ต่างกันออกไป เนื่องจาก สัตว์ฟันแทะจะกินได้ทั้งพืชและสัตว์ แต่สัตว์ในอันดับกระต่ายจะกินได้เพียงพืชเท่านั้น และลักษณะเด่นอีกประการหนึ่ง ก็คือ ในตัวผู้ สัตว์ในอันดับกระต่ายจะมีถุงหุ้มอัณฑะอยู่หน้าอวัยวะเพศ แต่สัตว์ฟันแทะจะมีถุงหุ้มอัณฑะอยู่หลังอวัยวะเพศ และอวัยวะเพศของสัตว์ในอันดับกระต่าย จะไม่มีแท่งกระดูกอยู่ภายใน แต่ในสัตว์ฟันแทะจะมี ปัจจุบัน มีเพียง 2 วงศ์ เท่านั้น โดยสูญพันธุ์ไปแล้ว 1 วงศ์ (ดูในตาราง) กระจายพันธุ์ไปในทุกพื้นที่ของโลก แม้กระทั่งอาร์กติก ซึ่งสัตว์ในอันดับนี้ เป็นสัตว์ที่มนุษย์รู้จักเป็นอย่างดี ก็คือ กระต่าย ซึ่งนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงทั้งในแง่ของความเพลินเพลิน สวยงาม และบริโภคเป็นอาหาร.

ดู มนุษย์และอันดับกระต่าย

อันดับย่อยปลากัด ปลากระดี่

อันดับย่อยปลากัด ปลากระดี่ (อันดับย่อย: Anabantoidei) เป็นอันดับย่อยของปลาที่อยู่ในอันดับปลากะพง (Perciformes) ซึ่งทั้งหมดเป็นปลาที่อยู่ในน้ำจืดทั้งหมด โดยจะพบในทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anabantoidei (/อะ-นา-เบน-ทอย-เดีย/) ส่วนมากเป็นปลาที่มีขนาดเล็ก ขนาดเมื่อโตเต็มที่ไม่เกินฝ่ามือของมนุษย์ แต่จะมีบางสกุลเท่านั้นที่ใหญ่ได้ถึงเกือบหนึ่งเมตร ได้แก่ Osphronemus หรือสกุลปลาแรด ปลาในอันดับนี้จะถูกเรียกในชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า "Labyrinth fish" หรือ "ปลาที่มีอวัยวะช่วยในการหายใจ" เพราะปลาในอันดับนี้จะมีอวัยวะช่วยในการหายใจอยู่ในเหงือก เรียกว่า "อวัยวะเขาวงกต" (Labyrinth organ) จึงทำให้สามารถฮุบอากาศจากบนผิวน้ำได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอให้ออกซิเจนละลายในน้ำผ่านซี่กรองเหงือกเหมือนปลาทั่วไป Pinter, H.

ดู มนุษย์และอันดับย่อยปลากัด ปลากระดี่

อันดับวานร

อันดับวานร หรือ อันดับไพรเมต (Primate) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันได้แก่ สัตว์จำพวกลีเมอร์, ลิง และลิงไม่มีหาง ซึ่งรวมถึงมนุษย์ด้วย มีชื่อสามัญเรียกกันโดยทั่วไปว่า ไพรเมต จึงกล่าวได้ว่าสามารถพบไพรเมตได้ทั่วโลก โดยไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ ส่วนใหญ่จะอยู่ในแอฟริกา, ตอนล่างของทวีปเอเชีย, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ แต่จะพบไพรเมตอยู่เพียงไม่กี่ชนิดในแถบตอนเหนือของทวีปเอเชีย จนถึงตอนเหนือของญี่ปุ่น หรือตอนเหนือของอเมริกา และเม็กซิโก โดยที่ไม่พบในทวีปยุโรป และทวีปออสเตรเลีย โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Primates.

ดู มนุษย์และอันดับวานร

อันดับสัตว์ฟันแทะ

อันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodent, ชื่อวิทยาศาสตร์: Rodentia) เป็นอันดับในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมอันดับหนึ่ง ที่มีความหลากหลายมาก ใช้ชื่ออันดับว่า Rodentia ลักษณะโดยรวมของสัตว์ในอันดับนี้ คือ มีฟันหน้าในขากรรไกรบน 2 ซี่ และขากรรไกรล่าง 2 ซี่ ลักษณะของฟันหน้ามีรูปร่างคล้ายสิ่ว มีความแข็งแรงมาก ใช้สำหรับกัด ขุด และแทะอาหาร ไม่มีฟันเขี้ยว ทำให้เกิดช่องว่างระหว่างฟันหน้าและฟันหน้ากราม ผิวเคลือบทางด้านนอกของฟันหน้าเป็นอีนาเมล จึงทำให้ฟันแข็งแรง นอกจากนี้ฟันหน้าของสัตว์ในอันดับนี้ยังเป็นรูทเลสส์ โดยที่ฟันจะไม่หยุดการเจริญเติบโต เฉลี่ย 12 เซนติเมตรครึ่งต่อปี เนื่องจากมีเลือดมาหล่อเลี้ยงฟันตลอดเวลา จึงต้องแทะฟันเสมอ ๆเพื่อให้ฟันสึกกร่อน มิฉะนั้นฟันจะทะลุออกมานอกปาก ทำให้การหุบปากและการกินอาหารลำบากทำให้อดตายได้ รูปร่างลักษณะภายนอกของสัตว์ในอันดับนี้แตกต่างกัน รวมทั้งแหล่งอาศัย บางจำพวกก็อาศัยอยู่บนต้นไม้ ขุดรูอยู่ใต้ดินหรือบนดิน เช่นเดียวกับชนิดของอาหาร ซึ่งอาจจะเป็นผลไม้เปลือกแข็ง, เมล็ดไม้, รากไม้ หรือกินทุกสิ่งทุกอย่างทั้งพืชและเนื้อสัตว์ ซึ่งสัตว์ในอันดับนี้ที่มนุษย์รู้จักกันเป็นอย่างดี ได้แก่ หนู, กระรอก, เม่น, บีเวอร์ เป็นต้น พบกระจายพันธุ์ไปในทุกพื้นที่ทั่วโลก ในภูมิประเทศที่หลากหลาย ขณะที่กระต่าย, กระแตและตุ่นหรือหนูผี หรือชูการ์ไกลเดอร์ แม้จะมีรูปลักษณะภายนอกคล้ายคลึงกัน แต่ถูกจัดออกมาเป็นอันดับต่างหาก สัตว์ในอันดับนี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ หนูจิ๋วแอฟริกัน (Mus minutoides) พบในทวีปแอฟริกา ที่มีขนาดใหญ่เต็มที่จากส่วนหัวจรดปลายหาง 30-80 มิลลิเมตร (1.2-3.1 นิ้ว) ความยาวหาง 20-40 มิลลิเมตร (0.79-1.6 นิ้ว) น้ำหนักประมาณ 3-12 กรัม (0.11-0.42 ออนซ์) และที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ คาปิบารา (Hydrochoerus hydrochaeris) พบในอเมริกาใต้ ที่มีน้ำหนักได้มากถึง 65 กิโลกรัม และมีรายงานว่าพบมากถึง 91 กิโลกรัม.

ดู มนุษย์และอันดับสัตว์ฟันแทะ

อันดับด้วง

้วง หรือ แมลงปีกแข็ง (Beetle) จัดเป็นแมลงในอันดับ Coleoptera ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นอันดับย่อยอีก 4 อันดับ (ดูในตาราง) จัดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตสมบูรณ์ คือ เป็น ไข่, หนอน, ดักแด้ และตัวเต็มวัย ด้วง หรือ แมลงปีกแข็งนั้น นับเป็นแมลงที่มีจำนวนมากที่สุดในโลก กล่าวคือ มีประมาณร้อยละ 40 ของแมลงที่มีอยู่ทั้งหมด (ประมาณ 400,000 ชนิด) มีลักษณะเด่นโดยรวม คือ ในวัยเต็มตัวจะมีปีก 2 คู่ โดยปีกคู่หน้าเป็นปีกที่มีความแข็งเท่ากันหรือเกือบเท่ากันตลอดทั้งแผ่น เรียกว่า Elytra ซึ่งมาจากภาษากรีก (ἔλυτρον) ซึ่งหมายถึง แผ่น หรือ ปีก ส่วนปีกคู่หลังเป็นแผ่นปีกใหญ่ค่อนข้างโปร่งแสง เมื่อเวลาเกาะอยู่ปีกคู่หลังจะพับซ้อนกันอย่างมีระเบียบและซ่อนอยู่ภายใต้ปีกคู่หน้าอย่างมิดชิด และเมื่อต้องการบิน ปีกคู่หลังนี้จะกางออก โดยการเปิดกางออกของปีกคู่หน้าขึ้นก่อนที่จะเหยียดกางปีกคู่หลังนี้ออกมาบินอย่างรวดเร็ว เมื่อเวลาที่จะเกาะหรือคลาน จะหุบปีกโดยปีกคู่หน้าจะประกบกันสนิทเป็นเส้นตรงอยู่ตรงกลางลำตัว ปีกคู่หน้าจึงทำหน้าที่เสมือนเกราะป้องกันตัวและปีกคู่หลัง ในขณะที่บินปีกคู่หน้านี้จะไม่ช่วยในการบินแต่จะช่วยในการทรงตัว อย่างไรก็ตาม จะมีด้วงบางชนิดที่ปีกคู่หน้าเชื่อมติดกัน จึงไม่สามารถบินได้ และบางชนิดก็มีปีกคู่หน้าเล็กหรือสั้นกว่าลำตัวมากจนไม่สามารถปิดส่วนท้องได้สนิท.

ดู มนุษย์และอันดับด้วง

อันดับปลาหลังเขียว

อันดับปลาหลังเขียว (อันดับ: Clupeiformes) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็งอันดับหนึ่ง ใช้ชื่ออันดับว่า Clupeiformes เป็นปลาที่มีถุงลมมีท่อนิวเมติกเชื่อมต่อไปยังลำไส้ เส้นข้างลำตัวมักขาด แต่มีเกล็ดและครีบเช่นปลาในอันดับอื่น ๆ โดยมากแล้วมักจะมีลำตัวสีเงิน และมีส่วนหลังสีเขียว อันเป็นที่มาของชื่อ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยมากแล้วจะกินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร โดยผ่านซี่กรองเหงือก และไม่มีฟัน แต่ก็มีบางชนิดหรือบางวงศ์ที่กินเนื้อเป็นอาหารและมีฟัน เช่นกัน พบทั้งหมด 6 วงศ์ ประมาณ 300 ชนิด ซึ่งปลาในอันดับนี้จะมีชื่อที่เป็นที่รู้จักกันในภาษาไทยเรียกรวม ๆ กันว่า "ปลาหลังเขียว", "ปลาตะลุมพุก", "ปลามงโกรย", "ปลากะตัก", "ปลาไส้ตัน", "ปลาทราย", "ปลากล้วย" เป็นต้น ในขณะที่ภาษาอังกฤษจะเรียกว่า "Herring", "Sardine", "Anchovy" หรือ " Shad" เป็นต้น พบได้ทั้งน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเล เป็นปลาที่มีความสำคัญต่อมนุษย์เป็นอย่างมาก เนื่องจากจะถูกจับนำมาบริโภคในฐานะปลาเศรษฐกิจและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ปลากระป๋องหรือน้ำปลา เป็นต้น โดยคำว่า Clupeiformes นั้นมาจากภาษาละติน "clupea" หมายถึง "ปลาซาร์ดีน" กับคำว่า "forma" หมายถึง "แหลมคม".

ดู มนุษย์และอันดับปลาหลังเขียว

อันดับปลาหัวตะกั่ว

อันดับปลาหัวตะกั่ว หรือ อันดับปลาออกลูกเป็นตัว (Toothcarp) เป็นอันดับของปลากระดูกแข็งขนาดเล็กอันดับหนึ่ง พบกระจายพันธุ์โดยทั่วไปในแหล่งน้ำจืดและน้ำกร่อยของเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ใช้ชื่ออันดับว่า Cyprinodontiformes โดยมากแล้วเป็นปลาที่มีขนาดเล็กมีความยาวโดยเฉลี่ยไม่เกิน 10 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินและอาศัยบริเวณผิวน้ำ โดยเฉพาะริมฝั่งที่มีไม้น้ำหรือร่มไม้ขึ้นครึ้ม ส่วนมากมีสีสันสวยงาม มีความแตกต่างระหว่างตัวผู้และตัวเมียค่อนข้างชัดเจน พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในทวีปอเมริกาเหนือ, อเมริกากลางจนถึงอเมริกาใต้, แอฟริกา และบางส่วนในทวีปเอเชีย เช่น เอเชียใต้ และเอเชียอาคเนย์ ปลาในอันดับนี้ส่วนมากออกลูกเป็นไข่ แต่มีบางชนิดออกลูกเป็นตัว ชนิดที่ออกลูกเป็นตัวจะมีลักษณะเฉพาะ คือ ตัวผู้จะมีอวัยวะสืบพันธุ์ ซึ่งมีการพัฒนาลักษณะโครงสร้างมาจากก้านครีบก้นคือ จะมีลักษณะแหลมยาวเรียกว่า โกโนโพเดียม ซึ่งจะใช้เป็นอวัยวะนี้ผสมพันธุ์กับตัวเมียส่วนอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของตัวเมียจะมีช่องเพศอยู่บริเวณหน้าครีบก้น ซึ่งตัวผู้จะใช้อวัยวะที่เรียกว่าโกโนโพเดียม สอดเข้าไปในช่องเพศของตัวเมีย และส่งน้ำเชื้อเข้าไปผสมกับไข่ของตัวเมียหรืออาจจะถูกเก็บไว้ในท่อนำไข่ ปลาในอันดับนี้สามารถออกลูกเป็นตัว โดยไข่ที่อยู่ในท้องของตัวเมียจะถูกผสมโดยน้ำเชื้อของตัวผู้ และไข่ก็จะพัฒนาอยู่ในท้องของตัวเมียจนกระทั่งฟักออกเป็นตัว ซึ่งปลาตัวเมียที่ได้ผสมกับปลาตัวผู้เพียงครั้งเดียว จะสามารถให้ลูกได้ต่อไปอีกหลายครั้ง ถึงแม้ว่าจะไม่ได้รับการผสมพันธุ์กับตัวผู้อีกเลย โดยไข่จะผสมพันธุ์กับน้ำเชื้อที่ถูกกักเก็บไว้ในท่อนำไข่ ซึ่งการที่ปลาออกลูกเป็นตัวตัวเมียสามารถกักเก็บน้ำเชื้อตัวผู้ได้ยาวนานนั้นขึ้นอยู่ชนิดและความสมบูรณ์ของตัวแม่ปลา ปลาในอันดับนี้โดยรวม เป็นที่รู้จักกันดีของมนุษย์ โดยมิได้นำมารับประทานเป็นปลาเศรษฐกิจ แต่มีการนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามกันมาอย่างยาวนานแล้ว เพราะเลี้ยงง่าย มีความสวยงาม เนื่องจากเป็นปลาขนาดเล็ก และมักว่ายอยู่บรเวณผิวน้ำ ซึ่งในปัจจุบันมีการเพาะขยายพันธุ์กันอย่างกว้างขวางนเกิดเป็นสายพันธุ์แปลก ๆ และสวยงามกว่าที่มีอยู่ในธรรมชาติจริง ๆ มากมาย อีกทั้งยังมีประโยชน์ในการกำจัดลูกน้ำซึ่งเป็นตัวอ่อนของยุงได้เป็นอย่างดีอีกด้วย โดยปลาในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ วงศ์ปลาหัวตะกั่ว (Aplocheilidae) และ วงศ์ปลาสอด (Poeciliidae) ซึ่งรวมถึงปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata) ด้ว.

ดู มนุษย์และอันดับปลาหัวตะกั่ว

อันดับปลาตะเพียน

อันดับปลาตะเพียน หรือ อันดับปลากินพืช (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cypriniformes, Carp, Barb, Loach, Minnow, Chinese suckerfish, Garra) เป็นอันดับของปลาจำพวกหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยปลาตะเพียน, ปลาทอง, ปลาคาร์ป, ปลาซิว เป็นต้น ส่วนใหญ่เป็นปลาที่อยู่ในวงศ์ Cyprinidae มีลักษณะโดยรวมคือ ลำตัวมีเกล็ด ส่วนใหญ่แบนข้าง สันท้องกลมหรือเป็นสันคม ไม่มีหนามที่สันท้อง ตาไม่มีหนังคลุม ปากมีหลายตำแหน่งทั้งอยู่ตรงด้านหน้า เฉียงขึ้น หรืออยู่ทางด้านล่าง บางชนิดยืดหดได้เล็กน้อย บางชนิดมีลักษณะคล้ายปากดูด ส่วนใหญ่ไม่มีฟันบนขากรรไกรหรือบางชนิดที่มีก็มีไม่เกิน 8 ซี่ รอยต่อส่วนปลายของขากรรไกรล่างมีปมยื่นออกมาเรียกว่า ซิมไซซีล นอบ ริมฝีปากบางอาจมีหรือไม่มีติ่งเนื้อ บางชนิดไม่มีริมฝีปาก ไม่มีหนามใต้ตา หรือหน้าตา ช่องเปิดเหงือกกว้างกระดูกโอเพอร์เคิล เจริญดี มีหนวด 1-2 คู่ หรือไม่มี ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายของครีบหลังอาจแข็ง หรือไม่แข็ง อาจมีหยักด้านในหรือไม่มี ไม่มีครีบไขมัน มีฟันที่หลอดคอ 1-3 แถว ขอบปากเป็นกระดูกพรีแมคซิลลา ขากรรไกรบนยืดหดได้ บางชนิดครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว มีครีบหลังตอนเดียว ถุงลมมีขนาดค่อนข้างใหญ่ส่วนใหญ่แบ่งออกเป็นสองตอน ไม่ถูกแผ่นกระดูกปกคลุมไว้ เป็นปลาที่กระจายอยู่ทั่วไปในทุกภูมิภาคของโลก ทั้งอเมริกาเหนือ, ทวีปยูเรเชียและทวีปเอเชีย มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ พบในน้ำจืดมากกว่าทะเล ส่วนใหญ่เป็นปลาที่กินพืชเป็นอาหาร ไม่มีกระเพาะอาหาร แต่ก็มีหลายชนิดที่กินเนื้อหรือแพลงก์ตอน เป็นปลาที่มนุษย์คุ้นเคยมานานเพราะใช้เป็นอาหาร นอกเหนือจากปลาในวงศ์ Cyprinidae แล้ว ยังมีปลาในวงศ์อื่นอีกที่อยู่ในอันดับนี้ประมาณ 5-6 วงศ์ ได้แก.

ดู มนุษย์และอันดับปลาตะเพียน

อันดับปลาแมงป่อง

อันดับปลาแมงป่อง หรือ อันดับปลาสิงโต (Mail-cheeked fish, Scorpion fish, Sculpin, Stonefish) เป็นอันดับของปลาทะเลกระดูกแข็งอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Scorpaeniformes ทั้งหมดเป็นปลากินเนื้อเป็นอาหาร มีลักษณะเด่น คือ ปากกว้าง มีลำตัวป้อม สามารถที่จะพรางตัวกลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้ ขณะที่หลายชนิดมีสีสันฉูดฉายลายตา มีครีบต่าง ๆ แผ่กางใหญ่ ครีบอกและครีบหางกลม บริเวณส่วนหัวมักมีหนามหรือติ่ง บางชนิดมีพัฒนาการของผิวหนังให้เป็นเส้นหรือแผ่นยื่นยาวออกมา มีทั้งว่ายน้ำได้ ซึ่งชนิดที่ว่ายน้ำนั้นมักจะว่ายช้า ๆ และนอนนิ่ง ๆ บนพื้นทราย เพื่อรอปลาเล็ก ๆ หลงเข้ามา โดยมีเงี่ยงพิษร้ายแรงที่บริเวณปลายครีบไว้เป็นอาวุธป้องกันตัวจากศัตรูผู้ล่า มิได้มีไว้เพื่อล่าอาหารแต่อย่างใด ซึ่งสามารถทำอันตรายต่อมนุษย์ได้ด้วย โดยพิษนั้นจะอยู่ที่ก้านครีบโดยเฉพาะครีบแหลมที่บนหลัง ครีบข้างลำตัว ครีบพิษเหล่านี้ไม่ได้มีไว้สำหรับการทิ่มแทงเหยื่อ เมื่อตกใจจะสะบัดครีบทิ่มแทงผู้รุกราน เมื่อครีบทิ่มแทงเข้าไปในเนื้อ หนังหุ้มครีบจะลอกออก ต่อมพิษก็จะทำการฉีดพิษเข้าไปในบาดแผลผู้รุกราน ซึ่งเป็นสารประกอบโปรตีน พิษร้ายแรงนี้จะสร้างความเจ็บปวดให้กับผู้ที่โดนแทง จะมีอาการเจ็บปวดและอาจทำให้ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ระบบประสาท, ระบบการเต้นของหัวใจล้มเหลวซึ่งจะเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ในส่วนของผู้บาดเจ็บทั่วไปอาจจะมีอาการเจ็บปวดนานราว 24 ชั่วโมงแล้วอาการก็จะทุเลาลง ในขณะที่บางรายอาจจะมีอาการเจ็บปวดไปอีกหลายวัน ปลาในอันดับนี้ ที่เป็นที่รู้จักดี คือ ปลาหิน, ปลาแมงป่อง, ปลาสิงโต ซึ่งสามารถจำแนกออกได้อีก 26 วงศ์ ใน 7 อันดับย่อ.

ดู มนุษย์และอันดับปลาแมงป่อง

อันดับไฮแรกซ์

อันดับไฮแรกซ์ (Hyraxes, Dassies "Hyracoidea" in Grzimek's Animal Life Encyclopedia, Vol.) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กอันดับหนึ่ง ที่เรียกชื่อสามัญว่า ไฮแรกซ์ หรือ ตัวไฮแรกซ์ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hyracoidea (/ไฮ-รา-คอย-เดีย/).

ดู มนุษย์และอันดับไฮแรกซ์

อาชญากรรม / ความหวัง / การสูญเสีย

อาชญากรรม / ความหวัง / การสูญเสีย ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์เรื่อง Babel นำแสดงโดย แบรด พิตต์, เคท บลานเซทท์, อาเดรียน่า บาร์เรซ่า, กาเอล การ์เซีย เบอร์นาร์ด, ริงโกะ คิคูชิ, โคจิ ยาคูโช ความยาว 142 นาที กำกับโดย อเลฮานโดร กอนซาเลซ อินาร์ริตูร์ เข้าฉายในประเทศไทยเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู มนุษย์และอาชญากรรม / ความหวัง / การสูญเสีย

อาร์เอ็มเอส ควีนแมรี 2

อาร์เอ็มเอส ''ควีนแมรี 2'' อาร์เอ็มเอส ควีนแมรี 2 (RMS Queen Mary 2) เป็นเรือสำราญหลวง ของบริษัทคูนาร์ดไลน์ซึ่งเป็นบริษัทเดินเรือของสหราชอาณาจักร ซึ่งเคยเป็นเรือสำราญ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เมื่อ ปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และอาร์เอ็มเอส ควีนแมรี 2

อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง

อาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง (อังกฤษ: Weapon of Mass Destruction, WMD) คืออาวุธที่สามารถสังหารมนุษย์, สัตว์หรือพืชในจำนวนมาก และอาจทำลายสภาพแวดล้อมของโลกอย่างมหาศาล ซึ่งจำแนกได้เป็นอาวุธหลายประเภทด้วยกันได้แก่ อาวุธปรมาณู, อาวุธชีวภาพ, อาวุธเคมี รวมไปถึงอาวุธกัมมันตภาพรังสี (ต่างจากอาวุธปรมาณูตรงที่ให้แรงระเบิดน้อยกว่ามาก แต่แพร่กัมมันตรังสีในปริมาณที่เทียบเท่าหรือใกล้เคียงกับอาวุธปรมาณู) ที่กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นจากกองกำลังที่มีอำนาจทางการเงินและเทคโนโลยีที่ด้อยกว่า (เช่น ผู้ก่อการร้าย) เป็นที่โต้เถียงกันว่าศัพท์นี้ (ในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาไทยนั้น ไม่ค่อยพบเห็นการใช้คำนี้มากนัก) ถูกใช้ครั้งแรกเมื่อใด โดยนิยามนี้อาจถูกใช้ครั้งแรกใน พ.ศ.

ดู มนุษย์และอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง

อาหารกับโรคมะเร็ง

ษณานี้เสนอว่า อาหารที่ถูกสุขภาพจะช่วยป้องกันโรคมะเร็ง อาหารมีผลสำคัญต่อความเสี่ยงโรคมะเร็ง โดยอาหารบางอย่างอาจเพิ่มและบางอย่างอาจลดความเสี่ยง และโดยรวม ๆ แล้ว ปัจจัยต่าง ๆ รวมทั้งอาหาร การไม่ออกกำลังกาย และโรคอ้วนอาจจะสัมพันธ์กับความตายจากมะเร็งในอัตราถึง 30-35% แต่ก็มีงานทบทวนวรรณกรรมปี 2554 ที่เสนอว่า พลังงานจากอาหารที่บริโภคมีอิทธิพลต่ออุบัติการณ์ของมะเร็ง และอาจมีผลต่อการเติบโตของมะเร็งด้วย ไม่ใช่อาหารชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ แม้ว่าจะมีคำแนะนำมากมายหลายอย่างเกี่ยวกับอาหารเพื่อลดความเสี่ยงต่อมะเร็ง แต่มีน้อยอย่างที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ดี แต่ทั้งโรคอ้วนและการดื่มเหล้า มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นเหตุของมะเร็ง ดังนั้น รายงานปี 2557 ขององค์การอนามัยโลก จึงแนะนำให้ลดการบริโภคเครื่องดื่มหวาน ๆ เพื่อแก้ปัญหาโรคอ้วน แม้ว่าอาหารที่มีผักผลไม้น้อยและมีเนื้อแดงมากอาจเป็นปัจจัยเสี่ยง แต่ก็ยังไม่มีการยืนยันที่ชัดเจน และอาจมีผลน้อยต่อบุคคลที่ทานอาหารสมบูรณ์และมีน้ำหนักที่เหมาะสม แต่ก็มีอาหารบางประเภทโดยเฉพาะ ที่สัมพันธ์กับมะเร็งบางอย่าง คือ มีงานศึกษาที่สัมพันธ์การบริโภคเนื้อแดง หรือเนื้อที่ผ่านกรรมวิธีการผลิตเพื่อเพิ่มรสชาติหรือเพื่อให้เก็บได้นาน (processed meat) กับการเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งตับอ่อน ซึ่งอธิบายเป็นบางส่วนได้ว่าเป็นเพราะมีสารก่อมะเร็งที่เกิดขึ้นเพราะผ่านความร้อนสูง และเพราะมีอะฟลาทอกซินที่เป็นสารปนเปื้อนสามัญและทำให้เกิดมะเร็งตับ ส่วนการดื่มกาแฟสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งตับที่ต่ำกว่า การเคี้ยวหมากก่อให้เกิดมะเร็งปาก และการบริโภคอาหารที่ต่าง ๆ กันอาจอธิบายอุบัติการณ์ของมะเร็งที่ต่าง ๆ กันในประเทศต่าง ๆ ได้โดยบางส่วน ยกตัวอย่างเช่น มะเร็งกระเพาะอาหารเป็นเรื่องสามัญกว่าในประเทศญี่ปุ่นเพราะทานอาหารที่เค็มกว่า และมะเร็งลำไส้ใหญ่เกิดขึ้นอย่างสามัญกว่าในสหรัฐอเมริกา ผู้ที่อพยพย้ายถิ่นฐานมักจะเกิดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งเหมือนกับคนพื้นเมือง บางครั้งแม้ภายในชั่วยุคคนเดียว ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ที่สำคัญระหว่างอาหารกับมะเร็ง คำแนะนำทางอาหารเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปกติจะรวมการรักษาน้ำหนักตัว การรับประทานพืชผักผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ขัดสี และปลา เป็นหลัก และการลดการบริโภคเนื้อแดง ไขมันสัตว์ และน้ำตาล.

ดู มนุษย์และอาหารกับโรคมะเร็ง

อาถรรพณ์นิทรานคร

อาถรรพณ์นิทรานคร เป็นตอนที่สี่ของเพชรพระอุมาจำนวน 4 เล่ม ได้แก่อาถรรพณ์นิทรานคร เล่ม 1 - 4.

ดู มนุษย์และอาถรรพณ์นิทรานคร

อาณัติแห่งสวรรค์

อาณัติแห่งสวรรค์ (mandate of heaven) คือความชอบธรรมที่สวรรค์มอบให้แก่มนุษย์คนหนึ่ง ให้มีอำนาจในการปกครองประชาชน มีลักษณะใกล้เคียงกับแนวคิดเทวสิทธิราชย์ในปรัชญาการเมืองตะวันตก.

ดู มนุษย์และอาณัติแห่งสวรรค์

อาดัม

อาดัม (אָדָם; ܐܕܡ; آدم; Adam) เป็นมนุษย์คนแรกที่พระเป็นเจ้าสร้างขึ้นจากดิน ตามคติของศาสนาอับราฮัม ปรากฏทั้งใน คัมภีร์ฮีบรู คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม และอัลกุรอาน ตามคติของศาสนาคริสต์และศาสนายูดาห์ อาดัมเป็นเพียงมนุษย์คนแรกของโลก แต่ตามคติของอิสลามอาดัมยังเป็นนบีท่านแรกของอัลลอฮ์ด้วย อาดัมและภรรยาชื่อเอวา เดิมพระเจ้าประทานอยู่ในสวนเอเดน ต่อมาภายหลังถูกซาตานหลอกลวงให้ประพฤติผิด เกิดเป็นบาป ทำให้ถูกไล่จากสวนเอเดน.

ดู มนุษย์และอาดัม

อาคาร

ูนย์ปาฐกถาประดิษฐ์ เชยจิตร (ตึกฟักทอง) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อาคาร เป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างโดยมนุษย์ ในรูปของโรง เรือน ร้าน หรือรูปแบบอย่างอื่นสำหรับใช้สอย แต่ในกฎหมายควบคุมอาคารได้รวม เขื่อน สะพาน อุโมงค์ ท่อ ป้ายและอื่นๆ ไว้ในนิยามคำว่าอาคารด้วยด้วยเหตุผลในการบังคับใช้ อาคารมักมีส่วนประกอบทางสถาปัตยกรรมมากกว่าหนึ่งอย่างและปกติจะตั้งอยู่บนพื้นดิน อาคารสามารถเป็นได้ตั้งแต่บ้านที่พักอาศัยที่มีโครงสร้างเรียบง่ายจนถึงตึกระฟ้า อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานที่มีโครงสร้างซับซ้อน ตลอดจนโรงซ่อมเครื่องบินที่มีช่วงเสามากกว่า 100 เมตร อาคารขนาดใหญ่สมัยใหม่จะมีส่วนประกอบต่างๆ ที่ทำให้อาคารใช้งานได้เรียกว่าระบบอาคารนับตั้งแต่ระบบขนส่งภายในอาคารได้แก่ บันไดเลื่อน และ ลิฟต์ ไปจนถึงระบบไฟฟ้า ประปา ระบบปรับอากาศ ระบบป้องกันอัคคีภัย และอื่นๆ อีกเป็นจำนวนมาก ปกติ อาคาร จะถูกจัดไว้ในหมวดสิ่งก่อสร้างด้วยเหตุผลด้านการบังคับใช้.

ดู มนุษย์และอาคาร

อาคาอินุ

อาคาอินุ เป็นตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง วันพีซ ซะกะสุกิ เป็นทหารเรือที่มีฉายอาคาอินุหรือหมาแดง และเป็นผู้บัญชาการกองทัพเรือ และอดีตหนึ่งในสามพลเรือเอกของกองทัพเรือในเรื่อง วันพีซ โดยเนื่องจากไม่พอใจที่พลเรือเอกอาโอคิยิจะได้เป็นผู้บัญชาการต่อจากจอมพลเรือเซ็นโงคุ จึงได้ท้าประลองกับอาโอคิยิที่เกาะพังค์ฮาซาร์ด ผลก็คืออาคาอินุชนะ จึงได้เป็นผู้บัญชาการกองทัพเรือ.

ดู มนุษย์และอาคาอินุ

อาซิโม

อาซิโม (ASIMO) คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ หรือหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้า ประเทศญี่ปุ่น สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.

ดู มนุษย์และอาซิโม

อำเภอพิบูลมังสาหาร

ูลมังสาหาร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจากอำเภอเมืองอุบลราชธานี ประมาณ 45 กิโลเมตร เดินทางไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 217.

ดู มนุษย์และอำเภอพิบูลมังสาหาร

อิทธิฤทธิ์ภูมิเทวดา

อิทธิฤทธิ์ภูมิเทวดา เป็นละครโทรทัศน์จีนกำลังภายในที่กล่าวถึงอานุภาพของภูมิเทวดาจางฝูเต๋อ และยายเจ้าที่เหยียนจื่อ ออกอากาศทางช่อง CTS ในจีน ในปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และอิทธิฤทธิ์ภูมิเทวดา

อินทรี

อินทรี เป็นนกจำพวกนกล่าเหยื่อขนาดใหญ่ ในวงศ์ Accipitridae อันดับ Accipitriformes (วงศ์และอันดับเดียวกับ เหยี่ยว) มีโครงสร้างทางกายภาพที่แข็งแรง ประกอบด้วยโครงกระดูก กล้ามเนื้อ ส่วนต่าง ๆ ขน และกรงเล็บเป็นหลัก จัดอยู่ในประเภทนกที่ล่าเหยื่อเป็นอาหาร มีขนาด ปีก และ หาง ที่กว้าง ลักษณะปลายปีกแหลมหรือปีกแตก จะงอยปากงองุ้มเป็นตะขอ อินทรีเป็นนกที่มีลักษณะสวยงาม แข็งแรง สายตาคม บินเร็ว โจมตีแม่นยำ มองเห็นเป้าหมายได้จากระยะไกล มีเพดานบินตั้งแต่พื้นราบจนถึงความสูง 2,100 เมตร และจัดได้ว่าเป็นสัตว์ที่มีสายตาดีที่สุดในโลก อีกทั้งยังถือเป็นนกหรือสัตว์ปีกที่มีอายุยืนยาวที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีอายุได้มากถึง 70 ปี ส่วนใหญ่จะมีสีเข้มและสร้างรังบนหน้าผาที่สูงชัน อินทรีเป็นนกที่มีขนาดใหญ่และแข็งแรง เป็นนกที่กินเนื้อเป็นอาหาร ซึ่งได้แก่ ปลา, งู, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ขนาดเล็กเช่น หนู และเป็นนกนักล่าซึ่งล่านกด้วยกัน และไข่นกที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร อินทรีพบอาศัยกระจัดกระจายอยู่ตามพื้นที่เขตต่าง ๆ ทั่วทุกแห่งในโลก ยกเว้นพื้นที่ในทวีปแอนตาร์กติก ที่มีอากาศหนาวเย็น ในประเทศไทย มีอินทรีอยู่ด้วยกันจำนวนหนึ่ง อาทิ นกออก (Haliaeetus leucogaster), อินทรีหัวนวล (H.

ดู มนุษย์และอินทรี

อินเตอร์นิวรอน

interneuron หรือ internuncial neuron หรือ relay neuron หรือ association neuron หรือ connector neuron หรือ intermediate neuron หรือ local circuit neuron เป็นเซลล์ประสาทที่ส่งกระแสประสาทจากนิวรอนหนึ่งไปยังอีกนิวรอนหนึ่ง เป็นเซลล์ประสาทแบบหนึ่งในสามอย่างโดยจัดตามการทำงาน ที่มีจำนวนมากที่สุด (ประมาณ 90%) ในร่างกายมนุษย์ (โดยอีกสองอย่างคือเซลล์ประสาทรับความรู้สึกและเซลล์สั่งการ) โดยแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือแบบเฉพาะที่ (local) และแบบรีเลย์ แบบเฉพาะที่จะมีแอกซอนสั้น ๆ และสร้างวงจรประสาทกับนิวรอนใกล้ ๆ ส่วนแบบรีเลย์ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า projection interneuron จะมีแอกซอนยาวและส่งกระแสประสาทไปได้ไกล ๆ จากสมองเขตหนึ่งไปยังอีกเขตหนึ่ง เซลล์เรียกว่า interneuron (คือนิวรอนในระหว่าง) ก็เพราะเป็นเซลล์ประสาททั้งหมดในระหว่างเซลล์ประสาทรับความรู้สึกกับเซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) "Interneurons (association neurons) lie entirely within the CNS.

ดู มนุษย์และอินเตอร์นิวรอน

อิโต คาโมทาโร่

อิโต คาโมทาโร่ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และอิโต คาโมทาโร่

อึ่งผี

อึ่งผี หรือ อึ่งกรายลายเลอะ หรือ อึ่งกรายหมอสมิธ (Smith's litter frog) สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง ในวงศ์อึ่งกราย (Megophryidae) อาศัยอยู่บริเวณพื้นป่าและบริเวณใกล้ลำธารในป่าดิบแล้งถึงป่าดิบเขา มีลักษณะเด่นคือ ดวงตาด้านบนมีสีแดงหรือส้มเหลืองวาว ตาโปน หัวมีขนาดใหญ่กว่าลำตัว ขาค่อนข้างสั้น ผิวหนังด้านหลังมีลายสีเข้มบนพื้นมีเทา ส่งเสียงร้องดังคล้ายเสียงเป็ดและไม่เกรงกลัวมนุษย์ ทำให้ผู้ที่ได้พบเห็นรู้สึกกลัว จึงเป็นที่มาของชื่อ "อึ่งผี" ส่วนคนท้องถิ่นเรียกชื่อตามเสียงร้องว่า "ย่าก๊าบ" แพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่แนวป่าตะวันตกของประเทศไทยจนถึงแหลมมลายู ตั้งแต่ภาคใต้ของไทยลงไป และพบได้จนถึงเกาะลังกาวี ในประเทศมาเลเซีย อึ่งผีถูกพบครั้งแรกของโลกที่ต้นน้ำตกพลู บนเขาช่อง จังหวัดตรัง เมื่อปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และอึ่งผี

อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร ตั้งอยู่ในเขตตำบลในเมือง อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร ไม่ไกลจากจังหวัดสุโขทัยเท่าใดนัก ลักษณะของศิลปะและสถาปัตยกรรมในอุทยานแห่งนี้เป็นศิลปะแบบเดียวกับที่ปรากฏในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย มีโบราณสถานที่สวยงามและขนาดใหญ่มากมาย หลายแห่งในอดีตเมืองกำแพงเพชรถือเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทั.

ดู มนุษย์และอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร

อีเห็นข้างลาย

อีเห็นข้างลาย หรือ อีเห็นธรรมดา หรือ มูสังหอม ในภาษาใต้ (Asian palm civet) เป็นอีเห็นขนาดเล็ก สีขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้มจนเกือบดำ ยกเว้นบริเวณรอบจมูก หู ขา และปลายหางมีสีดำมีลายสีขาวพาดขวางบริเวณหน้าผาก หลังมีจุดเล็ก ๆ สีดำเรียงตัวเป็นแนวยาว 3 เส้น จากไหล่ถึงโคนหาง หางมีความยาวพอ ๆ กับลำตัว ขนปลายหางบางตัวอาจมีสีขาว มีต่อมน้ำมันและจะส่งกลิ่นออกมาเมื่อเวลาตกใจ ซึ่งต่อมน้ำมันนี้จะแตกต่างจากชะมดหรืออีเห็นชนิดอื่น ๆ ตัวเมียมีเต้านม 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 43–71 เซนติเมตร ความยาวหาง 40.6–66 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–5 กิโลกรัม อีเห็นข้างลายมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบตั้งแต่รัฐชัมมูและกัศมีร์ และภาคใต้ของอินเดีย, ศรีลังกา, เนปาล, รัฐสิกขิม, ภูฏาน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะซูลาเวซี และหมู่เกาะซุนดาน้อย และมีชนิดย่อยมากถึง 30 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมมักอาศัยและหากินตามลำพัง สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ ป่าดิบชื้น, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ใกล้กับพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น สัตว์ขนาดเล็กจำพวกแมลง และน้ำหวานของเกสรดอกไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน นอนหลับในเวลากลางวัน ใช้เวลาส่วนมากตามพื้นดินและจะใช้เวลาน้อยมากอยู่บนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 2–4 ตัว โดยจะเลี้ยงลูกอ่อนไว้ตามโพรงไม้หรือโพรงหิน อีเห็นข้างลายไม่ได้ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2546 ปัจจุบันทางสวนสัตว์เชียงใหม่ได้มีโครงการในการเพาะเลี้ยงอีเห็นข้างลาย เพื่อผลิต "กาแฟขี้ชะมด" ซึ่งเป็นกาแฟที่ได้จากมูลของอีเห็นข้างลาย มีราคาซื้อขายที่สูงมาก และในการเพาะเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์ในการนี้ที่จังหวัดตรังโดยเอกชนด้วยหน้า 27, อะเมซซิง..."กาแฟขี้ชะมดตรัง" โดย มนตรี สังขาว.

ดู มนุษย์และอีเห็นข้างลาย

อ่างเก็บน้ำ

อ่างแก้ว อ่างเก็บน้ำในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ่างเก็บน้ำ (reservoir) หมายถึง ทะเลสาบที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อเก็บน้ำสำหรับการใช้ในหลากหลายจุดประสงค์ อ่างเก็บน้ำถูกสร้างขึ้นจากคอนกรีต ดิน หิน สิงที่อยู่รอบๆ แม่น้ำหรือลำธาร เพื่อเป็นเขื่อนที่แข็งแรง เมื่อเขื่อนสร้างเสร็จสมบูรณ์ กระแสน้ำจะเติมเต็มเขื่อน เขื่อนซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยมนุษย์ (มากกว่าเป็นการปรับตัวของอ่างน้ำตามธรรมชาติ) อาจถูกเรียกว่า ที่เก็บน้ำขนาดใหญ.

ดู มนุษย์และอ่างเก็บน้ำ

ฮาลาล

ลาล (حلال) (บ้างสะกดว่า ฮะลาล หรือ หะลาล) เป็นศัพท์นิติศาสตร์อิสลามจากภาษาอาหรับ หมายความว่า กฎบัญญัติอนุมัติให้มุกัลลัฟ (มุสลิมที่อยู่ในศาสนนิติภาวะ) กระทำได้ อันได้แก่ การนึกคิด วาจา และการกระทำที่ศาสนาได้อนุมัติให้ เช่น การรับประทานเนื้อปศุสัตว์ที่ได้รับการเชือดอย่างถูกต้อง การค้าขายโดยสุจริตวิธี การสมรสกับสตรีตามกฎเกณฑ์ที่ได้ระบุไว้ เป็นต้น ในเมืองไทย คำว่า "ฮาลาล" เป็นที่รู้จักในความหมาย อาหารหรือสิ่งเจือปนที่ไม่ขัดกับหลักศาสนาอิสลาม อาหารสำเร็จรูปประเภทนี้จะมีตราฮาลาล.

ดู มนุษย์และฮาลาล

ฮาเซงาว่า ไทโซ

ซงาว่า ไทโซ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และฮาเซงาว่า ไทโซ

ฮิบะกง

กง หรือ ฮินะกง ชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ที่พบในประเทศญี่ปุ่น มีลักษณะคล้ายกึ่งมนุษย์กึ่งลิง ซึ่งเป็นกรณีเดียวกันกับ เยติในเทือกเขาหิมาลัย และบิ๊กฟุตในป่าลึกของสหรัฐอเมริกา การพบเห็นฮิบะกงครั้งแรก เกิดขึ้นในวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู มนุษย์และฮิบะกง

ฮิบาริ เคียวยะ

ริ เคียวยะ เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดย ทาคาชิ คอน.

ดู มนุษย์และฮิบาริ เคียวยะ

ฮิจิคาตะ โทชิโร่

ตะ โทชิโร่ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และฮิจิคาตะ โทชิโร่

ฮิปโปแคมปัส

ปโปแคมปัส (hippocampus) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของสมองของมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่นๆ ฮิปโปแคมปัสเป็นส่วนหนึ่งของระบบลิมบิก (limbic system) ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสร้างความทรงจำระยะยาวและการกำหนดทิศทางในที่ว่าง โครงสร้างนี้มีลักษณะเป็นคู่อยู่ด้านข้างซ้ายและขวาของสมองเหมือนกับซีรีบรัล คอร์เท็กซ์ ในมนุษย์และไพรเมตชนิดอื่นๆ ฮิปโปแคมปัสวางตัวในสมองกลีบขมับส่วนใกล้กลาง (medial temporal lobe) ของสมองภายใต้พื้นผิวเปลือกคอร์เท็กซ์ รูปร่างของฮิปโปแคมปัสมีลักษณะโค้งจนนักกายวิภาคศาสตร์ในยุคแรกเปรียบเทียบว่าเหมือนกับเขาของแกะ (Cornu Ammonis) หรือเหมือนม้าน้ำ ดังจะเห็นจากชื่อ ฮิปโปแคมปัส มาจากภาษากรีกของคำว่าม้าน้ำ (กรีก: ιππος, hippos.

ดู มนุษย์และฮิปโปแคมปัส

ฮิโตะดะมะ

ตะดะมะ (人魂; หมายถึง "วิญญาณมนุษย์") เป็นคำที่มาจากตำนานพื้นบ้านญี่ปุ่น เป็นความเชื่อเรื่องผีและวิญญาณ.

ดู มนุษย์และฮิโตะดะมะ

ฮีตเวฟ (หนังสือการ์ตูน)

ีตเวฟ (Heat Wave) ชื่อจริง มิก รอรี (Mick Rory) เป็นตัวละครของดีซีคอมิกส์ สร้างสรรค์โดยจอห์น บรูมและคาร์ไมน์ อินฟันติโน ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือการ์ตูน เดอะแฟลช เล่มที่ 140 (พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู มนุษย์และฮีตเวฟ (หนังสือการ์ตูน)

ผลไม้

แผงขายผลไม้ ผลไม้ (อีสาน: หมากไม้, บักไม้, ถิ่นเหนือ: หน่วยไม้) หมายถึง ผลที่เกิดจากการขยายพันธุ์โดยอาศัยเพศของพืชบางชนิด ซึ่งมนุษย์สามารถรับประทานได้ และส่วนมากจะไม่ทำเป็นอาหารคาว.

ดู มนุษย์และผลไม้

ผายลม

ผายลม หรือ ตด ในภาษาพูด โดยทั่วไปเป็นอาการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของมนุษย์ ในวันหนึ่งๆ มนุษย์อาจผายลมได้ 10-20 ครั้ง ซึ่งคิดเป็นปริมาณแก๊สที่ปล่อยออกมา คือ 0.5-1 ลิตรต่อวัน ผายลมเกิดจากการรวมตัวของแก๊สหลายชนิด แก๊สที่ไม่มีกลิ่น 99% มีส่วนประกอบหลักๆ ได้แก่ ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจน ออกซิเจน และมีเทน ส่วนแก๊สที่มีกลิ่นมี 1% เท่านั้นซึ่งเกิดจากการหมักหมมของอาหารในลำไส้ใหญ่ และทำให้เกิดแก๊สจำพวกกำมะถัน ได้แก่ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งเป็นสารที่มีกลิ่นเฉพาะตัว ปกติมนุษย์ขับแก๊สส่วนเกินออกจากร่างกายได้ 2 ทาง คือ การขับออกทางปาก (เรอ) และการขับออกทางทวารหนัก (ผายลม หรือตด) หากแก๊สนั้นไม่ขับออกมาจะทำให้มีการสะสมไว้ในทางเดินอาหาร จะทำให้รู้สึกอึดอัด แน่นท้อง ปวดมวนในท้อง และเกิดอาการท้องอืดตามม.

ดู มนุษย์และผายลม

ผึ้ง

ำหรับผึ้งในความหมายอื่น ดูที่: ผึ้ง ผึ้ง จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมอาร์โธรพอด จัดเป็นแมลงชนิดหนึ่งอาศัยรวมกันอยู่เป็นฝูง โดยส่วนใหญ่จะออกหาอาหารเป็นน้ำหวานจากเกสรของดอกไม้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อพืชในการผสมพันธุ์ ผึ้งทำงานกันเป็นระบบ มีผึ้งนางพญาเป็นหัวหน้าใหญ่ มนุษย์รู้จักผึ้งมานาน 7000 ปีแล้ว ฟาโรห์เมเนสของอียิปต์โปรดให้ผึ้งเป็นสัญลักษณ์แห่งอาณาจักรของพระองค์ คาดว่าผึ้งมีมากกว่า 30,000 ชนิด ซึ่งมากกว่ามนุษย์, ปลา และสัตว์เลื้อยคลานรวมกันเสียอีก ลักษณะทั่วไปของผึ้ง แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ.

ดู มนุษย์และผึ้ง

ผู้ชาย

ผู้ชาย คือมนุษย์เพศชาย ปกติคำนี้สงวนไว้สำหรับผู้ใหญ่ที่เป็นชาย สำหรับเด็กหรือวัยรุ่นเพศชาย คำปกติที่ใช้เรียก คือ "เด็กชาย" ทว่า พบใช้คำนี้บ้างเพื่อระบุมนุษย์เพศชาย ไม่ว่าอายุเท่าใด เช่น "บาสเกตบอลชาย" เช่นเดียวกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพศผู้อื่นส่วนมาก จีโนมของผู้ชายตรงแบบรับโครโมโซม X จากมารดาและโครโมโซม Y จากบิดา ทารกในครรภ์ชายผลิตฮอร์โมนเพศชายมากกว่าและเอสโตรเจนน้อยกว่าทารกในครรภ์เพศหญิง ความแตกต่างในปริมาณสัมพัทธ์ของสเตอรอยด์เพศเหล่านี้เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ของความแตกต่างทางสรีรวิทยาซึ่งแยกผู้ชายกับผู้หญิง ระหว่างวัยเจริญพันธุ์ ฮอร์โมนซึ่งกระตุ้นการผลิตฮอร์โมนเพศชายส่งผลให้ผู้ชายเป็นสิ่งมีชีวิตที่คิดได้และเจ็บเป็นเหมือนเธอมีพัฒนาการของลักษณะเพศทุติยภูมิ ฉะนั้นจึงยิ่งแสดงความแตกต่างระหว่างเพศเด่นชัดขึ้น.

ดู มนุษย์และผู้ชาย

ผู้ใหญ่

ในทางชีววิทยา ผู้ใหญ่ คือ มนุษย์ที่ถึงช่วงการเจริญทางเพศเต็มที่ คำนี้ยังมีความหมายสัมพันธ์กับมโนทัศน์ทางสังคมและกฎหมายด้วย ตรงข้ามกับ "ผู้เยาว์" ผู้ใหญ่ตามกฎหมายคือบุคคลที่อายุถึงอายุที่บรรลุนิติภาวะ ฉะนั้นจึงถือว่าเป็นอิสระ พึ่งตนเองได้และมีความรับผิดชอบ วัยผู้ใหญ่ของมนุษย์รวมเอาการเจริญผู้ใหญ่ทางจิตวิทยา นิยามของวัยผู้ใหญ่มักไม่ตรงและขัดแย้งกัน บุคคลอาจเป็นผู้ใหญ่ทางชีววิทยา และมีพฤติกรรมผู้ใหญ่ แต่ยังถูกปฏิบัติเหมือนเด็กหากมีอายุต่ำกว่าอายุที่บรรลุนิติภาวะ ในทางกลับกัน บุคคลอาจเป็นผู้ใหญ่ทางกฎหมายแต่ไม่มีวุฒิภาวะและความรับผิดชอบซึ่งอาจนิยามลักษณะของผู้ใหญ่ หมวดหมู่:วุฒิภาวะ หมวดหมู่:มโนทัศน์ชีววิทยา.

ดู มนุษย์และผู้ใหญ่

ผีชีวะ 2 ผ่าวิกฤตไวรัสสยองโลก

ผีชีวะ 2 ผ่าวิกฤตไวรัสสยองโลก เป็นภาพยนตร์แอคชั่นที่ออกฉายในปี..

ดู มนุษย์และผีชีวะ 2 ผ่าวิกฤตไวรัสสยองโลก

ผีชีวะ 5 สงครามไวรัสล้างนรก

ผีชีวะ 5 สงครามไวรัสล้างนรก เป็นภาพยนตร์แอคชั่นที่ออกฉายในปี..

ดู มนุษย์และผีชีวะ 5 สงครามไวรัสล้างนรก

ผีโพง

ผีโพง เป็นผีตามความเชื่อพื้นบ้านทางภาคเหนือ ผู้ที่เป็นผีโพงเกิดจากเล่นไสยศาสตร์แล้วควบคุมวิชาในตัวเองไม่ได้ หรือปลูกว่านชนิดหนึ่ง เรียกว่าว่านผีโพง ซึ่งมีสีขาว รสฉุนร้อน เมื่อแก่จะมีธาตุปรอทลงกิน ทำให้เกิดแสงส่องสว่างแบบแมงคาเรือง ผู้ที่เป็นผีโพง ในเวลากลางวันจะเป็นเหมือนผู้คนธรรมดา ๆ ทั่วไป แต่ตกกลางคืนจะกลายร่างเป็นผีโพง มีจุดเด่นคือ มีแสงสว่างหรือดวงไฟที่รูจมูก ออกหาของกิน ได้แก่ ของสกปรกคาว เช่น กบ, เขียด, ศพ หรือรกเด็กเกิดใหม่ เช่นเดียวกับผีกระสือ, ผีกระหัง หรือผีปอบ โดยปกติแล้ว ผีโพงจะไม่ทำร้ายมนุษย์ แต่ถ้าหากถูกคุกคามก็จะจู่โจมทำร้ายได้เช่นกัน หากมีผู้ใดไปทำอะไรให้ผีโพงไม่พอใจ ผีโพงจะใช้ก้านกล้วยที่ตัดใบออกหมดหรือคานคาบของแม่ม่ายพุ่งข้ามหลังคาบ้านผู้นั้น ซึ่งครอบครัวของผู้ที่โดนขว้างจะพบกับภัยพิบัติต่าง ๆ นานา ผีโพงจะตายได้ เมื่อมีผู้ไปพบปะกับผีโพงเข้าอย่างจัง และทักว่าผีโพงแท้จริงแล้วคือใคร หากผ่านพ้นมาได้หนึ่งวันแล้ว ผู้ที่เป็นผีโพงจะตาย ผีโพงสามารถถ่ายทอดให้แก่กันได้ ด้วยพ่นน้ำลายใส่หน้าหรือมีใครไปกินน้ำลายของผีโพงเข้า ที่ตำบลพลับพลา อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา มีหมู่บ้านแห่งหนึ่งชื่อ บ้านหนองผีหลอก อยู่ห่างจากตัวอำเภอโชคชัยประมาณ 5 กิโลเมตร สภาพส่วนใหญ่เป็นไร่มันสำปะหลังและนาข้าว เหตุที่ได้ชื่อนี้เนื่องจากคำร่ำลือที่มีมาแต่อดีตนับร้อยปีว่าที่แห่งนี้ ในอดีตมีสภาพเป็นหนองน้ำพื้นที่ประมาณ 100 ไร่ ติดกับทางเกวียน ในเวลาค่ำคืนมีผีโพงและผีโป่งออกมาจับกบเขียดกินเป็นอาหารบ่อย ๆ จนไม่มีผู้ใดกล้าผ่านไปในเวลากลางคืน แต่จนปัจจุบันนี้หมู่บ้านแห่งนี้ยังมิได้มีการยกฐานะเป็นหมู่บ้านอย่างเป็นทางการ.

ดู มนุษย์และผีโพง

ผีไม่มีหน้า

ผีไม่มีหน้า ผีไม่มีหน้า เป็นผีญี่ปุ่นอย่างหนึ่งที่ไม่มีใบหน้า มีแต่หน้าเกลี้ยงๆ คล้ายไข่ ซึ่งแม้แต่ตา จมูก ปาก ไม่มีบนใบหน้าเลย ผีตนนี้มักเที่ยวหลอกหลอนคนผ่านทางในเวลากลางคืน มีตำนานที่เล่าขานในจังหวัดอิวาเตะ ประเทศญี่ปุ่น บางครั้งก็เรียกผีตนนี้ว่า "มุจินะ".

ดู มนุษย์และผีไม่มีหน้า

ผีเสื้อ (แมลง)

ผีเสื้อ (ภาษาไทยถิ่นเหนือ: แมงก่ำเบ้อ) เป็นแมลงทุกชนิดในอันดับเลพิดอปเทรา (Lepidoptera) มีวงชีวิตเริ่มแรกตั้งแต่ระยะไข่ ระยะหนอน ระยะดักแด้ ตราบจนระยะการเปลี่ยนสัณฐานเข้าสู่ระยะการโตเต็มวัยที่มีปีกหลากสีต้องตาผู้คน ในทางกีฏวิทยาการจัดจำแนกแมลงกลุ่มนี้จะใช้เส้นปีกในการจัดจำแนก.

ดู มนุษย์และผีเสื้อ (แมลง)

จระเข้น้ำเค็ม

ระเข้น้ำเค็ม หรือ จระเข้น้ำกร่อย หรือ ไอ้เคี่ยม หรือ จระเข้ทองหลาง(Saltwater crocodile, Estuarine crocodile) เป็นสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ในอันดับจระเข้ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Crocodylidae เป็นจระเข้ 1 ใน 3 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย (อีก 2 ชนิด คือ จระเข้น้ำจืดและตะโขง) มีลักษณะทั่วไปคล้ายจระเข้น้ำจืด จุดที่แตกต่างกันคือ ขาคู่หลังมีลักษณะแข็งแรงกว่าขาคู่หน้าและมีเพียง 4 นิ้วมีพังผืดระหว่างนิ้วตีนมากกว่าจระเข้น้ำจืด จะงอยปากยาวและส่วนปลายค่อนข้างแหลม มีฟันประมาณ 60 ซี่ ลักษณะแตกต่างจากจระเข้น้ำจืดคือไม่มีเกล็ด 4 เกล็ดที่ท้ายทอย ปากยาวกว่าจระเข้น้ำจืดอย่างเห็นได้ชัด มีสันเล็ก ๆ ยื่นจากลูกตาไปตามความยาวของส่วนหัวจนถึงตำแหน่งของปุ่มจมูก หรือที่เรียกว่าก้อนขี้หมา สีลำตัวออกเหลืองอ่อนหรือสีขาว และมีการเรียงตัวที่ส่วนหาง ดูคล้ายตาหมากรุก ตัวผู้มีความยาวหางยาวกว่าตัวเมีย แต่ลำตัวของตัวผู้ผอมเพรียวกว่าแต่โดยรวมแล้วขนาดลำตัวของตัวเมียจะเล็กกว่าเมื่อเทียบกันตัวต่อตัว และระยะห่างของโหนกหลังตาจะกว้างกว่าหัวของตัวผู้ดูป้อมสั้น ตัวเมียจะดูหัวยาวเรียว จระเข้น้ำเค็มจัดว่าเป็นสายพันธุ์จระเข้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก โตเต็มที่ได้ถึง 4-5 เมตร พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศออสเตรเลียทางตอนเหนือ บริเวณนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี มักอาศัยอยู่ในป่าโกงกางหรือป่าชายเลนในที่ที่เป็นน้ำกร่อยหรือน้ำเค็ม ตัวผู้จะถึงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 16 ปี ตัวเมียอายุ 10 ปี แต่จะให้ไข่ที่สมบูรณ์เมื่ออายุ 12 ปี มีขนาดยาว 2.2 เมตร มีการผสมพันธุ์ในฤดูร้อนและวางไข่ในฤดูฝน ครั้งละ 25-90 ฟอง การวางไข่จะใช้เวลาประมาณ 20-25 นาที ใช้ระยะเวลาในการฟักไข่ประมาณ 80 วัน ขนาดของไข่จระเข้น้ำเค็มจะใหญ่กว่าจระเข้น้ำจืดเล็กน้อย มีน้ำหนักประมาณ 110-120 กรัม จระเข้น้ำเค็มมีอุปนิสัยดุร้ายมาก สามารถโจมตีสัตว์ที่โดยปกติไม่ใช่อาหารได้ เช่น มนุษย์ เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบางถิ่นของออสเตรเลียที่ขึ้นชื่ออย่างยิ่งในเรื่องการโจมตีมนุษย์ของจระเข้น้ำเค็ม อีกทั้งมีการกัดของกรามได้อย่างรุนแรงมากที่สุดในโลก โดยมีแรงมากถึง 1,700 ปอนด์ และสามารถกระโดดงับเหยื่อได้ ซึ่งไม่น่าเป็นไปได้ในสัตว์เลื้อยคลายขนาดใหญ่เช่นนี้ จนกระทั่งมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า "Man Eater" ซึ่งในสวนสัตว์บางแห่งได้ใช้ความสามารถพิเศษอันนี้หลอกล่อให้จระเข้กระโดดงับเหยื่อที่แขวนล่อไว้เพื่อแสดงแก่ผู้ที่มาเยี่ยมชม ในทางอุตสาหกรรม หนังของจระเข้น้ำเค็มมีคุณสมบัติเหมาะสมในการทำเครื่องหนังมากกว่าจระเข้น้ำจืด เพราะมีหนังที่เหนียวทนทานกว่า จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจ แต่ทว่าด้วยความที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการจระเข้จะโตและให้ผลผลิตที่ดีได้ จึงนิยมผสมข้ามสายพันธุ์กับจระเข้สายพันธุ์อื่นเพื่อให้ได้จระเข้ลูกผสมที่จะให้ผลผลิตที่เร็วกว.

ดู มนุษย์และจระเข้น้ำเค็ม

จระเข้แม่น้ำไนล์

ระเข้แม่น้ำไนล์ (Nile crocodile) เป็นจระเข้ชนิดหนึ่ง ที่มีขนาดใหญ่ จระเข้แม่น้ำไนล์ เป็นจระเข้ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่สองรองมาจากจระเข้น้ำเค็ม (C.

ดู มนุษย์และจระเข้แม่น้ำไนล์

จักระ

ักระ (Chakra, Cakra, Cakka) เป็นศูนย์รวมกายทิพย์ (subtle body) ที่เชื่อว่ามีพลังทางจิตในประเพณีลึกลับของศาสนาแบบอินเดีย, Encyclopaedia Britannica ความคิดมักพบในประเพณีแบบตันตระของศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน จักระถูกมองว่าเป็นจุดรวมพลังงาน การทำงานของร่างกาย หรือจุดต่อทางจิตของกายทิพย์ ทฤษฎีจักระเป็นส่วนหนึ่งของระบบกุณฑลินี (Kundalini) ทฤษฎีเหล่านี้ต่างกันไปตามแต่ละศาสนา เอกสารของศาสนาพุทธกล่าวถึงจักระทั้ง 4 ส่วนศาสนาฮินดูกล่าวถึงจักระทั้ง 7 โดยเชื่อว่าจักระเป็นส่วนหนึ่งของกายทิพย์ ไม่ใช่ร่างกาย และเชื่อมต่อโดยช่องทางพลังงานเรียกว่านาดิ (Nadi) ส่วนนึงในโยคะแบบกุณฑลินีมีการฝึกรวบรวมพลังงานผ่านจักร.

ดู มนุษย์และจักระ

จัสติสลีก (ภาพยนตร์การ์ตูน)

ัสติสลีก ฉบับแอนิเมชั่น (Justice League) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันที่เข้ามาฉายในประเทศไทยทางช่อง Cartoon Network ของ ทรูวิชั่นส์ ช่อง 29 สำหรับระบบอนาล็อกและช่อง 52 สำหรับระบบดิจิตอล ซึ่งมีพื้นฐานจากจัสติสลีก โดยที่ต้นฉบับของการ์ตูน เรื่องนี้ มาจาก หนังสือการ์ตูนชื่อเดียวกันนี้ โดยเป็นการรวมเรื่องดังของ DC Comics ในฉบับแอนิเมชั่นนี้เป็นการรวมเอา 7 ซูเปอร์ฮีโร่ผู้ยิ่งใหญ่แห่งจักรวาล DC เข้าไว้เป็นทีมเดียวกัน โดยเรียกตัวเองว่า สภายุติธรรม (จัสติสลีก) ขณะเดียวกันก็มีการรวมเหล่าร้ายต่างๆจากการ์ตูนแต่ละเรื่องมาด้วยเช่น เล็กซ์ ลูเธอร์ (ซูเปอร์แมน), โจ๊กเกอร์, ทอยแมน (แบทแมน), แวนดัล ซาเวจ รวมทั้งมีการปรากฏตัวของการ์ตูนซูเปอร์ฮีโร่อื่นๆของทาง DC เช่น สแตติก (จากเรื่อง สแตติค ช็อค).

ดู มนุษย์และจัสติสลีก (ภาพยนตร์การ์ตูน)

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ดู มนุษย์และจังหวัดศรีสะเกษ

จันทนา ศิริผล

ันทนา ศิริผล มีชื่อจริงคือ สิรยา สิริธัญผล เป็นนักแสดงตลกชาวไท.

ดู มนุษย์และจันทนา ศิริผล

จามรี

มรี (Yak, Grunting ox; як; 犛牛; พินอิน: Máoniú; มองโกล: Сарлаг; ฮินดี: याक) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์วัวและควาย (Bovidae).

ดู มนุษย์และจามรี

จานดาวเทียม

นดาวเทียม จานดาวเทียม หรือจานรับสัญญาณดาวเทียมหมายถึง สายอากาศชนิดหนึ่งซึ่งออกแบบเฉพาะเพื่อให้เหมาะสมกับการรับสัญญาณจากดาวเทียม ที่ลอยอยู่ในอวกาศและส่งสัญญาณกลับลงมายังพื้นโลก โดยทั่วไปมักมีรูปทรงเป็นรูปจานโค้งแบบพาราโบลา เพื่อให้เกิดการรวมและสะท้อนสัญญาณอย่างมีประสิทธิภาพ พื้นผิวสำหรับของจานรับสัญญาณสามารถเป็นได้ทั้งพื้นผิวแบบทึบ และพื้นผิวแบบโปร่ง ซึ่งพื้นผิวแบบทึบลมจะไม่สามารถผ่านได้จึงต้านลมมากกว่าแบบโปร่ง ขนาดของจานรับสัญญาณดาวเทียมขึ้นอยู่กับปัจจัยที่สำคัญสองประการ.

ดู มนุษย์และจานดาวเทียม

จิตพยาธิวิทยาสัตว์

ตพยาธิวิทยาสัตว์ (Animal psychopathology) เป็นการศึกษาโรคจิตและพฤติกรรมในสัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์ โดยประวัติแล้ว ศาสตร์มักจะเอามนุษย์เป็นศูนย์ (มานุษยประมาณนิยม) เมื่อศึกษาจิตพยาธิวิทยาในสัตว์เพื่อใช้เป็นแบบจำลองสำหรับโรคจิตในมนุษย์ แต่จากมุมมองทางวิวัฒนาการ จิตพยาธิของสัตว์จะพิจารณาได้อย่างเหมาะสมกว่าว่า เป็นพฤติกรรมที่ไม่ปรับตัว (non-adaptive) เพราะความพิการทางความรู้คิด ความพิการทางอารมณ์ หรือความทุกข์บางอย่าง บทความนี้แสดงจิตพยาธิสัตว์จำนวนหนึ่งแต่ไม่สมบูรณ.

ดู มนุษย์และจิตพยาธิวิทยาสัตว์

จิตวิทยา

ตวิทยา (psychology) คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต), กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การรับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์), อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น) และยังรวมถึงการใช้ความรู้ทางจิตวิทยาสำหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทำความเข้าใจถึงหน้าที่หรือจุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ทำการศึกษาขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม.

ดู มนุษย์และจิตวิทยา

จิ้งหรีด

้งหรีด หรือ จังหรีด (Cricket; วงศ์: Gryllidae) เป็นแมลงจำพวกหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Gryllidae ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยต่าง ๆ อีกจำนวนหนึ่ง (ดูในตาราง) จิ้งหรีดถือเป็นแมลงที่มีขนาดลำตัวปานกลางเมื่อเทียบกับแมลงโดยทั่วไป มีปีก 2 คู่ คู่หน้าเนื้อปีกหนากว่าคู่หลัง ปีกเมื่อพับจะหักเป็นมุมที่ด้านข้างของลำตัว ปีกคู่หลังบางพับได้แบบพัดสอดเข้าไปอยู่ใต้ปีกคู่หน้า ปากเป็นชนิดกัดกิน หัวกับอกมีขนาดกว้างไล่เลี่ยกัน ขาคู่หลังใหญ่และแข็งแรงใช้สำหรับกระโดด ตัวผู้มีอวัยวะพิเศษสำหรับทำเสียงเป็นฟันเล็ก ๆ อยู่ตามเส้นปีกบริเวณกลางปีก ใช้กรีดกับแผ่นทำเสียงที่อยู่บริเวณท้องปีกของปีกอีกข้างหนึ่ง อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่เป็นที่รู้จักกันดีของจิ้งหรีด ขณะที่ตัวเมียจะไม่สามารถทำเสียงดังนั้นได้ และจะมีอวัยวะสำหรับใช้วางไข่เป็นท่อยาว ๆ บริเวณก้นคล้ายเข็ม เห็นได้ชัดเจน จิ้งหรีดสามารถพบได้ในทั่วโลก โดยเฉพาะในเขตร้อนชื้น พบแล้วประมาณ 900 ชนิด ในประเทศไทยก็พบได้หลายชนิด จิ้งหรีดเป็นแมลงที่กัดกินพืชชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร สามารถกินได้หลายชนิด มักออกหากินในเวลากลางคืน มักจะอาศัยโดยการขุดรูอยู่ในดินหรือทราย ในที่ ๆ เป็นพุ่มหญ้า แต่ก็มีจิ้งหรีดบางจำพวกเหมือนกันที่อาศัยบนต้นไม้เป็นหลัก สำหรับในประเทศไทย พบจิ้งหรีดได้ทั่วทุกภูมิภาค ชนิดของจิ้งหรีดที่พบ ได้แก่ จิ้งหรีดทองดำ (Gryllus bimaculatus), จิ้งหรีดทองแดง (G.

ดู มนุษย์และจิ้งหรีด

จุลประติมากรรม

ลประติมากรรมพหุรงค์ของนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์จากคริสต์ศตวรรษที่ 18 จุลประติมากรรม (Figurine) “Figurine” เป็นคำที่แผลงมาจากคำว่า “Figure” ที่หมายถึงประติมากรรมขนาดเล็ก (Statuette) ในรูปของมนุษย์, เทพ หรือ สัตว์ จุลประติมากรรมจะเป็นได้ทั้งสัจศิลป์ หรือ สัญลักษณศิลป์ (icon) ขึ้นอยู่กับความชำนาญ/ความสามารถ หรือความตั้งใจของผู้สร้าง งานจุลประติมากรรมในสมัยแรกทำจากหินหรือดินเหนียว แต่เมื่อมาถึงสมัยต่อมาก็อาจจะเป็นเซอรามิค, โลหะ, แก้ว, ไม้ หรือ พลาสติกก็ได้ จุลรูปที่มีส่วนที่เคลื่อนไหวได้เช่นแขน หรือ ขามักจะเรียกว่าตุ๊กตา, หุ่นจัดท่า หรือ action figure; หรือ หุ่นยนต์ หรือ หุ่นกล (Automaton) ถ้าเคลื่อนไหวเองได้ จุลประติมากรรม หรือ จุลรูป บางครั้งก็ใช้ใน เกมกระดาน เช่น หมากรุกเป็นต้น.

ดู มนุษย์และจุลประติมากรรม

จีโนมมนุษย์

จีโนมของมนุษย์คือชุดของข้อมูลทางพันธุกรรมทั้งหมดของมนุษย์ ข้อมูลนี้อยู่ในลำดับ DNA ซึ่งกระจายอยู่บนโครโมโซม 23 คู่ในนิวเคลียสของเซลล์แต่ละเซลล์ รวมทั้งในโมเลกุล DNA อีกส่วนหนึ่งที่อยู่ในไมโตคอนเดรีย ข้อมูลในจีโนมของมนุษย์มีทั้ง DNA ส่วนที่จะถูกถอดรหัสเป็นโปรตีน (coding DNA) และส่วนที่จะไม่ถูกถอดรหัสเป็นโปรตีน (noncoding DNA) ครึ่งหนึ่งหรือส่วนที่เป็นแฮพลอยด์ของจีโนมมนุษย์ (พบในเซลล์ไข่หรือเซลล์อสุจิ) มีจำนวนสามพันล้านคู่เบส ในขณะที่จีโนมทั้งหมดหรือดิพลอยด์ของจีโนม (พบในเซลล์โซมาติกทั่วไป) มีจำนวนคู่เบสดีเอ็นเอเป็น 2 เท่า หมวดหมู่:แผนที่พันธุกรรม หมวดหมู่:พันธุศาสตร์ หมวดหมู่:จีโนมิกส์ หมวดหมู่:มนุษย์ หมวดหมู่:วิวัฒนาการของมนุษย์ หมวดหมู่:มนุษยพันธุศาสตร์.

ดู มนุษย์และจีโนมมนุษย์

ธันเดอร์เบิร์ด (เทพปกรณัม)

อินเดียนแดง ธันเดอร์เบิร์ด (Thunderbird) เป็นชื่อนกยักษ์ในตำนานของอินเดียนแดง ซึ่งเป็นชนเผ่าพื้นเมืองของอเมริกาเหนือ เชื่อกันว่า ธันเดอร์เบิร์ด มีความกว้างของปีกทั้งสองข้างยาวถึง 8 เมตร และแรงกระพือของปีกเวลาบินก่อให้เกิดทอร์นาโดและฟ้าร้อง และปรากฏการณ์ฟ้าแลบนั้น เชื่อว่าเกิดจากแสงสะท้อนของแสงอาทิตย์กระทบกับตาของธันเดอร์เบิร์ด ธันเดอร์เบิร์ดเป็นนกที่ชาวอินเดียนแดงให้ความนับถือเป็นอย่างยิ่ง ถือเป็นสัตว์ที่น่าเกรงขามและศักดิ์สิทธิ์ดุจเทพเจ้าแห่งท้องฟ้า โดยมักจะประดับอยู่ที่ยอดเสาอินเดียนแดงธันเดอร์เบิร์ดมีคนเขาบอกกันว่ามันคือ เทอโรซอร์ ที่ยังไม่สูญพันธ์ สันนิษฐานว่าความเชื่อเรื่องธันเดอร์เบิร์ด อาจจะมาจากนกจำพวกแร้งขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ คือ แร้งแคลิฟอร์เนีย (Gymnogyps californianus) ซึ่งในอดีตเคยมีอยู่มากมาย แต่สถานะในปัจจุบันเป็นสัตว์ที่อยู่ในขั้นใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตแล้ว อย่างไรก็ดี ความเชื่อเรื่องธันเดอร์เบิร์ดได้กลายมาเป็นเรื่องเล่าลือเกี่ยวกับสัตว์ประหลาดในหลายที่ของสหรัฐอเมริกา เช่น ในแถบตะวันตกเฉียงใต้ หรือที่รัฐเพนซิลเวเนีย โดยมีรายงานการพบเห็นมาตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และธันเดอร์เบิร์ด (เทพปกรณัม)

ธุลีปริศนา

ลีปริศนา เป็นนิยายแฟนตาซีไตรภาค ประพันธ์โดย ฟิลิป พูลแมน ประกอบด้วยมหันตภัยขั้วโลกเหนือ (ค.ศ. 1995) มีดนิรมิต (ค.ศ.

ดู มนุษย์และธุลีปริศนา

ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น

ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวนวนิยายวิทยาศาสตร์ โลดโผน ออกฉายวันที่ 19 มิถุนายน ค.ศ.

ดู มนุษย์และทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้น

ทรานส์ฟอร์เมอร์ส 5: อัศวินรุ่นสุดท้าย

ทรานส์ฟอร์เมอร์ส 5: อัศวินรุ่นสุดท้าย (Transformers: The Last Knight) เป็นภาพยนตร์ฮอลลีวูดแอคชั่นจากปี ค.ศ. 2017 ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ภาคห้าในภาพยนตร์ซีรีส์ชุด ทรานส์ฟอร์เมอร์ส ต่อจาก ทรานส์ฟอร์เมอร์ส: มหาวิบัติยุคสูญพันธุ์ กำกับโดย ไมเคิล.

ดู มนุษย์และทรานส์ฟอร์เมอร์ส 5: อัศวินรุ่นสุดท้าย

ทริปโตเฟน

ทริปโตเฟน (Tryptophan;ย่อ Trp หรือ W) เป็นหนึ่งใน 8 กรดอะมิโนที่จำเป็นในความต้องการของมนุษย์ มันถูกเข้ารหัสในรหัสทางพันธุกรรมพื้นฐานเป็นโคดอน UGG เพียงแค่ L-สเตอริโอไอโซเมอร์ของทริปโตเฟนเท่านั้นถูกใช้ในสเกลอโรโปรตีนหรือโปรตีนเอนไซม์ แต่ D-สเตอริโอไอโซเมอร์บางครั้งพบในเพปไทด์ที่ถูกสร้างขึ้นตามธรรมชาติ (ตัวอย่าง คอนทริปเฟนเพปไทด์พิษทะเล) ลักษณะโครงสร้างเด่นของทริปโตเฟนคือบรรจุด้วยหมู่ฟังก์ชันอินโดล.

ดู มนุษย์และทริปโตเฟน

ทวินซิกแนล

ทวินซิกแนล เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชเน็น เรื่องราวเกี่ยวกับหุ่นยนต์เหมือนมนุษย์ที่สามารถแปลงร่างกลายเป็นหุ่นยนต์ตัวเล็กเนื่องจากบั๊กภายในตัว และการต่อสู้ระหว่างมนุษย์ผู้สร้าง.

ดู มนุษย์และทวินซิกแนล

ทอมัส อไควนัส

นักบุญทอมัส อไควนัส (Thomas Aquinas (ค.ศ. 1225-1274) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกสังกัดคณะดอมินิกัน เกิดในตระกูลขุนนางชาวอิตาลี สนใจศึกษาสิ่งต่าง ๆ อย่างละเอียดลึกซึ้ง อไควนัสได้พัฒนาแนวความคิดของเขาโดยได้รับอิทธิพลจากอาริสโตเติล ในขณะที่นักคิดคนอื่นมีความเห็นตรงกันข้าม อควีนาสได้ดำเนินการศึกษา สรุปผลที่เป็นแบบตรรกศาสตร์ที่สมบูรณ์ โดยไม่มีข้อสงสัยหรือข้อขัดแย้ง ตามแนวความคิดของอไควนัส ระเบียบวิธีดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่ออควีนาสเริ่มหันมาสนใจศึกษาค้นคว้าแนวความคิดของอาริสโตเติล และได้มีอิทธิพลตลอดชีวิตการทำงานของอไควนัส จุดมุ่งหมายอีกประการหนึ่งของอไควนัสคือ การผสมผสานเทววิทยาศาสนาคริสต์ให้เข้ากับตรรกศาสตร์ของอาริสโตเติล ในที่สุดแนวความคิดของอาริสโตเติลก็กลับมามีชื่อเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง นักคิดชาวตะวันตกก็เริ่มหันมาศึกษางานของอริสโตเติลกันมากขึ้น มีผู้กล่าวว่าอาริสโตเติลเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์ที่มีความรอบรู้ พระเจ้าพึงพอใจยอมอนุญาตให้เป็นผู้สรุปความรู้ทุกสาขาวิชา เท่ากับยอมรับว่าอาริสโตเติลเป็นเหมือนคัมภีร์อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นนักบวชของศาสนา เป็นตัวบทกฎหมาย และเป็นนักวินัยทางศาสนา เปรียบเสมือนเป็นผู้ที่มีอำนาจหน้าที่กำหนดความสัมพันธ์ของมนุษย์ กำหนดความรู้ทุกสาขาวิชา งานเขียนของอไควนัส ในระยะนี้พยายามอธิบายสังคมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนา และพระผู้เป็นเจ้า อไควนัสพยายามกำหนดความสำคัญและหน้าที่ใหม่ของศาสนาที่มีต่อสังคม โดยให้ศาสนายังคงมีอำนาจทางธรรมตามคำสอนของศาสนา อไควนัสก็เหมือนกับนักปราชญ์คนอื่น คือมีความเชื่อว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคมมีจุดมุ่งหมายเพื่อดำรงชีวิตอยู่ในสังคม มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่มีความสามารถกำหนดควบคุมการกระทำของตนเองได้ด้วยสติปัญญา มนุษย์จะตกอยู่ในอันตราย ถ้าไม่ยอมรับระบบสังคม อไควนัสจึงเน้นเอกภาพในสังคมมนุษย์ที่มีพลังอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเอกภาพทางการเมืองเป็นสิ่งสำคัญ จุดมุ่งหมายก็เพื่อให้สังคมมีเอกภาพอย่างสันติไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้น วิธีการดังกล่าวเปรียบเสมือนมนุษย์ได้รับการอบรมทางจิต จิตที่อบรมแล้ว จะสั่งการให้ร่างกายกระทำสิ่งต่าง ๆ ตามหน้าที่ในสังคม ดังนั้น การปกครองโดยรัฐบาลที่มีผู้นำเพียงคนเดียวจึงเป็นวิธีการที่ดีที่สุด กษัตริย์อันเป็นราชาแห่งปราชญ์คนเดียวจะปกครองประชาชนอย่างยุติธรรม โครงสร้างทางสังคมก็เหมือนกับธรรมชาติที่พระเจ้าปกครอง คนในสังคมจะทำหน้าที่ได้ดีที่สุด ถ้าสัมคมมีเอกภาพโดยมีผู้นำเพียงคนเดียว.

ดู มนุษย์และทอมัส อไควนัส

ทักษะชีวิต

ทักษะชีวิต (Life skills) เป็นสมรรถภาพในการมีพฤติกรรมที่เป็นการปรับตัวที่ดี ซึ่งช่วยให้มนุษย์รับมือกับความจำเป็น/ความต้องการและปัญหาของชีวิต หรือกล่าวอีกอย่างก็คือ เป็นสามัตถิยะทางจิต-สังคม (psychosocial competency) มีทักษะจำนวนหนึ่งที่จะได้จากการสอนหรือการปฏิบัติโดยตรงเพื่อใช้ไขปัญหาและคำถามที่มีอยู่ทั่วไปในชีวิตประจำวัน ทักษะที่ว่าจะต่างกันไปขึ้นอยู่กับค่านิยมและความคาดหวังของสังคม แต่ทักษะที่ช่วยให้อยู่เป็นสุข (well-being) และช่วยให้พัฒนาเป็นสมาชิกทางสังคมที่มีส่วนและก่อประโยชน์ จะพิจารณาว่าเป็นทักษะชีวิต.

ดู มนุษย์และทักษะชีวิต

ทากาสุงิ ชินสุเกะ

ทากาสุงิ ชินสุเกะ() เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ เป็นตัวละครร้ายตัวหลักของเรื่อง.

ดู มนุษย์และทากาสุงิ ชินสุเกะ

ทารกออกแบบ

ทารกออกแบบ (designer baby) หมายถึงตัวอ่อนมนุษย์ที่ผ่านการดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อให้เกิดลักษณะที่พึงประสงค์ ทางทฤษฎีอาจทำได้หลายวิธี เช่น ยีนบำบัดแบบคริสเปอร์ หรืออื่นๆ เทคโนโลยีนี้ยังเป็นที่ถกเถียงในประเด็นด้านจริยธรรม ว่าด้วยสุพันธุศาสตร์ และการสร้างมนุษย์ที่เหนือกว่าที่อาจมาทดแทนมนุษย์ปัจจุบัน.

ดู มนุษย์และทารกออกแบบ

ทาลามัส

ทาลามัส (Thalamus) เป็นศูนย์รวมกระแสที่ผ่านเข้าออก และแยกกระแสประสาทไปยังสมองที่เกี่ยวกับประสาทนั้น หรืออาจเรียกว่าเป็นสถานีถ่ายถอดกระแสประสาทเพื่อส่งไปยังจุดต่างๆ ในสมอง และยังทำหน้าที่ในการรับรู้ความเจ็บปวด ทำให้มีการสั่งการ และแสดงออกด้านพฤติกรรมด้านความเจ็บปวด ทาลามัสอยู่เป็นคู่ตั้งอยู่ใจกลางสมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังรวมทั้งมนุษย์ด้วย ทาลามัสอยู่ระหว่างเปลือกสมองใหญ่ (Cerebral Cortex) กับสมองส่วนกลาง (Mid brain) ที่ตั้งอยู่ใจกลาง และเป็นศูนย์ศูนย์รวมประสาทสั่งการ มีหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาท ประสาทสัมผัสจำเพาะ(Special Sense)และส่งผ่านไปยัง(Cerebral Cortex)หรือเปลือกสมองใหญ่ เป็นไปตามภาวะปกติของความมีสติ (Conciousness) ในยามหลับและยามตื่น ทาลามัสจะห้อมล้อมรอบๆ เซอด เวนตริเคิล (Third Ventricle) มันเป็นผลผลิตหลักของเอ็มบริโอนิค ไดเอนซีฟาโลน (Cmbryonic Diencephalon) หรือตัวอ่อนของสมองส่วนกลางทาลามัสเป็นโครงสร้างใหญ่สุดของสมองส่วนกลาง ซึ่งเป็นส่วนของสมองที่ตั้งอยู่ระหว่างสมองส่วนกลาง (Mid brain) มีเซนซีฟาโลน และสมองส่วนหน้า เทเลซีฟาโลน (Telecephalon) ในมนุษย์ ครึ่งหนึ่งของทาลามัสแต่ละอันมีรูปร่างเหมือนจุกยางกลมๆคล้ายปลายเทอร์โมมิเตอร์ สามารถบีบและคลายตัวได้.

ดู มนุษย์และทาลามัส

ทางเดินอาหารของมนุษย์

right ระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal tract, GI tract, alimentary canal หรือ gut) ระบบทางเดินอาหาร อาจเรียกอีกอย่างว่าระบบย่อยอาหาร (digestive tract) ระบบอวัยวะนี้มีเฉพาะในสัตว์หลายเซลล์ (multicellular animals) ที่ต้องกินอาหารและย่อยอาหาร เพื่อรับสารอาหารและพลังงานและขับถ่ายของเสียออกไป.

ดู มนุษย์และทางเดินอาหารของมนุษย์

ทีมฟอร์เทรส 2

ทีมฟอร์เทรส 2 (Team Fortress 2, ชื่อย่อ TF2) เป็นเกมแนวเกมยิงมุมมองบุคคลที่หนึ่งและเป็นวิดีโอเกมผู้เล่นหลายคนที่ถูกพัฒนาโดยวาล์วคอร์เปอร์เรชันที่โดยตัวเกมได้พัฒนามาจากทีมฟอร์เทรส คล.

ดู มนุษย์และทีมฟอร์เทรส 2

ขวานหิน

วานหิน เป็นขวานที่ทำด้วยหินในยุคที่มนุษย์เริ่มรู้จักทำขวานหินเป็นอาวุธ เข้าด้ามด้วยไม้ เอาไว้ใช้ล่าสัตว์ หรือ สับ ตัด ฟัน ผ่า ถากไม้ แล่เนื้อสัตว์หรือตัดกระดูก มักจะทำมาจากหินทราย หินทัฟฟ์ (tuff) หินควอร์ตไซต์ (quartzite) หินเชิร์ต (chert) หรือหินคาลซิโดนิ (chalcedony) ขวานหินขัด เป็นเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นจากขวานหินกระเทาะโดยขัดเกลาจนบางเรียบเพื่อให้มี ประสิทธิภาพในการใช้สอยมากยิ่งขึ้นและใช้โดยการเข้าด้ามไม้ตามลักษณะของประโยชน์ ใช้สอย เช่น ขวานตัดต้นไม้หรือสิ่ว.

ดู มนุษย์และขวานหิน

ขามนุษย์

องมนุษย์ (human leg) หมายถึง รยางค์ล่าง (lower limb) ของร่างกายมนุษย์ นับตั้งแต่สะโพก (hip) ไปจนถึงข้อเท้า (ankle) ได้แก่ ต้นขา (thigh), เข่า (knee), ปลายขา (cnemis) กระดูกที่ใหญ่ที่สุดในร่างกายมนุษย์คือ กระดูกต้นขา (femur) ก็อยู่ในขาด้วย ในทางกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ ขาเป็นส่วนหนึ่งของรยางค์ล่างที่อยู่ระหว่างเข่าและข้อเท้า (ส่วนที่อยู่เหนือขึ้นไปจนถึงสะโพกจะเรียกว่า ต้นขา) ส่วนบริเวณที่เราเรียกกันทั่วไปว่า ขา คือนับตั้งแต่สะโพกตลอดถึงข้อเท้าจะใช้ว่า "รยางค์ล่าง" (lower limb) ซึ่งในบทความนี้จะใช้นิยามของ ขา ตามที่เรียกกันทั่วไป ส่วนของขาที่นับจากเข่าถึงข้อเท้าเรียกว่า ปลายขา (cnemis หรือ crus) โดยส่วนหลังเรียกว่า น่อง (calf) และส่วนหน้าเรียกว่า แข้ง (shin) ในหลายวัฒนธรรม ขาเป็นอุปมาถึงความแข็งแรงหรือการเคลื่อนที่ ขาอาจหมายความถึงส่วนประกอบของสิ่งของที่ทำหน้าที่รองรับ เช่น ขาเก้าอี้ เป็นต้น.

ดู มนุษย์และขามนุษย์

ขน

ขน ขน หมายถึง เส้นขนที่มีความจำกัด ไม่เจริญเติบโต แตกต่างจากเส้นผม ขึ้นแทรกตามรูขุมขนทั่วบริเวณของร่างกาย ในบริเวณที่ไม่มีชื่อเรียกเฉพาะ เรียกว่า ขน เส้นขนที่มีความจำกัดความยาว เช่นเดียวกับขน เช่นคิ้ว หรือขนที่บริเวณรูทวารก็เช่นกัน ซึ่งเป็นขนที่ไม่มีชื่อเรียกอย่างทั่วไป ขนที่มีชื่อเรียกเฉพาะเป็นส่วนเส้นขนที่เรียกชื่อตามอวัยวะเช่น ขนจมูก ขนรักแร้ ขนตา และขนที่อวัยวะเพศ เช่น ขนเพชร ก็เป็นขนชนิดหนึ่ง ขนนับเป็นอวัยวะส่วนหนึ่งที่สะท้อนถึงกระบวนคิดและเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ โดยมากเข้าใจว่า ขนเป็นส่วนประกอบของอวัยวะที่บ่งบอกเพศ ว่า เป็นบุรุษ หรือสตรี และปรากฏชัดเจนว่า ชาวเอเชียตะวันออกและชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีขนตามเรือนร่างน้อยกว่า ผู้คนชาวทวีปอื่นซึ่งมีขนทั่วบริเวณเรือนร่างมากกว่าอย่างเห็นได้ชัด ในภาษาอังกฤษไม่เรียกแยกระหว่าง "ผม" กับ "ขน" หมวดหมู่:รูปลักษณ์ของมนุษย์.

ดู มนุษย์และขน

ขนสัตว์

สุนัขมีขนชั้นบนยาวกว่าและปกปิดขนชั้นล่างเอาไว้ ขนสัตว์บนหัวลูกแมวอายุห้าเดือน ขนสัตว์ หมายถึง ขนที่ปกคลุมร่างกายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ไม่ใช่มนุษย์ แต่ก็ไม่ใช่ทุกชนิดที่จะมีขนสัตว์ ซึ่งจะใช้คำว่า เปลือย หรือ ไร้ขน ประกอบ เช่น สุนัขไร้ขน เป็นต้น ขนสัตว์ประกอบด้วยขนชั้นล่าง (ground/down hair) ขนชั้นบน (guard hair) และบางชนิดก็มีขนชั้นกลาง (awn hair) ขนชั้นล่างจะเป็นขนเส็นสั้นๆ เป็นฝอย แบน หยักศก และหนาแน่นกว่าชั้นบน เพื่อเก็บกักอากาศ ส่วนขนชั้นบนจะเป็นเส้นยาวและตรง ขนชั้นนี้จะเป็นชั้นที่มองเห็นได้ปกติทั่วไป และอาจมีสีและลวดลายอยู่ด้วย หมวดหมู่:ขนของสัตว์.

ดู มนุษย์และขนสัตว์

ขนาดองคชาตมนุษย์

ทั่วไปการวัดขนาดองคชาตมนุษย์จะวัดความยาวและเส้นรอบวงในขณะองคชาตแข็งตัวเต็มที่ ขนาดองคชาตมนุษย์ หมายถึงความยาวและความกว้างของอวัยวะสืบพันธุ์มนุษย์เพศชาย โดยการให้ความสนใจเกี่ยวกับขนาดองคชาตนี้ได้นำไปสู่อุตสาหกรรมเรื่อง การขยายขนาดองคชาต (penis enlargement) ที่มีการผลิตสแปมอีเมลเป็นจำนวนมาก เมื่อเปรียบเทียบกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นแล้ว หรือแม้แต่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ใหญ่กว่าอย่าง กอริลลา มนุษย์เพศชายยังมีขนาดอวัยวะสืบพันธุ์ที่ใหญ่กว่า โดยขนาดองคชาตที่ยาวและหนากว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นทั้งด้านขนาดเมื่อเปรียบเทียบกับอวัยวะที่เหลือของร่างก.

ดู มนุษย์และขนาดองคชาตมนุษย์

ข้อความอาเรซีโบ

้อความอาเรซีโบจัดเรียงเป็น 73 แถว คูณ 23 คอลัมน์ มีการเน้นสี แสดงให้เห็นข้อความแต่ละส่วน ข้อความอาเรซีโบ (Arecibo message) เป็นข้อความคลื่นวิทยุที่ส่งไปในอวกาศ เล็งไปที่กระจุกดาวดาวเอ็ม 13 ซึ่งอยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทาง 25,000 ปีแสง เนื่องในพิธีฉลองการปรับปรุงหอดูดาวอาเรซีโบเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู มนุษย์และข้อความอาเรซีโบ

ดังโงะโมโมทาโร่

ังโงะโมโมทาโร่ เป็นของวิเศษของโดราเอมอน ซึ่งปรากฏอยู่ในการ์ตูนเรื่อง โดราเอมอน มีลักษณะเป็นขนมคิบิดังโงะแบบเดียวกับขนมที่โมโมทาโร่แบ่งให้สัตว์สหายทั้งสามกินในนิทาน ประสิทธิภาพคือเมื่อสัตว์ได้กินเข้าไปแล้วจะเชื่องกับมนุษย์ทันที เหมาะที่จะให้พวกสัตว์ป่าดุร้ายกินเป็นอย่างยิ่ง แต่ถึงจะบอกว่าเป็นขนมที่ทำให้สัตว์เชื่อง จริงๆแล้วมนุษย์ก็สามารถกินได้เหมือนกันเพราะไม่มีผลอะไรต่อร่างกาย จัดเป็น 1 ในของวิเศษที่โดราเอมอนใช้บ่อยมากไม่แพ้ คอปเตอร์ไม้ไผ่ หรือ ประตูทุกหนแห่ง เล.

ดู มนุษย์และดังโงะโมโมทาโร่

ดาวทะเล

วทะเล หรือ ปลาดาว เป็นสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลัง ที่อยู่ในชั้น Asteroidea ลักษณะทั่วไป มีลำตัวแยกเป็นห้าแฉกคล้ายรูปดาวเรียกว่า แขน ส่วนกลาง มีลักษณะเป็นจานกลม ด้านหลังมีตุ่มหินปูน ขนาดเล็กกระจายอยู่ทั่วไป มีปากอยู่ด้านล่างบริเวณ จุดกึ่งกลางของ ลำตัว ใต้แขนแต่ละข้างมีหนวดสั้น ๆ เรียงตามส่วนยาว ของแขนเป็นคู่ ๆ มีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อที่เหนียวและแข็งแรงเรียกว่า โปเดีย ใช้สำหรับยึดเกาะกับเคลื่อนที่ มีสีต่าง ๆ ออกไป ทั้ง ขาว, ชมพู, แดง, ดำ, ม่วง หรือน้ำเงิน เป็นต้น พบอยู่ตามชายฝั่งทะเล โขดหิน และบางส่วนอาจพบได้ถึงพื้นทะเลลึก กินหอยสองฝา โดยเฉพาะ หอยนางรม, กุ้ง, ปู หนอน และ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ เช่น ฟองน้ำหรือปะการัง เป็นอาหาร.

ดู มนุษย์และดาวทะเล

ดูน (นวนิยาย)

หน้าปก ดูน ฉบับพิมพ์ครั้งแรก ภูเขาทรายในออริกอน ที่เป็นแรงบันดาลใจให้แฟรงค์ เฮอร์เบิร์ตเขียนนวนิยาย ดูน ดูน (Dune) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์โดยแฟรงค์ เฮอร์เบิร์ต ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ..

ดู มนุษย์และดูน (นวนิยาย)

ดีพวัน

ีพวัน (Deep One) เป็นอมนุษย์ในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ โดยปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น The Shadow Over Innsmouth (พ.ศ.

ดู มนุษย์และดีพวัน

ดีดีที

ีดีที (DDT) ย่อมาจาก ไดคลอโรไดฟีนิลไตรคลอโรอีเทน (dichlorodiphenyltrichloroethane) เป็นยาฆ่าแมลงประเภทสารสังเคราะห์ออร์กาโนคลอรีน นิยมใช้มาตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ดีดีทีถูกสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี..

ดู มนุษย์และดีดีที

ดนตรีไทย

วงมโหรีโบราณเครื่องหก ดนตรีไทย เป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย, จีน, อินโดนีเซีย และอื่น ๆ เครื่องดนตรีมี 4 ประเภท ดีด สี ตี เป.

ดู มนุษย์และดนตรีไทย

ด็อพเพิลเก็งเงอร์

็อพเพิลเก็งเงอร์ ด็อพเพิลเก็งเงอร์ (Doppelgänger) เป็นความเชื่อ โดย doppel มีความหมายเดียวกับคำว่า double ในภาษาอังกฤษหรือแปลได้ว่า "ซ้ำสอง" ส่วนคำว่า gänger หมายถึง "goer" มีคำเรียกอีกอย่างว่า evil twin (แฝดปีศาจ) หรือ bilocation (การปรากฏตนในสองสถานที่) ซึ่งมีที่มาจากเรื่องเล่าขานพื้นบ้านของเยอรมัน นิยามกว้าง ๆ ของด็อพเพิลเก็งเงอร์ กล่าวถึงปรากฏการณ์ที่มีการพบเห็นบุคคลหนึ่งผู้ในเวลาเดียวกันแต่ต่างสถานที่ ศัพท์นี้ได้ถูกนำมาใช้มากที่สุดกับกรณีของฝาแฝดผู้ชั่วร้าย ซึ่งปรากฏให้เห็นโดยทั่วไปในวรรณกรรมและภาพยนตร์แนวลึกลับต่าง ๆ โดยทั่วไปแล้วด็อพเพิลเก็งเงอร์ถูกถือเป็นสัญญาณแห่งความโชคร้าย ความเจ็บป่วยหรือภยันตรายจะเกิดขึ้นหากเพื่อนฝูงหรือเครือญาติได้พบเห็น ในขณะที่การพบเห็นด็อพเพิลเก็งเงอร์ของตนจะนำมาซึ่งความตาย ถึงกระนั้น รายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ที่ว่านี้นั้นไม่จำเป็นจะต้องเป็นไปในรูปแบบที่เฉพาะเจาะจงดังกล่าว เนื่องจากเรื่องราวและความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับคำนี้มีขอบเขตที่กว้างกว่านั้นมาก ด็อพเพิลเก็งเงอร์ เป็นคำที่ใช้เรียกกรณีที่มนุษย์คนหนึ่งได้ปรากฏตัวตนเพิ่มขึ้นมาจากเดิมอีกคนหนึ่งซึ่งจะมีลักษณะภายนอกเหมือนกันทุกประการ ตามเรื่องราวที่เล่าขานกันมาด็อพเพิลเก็งเงอร์นั้นจะไม่มีเงาของตัวเอง รวมทั้งไม่มีภาพสะท้อนบนกระจกหรือผิวน้ำ มันอาจจะให้คำแนะนำอะไรบางอย่างกับบุคคลต้นแบบของมันด้วยเจตนาร้ายซึ่งยุแยงให้เกิดความเข้าใจผิดต่าง ๆ หรืออาจจะปรากฏตัวต่อหน้าญาติมิตรเพื่อทำให้เกิดความสับสน และมันอาจจะปรากฏตัวในลักษณะที่สุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ยามที่บุคคลต้นแบบของมันเจ็บไข้ได้ป่วย ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่าปรากฏการณ์ด็อพเพิลเก็งเงอร์นั้นเกิดขึ้นด้วยสาเหตุใด ความเชื่อบางประเภทนั้นยึดหลักที่ว่ามนุษย์ทุกคนบนโลกจะมีฝาแฝดของตนอยู่ หากบุคคลนั้นเป็นคนดี ฝาแฝดก็จะชั่วร้าย หากบุคคลนั้นเป็นคนชั่วร้าย ฝาแฝดก็จะเป็นไปในทางกลับกัน และการที่ฝาแฝดทั้งสองมาพบกันนั้นก็จะยังผลให้ทั้งคู่ต้องพบกับจุดจบของชีวิต บ้างก็เชื่อว่าด็อพเพิลเก็งเงอร์เป็นภูตผีปีศาจในรูปแบบหนึ่งที่จะปรากฏตัวขึ้นเพื่อบ่งบอกถึงลางร้าย หากพวกมันไม่ได้ นำพามาซึ่งลางร้ายเสียเอง นอกเหนือไปจากนี้แล้ว บุคคลบางกลุ่มมีความเห็นเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่ว่านี้ว่าน่าจะเป็นรูปแบบหนึ่งของการใช้พลังจิตที่มีชื่อเรียกว่า "Out-of-Body Experience" หรือ "Astral Projection" ในกรณีนี้ มีการกล่าวอ้างว่ามีหลายคนพบเห็นพราหมณ์บางคนหลายสถานที่ในเวลาเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่พราหมณ์ผู้นั้นกำลังนอนอยู.

ดู มนุษย์และด็อพเพิลเก็งเงอร์

ด้วงกว่าง

้วงกว่าง หรือ กว่าง หรือ แมงกว่าง หรือ แมงกวาง หรือ แมงคาม เป็นแมลงในวงศ์ย่อย Dynastinae จัดอยู่ในวงศ์ใหญ่ Scarabaeidae ในอันดับแมลงปีกแข็ง (Coleoptera).

ดู มนุษย์และด้วงกว่าง

ครอบฟัน

'''ครอบฟันโลหะเคลือบกระเบื้อง''' (PFM) สำหรับฟันเบอร์ 29 บนแบบหิน ซึ่งพร้อมใส่ฟันคนไข้โดยยึดด้วยซีเมนต์ ครอบฟันเทียมจะไม่ยื่นไปถึงฟันด้านหลังเบอร์ 31 (ฟันกรามทางซ้ายมือของรูป) เพราะว่าช่องใหญ่เกินไป และเพราะว่าฟันเบอร์ 30 ไม่มี ส่วนที่ไร้ฟันเช่นนี้ ร่วมกับอีกส่วนที่อยู่อีกซีกหนึ่งของปากเบอร์ 18-21 จะรักษาด้วยฟันปลอมบางส่วนถอดได้ แบบหินแสดงฟันซี่เดียวกันเบอร์ 29 ที่เตรียมเอาเนื้อฟันออกแล้วเพื่อครอบฟัน ให้สังเกตว่าต้องเอาฟันออกแค่ไหนเพื่อจะใส่ครอบฟัน ฟันเดิมจะเหมือนกับครอบฟันที่ทำมากถ้าไม่เหมือนกันโดยสิ้นเชิง ขีดสีเงินบนแบบหินเป็นแนวคั่น เพื่อเหลือที่ระหว่างเนื้อฟันและผิวข้างในของครอบฟัน สำหรับใส่ซีเมนต์เพื่อเชื่อมเข้ากับฟันในปาก ครอบฟัน (crown) เป็นการแต่งหรือบูรณะฟัน โดยครอบฟันจริงหรือฟันที่ได้ปลูกสร้างทั้งหมดด้วย "ครอบฟัน" ซึ่งจำเป็นเมื่อฟันมีช่องใหญ่ (เช่นที่เกิดจากฟันผุ) คอยทำให้ฟันมีปัญหา โดยครอบฟันจะเชื่อมเข้ากับฟัน (หรือฟันปลูกสร้าง) ด้วยซีเมนต์สำหรับฟัน ครอบฟันสามารถทำด้วยวัสดุหลายอย่าง โดยปกติจะทำนอกปาก (ที่เรียกว่า indirect method) บ่อยครั้งใช้เพิ่มความแข็งแรงหรือความสวยงามของฟัน แม้ว่าจะมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟันอย่างเถียงไม่ได้ วิธีการและวัสดุก็ค่อนข้างแพง วิธีการที่สามัญที่สุดรวมการพิมพ์ฟันที่ทันตแพทย์กรอเตรียมไว้แล้วเพื่อทำครอบฟันนอกปาก ซึ่งสามารถใส่เข้ากับฟันเมื่อนัดครั้งต่อไป วิธีการสร้างฟัน "นอกปาก" เช่นนี้ ทำให้สามารถใช้วัสดุที่ต้องใช้เวลาและความร้อนสูง เช่น หล่อโลหะหรือเผากระเบื้องซึ่งทำไม่ได้ในปาก คนไข้จำนวนมากจะเลือกครอบฟันที่ทำจากทอง เพราะคุณสมบัติการขยายตัว ราคาใกล้ ๆ กับวัสดุอื่น และความสวยงาม ในปัจจุบัน เพราะเทคโนโลยีใหม่ ๆ และพัฒนาการทางวัสดุศาสตร์ ทันตแพทย์จึงเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างครอบฟัน โดยวิธีการในภาษาอังกฤษที่เรียกว่า CAD/CAM dentistry (ทันตแพทยศาสตร์แบบ CAD/CAM) ซึ่งสามารถครอบฟันให้เสร็จได้ภายในวันเดียวกันโดยไม่ต้องรอวัสดุจากห้องปฏิบัติการนอกสถานที.

ดู มนุษย์และครอบฟัน

คลื่นความคิด

ลื่นความคิด เป็นสถานีวิทยุที่ดำเนินการผลิตโดย บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ออกอากาศรายการประเภทข่าวสาร หุ้น เศรษฐกิจ การตลาด ธุรกิจ การบริหาร สุขภาพ สังคม และครอบครัว ออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง มีพื้นที่การให้บริการอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.

ดู มนุษย์และคลื่นความคิด

ความยาว

ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่ง แสดงความกว้าง ความยาว และความสูง ความยาว คือ ปริมาณของรูปหนึ่งมิติ หรือ มิติตามแนวยาวของวัตถุใด ๆ ความยาวของของสิ่งหนึ่งคือระยะทาง (หรือการกระจัด) จากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุด ซึ่งเป็นการขยายเชิงเส้นตรงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ความยาวอาจมีความหมายแยกออกจากความสูง ซึ่งเป็นการขยายตามแนวดิ่ง และความกว้าง ซึ่งเป็นระยะทางจากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง เช่นวัดจากมุมข้างซ้ายไปยังมุมข้างขวาผ่านวัตถุเป็นต้น ในทางวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรม คำว่า ความยาว นี้มีความหมายเหมือนกับ ระยะทาง และย่อด้วยอักษร l หรือ L (แอล) หรือสัญลักษณ์คล้ายแอล ความยาวเป็นการวัดในหนึ่งมิติ ในขณะที่พื้นที่เป็นการวัดในสองมิติ และปริมาตรเป็นการวัดในสามมิติ ในระบบการวัดส่วนใหญ่ หน่วยความยาวเป็นหน่วยวัดพื้นฐานสำหรับการนิยามหน่วยวัดอื่น.

ดู มนุษย์และความยาว

ความสอดคล้องกันของจอตา

วามสอดคล้องกันของจอตา (Retinal correspondence) เป็นความสัมพันธ์แบบจับคู่ตามธรรมชาติระหว่างเซลล์ของจอตาทั้งสองข้างของมนุษย์ คือภาพจากวัตถุเดียวกันจะเร้าเซลล์ทั้งสองชุด ซึ่งก็จะส่งข้อมูลไปยังสมอง ที่ประมวลข้อมูลให้เป็นภาพเดียวโดยอยู่ที่ตำแหน่งเดียวกันในปริภูม.

ดู มนุษย์และความสอดคล้องกันของจอตา

ความหลากหลายทางชีวภาพ

วามหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตน้อยนิด พันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือง่ายๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ์ (Species) สายพันธุ์ (Genetic) และระบบนิเวศ (Ecosystem.) ที่แตกต่างหลากหลายบนจักรวาล ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ระหว่างชนิดพันธุ์ และระหว่างระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์ ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ ความแตกต่างระหว่างพันธุ์พืชและสัตว์ต่างๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ทำให้สามารถเลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ หากไม่มีความหลากหลายของสายพันธุ์ต่างๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตำปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็นได้ ความแตกต่างที่มีอยู่ในสายพันธุ์ต่างๆ ยังช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์ปศุสัตว์ เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาดได้ เช่น ไก่พันธุ์เนื้อ ไก่พันธุ์ไข่ดก วัวพันธุ์นม และวัวพันธุ์เนื้อ เป็นต้น ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธุ์ สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปถึงความแตกต่างระหว่างพืชและสัตว์แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้ตัว เช่น สุนัข แมว จิ้งจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และนกกระจอก เป็นต้น หรือสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในป่าเขาลำเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี และวัวแดง เป็นต้น พื้นที่ธรรมชาติเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุษย์ได้นำเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม น้อยกว่าร้อยละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเป็นจริงพบว่ามนุษย์ได้ใช้พืชเป็นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชมีท่อลำเลียง (vascular plant) ที่มีอยู่ทั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณร้อยละ 25 ของพืชที่มีท่อลำเลียงนี้สามารถนำมาบริโภคได้ สำหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น มนุษย์ได้นำเอาสัตว์เลี้ยงมาเพื่อใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP 1995) ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป็นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่น ป่าดงดิบ ทุ่งหญ้า ป่าชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ทุ่งนา อ่างเก็บน้ำ หรือแม้กระทั่งชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี้ สิ่งมีชีวิตก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยู่อาศัยแตกต่างกัน ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทำให้โลกมีถิ่นที่อยู่อาศัยเหมาะสมสำหรับสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดำรงชีวิตของมนุษย์แตกต่างกัน หรืออีกนัยหนึ่งให้ 'บริการทางสิ่งแวดล้อม' (environmental service) ต่างกันด้วย อาทิเช่น ป่าไม้ทำหน้าที่ดูดซับน้ำ ไม่ให้เกิดน้ำท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทำหน้าที่เก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจนบริเวณปากอ่าวตื้นเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝั่งจากกระแสลมและคลื่นด้วย เป็นต้น.

ดู มนุษย์และความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศจีน

ัตว์ใกล้สูญพันธุ์และได้รับการป้องกัน ลิงจมูกเชิด สิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นอีกสายพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์ ภูมิประเทศที่มีขนาดใหญ่และหลากหลายของประเทศจีน เป็นบ้านที่มีความหลากหลายและความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์ป่าอย่างลึกซึ้ง ในฐานะที่เป็นหนึ่งใน 17 ประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอุดมสมบูรณ์มากที่สุดในโลก จากประมาณการ ประเทศจีนมีสัตว์มีกระดูกสันหลัง 7,516 สายพันธุ์ ซึ่งประกอบด้วย ปลา 4,936 สายพันธุ์, นก 1,269 สายพันธุ์, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม 562 สายพันธุ์, สัตว์เลื้อยคลาน 403 สายพันธุ์ และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ 346 สายพันธุ์ ในแง่ของจำนวนของสายพันธุ์ ประเทศจีนมีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมมากเป็นอันดับสามของโลก,.

ดู มนุษย์และความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศจีน

ความอยากรู้อยากเห็น

ลูกแมวตัวหนึ่งกำลังสำรวจ ความอยากรู้อยากเห็น เป็นอารมณ์อย่างหนึ่งของมนุษย์และสัตว์หลายชนิด ซึ่งส่งผลให้เกิดพฤติกรรมที่อยากรู้อยากเห็นตามธรรมชาติ เช่น การสำรวจ การสืบเสาะ และการเรียนรู้ คำนี้สามารถใช้แทนพฤติกรรมที่เกิดจากอารมณ์ดังกล่าวก็ได้ อารมณ์ที่อยากรู้อยากเห็นทำให้เกิดแรงผลักดันที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ จนถือได้ว่าความอยากรู้อยากเห็นเป็นแรงจูงใจของวิทยาศาสตร์และแขนงวิชาอื่นๆ ในการศึกษาของมนุษ.

ดู มนุษย์และความอยากรู้อยากเห็น

ความจุที่นั่ง

อินเดียแนโพลิสมอเตอร์สปีดเวย์มีความจุที่นั่งที่ใหญ่ที่สุดในโลก ความจุที่นั่ง เป็นจำนวนของคนที่สามารถนั่งอยู่ในพื้นที่เฉพาะ ทั้งในแง่ของพื้นที่ว่าง และในแง่ของข้อจำกัดทางกฎหมาย ความจุที่นั่งสามารถนำมาใช้ตั้งแต่รถยนต์ที่มีที่นั่งสองที่ จนถึงสนามกีฬาที่มีที่นั่งหลายร้อยหลายพันคน สนามกีฬาที่ใหญ่ที่สุดในโลกคืออินเดียแนโพลิสมอเตอร์สปีดเวย์ มีที่นั่งถาวรรองรับผู้ชมได้มากกว่า 257,000 คน และติดตั้งที่นั่งชมภายนอกเพิ่มเติม สามารถรองรับผู้ชมได้ 400,000 คน หมวดหมู่:สนามกีฬา หมวดหมู่:กฎหมายจราจร.

ดู มนุษย์และความจุที่นั่ง

ความคิดแทรกซอน

วามคิดแทรกซอน (Intrusive thought) เป็นความคิดแบบไม่ได้ตั้งใจและไม่พึงประสงค์ เป็นความคิดที่ไม่น่าพอใจซึ่งอาจกลายเป็นเรื่องย้ำคิด ทำให้ว้าวุ่นหรือทุกข์ใจ และรู้สึกว่าจัดการหรือหยุดได้ยาก เมื่อความคิดสัมพันธ์กับโรคย้ำคิดย้ำทำ (OCD) โรคซึมเศร้า (MDD) โรคคิดว่าตนเองมีรูปร่างหรืออวัยวะผิดปกติ (BDD) และบางครั้ง โรคสมาธิสั้น (ADHD) ก็อาจทำให้ทำอะไรไม่ได้ วิตกกังวล หรืออาจคงยืน ความคิดอาจสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งความจำอาศัยเหตุการณ์, ความวิตกกังวลหรือความจำที่ไม่ต้องการเพราะ OCD, ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (PTSD), โรควิตกกังวลอื่น ๆ, โรคเกี่ยวกับการรับประทาน (eating disorder), หรือโรคจิต (psychosis) อาการต่าง ๆ รวมทั้งความคิด แรงกระตุ้นให้ทำ และจินตภาพแทรกซอน จะเป็นไปในเรื่องที่ไม่เหมาะสม เกิดในเวลาที่ไม่เหมาะสม และทั่วไปจะเป็นไปในทางก้าวร้าว เกี่ยวกับทางเพศ หรือดูหมิ่นศาสน.

ดู มนุษย์และความคิดแทรกซอน

ความตลกขบขัน

การยิ้มอาจจะแสดงอารมณ์ขำ ดังที่เห็นในจิตรกรรมตัวละคร Falstaff ของวิลเลียม เชกสเปียร์ โดย Eduard von Grützner ความตลกขบขัน (humour, humor) เป็นประสบการณ์ทางการรู้คิดที่มักทำให้หัวเราะและสร้างความบันเทิงสนุกสนาน คำจากภาษาอังกฤษมาจากศัพท์ทางการแพทย์ของชาวกรีกโบราณ ซึ่งสอนว่า ความสมดุลของธาตุน้ำต่าง ๆ ในร่างกายที่เรียกในภาษาละติน ว่า humor (แปลว่า ของเหลวในร่างกาย) เป็นตัวควบคุมสุขภาพและอารมณ์ของมนุษย์ มนุษย์ทุกยุคสมัยและทุกวัฒนธรรมตอบสนองต่อเรื่องขบขัน มนุษย์โดยมากประสบความขำขัน คือรู้สึกบันเทิงใจ ยิ้ม หรือหัวเราะต่ออะไรที่ขำ ๆ และดังนั้น จึงเรียกได้ว่าเป็นคนมีอารมณ์ขำ (คือมี sense of humour) คนสมมุติที่ไม่มีอารมณ์ขำน่าจะพบเหตุการณ์ที่ทำให้ขำว่า อธิบายไม่ได้ แปลก หรือว่าไม่สมเหตุผล แม้ว่าปกติความขำขันจะขึ้นอยู่กับรสนิยมส่วนตัว ขอบเขตที่บุคคลพบว่าอะไรน่าขำจะขึ้นอยู่กับตัวแปรหลายอย่าง รวมทั้งอยู่ในภูมิประเทศไหน ในวัฒนธรรมอะไร อายุ ระดับการศึกษา ความเฉลียวฉลาด และพื้นเพหรือบริบท ยกตัวอย่างเช่น เด็กเล็ก ๆ อาจชอบเรื่องตลกที่มีการตีกัน (ภาษาอังกฤษเรียกว่า slapstick) ดังที่พบในการ์ตูน เช่นรายการ ทอมกับเจอร์รี่ ที่การกระทบกระทั่งทางกายทำให้เด็กเข้าใจได้ เทียบกับเรื่องตลกที่ซับซ้อนกว่า เช่น แบบที่ใช้การล้อเลียนเสียดสี (satire) ซึ่งจำเป็นต้องเข้าใจสถานะทางสังคมและดังนั้น ผู้ใหญ่จะชอบใจมากกว.

ดู มนุษย์และความตลกขบขัน

ความต่างที่สองตา

รูป 1 - นิยามของความต่างที่สองตา (ทั้งไกลและใกล้) ความต่างที่สองตา (Binocular disparity) หมายถึงความแตกต่างของตำแหน่งวัตถุหนึ่ง ๆ ที่เห็นโดยตาซ้ายและตาขวาของมนุษย์ เพราะตาแยกห่างกันตามแนวนอน (ที่เรียกว่าพารัลแลกซ์) ในกระบวนการเห็นเป็น 3 มิติ สมองจะใช้ความต่างที่เห็นจากรูป 2 มิติซึ่งตกลงที่จอตาทั้งสองเพื่อดึงข้อมูลความใกล้ไกลของวัตถุ ในคอมพิวเตอร์วิทัศน์ Binocular disparity จะหมายถึงความต่างพิกัดของสิ่งที่เหมือนกันในภาพ 2 ภาพที่ถ่ายคู่กัน อุปกรณ์หาพิสัยโดยบรรจวบ (coincidence rangefinder) ก็ใช้เทคนิคคล้าย ๆ กันเพื่อกำหนดระยะทางและ/หรือความสูงของวัตถุเป้าหมาย ในดาราศาสตร์ ความต่างระหว่างตำแหน่งต่าง ๆ บนผิวโลกสามารถใช้กำหนดพารัลแลกซ์ของวัตถุท้องฟ้า และโคจรของโลกเองก็สามารถใช้กำหนดพารัลแลกซ์ดาว (stellar parallax).

ดู มนุษย์และความต่างที่สองตา

ความเบื่อหน่าย

วามเบื่อหน่าย (boredom) เป็นภาวะอารมณ์หนึ่งของมนุษย์ที่รู้สึกขาดกิจกรรม หรือเมื่อมนุษย์รู้สึกไม่สนใจต่อโอกาสที่อยู่รอบตัว ไม่พึงพอใจกับสภาวะที่เป็นอยู่ หรืออยากเปลี่ยนแปลงสภาวะแต่เปลี่ยนไม่ได้ หรือการไม่มีสิ่งเร้าหรือแรงบันดาลใจมากระตุ้น หรือเป็นสภาวะที่ไม่ยินดียินร้ายกับสิ่งใด จึงทำให้เกิดความเบื่อหน่าย ซึ่งภาวะอารมณ์นี้จะเกิดแต่เพียงช่วงหนึ่ง แต่ก็อาจหายไปได้เอง.

ดู มนุษย์และความเบื่อหน่าย

ความเสมอภาคทางสังคม

วามเสมอภาค (Equality) เป็นมโนทัศน์พื้นฐานที่สุดเรื่องหนึ่งไม่ว่าจะกล่าวในมิติทางการเมืองหรือในทางเศรษฐกิจ คนทั่วไปมักสับสนคำว่า “เสมอภาค” กับ “เหมือนกัน” (sameness) กล่าวคือ คิดว่าการรับรองความเสมอภาคของมนุษย์เท่ากับการทำให้มนุษย์ทุกคนเท่ากัน จนมักโต้แย้งว่าความเสมอภาคไม่มีทางเป็นไปได้ จึงควรทำความเข้าใจเบื้องต้นว่าหลักการของความเสมอภาค ไม่ได้และไม่เคยเรียกร้องให้มนุษย์ทุกคนต้องเหมือนกันหมด เพราะมนุษย์ย่อมแตกต่างกันเป็นธรรมชาติทั้งโดยชาติพันธุ์ รูปร่าง ผิวพรรณ เพศสภาพ บุคลิก ความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรม และอื่นๆ แต่ความแตกต่างนั้นไม่ได้เป็นเหตุผลทำให้มนุษย์ต้องไม่เสมอภาคกัน เพราะความเสมอภาค (Equality) ตรงข้ามกับความไม่เสมอภาค (Inequality) ไม่ได้ตรงข้ามกับคำว่าความแตกต่าง (Difference) อย่างที่หลายคนทึกทัก นั่นหมายความว่า มนุษย์เราแตกต่างกันโดยธรรมชาติ แต่ก็สามารถและควรเท่าเทียมกันได้ (different but Equal) ดังนั้นเมื่อกล่าวว่า คนเสมอภาคกัน จึงไม่ได้หมายความว่าคนเหมือนกันทุกด้านไม่ว่าจะเป็นชาติตระกูล หน้าตา ความสามารถ สติปัญญา แต่การที่บอกว่าเสมอภาคกันมีความหมายว่า มนุษย์เท่าเทียมกันทั้งในความเป็นมนุษย์ และตามกฎหมายของรัฐ (Kurian, 2011: 515) ดังที่มีวลีสำคัญที่สะท้อนความเสมอภาคคือ “Equality Before the Law” ซึ่งหมายความว่าบุคคลทุกผู้ทุกนามย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองตามกระบวนของกฎหมายอย่างเป็นธรรม หรือความเสมอภาคกันในทางการเมืองคือ พลเมืองที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนดย่อมสามารถใช้สิทธิเลือกตั้งได้อย่างเท่าเทียมกัน ในบางกรณี ที่ความเสมอภาคยึดโยงเข้ากับหลักความเป็นธรรม (Justice) จะนำไปสู่การปฏิบัติต่อผู้คนที่แตกต่างกันด้วยมาตรการเฉพาะเพื่อช่วยให้ความแตกต่างกันโดยธรรมชาติได้รับการแก้ไขให้เกิดความเสมอภาคมากขึ้น เช่น มาตรการช่วยเหลือคนด้อยโอกาส คนทุพพลภาพ เพื่อความเสมอภาคในสังคม ดังนั้น การมองอย่างฉาบฉวยว่าการเรียกร้องให้คนเท่ากันหมายถึงการเรียกร้องให้คนเหมือนกันนั้น จึงเป็นความเข้าใจผิดในประเด็นพื้นฐาน.

ดู มนุษย์และความเสมอภาคทางสังคม

ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ

วามเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational risk หมายถึง โอกาส ความเป็นไปได้ และความน่าจะเป็น ที่จะเกิดความบกพร่อง การทุจริต หรือความผิดพลาด ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ป้องกันได้ กับทั้งเหตุสุดวิสัยทั้งในรูปอุบัติเหตุ ภัยธรรมชาติ รวมถึงภัยคุกคามโดยมนุษย์ อันจะนำไปสู่ความเสียหาย ความชะงักงัน และ/หรือการล่วงละเมิดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ กระทั่งเป็นผลร้ายและรุนแรงต่อสถานภาพทางการเงิน การดำเนินธุรกิจ และความมั่นคงน่าเชื่อถือของสถาบันโดยรวม.

ดู มนุษย์และความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ

ความเจ็บปวด

วามเจ็บปวด (Pain) เป็นความทุกข์ทางกายที่เกิดเพราะสิ่งเร้าที่รุนแรงหรืออันตราย แต่เพราะมันเป็นปรากฏการณ์ที่ซับซ้อน ที่เป็นอัตวิสัย การนิยามมันจึงเป็นเรื่องยาก องค์การมาตรฐานสากล International Association for the Study of Pain (IASP) ได้กำหนดนิยามที่ใช้อย่างกว้างขวางว่า "ความเจ็บปวดเป็นประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและทางอารมณ์ ที่สัมพันธ์กับโอกาสหรือการเกิดขึ้นจริง ๆ ของความเสียหายในเนื้อเยื่อ หรือที่บอกโดยใช้คำซึ่งกล่าวถึงความเสียหายเช่นนั้น" Derived from ในการวินิจฉัยทางการแพทย์ ความเจ็บปวดพิจารณาว่าเป็นอาการของโรคที่เป็นเหตุ ความเจ็บปวดปกติจะจูงใจให้บุคคลถอยตัวออกจากสถานการณ์ที่ทำให้เสียหาย ให้ปกป้องรักษาอวัยวะที่บาดเจ็บเมื่อกำลังหาย และให้หลีกเลี่ยงประสบการณ์คล้าย ๆ กันในอนาคต ความเจ็บปวดโดยมากจะหายไปเองเมื่อหมดสิ่งเร้าอันตรายและเมื่อแผล/การบาดเจ็บหายดี แต่ก็อาจคงยืนต่อไปได้ ความเจ็บปวดบางอย่างสามารถเกิดแม้เมื่อไม่มีสิ่งเร้าอันตราย ไม่มีความเสียหาย และไม่มีโรค ในประเทศพัฒนาแล้ว ความเจ็บปวดเป็นเหตุสามัญที่สุดให้คนไข้หาหมอ มันเป็นอาการสามัญที่สุดในโรคต่าง ๆ และสามารถบั่นทอนคุณภาพและความเป็นอยู่ในชีวิตของคนไข้ ยาแก้ปวดธรรมดา ๆ ใช้ได้ในกรณี 20-70% ปัจจัยทางจิตอื่น ๆ รวมทั้งการได้ความช่วยเหลือจากสังคม การสะกดจิต ความตื่นเต้น หรือเครื่องล่อความสนใจต่าง ๆ มีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อความทุกข์เนื่องจากความเจ็บปว.

ดู มนุษย์และความเจ็บปวด

ความเครียด (ชีววิทยา)

วามเครียด ในความหมายทางจิตวิทยาและชีววิทยา เป็นคำยืมจากวิชาฟิสิกส์และวิศวกรรม ใช้ในบริบททางชีววิทยาครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1930 ซึ่งในทศวรรษหลังได้กลายมาเป็นคำใช้ทั่วไปในการสนทนา ความเครียดหมายความถึงผลสืบเนื่องจากการที่สิ่งมีชีวิต (ทั้งมนุษย์และสัตว์อื่น) ไม่สามารถตอบสนองอย่างพอเหมาะกับความต้องการทางจิต อารมณ์หรือกายได้อย่างพอเหมาะ ไม่ว่าจะเป็นจริงหรือสมมติขึ้น สัญญาณของความเครียดอาจเกี่ยวเนื่องกับการรู้ทางอารมณ์ ทางกาย หรือทางพฤติกรรม สัญญาณอื่นมีตั้งแต่การตัดสินใจที่เลว ทัศนคติแง่ลบทั่วไป การวิตกกังวลเกินไป อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดฉุนเฉียวง่าย ภาวะกายใจไม่สงบ การไม่สามารถพักผ่อนได้ ความรู้สึกโดดเดี่ยว การปลีกตัวหรือภาวะซึมเศร้า การปวดและความเจ็บปวด ท้องร่วงหรือท้องผูก อาการคลื่นไส้ เวียนศีรษะ เจ็บที่หน้าอก หัวใจเต้นเร็ว กินมากเกินหรือไม่พอ นอนมากเกินหรือไม่พอ การหลีกหนีสังคม การผลัดวันประกันพรุ่งหรือปฏิเสธความรับผิดชอบ การเพิ่มปริมาณบริโภคแอลกอฮอล์ นิโคตินหรือยาเสพติด และพฤติกรรมทางประสาท อย่างการกัดเล็บและการเจ็บที่คอ.

ดู มนุษย์และความเครียด (ชีววิทยา)

ความเป็นพลเมือง

วามเป็นพลเมือง (citizenship) คือ สถานภาพของบุคคลที่จารีตประเพณีหรือกฎหมายของรัฐรับรองซึ่งให้แก่สิทธิและหน้าที่แห่งความเป็นพลเมืองแก่บุคคล (เรียก พลเมือง) ซึ่งอาจรวมสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง การทำงานและอาศัยอยู่ในประเทศ สิทธิกลับประเทศ สิทธิครอบครองอสังหาริมทรัพย์ การคุ้มครองทางกฎหมายต่อรัฐบาลของประเทศ และการคุ้มครองผ่านกองทัพหรือการทูต พลเมืองยังมีหน้าที่บางอย่าง เช่น หน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐ จ่ายภาษี หรือรับราชการทหาร บุคคลอาจมีความเป็นพลเมืองมาก และบุคคลที่ไม่มีความเป็นพลเมือง เรียก ผู้ไร้สัญชาติ (stateless) สัญชาติมักใช้เป็นคำพ้องกับความเป็นพลเมืองในภาษาอังกฤษ ที่สำคัญในกฎหมายระหว่างประเทศ แม้คำนี้บางครั้งเข้าใจว่าหมายถึงการเป็นสมาชิกชาติ (กลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่) ของบุคคล ในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สัญชาติและความเป็นพลเมืองมีความหมายต่างกัน หมวดหมู่:สัญชาติ หมวดหมู่:การปกครอง หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางการเมือง หมวดหมู่:กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง.

ดู มนุษย์และความเป็นพลเมือง

คอมมานด์ & คองเคอร์: ไทบีเรียนซัน

อมมานด์ & คองเคอร์: ไทบีเรียนซัน (Command & Conquer: Tiberian Sun) เป็นภาคต่อจากคอมมานด์ & คองเคอร์: โซล เซอร์ไวเวอร์ เป็นเรื่องในปี..

ดู มนุษย์และคอมมานด์ & คองเคอร์: ไทบีเรียนซัน

คอร์ปัส คาโลซัม

ำภาษาละตินว่า Corpus callosum (แปลว่า ส่วนแข็ง) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า colossal commissure เป็นกลุ่มใยประสาทที่กว้างและแบนใต้เปลือกสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีรก ประเภท eutheria อยู่ที่ร่อง longitudinal fissure (ที่แบ่งสมองออกเป็น 2 ข้าง) เป็นโครงสร้างที่เชื่อมซีกสมองซ้ายขวาเข้าด้วยกัน และอำนวยให้เขตในสมองทั้งสองซีกสื่อสารกันได้ เป็นส่วนเนื้อขาว (ส่วนในสมองที่โดยมากประกอบด้วยแอกซอน) ที่ใหญ่ที่สุดในสมองมีแอกซอนส่งเชื่อมซีกสมองถึง 200-250 ล้านแอกซอน.

ดู มนุษย์และคอร์ปัส คาโลซัม

คอร์เทกซ์กลีบหน้าผากส่วนหน้า

อร์เทกซ์กลีบหน้าผากส่วนหน้า (prefrontal cortex, ตัวย่อ PFC) เป็นส่วนหน้าของสมองกลีบหน้าผาก อยู่ข้างหน้าของคอร์เทกซ์สั่งการปฐม (primary motor cortex) และ คอร์เทกซ์ก่อนคอร์เทกซ์สั่งการปฐม (premotor cortex) สมองส่วนนี้เกี่ยวข้องกับการวางแผนหรือโปรแกรมพฤติกรรมเกี่ยวกับการรับรู้ที่ซับซ้อน เกี่ยวข้องกับบุคลิก เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ และเกี่ยวข้องกับการควบคุมความประพฤติที่เกี่ยวข้องกับสังคม กิจหลักในสมองส่วนนี้ก็คือ การคิดและการกระทำที่เป็นไปตามเป้าหมายของแต่ละคน ในศาสตร์ของจิตวิทยา กิจที่ PFC ทำเรียกว่ากิจบริหาร (executive function) กิจบริหารมีความเกี่ยวข้องกับความสามารถในการจำแนกความคิดที่ขัดแย้งกัน กับการตัดสินความมีประโยชน์หรือไม่มีประโยชน์ ความดีและความดีที่สุด ความเหมือนกันและความต่างกัน ผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเนื่องจากการกระทำปัจจุบัน การทำการเพื่อให้ถึงเป้าหมายที่วางไว้ การพยากรณ์ผลที่จะเกิดขึ้น ความมุ่งหวังในการกระทำ และการควบคุมตนในสังคม (คือสมรรถภาพในการระงับความอยากตามสัญชาตญาณที่ถ้าไม่ระงับแล้ว ก็อาจจะนำไปสู่ผลเกี่ยวกับสังคมที่ไม่เป็นที่น่าชอบใจ) นักวิชาการหลายท่านได้แสดงถึงความสัมพันธ์ที่สำคัญระหว่างบุคลลิกของคนๆหนึ่ง และหน้าที่ของ PFC.

ดู มนุษย์และคอร์เทกซ์กลีบหน้าผากส่วนหน้า

คอลัมน์ในคอร์เทกซ์

อลัมน์ในคอร์เทกซ์ หรือ ไฮเปอร์คอลัมน์ หรือ มอดูลในคอร์เทกซ์ (cortical column หรือ hypercolumn หรือ cortical module) เป็นเซลล์ประสาทกลุ่มหนึ่งในคอร์เทกซ์ ซึ่งสามารถใช้หัวตรวจ สอดเข้าไปเช็คตามลำดับตามแนวที่ตั้งฉากกับผิวคอร์เทกซ์ โดยที่เซลล์ประสาทกลุ่มนั้น มีลานรับสัญญาณที่เกือบจะเหมือนกัน ส่วนเซลล์ประสาทภายใน "มินิคอลัมน์" เข้ารหัสการเข้ารหัสโดยรวม ๆ ก็คือ การแปลงข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นข้อมูลในอีกรูปแบบหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เข้ารหัสเสียงดนตรีไปเป็นหลุมเล็ก ๆ บนซีดีที่ใช้เล่นเพลงนั้นได้คุณสมบัติของตัวกระตุ้นที่คล้าย ๆ กัน เปรียบเทียบกับคำว่า ไฮเปอร์คอลัมน์ ซึ่ง "หมายถึงหน่วยเซลล์ประสาทที่มีค่าหมดทั้งเซตสำหรับพารามิเตอร์ของลานรับสัญญาณเซตใดเซตหนึ่ง" ส่วนคำว่า มอดูลในคอร์เทกซ์ มีคำนิยามว่า เป็นไวพจน์ของไฮเปอร์คอลัมน์ (โดยเมานต์แคสเติล) หรือ ชิ้นเนื้อเยื่อชิ้นหนึ่งที่มีไฮเปอร์คอลัมน์หลายคอลัมน์ ที่แชร์ส่วนเดียวกัน ยังไม่ชัดเจนว่า ศัพท์นี้หมายถึงอะไร คือ คอลัมน์ในคอร์เทกซ์ไม่สัมพันธ์กับโครงสร้างอย่างใดอย่างหนึ่งในคอร์เทกซ์เลย นอกจากนั้นแล้ว ยังไม่มีใครสามารถกำหนดวงจรประสาทแบบบัญญัติ (canonical) ที่สัมพันธ์กับคอลัมน์ในคอร์เทกซ์ และกลไกทางพันธุกรรมในการสร้างคอลัมน์ก็ยังไม่ปรากฏ อย่างไรก็ดี สมมุติฐานการจัดระเบียบเป็นคอลัมน์นี้ เป็นสิ่งที่มีการอ้างอิงอย่างกว้างขวางที่สุด เพื่อจะอธิบายการประมวลข้อมูลของคอร์เทกซ.

ดู มนุษย์และคอลัมน์ในคอร์เทกซ์

คองกามาโต

องกามาโต (Kongamato; แปลว่า "ตัวทำลายเรือ") เป็นสัตว์ประหลาดที่กล่าวกันว่ามีรูปร่างคล้ายไดโนเสาร์ชนิดที่บินได้ จำพวก เทอโรซอ หรือ เทอราโนดอน พบในหนองน้ำทวีปแอฟริกาตอนกลาง ในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และคองกามาโต

คอนโด้ อิซาโอะ

อนโด้ อิซาโอะ (ชื่อในมังงะภาษาไทย) หรือ คอนโด อิซาโอะ (ชื่อในอะนิเมะภาษาไทย) เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และคอนโด้ อิซาโอะ

คัมภีร์ไบเบิล

ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.

ดู มนุษย์และคัมภีร์ไบเบิล

คามิยะ คาโอรุ

มิยะ คาโอรุ เป็นตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องซามูไรพเนจร.

ดู มนุษย์และคามิยะ คาโอรุ

คาร์ล มากซ์

ร์ล ไฮน์ริช มากซ์ (Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน มากซ์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในเทรียร์ เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกิล เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขาไร้สัญชาติและอาศัยลี้ภัยในกรุงลอนดอน ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน ฟรีดริช เองเงิลส์ และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ จุลสารปี 2391, แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ และทุน จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า ลัทธิมากซ์ ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่านการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ในทุนนิยม การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก ชนชั้นกระฎุมพี) ซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตและชนชั้นแรงงาน (เรียก ชนกรรมาชีพ) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับค่าจ้าง มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ สังคมนิยม; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระทางสังคมและเศรษฐกิจ มีผู้อธิบายว่ามากซ์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับทุน และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง.

ดู มนุษย์และคาร์ล มากซ์

คาร์นิทีน

ร์นิทีน เป็นสารประกอบจตุรภูมิของแอมโมเนียมที่สังเคราะห์ได้จากกรดอะมิโนสองชนิดคือ ไลซีนและเมธไทโอนีน ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตคาร์นิทีนจะลำเลียงกรดไขมันจากไซโตซอลเข้าสู่ไมโทคอนเดรียระหว่างการสลายของลิพิด (ไขมัน) เพื่อใช้ในการเผาผลาญพลังงาน คาร์นิทีนถูกใช้เป็นอาหารเสริมกันอย่างกว้างขวาง เดิมคาร์นิทีนพบว่าเป็นปัจจัยในการเจริญเติบโตของหนอนนกและมีอยู่บนฉลากวิตามินบี คาร์นิทีนมีอยู่ 2 stereoisomers: Active form คือ L-carnitine ขณะที่ inactive form คือ D-carnitine.

ดู มนุษย์และคาร์นิทีน

คาลาโนโร่

ลาโนโร่ (Kalanoro) เป็นชื่อสัตว์ประหลาดชนิดหนึ่ง ที่อาศัยอยู่ในป่าทึบบนเกาะมาดากัสการ์ คาลาโนโร่เชื่อว่ามีลักษณะคล้ายมนุษย์ แต่มีความสูงเพียง 3 ฟุต มีขนยาวสีน้ำตาลแดง มีกรงเล็บที่แหลมคม มีพละกำลังที่มากมายเกินกว่าขนาดตัว แต่มีเท้าที่หันหลังเข้าไปด้านหลัง คาลาโนโร่มีนิสัยที่ดุร้าย สามารถทำร้ายและฆ่ามนุษย์ได้ด้วยการใช้กรงเล็บมือที่ทรงพลังควักไส้ มีผู้อ้างว่าพบเห็นสิ่งที่เชื่อว่าเป็นคาลาโนโร่มากมาย ทั้งชาวพื้นเมืองที่บอกว่าเคยถูกคาลาโนโร่ทำร้าย และนักวิชาการชาวตะวันตก นักชีววิทยาชาวตะวันตกผู้หนึ่งอ้างว่า เขาเคยพบกับคาลาโนโร่ และเขาจึงเชื่อว่ามันไม่ใช่แค่เรื่องเล่าขานหรือตำนาน เมื่อเขาได้สำรวจป่ามาดากัสการ์ด้วยการติดตาข่ายดักนก ที่ตาข่าย เขาเห็นสัตว์อะไรบางอย่างที่สันเขา เห็นว่ามันยืนด้วยสองขาหลังเหมือนมนุษย์ แต่มีความสูงเพียง 3 ฟุตหรือ 3 ฟุตครึ่ง ขนรุงรัง ไม่ใส่เสื้อผ้า และแววตาของมันดูน่ากลัวมาก เรื่องราวเกี่ยวกับคาลาโนโร่เป็นที่รู้จักครั้งแรกในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และคาลาโนโร่

คาวาคามิ บันไซ

วาคามิ บันไซ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และคาวาคามิ บันไซ

คาซึระ โคทาโร่

ซึระ โคทาโร่ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และคาซึระ โคทาโร่

คิวริโอ

QRIO หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทโซนี่ คิวริโอ (Qrio เป็นชื่อย่อจากคำว่า Quest for cuRIOsity) เป็นหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์หรือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ของบริษัทโซนี่ ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นหุ่นยนต์สำหรับการทูตสันถวไมตรีเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ของบริษัทโซนี่ คิวริโอเป็นหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ที่ได้รับการพัฒนาต่อจากหุ่นยนต์สุนัข ไอโบ (Aibo) เปิดตัวให้สาธารณชนได้รู้จักในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ.

ดู มนุษย์และคิวริโอ

คิจิมะ มาทาโกะ

มะ มาทาโกะ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และคิจิมะ มาทาโกะ

คิซารุ

ลเรือเอก คิซารุ เป็นหนึ่งในสามพลเรือเอกของกองทัพเรือในเรื่อง วันพีซ คิซารุมีชื่อจริงว่า โบร์ซาลิโน่ นอกจากรัฐบาลโลกแล้วยศของคิซารุเป็นรองแค่ จอมพลเรือ เซ็นโงคุ เท่านั้น.

ดู มนุษย์และคิซารุ

คุริโบ

lคุริโบะในเกม ซูเปอร์มาริโอบราเธอร์ส คุริโบ หรือในชื่อภาษาอังกฤษ กูมบา (Goomba) เป็นตัวละครในเกมชุดมาริโอ คุริโบะเป็นศัตรูที่ออกมาเป็นตัวแรกในเกม และสามารถจัดการโดยการกระโดดเหยียบหัว คุริโบออกมาครั้งแรกในเกม ซูเปอร์มาริโอบราเธอร์ส ของเครื่องแฟมิคอม และเป็นตัวละครหลักในเกมมารีโอต่อเนื่องกันมา หลายภาค เช่นเดียวกับ คุปปะ พืชปิรันญา คำว่า คุริ ในภาษาญี่ปุ่นหมายถึง เกาลัด และ โบ หมายถึงคน และคุริโบหมายถึงการ์ดใบหนึ่งในเกมการ์ดยูกิ คุริโบยังปรากฏในเดอะเลเจนด์ออฟเซลดา ลิงส์อะเวกเคนนิงของเกมบอยอีกด้ว.

ดู มนุษย์และคุริโบ

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู มนุษย์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คติชนวิทยา

รมวิเศษใช้เป็นพาหนะเดินทางได้ตามใจหมาย Tōshō-gū ประเทศญี่ปุ่น คติชนวิทยา (folkloristics) เป็นสาขาหนึ่งที่ศึกษาข้อมูลทางวัฒนธรรมของมนุษย์ที่มีการถ่ายทอดสืบต่อกันมา ทั้งในสังคมชนบทและในสังคมเมือง ไม่ว่าจะเป็นตำนาน นิทาน นิยายประจำถิ่น เพลง ปริศนาคำทาย สำนวนภาษิต คำพังเพย การละเล่น การแสดง เครื่องมือเครื่องใช้ อาหารการกิน ยาพื้นบ้าน ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม สำหรับผู้ที่ศึกษาความรู้ด้านคติชนวิทยา จะเรียกว่า "นักคติชนวิทยา" (folklorist).

ดู มนุษย์และคติชนวิทยา

คนครึ่งสัตว์ นัดยึดเมือง

นครึ่งสัตว์ นัดยึดเมือง (Skinwalkers) ภาพยนตร์สยองขวัญ ในปี ค.ศ. 2006.

ดู มนุษย์และคนครึ่งสัตว์ นัดยึดเมือง

ค่างหนุมาน

งหนุมาน (Hanuman langur, Gray langur; लंगूर) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานร จำพวกค่างสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Semnopithecus อยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) ค่างหนุมาน เป็นค่างที่มีหางยาวมากใช้สำหรับทรงตัวบนต้นไม้ มีขนตามลำตัวสีขาวหรือสีเทา ขณะที่มีใบหน้าและหูสีคล้ำ แขนและขาเรียวยาว กระจายพันธุ์ทั่วไปในอนุทวีปอินเดีย เช่น อินเดีย, เนปาล, ปากีสถาน จนถึงอัฟกานิสถาน ตัวผู้มีความสูงเต็มที่ประมาณ 75 เซนติเมตร น้ำหนักราว 11-18 กิโลกรัม ขณะที่ตัวเมียมีขนาดเล็กลงมากว่าเล็กน้อย ค่างหนุมาน หากินได้ทั้งบนพื้นดินและต้นไม้ ในภูมิภาคแถบที่อาศัยอยู่ นับถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ โดยถือเป็นหนุมาน เทพเจ้าตามความเชื่อของศาสนาฮินดู จึงไม่มีภัยคุกคามจากมนุษย์ อีกทั้งเป็นค่างที่ปรับตัวได้ง่าย หากินง่าย จนทำให้ในบางชุมชนของมนุษย์ มีฝูงค่างหนุมานอยู่อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จนเกิดเป็นปัญหา ค่างหนุมาน เป็นค่างที่มีความคล่องแคล่วว่องไวมาก จึงไม่มีศัตรูตามธรรมชาติเท่าใดนัก อีกทั้งสามารถกระโดดจากพื้นได้สูงถึง 5 เมตร เพื่อหลบหลีกศัตรูได้อีกด้วยสุดหล้าฟ้าเขียว, รายการ: เสาร์ที่ 20 ตุลาคม 2555 โดย ปองพล อดิเรกสาร ทางช่อง 3.

ดู มนุษย์และค่างหนุมาน

ค่างแว่นถิ่นใต้

งแว่นถิ่นใต้ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Trachypithecus obscurus) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกค่าง ลักษณะทั่วไปคล้ายค่างแว่นถิ่นเหนือ (T.

ดู มนุษย์และค่างแว่นถิ่นใต้

ค่างเทา

งเทา หรือ ค่างหงอก (อังกฤษ: Silvered langur, Silvery lutung, Silvered leaf monkey) ค่างชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Trachypithecus cristatus จัดเป็นลิงโลกเก่าชนิดหนึ่ง ค่างเทามีรูปร่างหน้าตาคล้ายกับค่างดำมลายู (Presbytis femoralis) ขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้ม ปลายขนเป็นสีขาวหรือสีเงิน ทำให้แลดูคล้ายผมหงอกของมนุษย์ อันเป็นที่มาของชื่อ บนหัวจะมีขนยาวเป็นหงอนแหลม ใบหน้ามีสีดำไม่มีวงแหวนสีขาวรอบดวงตา มือและเท้าเป็นสีดำ ลูกค่างที่เกิดใหม่ขนตามลำตัวจะเป็นสีเหลืองทอง มีความยาวลำตัวถึงหัว 49-57 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 72-84 เซนติเมตร น้ำหนัก 6-8 กิโลกรัม มีชนิดย่อยด้วยกัน 2 ชนิด มีพฤติกรรมอาศัยอยู่บนต้นไม้สูง ในบางครั้งอาจพบในป่าพรุด้วย อาหารของค่างชนิดนี้ได้แก่ ใบอ่อนของต้นไม้, ผลไม้ และแมลงตัวเล็ก ๆ จะออกหากินในเวลากลางวัน มักอยู่รวมเป็นฝูงประมาณ 10-15 ตัว มีการกระจายพันธุ์ในแถบภาคตะวันตก, ภาคเหนือของไทย, ภาคใต้ของลาว, พม่า, เวียดนาม, ตอนใต้ของจีน, กัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวาและเกาะบอร์เนียว.

ดู มนุษย์และค่างเทา

คโลนะเซแพม

ลนะเซแพม (Clonazepam) เป็นยากันชักและรักษาโรคตื่นตระหนก และความผิดปกติของการเคลื่อนไหวที่เรียกว่า อาการนั่งไม่ติดที่ (akathisia) เป็นยากลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีน --> ใช้โดยการรับประทาน มีผลภายในหนึ่ง ชม.

ดู มนุษย์และคโลนะเซแพม

ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน

้างคาวแม่ไก่ป่าฝน (Large flying fox, Greater flying fox, Malayan flying fox, Malaysian flying fox, Large fruit bat) เป็นค้างคาวชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pteropus vampyrus อยู่ในวงศ์ Pteropodidae หรือค้างคาวผลไม้ เป็นค้างคาวขนาดใหญ่ มีหัวคล้ายหมาจิ้งจอก มีดวงตาโต จมูกและใบหูเล็ก ขนสีน้ำตาลแกมแดง และมีเล็บที่แหลมคมสามารถเกาะกิ่งไม้ได้ โดยจะใช้เล็บของนิ้วที่ 2 ที่เหมือนตะขอเป็นหลักในการป่ายปีนและเคลื่อนไหว มีฟันทั้งหมด 36 ซี่ ที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า Lekagul B., J.

ดู มนุษย์และค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน

ค้างคาวแวมไพร์

ำหรับแวมไพร์ที่หมายถึง ผีตามความเชื่อของชาวยุโรปยุคกลาง ดูที่: แวมไพร์ ค้างคาวแวมไพร์ หรือ ค้างคาวดูดเลือด (Vampire bat) เป็นค้างคาวกลุ่มหนึ่งที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้และอเมริกากลาง มีพฤติกรรมดูดเลือดสัตว์ชนิดอื่นเป็นอาหาร จากพฤติกรรมของทำให้ได้ชื่อว่าเป็นค้างคาวแวมไพร์ หรือค้างคาวดูดเลือด เหมือนแวมไพร์ ในความเชื่อของชาวยุโรปยุคกลาง ค้างคาวแวมไพร์ เป็นค้างคาวขนาดเล็กมีทั้งหมด 3 ชนิด ใน 3 สกุล จัดอยู่ในวงศ์ค้างคาวจมูกใบไม้โลกใหม่ (Phyllostomidae) เป็นค้างคาวที่ถือกำเนิดขึ้นมาเมื่อ 26 ล้านปีก่อน โดยมีความสัมพันธ์กับค้างคาวกินแมลง มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ในถ้ำในป่าดิบ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยจะกินแต่เพียงเลือดของสัตว์เลือดอุ่นขนาดใหญ่กว่าเป็นอาหารเท่านั้น (บางชนิดจะกินนกเป็นอาหาร) โดยมีฟันแหลมคมซี่หน้าคู่หนึ่งกัด โดยมากสัตว์ที่ถูกดูดกิน จะเป็นปศุสัตว์ เช่น หมู หรือวัว เป็นต้น ซึ่งสายตาของค้าวคาวแวมไพร์จะมองเห็นเป็นภาพอินฟาเรด จากความร้อนของอุณหภูมิในร่างกายของเหยื่อ ทำให้มองเห็นในเวลากลางคืนได้ดีมาก และเป็นตัวนำไปสู่การเลือกตำแหน่งที่กัด ซึ่งจะเป็นอวัยวะส่วนต่าง ๆ เช่น ใบหู, ข้อศอก หรือหัวนม และขณะที่กัด ด้วยความคมของฟันประกอบกับมักจะกัดในเวลาที่เหยื่อนอนหลับ ทำให้เหยื่อไม่รู้ตัว และขณะที่ดูดเลือดอยู่นั้น ค้างคาวจะขับปัสสาวะไปด้วย เนื่องจากจะดูดเลือดในปริมาณที่มาก ทำให้ไม่สามารถบินได้ โดยปริมาณเลือดที่ค้างคาวดูดไปนั้น หากคำนวณว่าดูดเลือดหมูทุกคืน ภายในเวลา 5 เดือน จะมีปริมาณเท่ากับน้ำหนัก 5 แกลลอน ซึ่งเลือดที่ไหลออกมานั้นจะไหลผ่านลิ้นของค้างคาวที่มีร่องพิเศษช่วยให้เลือดไหลผ่านหลอดเลือดฝอยได้โดยง่าย และในน้ำลายค้างคาวจะมีเอนไซม์ทำให้เลือดไม่แข็งตัว ซึ่งค้างคาวแวมไพร์ก็อาจดูดเลือดมนุษย์ได้ด้วยเช่นกันในเวลาหลับ และถึงแม้จะน่ากลัว แต่ค้างคาวแวมไพร์ก็มีความผูกพันกับลูก พ่อและแม่ค้างคาวจะเลี้ยงดูลูกค้างคาวที่ยังบินไม่ได้นานถึง 9 เดือน โดยจะนำเลือดที่ดูดเหลือกลับมาฝาก และฝากไปยังค้างคาวตัวอื่น ๆ ในฝูงที่หากินได้ไม่อิ่มพอด้วย นอกจากนี้แล้ว ค้างคาวแวมไพร์ยังเป็นพาหะนำโรคกลัวน้ำ หรือโรคพิษสุนัขบ้า ที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตได้ด้ว.

ดู มนุษย์และค้างคาวแวมไพร์

ค้างคาวแวมไพร์ธรรมดา

้างคาวแวมไพร์ธรรมดา หรือ ค้างคาวดูดเลือดธรรมดา (Common vampire bat, Vampire bat) เป็นค้างคาวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Desmodus rotundus (/เดส-โม-ดัส /โร-ทัน-ดัส/) จัดเป็นค้างคาวเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Desmodus เป็นค้างคาวแวมไพร์หรือค้างคาวดูดเลือด 1 ใน 3 ชนิดที่มีในโลก แต่ถือเป็นเพียงชนิดเดียวที่ดูดเลือดของสัตว์อื่นที่มีขนาดใหญ่กว่ากินเป็นอาหารเท่านั้น จัดว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่กินเลือดเป็นอาหาร กระจายพันธุ์ในป่าดิบตั้งแต่อเมริกากลาง จนถึงทั่วไปในหลายพื้นที่ของทวีปอเมริกาใต้ ลักษณะทั่วไปของค้าวคาวแวมไพร์ธรรมดา คือ จะมีปากสั้นรูปกรวย ไม่มีปีกจมูกทำให้เผยเห็นโพรงจมูกเป็นรูปตัวยู และมีอวัยวะพิเศษ เรียกว่า "Thermoreceptors" ติดอยู่ที่ปลายจมูก สำหรับใช้ช่วยตรวจหาบริเวณที่มีเลือดไหลได้ดีใต้ผิวหนังของเหยื่อ อีกทั้งยังมีสายตาที่มองเห็นเป็นภาพอินฟาเรด จากอุณหภูมิความร้อนของตัวเหยื่อ และทำให้เห็นดีมากในเวลากลางคืน ซึ่งเป็นเวลาออกหากิน ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้Delpietro V.

ดู มนุษย์และค้างคาวแวมไพร์ธรรมดา

งูกระด้าง

งูกระด้าง เป็นงูพิษอ่อนชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์งูน้ำ (Homalopsidae) ซึ่งจัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Erpeton.

ดู มนุษย์และงูกระด้าง

งูอนาคอนดา

งูอนาคอนดา หรือ งูโบอาน้ำ (Anacondas, Water Boas) เป็นชื่อสามัญและสกุลของงูขนาดใหญ่ 4 ชนิดที่อยู่ในวงศ์ย่อย Boinae ในวงศ์ใหญ่ Boidae ใช้ชื่อสกุลว่า Eunectes อาศัยอยู่ในหนอง บึง และแม่น้ำในป่าดิบชื้นในทวีปอเมริกาใต้และเกาะตรินิแดด โดยที่คำว่า Eunectes มาจากภาษากรีกคำว่า Eυνήκτης หมายถึง "ว่ายน้ำได้ดี".

ดู มนุษย์และงูอนาคอนดา

งูอนาคอนดาเขียว

งูอนาคอนดาเขียว หรือ งูอนาคอนดาธรรมดา (Green anaconda, Common anaconda) เป็นงูขนาดใหญ่มากที่สุดในโลกที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Eunectes murinus อยู่ในวงศ์ย่อย Boinae ในวงศ์ใหญ่ Boidae สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) งูอนาคาคอนดาเขียวนับเป็นงูอนาคอนดา ชนิดที่ใหญ่ที่สุดและรู้จักดีที่สุด เมื่อโตเต็มที่อาจยาวได้ถึง 30 ฟุต และหนักได้ถึง 550 ปอนด์ มีผิวลำตัวสีเขียว มีลายเป็นวงกลมสีดำ ใต้ท้องเป็นสีขาว ตาเป็นสีดำ ตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้มาก อาศัยอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ เช่น ป่าอเมซอน, บราซิล, โบลิเวีย, กายอานา ในหนองน้ำ หรือบึง โดยมักจะอาศัยอยู่ในน้ำหรือหมกตัวในโคลนมากกว่าจะเลื้อยมาอยู่บนบก เนื่องจากน้ำหนักตัวที่มากทำให้งุ่มง่ามเชื่องช้ามากเมื่ออยู่บนบก แต่จะว่องไวกว่าเมื่ออยู่ในน้ำ ว่ายน้ำได้เก่ง บางครั้งอาจใช้วิธีการลอยน้ำอยู่บริเวณผิวน้ำแล้วปล่อยให้กระแสน้ำไหลพัดไป แต่มักจะขึ้นมาอาบแดดเป็นบางครั้งด้วยการเกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้ริมน้ำ ล่าเหยื่อด้วยการใช้แอ่งรับความร้อนอินฟราเรดที่อยู่บริเวณหน้าผาก ในเวลากลางคืน โดยกินอาหารได้หลากหลายมาก ทั้ง สัตว์เล็กและสัตว์ใหญ่ ทั้ง คาปรีบารา, จระเข้ไคแมน, ปลา, กบ หรือแม้กระทั่งวัวหรือควาย หรือปศุสัตว์ต่าง ๆ ของชาวบ้าน โดยใช้วิธีการรัดเหยื่อด้วยลำตัวอย่างแน่น และกดลงไปในน้ำให้จมน้ำตายก่อนจะเขมือบกลืนเข้าไปทั้งตัว โดยเริ่มจากส่วนหัวก่อน ซึ่งอาจใช้เวลานานหลายชั่วโมง แต่กระนั้นก็จะทำให้ไม่ต้องกินอะไรอีกไปนานนับเดือน ในยามที่อาหารขาดแคลนเช่นในช่วงฤดูร้อน อาจอดอาหารได้นานถึง 7 เดือน หลังจากนั้นแล้วจะเร่งรีบกินเพื่อชดเชยพลังงานที่สูญเสียไปและผสมพันธุ์ โดยถึงวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3-4 ปี ฤดูผสมพันธุ์จะตกอยู่ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ตัวเมียจะปล่อยกลิ่นเพื่อดึงดูดตัวผู้ให้มาผสมพันธุ์ โดยอาจผสมพันธุ์กับตัวผู้ได้มากถึง 2-12 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องนาน 6 เดือน ตกลูกเป็นตัว ซึ่งอาจออกได้ครั้งละ 40 ตัวหรือมากกว่านั้น ลูกงูที่ออกมาใหม่จะมีความยาวราว 2 ฟุต และจะไม่ถูกดูแลโดยแม่ ซึ่งอาจจะตกเป็นเหยื่อของสัตว์ที่ใหญ่กว่าหรือแม้กระทั่งงูอนาคอนดาด้วยกันเองกินก่อนที่จะโตต่อไปในอนาคต งูอนาคอนดาเขียวเป็นงูที่มนุษย์ให้ความสนใจมาก ด้วยขนาดที่ใหญ่โตและพละกำลังที่มากมายมหาศาล ดังนั้น เมื่อมีการจับงูชนิดนี้ได้ในแต่ละครั้งมักปรากฏเป็นข่าวโด่งดัง และถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ อาทิ Anaconda เมื่อปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และงูอนาคอนดาเขียว

งูแมมบา

งูแมมบา (Mambas) เป็นงูพิษร้ายแรงมากสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Dendroaspis จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา งูในสกุลงูแมมบานั้น เป็นงูที่มีลำตัวเรียวยาว มีส่วนหัวขนาดเล็ก มีตากลมโต มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 1.5-2 เมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 4 เมตร และเป็นงูที่มีความว่องไวมาก สามารถเลื้อยคลานได้เร็วถึง 12-20 กิโลเมตร/ชั่วโมง บนพื้นดิน จนถูกจัดให้เป็นงูที่เลื้อยไวที่สุดบนโลกมาแล้ว งูแมมบานั้น จะมีสีเดียวตลอดทั้งลำตัว โดยจะมีทั้งสีน้ำตาล, สีเขียว หรือเหลือบสีต่าง ๆ บนเกล็ด รวมถึงสีขาวอมเทาหรือเทาตุ่น ๆ ด้วย ในบางชนิด มีเกล็ดเรียบลื่น เกล็ดบนหัวมีขนาดใหญ่ มุมปากยาว ดวงตามีขนาดกลมโต มีความแตกต่างกันมากระหว่างเพศ โดยงูตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย เป็นงูที่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ ดำรงชีวิตทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ รวมทั้งงูด้วยกันเองด้วย งูแมมบานั้นได้ถูกอนุกรมวิธานออกเป็นชนิดได้ 4 ชนิด คือ.

ดู มนุษย์และงูแมมบา

งูไทปัน

งูไทปัน (Taipan) เป็นสกุลของงูในวงศ์งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Oxyuranus เป็นงูที่ได้รับการจัดอันดับให้เป็นงูกลุ่มที่มีพิษร้ายแรงที่สุดในโลก มีลำตัวยาวโดยประมาณ 2-3.6 เมตร ลักษณะลำตัวมีสีน้ำตาลปนดำ มักอาศัยอยู่ตามซอกหินในทะเลทรายของประเทศออสเตรเลี.

ดู มนุษย์และงูไทปัน

งูเหลือม

งูเหลือม (Reticulated python) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลื้อยคลาน เป็นงูขนาดใหญ่ ลำตัวยาวเฉลี่ยประมาณ 3.5-6 เมตร จัดเป็นงูที่ยาวที่สุดของโลกซึ่งตัวที่ยาวที่สุดยาวถึง 9.6 เมตร ถูกจับได้เมื่อปี..

ดู มนุษย์และงูเหลือม

ตรีเอกภาพ

จิตรกรรมฝาผนัง “ตรึเอกภาพ” โดยลูคา โรสเซ็ทที (Luca Rossetti) แสดงให้เห็นพระเจ้าพระบิดา (พระยาห์เวห์) พระเจ้าพระบุตร (พระเยซู) และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ในรูปของนกพิราบ (ค.ศ.

ดู มนุษย์และตรีเอกภาพ

ตะพาบหับ

ตะพาบหับ (Flap-shelled turtles) เป็นชื่อสกุลของตะพาบ 3 ชนิด ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lissemys.

ดู มนุษย์และตะพาบหับ

ตับอ่อน

ตับอ่อน (pancreas) เป็นอวัยวะซึ่งเป็นต่อมในระบบย่อยอาหารและระบบต่อมไร้ท่อในสัตว์มีกระดูกสันหลัง ในมนุษย์ ตับอ่อนอยู่ในช่องท้องหลังกระเพาะอาหาร เป็นต่อมไร้ท่อซึ่งผลิตฮอร์โมนสำคัญหลายชนิด รวมถึงอินซูลิน กลูคากอน โซมาโตสเตติน และแพนคริเอติกพอลิเพพไทด์ซึ่งไหลเวียนอยู่ในเลือด ตับอ่อนยังเป็นอวัยวะย่อยอาหาร โดยหลั่งน้ำย่อยตับอ่อนซึเอนไซม์ย่อยอาหารที่ช่วยการย่อยและดูดซึมสารอาหารในลำไส้เล็ก เอนไซม์เหล่านี้ช่วยสลายคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและลิพิดในไคม์ (chyme) และตับอ่อนมักหลั่งเอนไซม์ คือ trypsinogen chymotrypsinogen procarboxypeptidase.

ดู มนุษย์และตับอ่อน

ตัวละครในโทโฮโปรเจกต์

ตัวละครในโทโฮโปรเจกต์ เป็นตัวละครจากเกม "โทโฮโปรเจกต์" ซึ่งเป็นซีรีส์เกมของ ZUN จาก Team Shanghai Alice ตัวละครส่วนมากจะอยู่ในโลกหนึ่งที่ชื่อ เก็นโซเคียว สถานที่ๆ มนุษย์ และ โยไค อาศัยอยู่ร่วมกัน โดยที่เหล่าโยไคคอยทำร้ายมนุษย์และเหล่ามนุษย์ก็ต้องกำจัดพวกนั้น ตัวละครในโทโฮนั้นจะมีความสามารถพิเศษแตกต่างกันไป.

ดู มนุษย์และตัวละครในโทโฮโปรเจกต์

ตัวนำโชค

ตัวนำโชค หรือ การ์ตูนสัญลักษณ์ หรือ แมสคอต หรือ มาสคอต (mascot) คือสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งของบางอย่าง (โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะเป็นสัตว์หรือตัวละครที่เป็นมนุษย์) ที่ถูกใช้นำมานำเสนอหรือเป็นตัวแทนสู่สาธารณชน ส่วนใหญ่แล้วมักจะถูกใช้โดยโรงเรียน มหาวิทยาลัย (ในประเทศไทย บริษัทธุรกิจต่าง ๆ ได้มีการใช้แมสคอทเช่นกัน) ตัวนำโชคยังถูกเรียกแทนชื่อโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยนั้น ๆ เลยก็ได้เช่นกัน (ตัวอย่าง ช้าง สามารถใช้เรียกมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นต้น) ในวงการกีฬา เช่น การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก (Olympic Games) ได้มีการจัดทำตัวนำโชคแตกต่างกันไปในแต่ละปีเพื่อสื่อถึงที่มาและความสำคัญของประเทศเจ้าภาพ เช่น เอเชียนเกมส์ 2010 ณ เมืองกว่างโจว ประเทศจีน ได้จัดทำตัวนำโชคเป็นแพะ 5 ตัว ซึ่งหมายถึง "สันติภาพ, สามัคคี และความสุข ในทุก ๆ อย่างที่คุณปรารถนา".

ดู มนุษย์และตัวนำโชค

ตาบอดสี

ตาบอดสี (Color blindness) เป็นโรคชนิดหนึ่งของดวงตาเมื่อเป็นแล้วจะส่งผลให้การแปรภาพของสีต่าง ๆ ที่มองเห็นผิดเพี้ยนไป จากผู้อื่นที่เป็นตาปกติ ภาวะตาบอดสีนั้น เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและในสังคมมากพอสมควร.

ดู มนุษย์และตาบอดสี

ตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์

ตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์ (PLUTO), ในชื่อภาษาญี่ปุ่นว่า พลูโต เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นวาดโดยนาโอกิ อุราซาว่า ซึ่งการ์ตูนเรื่องนี้นำเนื้อหาจากผลงานของปรมาจารย์แห่งวงการการ์ตูนญี่ปุ่นเท็ตสึกะ โอซามุ เรื่อง "เจ้าหนูอะตอม ตอนหุ่นยนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก"(Astro Boy: The World's Strongest Robot) มาเรียบเรียงตีความใหม่ โดยให้ เกซิกต์ หนึ่งใน 7 หุ่นยนต์ที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดในโลก เป็นตัวดำเนินเรื่อง ซึ่ง เนื้อหาในตอนหุ่นยนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกนั้น เป็นเพียงส่วนหนึ่ง จากเนื้อหาทั้งหมดในการ์ตูนเรื่องเจ้าหนูอะตอม.

ดู มนุษย์และตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์

ตามนุษย์

ตามนุษย์ เป็นอวัยวะที่ตอบสนองต่อแสงและแรงดัน ในฐานะเป็นอวัยวะรับความรู้สึก ตาของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทำให้สามารถเห็นได้ ช่วยให้เห็นภาพเคลื่อนไหวเป็น 3 มิติ และปกติเห็นเป็นสีในช่วงกลางวัน เซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวยในจอตาทำให้สามารถรับรู้แสงและเห็น รวมทั้งแยกแยะสีและรับรู้ความใกล้ไกล ตามนุษย์สามารถแยกแยะสีได้ประมาณ 10 ล้านสี และอาจสามารถตรวจจับโฟตอนแม้เพียงอนุภาคเดียวได้ เหมือนกับตาของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ เซลล์ปมประสาทไวแสง (photosensitive ganglion cell) ในจอตามนุษย์ซึ่งไม่ช่วยให้เห็นภาพ จะได้สัญญาณแสงซึ่งมีผลต่อการปรับขนาดรูม่านตา ควบคุมและระงับการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนิน และปรับตัวทางสรีรภาพและพฤติกรรมตามจังหวะรอบวัน (circadian rhythm).

ดู มนุษย์และตามนุษย์

ตำนานเดชนางพญางูขาว

ตำนานเดชนางพญางูขาว (The Sorcerer and the White Snake, จีนตัวเต็ม: 白蛇傳說之法海, จีนตัวย่อ: 白蛇传说之法海, พินอิน: Bái Shé Chuán Shuō Zhī Fǎ Hǎi) ภาพยนตร์แอ๊คชั่นแฟนตาซีสัญชาติฮ่องกงและจีน นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย, หวง เซิงอี้, ชาร์ลีน ชอย, หลินฟง ออกฉายในกลางปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และตำนานเดชนางพญางูขาว

ตุลาการทมิฬ

ตุลาการทมิฬ (新暗行御史 Shin Angyō Onshi 신암행어사 Sin-amhaengeosa Blade of the Phantom Master) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของยองอินวันและยังกวางอิล ซึ่งเป็นชาวเกาหลี ลงตีพิมพ์ในนิตยสาร Sunday GENE-X รายเดือน ของสำนักพิมพ์โชงะกุกัง ชื่อภาษาอังกฤษของผลงานเรื่องนี้ใช้ชื่อว่า Blade of the Phantom Master และในบางประเทศใช้ชื่อว่า Shin Angyō Onshi ฉบับรวมเล่มทั้งหมดมี 17 เล่มจบ ในปี..

ดู มนุษย์และตุลาการทมิฬ

ตุ๊กตา

ตุ๊กตา ตุ๊กตา เป็นของเล่นสำหรับเด็ก ซึ่งอาจเป็นรูปร่างของ คน สัตว์ หรือ ตัวละครในนิยายที่ไม่มีอยู่จริง มักทำจากผ้าหรือพลาสติก โดยส่วนใหญ่นิยมทำมาในรูปแบบของเล่นมากกว่าหรือของตกแต่งสถานที่ เชื่อว่า ตุ๊กตามีที่มาจากเทวรูปหรือรูปเคารพตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ตุ๊กตาในยุคแรกจะเป็นมนุษย์ขนาดเล็ก ไม่มีความน่ารักเหมือนเช่นปัจจุบัน ต่อมายุคอียิปต์โบราณ เด็ก ๆ ได้นำเอารูปเคารพเหล่านี้มาเล่น จึงหวั่นว่าเป็นการลบหลู่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ จึงมีการเปลี่ยนมาเป็นตุ๊กตาแทน ในราว 500 ปีก่อนคริสตกาล ในยุคกรีกโบราณและโรมัน จึงมีตุ๊กตาที่แขนขาขยับได้ และมีผมที่ทำมาจากเส้นผมมนุษย์จริง ๆ โดยตุ๊กตาที่มีรูปลักษณ์เหมือนเด็กเล็กหรือเด็กทารกมีขึ้นในราว 300 ปีก่อนคริสตกาล ในยุคกรีกโบราณ.

ดู มนุษย์และตุ๊กตา

ตุ๊กตากระดาษ

ตุ๊กตากระดาษ ตุ๊กตากระดาษ คือรูปร่างของคนที่ถูกตัดและทำมาจากกระดาษ โดยจะมีชิ้นส่วนของเสื้อผ้าแยกออกมาต่างหาก ซึ่งสามารถนำไปวางติดลงบนตัวตุ๊กตาได้ด้วยการสอดหรือพับมุมกระดาษ เมื่อ 200 ปีที่แล้วตุ๊กตากระดาษถือว่าเป็นของเล่นที่ราคาไม่แพงนัก แต่ในปัจจุบันศิลปินหลายๆคนถือว่าตุ๊กตากระดาษเป็นศิลปะและเป็นของสะสม ตุ๊กตากระดาษถูกนำมาใช้ในการโฆษณา เห็นได้จากในนิตยสาร และหนังสือพิมพ์ ซึ่งในเวลาถัดมา ตุ๊กตากระดาษได้เป็นของสะสมอันล้ำค่าของนักสะสมหลายๆคน ยิ่งตุ๊กตากระดาษโบราณที่มีจำนวนจำกัดแล้ว ยังทำให้ในปัจจุบันมีการผลิตตุ๊กตากระดาษออกมาเรื่อยๆ มีของเล่นบางอย่างที่มีที่มาในการผลิตมาจากตุ๊กตากระดาษ เช่นแผ่นพลาสติกตัวต่อ หรือตุ๊กตาที่สามารถเปลี่ยนเสื้อผ้าได้ ตุ๊กตากระดาษเป็นที่นิยมในหมู่เด็กๆ เพราะมีสีสันสวยงาม ไม่เป็นอันตราย และยังสามารถสวมหรือถอดเสื้อผ้าได้เหมือนกับตุ๊กตาอื่นๆทั่วไปได้.

ดู มนุษย์และตุ๊กตากระดาษ

ตุ๊กแก

ตุ๊กแก (Geckos, Calling geckos, Tropical asian geckos, True geckos) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานสกุลหนึ่ง ในวงศ์ย่อย Gekkoninae ในวงศ์ใหญ่ Gekkonidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gekko (/เก็ก-โค/) โดยสัตว์ที่อยู่ในสกุลนี้ จะอาศัยอยู่ในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ส่วนใหญ่มีสีสันและลวดลายบนลำตัว วางไข่ครั้งละ 2 - 7 ฟอง พบได้ทั้งในบ้านเรือนของมนุษย์และในป่าดิบ โดยปกติแล้วจะมีขนาดความยาวมากกว่า 10 เซนติเมตร มีรูปร่างที่แตกต่างกันหลากหลาย ส่วนใหญ่หากินบนต้นไม้และใต้นิ้วเท้ามีแผ่นหนังเรียงต่อกัน ที่มีเส้นขนจำนวนมาก ซึ่งแต่ละเส้นยาวประมาณ 60-90 ไมครอน ส่วนปลายของเส้นขนแตกแขนงและขยายออกเป็นตุ่ม เรียกว่า "เซต้า" ใช้สำหรับยึดเกาะติดกับผนังได้โดยแรงวานเดอร์วาลส์ โดยชนิดที่รู้จักกันดีที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ตุ๊กแกบ้าน (G.

ดู มนุษย์และตุ๊กแก

ตุ๊กแกบิน

ตุ๊กแกบิน (Flying geckos, Parachute geckos, Gliding geckos) เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่อยู่ในอันดับ Squamata ในวงศ์ตุ๊กแกและจิ้งจก (Gekkonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Ptychozoon.

ดู มนุษย์และตุ๊กแกบิน

ต้นไม้กินคน

ต้นไม้กินคน Ya-te-veo ("I see you") ในความเชื่อของอเมริกากลาง จาก ''Land and Sea'' โดย J.W. Buel พ.ศ. 2430 ต้นไม้กินคน มีความหมายถึงพืชกินสัตว์ซึ่งมีขนาดใหญ่จนสามารถกินมนุษย์หรือสัตว์ขนาดใหญ่อื่นๆได้ ในปัจจุบันยังไม่พบพืชลักษณะนี้อยู่จริง แต่ก็มีบันทึกที่ไม่สามารถยืนยันได้ที่ระบุถึงอยู่พืชเหล่านี้อยู่ ในปัจจุบัน พืชกินสัตว์ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดก็คือ Nepenthes rajah ซึ่งสามารถจับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กกินได้.

ดู มนุษย์และต้นไม้กินคน

ซัยโตเมกาโลไวรัส

ซัยโตเมกาโลไวรัส (Cytomegalovirus, CMV) เป็นจีนัสหนึ่งของไวรัสในออร์เดอร์ Herpesvirales ซึ่งอยู่ในแฟมิลี Herpesviridae ซับแฟมิลี Betaherpesvirinae มีโฮสท์ธรรมชาติคือมนุษย์และลิง ปัจจุบันประกอบด้วยไวรัส 8 สปีชีส์ หนึ่งในนั้นคือฮิวแมนเฮอร์ปีส์ไวรัส 5 หรือฮิวแมนซัยโตเมกาโลไวรัส โรคที่เกิดจาก HHV-5 เช่น โมโนนิวคลีโอซิส ปอดอักเสบ เป็นต้น ส่วนใหญ่เรียกด้วยชื่อย่อว่า CMV.

ดู มนุษย์และซัยโตเมกาโลไวรัส

ซากาตะ กินโทกิ

ซากาตะ กินโทกิ เป็นตัวละครเอกในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ เดิมเป็นนักรบซามูไรขับไล่ต่างแดนที่ช่วยปกป้องญี่ปุ่นจากการรุกรานของชาวสวรรค์หรือมนุษย์ต่างดาว แต่ต่อมาเขาเริ่มรู้สึกว่าการต่อสู้กับชาวสวรรค์เป็นการกระทำที่สูญเปล่า จึงได้พลิกผันตนมาเป็นนักรับจ้างอิสระในเอโดะ โดยเปิดร้านที่ใช้ชื่อร้านว่า ร้านกินจังรับจ้างสารพั.

ดู มนุษย์และซากาตะ กินโทกิ

ซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพ

ซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพ (transitional fossil) เป็นซากดึกดำบรรพ์ที่เหลืออยู่ของสิ่งมีชีวิตใดก็ได้ ที่มีลักษณะสืบสายพันธุ์ซึ่งทั้งกลุ่มสิ่งมีชีวิตบรรพบุรุษของมันและกลุ่มลูกหลานของมันมีร่วมกัน ซึ่งเป็นหลักฐานที่สำคัญเป็นเศษ ในกรณีที่กลุ่มลูกหลานมีกายวิภาคและการดำรงชีวิตที่ต่างกันอย่างมากจากกลุ่มบรรพบุรุษ ซากดึกดำบรรพ์เช่นนี้เป็นเครื่องเตือนใจว่า การแบ่งหน่วยอนุกรมวิธานเป็นอะไรที่มนุษย์สร้างขึ้นในภายหลัง แล้วกำหนดใส่สิ่งมีชีวิตที่มีมาก่อนและมีความแตกต่างแบบต่อเนื่อง ปกติจะไม่มีทางรู้ได้ว่า ซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพหนึ่ง ๆ อยู่ใกล้จุดที่สิ่งมีชีวิตกลุ่มต่าง ๆ วิวัฒนาการเบนออกจากกันแค่ไหน เพราะบันทึกซากดึกดำบรรพ์ไม่สมบูรณ์ ดังนั้น จึงไม่สามารถสมมุติได้ว่า สิ่งมีชีวิตช่วงเปลี่ยนสภาพหนึ่งเป็นบรรพบุรุษโดยตรงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตต่อ ๆ มา แม้นักวิทยาศาสตร์อาจจะใช้มันเป็นแบบของบรรพบุรุษ ในปี..

ดู มนุษย์และซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพ

ซารุโทบิ อายาเมะ

ซารุโทบิ อายาเมะ หรือ ซัทจัง เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และซารุโทบิ อายาเมะ

ซาวาดะ สึนะโยชิ

ซาวาดะ สึนะโยชิ หรือในชื่อเล่น สึนะ, เป็นตัวละครเอกจากหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์เรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! ผลงานของ อากิระ อามาโนะ พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดย ยูคาริ โคคุบุน สึนะ เป็นทายาทของวองโกเล่แฟมิลี่ แก๊งค์มาเฟียอิตาลี และจะได้รับตำแหน่งบอสรุ่นที่ 10 ของวองโกเล่ และเพื่อการเตรียมตัวสู่ตำแหน่งผู้นำ นักฆ่าของวองโกเล่ที่ชื่อรีบอร์น จึงได้มาทำหน้าที่เป็นครูพิเศษให้กับสึนะ ด้วยความช่วยเหลือของรีบอร์น ทำให้สึนะที่แต่เดิมเป็นคนไม่เอาไหน ได้มีความกล้าเพิ่มขึ้น และได้เพื่อนสนิทอีกมากมาย และเพื่อนสนิทส่วนหนึ่งก็ได้มาเป็นผู้พิทักษ์ของวองโกเล่แฟมิลี่ในเวลาต่อม.

ดู มนุษย์และซาวาดะ สึนะโยชิ

ซาซางาวะ เรียวเฮ

ซาซางาวะ เรียวเฮ เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดย ฮิเดโนบุ อ.

ดู มนุษย์และซาซางาวะ เรียวเฮ

ซานเตียโก รามอน อี กาฮาล

ซานเตียโก รามอน อี กาฮาล (Santiago Ramón y Cajal) ForMemRS (1 พฤษภาคม 2395 – 18 ตุลาคม 2477) เป็นแพทย์ อาจารย์ พยาธิแพทย์ นักมิญชวิทยาและนักประสาทวิทยาศาสตร์ชาวสเปน ได้รับรางวัลรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปี..1906 (พ.ศ.

ดู มนุษย์และซานเตียโก รามอน อี กาฮาล

ซิก ฮาร์ท

ซิก ฮาร์ท (ジークハルト, Jīku Haruto) เป็นตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เรฟ ผจญภัยเหนือโลก.

ดู มนุษย์และซิก ฮาร์ท

ซีอุย

ซีอุย (พ.ศ. 2470 — 16 กันยายน พ.ศ. 2502) เป็นชื่อของชาวจีน ที่สันนิษฐานว่าเป็นฆาตกรที่ฆ่าเด็กและนำตับมาต้มกินในช่วงปี..

ดู มนุษย์และซีอุย

ซีเวอร์ต

ซีเวอร์ต (sievert, Sv) เป็นหน่วยอนุพันธ์เอสไอของปริมาณรังสีสมมูล มันจะแสดงถึงผลทางชีวภาพของรังสีตรงข้ามกับลักษณะทางกายภาพซึ่งเป็นลักษณะของปริมาณรังสีดูดซึมโดยวัดเป็นหน่วยเกรย์ ซีเวอร์ตได้ชื่อตาม รอล์ฟ ซีเวอร์ต (Rolf Sievert) นักฟิสิกส์การแพทย์ชาวสวีเดนที่อุทิศตนเพื่อศึกษาผลของรังสีที่มีต่อสิ่งมีชีวิต.

ดู มนุษย์และซีเวอร์ต

ประชากรโลก

ประมาณประชากรโลกตั้งแต่ปี 1800 ถึง 2100 ตามhttp://esa.un.org/wpp/unpp/panel_population.htm ผลการคาดคะเนของสหประชาชาติเมื่อปี 2010 ('''แดง''' '''ส้ม''' '''เขียว''') และhttp://www.census.gov/ipc/www/worldhis.html การประมาณในอดีตของสำนักสำมะโนสหรัฐ ('''ดำ''') ตัวเลขประชากรที่บันทึกจริงเป็นสี'''น้ำเงิน''' ตามการประมาณสูงสุด ประชากรโลกอาจสูงถึง 16,000 ล้านคนในปี 2100 ตามการประมาณต่ำสุด ประชากรโลกอาจลดลงเหลือ 6 พันล้านคน ประชากรโลก เป็นจำนวนมนุษย์ทั้งหมดที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลก ซึ่งปัจจุบันองค์การสหประชาชาติ (UN) ประมาณการว่าประชากรโลกมีจำนวนราวๆ 7,300 ล้านคน ณ เดือนกรกฎาคม..

ดู มนุษย์และประชากรโลก

ประชาน

ประชาน หรือ ปริชาน หรือ การรับรู้ (Cognition) เป็น "การกระทำหรือกระบวนการทางใจเพื่อให้ได้ความรู้ความเข้าใจผ่านความคิด ประสบการณ์ และประสาทสัมผัส" ซึ่งรวมกระบวนการต่าง ๆ รวมทั้ง.

ดู มนุษย์และประชาน

ประวัติศาสตร์การทหาร

ประวัติศาสตร์การทหาร เป็นการรวบรวมบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวของความขัดแย้ง ตั้งแต่ข้อขัดแย้งระหว่างชนเผ่าพื้นเมืองเล็ก ๆ สองเผ่า ระหว่างสองรัฐ หรือสงครามโลกที่มีผลกระทบต่อประชากรโลกในระดับที่รุนแรง นักประวัติศาสตร์การทหารเป็นผู้ทำการบันทึกประวัติศาสตร์การทหารเหล่านี้ กิจกรรมทางทหาร เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นมาเป็นเวลานับพันปี แต่การจัดการบันทึกข้อมูลนั้นเป็นไปอย่างหยาบ ๆ สิ่งที่เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์โลกก่อนประวัติศาสตร์นั้นแทบจะไม่มีข้อมูลหลงเหลืออยู่ แต่นักประวัติศาสตร์หลายคนเชื่อว่า รูปแบบของยุทธวิธี ยุทธศาสตร์ และจุดมุ่งหมายในการทำสงครามต่าง ๆ นั้นแทบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นเวลาร่วมห้าพันปี ในประวัติศาสตร์ที่มีบันทึกไว้และในรอบ 90,000 ปีตั้งแต่มีเผ่าพันธุ์มนุษย์ปรากฏขึ้นมาบนโลก ตัวอย่างที่ชัดเจนอย่างหนึ่งคือ ยุทธวิธี Double envelopment หรือการล้อมสองด้าน ซึ่งเป็นยุทธวิธีพื้นฐานที่ใช้กันมากในการทำสงคราม ได้ถูกใช้โดย ฮันนิบาล (Hannibal) ที่ยุทธการคันนาย เมื่อ 216 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งเป็นเวลากว่าสองพันสองร้อยปีมาแล้ว ต่อมาอีกเกือบพันปี ก็ถูกใช้อีกโดย Robin Phan Persie คาลิด ไอบิน อัลวาลิด (Khalid ibn al-Walid) ที่ยุทธการวาฮายา (Walaja) ใน ค.ศ.

ดู มนุษย์และประวัติศาสตร์การทหาร

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และประวัติศาสตร์สเปน

ประวัติศาสตร์อังกฤษ

อังกฤษ เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุด และมีประชากรมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสหราชอาณาจักร ประวัติศาสตร์อังกฤษเริ่มขึ้นเมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อหลายพันปีมาแล้ว ภูมิภาคที่ปัจจุบันคืออังกฤษภายในสหราชอาณาจักรเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์นีอันเดอร์ธอลราว 230,000 ปีมาแล้ว ขณะที่มนุษย์โฮโมเซเพียนซึ่งเป็นมนุษย์สมัยใหม่เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานราว 29,000 ปีมาแล้ว แต่การอยู่ต่อเนื่องกันโดยตลอดเริ่มขึ้นราว 11,000 ปีมาแล้วในปลายยุคน้ำแข็ง ในบริเวณภูมิภาคนี้ยังมีร่องรอยของมนุษย์สมัยต่างๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เริ่มตั้งแต่ยุคหินกลาง, ยุคหินใหม่ และ ยุคสำริด เช่น สโตนเฮนจ์ และเนินดินที่เอฟบรี ในยุคเหล็กอังกฤษก็เช่นเดียวกับบริเตนทั้งหมดทางใต้ของเฟิร์ธออฟฟอร์ธเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์ที่เป็นกลุ่มชนที่เรียกว่า บริเตน (Briton) หรือเผ่าเบลแจ ในปี..

ดู มนุษย์และประวัติศาสตร์อังกฤษ

ประวัติศาสตร์โลก

ประวัติศาสตร์โลกหรือประวัติศาสตร์มนุษยชาติเริ่มต้นที่ยุคหินเก่า ประวัติศาสตร์โลกไม่รวมประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่ไม่ใช่มนุษย์และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยา ยกเว้นตราบเท่าที่โลกธรรมชาตินั้นกระทบต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก ประวัติศาสตร์โลกประกอบด้วยการศึกษาทางโบราณคดีและหลักฐานลายลักษณ์อักษรตั้งแต่สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์โบราณที่มีบันทึกเริ่มต้นจากการประดิษฐ์การเขียน ทว่า รากเหง้าแห่งอารยธรรมมีมาแต่ก่อนการประดิษฐ์การเขียน สมัยก่อนประวัติศาสตร์เริ่มต้นในยุคหินเก่า ต่อด้วยยุคหินใหม่และการปฏิวัติเกษตรกรรม (ระหว่าง 8000 ถึง 5000 ปีก่อนคริสตกาล) ในพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (Fertile Crescent) การปฏิวัติเกษตรกรรมเป็นเครื่องหมายการเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมนุษย์เริ่มต้นทำการเกษตร คือ กสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์อย่างเป็นระบบ เมื่อเกษตรกรรมก้าวหน้าขึ้น มนุษย์ส่วนมากเปลี่ยนจากวิถีชีวิตเร่ร่อนมาเป็นตั้งถิ่นฐานเป็นเกษตรกรในนิคมถาวร การเร่ร่อนยังมีอยู่ในบางที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ห่างไกลซึ่งมีพืชที่เพาะปลูกได้ไม่กี่ชนิด แต่ความมั่นคงสัมพัทธ์และผลิตภาพที่เพิ่มขึ้นจากกสิกรรมทำให้ชุมชนมนุษย์ขยายเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่า ซึ่งความก้าวหน้าในการขนส่งก็มีส่วนช่วย เมื่อกสิกรรมพัฒนา การเพาะปลูกธัญพืชมีความซับซ้อนขึ้นและทำให้มีการแบ่งงานกันทำเพื่อเก็บอาหารระหว่างฤดูเพาะปลูก จากนั้นการแบ่งงานทำให้เกิดชนชั้นสูงที่สุขสบายและพัฒนาการนคร สังคมมนุษย์ที่ซับซ้อนมากขึ้นทำให้ระบบการเขียนและการบัญชีมีความจำเป็น หลายนครพัฒนาบนตลิ่งทะเลสาบและแม่น้ำ ตั้งแต่ 3000 ปีก่อนคริสตกาล เกิดนิคมโดดเด่นและมีการพัฒนา เช่นในเมโสโปเตเมีย ริมตลิ่งแม่น้ำไนล์แห่งอียิปต์ และหุบแม่น้ำสินธุ อาจมีอารยธรรมคล้ายกันพัฒนาขึ้นตามแม่น้ำสำคัญในจีน แต่หลักฐานทางโบราณคดีของการสร้างเมืองอย่างกว้างขวางในที่นั้นชัดแจ้งน้อยกว่า ประวัติศาสตร์โลกเก่า (โดยเฉพาะอย่างยิ่งยุโรปและเมดิเตอร์เรเนียน) โดยทั่วไปแบ่งเป็นยุคโบราณ ถึง..

ดู มนุษย์และประวัติศาสตร์โลก

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ดู มนุษย์และประเทศฟิลิปปินส์

ปริศนา

ปริศนา (puzzle) คือปัญหาสำหรับท้าทายความเฉลียวฉลาด (ingenuity) ของมนุษย์ ปริศนามักจะถูกออกแบบมาเพื่อความบันเทิง แต่บางครั้งก็กลายเป็นปัญหาทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์อย่างจริงจัง สำหรับกรณีหลัง ผลสำเร็จของปริศนาอาจมีความสำคัญในการพิสูจน์และการวิจัยทางด้านคณิตศาสตร์ การหาผลสำเร็จของปริศนาบางอย่างอาจต้องใช้แบบแผน (pattern) และขั้นตอนที่เฉพาะเจาะจง บุคคลที่มีความสามารถในการเรียนรู้ได้เร็ว อาจสามารถไขปัญหาได้ดีกว่าบุคคลอื่น ปริศนาซึ่งมีพื้นฐานอยู่บนการเสาะหาและการค้นพบแนวทางในการแก้ปัญหา อาจแก้ได้รวดเร็วกว่าด้วยทักษะการอนุมานที่ดี.

ดู มนุษย์และปริศนา

ปลา

ปลา (อังกฤษ: Fish) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ เป็นสัตว์เลือดเย็น หายใจด้วยเหงือกและมีกระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวไปมาด้วยครีบและกล้ามเนื้อของลำตัว บางชนิดมีเกล็ดปกคลุมทั่วตัว บางชนิดไม่มีเกล็ดแต่ปกคลุมด้วยเมือกลื่น ๆ หรือแผ่นกระดูก มีหัวใจสองห้องและมีขากรรไกร สัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำบางประเภท ถูกเรียกติดปากว่าปลาเช่นเดียวกันเช่น ปลาดาว, โลมา, วาฬและหมึก ซึ่งสัตว์ทั้งหมดนี้ก็มีแหล่งอาศัยอยู่ในน้ำด้วยกันทั้งสิ้น แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจำพวกเดียวกันกับปลา ด้วยลักษณะทางกายวิภาคและสรีรวิทยาที่แตกต่างกันเช่น ปลาดาวเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นเดียวกับปลา มีโครงสร้างที่เป็นหินปูน โลมาและวาฬถูกจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถหายใจได้ทางปอดไม่ใช่ทางเหงือก และปลาหมึกจัดเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ถูกจัดรวมอยู่กับสัตว์ประเภทเดียวกันกับหอ.

ดู มนุษย์และปลา

ปลาชะโอนถ้ำ

ปลาชะโอนถ้ำ หรือ ปลาชะโอนถ้ำวังบาดาล (Cave sheatfish) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) เป็นปลาที่มีถิ่นอาศัยเพียงถิ่นเดียว มีลำตัวสีขาวเผือกอมเหลืองทั้งตัวคล้ายภาวะผิวเผือก ตามีขนาดเล็กมากและเป็นสีแดง โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มที่พบในถ้ำวังบาดาล ภายในอุทยานแห่งชาติเอราวัณ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งปลากลุ่มนี้จะมีลักษณะดังที่กล่าวข้างต้น และกลุ่มที่อยู่นอกถ้ำหรือพบในถ้ำอื่น จะมีลำตัวสีเทาอมน้ำตาลเท่านั้น มีขนาดยาวเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร ถูกค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และปลาชะโอนถ้ำ

ปลาฟิงเกอร์

ปลาฟิงเกอร์ หรือ ปลาเฉี่ยวแอฟริกา (African moony, Mono sebae) เป็นปลาชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาเฉี่ยว (Monodactylidae) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monodactylus sebae มีรูปร่างคล้ายกับปลาเฉี่ยวหินหรือปลาผีเสื้อเงิน (M.

ดู มนุษย์และปลาฟิงเกอร์

ปลากระทิง (สกุล)

ปลากระทิง เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง ในสกุล Mastacembelus (/มาส-ตา-เซม-เบล-อัส/) อยู่ในอันดับปลาไหลนา วงศ์ปลากระทิง (Mastacembelidae) มีรูปร่างโดยรวม ลำตัวยาว แบนข้างเล็กน้อย ปลายจะงอยปากบนเรียวแหลมคล้ายปลาหลด จมูกคู่หน้ามีปลายแยกออกเป็นติ่งเนื้อเล็ก ๆ 2 ติ่ง และติ่งใหญ่ 2 ติ่ง มีครีบหลังและครีบก้นยาวต่อเนื่องกับครีบหาง ก้านครีบเดี่ยวของครีบหลังเป็นหนามแหลมสั้น ๆ เพื่อป้องกันตัวประมาณ 33–40 ก้าน สีสดสวยกว่าและมีขนาดใหญ่กว่า อาศัยอยู่ในแม่น้ำลำคลองและที่ลุ่มทั่วไป พบทั้งในแหล่งน้ำจืดและน้ำกร่อย กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชียและภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ มีความยาวโดยเฉลี่ยประมาณ 60–80 เซนติเมตร หากินตามพื้นท้องน้ำด้วยการกินปลาขนาดเล็กและสัตว์น้ำขนาดเล็ก โดยมักจะซุกซ่อนตัวในโพรงไม้หรือวัตถุต่าง ๆ ใต้น้ำ มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการบริโภค ตกปลา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ดู มนุษย์และปลากระทิง (สกุล)

ปลากระเบนไฟฟ้า

ปลากระเบนไฟฟ้า (Electric rays, Numbfishes, Coffin rays, Sleeper rays, Crampfishes) เป็นปลากระเบนที่มีรูปร่างกลม จัดอยู่ในอันดับ Torpediniformes และมีอวัยวะคู่หนึ่งที่สามารถปล่อยกระแสไฟฟ้าได้ ซึ่งประกอบไปด้วยเซลล์รูปหกเหลี่ยมเรียงซ้อนกันเป็นกลุ่ม ตั้งอยู่ทางด้านข้างของตาถัดไปถึงครีบอก ภายในมีสารเป็นเมือกคล้ายวุ้น ทำหน้าที่ในการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยความแรงมีตั้งแต่ระดับต่ำเพียง 8 โวลต์ไปจนถึง 220 โวลต์ ขึ้นอยู่กับชนิด กระแสไฟฟ้านี้ใช้เพื่อทำให้เหยื่อสลบหรือฆ่าเหยื่อ ปลากระเบนไฟฟ้าทั้งหมดมีรูปร่างแบนกลม ตามีขนาดเล็กมาก (มีอยู่ 4 ชนิดที่ตาบอด) ส่วนหางพัฒนาอย่างสมบูรณ์แข็งแรง และไม่มีเงี่ยงหางแหลมคมเหมือนปลากระเบนในอันดับอื่น มีลำตัวหนาและอ่อนนุ่ม มีครีบหลัง 2 ตอน หรือไม่มีเลย ปลากระเบนไฟฟ้ามีทั้งหมด 4 วงศ์ (ดูในตาราง) ประกอบด้วย 69 ชนิด 11 สกุล โดยทั้งหมดพบในทะเล พบในบริเวณอบอุ่นในเขตร้อนของมหาสมุทรแอตแลนติก, แปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย ปลากระเบนไฟฟ้ามักหมกตัวอยู่ใต้พื้นทราย สามารถทำอันตรายต่อมนุษย์ได้หากเหยียบไปถูกเข้า ซึ่งอาจทำให้เกิดเกิดอาการชาและจมน้ำเสียชีวิตได้ อวัยวะสร้างกระแสไฟฟ้าคู่ ปลากระเบนไฟฟ้าในภาษาไทยมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ปลาเสียว" โดยชนิดที่พบได้ในน่านน้ำไทย เช่น ปลากระเบนไฟฟ้าหลังเรียบ (Temera hardwickii), ปลากระเบนไฟฟ้าสีน้ำตาล (Narcine brunnea), N.

ดู มนุษย์และปลากระเบนไฟฟ้า

ปลากัด (สกุล)

ปลากัด (Fighting fishes) ชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง มีชื่อสกุลว่า Betta (/เบ็ท-ทา/) ในวงศ์ย่อย Macropodinae ในวงศ์ใหญ่ Osphronemidae.

ดู มนุษย์และปลากัด (สกุล)

ปลากดหัวเสียม

ปลากดหัวเสียม (Shovelhead catfishes; เบงกาลี: আইড়) เป็นชื่อสกุลของปลาหนังน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลากด (Bagridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Sperata (/สะ-เพอร์-อา-ทา/) มีทั้งหมดด้วยกัน 4 ชนิด (ดูในตาราง) รูปร่างโดยรวม ส่วนหัวและจะงอยปากยื่นยาวมากที่สุดในวงศ์เดียวกันนี้ หัวแบนราบเล็กน้อย ลำตัวทรงกระบอก แต่ด้านหลังยกสูง และเรียวไปทางด้านท้าย ตาเล็กอยู่ด้านบนของหัว ริมฝีปากตัดตรงอยู่ปลายสุดของจะงอยปาก หนวดที่ริมฝีปากยาวมาก ครีบหลังไม่มีก้านครีบแข็ง ครีบไขมันยาวมาก ครีบหางใหญ่เว้าลึก ด้านท้องสีจาง ครีบสีจาง ที่สำคัญคือ ปลาในสกุลนี้ในครีบไขมันจะมีจุดสีดำเห็นเด่นชัด มีขอบขาวที่ตอนปลายท้ายสุด มีการกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย, อัฟกานิสถานและพม่า มีแหล่งที่พบคือ แม่น้ำสายใหญ่ในประเทศเหล่านี้ ได้แก่ แม่น้ำคงคา, แม่น้ำอิระวดี และพบได้จนถึงแม่น้ำสาละวินซึ่งเป็นพรมแดนของพม่าติดกับไทย โดยมีชื่อเรียกในภาษากะเหรี่ยงว่า "ปลาแก๊ด" มีขนาดลำตัวโดยเฉลี่ย 50 เซนติเมตร ใหญ่ที่สุดพบได้ถึง 180 เซนติเมตร ในชนิด S.

ดู มนุษย์และปลากดหัวเสียม

ปลายรัฟฟินี

ปลายรัฟฟินี หรือ เม็ดรัฟฟินี หรือ เม็ดกระเปาะ (Bulbous corpuscle, Ruffini ending, Ruffini corpuscle) เป็นปลายประสาทรับแรงกลแบนที่หุ้มด้วยแคปซูลรูปกระสวย โดยแคปซูลเป็นเนื้อเยื่อยึดต่อ (connective tissue) ประกอบด้วยใยคอลลาเจนที่เกี่ยวพันกับใยประสาท และเชื่อมกับใยประสาทแบบ slowly adapting type 2 (SA2) ซึ่งมีปลอกไมอีลินหนา ปรับตัวอย่างช้า ๆ (slowly adapting) และตรวจจับแรงตึง/การขยาย/การเหยียด ซึ่งช่วยให้รู้รูปร่างของวัสดุที่อยู่ในมือและรูปร่างของมือในบรรดาตัวรับแรงกลที่หุ้มปลายพิเศษ 4 อย่างที่ผิวหนัง อนึ่ง นอกจากที่ผิวหนัง ยังมีอยู่ในเอ็นยึดข้อต่อ ปลอกหุ้มข้อต่อ และเอ็นปริทันต์ (periodontal ligament) ด้วย โครงสร้างนี้มีชื่อตามนายแพทย์ชาวอิตาลีผู้ค้นพบ คือ แอนเจโล รัฟฟินี.

ดู มนุษย์และปลายรัฟฟินี

ปลายประสาทรับร้อน

ปลายประสาทรับร้อน หรือ ตัวรับอุณหภูมิ (thermoreceptor) เป็นปลายประสาทของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกในผิวหนังและในเยื่อเมือกบางชนิด ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิหรือการแลกเปลี่ยนความร้อนได้ดีที่สุด คือ ตัวรับอุณหภูมิ ไม่ว่าจะรับเย็นหรืออุ่น จะตอบสนองต่ออุณหภูมิโดยเฉพาะ ๆ หรือต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ โดยเป็นฟังก์ชันของการแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างผิวหนังกับวัตถุที่สัมผัส และโดยหลักในพิสัยที่ไม่มีอันตราย เพราะโนซิเซ็ปเตอร์รับอุณหภูมิจะเป็นตัวส่งข้อมูลในพิสัยที่อาจเป็นอันตราย ในช่วงอุณหภูมิ 31-36°C (32-34°C) ถ้าอุณหภูมิที่ผิวหนังเปลี่ยนอย่างช้า ๆ เราจะไม่รู้สึกอะไร ถ้าต่ำกว่าช่วงนี้ เราจะรู้สึกเย็นไปจนถึงหนาวและเริ่ิมที่ 10-15°C จะรู้สึกหนาวเหน็บ (เจ็บ) และถ้าสูงกว่าช่วงนี้ เราจะรู้สึกอุ่นไปจนถึงร้อนและเริ่มที่ 45°C จะรู้สึกร้อนลวก (เจ็บ) อ้างอิง.

ดู มนุษย์และปลายประสาทรับร้อน

ปลายประสาทเมอร์เกิล

ปลายประสาทเมอร์เกิล ปลายประสาทเมอร์เกิล เป็นปลายประสาทรับแรงกลมีขีดเริ่มเปลี่ยนต่ำชนิดหนึ่งที่พบใต้หนังกำพร้าและที่ปุ่มรากผม (hair follicle).

ดู มนุษย์และปลายประสาทเมอร์เกิล

ปลาสอด

ปลาสอด (Molly, Moonfish) เป็นปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliida) ปลาสอดเป็นปลาพื้นเมืองดั้งเดิมมาจากเม็กซิโกจนถึงเวเนซุเอลา ที่สีสันในธรรมชาติจะเป็นสีน้ำเงินทึม ๆ หรือสีเขียววาว ๆ มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ย 10-15 เซนติเมตร โดยที่ตัวผู้จะมีสีที่สวยกว่าตัวเมีย รวมทั้งครีบต่าง ๆ ที่ใหญ่ยาวกว่า ขณะที่ลำตัวของตัวเมียนั้นจะใหญ่กว่า ท้องอูมป่องกว่าอย่างเห็นได้ชัดเจน เป็นปลาที่อาศัยและหากินอยู่บริเวณผิวน้ำเป็นฝูง โดยกินตะไคร่น้ำ, สาหร่าย, พืชน้ำขนาดเล็ก รวมทั้งตัวอ่อนของแมลงต่าง ๆ เช่น ลูกน้ำ เป็นต้น โดยบางครั้งอาจพบได้จนถึงแหล่งน้ำกร่อย จนกระทั่งในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และปลาสอด

ปลาสังกะวาด

ปลาสังกะวาด หรือ ปลายอน เป็นสกุลของปลากระดูกแข็งในอันดับปลาหนังจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasiidae) ที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุด โดยพบแล้วประมาณ 26 ชนิด ใช้ชื่อสกุลว่า Pangasius มีรูปร่างโดยรวม คือ ลำตัวลื่นไม่มีเกล็ด หัวโต ตามีขนาดเล็ก ปากกว้าง รูจมูกคู่หลังอยู่ใกล้รูจมูกคู่หน้ามากกว่านัยน์ตา และอยู่เหนือระดับขอบบนของลูกนัยน์ตา มีหนวด 2 คู่สั้นหรือยาวแล้วแต่ชนิด (ริมปากบน 1 คู่ และคาง 1 คู่) มีฟันที่กระดูกเพดานปากชิ้นกลางและชิ้นข้าง แต่ในบางชนิดอาจหดหายไปเมื่อปลามีอายุมากขึ้น รูปร่างอ้วนป้อม ครีบทั้งหมดโดยเฉพาะครีบหลังและครีบอกตั้งชี้ตรง และมีก้านแข็ง นัยน์ตาอยู่เหนือระดับมุมปากเล็กน้อย ท้องไม่เป็นสันคม ครีบท้องมีก้านครีบแขนง 6 ก้าน มีขนาดรูปร่างที่แตกต่างออกไปตั้งแต่ 1 ฟุต ไปจนถึงเกือบ 3 เมตร แต่โดยทั่วไปจะมีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 1-1.5 เมตร เป็นปลาที่กินได้ทั้งเนื้อและพืชเป็นอาหาร รวมถึงซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยด้วย มีพฤติกรรมชอบอยู่เป็นฝูง ในแม่น้ำและลำคลองสายใหญ่ พบตั้งแต่อนุทวีปอินเดียจนถึงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะ เป็นปลาที่มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเป็นปลาเศรษฐกิจ ใช้บริโภค ซึ่งมีการวิจัยพบว่าเนื้อปลาในสกุลนี้ มีสารโอเมกา 3 สูงกว่าปลาทะเลเสียอีก นอกจากนี้ยังใช้ตกเป็นเกมกีฬา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงามในบางชนิด ในภาษาไทยจะเรียกปลาในสกุลนี้โดยรวมว่า "สวาย" ในปลาที่มีขนาดใหญ่ และในปลาที่มีขนาดเล็กมักจะเรียกรวม ๆ กันว่า "สังกะวาด" หรือ "สังกะวัง" ซึ่งซ้ำซ้อนกับปลาในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbeidae) สำหรับในภาษาอีสานจะเรียกว่า "ยอน" หรือ "ซวย" ในปัจจุบัน มีการผสมพันธุ์ข้ามชนิดและข้ามสกุลกัน จนได้เป็นลูกปลาพันธุ์ผสมชนิดใหม่ที่ให้ผลผลิตดี โดยใช้ชื่อในทางการค้าว่า "ปลามรกต" หรือ "เขียวมรกต" นิยมเลี้ยงกันมากโดยเฉพาะในภาคอีสานของไทย และในปัจจุบันนิยมทำเป็นผลิตภัณฑ์เนื้อปลาสำเร็จรูป ในชื่อ "แพนกาเชียส ดอรี่" ปลาสวาย (''P.

ดู มนุษย์และปลาสังกะวาด

ปลาหมอฟรอนโตซ่า (สกุล)

ปลาหมอฟรอนโตซ่า (Frontosa cichilds, Humphead cichlids) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cyphotilapia เป็นปลาหมอสีที่พบอาศัยอยู่ในทะเลสาบแทนกันยีกาในทวีปแอฟริกาเท่านั้น โดยกระจายพันธุ์ไปทั่วทะเลสาบ ในความลึกตั้งแต่ 10-50 เมตร ซึ่งตามแนวความลึกนั้นจะมีภูมิประเทศและสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน เป็นปลาที่มีขนาดโตเต็มที่ได้ราว 14 นิ้ว มีอายุยืนยาวถึง 25 ปี ลำตัวมีแถบสีดำ 6 แถบ หรือ 7 แถบ (ในบางสายพันธุ์) ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามแหล่งอาศัย บ้างก็เป็นขีดเส้นตัดตรงพาดจากหน้าผากผ่านมาที่แก้ม บ้างก็มีลักษณะเป็นหน้ากากสามเหลี่ยมครอบบริเวณดวงตา บ้างก็เป็นปื้นสีดำเหมือนเคราของมนุษย์ เป็นต้น เป็นปลาที่กินเนื้อเป็นอาหาร นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูง ล่าปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังตามพื้นน้ำด้วย มีพฤติกรรมเมื่อว่ายน้ำจะกางครีบ ทำตัวอยู่นิ่ง ๆ ในแนวหินในระดับความลึกตั้งแต่ 10 เมตรลงไป โดยมักไม่ค่อยเคลื่อนไหวเพื่อเป็นการออมการเผาผลาญพลังงาน ซึ่งในบางครั้งทำให้สามารถอดอาหารได้เป็นเดือน แต่เมื่อเวลากินหรือล่าเหยื่อนั้นจะว่องไวมาก มีตัวผู้ตัวใหญ่สุดเป็นจ่าฝูง ซึ่งในฝูงจะประกอบด้วยปลาตัวเมีย และปลาตัวผู้ที่เล็กกว่าตัวอื่น ปลาที่เป็นจ่าฝูงมักจะขับสีตัวเองให้เป็นสีเข้มเหมือนสีดำเพื่อเป็นการข่มปลาตัวอื่น เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 4 ปี โดยปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายต้อนปลาตัวเมียมายังรังที่สร้างไว้เพื่อวางไข่ พร้อมกับขับไล่ปลาตัวอื่น ไม่ให้เข้าใกล้ เมื่อตัวเมียวางไข่จะอมไข่ไว้ในปาก ปลาตัวผู้จะฉีดน้ำเชื้อ เพื่อให้ตัวเมียเก็บน้ำเชื้อเข้าปากเพื่อปฏิสนธิ และหลังจากนั้นปลาตัวเมียจะไม่กินอาหารเลย เป็นระยะเวลาราว 21 วัน ซึ่งปลาจะฟักเป็นตัว จึงคายลูกปลาออกมา ได้รับความนิยมอย่างมากในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยแบ่งเป็นสายพันธุ์ต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่เป็นหลักในการอนุกรมวิธาน โดยเรียกชื่อกันตามลักษณะภายนอกของปลาและถิ่นที่อยู่อาศัยตามพื้นที่ต่าง ๆ ของทะเลสาบ แต่โดยหลักของการอนุกรมวิธานแล้ว จะแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ดู มนุษย์และปลาหมอฟรอนโตซ่า (สกุล)

ปลาหมอตาล

ปลาหมอตาล หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาจูบ (Kissing gourami) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Helostomatidae จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวและสกุลเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้ มีรูปร่างป้อมสั้น ลำตัวแบนมากกว่าปลาหมอไทย หัวเล็ก จะงอยปากสั้นทู่ ปากเล็กยืดหดได้ ริมฝีปากหนา นัยน์ตาอยู่ในระดับเดียวกันกับมุมปาก มีเกล็ดขนาดปานกลางปกคลุมส่วนหัวและลำตัว ฟันละเอียด ตาอยู่เหนือมุมปาก ครีบหลังและครีบก้นมีก้านครีบแข็งและอ่อน ครีบท้องมีก้านครีบแข็ง 5 ซี่ เกล็ดเล็กมีอยู่ที่เส้นข้างตัว 44-48 เกล็ด เส้นข้างลำตัวขาดตอนตรงบริเวณใต้ก้านครีบอ่อนของครีบหลัง ครีบท้องและครีบก้นยาว ลำตัวเป็นสีเขียวปนเทา หลังมีสีเทาปนดำ ท้องสีขาว มีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจเช่นเดียวกับปลาในวงศ์ Osphronemidae จึงสามารถอาศัยในแหล่งน้ำที่มีออกซิเจนละลายในปริมาณที่ต่ำได้ ปลาหมอตาล มีพฤติกรรมชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง และมีพฤติกรรมที่แปลกไปกว่าปลาชนิดอื่น คือ เมื่อจะต่อสู้หรือข่มขู่กัน จะใช้ปากตอดกันคล้ายกับการจูบที่แสดงออกถึงความรักของมนุษย์จึงเป็นที่มาของชื่อ "ปลาจูบ" วางไข่แบบไข่ลอยบนผิวน้ำ พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำทั่วไปรวมถึงนาข้าวหรือท้องร่องสวนในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 12-20 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุดได้ถึง 30 เซนติเมตร สำหรับในประเทศไทยพบเฉพาะลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำน่าน และพบบางส่วนในป่าพรุทางภาคใต้ กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์น้ำตลอดจนถึงแมลงและแพลงก์ตอน โดยใช้ปากที่ยืดหดได้นี้ตอดกิน จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามเพื่อความเพลิดเพลินและทำความสะอาดภายในตู้ปลา โดยนิยมเลี้ยงกันในตัวที่มีสีพื้นลำตัวเป็นสีขาวนวลหรือสีชมพู ในขณะที่ปลาที่มีสีตามธรรมชาติจะนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาเศรษฐกิจเพื่อการบริโภค นอกจากนี้แล้วยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น ใบตาล, อีตาล, ตาล, ปากง่าม, อีโก๊ะ หรือ วี ในภาษาใต้ เป็นต้น.

ดู มนุษย์และปลาหมอตาล

ปลาหมอแคระแรมเจ็ดสี

ปลาหมอแคระแรมเจ็ดสี หรือ ปลาหมอแรมเจ็ดสี (Ram, Blue ram, German blue ram, Asian ram, Butterfly cichlid, Ramirez's dwarf cichlid, Dwarf butterfly cichlid, Ram cichlid, Ramirezi) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mikrogeophagus ramirezi อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) จัดเป็นปลาหมอแคระชนิดหนึ่ง ปลาตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีความยาวประมาณ 7 เซนติเมตร ส่วนตัวเมีย 4-5 เซนติเมตร ลักษณะรูปร่างแบนข้าง ลำตัวกว้าง ส่วนหัวค่อนข้างใหญ่เมื่อเทียบสัดส่วนกับลำตัว ครีบหางสั้นเป็นรูปสามเหลี่ยม ครีบหลังเชื่อมยาวต่อกันตั้งสูงชันคล้ายกำแพง ก้านครีบแข็ง 3-4 ก้านแรกของครีบหลังมีสีดำตั้งสูงชันขึ้นมาคล้ายหงอนของนกกระตั้ว ดวงตามีสีแดง มีเส้นสีดำพาดตาจากบนหัวลงมาเกือบถึงใต้คอ มีจุดดำขนาดค่อนข้างใหญ่อยู่บริเวณปลายตัวเห็นเด่นชัด สีของปลาหมอแคระแรมเจ็ดสี มีสีสันที่สวยสด โดยเป็นสีเหลือบเขียวและเหลือง มีจุดฟ้าแวววาว และจะยิ่งสดสวยขึ้นเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ซึ่งปลาตัวผู้จะขับสีออกมาเพื่อเรียกร้องความสนใจจากปลาตัวเมีย อันเป็นที่มาของชื่อเรียก พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำโอรีโนโก ในเขตประเทศเวเนซุเอลาและโคลัมเบีย เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม กันมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะในตู้ไม้น้ำ แต่เป็นปลาที่มีนิสัยก้าวร้าวกว่าปลาหมอแคระจำพวกอื่น ๆ มักจะข่มขู่และกัดกันเองอยู่ในฝูงอยู่เสมอ ปัจจุบัน เป็นปลาที่ได้รับการเพาะขยายพันธุ์จากมนุษย์จนมีความหลากหลายทางสายพันธุ์มากกว่าปลาที่พบในธรรมชาติ เช่น ปลาที่มีลำตัวสั้นกว่าปกติ หรือ ปลาบอลลูน และปลาที่มีหางยาวเหมือนปลาทอง หรือ ปลาที่มีสีฟ้าแวววาวตลอดทั้งตัว หรือสีเหลืองตลอดทั้งตัว.

ดู มนุษย์และปลาหมอแคระแรมเจ็ดสี

ปลาหลด

ปลาหลด (spiny eel) เป็นชื่อปลานํ้าจืดทุกชนิดในสกุลปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Macrognathus จัดอยู่ในอันดับปลาไหลนา (Synbranchiformes) วงศ์ปลากระทิง (Mastacembelidae) ปลาหลดมีรูปร่างเพรียวยาว ลำตัวแบนข้าง หัวและตามีขนาดเล็ก มีจุดเด่นคือ ปากเล็กและมีจะงอยปากแหลมยาว มีลักษณะทั่วไปคล้ายปลาในสกุล Mastacembelus หรือปลากระทิง แต่ทว่ามีขนาดและรูปร่างเล็กกว่ากันมาก มีสีสันและลวดลายน้อยกว่า โดยเฉลี่ยแล้วจะมีความยาวประมาณไม่เกิน 1 ฟุต และมีครีบหางแยกออกจากครีบหลังและครีบท้องชัดเจน ก้านครีบเดี่ยวของครีบหลังเป็นหนามสั้น ๆ ปลายแหลมประมาณ 12-31 ก้าน ปลายจะงอยปากที่จมูกคู่หน้าแยกออกเป็นติ่งเนื้อเล็ก ๆ 4 หรือ 6 ติ่ง เกล็ดมีขนาดเล็กมากมีพฤติกรรมความเป็นอยู่และการหากินคล้าย ๆ กัน โดยอาจจะพบได้ในลำธารน้ำตกบนภูเขาหรือในป่าดิบชื้นด้วย พบกระจายพันธุ์ในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเป็นอาหาร ตกปลา และเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ดู มนุษย์และปลาหลด

ปลาหัวงอน

ปลาหัวงอน หรือ ปลาหัวตะกั่ว (Panchax) เป็นสกุลของปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Aplocheilus (/แอ็พ-โล-โคล-อัส/; มาจากภาษากรีก "Aploe" หมายถึง "เดี่ยว" และ "cheilos" หมายถึง "ริมฝีปาก") จัดอยู่ในวงศ์ปลาคิลลี่ (Aplocheilidae) มีลักษณะสำคัญคือ ปากยืดหดได้ มีฟันที่กระดูกเพดานปากชิ้นกลาง ฐานของครีบอกอยู่ต่ำกว่าระดับกึ่งกลางลำตัว ครีบหางมนกลม เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วในทุกแหล่งน้ำอย่างกว้างขวางในอนุทวีปอินเดียจนถึงเอเชียอาคเนย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคซุนดา มีขนาดทั่วไปไม่เกิน 10 เซนติเมตร ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าและสีสันสวยงามและหลากหลายกว่าตัวเมีย เป็นปลาที่ออกลูกเป็นไข่ โดยจะวางไข่ไว้กับไม้น้ำ ไข่จะฟักเป็นตัวใช้เวลาประมาณ 12-14 วัน การที่มีถิ่นการแพร่ขยายพันธุ์อย่างกว้างขวางเช่นนี้ มีการสันนิษฐานจากนักวิทยาศาสตร์ว่า มิได้เกิดจากธรรมชาติ แต่เป็นด้วยมนุษย์ซึ่งได้เลี้ยงปลาสกุลนี้เป็นปลาสวยงามอยู่แล้ว อีกทั้งไข่ยังมีคุณลักษณะพิเศษ คือ ทนร้อน และทนแห้งได้เป็นอย่างดีเช่นเดียวกับปลาคิลลี่ฟิช (สามารถส่งไปในซองจดหมายได้ด้วย) จึงประมาณกันว่าการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางนั้นเกิดจากการ่มีไข่ปลาติดไปกับการขนส่งต้นข้าว หรือพืชน้ำต่าง ๆ แต่ตัวผู้มีอุปนิสัยก้าวร้าว มักชอบกัดกันเองคล้ายกับปลากัดหรือปลาเข็ม ซึ่งเป็นปลาต่างวงศ์กัน ซึ่งคนไทยในสมัยโบราณมักจะจับมากัดกันเพื่อการพนัน.

ดู มนุษย์และปลาหัวงอน

ปลาออร์

ปลาออร์ หรือ ปลาริบบิ้น (Oarfish, King of herrings; 皇帶魚; พินอิน: huángdài yú) เป็นปลากระดูกแข็งชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Regalecus glesne อยู่ในวงศ์ Regalecidae มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับพญานาคตามความเชื่อของไทย หรือมังกรทะเลในความเชื่อในยุคกลางของชาวตะวันตก โดยมีความยาวได้สูงสุดยาวถึง 9 เมตร และหนัก 300 กิโลกรัม แต่ก็มีบันทึกไว้ในบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ด้วยว่า ปลาชนิดนี้เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ยาวที่สุดในโลก โดยอาจยาวได้ถึง 11 เมตร ในขณะที่รายงานไม่ยืนยันอีกบางกระแสระบุว่าอาจยาวถึง 15 เมตร หรือกว่านั้น มีส่วนหัวที่ใหญ่ ลำตัวแบนสีเงิน มีจุดสีฟ้าและดำประปราย มีครีบหลังสีชมพูแดง บนหัวที่อวัยวะแลดูคล้ายหงอนเป็นจุดเด่น เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในท้องทะเลลึกระหว่าง 50–250 เมตร จึงพบเห็นได้ยากมาก แต่มีผู้พบเห็นกันเป็นระยะ ๆ ในหลายพื้นที่ ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของออสเตรเลีย เรื่อยไปจนถึงทะเลนอกชายฝั่งเม็กซิโก และแถบหมู่เกาะเบอร์มิวดา ส่วนใหญ่มักถูกคลื่นซัดออกมาเกยหาด หรือไม่ก็เกิดอาการผิดปกติขึ้นกับปลา เช่น ป่วย หรือใกล้ตาย น้อยครั้งที่จะมีการพบเห็นขณะมีชีวิตอยู่ ภาพถ่ายของปลาออร์ ที่เคยเชื่อกันว่าเป็นพญานาคที่ประเทศลาว เป็นปลาที่กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร ไม่เป็นอันตรายและไม่ทำร้ายมนุษย์ แม้จะมีรายงานไม่ยืนยันจากนักวิจัยในนิวซีแลนด์ที่ระบุว่าถ้าหากแตะไปที่ตัวของมันขณะยังมีชีวิตอยู่จะปล่อยกระแสไฟฟ้าออกมาช็อตได้ ปลาออร์เมื่อปรากฏตัวขึ้นมามักจะปรากฏเป็นข่าวครึกโครมอยู่เป็นระยะ ๆ ว่าเป็นพญานาคหรือสัตว์ประหลาด อาทิ ในกลางปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และปลาออร์

ปลาอะราไพม่า

ปลาอะราไพม่า หรือที่นิยมเรียกกันในภาษาไทยว่า ปลาช่อนยักษ์อเมซอน (Arapaima) ปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาอะราไพม่า (Arapaimidae) ในอันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) (ในข้อมูลเก่าจะระบุให้อยู่ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae)).

ดู มนุษย์และปลาอะราไพม่า

ปลาอินซีเน็ต

ปลาอินซีเน็ต หรือ ปลาอินซิกนิส (Flagtail characins, Flannel-mouth characins.; Jaraqui.) เป็นปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในสกุล Semaprochilodus (/ซี-มา-โพร-ชิ-โล-ดัส/) ในวงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodontidae) ในอันดับปลาคาราซิน (Characiformes) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มาก ดวงตากลมโต ริมฝีปากหนาและใหญ่ และปากขยับไปมาตลอดเวลา เกล็ดมีขนาดเล็กมีสีเงินแวววาว เมื่อยังเล็กจะมีลายแถบและจุดสีดำกระจายอยู่บริเวณลำตัวค่อนไปทางโคนหาง โคนหางคอดเล็ก ครีบหลังมีขนาดใหญ่และตั้งชี้ขึ้น ครีบหางเป็น 2 แฉก เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยจะนิยมเลี้ยงไว้เพื่อทำความสะอาดภายในตู้เลี้ยง เพราะเป็นปลาที่เก็บเศษอาหารกินทำให้ตู้เลี้ยงสะอาดได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีความเชื่ออีกว่า เมื่อเลี้ยงคู่กับปลาอะโรวาน่าหรือปลามังกรด้วยแล้ว จะถือเป็นมงคล เหมือนหงส์คู่มังกร เพราะปลาสกุลนี้มีชื่อสามัญเรียกในภาษาจีนว่า "เฟยหง" (จีนตัวเต็ม: 飛鳳) แปลว่า "ปลาหงส์".

ดู มนุษย์และปลาอินซีเน็ต

ปลาอินซีเน็ตหางแดง

ปลาอินซีเน็ตหางแดง หรือ ปลาหงส์หางแดง (Flagtail prochilodus, Silver prochilodus, Flagtail characin; Jaraqui (ในบราซิล)) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาอินซีเน็ต (Prochilodontidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มาก ดวงตากลมโต ริมฝีปากหนาและใหญ่ และปากขยับไปมาตลอดเวลา เกล็ดมีขนาดเล็กมีสีเงินแวววาว เมื่อยังเล็กจะมีลายแถบและจุดสีดำกระจายอยู่บริเวณลำตัวค่อนไปทางโคนหาง มีเกล็ดบริเวณเส้นข้างลำตัวประมาณ 48 เกล็ด โคนหางคอดเล็ก ครีบท้องมีสีแดงสด ครีบหลังมีขนาดใหญ่และตั้งชี้ขึ้น ซึ่งครีบเหล่านี้เมื่อปลาโตขึ้นจะยิ่งชี้แหลมและสีสดยิ่งขึ้น ในบางตัวปลายครีบหลังอาจแหลมยาวคล้ายปลายผืนธง ครีบหางเป็น 2 แฉก มีขนาดใหญ่ ครีบหางและครีบก้นมีลายแถบสีดำเป็นทางตรงบนพื้นสีแดง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30 เซนติเมตร อาจใหญ่ได้ถึง 35 เซนติเมตร เป็นปลาที่ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ พบกระจายพันธุ์ในลุ่มแม่น้ำอเมซอน ในทวีปอเมริกาใต้ โดยใช้ปากที่ขยับไปมาตลอดนั้นตอดอาหารจำพวกอินทรีย์วัตถุหากินตามพื้นน้ำหรือตะไคร่น้ำที่เกาะตามแก่งหินต่าง ๆ มีพฤติกรรมผสมพันธุ์หมู่และวางไข่ได้ครั้งละประมาณ 100,000 ฟอง เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และมีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยจะนิยมเลี้ยงไว้เพื่อทำความสะอาดภายในตู้เลี้ยง เพราะเป็นปลาที่เก็บเศษอาหารกินทำให้ตู้เลี้ยงสะอาดได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีความเชื่ออีกว่า เมื่อเลี้ยงคู่กับปลาอะโรวาน่าหรือปลามังกรด้วยแล้ว จะถือเป็นมงคล เหมือนหงส์คู่มังกร เพราะปลาชนิดนี้มีเรียกในภาษาจีนว่า "เฟยหง" (จีนตัวเต็ม: 飛鳳) แปลว่า "ปลาหงส์" ซึ่งในราวปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และปลาอินซีเน็ตหางแดง

ปลาจิ้มฟันจระเข้

ปลาจิ้มฟันจระเข้ (Pipefish) คือ ปลากระดูกแข็งจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ย่อย Syngnathinae ในวงศ์ Syngnathidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับม้าน้ำและมังกรทะเล ปลาจิ้มฟันจระเข้ มีลักษณะและพฤติกรรมโดยรวมคล้ายกับปลาชนิดอื่นและสกุลอื่นที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน กล่าวคือ มีปากที่ยื่นเป็นท่อ ลำตัวหน้าตัดเป็นเหลี่ยม แต่ยาวเรียวมากดูคล้ายกิ่งไม้ ผิวหนังเป็นแผ่นแข็งเรียงต่อกันเป็นเหลี่ยมเป็นข้อ ครีบต่าง ๆ มีขนาดเล็ก ไม่มีครีบท้อง ตัวผู้ทำหน้าที่ฟักไข่โดยเก็บไว้บริเวณหน้าท้อง ลำตัวมักมีสีน้ำตาล อาจมีลายสีเข้มพาดขวางในบางชนิด หากแต่ปลาจิ้มฟันจระเข้ จะพบได้แม้ในน้ำจืดและน้ำกร่อยด้วย ซึ่งผิดไปจากปลาในวงศ์เดียวกันนี้ส่วนใหญ่ มีขนาดแตกต่างกันออกไป ตั้งแต่เพียงไม่กี่เซนติเมตรจนถึงฟุตกว่า ๆ ในชนิด ปลาจิ้มฟันจระเข้ยักษ์ (Doryichthys boaja) ที่พบในน้ำจืด เป็นต้น มีความสำคัญต่อมนุษย์ในแง่ของการนำไปทำเป็นยาจีนเช่นเดียวกับม้าน้ำ และนิยมเลี้ยงไว้ในตู้ปลาเพื่อความเพลิดเพลิน อีกทั้งยังเป็นที่นิยมของนักดำน้ำอีกด้วย ในการถ่ายภาพใต้น้ำในแนวปะการัง เช่น ปลาจิ้มฟันจระเข้ลายด่าง (Corythoichthys haematopterus)เป็นต้น.

ดู มนุษย์และปลาจิ้มฟันจระเข้

ปลาที่ว่ายในสนามฟุตบอล

ปลาที่ว่ายในสนามฟุตบอล เป็นหนังสือที่เขียนโดยวินทร์ เลียววาริณ ในปี พ.ศ. 2548.

ดู มนุษย์และปลาที่ว่ายในสนามฟุตบอล

ปลาดุกทะเลลาย

ปลาดุกทะเลลาย หรือ ปลาดุกทะเลแถบ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า ปลาดุกทะเล (Striped eel catfish) เป็นปลาหนังชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plotosus lineatus (มาจากภาษากรีก Plotos หมายถึง "ว่ายน้ำ" และ lineatus หมายถึง "ลายแถบ") อยู่ในวงศ์ปลาดุกทะเล (Plotosidae) มีรูปร่างเรียวยาวด้านข้างแบน ส่วนหัวแบนลงมีหนวด คู่ครีบหลังและครีบหูมีก้านครีบแข็งเป็นเงี่ยง มีลักษณะเป็นฟันเลื่อย ไม่มีครีบไขมัน ส่วนหัวแบนยาวเรียวแหลมครีบหลังอันที่สอง ครีบก้นและครีบหางติดต่อกัน นอกจากนี้ยังมีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจอยู่ที่รูก้น ด้านหลังลำตัวมีสำดำปนน้ำตาล ด้านท้องมีสีขาว ปลาขนาดเล็กจะมีลายแถบสีขาวปนเหลือง 3 แถบพาดไปตามยาวลำตัว เมื่อโตขึ้นแถบเหล่านี้จะเลือนหายไปกลายเป็นสีน้ำตาลอ่อนแทน โดยที่ปลาดุกทะเลชนิดนี้ ตามเงี่ยงแข็งในแต่ละครีบนั้นมีพิษร้ายแรงมาก ถึงขนาดมีรายงานแทงมนุษย์จนถึงขั้นเสียชีวิตมาแล้ว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร แต่ขนาดที่พบทั่วไปคือ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปตั้งแต่ทะเลแดง, ชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก, ซามัว, ทะเลญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, ออสเตรเลีย และพบในทะเลสาบน้ำจืดของทวีปแอฟริกา เช่น ทะเลสาบมาลาวี และมาดากัสการ์ด้วย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน รวมถึงในปากแม่น้ำเจ้าพระยา ปลาวัยอ่อนจะอาศัยอยู่รวมเป็นฝูงในทะเลใกล้ชายฝั่ง ในแนวปะการังหรือตามกอสาหร่าย เป็นปลาที่หากินในเวลากลางคืน โดยมักจะขุดรูอยู่ในดินหรือเลนใกล้ชายฝั่ง เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และนิยมนำมาบริโภคกันโดยปรุงสุด แต่เนื้อมีกลิ่นคาวจึงมักจะนำไปปรุงประเภทรสจัดเช่น ผัดฉ.

ดู มนุษย์และปลาดุกทะเลลาย

ปลาคู้ดำ

ปลาคู้ดำ หรือ ปลาเปคูดำ (Blackfin pacu, Black pacu) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Colossoma macropomum อยู่ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาปิรันยา ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน หากแต่ปลาคู้ดำจะมีส่วนเว้าของหน้าผากเว้าเข้ามากกว่า โคนหางจะคอดเล็ก ฟันภายในปากมีสภาพเป็นหน้าตัดคล้ายฟันมนุษย์ไม่แหลมคม เมื่อเทียบกับส่วนของลำตัว ลำตัวและปลายหางจะมีสีเงินปนดำ และเมื่อปลาโตยิ่งขึ้นในส่วนของสีดำนี้ก็จะเห็นชัดขึ้นด้วย มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 1 เมตร หนักได้ถึง 40 กิโลกรัม มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ในลุ่มแม่น้ำอเมซอนและแม่น้ำโอริโนโคซึ่งเป็นแม่น้ำสาขา มีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่รวมเป็นฝูง กินได้ทั้งพืชและสัตว์ ซึ่งแตกต่างไปจากปลาปิรันยาที่จะกินเพียงสัตว์อย่างเดียว และยังสามารถกินเมล็ดพืชที่ตกลงน้ำได้อีกด้วย โดยมักไปรอกินบริเวณผิวน้ำ ปลาคู้ดำ จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ย่อย Serrasalminae อันเป็นวงศ์ย่อยเดียวกับปลาปิรันยา แต่ไม่มีนิสัยดุร้ายเท่า มีชื่อเป็นภาษาพื้นเมืองเรียกว่า Tambaqui หรือ Cachama หรือ Gamitana และเป็นปลาเพียงชนิดเดียวด้วยที่อยู่ในสกุล Colossoma เป็นปลาที่นิยมบริโภคกันในท้องถิ่น สามารถนำไปปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย เช่นเดียวกับปลาปิรันยาชนิดอื่น ๆ สำหรับในประเทศไทย ปลาคู้ดำได้เข้ามาสู่ประเทศไทยในฐานะเป็นปลาเศรษฐกิจที่กรมประมงส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยง โดยมีชื่อเรียกกันในแวดวงเกษตรว่า "ปลาจะละเม็ดน้ำจืด" เช่นเดียวกับ ปลาคู้แดง (Piaractus brachypomus) ด้วย นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย ซึ่งจากการนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามนี้ เมื่อปลาโตขึ้นผู้เลี้ยงไม่สามารถเลี้ยงต่อไปได้ไหว จึงนิยมนำไปปล่อยตามแหล่งน้ำธรรมชาติต่าง ๆ ทำให้ในปัจจุบัน มีปลาคู้ดำในแหล่งน้ำธรรมชาติตามที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ เช่น เขื่อนศรีนครินทร์ เป็นต้น จัดเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมในจำพวกชนิดพันธุ์ต่างถิ่นอีกชนิดหนึ่ง.

ดู มนุษย์และปลาคู้ดำ

ปลาตอง

ปลาตอง (Clown knifefishes, Featherbackfishes) เป็นสกุลปลากระดูกแข็งที่อยู่ใน วงศ์ปลากราย (Notoperidae) อันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Chitala (/ไค-ตา-ลา/).

ดู มนุษย์และปลาตอง

ปลาตะพากส้ม

ปลาตะพากส้ม, ปลาจาด หรือ ปลาจาดแมลคัม (Goldfin tinfoil barb) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hypsibarbus malcolmi ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาที่มีรูปร่างและขนาดใกล้เคียงปลาตะพากเหลือง (H.

ดู มนุษย์และปลาตะพากส้ม

ปลาตะกรับเจ็ดแถบ

ปลาตะกรับเจ็ดแถบ (Bengal sergent fish, Narrow-banded sergeant major) เป็นปลาทะเลขนาดเล็ก ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) มีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับปลาตะกรับห้าแถบ (A.

ดู มนุษย์และปลาตะกรับเจ็ดแถบ

ปลาฉลาม

ปลาฉลาม (ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Selachimorpha) เป็นปลาในชั้นปลากระดูกอ่อนจำพวกหนึ่ง มีรูปร่างโดยรวมเพรียวยาว ส่วนใหญ่มีซี่กรองเหงือก 5 ซี่ ครีบทุกครีบแหลมคม ครีบหางเป็นแฉกเว้าลึก มีจุดเด่นคือ ส่วนหัวและจะงอยปากแหลมยาว ปากเว้าคล้ายพระจันทร์เสี้ยวภายในมีฟันแหลมคม ปลาฉลามทุกชนิดเป็นปลากินเนื้อ มักล่าสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ กินเป็นอาหาร แต่ก็มีฉลามบางจำพวกที่กินแพลงก์ตอนเป็นอาหาร เช่น ปลาฉลามในอันดับ Orectolobiformes ได้แก่ ปลาฉลามวาฬ, ปลาฉลามในอันดับ Lamniformes เช่น ปลาฉลามเมกาเมาท์ (Megachasma pelagios) และปลาฉลามอาบแดด (Cetorhinus maximus) แต่ปลาฉลามบางสกุลในอันดับ Lamniformes เช่น ปลาฉลามมาโก (Isurus spp.) และปลาฉลามในอันดับ Carcharhiniformes มีรูปร่างเพรียวยาว ว่ายน้ำได้ปราดเปรียว โดยอาจทำความเร็วได้ถึง 35 กิโลเมตร/ชั่วโมง เช่น ซึ่งฉลามในอันดับนี้ หลายชนิดเป็นปลาที่ดุร้าย อาจทำร้ายมนุษย์หรือกินสิ่งต่าง ๆ ถึงแม้จะไม่ใช่อาหารได้ด้วย ฉลามในอันดับนี้ได้แก่ ปลาฉลามขาว (Carcharodon carcharias), ปลาฉลามเสือ (Galeocerdo cuvier), ปลาฉลามหัวบาตร (Carcharhinus leucas) เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ยังมีปลาฉลามที่มีรูปร่างประหลาดและพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากปลาฉลามส่วนใหญ่ อาทิ ปลาฉลามเสือดาว (Stegostoma fasciatum), ปลาฉลามกบ (Chiloscyllium spp.) ที่อยู่ในอันดับ Orectolobiformes ซึ่งเป็นปลาฉลามที่ไม่ดุร้าย มักหากินและอาศัยอยู่ตามพื้นทะเล มีครีบหางโดยเฉพาะครีบหางตอนบนแหลมยาวและมีขนาดใหญ่ และมักมีสีพื้นลำตัวเป็นลวดลายหรือจุดต่าง ๆ เพื่อพรางตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม หรือ ปลาฉลามโบราณ (Chlamydoselachus anguineus) ที่อยู่ในอันดับ Hexanchiformes ที่มีรูปร่างยาวคล้ายปลาไหล เป็นปลาน้ำลึกที่หาได้ยากมาก ๆ และเดิมเคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว ปลาฉลามโดยมากเป็นปลาที่ออกลูกเป็นตัว ในตัวผู้จะมีอวัยวะเพศเป็นติ่งยื่นยาวออกมาหนึ่งคู่เห็นได้ชัด ซึ่งเรียกว่า "เดือย" หรือ "Clasper" ในภาษาอังกฤษ แต่ก็มีเพียงบางชนิดเท่านั้นที่ออกลูกเป็นไข่ โดยมากแล้วเป็นปลาทะเล อาศัยอยู่ในทะเลทั้งเขตอบอุ่นและขั้วโลก มีเพียงบางสกุลและบางชนิดเท่านั้น ที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดหรือน้ำกร่อยได้ อาทิ ปลาฉลามแม่น้ำ (Glyphis spp.) ที่เป็นปลาฉลามน้ำจืดแท้ โดยมีวงจรชีวิตอยู่ในน้ำจืดตลอดทั้งชีวิต และปลาฉลามหัวบาตร หรือ ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinus melanopterus) ที่มักหากินตามชายฝั่งและปากแม่น้ำ ซึ่งอาจปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดสนิทได้.

ดู มนุษย์และปลาฉลาม

ปลาฉลามพอร์ตแจ็กสัน

ปลาฉลามพอร์ตแจ็กสัน (Port Jackson shark) เป็นปลาฉลามขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ Heterodontidae ปลาฉลามพอร์ตแจ็กสันเป็นปลาฉลามขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ที่ไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ มีความยาวประมาณ 100-120 เซนติเมตร และพบยาวเต็มที่ 1.67 เมตร มีลำตัวยาวทรงกระบอก มีส่วนหัวที่เหลี่ยมคล้ายกับหัวของวัว ปากมีขนาดเล็ก และมีฟันซี่เล็ก ๆ ที่ไม่แหลมคม ใช้สำหรับกินสัตว์มีเปลือกตามหน้าดินชนิดต่าง ๆ, เม่นทะเล และหอยเป็นอาหารโดยเฉพาะ นอกจากนี้แล้วมีรายงานว่า ที่ครีบหลัง 2 ครีบ มีเงี่ยงที่มีพิษ ปลาฉลามพอร์ตแจ็กสันเป็นปลาที่หากินและอาศัยอยู่บริเวณหน้าดิน พื้นทะเล รอบ ๆ ออสเตรเลีย เช่น ท่าเรือแจ็กสัน หรือ อ่าวซิดนีย์ อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ปลาฉลามพอร์ตแจ็กสันเป็นปลาที่มีวงจรชีวิตค่อนข้างมหัศจรรย์ กล่าวคือ เป็นปลาฉลามที่ออกลูกเป็นไข่ ซึ่งเชื่อว่าลักษณะเดียวกับปลาฉลามในยุคจูราสซิคแพร่ขยายพันธุ์เช่นเดียวกัน ลักษณะของไข่จะมีลักษณะเป็นเกลียวคล้ายกับที่เปิดจุกไวน์สีคล้ำ ปลาตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าปลาตัวผู้ จะวางไข่ครั้งละ 2 ฟอง การผสมพันธุ์จะเกิดในช่วงที่พระจันทร์เต็มดวงที่น้ำขึ้นเต็มที่ ปลาจะว่ายมารวมตัวกันนับร้อยตัว ปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายกัดที่ครีบหลังตัวเมีย เมื่อออกไข่แล้ว ปลาตัวผู้จะเป็นฝ่ายใช้ปากคาบไข่ไปซ่อนไว้ในกอสาหร่ายเพื่อให้ปกป้องไข่ ซึ่งจะเวลา 9 เดือน ที่ลูกปลาจะฟักออกมา เมื่อลูกปลาออกมาแล้ว จะว่ายน้ำเข้าสู่ชายฝั่งและเลี้ยงดูตัวเองบริเวณนั้น เช่น ป่าโกงกาง, ปากแม่น้ำ เป็นต้น ปลาจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 25 ปี.

ดู มนุษย์และปลาฉลามพอร์ตแจ็กสัน

ปลาฉลามหัวบาตร

ปลาฉลามหัวบาตร (Bull shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae).

ดู มนุษย์และปลาฉลามหัวบาตร

ปลาฉลามหัวค้อน

ปลาฉลามหัวค้อน (Hammerhead shark) เป็นปลาฉลามในวงศ์ Sphyrnidae มีเพียงสกุลเท่านั้น คือ Sphyrna.

ดู มนุษย์และปลาฉลามหัวค้อน

ปลาฉลามครีบขาว

ปลาฉลามครีบขาว (Whitetip reef shark) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาฉลามครีบดำ (Carcharhinidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Triaenodon มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายกับปลาฉลามในวงศ์เดียวกันนี้ รูปร่างเพรียวยาว แต่มีส่วนหัวที่แบนราบกว่า ตาโต มีจุดเด่นอยู่ที่ปลายครีบมีแต้มสีขาวที่ครีบหลังและครีบหาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 1.6 เมตร น้ำหนักราว 18 กิโลกรัม ถือเป็นปลาฉลามขนาดเล็ก มีพฤติกรรมชอบอยู่ลำพังตัวเดียว หรือบางครั้งจะพบได้เป็นฝูง โดยอาจพบได้มากกว่า 30-40 ตัว โดยมากมักจะอาศัยและหากินบริเวณพื้นน้ำในเวลากลางคืน ในช่วงกลางวันจะพักผ่อน อาหารโดยมาก ได้แก่ กุ้ง, หอย, ปู, หมึกยักษ์ และปลาขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ โดยปลาฉลามครีบขาวมีความพิเศษต่างจากปลาจำพวกอื่น ๆ คือ การที่มีส่วนหัวที่แบนราบและลำตัวที่เพรียวยาวคล้ายปลาไหล ทำให้สามารถซอกซอนไปในโขดหินหรือแนวปะการังเพื่อหาอาหารได้ ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 3-5 ตัว ตั้งท้องราว 1 ปี มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 25 ปี เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 5 ปี พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย จนถึงเกรตแบร์ริเออร์รีฟ ในน่านน้ำไทยจะพบได้ที่บริเวณหมู่เกาะสิมิลัน จัดเป็นปลาฉลามที่ไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ และครีบสามารถนำไปทำเป็นหูฉลามได้เหมือนกับปลาฉลามชนิดอื่น.

ดู มนุษย์และปลาฉลามครีบขาว

ปลาฉลามเสือ

ปลาฉลามเสือ (Tiger shark) ปลากระดูกอ่อนขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จำพวกฉลาม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Galeocerdo cuvier ในวงศ์ Carcharhinidae เป็นปลาเพียงชนิดเดียวในสกุล Galeocerdo.

ดู มนุษย์และปลาฉลามเสือ

ปลาฉลามเสือดาว

ำหรับปลาฉลามเสือดาวอีกชนิดหนึ่ง ดูที่ ปลาฉลามเสือดาว (''Triakis semifasciata'') ปลาฉลามเสือดาว (Leopard shark, Zebra shark, Leppard shark) ปลาฉลามชนิดหนึ่งที่ไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stegostoma fasciatum อยู่ในวงศ์ Stegostomatidae และถือเป็นปลาชนิดเดียวที่อยู่ในวงศ์นี้และสกุล Stegostoma ปลาฉลามเสือดาวเป็นปลาที่มีครีบหางยาวมาก มีส่วนหัวมนกลมสั้นทู่ พื้นลำตัวสีเหลืองสลับลายจุดสีดำคล้ายลายของเสือดาว ยกเว้นส่วนหัวและหาง จึงเป็นที่มาของชื่อสามัญ เมื่อยังเล็กอยู่ ลายบนลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลดำคาดขาวคล้ายลายของม้าลาย บนลำตัวมีสันเป็นเหลี่ยมด้านละสองสัน ผิวหนังหยาบเป็นเม็ด เป็นปลาที่มีไม่มีฟันแหลมคมเหมือนปลาฉลามชนิดอื่น ๆ มีอุปนิสัยชอบนอนอยู่นิ่ง ๆ บนพื้นทรายและแนวปะการังใต้ทะเล ในความลึกตั้งแต่ 5-30 เมตร โดยพบในทะเลบริเวณแถบอินโด-แปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย โดยใช้เวลาในช่วงกลางวันนอน กลางคืนออกหากิน อาหารได้แก่ สัตว์มีกระดอง และสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า เมื่อถูกรบกวนจะว่ายหนีไป โดยใช้อวัยวะคล้ายหนวดที่อยู่รอบ ๆ ปลายส่วนหัวซึ่งเป็นอวัยวะใช้รับสัมผัสในการนำทางและหาอาหาร ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวได้ประมาณ 3 เมตร ปลาฉลามเสือดาวเป็นปลาฉลามที่ออกลูกเป็นไข่ โดยจะวางไข่ในเขตน้ำตื้น ลูกปลาขนาดเล็กอาจจะเข้าไปอยู่ในบริเวณน้ำกร่อยหรือน้ำจืด แถบป่าชายเลนหรือปากแม่น้ำได้ เมื่อโตขึ้นจึงค่อยย้ายลงสู่ทะเลลึก ดังนั้นลูกปลาขนาดเล็กจึงมักติดเบ็ดหรืออวนของชาวประมงอยู่บ่อย ๆ ซึ่งในทางประมงแล้ว ปลาฉลามชนิดนี้ไม่จัดว่าเป็นปลาที่ใช้ในการบริโภคแต่อย่างใด นอกจากนี้แล้วยังเป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม และมักพบเลี้ยงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ ทั่วโลก.

ดู มนุษย์และปลาฉลามเสือดาว

ปลาซักเกอร์ครีบสูง

ปลาซักเกอร์ครีบสูง หรือ ปลาซักเกอร์กระโดงสูง (Amazon sailfin catfish, Common pleco, Janitor fish, Hifin pleco) เป็นปลาหนังชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pterygoplichthys pardalis อยู่ในวงศ์ปลาซักเกอร์ (Loricariidae) มีลักษณะคล้ายปลาซักเกอร์ (P.

ดู มนุษย์และปลาซักเกอร์ครีบสูง

ปลาซาร์ดีน

ปลาซาร์ดีนยุโรป หรือ ปลาซาร์ดีนแท้ ปลาซาร์ดีน หรือ ปลาพิลชาร์ด (Sardine, Pilchard) เป็นชื่อสามัญของปลาทะเลหลายชนิด หลายสกุล ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) โดยปลาที่อาจเรียกได้ว่าซาร์ดีนนั้น ได้แก.

ดู มนุษย์และปลาซาร์ดีน

ปลาซาร์ดีนยุโรป

ปลาซาร์ดีนยุโรป หรือ ปลาซาร์ดีนแท้ (Sardine, European pilchard, True sardine) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sardina pilchardus อยู่ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Sardina มีรูปร่างเพรียวยาวทรงกระบอก ลำตัวกลม แต่ในขณะที่เป็นปลาวัยอ่อน ลำตัวจะแบนเป็นสันบริเวณส่วนท้องมากกว่านี้ ตาโต ครีบหลังมีเพียงตอนเดียว ไม่มีก้านครีบแข็ง มีก้านครีบอ่อนประมาณ 13–21 ก้าน ครีบก้นมี 2 ครีบขนาดเล็ก ลำตัวมีสีเงิน ลำตัวด้านข้างช่วงบนมีแต้มวงกลมสีน้ำเงินอมม่วง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 27 เซนติเมตร มีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นฝูงใหญ่ กินแพลงก์ตอนสัตว์และครัสเตเชียนชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร อาศัยและหากินใกล้ชายฝั่งในมหาสมุทรแอตแลนติก เฉพาะในทวีปยุโรป ตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงทะเลดำ และแอฟริกาเหนือ โดยหากินในเวลากลางคืน ในระดับความลึกตั้งแต่ 55–100 เมตร และอาจเพิ่มขึ้นในระดับ 10–35 เมตรได้ในแต่ละวัน เป็นปลาที่วางไข่และตัวอ่อนพัฒนาในแหล่งน้ำจืดหรือใกล้ชายฝั่ง โดยไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ย 1.5 มิลลิเมตร วางไข่ได้มากถึงครั้งละ 50,000–60,000 ฟอง ผลการทดลองในที่เลี้ยง พบว่าจะวางไข่ในเวลากลางคืนในช่วงเวลา 19.00–21.00 น.

ดู มนุษย์และปลาซาร์ดีนยุโรป

ปลาซิวข้างขวาน

ปลาซิวข้างขวาน หรือ ปลาซิวขวาน เป็นสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่งจำพวกปลาซิว ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Trigonostigma เดิมปลาในสกุลนี้เคยถูกจัดให้อยู่ในสกุล Rasbora แต่ปัจจุบันนี้ได้ถูกแยกออกมาต่างหาก ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และปลาซิวข้างขวาน

ปลาปอดอเมริกาใต้

ปลาปอดอเมริกาใต้ (South American lungfish, American mud-fish, Scaly salamander-fish) เป็นปลาปอดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lepidosiren paradoxa อยู่ในวงศ์ Lepidosirenidae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้และวงศ์นี้ ปลาปอดอเมริกาใต้ มีลักษณะโดยรวมแล้วคล้ายกับปลาปอดที่พบในทวีปแอฟริกา (Protopterus spp.) แต่จะมีรูปร่างที่เพรียวยาว เมื่อยังเล็ก จะมีพู่เหงือกเหมือนสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจำพวกซาลาแมนเดอร์ ซึ่งจะใช้อวัยวะส่วนนี้ช่วยในการหายใจ จนกระทั่งอายุได้ราว 7 สัปดาห์ อวัยวะส่วนนี้จะหายไป และจะมีสีเหลืองเป็นจุดเป็นแต้มกระจายไปทั่วลำตัว แลดูสวยงาม ปลาปอดอเมริกาใต้จัดเป็นปลาปอดโลกใหม่ ที่มีพัฒนาการจากปลาปอดในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ไม่เหมือนปลาปอดโลกเก่าอย่าง ปลาปอดออสเตรเลีย (Neoceratodus forsteri) โดยจะมีถุงลมจำนวนหนึ่งคู่ มีอวัยวะที่ทำหน้าที่คล้ายปอดของมนุษย์หนึ่งคู่ มีครีบอกและครีบส่วนล่างเป็นเส้นยาวเห็นได้ชัดเจน โดยที่ไม่มีก้านครีบ ซึ่งครีบตรงส่วนนี้เมื่อขาดไปแล้ว สามารถงอกใหม่ได้ โตเต็มที่ประมาณ 125 เซนติเมตร มีอายุสูงสุดราว 8 ปี ตามีขนาดเล็ก ปลาตัวเต็มวัยมีลำตัวสีเทาคล้ำหรือสีดำ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ ได้แก่ หอย, กุ้ง, ปลาขนาดเล็ก, แมลงน้ำ รวมถึงเห็ดรา ในขณะที่ยังเล็กจะกินอาหารจำพวกสัตว์เพียงอย่างเดียว พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำสาขาต่าง ๆ ที่เป็นสาขาของแม่น้ำอเมซอน เช่น แม่น้ำปารานา ขณะเดียวกันปลาปอดอเมริกาใต้ก็ตกเป็นอาหารของสัตว์ใหญ่กว่าชนิดอื่นด้วย สามารถดำรงชีวิตในแหล่งน้ำที่มีปริมาณออกซิเจนต่ำได้เป็นอย่างดี เมื่อถึงฤดูแล้งที่น้ำแห้งขอด ปลาปอดอเมริกาใต้จะขุดหลุมลึกประมาณ 30-50 เซนติเมตร และจะใช้โคลนปิดปากหลุมไว้เพื่อการจำศีล ลดการเผาผลาญพลังงาน จนกว่าจะถึงฤดูฝนที่ปริมาณน้ำจะกลับมามากดังเดิม มีพฤติกรรมในการขยายพันธุ์ คือ พ่อแม่ปลาจะขุดหลุมลึกประมาณ 1.5 เมตร เพื่อสร้างเป็นรัง โดยที่ปลาตัวผู้จะทำหน้าที่ดูแลตัวอ่อน ตัวผู้จะเพิ่มปริมาณออกซิเจนในหลุม เพราะช่วงฤดูวางไข่ ครีบหางจะพัฒนาให้มีเส้นเลือดบริเวณนั้นเป็นจำนวนมาก เหงือกที่คล้ายโครงสร้างของขนนก ซึ่งจะทำหน้าที่ตรงข้ามกับเหงือก คือ จะทำหน้าที่ปล่อยออกซิเจนออกจากเลือด และรับคาร์บอนไดออกไซด์ และเนื้อเยื่อหายไปหลังจากช่วงสิ้นสุดฤดูกาลวางไข่ ปลาปอดอเมริกาใต้ นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่มีนิสัยไม่ดุร้ายก้าวร้าวเหมือนปลาปอดที่พบในทวีปแอฟริกา จึงสามารถเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นที่มีขนาดใหญ่กว่าในตู้เลี้ยงได้เป็นอย่างดี โดยผู้เลี้ยงสามารถให้กินอาหารสำเร็จรูปได้ด้ว.

ดู มนุษย์และปลาปอดอเมริกาใต้

ปลาแบมบูซ่า

ปลาแบมบูซ่า (Yellowcheek; 鳡; ชื่อวิทยาศาสตร์: Elopichthys bambusa) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Elopichthys โดยชื่อสกุล Elopichthys มาจากคำว่า Elops ซึ่งหมายถึงปลาในกลุ่มปลาตาเหลือกหรือปลาตาเหลือกยาวในภาษาอังกฤษ และภาษากรีกโบราณ ἰχθύς (ikhthús) หมายถึง "ปลา" โดยรวมหมายถึง ปลาในสกุลนี้มีรูปร่างคล้ายกับปลาตาเหลือก และชื่อชนิด bambusa หมายถึง "ไม้ไผ่" ซึ่งอ้างอิงมาจากภาษาถิ่นของจีนที่เรียกปลาชนิดนี้ว่า "ชู่ ไหน่ หยู" (พินอิน: Chǔh nuy yu) หมายถึง "ปลาไม้ไผ่นิสัยเสีย" โดย จอห์น รีฟส์ ผู้วาดภาพปลานี้ระหว่างทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบชาในจีนระหว่างปี..

ดู มนุษย์และปลาแบมบูซ่า

ปลาแมกเคอเรล

ปลาอินทรีทะเลสาบเขมร (''Scomberomorus sinensis'') จัดเป็นปลาแมกเคอเรลชนิดหนึ่งในวงศ์ Scombridae ปลาแมกเคอเรล (mackerel) เป็นชื่อเรียกสามัญในภาษาอังกฤษของปลาทะเลหลายชนิดในวงศ์ Scombridae (เป็นส่วนใหญ่), Carangidae, Hexagrammidae และ Gempylidae ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันคือ ผิวเป็นเกล็ดละเอียดสีเงินมันวาว ตัวเรียวยาวกลมคล้ายทรงกระบอก หัวแหลมท้ายแหลม มีครีบกระโดงหนึ่งครีบ ครีบท้องหนึ่งครีบ ครีบข้างหนึ่งคู่ หางสองแฉก อาศัยอยู่ทั่วไปตามชายฝั่งทะเล อยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ ปลาทูก็อยู่ในวงศ์ Scombridae ดังนั้นจึงจัดเป็นปลาแมกเคอเรลเช่นกัน ส่วนปลาซาร์ดีนอยู่ในวงศ์ Clupeidae ที่มีขนาดเล็กกว่า ไม่จัดว่าเป็นปลาแมกเคอเรล ปลาแมกเคอเรลเป็นปลาที่มนุษย์รับประทานได้ สามารถนำมาทำเป็นปลากระป๋อง โดยเก็บเนื้อปลาในซอสมะเขือเทศ ซึ่งเป็นการถนอมอาหารอย่างหนึ่ง.

ดู มนุษย์และปลาแมกเคอเรล

ปลาแค้ยักษ์

ปลาแค้ยักษ์ (Goonch) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งอยู่ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ดู มนุษย์และปลาแค้ยักษ์

ปลาไหลไฟฟ้า

ปลาไหลไฟฟ้า (Electric eel) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Electrophorus electricus จัดอยู่ในวงศ์ Electrophoridae จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์นี้.

ดู มนุษย์และปลาไหลไฟฟ้า

ปลาไน

ปลาไน หรือ ปลาคาร์ปธรรมดา (carp, common carp) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cyprinus carpio อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาน้ำจืดที่เชื่อว่าเป็นปลาที่มนุษย์เลี้ยงเป็นชนิดแรกของโลกเพื่อเป็นอาหาร โดยเลี้ยงในประเทศจีนเมื่อประมาณ 2,000 ปีมาแล้ว โดยเริ่มพร้อมกับปลาทอง.

ดู มนุษย์และปลาไน

ปลาเลียหิน

ปลาเลียหิน (Stone-lapping fishes, Garras, Doctor fishes) คือชื่อสามัญเรียกโดยรวมของปลาน้ำจืดขนาดเล็กสกุลหนึ่ง มีชื่อสกุลว่า Garra (/การ์-รา/) เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) และอยู่ในวงศ์ย่อย Labeoninae เป็นปลาที่มีขนาดเล็ก ลำตัวยาว หลังโค้งเล็กน้อย สันท้องแบนราบ จะงอยปากยาว ปลายทู่ และมีตุ่มเหมือนเม็ดสิวเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะตัวผู้ริมฝีปากหนาและมีตุ่มเม็ดสิวที่อ่อนนุ่มอยู่เป็นจำนวนมาก ไม่มีร่องระหว่างริมฝีปากกับกระดูกขากรรไกร ริมฝีปากล่างแผ่ออกกว้างเป็นแผ่น ขอบหน้าเรียบ ใช้ในการยึดเกาะกับของแข็ง มีหนวด 1-2 คู่ ครีบอกและครีบครีบท้องอยู่ในแนวระดับสันท้อง ครีบหลังมีก้านครีบแขนง 8 ก้าน และก้านครีบเดี่ยวไม่แข็ง ครีบก้นสั้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน เส้นข้างลำตัวตรง มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่เป็นฝูง ในแหล่งน้ำไหลเชี่ยวบริเวณน้ำตกหรือลำธารในป่า เพื่อดูดกินตะไคร่น้ำหรือสาหร่ายหรืออินทรีย์วัตถุต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายอยู่ทั่วไปในทวีปเอเชีย พบมากกว่า 90 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบด้วยหลายชนิด เช่น G.

ดู มนุษย์และปลาเลียหิน

ปลาเสือพ่นน้ำ

ปลาเสือพ่นน้ำ (Archer fish, Blowpipe fish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำ (Toxotidae) มีรูปร่างเป็นสามเหลี่ยม ปากกว้างมีขนาดใหญ่เฉียงลงด้านล่างและจะงอยปากยืดหดได้ มีตากลมโต เกล็ดสาก ครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนแรกเป็นครีบแข็ง ตอนหลังเป็นครีบอ่อนมีลักษณะใสโปร่งแสง พื้นลำตัวสีขาวอมเหลือง มีจุดวงกลมสีดำขนาดใหญ่ ประมาณ 3-4 จุด ซึ่งนับว่าปลาเสือพ่นน้ำชนิดนี้เป็นปลาเสือพ่นน้ำชนิดที่มีจุดวงกลมนี้มากที่สุด และเป็นปลาเสือพ่นน้ำที่พบได้มากและแพร่หลายที่สุด ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30-40 เซนติเมตร นิยมว่ายหากินอยู่ตามผิวน้ำเป็นฝูงเล็ก ๆ ไม่เกิน 20 ตัว พบได้ตามแม่น้ำลำคลองทั่วไปจนถึงเขตน้ำกร่อยเช่น ป่าชายเลน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมถึงประเทศไทยด้วย สามารถฉีดพ่นน้ำจากปากใส่แมลงที่อยู่เหนือน้ำได้เหมือนปืนฉีดน้ำ นอกจากนี้แล้วยังกินสัตว์ขนาดเล็กกว่า เช่น ปลาขนาดเล็ก, กุ้งฝอย เป็นต้น มีความสำคัญต่อมนุษย์ในฐานะของการนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ดู มนุษย์และปลาเสือพ่นน้ำ

ปลาเทวดา

ปลาเทวดา (Angelfish) เป็นปลาน้ำจืดในสกุล Pterophyllum (/เทอ-โร-ฟิล-ลั่ม/; เป็นภาษาละตินแปลว่า "ครีบใบไม้" ซึ่งหมายถึง ลักษณะรูปร่างลำตัวที่คม) ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามกันอย่างหลากหล.

ดู มนุษย์และปลาเทวดา

ปักกิ่งร่ายรำ

ปักกิ่งร่ายรำ ปักกิ่งร่ายรำ (Dancing Beijing) เป็นชื่อเรียกตราสัญลักษณ์ประจำการแข่งขัน กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 29 ประจำปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และปักกิ่งร่ายรำ

ปัจจัยสี่

ปัจจัยสี่ เป็นสิ่งที่มนุษย์จำเป็นต่อการดำรงชีวิต โดยไม่ต้องพึ่งสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ เช่นคอมพิวเตอร์ รถยนต์ ไฟฟ้า โทรศัพท์ เป็นต้น โดยปัจจัยทั้งสี่อย่างนี้มนุษย์ไม่สามารถขาดได้ เพราะเมื่อขาดแล้วอาจส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ปัจจัยสี่ประกอบไปด้วย 4 ปัจจัยดังต่อไปนี้.

ดู มนุษย์และปัจจัยสี่

ปุ่มกระดูกหัวไหล่

อโครเมียน โพรเซส (acromion process) หรือย่อว่า อโครเมียน (acromion) หรือ ปุ่มกระดูกหัวไหล่ เป็นลักษณะทางกายวิภาคของกระดูกสะบัก (scapula).

ดู มนุษย์และปุ่มกระดูกหัวไหล่

ปูม้า

ปูม้า (Flower crab, Blue crab, Blue swimmer crab, Blue manna crab, Sand crab) จัดเป็นปูที่อาศัยอยู่ในทะเลชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในสกุล Portunus ซึ่งพบทั้งหมด 90 ชนิดทั่วโลก และพบในน่านน้ำไทยราว 19 ชน.

ดู มนุษย์และปูม้า

ปูทะเล

ปูทะเล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Scylla serrata) เป็นปูชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ในทะเล มีกระดองกลมรีเป็นรูปไข่ สีดำปนแดงหรือสีน้ำตาลเข้ม เป็นสัตว์เศรษฐกิจที่นิยมนำมาปรุงสดเป็นอาหาร.

ดู มนุษย์และปูทะเล

ปีศาจโดเวอร์

ปีศาจโดเวอร์ (Dover Demon) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับที่ปรากฏตัวที่เมืองโดเวอร์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เมื่อคืนวันที่ 21 เมษายนต่อกับวันที่ 22 เมษายน ค.ศ.

ดู มนุษย์และปีศาจโดเวอร์

ป่องรู้กลิ่น

granule cell #granule cell --> ป่องรู้กลิ่น หรือ ป่องรับกลิ่น (olfactory bulb, bulbus olfactorius, ตัวย่อ OB) เป็นโครงสร้างทางประสาทแบบเป็นชั้น ๆ ที่สมองส่วนหน้าของสัตว์มีกระดูกสันหลัง (โดยในมนุษย์จะอยู่ที่ด้านหน้าส่วนล่าง) ซึ่งมีบทบาทในการได้กลิ่น ป่องรับกลิ่นรับข้อมูลขาเข้ามาจากเซลล์ประสาทรับกลิ่นที่เยื่อรับกลิ่นซึ่งบุโพรงจมูกเป็นบางส่วน แล้วส่งข้อมูลขาออกผ่านลำเส้นใยประสาท lateral olfactory tract ไปยังเปลือกสมองส่วนการรู้กลิ่น แม้การแปลผลกลิ่นอย่างแม่นยำของป่องรู้กลิ่นจะยังไม่ชัดเจน แต่ก็เชื่อว่ามันทำหน้าที่เป็นตัวกรอง/ฟิลเตอร์ ที่อาจมีบทบาทต่าง ๆ รวมทั้ง แยกแยะกลิ่น, เพิ่มความไวการตรวจจับกลิ่น, กรองกลิ่นพื้นหลังเพื่อเพิ่มสัญญาณกลิ่นที่เลือก, และอำนวยให้สมองระดับสูงควบคุมระดับสัญญาณจากป่องรับกลิ่นตามสภาวะทางสรีรภาพของสัตว.

ดู มนุษย์และป่องรู้กลิ่น

ป่าสันทราย

ป่าสันทรายที่มีให้เห็นอยู่ทั่วไป ป่าสันทราย เป็นป่าที่มีความพิเศษกว่าป่าอื่น ๆ ที่มีอยู่ ซึ่งสามารถที่จะเกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ของโลก ที่มีเขตพื้นที่ติดกับทะเลส่วนใหญ่จะมีความเป็นหาดทรายที่เกิดจากการทับถมกันของกรวดและหิน ก้อนเล็ก ๆ จากการพัดมาของลมทะเล ระยะเวลาการเกิดใช้เวลานาน กว่าจะเป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ มีพันธุ์พืชนานาชนิด ซึ่งอยู่ห่างจากชายฝั่งไม่มากนัก หากอยู่ห่างจากฝั่งมากก็เป็นการบ่งบอกถึงเวลาว่ามีอายุที่มากกว่าป่าที่อยู่บริเวณใกล้กับชายฝั่ง มีจุดเด่นคือ เกิดจากแรงลมพัดทรายมากองทับถมกันคล้ายกับ Sand dunes แต่ไม่ได้เกิดกับหาดทรายทั่วไป มีพันธุ์ไม้และพันธุ์พืชหลากหลายชนิด บ้างก็ใช้รับประทาน บ้างก็ใช้เป็นสมุนไพร เป็นยารักษาโรค เกิดประโยชน์กับคนในชุมชน กระบวนการเกิดป่าสันทรายอาจต้องใช้เวลาหลายร้อยหลายพันปี กว่าจะเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ ใช้องค์ประกอบหลายอย่างด้วยกัน ตามสภาพแวดล้อมที่มีของแต่ละสถานที่วงจรของป่าสันทรายวนเวียนอยู่อย่างนี้ ตลอดไป.

ดู มนุษย์และป่าสันทราย

ป่าโลกล้านปี

ป่าโลกล้านปี เป็นตอนที่ห้าของเพชรพระอุมาจำนวน 4 เล่ม ได้แก่ป่าโลกล้านปี เล่ม 1 - 4.

ดู มนุษย์และป่าโลกล้านปี

นบี

นบี (نبي) หมายถึง ศาสดาในศาสนาอิสลาม คำว่า นบี มาจากคำว่า นับบะอะ หรือ อัมบะอะ แปลว่า แจ้งข่าว ใช้หมายถึงการนำวจนะของพระเจ้ามาประกาศแก่มวลมนุษย์ คำว่านบีในศาสนาอิสลามจึงหมายถึงผู้เผยพระวจนะในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต.

ดู มนุษย์และนบี

นกกินปลี

นกกินปลี (Sunbird) เป็นวงศ์ของนกเกาะคอนขนาดเล็ก ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nectariniidae เป็นนกขนาดเล็ก มีความยาวเต็มที่ประมาณ 10-15 เซนติเมตร มีจุดเด่น คือ มีจะงอยปากยาวโค้ง ที่ภายในกลวงเป็นท่อ และมีลิ้นขนาดยาวอยู่ในนั้น ใช้สำหรับดูดกินน้ำต้อยจากดอกไม้เป็นอาหารหลัก บางครั้งอาจจะกินแมลงด้วย และนำไปเลี้ยงดูลูกอ่อน สามารถบินได้ด้วยความรวดเร็ว จึงมีลักษณะคล้ายกับนกฮัมมิ่งเบิร์ด (Trochilidae) ที่พบในทวีปอเมริกา เป็นนกที่มีสีสันสวยงาม ตัวผู้จะมีสีสวยและขนาดตัวใหญ่กว่าตัวเมีย พยกระจายพันธุ์ในซีกโลกที่เรียกว่า โลกเก่า คือ ทวีปยุโรป, แอฟริกา, เอเชีย และออสเตรเลีย รังทำด้วยเปลือกไม้และใบไม้แขวนห้อยอยู่ปลายกิ่งไม้ ดูรุงรังคล้ายถุงขยะ บางครั้งอาจเข้ามาทำรังในชายคาบ้านของมนุษย์ ตัวเมียเป็นฝ่ายกกไข่และดูแลลูก ขณะที่ตัวผู้จะเป็นดูแลอยู่ข้างนอกและหาอาหารมาป้อนให้ พบทั้งหมด 132 ชนิด ใน 13 สกุล (บางข้อมูลจัดให้มี 8 สกุล) พบในประเทศไทยได้ 22 ชนิด เช่น นกกินปลีอกเหลือง (Cinnyris jugularis), นกกินปลีดำม่วง (C.

ดู มนุษย์และนกกินปลี

นกหัวขวานเขียวตะโพกแดง

นกหัวขวานเขียวตะโพกแดง (Black-headed woodpecker) เป็นนกชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกหัวขวาน (Picidae) มีลักษณะเด่น คือ มีส่วนหัวสีดำ คอและอกสีเหลือง ใต้ท้องสีนวลและมีลายซิกแซกสีเขียวไพล ขนตะโพกสีแดงมักจะฟูฟ่องยามตกใจ หากรู้สึกคุกคามอาจกางปีกที่มีลายขาวสลับดำให้ดูน่าเกรงขามเพื่อขู่ศัตรู บางตัวมีแถบคิ้วสีขาว แต่เฉพาะตัวผู้เท่านั้นที่จะมีสีแดงที่กลางกระหม่อม ขณะที่ตัวเมียมีกระหม่อมสีดำ นกหัวขวานเขียวตะโพกแดงมีอุปนิสัยต่างจากนกหัวขวานทั่วไป คือ เป็นชนิดเดียวที่มักอยู่รวมกันเป็นฝูงตลอดทั้งปี สาเหตุก็มาจากการที่พ่อแม่นกมีนกตัวอื่น ๆ มาทำหน้าที่ช่วยเลี้ยงลูกอ่อน และยังไม่ได้รวมฝูงเฉพาะนกชนิดเดียวกัน หากแต่ยังรวมฝูงหากินร่วมกับ นกกะราง, นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่ (Dicrurus paradiseus) หรือนกหัวขวานชนิดอื่น ๆ รวมอยู่ด้วย มีอุปนิสัยชอบเลียกินมดและปลวกบนพื้นดิน แต่บางครั้งก็มากินเศษอาหารที่มนุษย์เหลือทิ้งไว้เช่นเดียวกับนกกะรางด้วย และชอบส่งเสียงร้องเอะอะเสียงดัง มักได้ยินเสียงก่อนเห็นตัว โดยส่งเสียงรัวติดต่อกันว่า "แอะแอะ แอะแอ้ว" คล้ายลูกสุนัข มีถิ่นกระจายพันธุ์ในป่าเต็งรังไม่ระดับความสูงไม่เกิน 900 เมตร จากระดับน้ำทะเล พบกระจายพันธุ์ในเวียดนาม, กัมพูชา, ไทย, ลาว, พม่า สำหรับในประเทศไทยพบในป่าผลัดใบและป่าสนทางภาคตะวันตก, ภาคเหนือและภาคอีสาน พบบ่อยเฉพาะในบางพื้นที่ เช่น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ดู มนุษย์และนกหัวขวานเขียวตะโพกแดง

นกออก

นกออก หรือ อินทรีทะเลปากขาว (อังกฤษ: White-bellied Sea-eagle, White-bellied Fish-eagle, White-breasted Sea Eagle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Haliaeetus leucogaster) เป็นนกขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งจำพวกเหยี่ยวและอินทรี.

ดู มนุษย์และนกออก

นกอีเสือสีน้ำตาล

นกอีเสือสีน้ำตาล (Brown shrike; ชื่อวิทยาศาสตร์: Lanius cristatus) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Laniidae จัดเป็นนกอพยพย้ายถิ่นอาศัยเข้ามาหากินในประเทศไทย พบได้บ่อยในช่วงปลายฤดูร้อนและปลายฤดูฝน ซึ่งนกอีเสื้อสีน้ำตาลมีถิ่นการกระจายพันธุ์กว้างขวาง โดยพบได้ตั้งแต่เอเชียเหนือจรดยุโรป, เอเชียกลาง, เอเชียตะวันออก, เอเชียใต้ และยังพบได้ที่อเมริกาเหนือ จึงมีชนิดย่อยด้วยกันทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง).

ดู มนุษย์และนกอีเสือสีน้ำตาล

นกปรอดหัวโขน

นกปรอดหัวโขน หรือ นกปรอดหัวจุก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นกกรงหัวจุก (อังกฤษ: Red-whiskered bulbul; พายัพ: นกปิ๊ดจะลิว) เป็นนกที่อยู่ในวงศ์นกปรอด (Pycnonotidae) ซึ่งอยู่ด้วยกันทั้งหมด 109 ชนิด สำหรับในประเทศไทยพบได้ 36 ชนิด นกปรอดหัวโขนเป็นนกขนาดเล็ก ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 20 เซนติเมตร ที่มีสีสันสวยงามและเสียงร้องไพเราะ ที่แก้มและคอจนถึงหน้าอกจะมีสีขาวและมีสีแดงเป็นเส้นอยู่ข้างหูลงมาถึงหน้าอกเหมือนเป็นเส้นแบ่งขนสีขาวกับสีดำที่มีอยู่ทั่วทั้งตัวขนส่วนหัวจะร่วมกัน เป็นเหมือนหน่อตั้งอยู่บนหัวสูงขึ้นไปเหมือนหัวโขน อันเป็นที่มาของชื่อ ใต้ท้องมีขนสีขาว พบกระจายอยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงเอเชียตะวันออก พบได้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ตั้งแต่ยอดเขาสูง ป่าที่ราบต่ำ จนถึงทุ่งหญ้า ชายป่า และเขตที่ใกล้กับชุมนุมมนุษย์ มีชนิดย่อยทั้งหมด 9 ชนิด ดังนี้.

ดู มนุษย์และนกปรอดหัวโขน

นกแสก

นกแสก หรือ นกแฝก หรือ นกเค้าหน้าลิง (Barn owl, Common barn owl) เป็นนกเค้าแมวชนิดหนึ่งในวงศ์นกแสก (Tytonidae) วงศ์ย่อย Tytoninae มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tyto alba จัดเป็น 1 ชนิดในจำนวน 19 ชนิดของนกในอันดับนกเค้าแมวที่พบได้ในประเทศไทย และนับเป็นนกแสกชนิดหนึ่งที่พบได้ในประเทศไทย (อีก 1 ชนิดนั้นคือ นกแสกแดง).

ดู มนุษย์และนกแสก

นกเขาชวา

นกเขาชวา หรือ นกเขาเล็ก หรือ นกเขาแขก (- เป็นภาษาละติน แปลว่า "รอยไถ" หรือ "ลาย" มีความหมายว่า "นกเขาที่มีลาย") เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกพิราบและนกเขา (Columbridae) นกเขาชวามีรูปร่างเหมือนกับนกชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกันนี้ทั่วไป มีขนปกคลุมตัวสีน้ำตาลหัวสีเทา หรือมีสีที่หัวเป็นสีน้ำเงิน ด้านข้างคอมีแถบสีดำสลับกับแถบขาวเป็นลายตามขวาง ด้านหลังสีเข้มมีขีดขวาง คล้ายกับลายของม้าลายในต่างประเทศ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ (zebra dove) ด้านท้องสีจาง ใต้ลำตัวเป็นสีขาวมีขีดขวางเล็ก ขอบท้ายของขนหางสีขาว ขนาดเมื่อโตเต็มที่ไม่เกิน 8-9 นิ้ว นกเขาชวามีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่ตามป่าโปร่ง ป่าละเมาะ ชายทุ่ง และบริเวณที่ทำการเพาะปลูก ชอบอยู่กันเป็นคู่หรือลำพังเพียงตัวเดียว แต่ไม่ชอบหากินอยู่เป็นฝูงใหญ่ มักร้องบ่อย ๆ ในเวลาเช้าและเวลาเย็น มีถิ่นกระจายพันธุ์ในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย จนถึงมาเลเซีย, อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ นกตัวผู้จะมีลักษณะทั่วไปใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย หัวใหญ่ค่อนข้างยาว มีสีขาวที่หน้าผากสีขาวมากยาวถึงกลางหัว ขณะที่ตัวเมียหัวกลมเล็กและสีขาวที่ส่วนหัวจะไม่ยาวเท่า และมีรายละเอียดต่างกันเล็กน้อย เช่น หางที่ตัวเมียจะยกแอ่นกว่าตัวผู้ และเกล็ดที่ข้อเท้าจะละเอียดเล็กกว่าตัวผู้ นกเขาชวาเป็นนกที่ไม่เกรงกลัวมนุษย์ ซ้ำยังมีเสียงร้องที่ไพเราะ จึงเป็นที่นิยมอย่างยิ่งในการเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับฟังเสียง จนกลายเป็นวัฒนธรรมในคาบสมุทรมลายู โดยเชื่อว่ามีมาจากเกาะชวา มีการจัดแข่งขันประกวด การเพาะขยายพันธุ์ ก่อตั้งเป็นชมรมหรือสมาคมต่าง ๆ ซึ่งในตัวที่มีเสียงร้องไพเราะอาจมีราคาสูงถึงหลักล้านบาท ตลอดจนแตกแขนงกลายเป็นอาชีพอื่น ๆ ต่อด้วย เช่น ประดิษฐ์กรงนกขาย นกเขาชว ในปัจจุบันกลายเป็นนกประจำถิ่นในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย จากการที่ถูกนำเข้ามาในฐานสัตว์เลี้ยง และไม่จัดว่าเป็นสัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์ป่าคุ้มครองแต่ประการใ.

ดู มนุษย์และนกเขาชวา

นกเค้าจุด

นกเค้าจุด (อังกฤษ: Spotted owlet; ชื่อวิทยาศาสตร์: Athene brama) เป็นนกล่าเหยื่อจำพวกนกเค้าแมวชนิดหนึ่ง ที่สามารถพบได้ในประเทศไทย มีลักษณะส่วนหัวกลมไม่มีขนชี้ขึ้นไปเหมือนหูอย่างนกเค้ากู่ (Otus lempiji) มีจุดสังเกตอยู่ที่ขนคิ้วสีขาวที่เห็นได้เด่นชัด หัวค่อนข้างแบน บริเวณหัวจนถึงท้ายทอยสีน้ำตาลมีจุดเล็ก ๆ สีขาวประทั่วไป บริเวณตัวด้านบนซึ่งเป็นสีน้ำตาลก็มีจุด แต่จะมีขนาดใหญ่และกระจายมากกว่าบริเวณหัว บางทีใหญ่และเรียงตัวกันดูคล้ายบั้งมากกว่าจุด โดยเฉพาะด้านหลังคอที่จะเรียงตัวต่อกันคล้ายปลอกคอ ด้านล่างของลำตัวสีขาว แต่มีลายจุดสีน้ำตาลเช่นเดียวกัน นกตัวผู้และตัวเมียคล้ายคลึงกัน โตเต็มที่มีความยาวจากปลายปากจรดปลายหางประมาณ 20 เซนติเมตร จัดว่าเป็นนกเค้าแมวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ออกหากินในเวลากลางคืน โดยเริ่มออกจากรังตั้งแต่เวลาโพล้เพล้ เป็นนกที่บินได้เงียบมาก อาหารได้แก่ แมลงชนิดต่าง ๆ รวมถึงแมลงปีกแข็ง, หนูขนาดเล็กหรือนกขนาดเล็กชนิดอื่นที่นอนหลับบนต้นไม้ เมื่อเห็นเหยื่อจะพุ่งตัวกางกรงเล็บอันแข็งแรงและแหลมคมออกจับเหยื่อ ถ้าเหยื่อตัวเล็กจะกินเลยทันที ถ้าตัวใหญ่ก็นำกลับมาที่รังก่อนแล้วใช้กรงเล็บจับเหยื่อขึ้นมาฉีกกินจนหมด นกเค้าจุดที่อาศัยอยู่ตามหมู่บ้านอาจมีพฤติกรรมไล่จับแมลงที่มาเล่นไฟที่หลอดนีออน มีการกระจายพันธุ์ที่ค่อนข้างกว้างขวาง โดยพบได้ตั้งแต่อิหร่าน, อัฟกานิสถาน, ปากีสถาน, อนุทวีปอินเดีย สำหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้ที่พม่า, ไทย, กัมพูชา, ลาว และเวียดนาม สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ทุกรูปแบบ ตั้งแต่ภูเขาสูงจากระดับน้ำทะเลถึง 400 เมตร จนถึงทะเลทราย ทั้งยังปรับตัวให้อยู่ในเมืองขนาดใหญ่ได้อีกด้วย โดยสามารถพบได้ตามที่ ๆ มีต้นไม้ใหญ่ร่มรื่นหรือตามสวนสาธารณะ เป็นนกที่ปรับตัวให้เข้ากับมนุษย์ได้ดีมากชนิดหนึ่งและไม่ค่อยกลัวมนุษย์ มีชนิดย่อยทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง) ฤดูผสมพันธุ์อยู่ในระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน โดยรังวางไข่ของนกเค้าจุด จะใช้โพรงธรรมชาติหรือโพรงที่สัตว์อื่นทำไว้ หรือรอยแตกรอยแยกในตึก, เจดีย์, ซอกหลังคาตามอาคารเป็นรัง อาจหาหญ้าหรือขนนกมารองพื้นรัง แต่ส่วนมากจะวางไข่กับพื้นเปล่าเลย วางไข่ครั้งละ3-5ฟอง ไข่มีลักษณะกลม ขนาด 37x27 มิลลิเมตร เปลือกไข่สีขาวเป็นมันเล็กน้อย นกทั้งสองเพศช่วยกันกกไข่ เช่นเดียวกับนกเค้าแมวชนิดอื่น ๆ นกเค้าจุดจะกกไข่ทันทีตั้งแต่วางไข่ฟองแรก ลูกนกในรังจึงมีขนาดแตกต่างกันมาก เพราะออกจากไข่ไม่พร้อมกัน ใช้เวลาเลี้ยงลูกนกประมาณ 35-40วัน ลูกนกจะสามารถออกมานอกรังได้ ทั้งพ่อและแม่นกช่วยกันหาอาหารมาป้อนลูกอ่อน โดยจะออกหากินในเวลากลางวัน ถ้าเหยื่อเป็นชิ้นเล็ก ๆ จะส่งให้ลูกทั้งตัว ถ้าขนาดใหญ่ก็จะฉีกเป็นชิ้นเล็กให้ ลูกนกที่โตพอสมควรแล้วจะยังคงอยู่กับพ่อแม่อีกนาน บางครั้งอาจพบนกเค้าจุด 2-3ตัว อยู่บนต้นไม้เดียวกัน หรือเกาะกิ่งเบียดใกล้ชิดกันเสมอ ๆ โดยในตอนกลางวันจะเกาะกิ่งหลับอยู่บนต้นไม้ใบหนา หรือถ้ามีโพรงก็จะมุดเข้าไปหลบในโพรงเพื่อความปลอดภัย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 แต่ก็เป็นนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง.

ดู มนุษย์และนกเค้าจุด

นม

นมในแก้ว นม หรือ น้ำนม หมายถึงของเหลวสีขาวที่ประกอบด้วยสารอาหารที่ออกมาจากเต้านมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม นมจะประกอบไปด้วยสารอาหารหลักที่จำเป็นสำหรับเด็กหรือสัตว์เกิดใหม่ ซึ่งนมสามารถนำไปสร้างผลิตภัณฑ์อื่นได้แก่ ครีม เนย โยเกิร์ต ไอศกรีม ชีส นอกจากนี้นมยังสามารถหมายถึงเครื่องดื่มอื่นที่นำมาใช้ทดแทนนม เช่น นมถั่วเหลือง นมข้าว นมข้าวโพด นมแอลมอนด์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่ให้นม อาทิ วัว มนุษย์ แพะ ควาย แกะ ม้า ลา อูฐ จามรี ยามา เรนเดียร์ ฯลฯ โดยนมจากม้าและลาเป็นนมที่มีไขมันต่ำ ในขณะที่นมจากแมวน้ำจะมีไขมันสูงถึง 50% นอกจากนี้ในประเทศรัสเซียและประเทศสวีเดน มีการกินนมกวางมูส มีบางคนที่ไม่มีน้ำย่อยแลกโทส จะไม่สามารถดื่มนมวัวได้ ก็จะหันมาดื่มนมสัตว์ชนิดอื่นแทน เช่น นมแ.

ดู มนุษย์และนม

นรสิงห์

ประติมากรรมนูนต่ำนรสิงห์สังหารหิรัณยกศิปุอสูร นรสิงห์แบบพม่า ที่เจดีย์ชเวดากอง นรสิงห์ หรือ นรสีห์ (नरसिंह, Narasimha) เป็นอวตารร่างที่ 4 ของพระนารายณ์ตามเนื้อเรื่องในคัมภีร์ปุราณะ อุปนิษัท และคัมภีร์อื่น ๆ ของศาสนาฮินดู โดยมีร่างกายท่อนล่างเป็นมนุษย์ และร่างกายท่อนบนเป็นสิงโต นรสิงห์เป็นผู้สังหารหิรัณยกศิปุ อสูรตนซึ่งได้รับพรจากพระพรหมว่าจะไม่ถูกสังหารโดยมนุษย์หรือสัตว์ นรสิงห์เป็นที่รู้จักและบูชาโดยทั่วไป หิรัณยกศิปุบำเพ็ญตบะเป็นเวลานาน จนได้รับพรจากพระพรหม ให้เป็นผู้ที่ฆ่าไม่ตายจากมนุษย์, สัตว์, เทวดา ให้ฆ่าไม่ตายทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ให้ฆ่าไม่ตายทั้งจากอาวุธและมือ ให้ฆ่าไม่ตายทั้งในเรือนและนอกเรือน หิรัณยกศิปุ ได้อาละวาดสร้างความเดือดร้อนไปทั่วทั้งสามภพ พระอินทร์จึงทูลเชิญพระนารายณ์อวตารเกิดมาเป็น นรสิงห์ คือ มนุษย์ครึ่งสิงห์ นรสิงห์สังหารหิรัณยกศิปุด้วยกรงเล็บด้วยการฉีกอก ที่กึ่งกลางบานประตู ในเวลาโพล้เพล้ ก่อนตาย นรสิงห์ได้ถามหิรัณยกศิปุว่า สิ่งที่ฆ่าเจ้าเป็นมนุษย์หรือสัตว์หรือเทวดาหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ สิ่งที่สังหารเป็นมือหรืออาวุธหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ ในเรือนหรือนอกเรือนหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ และเป็นเวลากลางวันหรือกลางคืนหรือไม่ คำตอบก็คือ ไม่ นรสิงห์จึงประกาศว่า บัดนี้ พรที่ประทานจากพระพรหมได้สลายไปสิ้นแล้ว เทวดาทั้งสามภพจึงยินดี รูปประติมากรรมหรือรูปวาดของนรสิงห์ตอนสังหารหิรัณยกศิปุ จึงมักสลักมีรูปเทวดาองค์เล็ก ๆ 2 องค์อยู่ข้างล่างแสดงกิริยายินดีด้ว.

ดู มนุษย์และนรสิงห์

นักภูมิศาสตร์

นักภูมิศาสตร์โดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์ ระหว่างปี ค.ศ. 1668-69 ที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี นักภูมิศาสตร์ เป็นผู้ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาปรากฏการณ์ของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสังคมมนุษย์ที่เกิดขึ้นบนโลก แม้ว่านักภูมิศาสตร์จะเป็นที่รู้จักในฐานะของผู้สร้างแผนที่มาตั้งแต่อดีต แต่ความจริงแล้วแผนที่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของสาขาการทำแผนที่ และการทำแผนที่ก็เป็นส่วนหนึ่งของสาขาภูมิศาสตร์เช่นกัน นักภูมิศาสตร์ไม่ได้ศึกษาเพียงแต่รายละเอียดของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสังคมมนุษย์เท่านั้น แต่รวมถึงความสัมพันธ์ของทั้งสองสิ่งว่ามีผลกระทบต่อกันและกันอย่างไรบ้าง หากแบ่งแยกตามสาขาวิชาของภูมิศาสตร์ นักภูมิศาสตร์กายภาพจะศึกษาถึงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติขณะที่นักภูมิศาสตร์มนุษย์จะศึกษาถึงสังคมมนุษย์ ปัจจุบันนักภูมิศาสตร์สมัยใหม่ได้มีการใช้เทคโนโลยีต่างๆ เช่น ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การรับรู้จากระยะไกล เป็นต้น มาใช้ในการทำงานทั้งในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน.

ดู มนุษย์และนักภูมิศาสตร์

นักล่า-เก็บของป่า

นักล่า-รวบรวมพืชผล (hunter-gatherer) หมายถึงมนุษย์ในสังคมที่ได้อาหารส่วนมากหรือทั้งหมด จากการเก็บพืชในป่าหรือล่าสัตว์ป่า เปรียบเทียบกับสังคมเกษตร ที่โดยหลักพึ่งพืชสัตว์พันธุ์ที่ปรับนำมาเลี้ยงเพื่อเป็นอาหาร การหากินวิธีนี้เป็นการปรับตัวแบบแรกและที่ยืนยงที่สุดของคน โดยเป็นวิธีหากินใน 90 เปอร์เซนต์ของประวัติศาสตร์มนุษย์ แต่ว่าหลังจากการเกิดขึ้นของสังคมเกษตรกรรมโดยมากในโลก สังคมเกษตรและสังคมเลี้ยงสัตว์ก็ได้แทนที่หรือพิชิตสังคมนักล่า-รวบรวมพืชผล โดยมีกลุ่มที่จัดเป็นนักล่า-รวบรวมพืชผลเหลือเพียงไม่กี่สังคมในปัจจุบัน และหลายกลุ่มจริง ๆ ก็มีการปลูกพืชสวนและเลี้ยงสัตว์ควบคู่ไปด้ว.

ดู มนุษย์และนักล่า-เก็บของป่า

นัมมู

นัมมู (Nammu) คือมหาเทพีของชาวสุเมเรียน เป็นเทพีแห่งน้ำ ถือเป็นเทพผู้ให้กำเนิดทุกสิ่ง ในตำนานเล่าว่า มีสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมากมายในจักรวาลนี้ ไร้ระเบียบ กฎเกณฑ์ เหล่าเทพก็เลยต้องการให้มีมนุษย์มาควบคุมให้เกิดระเบียบ เหล่าเทพต้องการให้เทพเจ้าเอนกิ เทพแห่งปัญญาเป็นผู้สร้าง แต่เทพเจ้าเอนกิหลับอยู่ เทพเจ้านัมมูจึงปลุกและ ขอร้อง จึงเกิดมาเป็นมนุษย์ขึ้น มหาเทพีนัมมู มีโอรสและธิดาสององค์คือ เทพอัน เทพแห่งสวรรค์ และ เทพีคิ เทพีแห่งแผ่นดิน หมวดหมู่:เมโสโปเตเมีย หมวดหมู่:ปรัมปราวิทยา.

ดู มนุษย์และนัมมู

นาก

นาก (ไทยถิ่นเหนือ: บ้วน) เป็นสัตว์อยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์ใหญ่ Mustelidae อันเป็นวงศ์เดียวกับวีเซลหรือเพียงพอน แต่นากจัดอยู่ในวงศ์ย่อย Lutrinae มีทั้งหมด 6 สกุล (ดูในตาราง) เป็นสัตว์บกที่สามารถว่ายน้ำและหากินในน้ำได้อย่างคล่องแคล่วมาก มีรูปร่างโดยรวมหัวสั้นและกว้างแบน หูมีขนาดเล็กซ่อนอยู่ใต้ขน นิ้วตีนทั้ง 4 ข้างมีพังผืดคล้ายตีนเป็ด ขนลำตัวสีน้ำตาลอมเทา มี 2 ชั้น ชั้นในละเอียด ชั้นนอกหยาบ ขาหลังใหญ่และแข็งแรงกว่า ขาหน้า ใช้ว่ายน้ำร่วมกับหาง มีฟันแหลมและแข็งแรง มีหนวดยาวใช้เป็นอวัยวะจับการเคลื่อนไหวของสิ่งที่อยู่ใต้น้ำและใช้เป็นประสาทสัมผัสเมื่อเวลาอยู่ในน้ำ ไล่จับปลาและสัตว์น้ำเล็ก ๆ เป็นอาหาร ในบางชนิดอาจกินสัตว์จำพวกอื่นที่มีขนาดใหญ่กว่าได้ด้วย ออกหากินทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ขุดรูอยู่ริมตลิ่งใช้เป็นรังสำหรับอาศัยและเลี้ยงดูลูกอ่อน นากจึงเป็นสัตว์ที่มีที่อยู่ในธรรมชาติใกล้กับแหล่งน้ำหรือพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ หลากหลายประเภท เช่น บึง, ทะเลสาบ, ลำธาร, ป่าชายเลน แม้แต่พื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ เช่น ท้องร่องในสวนผลไม้, นาข้าว หรือนากุ้ง เป็นต้น พบได้ทั่วโลก โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ นากยักษ์ (Pteronura brasiliensis) พบในลุ่มแม่น้ำอเมซอนในทวีปอเมริกาใต้ บางชนิดพบในทะเล คือ นากทะเล (Enhydra lutris) ที่สามารถนอนหงายท้องบนผิวน้ำทะเลและเอาหินทุบเปลือกหอยกินเป็นอาหารได้ด้วย นากมีความสำคัญต่อมนุษย์ คือ ในอดีตมีการล่าเพื่อเอาหนังและขนทำเป็นเสื้อขนสัตว์ โดยเฉพาะในทวีปยุโรปมีการล่าอย่างหนัก ทำให้นากหลายชนิดเกือบสูญพันธุ์ ซึ่งเสื้อขนสัตว์ 1 ตัว ต้องใช้ขนของนากมากถึง 40 ตัว จนทำให้ใกล้สูญพันธุ์ กระทั่งในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และนาก

นากยักษ์

นากยักษ์ (Giant otter;; ชื่อพื้นเมือง: lobo de río แปลว่า "หมาป่าแม่น้ำ") เป็นนากชนิดหนึ่ง จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Pteronura แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง).

ดู มนุษย์และนากยักษ์

นากเล็กเล็บสั้น

นากเล็กเล็บสั้น (oriental small-clawed otter, Asian small-clawed otter) เป็นนากขนาดเล็กที่สุดในโลก ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ขนตามลำตัวมีสีเทาเข้มหรือสีน้ำตาล แต่สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่า แต่สามารถเปลี่ยนสีขนได้ตามฤดูกาล ลักษณะเด่นคือ พังผืดบริเวณนิ้วตีนจะมีขนาดเล็กลง ช่วยให้นิ้วเคลื่อนไหวได้คล่องตัวมากขึ้น ใต้คอมีสีขาว มีจมูกที่สั้นมากกว่านากชนิดอื่น ๆ ตัวที่ยังไม่โตเต็มวัยจะมีจมูกยาว และโค้งกว่า เมื่ออายุได้ 5 สัปดาห์จมูกก็จะหดสั้นลง มีความยาวลำตัวและหางประมาณ 45-55 เซนติเมตร ความยาวหาง 25-35 เซนติเมตร น้ำหนัก 1-3 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางทั้งในทวีปแอฟริกาและในทวีปเอเชีย ในทวีปเอเชียพบตั้งแต่ภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย, เนปาล, บังกลาเทศ, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียวและเกาะชวา (แบ่งเป็น 3 ชนิดย่อย ดูในตาราง) นากเล็กเล็บสั้นมีความสามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ในธรรมชาติจะอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น ลำธารขนาดเล็ก, ป่าชายเลน, ริมทะเลสาบ, ห้วย, หนอง, คลอง, บึง หรือแม้แต่ในพื้นที่ชุ่มน้ำที่เป็นเขตเกษตรกรรมของมนุษย์ เช่น ตามท้องร่องสวนต่าง ๆ อาหารหลักได้แก่ สัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ แต่ชอบกินปูมากที่สุด มักอาศัยอยู่เป็นฝูงเล็ก ๆ นากเล็กเล็บสั้นไม่ได้ใช้หนวดเป็นประสาทสัมผัสในการรับรู้เหมือนนากชนิดอื่น ๆ เพราะมีประสาทสัมผัสอยู่ที่ขาหน้า ออกลูกตามโพรงไม้หรือโพรงหินที่มีอยู่แล้ว เพราะขาหน้าไม่แข็งแรงพอจะขุดโพรงริมตลิ่งได้เหมือนนากชนิดอื่น ๆ ออกหากินในเวลากลางคืน บางครั้งอาจพบได้ตั้งแต่ช่วงพลบค่ำจนถึงรุ่งเช้า นากเล็กเล็บสั้นหากนำมาเลี้ยงตั้งแต่ยังเล็ก จะเชื่องและสามารถทำตามคำสั่งของมนุษย์ได้ จึงมีการนำมาแสดงโชว์ตามสวนสัตว์ต่าง ๆ เช่น ซาฟารีเวิลด์ เป็นต้น สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค แม้แต่กระทั่งพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยพบในพื้นที่แถบคลองบางมด เขตทุ่งครุ ฝั่งธนบุรี เป็นนากเล็กเล็บสั้นที่อาศัยอยู่รวมเป็นฝูง มีพฤติกรรมขโมยกินปลาของเกษตรกรในพื้นที่ตามท้องร่องสวนในเวลากลางคืน.

ดู มนุษย์และนากเล็กเล็บสั้น

นารีผล

ตรกรรมแบบไทย นารีผล หรือ มักกะลีผล เป็นพรรณไม้ตามความเชื่อจากตำนานป่าหิมพานต์ เป็นพืชที่ออกลูกเป็นหญิงสาว เมื่อผลสุกแล้ว บรรดา ฤๅษี กินร วิทยาธร คนธรรพ์ จะนำไปเสพสังว.

ดู มนุษย์และนารีผล

นิพพาน

วาดพระพุทธเจ้าเข้าสู่'''อนุปาทิเสสนิพพาน'''สภาวะ นิพพาน (निब्बान nibbāna นิพฺพาน; निर्वाण nirvāṇa นิรฺวาณ) หมายถึง ความดับสนิทแห่งกิเลสและกองทุกข์ เป็นสภาพโลกุตระอันเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดในศาสนาพุทธ คำว่า นิพพาน เป็นคำที่ใช้กันในปรัชญาหลายระบบในอินเดีย โดยใช้ในความหมายของการหลุดพ้น แต่การอธิบายเกี่ยวกับสภาวะของนิพพานนั้นแตกต่างกันออกไป ในปรัชญาอุปนิษัทเชื่อว่านิพพานหรือโมกษะ คือการที่อาตมันย่อยหรือชีวาตมันเข้ารวมเป็นเอกภาพกับพรหมัน แต่ในพระพุทธศาสนาอธิบายว่า นิพพานคือการหลุดพ้นจากอวิชชา ตัณหา ซึ่งแสดงออกในรูปของโลภะ โทสะ และโมหะ มิได้หมายความว่าเป็นการหลุดพ้นของอัตตาหรือตัวตนในโลกนี้ ไปสู่สภาวะของนิพพานอย่างคำสอนอุปนิษัท แต่หมายถึงความดับสนิทแห่งความเร่าร้อนและเครื่องผูกพันร้อยรัดทั้งปวง ซึ่งเรียกว่าเป็นความทุก.

ดู มนุษย์และนิพพาน

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

ดู มนุษย์และนิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิวต์ท้องแดงจีน

นิวต์ท้องแดงจีน หรือ นิวต์ท้องแดง (Chinese fire belly newt, Oriental fire-bellied newt, Dwarf fire-bellied newt; 東方蠑螈) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำชนิดหนึ่ง จำพวกนิวต์ (Salamandridae) เป็นนิวต์ขนาดเล็กมีลำตัวสีดำ ส่วนหางแบนเหมือนใบพาย มีช่วงท้องเป็นสีเหลืองมีแต้มสีส้มหรือแดง ตัวผู้มีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย โดยตัวผู้จะมีปุ่มบริเวณโคนหาง จัดเป็นนิวต์ขนาดเล็กมีความยาวลำตัวจรดหางประมาณ 12-15 เซนติเมตร แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ในน้ำ ตัวอ่อนมีพู่เหงือก แพร่กระจายพันธุ์ในพื้นที่ชุ่มน้ำที่น้ำสะอาดและบริสุทธิ์และมีพืชน้ำขึ้นหนาแน่นในตอนใต้ของประเทศจีน อุณหภูมิประมาณ 18-24 เซนติเมตร ออกหากินในเวลากลางคืน โดยกินสัตว์น้ำและแมลงขนาดเล็ก เช่น หนอน, กุ้งฝอย, หนอนแดง, ไส้เดือนน้ำ, ลูกอ๊อด เป็นต้น นิวต์ท้องแดงจีน มีพิษบริเวณผิวหนังที่มีพิษประเภทเตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) อันเป็นพิษแบบเดียวกับที่มีในปลาปักเป้า แต่เป็นพิษแบบอ่อน อันเป็นลักษณะสำคัญของนิวต์ในสกุล Cynops ซึ่งไม่ก่อให้เกิดอันตรายมากนักสำหรับมนุษย์หากใช้มือเปล่าไปแตะต้องถูกเข้า แต่จะเป็นอันตรายต่อเมื่อกลืนกินเข้าไป เป็นนิวต์หรือซาลาแมนเดอร์อีกชนิดหนึ่ง ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง.

ดู มนุษย์และนิวต์ท้องแดงจีน

นิงเง็น

ำลองของนิงเง็น นิงเง็น (Ningen; ニンゲン) เป็นชื่อที่เรียกสิ่งที่เชื่อว่าเป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ในมหาสมุทร โดยนิงเง็นเป็นสัตว์ประหลาดตัวหนึ่งที่รวมอยู่ในตำนานพื้นบ้านของญี่ปุ่น นิงเง็นมีลักษณะคล้ายวาฬ ได้รับการอ้างว่าพบเห็นโดยชาวประมงหลายราย แต่จนถึงปัจจุบันนี้ยังไม่เป็นที่ยืนยันว่า มันมีจริงหรือไม่ คำว่า "นิงเง็น" แปลมาจากภาษาญี่ปุ่นที่มีความหมายว่า "มนุษย์".

ดู มนุษย์และนิงเง็น

นิติพยาธิวิทยา

นิติพยาธิวิทยา (Forensic Pathology) เป็นสาขาย่อยของ ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับกลไกการเกิดโรคของมนุษย์ และการตายอย่างผิดธรรมชาติ เช่น การตายจากอุบัติเหตุ ฆ่าตัวตาย หรือ ถูกทำร้าย โดยใช้กระบวนการการตรวจสอบชิ้นเนื้อ การตรวจวิเคราะห์เลือดและปัสสาวะเพื่อเป็นการตรวจสอบทางนิติพิษวิทยา ฯลฯ และการตรวจศพเพื่อใช้ประกอบการดำเนินคดีความ เพื่อเป็นการช่วยเหลือพนักงานสอบสวนในการพิสูจน์และนำไปใช้ในกระบวนการยุติธรรมต่อไป พยาธิวิทยา (Pathology)แบ่งออกเป็นสาขาย่อยอีก 3 สาขา ได้แก.

ดู มนุษย์และนิติพยาธิวิทยา

นิติพิษวิทยา

นิติพิษวิทยา (Forensic Toxicology) เป็นการเรียนรู้องค์ประกอบสารเคมีที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือพิษต่อสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย เมื่อนำไปประยุกต์ใช้กับงานด้านนิติศาสตร์เพื่อหาสาเหตุการตายหรือความเชื่อมโยงกับความตาย จึงเรียกชื่อว่า นิติพิษวิทยาความตายของมนุษย์อาจมาจากสาเหตุตามธรรมชาติ หรือฆาตกรรมซึ่งแยกออกเป็นการตายด้วยอาวุธ ด้วยสารเคมี เป็นต้น เมื่อมีเหตุน่าสงสัยเกี่ยวข้องกับความตายของบุคคลซึ่งอาจเชื่อมโยงกับสารพิษ จะต้องมีการเก็บของเหลวหรือชิ้นส่วนอวัยวะที่อาจเปื้อนสารพิษไปให้นักพิษวิทยาค้นหา สารเคมีที่ไม่ควรมีอยู่ในร่างกายหรือมีเกินกว่ามาตรฐาน จนเป็นเหตุให้เกิดอันตรายถึงชีวิต เช่น สารดีดีที สารหนู และอื่นๆ การใช้ยาบางชนิดเกินขนาดมาตรฐานอาจฆ่าคนได้ไม่ว่าด้วยเจตนาหรือไม่ก็ตาม ตัวอย่างเช่น ยาพ่นจมูกของคนเป็นหอบหืด ถ้ามีการใช้ผิดคน ผิดโอกาส ระดับการใช้และสภาพแวดล้อมของคนตาย นักพิษวิทยาสามารถบอกได้ว่า สารพิษดังกล่าวเข้าไปอยู่ในร่างกายโดยเจตนาหรือไม่ จากการวิเคราะห์สารเคมี ระดับของสารนั้น เป็นต้น วิชาพิษวิทยามีการแยกประเภทของสารพิษหลากหลายที่ส่งผลเสียต่อร่างกายมนุษย์หนักเบาแตกต่างกัน จึงต้องอาศัยความเชี่ยวชาญของนักพิษวิทยาในการสืบสวนคดีของตำรวจอย่างมากในโลกยุคใหม่ ความตายของบางคนถ้าดูภายนอก ไม่อาจบ่งบอกได้ว่าสาเหตุการตายคืออะไร หากตรวจสารพิษในร่างกายอาจพบสาเหตุได้จากเคมีในร่างกายเท่านั้น ดังนั้น การเก็บของเหลว เนื้อเยื่อ จากศพเพื่อตรวจสารพิษอย่างมีมาตรฐาน จะช่วยคลี่คลายคดีได้มากขึ้น หมวดหมู่:พิษวิทยา หมวดหมู่:นิติเวชศาสตร์.

ดู มนุษย์และนิติพิษวิทยา

นิ้วกลาง

นิ้วกลาง คือนิ้วที่สามบนมือของมนุษย์ อยู่ระหว่างนิ้วชี้และนิ้วนาง คนส่วนใหญ่จะมีนิ้วกลางเป็นนิ้วที่ยาวที่สุด แต่บางคนอาจยาวเท่ากับนิ้วชี้หรือนิ้วนาง ในทางกายวิภาคศาสตร์ นิ้วกลางอาจมีชื่อเรียกอื่นเป็นภาษาละตินเช่น digitus medius, digitus tertius, หรือ digitus III เป็นต้น นิ้วกลางมีส่วนช่วยให้จับสิ่งของได้ง่ายขึ้น เช่น ดินสอ ปากกา หรือตะเกียบ นอกเหนือไปจากนิ้วโป้งและนิ้วชี้ ถึงแม้ว่าบางคนอาจไม่ได้ใช้นิ้วกลางเลย มือกลหรือแขนเทียมมักจะมีสามนิ้วเพื่อเป็นตัวแทนของนิ้วโป้ง นิ้วชี้ และนิ้วกลาง เพื่อให้จับได้ถนัดยิ่งขึ้นและไม่หลุดจากมือด้ว.

ดู มนุษย์และนิ้วกลาง

นิ้วหัวแม่มือ

นิ้วหัวแม่มือ หรือ นิ้วโป้ง (Thumb) เป็นนิ้วแรกของมือในทั้งหมด 5 นิ้ว.

ดู มนุษย์และนิ้วหัวแม่มือ

นิ้วนาง

นิ้วนาง นิ้วนาง คือนิ้วที่สี่บนมือของมนุษย์ อยู่ระหว่างนิ้วกลางและนิ้วก้อย หลายคนมีนิ้วนางยาวเท่ากับนิ้วชี้ ในทางกายวิภาคศาสตร์ นิ้วนางอาจมีชื่อเรียกอื่นเป็นภาษาละตินเช่น digitus medicinalis, digitus annularis, digitus quartus หรือ digitus IV เป็นต้น นิ้วนางไม่ค่อยมีบทบาทเด่นชัดมากนัก เพราะเมื่อหยิบจับสิ่งของก็ต้องใช้งานร่วมกับนิ้วอื่นหรือไม่ใช้เลย บางภาษาไม่มีชื่อเรียกเฉพาะสำหรับนิ้วนางด้วยซ้ำ สำหรับวัฒนธรรมตะวันตก การใส่แหวนที่นิ้วนาง โดยเฉพาะนิ้วนางมือซ้าย สื่อความหมายว่าผู้นั้นได้หมั้นหรือแต่งงานแล้ว ด้วยความเชื่อที่ว่า เส้นเลือดดำที่นิ้วนางมือซ้ายเชื่อมต่อโดยตรงเข้ากับหัวใจที่อยู่ข้างซ้ายเช่นกัน อันเป็นตัวแทนแห่งความรัก แต่สำหรับวัฒนธรรมยุโรป การใส่แหวนที่นิ้วนางมือซ้ายหมายถึงการหมั้น ส่วนนิ้วนางมือขวาหมายถึงการแต่งงาน ด้วยเหตุนี้หลายภาษาจึงเรียกนิ้วนางว่าเป็น นิ้วเพื่อสวมแหวน (ring finger).

ดู มนุษย์และนิ้วนาง

นิเวศวิทยา

นิเวศวิทยา (ecology) (มาจากภาษากรีก: οἶκος "บ้าน"; -λογία, "การศึกษาของ") คือ การวิเคราะห์และการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มีต่อกันและกัน และปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มีกับสิ่งแวดล้อมแบบ'อชีวนะ' (abiotic) ของสิ่งมีชีวิตนั้น หัวข้อนักนิเวศวิทยามักสนใจจะรวมถึงความหลากหลายทางนิเวศวิทยา การกระจาย ปริมาณ (ชีวมวล) จำนวน (ประชากร) ของสิ่งมีชีวิต เช่นเดียวกับการแข่งขันระหว่างพวกมันภายในและระหว่างระบบนิเวศ ปฏิสัมพันธ์ที่เป็นองค์ประกอบของระบบนิเวศมีลักษณะเป็นไดนามิค ซึ่งประกอบไปด้วย สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ ชุมชนของสิ่งมีชีวิตที่พวกมันสร้างขึ้น และองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตของสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต กระบวนการในระบบนิเวศ (ecosystem process) เช่น การผลิตโดยผู้ผลิต (เช่น พืช สาหร่าย) การเกิดขึ้นของดิน (pedogenesis) วัฏจักรสารอาหาร และกิจกรรมการสร้างสภาวะที่เหมาะสม (niche construction) จะเป็นตัวกำหนดการไหลของพลังงานและสสารจากสถานะหนึ่งไปยังอีกสถานะหนึ่งในระบบนิเวศ กระบวนการเหล่านี้จะทำงานอย่างเป็นปกติโดยสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทที่เฉพาะเจาะจงและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้น โดยความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) ที่หมายถึงความหลากหลายของสายพันธุ์ ของยีน และของระบบนิเวศ จะช่วยเพิ่มการบริการในระบบนิเวศ (ecosystem services) นิเวศวิทยาเป็นสาขาการศึกษาแบบสหวิทยาการที่รวมชีววิทยาและวิทยาศาสตร์โลก โดยคำว่า "ระบบนิเวศ" ("Ökologie") เกิดขึ้นในปี 1866 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน แอรนส์ แฮกเกล (Ernst Haeckel) (1834-1919) ความคิดเกี่ยวกับนิเวศวิทยาเป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากความคิดในเชิงปรัชญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากจริยธรรมและการเมือง นักปรัชญากรีกโบราณเช่น Hippocrates และ อริสโตเติล ได้วางรากฐานของนิเวศวิทยาในการศึกษาเรื่อง 'ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ' (natural history) ของพวกเขา นิเวศวิทยาสมัยใหม่ถูกแปลงให้เป็น 'วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ' ที่เข้มงวดมากขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แนวคิดวิวัฒนาการในการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตและ 'การคัดเลือกโดยธรรมชาติ' กลายเป็นเสาหลักของ 'ทฤษฎีทางนิเวศวิทยาสมัยใหม่' คำว่านิเวศวิทยาเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับ 'ชีววิทยาวิวัฒนาการ' พันธุศาสตร์ และ พฤฒิกรรมของสัตว์ที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติ (ethology) ความเข้าใจถึงกระบวนการที่ความหลากหลายทางชีวภาพจะสามารถส่งผลกระทบต่อการทำงานของระบบนิเวศเป็นหัวข้อที่สำคัญในการศึกษาระบบนิเวศ โดยนักนิเวศวิทยาพยายามที่จะอธิบายดังต่อไปนี้.

ดู มนุษย์และนิเวศวิทยา

นิเวศวิทยาชุมชนเมือง

นิเวศวิทยาชุมชนเมือง (Urban ecology) เป็นสาขาย่อยของวิชานิเวศวิทยา เกี่ยวข้องกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างพืช สัตว์และมนุษย์ในสิ่งแวดล้อมของชุมชนเมือง เป็นการวิเคราะห์ชุมชนเมืองในแง่ของระบบนิเวศ (เฝ้ามองวัฏจักรของสสารและการเคลื่อนไหวของพลังงานในระบบนิเวศของเมือง) ซึ่งจะมีผลต่อผู้อยู่อาศัยในชุมชนในเชิงที่จะเอื้อให้พืช สัตว์และผู้คนในชุมชนเมืองนั้นมีสุขภาพที่ดีขึ้นและเอื้อให้มีการดูแลจัดการชุมชนได้ดีขึ้น นิเวศวิทยาชุมชนเมืองเป็นการศึกษาปัจจัยต่างๆ ซึ่งจะเอื้อให้พืชพรรณและสัตว์พื้นถิ่นสามารถอยู่รอดและอาจเติบโตขยายพันธุ์ได้ในสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างในชุมชนเมือง เป็นการศึกษาการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและศึกษาวิธีการจัดการพื้นที่นั้นให้มีความน่าอยู่ นอกจากนี้ นิเวศวิทยาชุมชนเมืองยังเกี่ยวข้องกับการศึกษาผลกระทบจากรูปแบบการพัฒนาที่เกิดขึ้นในชุมชนเมืองภายใต้เงื่อนไขของระบบนิเวศ เป็นการเน้นวิธีการวางผังชุมชนเมืองให้มีสภาวะแวดล้อมในแบที่ยั่งยืนโดยใช้วิธีการออกแบบและการเลือกใช้วัสดุที่จะส่งเสริมสุขภาพของผู้อยู่อาศัยให้ดีขึ้น ส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพให้มีเพิ่มมากขึ้นในระบบนิเวศชองชุมชนเมืองนั้น.

ดู มนุษย์และนิเวศวิทยาชุมชนเมือง

นึกคิด บุญทอง

นึกคิด บุญทอง หรือชื่อจริง สมนึก บุญสุวรรณ (ชื่อเล่น: หนึ่ง) เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 เป็นนักแสดง และนักร้องชาวไทย มีบุตรสาวกับ นางมุกดา บุญทอง คือ "กุญแจซอล-ป่านทอทอง บุญทอง" ซึ่งเป็นอดีตนักแสดงทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เคยออกเทปในชื่อ มะลิลา บราซิลเลี่ยน มีสมาชิกทั้งหมด 5 คน เล่นเพลงในแนวละติน สังกัดค่ายคีตา เรคคอร์ดส ออกอัลบั้มทั้งหมดรวม 3 ชุดในปี 2533 ถึง 2537 อัลบั้มแรก..

ดู มนุษย์และนึกคิด บุญทอง

นุระริเฮียง

นุระริเฮียง (ぬらりひょん) หรือเทพอาคันตุกะ เป็นชายชราชาวญี่ปุ่น มีหัวโต หน้าตาอิ่มเอิบ มักจะเข้าไปอยู่ในบ้านของผู้อื่น เมื่อมีใครมาพบจะเข้าใจผิดว่าเป็นเจ้าของบ้าน หรือเจ้านายใหญ่เรื่องเล่าตำนานผี.

ดู มนุษย์และนุระริเฮียง

นีแอนเดอร์ทาล

นีแอนเดอร์ทาล คือมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ชนิดหนึ่ง ปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว โดยจัดอยู่ในสกุลเดียวกับมนุษย์ยุคปัจจุบัน คือ Homo นีแอนเดอร์ทาลถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อราว 160 ปีที่แล้ว ที่ถ้ำเฟลด์โฮเฟอร์ในหุบเขาเนอันเดอร์ ใกล้เมืองดึสเซลดอร์ฟ ทางตอนเหนือของเยอรมนี โดยคนงานเหมืองขุดค้นพบกระดูกโบราณซึ่งตอนแรกเข้าใจว่าเป็นหมี และได้ส่งกระดูกนั้นแก่นักธรรมชาติวิทยา โยฮันน์ คาร์ล ฟูลรอทท์ ฟูลรอทท์จึงได้ส่งต่อให้แก่นักกายวิภาควิทยา เมื่อวิเคราะห์อย่างละเอียดแล้วจึงพบว่าเป็นมนุษย์ดึกดำบรรพ์ชนิดใหม่ จึงให้ชื่อว่า "นีแอนเดอร์ทาล" เพื่อเป็นเกียรติแก่หุบเขาเนอันเดอร์ สถานที่ที่ค้นพบ โดยรวมนีแอนเดอร์ทาลมีรูปร่างที่กำยำล่ำสัน แข็งแรง รวมถึงมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดีกว่ามนุษย์ปัจจุบัน แต่มีระดับสติปัญญาที่ต่ำกว่า ด้วยเหตุนี้เป็นสาเหตุหลักที่เชื่อว่าทำให้สูญพันธุ์ ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนได้ถอดรหัสพันธุกรรมของนีแอนเดอร์ทาลได้เป็นผลสำเร็จเมื่อปี..

ดู มนุษย์และนีแอนเดอร์ทาล

น้ำ

น้ำในสองสถานะ: ของเหลว (รวมทั้งก้อนเมฆซึ่งเป็นตัวอย่างของละอองลอย) และของแข็ง (น้ำแข็ง) น้ำเป็นสิ่งที่โปร่งใส ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น และเกือบจะไม่มีสี ซึ่งเป็นสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบหลักของลำธาร, แม่น้ำ, และมหาสมุทรในโลก เป็นต้น และยังเป็นของเหลวในสิ่งมีชีวิต มีสูตรเคมีคือ H2O โมเลกุลของน้ำประกอบด้วยออกซิเจน 1 อะตอมและไฮโดรเจน 2 อะตอมเชื่อมติดกันด้วยพันธะโควาเลนต์ น้ำเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน แต่พบบนโลกที่สถานะของแข็ง (น้ำแข็ง) และสถานะแก๊ส (ไอน้ำ) น้ำยังมีในสถานะของผลึกของเหลวที่บริเวณพื้นผิวที่ขอบน้ำ นอกจากนี้ยังสามารถเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น หิมะ, ธารน้ำแข็ง, และภูเขาน้ำแข็ง, ก้อนเมฆ, หมอก, น้ำค้าง, ชั้นหินอุ้มน้ำ และ ความชื้นในบรรยากาศ น้ำปกคลุม 71% บนพื้นผิวโลก และเป็นปัจจัยสำคัญต่อชีวิต น้ำบนโลก 96.5% พบในมหาสมุทร 1.7% ในน้ำใต้ดิน 1.7% ในธารน้ำแข็งและชั้นน้ำแข็งของทวีปแอนตาร์กติกาและเกาะกรีนแลนด์ ซึ่งเป็นเศษส่วนเล็กน้อยบนผิวน้ำขนาดใหญ่ และ 0.001% พบในอากาศเป็นไอน้ำ ก้อนเมฆ (ก่อตัวขึ้นจากอนุภาคน้ำในสถานะของแข็งและของเหลวแขวนลอยอยู่บนอากาศ) และหยาดน้ำฟ้า น้ำบนโลกเพียง 2.5% เป็นน้ำจืด และ 98.8% ของน้ำจำนวนนั้นพบในน้ำแข็งและน้ำใต้ดิน น้ำจืดน้อยกว่า 0.3% พบในแม่น้ำ ทะเลสาบ และชั้นบรรยากาศ และน้ำจืดบนโลกในปริมาณที่เล็กลงไปอีก (0.003%) พบในร่างกายของสิ่งมีชีวิตและผลิตภัณฑ์ น้ำบนโลกเคลื่อนที่ต่อเนื่องตามวัฏจักรของการระเหยเป็นไอและการคายน้ำ (การคายระเหย) การควบแน่น การตกตะกอน และการไหลผ่าน โดยปกติจะไปถึงทะเล การระเหยและการคายน้ำนำมาซึ่งการตกตะกอนลงสู่พื้นดิน น้ำดื่มสะอาดเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ แม้ว่าน้ำจะไม่มีแคลอรีหรือสารอาหารที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ใดๆ การเข้าถึงน้ำดื่มสะอาดได้เปลี่ยนแปลงไปในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมาในเกือบทุกส่วนของโลก แต่ประชากรประมาณ 1 พันล้านคนยังคงขาดแคลนน้ำดื่มสะอาดและกว่า 2.5 พันล้านคนขาดแคลนสุขอนามัยที่เพียงพอ มีความเกี่ยวพันกันเรื่องน้ำสะอาดและค่า GDP ต่อคน อย่างไรก็ดี นักสังเกตบางคนประมาณไว้ว่าภายในปี..

ดู มนุษย์และน้ำ

น้ำลาย

แพทย์กำลังเก็บตัวอย่างน้ำลายของคนไข้ น้ำลาย คือสสารที่คล้ายน้ำและมักจะเป็นฟอง ถูกผลิตขึ้นในปากของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ เป็นส่วนใหญ่ น้ำลายถูกผลิตขึ้นจากต่อมน้ำลาย น้ำลายของมนุษย์ประกอบด้วยน้ำ 98% ส่วนที่เหลือเป็นอิเล็กโทรไลต์ เมือก สารยับยั้งแบคทีเรีย และเอนไซม์ชนิดต่างๆ เอนไซม์ในน้ำลายสามารถย่อยแป้งที่อยู่ในอาหารในระดับโมเลกุล ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการย่อยอาหาร น้ำลายช่วยชะล้างอาหารที่ติดอยู่ตามซอกฟันและปกป้องไม่ให้เกิดการเน่าเสียจากแบคทีเรีย นอกจากนี้ น้ำลายยังช่วยหล่อลื่นและปกป้องฟัน ลิ้น และเนื้อเยื่ออ่อนบางภายในช่องปาก สัตว์หลายชนิดมีพัฒนาการการใช้น้ำลายเฉพาะทางมากไปกว่าการย่อยอาหาร นกนางแอ่นใช้น้ำลายที่เหนียวคล้ายยางในการสร้างรัง ซึ่งรังนกนางแอ่นนี้ใช้ทำเครื่องดื่มรังนก Marcone, M.

ดู มนุษย์และน้ำลาย

น้ำอสุจิ

น้ำอสุจิ น้ำอสุจิ (Semen, seminal fluid) เป็นสารประกอบอินทรีย์เหลวที่อาจมีตัวอสุจิอยู่ ในภาษาบาลี อะ แปลว่าไม่ สุจิ หรือสุจี แปลว่าสะอาด น้ำอสุจิ จึงแปลว่า น้ำที่ไม่สะอาด เป็นน้ำที่หลั่งออกจากอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์และจากอวัยวะทางเพศอื่น ๆ ของสัตว์เพศชาย และสามารถทำการผสมพันธุ์กับไข่ของเพศหญิงได้ ในมนุษย์ น้ำอสุจิมีองค์ประกอบอื่น ๆ นอกจากตัวอสุจิ คือมีเอนไซม์ต่าง ๆ และน้ำตาลประเภทฟรุกโทส ที่ช่วยเลี้ยงตัวอสุจิให้ดำรงรอดอยู่ได้ และเป็นสื่อเพื่อที่ตัวอสุจิจะเคลื่อนที่ หรือ "ว่ายน้ำ" ไปได้ น้ำอสุจิโดยมากเกิดจากต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ seminal vesicle ว่า "ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ" (หรือมีชื่ออื่นว่า ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ) ซึ่งเป็นอวัยวะอยู่ที่เชิงกราน แต่ว่าตัวอสุจิเองสร้างจากอัณฑะ ส่วนกระบวนการที่นำไปสู่การปล่อยน้ำอสุจิเรียกว่า การหลั่งน้ำอสุจิ ในมนุษย์ น้ำอสุจิเป็นของเหลวสีขาวข้นที่หลั่งออกโดยผู้ชาย เมื่อถึงจุดสุดยอด เมื่อมีเพศสัมพันธ์ เมื่อมีการสำเร็จความใคร่ หรือเมื่อขับออกตามธรรมชาติที่เรียกว่าฝันเปียก โดยจะมีการหลั่งน้ำอสุจิแต่ละครั้งประมาณ 3-4 ซีซี มีจำนวนตัวอสุจิเฉลี่ยประมาณ 300-500 ล้านตัว.

ดู มนุษย์และน้ำอสุจิ

น้ำเงิน บุญหนัก

น้ำเงิน บุญหนัก หรือชื่อจริงว่า สวง จารุวิจิตร และชื่อเล่นว่า เปี๊ยก (เกิด 24 มกราคม พ.ศ. 2483) เป็นนักแสดงและนักพากย์ชาวไทย จบการศึกษาจากโรงเรียนขัตติยาณีผดุงศึกษา เข้าสู่วงการการแสดงครั้งแรกเมื่อปี 2499 จากการชักนำของ ม.ล.ทรงสอางค์ ทิฆัมพร ผลงานแรกคือภาพยนตร์เรื่อง สาปสวรรค์ เมื่อปี..

ดู มนุษย์และน้ำเงิน บุญหนัก

แบบสิ่งเร้า

แบบสิ่งเร้า หรือ แบบความรู้สึก (Stimulus modality, sensory modality) เป็นลักษณะอย่างหนึ่งของสิ่งเร้า หรือเป็นสิ่งที่เรารับรู้เนื่องจากสิ่งเร้า ยกตัวอย่างเช่น เราจะรู้สึกร้อนหรือเย็นหลังจากมีการเร้าตัวรับอุณหภูมิของระบบรับความรู้สึกทางกาย เช่น ด้วยวัตถุที่ร้อน แบบสิ่งเร้าบางอย่างรวมทั้งแสง เสียง อุณหภูมิ รสชาติ แรงดัน กลิ่น และสัมผัส ประเภทและตำแหน่งของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่ทำงานเนื่องจากสิ่งเร้า จะเป็นตัวกำหนดการเข้ารหัสความรู้สึก แบบความรู้สึกต่าง ๆ อาจทำงานร่วมกันเพื่อเพิ่มความชัดเจนของสิ่งเร้าเมื่อจำเป็น.

ดู มนุษย์และแบบสิ่งเร้า

แบล็คชัค

รูปในจินตนาการของแบล็คชัค แบล็คชัค (Black Shuck) เป็นปีศาจสุนัขสีดำตัวใหญ่ตามความเชื่อของชาวยุโรปที่นับถือศาสนาคริสต์ ว่าการปรากฏตัวของมันนำมาซึ่งความตาย ซึ่งทุกทีที่แบล็คชัคปรากฏตัว มักจะเกิดการเผาไหม้และได้กลิ่นของกำมะถันด้ว.

ดู มนุษย์และแบล็คชัค

แบทแมน บีกินส์

แบทแมน บีกินส์ (อังกฤษ: Batman Begins) คือ ภาพยนตร์ชุดแบทแมนลำดับที่ 5 เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2548 กำกับโดย คริสโตเฟอร์ โนแลน นำแสดงโดย คริสเตียน เบล, ไมเคิล เคน, เลียม นีสัน, แคที โฮล์มส์, แกรี โอลด์แมน, ซิลเลียน เมอร์ฟี, มอร์แกน ฟรีแมน, ทอม วิลคินสัน, Rutger Hauer และเค็ง วะตะนะเบะ เนื้อเรื่องของภาพยนตร์แบทแมนภาคนี้เป็นอิสระจากภาพยนตร์ชุดแบทแมนที่สร้างมาก่อนหน้าโดยสิ้นเชิง โดยมีโครงเรื่องที่กล่าวถึงจุดกำเนิดของตัวละครแบทแมน ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากเส้นเรื่องของหนังสือการ์ตูนชุดแบทแมนดั้งเดิม เช่น แบทแมน: เดอะแมนฮูฟอลส์ (Batman: The Man Who Falls) แบทแมน: เยียร์วัน (Batman: Year One) และ แบทแมน: เดอะลองฮัลโลวีน (Batman: The Long Halloween) ที่มาของภาพยนตร์เรื่องนี้ มาจากความคิดของคริสโตเฟอร์ โนแลน และเดวิด เอส.

ดู มนุษย์และแบทแมน บีกินส์

แบดเทสต์ (ภาพยนตร์)

แบดเทสต์ (Bad Taste) เป็นภาพยนตร์จากประเทศนิวซีแลนด์ ผลงานการกำกับโดยปีเตอร์ แจ็กสัน ออกฉายเป็นทางการครั้งแรก ในเดือน ธันวาคม ปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และแบดเทสต์ (ภาพยนตร์)

แบคทีเรียดื้อยา

date.

ดู มนุษย์และแบคทีเรียดื้อยา

แฟรงค์ เฮอร์เบิร์ต

แฟรงคลิน แพทริค เฮอร์เบิร์ต (8 ตุลาคม ค.ศ. 1920 - 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1986) นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงชาวอเมริกัน ผลงานเขียนของเฮอร์เบิร์ตที่ได้รับการยอมรับ คือ นวนิยายเรื่อง ดูน (Dune) ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ..

ดู มนุษย์และแฟรงค์ เฮอร์เบิร์ต

แมรี ลีกคี

แมรี ลีกคี (6 กุมภาพันธ์ 1913 – 9 ธันวาคม 1996) เป็นนักโบราณคดีและนักมานุษยวิทยาชาวอังกฤษ ผู้ค้นพบซากดึกดำบรรพ์กะโหลก Proconsul ชิ้นแรก Proconsul เป็นวานรที่สูญพันธุ์ไปแล้วที่ปัจจุบันเชื่อกันว่าเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ และยังค้นพบกะโหลก Zinjanthropus ทนทานที่โอลดูไวยอร์ช (Olduvai Gorge) ในงานอาชีพส่วนใหญ่ของเธอ เธอทำงานร่วมกับสามี หลุยส์ ลีกคี ในโอลดูไวยอร์ช ขุดค้นเครื่องมือและซากดึกดำบรรพ์ของโฮมินินโบราณ เธอพัฒนาระบบการจำแนกเครื่องมือหินซึ่งพบที่โอลดูไว เธอยังค้นพบรอยเท้าเลโตลี (Laetoli) ในปี 1960 เธอเป็นผู้อำนวยการการขุดค้นที่โอลดูไวและภายหลังได้เข้าควบคุม โดยตั้งเจ้าหน้าที่ของเธอเอง หลังสามีของเธอเสียชีวิต เธอเป็นนักมานุษยวิทยาดึกดำบรรพ์ชั้นนำ และฝึกบุตรชาย ริชาร์ด ในสาขานี้ หมวดหมู่:นักโบราณคดี หมวดหมู่:นักมานุษยวิทยา.

ดู มนุษย์และแมรี ลีกคี

แมลงสาบ

แมลงสาบ (Cockroachs) เป็นแมลงที่อยู่ในอันดับ Blattodea หรือ Blattaria จัดเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตไม่สมบูรณ์ คือ ไม่เป็นตัวหนอนและดักแด้ ปัจจุบันเป็นแมลงที่พบกระจายไปแล้วทั่วโลก โดยติดไปกับยานพาหนะต่าง ๆ พบได้ถึงขนาดบนเครื่องบินโดยสาร ถือเป็นสัตว์ที่เป็นพาหะนำโร.

ดู มนุษย์และแมลงสาบ

แมลงสาบมาดากัสการ์

แมลงสาบมาดากัสการ์ (Giant hissing cockroach, Madagascan giant hissing cockroach, เรียกสั้น ๆ ว่า Hissing cockroach หรือ Hisser) เป็นแมลงชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gromphadorhina portentosa อยู่ในวงศ์แมลงสาบยักษ์ (Blaberidae) อันดับแมลงสาบ (Blattodea) แมลงสาบมาดากัสการ์เป็นแมลงสาบที่ไม่มีปีก ไม่มีแม้แต่แผ่นปีกเล็กปรากฏให้เห็นในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิตหลังจากฟักจากไข่ ตัวเต็มวัยมีลำตัวสีน้ำตาลเข้ม และมีสีส้มอมเหลืองพาดอยู่ด้านบนของส่วนท้อง ตัวเต็มวัยมีขนาดลำตัวยาวได้ถึง 7-10 เซนติเมตร และมีน้ำหนักตัว 20-25 กรัมโดยประมาณ เป็นแมลงสาบที่เคลื่อนไหวได้ช้า มีกลิ่นฉุนเล็กน้อย และไม่ทำร้ายมนุษย์ จึงมีผู้นิยมนำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง เพราะความแปลก โดยปกติอาศัยอยู่ใต้ซากใบไม้ที่หล่นปกคลุมผิวดินในป่า อันเป็นแหล่งอาศัยธรรมชาตินอกบ้านที่อยู่อาศัยของมนุษย์ กินซากลูกไม้ ใบไม้ หรือผลไม้ที่หล่นอยู่ในบริเวณป่า อย่างไรก็ตามแมลงสาบชนิดนี้ก็เหมือนแมลงสาบทั่วไป คือ กินอาหารได้เกือบทุกชนิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง กิจกรรมส่วนใหญ่รวมทั้งกิจกรรมออกหาอาหารเกิดขึ้นในเวลากลางคืน ส่วนในเวลากลางวันจะหลบซ่อนตัวตามขอนไม้หรือกองใบไม้ในป่า มีการกระจายพันธุ์บนเกาะมาดากัสการ์ และตามหมู่เกาะใกล้เคียงกัน คือ แถบชายฝั่งทางทวีปแอฟริกาตะวันออก มีวงชีวิตแบบไม่สมบูรณ์คือ มีระยะไข่, ระยะตัวอ่อน และระยะตัวเต็มวัย ตัวเมียวางไข่หลายใบในถุงไข่ ถุงไข่จะถูกเก็บไว้ภายในลำตัวนานประมาณ 60 วัน จนกระทั่งไข่ฟักออกมาเป็นตัวภายในลำตัวแม่ จากนั้นตัวอ่อนระยะแรกจะออกมาจากลำตัวแม่ ทำให้ดูคล้ายว่าออกลูกเป็นตัว สามารถให้ลูกได้ครั้งละ 30-60 ตัว มีระยะตั้งท้องประมาณ 60 วัน ตัวอ่อนมีรูปร่างคล้ายตัวเต็มวัย ต่างกันที่ขนาดเล็กกว่าลำตัวของตัวอ่อนจะมีรูปร่างเป็นรูปไข่ยาวรีมากกว่า แมลงสาบที่เพิ่งลอกคราบใหม่ ๆ ลำตัวจะมีสีขาว จากนั้นภายใน 2-3 ชั่วโมง สีลำตัวจะค่อย ๆ เข้มขึ้นจนกลายเป็นสีน้ำตาลเข้มในที่สุด เป็นผลจากการสร้างเม็ดสีเมลานินมาสะสมบนผิว ตัวอ่อนตามปกติลอกคราบ 6 ครั้ง จากนั้นเข้าสู่ตัวเต็มวัย เข้าสู่ตัวเต็มวัยเมื่ออายุได้ 6-7 เดือน สามารถออกลูกได้ 3-4 ครั้งต่อปี มีอายุยืนถึง 2-5 ปี มีลักษณะพิเศษ คือ ตัวเต็มวัยของและตัวอ่อนในระยะหลังสามารถทำเสียงได้ เสียงนั้นคล้ายเสียงขู่ของงู อันเป็นที่ชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ อวัยวะที่ให้กำเนิดเสียงของแมลงสาบชนิดนี้อยู่ที่รูหายใจ ที่อยู่บริเวณด้านข้างของท้องปล้องที่ 4 ทั้งสองข้าง การทำเสียงเพื่อใช้ในการเกี้ยวพาราสีก่อนผสมพันธุ์ ตัวผู้จะส่งเสียงขู่เพื่อไล่ตัวผู้อื่น ๆ เพื่อแย่งตัวเมีย นอกจากนี้เสียงขู่ยังใช้สำหรับป้องกันตัวเองจากศัตรูด้วย แมลงสาบมาดากัสการ์เคยตกเป็นข่าวตามหน้าสื่อครั้งหนึ่ง เมื่อปรากฏว่าอาจเป็นพาหะนำโรคจากต่างแดนมาสู่ในประเทศไทยได้ จากการมีพบว่าได้กลายเป็นสัตว์เลี้ยงของผู้ที่มีรสนิยมเลี้ยงสัตว์แปลก ๆ เพราะจากผลรายงานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่ามีเชื้อแบคทีเรียถึง 45 ชนิด และยังตรวจพบหนอนพยาธิตัวจี๊ดอีก 22 ชนิด จึงมีการสั่งห้าม และนำตัวที่ยังมีชีวิตอยู่กว่า 500 ตัวไปทำลายโดยการเผา แมลงสาบมาดากัสการ์มีรายชื่ออยู่ในบัญชีหมายเลข 2 (Appendix II) ตามบัญชีของไซเตส และมีรายชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.

ดู มนุษย์และแมลงสาบมาดากัสการ์

แมลงทับ

แมลงทับ (Jewel beetle, Metallic wood-boring beetle, Buprestid) เป็นแมลงในอันดับแมลงปีกแข็ง (Coleoptera) โดยจัดอยู่ในวงศ์ Buprestidae แมลงทับมีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวยาวโค้งนูน ส่วนที่เป็นปีกแข็งมีความแข็งมาก หัวมีขนาดเล็กซ่อนอยู่ใต้อกปล้องแรกซึ่งโค้งมนเรียวไปทางหัวเชื่อมกับอกปล้องกลางซึ่งกว้างกว่าส่วนอื่น ๆ ท้องมนเรียวไปทางปลายหาง ปีกแข็งหุ้มส่วนท้องจนหมด มีหนวดที่เป็นแบบใบไม้ มีลักษณะเด่น คือ มีสีสันที่สวยงามมาก หลายชนิด หลายสกุลมีสีเงางามแวววาวราวกับอัญมณี หลายชนิดเป็นสีที่หลากหลาย ทั้ง น้ำเงิน, แดง, ดำ และเหลือง จึงทำให้แมลงทับถูกมนุษย์จับนำมาใช้ทำเป็นเครื่องประดับต่าง ๆ มานานแล้วในหลายชนชาติ แมลงทับพบในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ปัจจุบันพบแล้วกว่า 15,000 ชนิด ใน 450 สกุล และที่สูญพันธุ์ไปแล้วเป็นซากดึกดำบรรพ์กว่า 100 ชนิด บางชนิดมีความยาวถึง 77 มิลลิเมตร แมลงทับเมื่อขยายพันธุ์ จะเจาะเข้าไปวางไข่ในต้นไม้หรือวางไข่ไว้ในดินใกล้รากของไม้ที่ตัวหนอนจะกินเป็นอาหาร จึงนับเป็นแมลงศัตรูพืชอีกจำพวกหนึ่ง ซึ่งแมลงทับใช้เวลาในการเป็นไข่-ตัวหนอน-ดักแด้ราว 1 ปี เหมือนเช่นแมงคีมหรือด้วงกว่าง อันเป็นแมลงปีกแข็งแต่ต่างวงศ์กัน แมลงทับนับเป็นแมลงปีกแข็งที่บินได้เร็วและสูงมาก และเมื่อถูกรบกวนจะมีพฤติกรรมแกล้งตาย โดยจะอยู่เฉย ๆ หรือหล่นจากต้นไม้ที่เกาะอยู่เพื่อลวงศัตรูให้เข้าใจผิดว่าตายแล้ว สำหรับแมลงทับชนิดที่พบในประเทศไทย มีอยู่ 2 ชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด คือ แมลงทับกลมขาเขียว (Sternocera aequisignata) พบมากในภาคกลาง และแมลงทับกลมขาแดง (S.

ดู มนุษย์และแมลงทับ

แมงคีม

แมงคีม หรือ ด้วงเขี้ยวกาง หรือ ด้วงคีม (Stag beetle) เป็นแมลงปีกแข็งในวงศ์ Lucanidae ซึ่งยังแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยอีก 4 วงศ์ (ดูในตาราง) พบประมาณ 1,200 ชนิด แมงคีมมีลักษณะเด่นคือ ในตัวผู้จะมีขากรรไกรล่างที่มีขนาดใหญ่และกางเข้าออกได้เหมือนคีมหรือกรรไกรอันเป็นที่มาของชื่อเรียก ซึ่งใช้สำหรับเป็นอาวุธในการต่อสู้กันและแย่งตัวเมียเช่นเดียวกับแมลงปีกแข็งในวงศ์ Dynastinae ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดและขากรรไกรเล็กกว่า มีสีลำตัวที่อ่อนกว่า แมงคีมมีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 12 เซนติเมตร ขณะที่บางชนิดที่ขนาดเล็กมีความยาวเพียง 5 เซนติเมตรเท่านั้น มีลำตัวโดยรวมค่อนข้างแบน มีหนวดแบบหักเหมือนข้อศอก โดยมีปล้องแรกยาวและปล้องต่อ ๆ ไปเป็นปล้องสั้น ๆ เรียงตัวกันในทิศทางเดียวกันแต่เป็นคนละทิศกับหนวดปล้องแรก ปล้องใกล้ส่วนปลายมีหลายปล้องที่ขยายใหญ่ขึ้นเป็นปมอาจจะประกอบไปด้วยปล้องเล็ก ๆ 3-4 ปล้อง หรือ 5-6 ปล้อง ซึ่งจำนวนปล้องที่ปลายหนวดนี้มีส่วนสำคัญในการอนุกรมวิธานด้วย แมงคีมวางไข่และตัวหนอนเจริญเติบโตในซากไม้ผุเช่นเดียวกับแมลงปีกแข็งในวงศ์ Dynastinae แต่จะไม่วางไข่ในดิน เพราะระยะเป็นตัวหนอนจะกินอาหารจำพวกไม้ผุหรือเห็ดราที่ติดมากับไม้เหล่านั้น แตกต่างกันไปตามชนิดหรือสกุล โดยใช้เวลาฟักเป็นตัวเต็มวัยนานเป็นแรมปีเหมือนกัน แมงคีมพบได้ทั่วโลก ปกติเป็นแมลงที่ไม่ก้าวร้าวต่อมนุษย์ ในประเทศไทยสามารถพบได้หลายชนิด อาทิ แมงคีมยีราฟ (Prosopocoilus giraffa) ซึ่งเป็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ มีที่มีขนาดพอ ๆ กับนิ้วมือมนุษย์ พบได้ในป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้งในภาคเหนือและภาคตะวันออก เป็นชนิดที่หายากใกล้สูญพันธุ์มากแล้ว และมีรายชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.

ดู มนุษย์และแมงคีม

แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ

แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ (bioelectromagnetism) หรือ ไฟฟ้าชีวภาพ (bioelectricity) หมายถึงพลังงานไฟฟ้า พลังงานแม่เหล็ก หรือสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากเซลล์ เนื้อเยื่อ หรือสิ่งมีชีวิตต่างๆ ตัวอย่างนี้รวมไปถึง ศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ (membrane potential) และกระแสไฟฟ้าที่ไหลอยู่ในเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ ซึ่งก่อให้เกิดศักยะงาน (action potential) คำนี้ไม่ควรสับสนกับ bioelectromagnetics ซึ่งเป็นการศึกษาผลกระทบของสิ่งมีชีวิตจากพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าภายนอก.

ดู มนุษย์และแม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ

แรด

แรด เป็นสัตว์อยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กีบคี่ ในวงศ์ Rhinocerotidae แรดถือว่าเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ อาจเรียกได้ว่าเป็นสัตว์บกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองจากช้างก็ว่าได้ เพราะแรดอาจมีขนาดยาวได้ถึง 3.6-5 เมตร ความสูงของไหล่ 1.6-2 เมตร น้ำหนัก 2.3-3.6 ตัน.

ดู มนุษย์และแรด

แรดอินเดีย

แรดอินเดีย จัดเป็นแรด 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่พบได้ในทวีปเอเชีย และเป็นสายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดที่พบในทวีปแห่งนี้.

ดู มนุษย์และแรดอินเดีย

แร็กคูน

แร็กคูน (raccoon, common raccoon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Procyon lotor อยู่ในวงศ์แร็กคูน (Procyonidae) มีความยาวลำตัวราว 2 ฟุต มีหางเป็นพวงมีแถบสีดำคาดเป็นปล้อง ๆ ยาวราว 10 นิ้ว ขนตามลำตัวสีน้ำตาลปนเทา ใบหน้าสีขาวมีแถบสีดำคาดจากตาไปเป็นแถบตลอดแก้ม แลดูคล้ายเหมือนโจรสวมหน้ากาก เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ไปทั่วในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกากลางในหลายพื้นที่ ทั้งในป่า หรือแม้แต่ชุมชนของมนุษย์ เป็นสัตว์ที่สามารถปรับตัวได้เป็นอย่างดี กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งเนื้อสัตว์และพืช อีกทั้งยังชอบที่จะอยู่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำด้วยการจับสัตว์น้ำกินเป็นอาหาร เช่น กบ, ปลา, กุ้ง และปู หรือเต่าขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งนกหรือแมลงปีกแข็งขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ด้วย แต่ไม่สามารถที่จะว่ายน้ำได้ จะใช้วิธีการจับในน้ำตื้น ๆ ที่ขาหยั่งถึงแทน ในช่วงฤดูแล้งที่อาหารขนาดแคลนก็จะกินลูกไม้, ผลไม้ และดอกข้าวโพด เป็นอาหาร หรืออาจจะบุกเข้าไปในบ้านเรือนของมนุษย์ ขุดคุ้ยหาขยะหรือเศษอาหาร หรือแม้กระทั่งเปิดตู้เย็นหากิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ใช้เท้าหน้าได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนมือสำหรับหยิบจับอาหาร ซึ่งสามารถกระทำได้ถึงขนาดคลายปมเชือก และยังเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมพิเศษ คือ ก่อนจะกินอาหาร มักจะนำไปล้างน้ำเสียก่อน จนมีความเชื่อว่าเป็นสัตว์รักสะอาด แต่ความจริงแล้ว เป็นพฤติกรรมที่จะนวดอาหารให้นิ่มซะก่อน ก่อนที่จะกิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ปีนต้นไม้เก่ง ทำรังอยู่บนยอดไม้และใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ ในเวลากลางวันจะนอนขดอยู่ตามพงไม้ หรือซอกหิน หรือนอนผึ่งแดดอยู่ในรัง ในตอนกลางคืนจะออกหากิน โดยใช้เส้นทางเดิม และมักจะใช้เส้นทางที่เป็นพื้นแข็ง เพื่อไม่ให้เกิดรอยเท้า ตัวเมียออกลูกครั้งละ 4-6 ตัว ในโพรงไม้ ในช่วงฤดูหนาวที่หิมะตกและอาหารขาดแคลน แร็กคูนจะใช้เวลาช่วงนี้ในการจำศีลตลอดฤดูกาล แร็กคูน เป็นสัตว์ที่มีความน่ารัก จึงมีผู้นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง อีกทั้งขนและหนังมีความหนานุ่มและสีสวย จึงมีการล่าเพื่อทำเป็นเสื้อขนสัตว์ด้วย ปัจจุบันกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรปกลาง โดยแร็กคูนถูกนำเข้าไปในเยอรมนีครั้งแรกเมื่อปี..

ดู มนุษย์และแร็กคูน

แร้ง

แร้งสีน้ำตาล (''Gyps indicus'') แร้ง หรือ อีแร้งบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ดู มนุษย์และแร้ง

แร้งเทาหลังขาว

แร้งเทาหลังขาว (อังกฤษ: The Indian White-rumped Vulture; ชื่อวิทยาศาสตร์: Gyps bengalensis) นกล่าเหยื่อจำพวกอีแร้งชนิดหนึ่ง.

ดู มนุษย์และแร้งเทาหลังขาว

แลนโด คาลริสเซียน

แลนโด คาลริสเซียน (Lando Calrissian) เป็นตัวละครในเรื่องแต่งชุดสตาร์ วอร์ส แสดงโดยบิลลี ดี วิลเลียมส์ ในภาพยนตร์จักรวรรดิเอมไพร์โต้กลับและการกลับมาของเจได และมีบทบาทในเรื่องแต่งในจักรวาลขยายอีกหลายเรื่อง โดยเฉพาะในชุดเลเจน.

ดู มนุษย์และแลนโด คาลริสเซียน

แอนดรอยด์

หุ่นแอนดรอยด์รูปร่างผู้หญิงในชื่อว่า แอกทรอยด์ DER ผลิตจากประเทศญี่ปุ่น แอนดรอยด์ (android) คือ หุ่นยนต์ที่สร้างขึ้นมาเลียนแบบมนุษย์ โดยปกติแล้วทั้งทางด้านกายภาพและพฤติกรรม คำนี้ผันมาจากคำกรีก andr- หมายถึง "มนุษย์, เพศชาย" และปัจจัยเสริมท้าย -eides ซึ่งเคยมีความหมายว่า "ในสปีชีส์ของ, เหมือนกับ" (จากคำว่า eidos หมายถึง "สปีชีส์") คำว่า "ดรอยด์" ซึ่งหมายถึงหุ่นยนต์ในเรื่อง สตาร์ วอร์ส ก็ผันมาจากความหมายนี้.

ดู มนุษย์และแอนดรอยด์

แอนโทรโปซีน

แอนโทรโปซีน (Anthropocene) เป็นชื่อที่ใช้เรียกสมัย (Epoch) ทางธรณีวิทยาอย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งหมายถึงระยะช่วงเวลาไม่นานมานี้ ที่การดำรงอยู่และพฤติกรรมของมนุษย์ ทำให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศของโลกอย่างมีนัยสำคัญ ชื่อนี้เคยถูกเสนอเข้าพิจารณาเป็นชื่อหน่วยทางธรณีกาลในที่ประชุมสมาคมธรณีวิทยาแห่งลอนดอนในปี 2008 ปัจจุบันยังไม่ได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ แต่ได้การยอมรับจากนักธรณีวิทยาเป็นจำนวนมาก ชื่อ แอนโทรโปซีน ได้รับการบัญญัติโดยพอล ครุตเซอร์ นักฟิสิกส์เคมีชาวเนเธอร์แลนด์ ระหว่างการบรรยายทางวิชาการครั้งหนึ่งในปี 2000 โดยเทียบเคียงมาจากชื่อ สมัยโฮโลซีน มาจากคำว่า anthropo- (แปลว่า มนุษย์) และ -cene (แปลว่า ใหม่) สมัยแอนโทรโปซีน ยังไม่ได้รับการบัญญัติวันเริ่มต้นอย่างแน่นอน นักธรณีวิทยาบางส่วนเสนอให้นับตั้งแต่การเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรม ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในขณะที่บางส่วนเสนอว่าเนื่องจากการกระทำของมนุษย์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการสูญพันธุ์ของสัตว์ป่า สามารถนับย้อนไปได้ถึง 14,000 ถึง 15,000 ปี สมัยแอนโทรโปซีนจึงควรนับย้อนไปประมาณหลายพันปีก่อนหน้านี้.

ดู มนุษย์และแอนโทรโปซีน

แอ่งเลือดโคโรนารี

แอ่งเลือดโคโรนารี (Coronary sinus) คือ แอ่งที่มีการรวมหลอดเลือดเวนเส้นต่างๆเข้าด้วยกันกลายเป็นหลอดเลือดที่มีขนาดใหญ่ ทำหน้าที่รับเลือดจากกล้ามเนื้อหัวใจ (myocardium) และส่งเลือดซึ่งมีแก๊สออกซิเจนต่ำไปยังหัวใจห้องบนขวา (right atrium) เช่นเดียวกับหลอดเลือดเวนาคาวาด้านบนและหลอดเลือดเวนาคาวาด้านล่างที่รับเลือดเสียจากส่วนต่างๆของร่างกายแล้วส่งไปยังหัวใจห้องบนขวา โดยแอ่งเลือดโคโรนารีนั้นสามารถพบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมรวมทั้งมนุษย์ด้วย แอ่งเลือดโคโรนารีเปิดเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาที่รูเปิดโคโรนารี ไซนัส ซึ่งอยู่บริเวณระหว่างหลอดเลือดเวนาคาวาด้านล่างกับรูเปิดแอนตริโอเวนตริคูลาร์ด้านขว.

ดู มนุษย์และแอ่งเลือดโคโรนารี

แอเรียล

แอเรียล เป็นตัวละครในนวนิยายและเป็นชื่อเรื่องของภาพยนตร์ภาพเคลื่อนไหวในลำดับที่ 28 ในปี 1989 แอเรียลได้ปรากฏตัวบนจอภาพยนตร์ก่อนมีการนำขึ้นฉายบนจอทีวีและตามมาด้วยวีดิโอ เงือกน้อยผจญภัยภาค 2 ตอนวิมานรักใต้สมุทร เป็นการนำเอาลูกสาวของแอเรียลมาเป็นตัวละครหลักในการดำเนินเรื่องแทน และได้มีการนำมาทำเป็นวีดิโอให้ชมก่อนภาคแรกอีกด้วย เสียงของแอเรียลถูกพากย์โดย Jodi Benson อย่างเป็นทางการในทุกครั้งและทุกที่ที่มีการปรากฏตัวของเธอ แอเรียลเป็นเจ้าหญิงในลำดับที่ 4 ของเจ้าหญิงดิสนีย์และเป็นเจ้าหญิงองค์เดียวที่มีบทบาทของการเป็นแม่ของลูกตนเองอย่างแท้จริง แอเรียลมีลักษณะเฉพาะของตัวเองที่เด่นชัด เช่นผมยาวสีแดงที่ดูมีน้ำหนัก ตาสีฟ้า หางเงือกสีเขียว และชุดว่ายน้ำชิ้นส่วนบนของผู้หญิงที่เป็นรูปฝาหอยสีม่วง เรื่องราวในภาพยนตร์และจอทีวี แอเรียลเป็นลูกสาวคนที่ 7 ของราชาไทรทัน (Triton) และราชินีอาเธน่า (Athena) แห่งอาณาจักรใต้น้ำ เมอโฟร์ก (Merfolk) แอเรียลมีความดื้อรั้นอยู่ในตัวบ่อย ๆ เนื่องจากความอยากรู้อยากเห็นที่จะเป็นส่วนหนึ่งของโลกมนุษย์ แอเรียลแต่งงานกับเจ้าชายเอริค (Eric) บุคคลที่เธอช่วยชีวิตไว้หลังจากเรือล่ม และทั้งคู่ก็ได้มีลูกสาวด้วยกันหนึ่งคนชื่อเมโลดี้ (Melody) ตัวละครตัวนี้อ้างอิงมาจากตัวละครจากบทประพันธ์ “เงือกน้อยผจญภัย” “The Little Mermaid” ของ Hans Christian Andersen แต่ได้มีการถูกพัฒนาและเปลี่ยนแปลงลักษณะนิสัยเพื่อการสร้างภาพเคลื่อนไหวในปี 1989 แอเรียลได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ที่หลากหลาย บางสำนักพิมพ์เช่น Time ได้วิจารณ์แอเรียลว่าเธอได้ทุ่มเทมากเกินไปให้กับผู้ชาย ในขณะที่ สำนักพิมพ์ Empire ยกย่องในความดื้อรั้นและลักษณะนิสัยของเธอที่ไม่เหมือนเจ้าหญิงองค์อื่น ๆ ของดิสนี.

ดู มนุษย์และแอเรียล

แจ็ค ข้อเท้าสปริง

วาดแจ็ค ข้อเท้าสปริง ในปี ค.ศ. 1890 แจ็ค ข้อเท้าสปริง (Spring Heeled Jack) เป็นตัวละครตัวหนึ่งในคติชนวิทยาอังกฤษ ว่ากันว่าเป็นผู้ต้องหาลึกลับที่ก่อคดีลวนลามผู้หญิงหลายรายในยุควิคตอเรียของประวัติศาสตร์อังกฤษ ที่จนถึงบัดนี้ก็ยังไม่รู้ว่าเป็นใคร โดยแต่งตัวประหลาดคล้ายผีหรือปีศาจรูปร่างผอมสูง และสามารถกระโดดได้สูงมากผิดมนุษย์ปกติธรรม.

ดู มนุษย์และแจ็ค ข้อเท้าสปริง

แขน

แขน เป็นส่วนหนึ่งในร่างกายของมนุษย์อยู่ระหว่างไหล่กับข้อศอก ใช้ในการเคลื่อนที่ สัตว์บางชนิดจะมีแขนเช่นลิงในการหยิบจับหรือคลาน ส่วนปลายแขนหมายถึงแขนตั้งแต่ไหล่จนถึงข้อศอก ต้นแขนหมายถึงหมายถึงแขนตั้งแต่ข้อศอกจนถึงมือ โครงสร้างของแขน.

ดู มนุษย์และแขน

แคปต์ชา

นี่คือแคปต์ชาของ "smwm" ที่ถูกปิดบังข้อความจากการตีความของคอมพิวเตอร์ โดยการบิดตัวอักษรและเพิ่มการไล่ระดับสีพื้นหลังเล็กน้อย โดยปกติแล้วแคปต์ชาจะมีช่องข้อความข้างใต้ ซึ่งจะเป็นที่ที่ให้ผู้ใช้ใส่ข้อความที่พวกเขาเห็น โดยในกรณีนี้คือ ''"sclt..was here"'' แคปต์ชา (CAPTCHA) คือการทดสอบเพื่อเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แบบโต้ตอบชนิดหนึ่ง เพื่อทดสอบว่าผู้ใช้งานเป็นมนุษย์จริงหรือไม่ (ว่าไม่ใช่บอตหรือโปรแกรมอัตโนมัติ) คำว่า CAPTCHA ย่อมาจาก "Completely Automated Public Turing test to tell Computers and Humans Apart" (การทดสอบของทัวริงสาธารณะแบบอัตโนมัติเพื่อแยกแยะว่าเป็นคอมพิวเตอร์กับมนุษย์อย่างสมบูรณ์) คำนี้ได้ถูกยกย่องในปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และแคปต์ชา

โบราณสถาน

ีย์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาตัวอย่างโบราณสถาน แหล่งโบราณคดี (archaeological site) เป็นสถานที่ที่ก่อสร้างโดยฝีมือมนุษย์หรือสถานที่ที่พบร่องรอยของกิจกรรมของมนุษย์ในอดีตที่มีคุณค่าในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี.

ดู มนุษย์และโบราณสถาน

โบราณคดี

การขุดค้นซากโบราณ โบราณคดี (Archaeology) คือ วิชาที่ว่าด้วย การศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ โดยผ่านทางการศึกษาหลักฐานทางโบราณคดี ที่ได้มาจากการสำรวจ การขุดค้น (โบราณวัตถุ) การขุดแต่ง (โบราณสถาน) และการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ (ศิลาจารึก จดหมายเหตุ พงศาวดาร) โดยทั่วไป จะต้องใช้ศาสตร์ด้านอื่นๆ ประกอบในการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางโบราณคดีที่ได้จากกระบวนการข้างต้น เพื่อให้เรื่องราวในอดีตของมนุษย์มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ศาสตร์เหล่านั้น เช่น ประวัติศาสตร์ศิลปะ ธรณีวิทยา สัตววิทยา พฤกษศาสตร์ เรณูวิทยา การกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ที่ประเทศไทย มีการเปิดสอนคณะโบราณคดี ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ เป็นเพียงที่เดียวในประเทศไท.

ดู มนุษย์และโบราณคดี

โบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์

ราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ เป็นการศึกษาวิวัฒนาการของมนุษย์เริ่มต้นขึ้นโดยอาศัยระยะเวลายาวนานจากบรรพบุรุษของมนุษย์เมื่อราว 3 ล้านปีก่อน จนกระทั่งกลายมาเป็น Homo Sapeins sapiens ในปัจจุบัน ในประเทศไทยเอง วิวัฒนาการของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์อาจสืบย้อนไปได้ราว 90,000 ปีที่ผ่านมาเท่านั้นเอง ในขณะที่นักโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติรวมถึงนักวิชาการสาขาอื่น ๆ ต่างก็พยายามค้นหามนุษย์ "โฮโม อีเรคตัส"ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์สกุลหนึ่งในประเทศไทย เหตุที่มีการพยายามตามหามนุษย์โฮโม อีเรคตัสในประเทศไทยนี้ สืบเนื่องมาจากทฤษฎีการแพร่กระจายของมนุษย์โดยการเคลื่อนย้ายออกจากแอฟริกา (Out of Africa)โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกระจายตัวออกไปไกลเกินทวีปยุโรปเมื่อราว 1.6 ล้านปีมาแล้ว การแพร่กระจายมายังเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้มีหลักฐานปรากฏโด่งดังที่สุดได้แก่ "มนุษย์ปักกิ่ง" ที่พบจากการขุดค้นที่ถ้ำโจวโข่วเถี้ยนในประเทศจีนและ "มนุษย์ชวา" ที่พบในอินโดนีเซีย สัณฐานของโครงกระดูกทั้งสองนี้บ่งชี้ว่าเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์genusโฮโม species อีเรคตัส จะเห็นว่าพื้นที่ที่เป็นรอยต่อระหว่างจีนกับอินโดนีเซียได้แก่ภาคพื้นทวีปอุษาคเนย์นี่เอง สภาพแวดล้อมเขตร้อนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นจุดที่เหมาะแก่การอยู่อาศัยในช่วงไพลสโตซีนตอนต้น (Early Pleistocene 1.8 - 0.73 MA) แบ่งตามการแบ่งยุคสมัยทางธรณีวิทยาของ ดร.รัศมี ชูทรงเดช ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า ดินแดนประเทศไทยในปัจจุบันเป็น missing link ดังกล่าว.

ดู มนุษย์และโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์

โบโรเมียร์

โบโรเมียร์ เป็นตัวละครตัวหนึ่งในนิยายเรื่อง เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ งานประพันธ์ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ปรากฏในหนังสือภาคแรกและช่วงต้นของภาคที่สอง โบโรเมียร์เป็นมนุษย์ชาวกอนดอร์ บุตรชายคนโตของเดเนธอร์ สจ๊วตแห่งกอนดอร์คนสุดท้าย และเป็นพี่ชายของฟาราเมียร์ เขาเกิดในปีที่ 2978 ของยุคที่สาม มีร่างกายสูงใหญ่ ผมสีดำ นัยน์ตาสีเทา เป็นผู้ทระนงองอาจ เก่งกล้าในการรบ และมีความเชื่อมั่นในศักดิ์ศรีของอาณาจักรแห่งชาวดูเนไดน์มาก โบโรเมียร์ได้เป็นผู้นำกองกำลังชาวกอนดอร์เข้าต่อกรกับทัพของเซารอนหลายครั้ง ก่อนที่เขาจะออกเดินทางไปยังริเวนเดลล์ เนื่องจากนิมิตฝันที่มองเห็น "ยมทูตแห่งอิซิลดูร์" ที่ริเวนเดลล์ โบโรเมียร์ได้เข้าร่วมในที่ประชุมของเอลรอนด์ และได้เข้าร่วมคณะพันธมิตรแห่งแหวน โดยในเบื้องต้นเขาคิดจะเดินทางกลับไปยังแผ่นดินเกิดที่กอนดอร์ และจะแยกจากคณะที่นั่น ทว่าเมื่อเดินทางไปได้เพียงชายแดนกอนดอร์ โบโรเมียร์ก็ได้หลงใหลในตัวแหวนเอกเข้าจึงพยายามเกลี้ยกล่อมแกมบังคับโฟรโด แบ๊กกิ้นส์ให้มอบแหวนเอกแก่ตนเพื่อนำไปที่มินัสทิริธและนำไปใช้สู้กับเซารอน แต่โฟรโดไม่ยอมให้ โบโรเมียร์จึงได้ใช้กำลังแย่งแหวนทำให้โฟรโดหวาดกลัวจึงใช้แหวนเอกในการหลบหนีไป เมื่อโฟโดรหายตัวไปทำให้โบโรเมียร์โกรธและว่ากล่าวร้ายโฟรโดและฮอบบิท แต่ก็ได้สติก็เกิดเสียใจและเรียกร้องให้โฟรโดกลับมาหาตน แต่โฟรโดก็ไม่กลับมาเลย ทำให้คณะพันธมิตรแห่งแหวนต้องออกตามหาโฟรโดกันใหญ่ แต่ระหว่างนั้นเมอร์รี่และปิ๊นปิ๊นก็ถูกพวกออร์คมาจับตัวไป โบโรเมียร์ได้เข้าช่วยเหลือพวกเขาอย่างกล้าหาญ จนถูกสังหารในที่สุด ก่อนตาย โบโรเมียร์ได้สารภาพผิดต่อ อารากอร์นว่า ตนพยายามจะแย่งแหวนจากโฟรโด และขอร้องให้ช่วยเหลือเมืองมินัสทิริธและกอร์ดอร์ให้ได้ หลังจากนั้น อารากอร์น เลโกลัส และกิมลี ช่วยกันนำร่างของโบโรเมียร์ใส่ลงในเรือ พร้อมอาวุธและแตรแห่งกอนดอร์ที่แตกเป็นสองเสี่ยง ลอยเรือออกไปจนเรือล่วงผ่านน้ำตกเรารอส ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ปีที่ 3019 ของยุคที่สาม หมวดหมู่:ตัวละครในเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ de:Figuren in Tolkiens Welt#Boromir simple:Middle-earth characters#Boromir.

ดู มนุษย์และโบโรเมียร์

โบโนโบ

นโบ หรือ ชิมแปนซีแคระ (Bonobo, Dwarf chimpanzee, Pygmy chimpanzee).

ดู มนุษย์และโบโนโบ

โพรมีเทียส

วาดโพรมีเธียสขโมยไฟมาให้มนุษย์ วาดโดย ไฮน์ริช ฟูเกอร์ ในปี ค.ศ. 1817 โพรมีเทียส หรือ โพรมีทีอูส (Prometheus, Προμηθεύς แปลว่า มองการณ์ไกล) เป็นเทพไททันองค์หนึ่งที่มีความเฉลียวฉลาด เป็นผู้ขโมยไฟจากเฮสเทีย เทพีแห่งเตาไฟ ลงไปให้มนุษย์ จึงทำให้มนุษย์รู้จักใช้ไฟในการหุงหาอาหารและใช้เพื่อแสงสว่างจนสามารถสร้างอารยธรรมต่างๆ ได้ จึงทำให้ซูสโกรธและลงโทษโพรมีเทียสด้วยการขังไว้ในถ้ำบนคอคาซัส และมีนกอินทรียักษ์มาจิกกินตับของโพรมีเทียสทุกวันโดยที่ไม่ตาย และทุกคืนตับของโพรมีเทียสจะงอกใหม่เพื่อให้นกอินทรียักษ์จิกกินในวันรุ่งขึ้น แต่สำหรับมนุษย์แล้ว โพรมีเทียสถือว่าเป็นเทพที่กล้าหาญและเป็นเพื่อนที่ดีต่อมนุษย์ จึงได้รับการยกย่องและนับถือ.

ดู มนุษย์และโพรมีเทียส

โกคุเดระ ฮายาโตะ

กคุเดระ ฮายาโตะ เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดย ฮิเดคาซุ อิจิโน.

ดู มนุษย์และโกคุเดระ ฮายาโตะ

โมะโมะตะโร

รูปปั้นโมะโมะตะโรและสัตว์สหายทั้งสาม ตุ๊กตาโมะโมะตะโร โมะโมะตะโร (桃太郎 Momotarō) เป็นหนังแอคชั่นเรื่องหนึ่งของญี่ปุ่น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในหลายๆประเทศทั่วโลก เรื่องราวเกี่ยวกับเด็กชายที่เกิดมาจากค้อนธอร์ ผู้เปี่ยมไปด้วยความกล้าหาญ ซึ่งภายหลังได้เดินทางทางไปปราบ ธานอส ที่เกาะใจกลางเมืองลอนดอน พร้อมกับสัตว์สหายทั้งสามคือ ซูเปอร์แมน กรูท และดร.สเตรนจ์ โดยเรื่องราวของเทพนิยายเรื่องนี้ ได้ดำเนินอยู่ในช่วงรัชสมัยเอโดะของญี่ปุ่น.

ดู มนุษย์และโมะโมะตะโร

โมโนทรีม

มโนทรีม หรือ โมโนทรีมาทา (Monotremata) เป็นอันดับในการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์อันดับหนึ่ง อยู่ในชั้น Mammalia หรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และอยู่ในชั้นย่อยโมโนทรีม (บางครั้งเรียกชั้นย่อยนี้ว่า Prototheria) สัตว์ในอันดับโมโนทรีมภาษาอังกฤษเรียกว่าโมโนทรีม (monotreme) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก mono (หนึ่ง) + trema (รู) เนื่องจากสัตว์ในอันดับนี้มีช่องขับถ่ายและช่องสืบพันธุ์เป็นช่องเดียวกัน โมโนทรีมเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงอันดับเดียวที่ออกลูกเป็นไข่ แทนที่จะออกลูกเป็นตัวเหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น.

ดู มนุษย์และโมโนทรีม

โยชิ

(Yoshi; บางครั้งก็ระบุว่าโยชิสีเขียว) เป็น 1 ในฮีโร่ของเกมมาริโอและเป็นพันธมิตรกับมาริโอกับลุยจิ เขาเป็น 1 ใน กลุ่มโยชิ ตอนมาริโอและลุยจิยังเป็นทารกเขาช่วยปกป้องทั้งสองจาก คาเมคคุบปะนักเวทย์ ให้ปลอดภั.

ดู มนุษย์และโยชิ

โยวี่

ประติมากรรมโยวี่ ในเมืองกิลคอย รัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย สำหรับยาวีในความหมายอื่นดูที่: ภาษายาวี โยวี่ หรือ ยาวีAustralian Yowie, "Finding Bigfoot".

ดู มนุษย์และโยวี่

โยฮันน์ กอทท์ฟรีด ซินน์

ันน์ กอทท์ฟรีด ซินน์ (Johann Gottfried Zinn; 6 ธันวาคม ค.ศ. 1727 – 6 เมษายน ค.ศ. 1759) เป็นนักพฤกษศาสตร์และนักกายวิภาคศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองชวาบัคในปี..

ดู มนุษย์และโยฮันน์ กอทท์ฟรีด ซินน์

โรคพยาธิไส้เดือน

รคพยาธิไส้เดือน เป็นโรคของมนุษย์ซึ่งเกิดจากพยาธิไส้เดือน (Ascaris lumbricoides) ประมาณกันว่าหนึ่งในสี่ของประชากรโลกมีการติดเชื้อพยาธิดังกล่าว โรคพยาธิไส้เดือนมักเกิดในเขตร้อนและในบริเวณที่สุขลักษณะไม่ดี การติดเชื้อพยาธิไส้เดือนมักเกิดจากการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนไข่พยาธิ ตัวอ่อนของพยาธิจะออกมาจากไข่และไชผ่านผนังลำไส้ เข้าไปสู่ปอด และออกมายังทางเดินหายใจ ก่อนจะถูกกลืนกลับเข้าไปและเจริญเป็นตัวเต็มวัยในลำไส้ซึ่งมีความยาวถึง 30 เซนติเมตร (ประมาณ 12 นิ้ว) เกาะติดกับผนังของลำไส้ ผู้ที่ติดเชื้อพยาธิไส้เดือนอาจไม่มีอาการหากมีการติดเชื้อในปริมาณน้อย ผู้ป่วยที่มีอาการมีการอักเสบ ไข้ และท้องเสีย และมีอาการแทรกซ้อนจากการไชไปตามส่วนต่างๆ ของร่างกายของพยาธิตัวอ่อน.

ดู มนุษย์และโรคพยาธิไส้เดือน

โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลัง

รคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลัง (spinocerebellar ataxia; spinocerebellar degeneration) เป็นโรคทางพันธุกรรมโรคหนึ่งซึ่งปัจจุบันยังไม่มีหนทางเยียวยา ผู้ป่วยจะสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวทางกายภาพไปโดยช้าจนกระทั่งหมดสิ้น โรคนี้มีหลายชนิด ซึ่งในแต่ละชนิดอาการแสดง อายุของผู้ป่วยที่เริ่มเป็นโรค และลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับตำแหน่งของยีนบนโครโมโซมของผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบ Kumar V, Abbas AK, Fausto N.

ดู มนุษย์และโรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลัง

โรควัวบ้า

วัวที่เป็น BSE ลักษณะของโรค คือ สัตว์ที่ติดเชื้อจะยืนไม่ได้ โรคสมองรูปฟองน้ำวัว (bovine spongiform encephalopathy, ย่อ: BSE) หรือรู้จักกันทั่วไปว่า โรควัวบ้า เป็นโรคเสื่อมของระบบประสาท (โรคสมอง) ถึงตายในปศุสัตว์ซึ่งทำให้เกิดการเสื่อมฟองน้ำ (spongy degeneration) ในสมองและไขสันหลัง โรควัวบ้ามีระยะฟักนาน ราว 30 เดือนถึง 8 ปี ปกติมีผลต่อปศุสัตว์โตเต็มวัยโดยมีอายุตั้งต้นสูงสุดที่สี่ถึงห้าปี ทุกสายพันธุ์ไวรับเท่ากัน ในสหราชอาณาจักร ประเทศซึ่งได้รับผลมากที่สุด มีปศุสัตว์ติดเชื้อกว่า 180,000 ตัว และถูกฆ่า 4.4 ล้านตัวระหว่างโครงการกำจัด โรคนี้อาจส่งผ่านสู่มนุษย์ได้ง่ายที่สุดโดยการกินอาหารที่ปนเปื้อนด้วยสมอง ไขสันหลังหรือทางเดินอาหารของสัตว์ที่ติดเชื้อ ทว่า เชื้อก่อโรคซึ่งแม้กระจุกในเนื้อเยื่อประสาทสูงสุด แต่สามารถพบได้แทบทุกเนื้อเยื่อทั่วร่างกาย รวมทั้งเลือด ในมนุษย์ถือว่าโรคเป็นชนิดย่อย (variant) หนึ่ง ของโรคครอยท์ซเฟลดท์–ยาคอบ (vCJD หรือ nvCJD) และในเดือนตุลาคม 2552 ทำให้มีผู้เสียชีวิต 166 คนในสหราชอาณาจักร และที่อื่น 44 คน; มีสัตว์ที่ติดเชื้อ BSE ระหว่าง 460,000 ถึง 482,000 ตัวเข้าสู่ห่วงโซ่อาหารของมนุษย์ก่อนมีการริเริ่มควบคุมเครื่องในสัตว์ความเสี่ยงสูงในปี 2532 สาเหตุของโรคเกิดจาก พรีออน ซึ่งเป็น คือ โปรตีนขนาดเล็ก ไม่ละลายน้ำ ทนความร้อน พรีออนเป็นปรสิตต่อคนและสัตว.

ดู มนุษย์และโรควัวบ้า

โรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ

โรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ (Creutzfeldt-Jakob disease, CJB) เป็นโรคเสื่อมที่เกิดกับระบบประสาทส่วนกลางชนิดหนึ่ง ยังไม่มีหนทางรักษา ถือเป็นโรคสมองเป็นรูพรุนที่สามารถติดต่อได้ (transmissable spongiform encephalopathy) ที่พบบ่อยที่สุดในมนุษย์ เกิดจากโปรตีนพรีออนซึ่งเป็นโปรตีนที่มีคุณสมบัติพิเศษสามารถติดต่อและทำให้เกิดโรคได้ โรคนี้ไม่ใช่โรคเดียวกันกับโรควัวบ้า (boline spongiform encephalopathy) หมวดหมู่:Transmissible spongiform encephalopathies หมวดหมู่:โรคเสื่อมของระบบประสาท หมวดหมู่:การติดเชื้อไวรัสที่ระบบประสาทส่วนกลาง หมวดหมู่:โรคหายาก.

ดู มนุษย์และโรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

รคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือ โรคส่งผ่านทางเพศสัมพันธ์ (Sexually transmitted disease; STD) หรือ กามโรค (Venereal disease; เรียกย่อว่า วีดี) เป็นความเจ็บป่วยซึ่งมีแนวโน้มติดต่อหรือส่งผ่านระหว่างมนุษย์หรือสัตว์โดยการสัมผัสทางเพศ ไม่ว่าจะเป็นการร่วมเพศทางช่องคลอด ทางปาก หรือทางทวารหนัก ในปัจจุบันมีการใช้คำว่า การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ (Sexually transmitted infection; STI) ซึ่งมีความหมายกว้างกว่าเดิมมากขึ้น เพราะผู้ป่วยอาจมีการติดเชื้อและมีความสามารถในการแพร่เชื้อไปยังผู้อื่นได้โดยไม่มีอาการแสดงของโรค การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์อาจติดต่อได้จากการใช้เข็มฉีดยาเสพติดเข้าหลอดเลือดดำต่อจากผู้ป่วย รวมถึงผ่านการคลอดหรือการเลี้ยงลูกด้วยนมแม.

ดู มนุษย์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

โรคซึมเศร้า (การวินิจฉัยแยกโรค)

url.

ดู มนุษย์และโรคซึมเศร้า (การวินิจฉัยแยกโรค)

โรงเรียนธรรมโชติศึกษาลัย

สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน โรงเรียนธรรมโชติศึกษาลัย เป็นโรงเรียนในจังหวัดสุพรรณบุรี เขต ธรรมโชติศึกษาลัย หมวดหมู่:โรงเรียนในจังหวัดสุพรรณบุรี.

ดู มนุษย์และโรงเรียนธรรมโชติศึกษาลัย

โลก

"เดอะบลูมาร์เบิล" ภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกจากยาน ''อพอลโล 17'' โลก (loka; world) มีความหมายโดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมทั้งอารยธรรมมนุษย์โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์ หรือสภาพของมนุษย์โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ คำว่า ทั่วโลก หมายถึงสถานที่ใด ๆ บนดาวเคราะห์โลก ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ.

ดู มนุษย์และโลก

โลมาหัวบาตรหลังเรียบ

ลมาหัวบาตรหลังเรียบ หรือ โลมาหัวบาตรไร้ครีบหลัง (Finless porpoise, 江猪, พินอิน: Jiāng zhū-หมูแม่น้ำ) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวาฬและโลมา (Cetacea) ขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์พอร์พอยส์ (Phocoenidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Neophocaena แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) เป็นสัตว์ที่สืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันแล้วประมาณ 20 ล้านปี มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับโลมาอิรวดี หรือ โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง (Orcaella brevirostris) คือ มีส่วนหัวกลมหลิมเหมือนบาตรพระไม่มีจะงอยปาก แต่ส่วนหลังเรียบไม่มีครีบหลัง ครีบข้างค่อนข้างใหญ่ปลายแหลม และลักษณะฟันในปากจะเป็นตุ่ม ไม่แหลมคม อันเป็นลักษณะเฉพาะของโลมาในวงศ์พอร์พอย์ ซึ่งทั่วโลกพบอยู่ 6 ชนิด ในประเทศไทยพบเพียงชนิดนี้ชนิดเดียว มีขนาดโตเต็มที่ยาว 1.9 เมตร ลูกแรกเกิดยาว 70–80 เซนติเมตร ในน่านน้ำไทยสามารถได้ทุกจังหวัดที่ติดกับทะเล โดยพบมากที่สุดในฝั่งอ่าวไทย คือ ทะเลแถบจังหวัดตราด และจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 เหมือนกับวาฬและโลมาชนิดอื่น ๆ ในประเทศจีน โลมาหัวบาตรหลังเรียบ เป็นโลมาเพียง 1 ใน 2 ชนิด นอกจากโลมาแม่น้ำแยงซีเกียง (Lipotes vexillifer) หรือไป๋จี๋ ที่สามารถพบได้ในแม่น้ำแยงซีเกียง โดยมีชื่อเล่นจากชาวจีนว่า "หมูแม่น้ำ" หรือ"แพนด้าแม่น้ำ" เป็นสัตว์ที่อยู่ในฐานะหวั่นวิตกว่าจะสูญพันธุ์ เนื่องจากมลภาวะสภาพแวดล้อม จากการประเมินพบว่าปัจจุบันหลงเหลือเพียงพันกว่าตัวเท่านั้น ซึ่งทุกปีจะมีจำนวนลดลงอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 5–10 ต่อปี.

ดู มนุษย์และโลมาหัวบาตรหลังเรียบ

โลมาอิรวดี

ำหรับโลมาน้ำจืดจำพวกอื่น ดูที่: โลมาแม่น้ำ โลมาอิรวดี หรือ โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง (Irrawaddy dolphin, Ayeyarwaddy dolphin) เป็นโลมาชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์โลมามหาสมุทร (Delphinidae) รูปร่างหน้าตาคล้ายโลมาทั่วไป แต่มีลักษณะเด่นคือ หัวที่มนกลมคล้ายบาตรพระ ลำตัวสีเทาเข้ม แต่บางตัวอาจมีสีอ่อนกว่า ตามีขนาดเล็ก ปากอยู่ด้านล่าง ครีบข้างลำตัวแผ่กว้างเป็นรูปสามเหลี่ยม ครีบบนมีขนาดเล็กมาก มีรูปทรงแบนและบางคล้ายเคียว มีขนาดประมาณ 180-275 เซนติเมตร น้ำหนักไม่มีรายงาน มีการกระจายอย่างกว้างขวางในมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรอินเดีย, อ่าวไทย มักพบเข้ามาอยู่ในแหล่งน้ำกร่อยและทะเลสาบหรือน้ำจืด เช่น บริเวณปากแม่น้ำ โลมาอิรวดีบางกลุ่มอาจเข้ามาอาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ด้วย เช่น แม่น้ำโขง และทะเลสาบเขมร ในปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และโลมาอิรวดี

โหนกคิ้ว

โหนกคิ้ว (superciliary arches) เป็นส่วนนูน 2 อันซึ่งอยู่บนส่วนสความา ฟรอนทาลิส (squama frontalis) ของกระดูกหน้าผาก (frontal bone) ของกะโหลกศีรษะ อยู่ใต้ต่อเนินหน้าผาก (frontal eminences) โดยมีร่องตื้นๆ คั่นระหว่างเนินหน้าผากและโหนกคิ้ว โหนกคิ้วทั้งสองข้างจะเชื่อมกันตรงกลางเป็นรอยยกตัวเรียบที่เรียกว่า แสกหน้า (glabella) โดยทั่วไปแล้ว โหนกคิ้วของลิงจะนูนเด่นกว่าของมนุษย์ และในเพศชายจะนูนกว่าเพศหญิง หมวดหมู่:กะโหลกศีรษะ.

ดู มนุษย์และโหนกคิ้ว

โอคิตะ โซโกะ

อคิตะ โซโกะ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และโอคิตะ โซโกะ

โอโทเซะ

อโทเซะ (ชื่อในมังงะภาษาไทย) หรือ โอโทเสะ (ชื่อในอะนิเมะภาษาไทย) มีชื่อจริงว่า เทราดะ อายาโนะ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซร.

ดู มนุษย์และโอโทเซะ

โฮโม

ม เป็นสกุล ซึ่งนับรวมเอามนุษย์สมัยใหม่ทางกายวิภาคและสปีชีส์ที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด สกุลนี้ประเมินว่ามีอายุระหว่าง 2.3 ถึง 2.4 ล้านปี Also ISBN 0-521-46786-1 (paperback) วิวัฒนามาจากบรรพบุรุษออสตราโลพิเธคัสโดยมีลักษณะภายนอกของ Homo habilis ลักษณะเฉพาะของชนิด H.

ดู มนุษย์และโฮโม

โทราห์

ทราห์ (Torah; תּוֹרָה โทราห์; التوراة เตารอต; Τορά) เป็นชื่อของชุดคัมภีร์ชุดแรกในคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งประกอบด้วยหนังสือ 5 เล่มแรกในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ หมายถึง บทบัญญัติ ซึ่งในคัมภีร์ไบเบิลภาษาไทยแปลว่า ธรรมบัญญัติ หรือ พระบัญญัติ ภายหลังได้มีการแปลเป็นภาษากรีกจึงมีชื่อเรียกใหม่ว่า เบญจบรรณ (Pentateuch) หมายถึง ที่บรรจุห้าอัน คือหนังสือ 5 เล่มแรกของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ได้แก.

ดู มนุษย์และโทราห์

โทรโข่ง

โทรโข่งอิเล็กทรอนิกส์ โทรโข่งธรรมดา โทรโข่ง คือเครื่องมือสำหรับส่งเสียงพูดของบุคคลให้ไปยังทิศทางของเป้าหมาย ซึ่งมีรูปร่างคล้ายกรวยและสามารถถือติดตัวได้สะดวก ด้วยเหตุที่ว่าเสียงพูดของมนุษย์กระจายไปในทุกทิศทางในอากาศ จึงต้องส่งเสียงด้วยโทรโข่งเพื่อบังคับให้เสียงถูกส่งไปยังเป้าหมายให้ผู้ฟังได้ยินชัดเจนขึ้น โดยคลื่นเสียงในอากาศจะแทรกสอดกันภายในกรวยทำให้เสียงก้องขึ้น โทรโข่งบางชนิดเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ประกอบด้วยไมโครโฟน เครื่องขยายเสียง และลำโพง สามารถขยายเสียงพูดให้ดังขึ้นได้ หรือใช้ติดตั้งบนที่สูงสำหรับการกระจายเสียงในที่ชุมชน หมวดหมู่:เทคโนโลยีระบบเสียง.

ดู มนุษย์และโทรโข่ง

โทะซะกิน

ทะซะกิน โทะซะกิน (Tosakin; 土佐金 แปลว่า ปลาทอง หรือนิยมเรียกสั้นๆ ว่า โทะซะ) เป็นสายพันธุ์ปลาทองสายพันธุ์หนึ่ง ที่พัฒนาขึ้นมาโดยมนุษย์ ได้ชื่อว่าเป็น ราชินีแห่งปลาทอง ด้วยความที่มีครีบหางพริ้วไหว และเบ่งบานกางออกเวลาว่ายน้ำ เหมือนผู้หญิงใส่กระโปรงบาน โทะซะกินที่สวยนั้น ต้องมีลำตัวเป็นทรงหยดน้ำ โคนหางใหญ่ ครีบหางเบ่งบานและเป็นลอนสวยงาม โดยเฉพาะครีบหางที่อยู่กึ่งกลางลำตัวควรบานแผ่ออกและมีลักษณะโค้งได้รูป ส่วนครีบด้านข้างทั้งสองข้างควรกางแผ่ออกโดยทำมุมฉากกับลำตัว โทะซะกินนั้นเป็นปลาทองที่พัฒนาสายพันธุ์มาจากริวกิ้น ราวปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และโทะซะกิน

โขน

น เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่ารำตามแบบละครใน แตกต่างเพียงท่ารำที่มีการเพิ่มตัวแสดง เปลี่ยนทำนองเพลงที่ใช้ในการดำเนินเรื่องไม่ให้เหมือนกับละคร แสดงเป็นเรื่องราวโดยลำดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซึ่งไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่าละครแต่เรียกว่าโขนแทน มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานจดหมายเหตุลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการกล่าวถึงการแสดงโขนว่า เป็นการเต้นออกท่าทาง ประกอบกับเสียงซอและเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเองและถืออาวุธว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของชาวสยาม, มหรสพสามอย่างของชาวสยาม,จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ ราชอาณาจักรสยาม, เขียนโดย: มองซิเอร์ เดอ ลาลูแบร์, แปลโดย: สันต์ ท.

ดู มนุษย์และโขน

โดราเอมอน

ราเอมอน หรือ โดเรมอน (ドラえもん) (Doraemon) เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น แต่งโดย ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ เรื่องราวของหุ่นยนต์แมวชื่อโดราเอมอน โดยฟุจิโกะ ฟุจิโอะ ได้กล่าวว่าโดราเอมอนเกิดวันที่ 3 กันยายน มาจากอนาคตเพื่อกลับมาช่วยเหลือ โนบิตะ เด็กประถมจอมขี้เกียจด้วย ของวิเศษ จากอนาคต โดราเอมอนเริ่มตีพิมพ์ครั้งแรกในญี่ปุ่นเมื่อ เดือนมกราคม พ.ศ.

ดู มนุษย์และโดราเอมอน

โดะงู

งู ที่พบในจังหวัดมิยะงิ โดะงู เป็นจุลประติมากรรมอย่างหนึ่งของญี่ปุ่น พบในยุคโจมง (縄文時代) อันเป็นยุคก่อนประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น (กินระยะเวลาประมาณ 14,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึง 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช) โดะงูเป็นประติมากรรมที่ปั้นเป็นรูปมนุษย์ขนาดเล็ก แต่มีรูปร่างประหลาด โดยมีดวงตากลมโต หัวใหญ่ เอวคอด และสะโพกใหญ่ แลดูคล้ายกับสวมชุดมนุษย์อวกาศ สวมหมวกขนาดใหญ่ หรือคาดเข็มขัดรูปร่างประหลาด โดยมีตำนานเล่ากันว่า โดะงูนั้นมาจากฟากฟ้าและเป็นผู้สั่งสอนศิลปะวิทยาการให้แก่มนุษย์ในยุคนั้นได้มากมาย ดังนั้น จึงมีความเชื่อบางอย่างว่า โดะงู อาจจะเป็นรูปปั้นของมนุษย์ต่างดาวก็ได้ ซึ่งนักโบราณคดีได้ทำการเก็บสะสมโดะงูที่มีลักษณะต่าง ๆ ได้มากถึง 15,000 ชุด แต่ก็มีบางทฤษฎีอธิบายว่า โดะงูเป็นสัญลักษณ์ของการตั้งครรภ์ ซึ่งโดะงูก็คือ เทพมารดา มีการอ้างอิงถึงโดะงูไว้ในวัฒนธรรมร่วมสมัยต่าง ๆ ของญี่ปุ่น เช่น โดเรมอน ในตอน กำเนิดประเทศญี่ปุ่น (ท่องแดนญี่ปุ่นโบราณ) ที่ออกฉายในปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และโดะงู

โดคุโร โครม

ลม โดคุโร่ เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน REBORN!รีบอร์น พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดย ซาโตมิ อาเกซาก.

ดู มนุษย์และโดคุโร โครม

โครงข่ายประสาท

รงข่ายประสาท (neural network - NN) โดยทั่วไปได้ถูกกล่าวถึงโครงข่ายประสาทชีวภาพในร่างกายของมนุษย์ที่เชื่อมโยงระบบประสาท แต่ในปัจจุบันการใช้งานคำว่าโครงข่ายประสาท ได้ถูกหมายถึงโครงข่ายประสาทเทียม ซึ่งเป็นลักษณะโมเดลในการประมวลผลข้อมูล.

ดู มนุษย์และโครงข่ายประสาท

โครโมโซมวาย

รโมโซม Y เป็นอัลโลโซมที่เป็นโครโมโซมเพศอันหนึ่งในจำนวนสองอันของมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอีกหลายชนิด อีกอันหนึ่งคือโครโมโซม X.

ดู มนุษย์และโครโมโซมวาย

โครโมโซมเพศ

รโมโซมเพศคือโครโมโซมประเภทหนึ่งที่ช่วยกำหนดเพศของสิ่งมีชีวิต เป็นวิธีการกำหนดเพศแบบหนึ่ง เช่น ในมนุษย์ มีโครโมโซม 23 คู่ เป็นออโตโซม 22 คู่ และเป็นโครโมโซมเพศ 1 คู่ มนุษย์เพศหญิงจะมีโครโมโซม X สองอัน ส่วนมนุษย์เพศชายมีโครโมโซม X หนึ่งอัน และโครโมโซม Y หนึ่งอัน.

ดู มนุษย์และโครโมโซมเพศ

โคอาที

อาที (Coati) จากสกุล Nasua and Nasuella เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมจากวงศ์แร็กคูนชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์ออกหากินในเวลากลางวัน ซึ่งแตกต่างจากสัตว์ในวงศ์แร็กคูนส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นสัตว์กลางคืน โคอาทีมีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ อเมริกากลาง และบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอเมริกาเหนือ.

ดู มนุษย์และโคอาที

โปเยโปโลเย เย้ยฟ้าแล้วก็ท้า ภาค 2

ปเยโปโลเย เย้ยฟ้าแล้วก็ท้า ภาค 2 (A Chinese Ghost Story II) เป็นภาพยนตร์กำลังภายในสัญชาติฮ่องกง ปี ค.ศ. 1990 นำแสดงโดย เลสลี จาง, หวัง จู่เสียน, หลี่ เจียซิน, จาง เสฺวโย่ว กำกับภาพยนตร์โดย เฉิงเสี่ยวตง และอำนวยการสร้างโดย ฉีเคอะ ภาพยนตร์เรื่องนี้มีเนื้อหามาจากนวนิยายเรื่อง โปเยโปโลเย โดยภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาคต่อของโปเยโปโลเย เย้ยฟ้าแล้วก็ท้า มีภาคต่อคือ โปเยโปโลเย เย้ยฟ้าแล้วก็ท้า ภาค 3.

ดู มนุษย์และโปเยโปโลเย เย้ยฟ้าแล้วก็ท้า ภาค 2

ไฟลัม

ฟลัม (phylum) เป็นขั้นอนุกรมวิธานขั้นหนึ่งในการจำแนกสัตว์ในทางวิทยาศาสตร์ (ในทางพืชนิยมใช้คำว่า ส่วน แทนไฟลัม ไฟลัมถือเป็นการจัดกลุ่มในขั้นสูงที่สุดแยกตามสายวิวัฒนาการ แต่บางครั้งก็มีการรวมไฟลัมเป็นไฟลัมใหญ่ (superphylum) อีกทีหนึ่ง เช่น สัตว์ที่มีการลอกคราบในการเจริญเติบโต (Echdysozoa) ประกอบด้วยสัตว์มีเปลือกแข็งและหนอนตัวกลม และ สัตว์ที่มีช่องปากเกิดภายหลังช่องทวาร (Deuterostomia) ประกอบด้วยปลาดาวและสัตว์มีแกนสันหลัง ไฟลัมของสัตว์ที่รู้จักกันมากที่สุด ได้แก่ มอลลัสกา, ฟองน้ำ, ไนดาเรีย, หนอนตัวแบน, นีมาโทดา, หนอนปล้อง, สัตว์ขาปล้อง, เอคคิโนเดอร์มาทา และสัตว์มีแกนสันหลัง (ซึ่งมนุษย์อยู่ในไฟลัมนี้) ถึงแม้ว่าจะมีไฟลัมทั้งหมดประมาณ 35 ไฟล่า (หน่วยของไฟลัม) ไฟลัมที่กล่าวทั้ง 9 ตัวนี้ครอบคลุมสปีชีส์ส่วนใหญ่ และทุกไฟลัมยกเว้นหนอนกำมะหยี่ ต่างก็มีสมาชิกอาศัยในมหาสมุทร.

ดู มนุษย์และไฟลัม

ไพโรจน์ ใจสิงห์

รจน์ ใจสิงห์ เป็นนักแสดงอาวุโส ที่เข้าสู่วงการตั้งแต่ พ.ศ. 2514 และมีชื่อเสียงเป็นนักแสดงนำ ช่วง พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2516 แล้วจึงหันมารับบทตัวรอง หลากหลาย ทั้งพระเอก ผู้ร้าย บทตัวพ่อ บทตลก จนถึงปัจจุบัน.

ดู มนุษย์และไพโรจน์ ใจสิงห์

ไกรทอง

การต่อสู้ระหว่างไกรทอง กับชาละวันในร่างมนุษย์ ที่วัดอัมพวันเจติยาราม ไกรทอง เป็นนิทานพื้นบ้านภาคกลางของไทย ที่มีตัวเอกชื่อ ไกรทอง เล่าไว้หลายสำนวนด้วยกัน ภายหลังในสมัยรัชกาลที่ 2 ได้ทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทละครสำหรับละครนอก และได้รับความนิยม ยกย่องเป็นฉบับมาตรฐานฉบับหนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องราวความรักเกี่ยวกับคนและจระเข้.

ดู มนุษย์และไกรทอง

ไลรา เบลัควา

ลรา เบลัควา หรืออาจรู้จักในนาม ไลรา ลิ้นเงิน เป็นตัวละครเอกในวรรณกรรมเยาวชนไตรภาค ธุลีปริศนา ของฟิลิป พูลแมน ไลราเป็นเด็กหญิงซึ่งอยู่ในโลกที่แตกต่างออกไปจากโลกของเรา อาศัยอยู่ในวิทยาลัยจอร์แดนในออกซ์ฟอร์ด ในเรื่อง เธอพบว่าตนเองอยู่ท่ามกลางสงครามยิ่งใหญ่ระหว่างลอร์ดแอสเรียลฝ่ายหนึ่ง กับพระผู้ทรงอานุภาพและเมตาตรอน ผู้สำเร็จราชการ.

ดู มนุษย์และไลรา เบลัควา

ไวรัส

วรัส เป็นศัพท์จากภาษาลาตินแปลว่า พิษ ในตำราชีววิทยาเก่าของไทยอาจเรียกว่า วิสา อันเป็นการทับศัพท์ในยุคแรกจากภาษาสันสกฤตที่แปลว่า พิษ เช่นเดียวกัน ปัจจุบันคำว่า ไวรัส หมายถึงจุลินทรีย์ที่สามารถก่อให้เกิดการติดเชื้อได้ (infectious agents) ทั้งในมนุษย์, สัตว์, พืช และ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เป็นสิ่งมีชีวิตมีเซลล์ (cellular life) ทำให้เกิดโรคที่ส่งผลกระทบกว้างขวาง จึงมีความสำคัญที่จะต้องศึกษาทั้งในทางการแพทย์และทางเศรษฐกิจ ไวรัสเป็นปรสิตอยู่ในร่างของสิ่งมีชีวิตอื่น (obligate intracellular parasite) ไม่สามารถเติบโตหรือแพร่พันธุ์นอกเซลล์อื่นได้ ไวรัสอาจถือได้ว่าเป็นจุลินทรีย์ที่มีลักษณะของการเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงประการเดียวคือสามารถแพร่พันธุ์ หรือการถ่ายทอดสารพันธุกรรมของตนเองจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง อย่างไรก็ตามไวรัสไม่ใช่จุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ยังมีจุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กกว่าไวรัสคือ ไวรอยด์ (viroid) และ พรีออน (prion) ไวรัสชนิดแรกที่ค้นพบคือไวรัสใบยาสูบด่าง(TMV หรือ Tobacco Mosaic Virus) ซึ่งค้นพบโดยมาร์ตินัส ไบเยอรินิค ใน ค.ศ.

ดู มนุษย์และไวรัส

ไฮยีน่า

ีนา (hyena; มาจากคำภาษากรีกโบราณว่า ὕαινα ออกเสียงว่า /ฮือไอนา/ หรือ /ฮือแอนา/) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อวงศ์หนึ่ง โดยใช้ชื่อวงศ์ว่า Hyaenidae ไฮยีนา มีลักษณะและรูปร่างโดยรวมคล้ายกับสุนัขหรือหมาป่า ซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อที่อยู่ในวงศ์ Canidae แต่ไฮยีนาก็ไม่ใช่สุนัข หากแต่เป็นสัตว์ที่อยู่ในวงศ์ของตนเองต่างหาก โดยอยู่ในอันดับย่อย Feliformia ซึ่งใกล้เคียงกับแมวและเสือ (Felidae) มากกว.

ดู มนุษย์และไฮยีน่า

ไฮแรกซ์หิน

แรกซ์หิน (Rock hyrax, Cape hyrax, Rock rabbit, Dassie) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในอันดับไฮแรกซ์ (Hyracoidea) และวงศ์ Procaviidae จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Procavia มีรูปร่างคล้ายหนูตัวใหญ่ ๆ หรือกระต่าย มีหางสั้น มีขนหนานุ่มสีน้ำตาลเพื่อควบคุมอุณหภูมิร่างกาย เมื่อโตเต็มที่มีขนาดลำตัวตั้งแต่ 30–70 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 2–5 กิโลกรัม กินพืชเป็นอาหาร ทั้ง ใบไม้, หญ้า และเมล็ดพืชชนิดต่าง ๆ และสามารถกินพืชที่มีหนามและมีพิษได้ด้วย ไฮแรกซ์หินพบทั่วไปในทวีปแอฟริกา ในหลากหลายภุมิประเทศทั้งทะเลทราย, ป่าฝน และป่าสน และพบไปถึงบางส่วนในตะวันออกกลาง เช่น ซาอุดิอาระเบีย, โอมาน มีระยะเวลาตั้งท้องนาน 7–8 เดือน ออกลูกได้ครั้งละ 1–2 ตัว อายุ 5 เดือนจึงหย่านม มีอายุเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ประมาณ 17–18 เดือน อาศัยอยู่เป็นฝูงหรือครอบครัวเล็ก ๆ โดยมีตัวผู้ 1 ตัว เป็นผู้นำ และตัวเมียหลายตัว มีพฤติกรรมปีนป่ายโขดหิน และอาศัยอยู่ในโพรงหินหรือถ้ำขนาดเล็ก อันเป็นที่มาของชื่อ ชอบที่จะนอนอาบแดดในเวลาเช้า ก่อนจะออกหาอาหาร กับถิ่นที่อยู่ตามธรรมชาติ ไฮแรกซ์หิน เป็นสัตว์ที่มีความตื่นตัวระแวดระวังภัยสูง เนื่องด้วยเป็นสัตว์ที่ตกเป็นอาหารของสัตว์กินเนื้อขนาดใหญ่เสมอ ๆ รวมถึงนกล่าเหยื่อด้วย เช่น เหยี่ยวหรืออินทรี แต่เป็นสัตว์ที่ไม่ตื่นกลัวมนุษย์ มักจะเข้ามาหาอาหารในชุมชนของมนุษย์อยู่เสมอ ๆ ในประเทศไทย มีไฮแรกซ์หินแสดงที่สวนสัตว์เชียงใหม.

ดู มนุษย์และไฮแรกซ์หิน

ไฮเปอร์ไดมอนด์

ปอร์ไดมอนด์ (hyperdiamond) หรือ แอกกริเกตทิดไดมอนด์นาโนรอดส์ (Aggregated Diamond Nanorods) หรือ เอดีเอ็นอาร์เอส (ADNRs) เป็นสสารที่ความแข็ง ความแข็งตึง และความหนาแน่นที่สุดในโลก โดยแข็งกว่าเพชรหลายเท่า มีลักษณะคล้ายกับยางมะตอยหรือพุดดิงสีดำระยิบระยับมากกว.

ดู มนุษย์และไฮเปอร์ไดมอนด์

ไทรออปส์

ทรออปส์ (Triops) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจำพวกสัตว์ขาปล้องประเภทหนึ่ง จัดอยู่ในไฟลัมครัสตาเซียนเช่นเดียวกับ กุ้ง หรือ ปู และอยู่ในอันดับ Notostraca ในวงศ์ Triopsidae ไทรออปส์ เป็นสัตว์น้ำขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในน้ำจืด มีรูปร่างประหลาดคล้ายแมงดาทะเล จึงมีผู้เรียกว่า "แมงดาทะเลน้ำจืด" หรือ "กุ้งไดโนเสาร์" เนื่องจากเป็นสัตว์ที่ไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างมาตั้งแต่ยุคคาร์บอนิฟอรัส ราว 300 ล้านปีมาแล้ว จัดได้ว่าเป็นฟอสซิลที่มีชีวิตอีกจำพวกหนึ่งได้ ไทรออปส์ จัดอยู่ในสกุล Triops แบ่งออกได้ทั้งสิ้น 10 ชนิด ได้แก.

ดู มนุษย์และไทรออปส์

ไขกระดูก

กระดูก เป็นเนื้อเยื่อยืดหยุ่นที่พบได้ในกระดูกชั้นใน ไขกระดูกในกระดูกชิ้นใหญ่ของคนผลิตเม็ดเลือดแดงใหม่ โดยเฉลี่ยแล้วไขกระดูกมีน้ำหนักคิดเป็นร้อยละ 4 ของน้ำหนักร่างกายทั้งหมด เช่นในผู้ใหญ่น้ำหนัก 65 กิโลกรัม จะมีไขกระดูกโดยประมาณ 2.6 กิโลกรัม ส่วนสร้างเม็ดเลือด (hematopoietic compartment) ของไขกระดูกผลิตเม็ดเลือดแดง 500,000 ล้านเซลล์ต่อวันโดยประมาณ ซึ่งใช้ระบบไหลเวียนไขกระดูก (bone marrow vasculature) เป็นท่อสู่ระบบไหลเวียนของร่างกาย ไขกระดูกยังเป็นส่วนหลักของระบบน้ำเหลือง (lymphatic system) ที่ผลิตเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซท์ซึ่งช่วยระบบภูมิคุ้มกันของร่างก.

ดู มนุษย์และไขกระดูก

ไข่ (อาหาร)

ทางซ้ายคือไข่ไก่ ซึ่งโดยทั่วไปได้ใช้ในการกินมากที่สุดโดยมนุษย์ และทางขวาคือไข่นกกระทาสองฟอง ที่สุนัขจิ้งจอกมักนำมากินเป็นอาหาร สัตว์ว่าตัวเมียหลายสปีชีส์วางไข่ รวมทั้งนก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และปลา และอาจเป็นอาหารที่มนุษย์ชาติรับประทานมานับสหัสวรรษ ไข่นกและสัตว์เลื้อยคลานประกอบด้วยเปลือกไข่ที่ทำหน้าที่ปกป้องอันตรายต่อไข่, ไข่ขาวและไข่แดง รวมกันอยู่ภายในเยื่อบาง ๆ หลายชั้น ไข่สัตว์ที่นิยมรับประทานกันมีไก่ เป็ด นกกระทา ปลาและคาเวียร์ แต่มนุษย์นิยมรับประทานไข่ไก่มากที่สุด และทิ้งช่วงห่างไข่สัตว์อื่นอยู่มาก ไข่แดงและไข่ทั้งฟองมีปริมาณโปรตีนและโคลีนอยู่มาก และพบใช้บ่อยในการครัว เนื่องจากโปรตีนที่มีอยู่ กระทรวงการเกษตรสหรัฐอเมริกาจึงจัดประเภทไข่ว่าเป็น เนื้อสัตว์ ในพีระมิดอาหาร อย่างไรก็ดี แม้ไข่จะมีคุณค่าทางโภชนาการ แต่ก็มีแนวโน้มก่อปัญหาสุขภาพบางอย่างเกิดขึ้นจากคุณภาพ การเก็บ และการเกิดการแพ้ในผู้ที่มีอาการแพ้ ไก่และสิ่งมีชีวิตวางไข่อื่น ๆ เก็บเลี้ยงอย่างกว้างขวางทั่วโลก และการผลิตไข่ไก่จำนวนมากเป็นอุตสาหกรรมระดับโลก มีปัญหาในอุปสงค์และความคาดหมายที่แตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค เช่นเดียวกับการถกเถียงกันในปัจจุบันเกี่ยวกับวิธีการผลิตจำนวนมาก โดยสหภาพยุโรปวางแผนห้ามการเลี้ยงแบบแบตเตอรี (battery farming) หลัง..

ดู มนุษย์และไข่ (อาหาร)

ไข้

้ หรือ อาการตัวร้อน ปรับปรุงเมื่อ 6..

ดู มนุษย์และไข้

ไข้เหลือง

ไข้เหลืองเป็นโรคชนิดหนึ่งในกลุ่มโรคไข้เลือดออกจากไวรัส ไวรัสไข้เหลืองมีขนาด 40-50 นาโนเมตร เป็นไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอไวรัสเซนส์บวก มีปลอกหุ้ม อยู่ในแฟมิลีฟลาวิไวริดี ติดต่อผ่านทางการถูกยุงตัวเมียที่มีเชื้อกัด อาจเป็นยุงไข้เหลือง ยุงลาย หรือยุงอื่นๆ บางชนิด พบในพื้นที่เขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้และทวีปแอฟริกาและพื้นที่ข้างเคียง แต่ไม่พบในทวีปเอเชีย โฮสต์ของไวรัสไข้เหลืองคือลิงไพรเมทรวมถึงมนุษย์และยุงบางชนิด เชื่อว่าโรคนี้มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่แอฟริกา ระบาดมายังอเมริกาใต้พร้อมกับการค้าทาสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ต่อมาในศตวรรษที่ 17 เริ่มมีบันทึกการระบาดครั้งใหญ่หลายครั้งในอเมริกา แอฟริกา และยุโรป จนในศตวรรษที่ 19 ไข้เหลืองก็ถูกยกระดับเป็นโรคติดต่อที่อันตรายที่สุดโรคหนึ่ง ผู้ป่วยไข้เหลืองส่วนใหญ่มีอาการไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ปวดกล้ามเนื้อ (โดยเฉพาะหลัง) และปวดศีรษะ ส่วนใหญ่หายได้เองในเวลาหลายวัน ผู้ป่วยบางคนจะมีระยะพิษตามหลังจากระยะไข้ เซลล์ตับเสียหายจนมีดีซ่าน (เป็นที่มาของชื่อโรค) และอาจเป็นมากจนเสียชีวิตได้ ไข้เหลืองอาจทำให้ผู้ป่วยมีเลือดออกง่าย จึงจัดอยูในกลุ่มโรคไข้เลือดออก องค์การอนามัยโลกประมาณไว้ว่ามีคนที่ไม่ได้รับวัคซีนไข้เหลืองป่วยเป็นไข้เหลือง 200,000 รายต่อปี และเสียชีวิต 30,000 รายต่อปี ปัจจุบันผู้ป่วยโรคไข้เหลืองกว่า 90% อยู่ในแอฟริกา วัคซีนไข้เหลืองที่ปลอดภัยและใช้ได้ผลนั้นผลิตสำเร็จตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 บางประเทศยังกำหนดให้นักท่องเที่ยวต้องได้รับวัคซีนนี้ก่อนเข้าประเทศ เนื่องจากเป็นโรคที่ยังไม่มีวิธีการรักษาจำเพาะจึงมีความจำเป็นต้องจัดให้ผู้ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงได้มีโอกาสเข้าถึงวัคซีนอย่างทั่วถึง พร้อมๆ กับลดจำนวนยุงและลดโอกาสถูกยุงกัด ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา จำนวนผู้ป่วยไข้เหลืองเริ่มเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้ง จึงจัดอยู่ในกลุ่มโรคอุบัติซ้ำ (re-emerging disease) เชื่อว่าเป็นผลจากสภาพสังคมและสงครามในหลายๆ ประเทศในแอฟริกา หมวดหมู่:ไข้จากไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะและไข้เลือดออกที่เกิดจากไวรัส หมวดหมู่:ฟลาวิไวรัส หมวดหมู่:โรคเขตร้อน หมวดหมู่:วิทยาตับ หมวดหมู่:โรคติดเชื้อจากแมลง หมวดหมู่:โรคที่ไม่ได้รับการรักษา หมวดหมู่:อาวุธชีวภาพ.

ดู มนุษย์และไข้เหลือง

ไดโปรโตดอน

ปรโตดอน หรือ วอมแบตยักษ์ หรือ วอมแบตแรด (giant wombat, rhinoceros wombat) เป็นชื่อเรียกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่จำพวกหนึ่ง ในอันดับสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง ซึ่งเคยได้พบที่ทวีปออสเตรเลียเมื่อกว่า 40,000 ปีก่อน แต่ปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วไดโปรโตดอนเป็นสัตว์เลีี้ยงลูกด้วยนมมีกระเป๋าหน้าท้องที่ใหญ่ที่สุดและมันเป็นอาหารของนักล่าอย่าง สิงโตมาซูเฟียว และ เมกะลาเนีย ไดโปรโตดอน จัดอยู่ในสกุล Diprotodon มีรูปร่างลักษณะคล้ายตัววอมแบต แต่มีขนาดใหญ่กว่ามาก กล่าวคือ มีความสูงจากพื้นดินถึงหัวไหล่ประมาณ 2 เมตร ลำตัวยาว 3 เมตร น้ำหนักราว 3 ตัน ขณะที่วอมแบตทั่วไปสูงเพียง 25 เซนติเมตร ยาวเกือบ 1 เมตร และมีน้ำหนักราว 20-45 กิโลกรัมเท่านั้น ไดโปรโตดอน อาศัยอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำเช่น ห้วยหนองคลองบึง ทั่วไป สาเหตุการสูญพันธุ์ของไดโปรโตดอน ปัจจุบันไม่มีข้อสรุปที่แน่นอน เนื่องจากนักบรรพชีวินวิทยามีทฤษฎีอยู่ 2 ทฤษฎี โดยทฤษฎีแรกเชื่อว่า มันสูญพันธุ์ไปเองโดยสาเหตุธรรมชาติ แต่อีกกลุ่มหนึ่งเชื่อว่าสูญพันธุ์เพราะถูกล่าจากมนุษย์ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวอะบอริจินส์ ซึ่งเป็นชนเผ่าพื้นเมืองของออสเตรเลีย ทั้งที่มีหลักฐานบ่งว่ามนุษย์เพิ่งอพยพมาสู่ออสเตรเลียครั้งแรกเมื่อ 5,000 ปีก่อนนี้เอง อย่างไรก็ดี มีความเชื่อของชาวอะบอริจินส์อยู่ประการหนึ่ง ถึงสัตว์ประหลาดขนาดใหญ่ที่ดุร้ายและกินมนุษย์โดยเฉพาะผู้หญิงเป็นอาหาร ที่มีชื่อว่า "บันยิป" (Bunyip) โดยเชื่อว่า บันยิปเป็นวิญญาณของสิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ ที่มารวมกัน และเชื่ออีกว่าบันยิปจะอาศัยอยู่ตามพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ทั่วออสเตรเลีย จึงมีการสันนิษฐานว่า หากบันยิปมีอยู่จริง ก็อาจจะเป็นไดโปรโตดอนที่ยังหลงเหลือเผ่าพันธุ์มาจนปัจจุบัน ก็เป็นได้.

ดู มนุษย์และไดโปรโตดอน

ไซเรน

ำหรับสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจำพวกซาลาแมนเดอร์ ดูที่ ไซเรน จอห์น วิลเลี่ยม วาเตอร์เฮาส์ ไซเรน (Siren; กรีก: Σειρήν, Σειρῆνες) เป็นปีศาจในเทพปกรณัมกรีก โดยปรากฏบทบาทอย่างยิ่งจากตำนานเรื่องเจสันและเรืออาร์โกและโอดิสซีย์ ไซเรน มีลักษณะของสัตว์ผสม 3 อย่าง คือ คล้ายนางเงือก มีขาเป็นครีบปลา มีปีกและเสียงเหมือนนก แต่บ้างก็ว่า ไซเรน เป็นมนุษย์ครึ่งนกเหมือนกินร กินรี ในวรรณคดีไทย จากบทประพันธ์ตอนหนึ่ง ระบุว่า ไซเรน มีเสียงอันไพเราะ รูปร่างที่งดงามรองจากเงือกเล็กน้อย มีความสามารถในการสะกดจิตให้ผู้อื่น ทำตามในสิ่งที่ตนเองต้องการ เสียงของไซเรนไพเราะเพราะพริ้งจนทำให้คนที่เดินเรือผ่านมายังบริเวณใกล้เคียงที่ไซเรนอาศัยอยู่หลงทางเข้ามาตามเสียงเพลงของไซเรน ผู้ที่ทนฟังเสียงของนางไซเรนได้โดยไม่เสียสติจะได้รับปัญญาในการรู้จุดอ่อนของตน ในลุ่มแม่น้ำไรน์ในประเทศเยอรมนี มีอุบัติเหตุทางเรือเกิดขึ้นบ่อย ๆ เชื่อว่าเกิดจากไซเรน ที่เรียกว่า "ผู้หญิงแห่งแม่น้ำไรน์" ซึ่งปรากฏอยู่ในคติชนนิยมและวรรณกรรมต่าง ๆ ไซเรน ได้ถูกอ้างอิงถึงในวัฒนธรรมร่วมสมัยมากมาย เช่น เป็นตัวละครหนึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เซนต์เซย่า ที่ชื่อ ไซเรน โซเรนต.

ดู มนุษย์และไซเรน

เชร็ค

ร็ค (Shrek) เป็นการ์ตูนแอนิเมชันของดรีมเวิร์ก ซึ่งออกฉายเมื่อ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 ภาพยนตร์ได้รับรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม และเป็นเรื่องแรกที่ได้รับรางวัลออสการ์สาขาที่ตั้งขึ้นใหม่นี้.

ดู มนุษย์และเชร็ค

เบลล่า สวอน

อิซาเบลลา "เบลล่า" มารี สวอน (Isabella "Bella" Marie Swan) ต่อมาคือ เบลล่า คัลเลน (Bella Cullen) เป็นนางเอกในนิยายชุด Twilight Saga ของนักเขียนสเตฟานี่ เมเยอร์ เป็นผู้เล่าเรื่องในมุมมองของตนเองในนิยายทุกภาคของ Twilight ยกเว้นในตอน Midnight Sun ที่เล่าโดยมุมมองของเอ็ดเวิร์ด เป็นลูกสาวคนเดียวของชาลี สวอน หัวหน้าตำรวจในเมืองฟอร์คส รัฐวงชิงตัน แม่ของเธอเรเน่ แต่งงานใหม่กับฟิล หนุ่มนักเบสบอล เธอต้องการให้แม่มีความสุขโดยการที่เธอต้องมาอยู่กับพ่อ และนั่นทำให้เธอได้พบกับ เอ็ดเวิร์ด คัลเลน แวมไพร์หนุ่มรูปงาม และเพื่อนเก่าสมัยเด็ก เจคอบ แบล็ก มนุษย์หมาป่า ในภาค 3 ของนิยายชุด Twilight ได้เริ่มต้นเรื่องราวเกี่ยวกับรักสามเส้าระหว่างเธอ เอ็ดเวิร์ด และเจคอบ หมวดหมู่:ชุดนิยายทไวไลท์ หมวดหมู่:ตัวละครแฟนตาซี he:איזבלה סוואן.

ดู มนุษย์และเบลล่า สวอน

เบลด (ภาพยนตร์ชุด)

นตร์ชุด เบลด (Blade) มีเค้าโครงมาจากหนังสือการ์ตูนเรื่อง เบลด ของมาร์เวลคอมมิกส์ ซึ่งมีจุดกำเนิดมาจากภาพยนตร์เรื่อง เบลด พันธุ์ฆ่าอมตะ ผลงานการกำกับของ 3 ผู้กำกับในแต่ละภาค คือ สตีเฟ่น นอร์ริงตัน, กีเยร์โม เดล โตโร และเดวิด เอส.

ดู มนุษย์และเบลด (ภาพยนตร์ชุด)

เบลด 3 อำมหิต พันธุ์อมตะ

ลด 3 อำมหิต พันธุ์อมตะ (Blade:Trinity) เป็นภาพยนตร์ภาคสุดท้ายของภาพยนตร์ไตรภาคชุดเบลด ออกฉายในปี ค.ศ. 2004 ซึ่งภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาพยนตร์ภาคต่อของ เบลด 2 นักล่าพันธุ์อมตะ กำกับภาพยนตร์และเขียนบทโดย เดวิด เอ.

ดู มนุษย์และเบลด 3 อำมหิต พันธุ์อมตะ

เบลเฟกอล

ลเฟกอล (Belphegor) เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดยยูกิ ฟุจิวาระ สมาชิกของหน่วยวาเรียหน่วยลอบสังหารที่แข็งแกร่งที่สุดของวองโกเล่ เป็นตัวแทนแห่งความเกียจคร้าน(Sloth)หนึ่งในบาปเจ็ดประการ โดยชื่อของเขามีที่มามาจากปิศาจประจำบาป.

ดู มนุษย์และเบลเฟกอล

เชื้อเพลิง

ม้ เชื้อเพลิงชนิดหนึ่ง เชื้อเพลิง คือวัสดุใดๆ ที่นำไปเผาไหม้หรือแปรเปลี่ยนเพื่อนำมาซึ่งพลังงาน เชื้อเพลิงจะปลดปล่อยพลังงานผ่านปฏิกิริยาทางเคมีเช่นการเผาไหม้ หรือปฏิกิริยานิวเคลียร์เช่นการแตกตัวหรือการรวมตัวของนิวเคลียส อย่างใดอย่างหนึ่ง คุณสมบัติสำคัญของเชื้อเพลิงที่มีประโยชน์คือพลังงานที่มีอยู่สามารถถูกบรรจุและปลดปล่อยได้ตามต้องการ และการปลดปล่อยนั้นถูกควบคุมในทางใดทางหนึ่งเพื่อให้สามารถใช้สร้างงานทางวิศวกรรมได้ สิ่งมีชีวิตที่มีคาร์บอนเป็นพื้นฐาน (carbon-based life) ทุกชนิด คือตั้งแต่จุลชีพไปจนถึงสัตว์รวมทั้งมนุษย์ ใช้เชื้อเพลิงเป็นแหล่งพลังงาน เซลล์ต่างๆ จะต้องเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางเคมีที่เรียกว่า เมแทบอลิซึม (metabolism) ซึ่งดึงเอาพลังงานออกมาจากอาหารหรือแสงอาทิตย์ในรูปแบบที่สามารถใช้ในการดำรงชีวิต นอกจากนั้นมนุษย์ใช้เทคนิคที่หลากหลายเพื่อแปรเปลี่ยนพลังงานรูปแบบหนึ่งไปสู่อีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งการสร้างพลังงานก็เพื่อจุดประสงค์ที่มากไปกว่าพลังงานในร่างกายมนุษย์ การใช้พลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกจากเชื้อเพลิงมีตั้งแต่ การทำความร้อนเพื่อการปรุงอาหาร การผลิตไฟฟ้า หรือแม้แต่การเพิ่มแสนยานุภาพของอาว.

ดู มนุษย์และเชื้อเพลิง

เบียร์ดดราก้อน

ียร์ดดราก้อน หรือ มังกรเครา (Bearded dragon, Inland bearded dragon, Central bearded dragon) สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง จำพวกกิ้งก่า ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) เบียร์ดดราก้อน มีสีลำตัวตามธรรมชาติสีน้ำตาลสลับกับลายสีครีมเข้ม ตามลำตัวจะเต็มไปด้วยเกล็ดและหนามเล็ก ๆ ใช้สำหรับป้องกันตัวจากศัตรูผู้ล่า แต่ไม่อาจทำอันตรายสัตว์อื่นใดก่อนได้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่จะมีความยาวรวมหางประมาณ 16-18 นิ้ว มีจุดเด่นที่ถุงใต้คอซึ่งเป็นหนามแหลม แลดูคล้ายเครา อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ยิ่งโดยเฉพาะในตัวผู้ในวัยเจริญพันธุ์จะมีถุงนี้เห็นได้ชัดเจน ซึ่งจะแผ่ขยายออกเป็นสีดำเวลาตื่นเต้น ตกใจ ต่อสู้ หรือใช้ในการเกี้ยวพาราสีตัวเมีย กระจายพันธุ์อยู่ในทะเลทราย ที่มีภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสลับกับเนินทรายเตี้ย ๆ ในประเทศออสเตรเลีย แถบรัฐควีนส์แลนด์, นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี, นิวเซาท์เวลส์ และวิกตอเรีย โดยหากินและอาศัยอยู่บนพื้นมากกว่าจะปีนป่ายตามก้อนหินหรือต้นไม้ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น หนอน, แมลง, กิ้งก่าขนาดเล็ก, ผักชนิดต่าง ๆ เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 8-12 เดือน ในช่วงผสมพันธุ์ ตัวผู้อาจจะผสมพันธุ์กับตัวเมียได้หลายตัว อาจถึงหลักสิบ ใช้เวลาตั้งท้องนาน 20-28 วัน เมื่อวางไข่ ตัวเมียจะไม่กินอาหารก่อน 2-4 วัน ซึ่งตัวเมียจะขุดหลุมกับพื้นทราย ก่อนที่จะวางไข่ในหลุมประมาณ 20-30 ฟองต่อครั้ง หลังจากวางไข่เรียบร้อยแล้ว ตัวเมียสามารถตั้งท้องได้อีกโดยที่ไม่ต้องผ่านการผสมพันธุ์อีกราว 2-4 ท้อง โดยทิ้งช่วงระยะเวลาประมาณ 20-28 วัน เท่ากับการตั้งท้อง ไข่เบียร์ดดราก้อนใช้เวลา 55-65 วัน ในการฟักเป็นตัว อุณหภูมิเป็นส่วนสำคัญในการกำหนดเพศเหมือนเช่นสัตว์เลื้อยคลานอีกหลายประเภท อุปนิสัยและพฤติกรรมของเบียร์ดดราก้อนนั้นในธรรมชาติของเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่หวงถิ่นที่อยู่มาก เบียร์ดดราก้อนไม่ว่าเพศผู้หรือเพศเมียนั้นเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่อย่างสันโดษในธรรมชาติ เบียร์ดดราก้อนไม่จับคู่อยู่ร่วมกันเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มแต่อย่างใด เบียร์ดดราก้อนนั้นไม่มีความผูกพันธ์ุทางสายเลือดและไม่อาจมีความรู้สึกรักหรือว่ารับรู้ถึงการมีความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมสายพันธ์ุได้ การที่ผู้เลี้ยงไม่ศึกษาพฤติกรรมที่ของเบียร์ดดราก้อนให้รอบคอบ อาจจะทำให้เกิดการบาดเจ็บและสูญเสียชีวิตของสัตว์เลี้ยงได้ เบียร์ดดราก้อนเพศผู้นั้นจะเข้าขู่เบียร์ดดราก้อนผู้รุกรานในทันทีที่พบเห็นโดยการฉีดสีไปในส่วนเคราให้เป็นสีดำและการยักหัวขึ้นลงอย่างรุนแรง ก่อนที่เพศผู้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่ตัวเล็กกว่าจะโบกมือขึ้นลงอย่างช้าๆแสดงความยอมแพ้และถอยหนี แต่ถ้าหากว่าเพศผู้ทั้งคู่มีความเหี้ยนกระหือรือทั้งคู่ การเข้าขู่และวิ่งไล่กัดกันย่อมเกิดขึ้น ตามมาด้วยความตายหรือบาดเจ็บของทั้งสองฝ่าย เบียร์ดดราก้อนจำนวนไม่น้อยนั้นได้สูญเสียนิ้ว ขา หรือหาง มาจากการต่อสู้ไม่ว่าในวัยเด็กเล็กหรือโตเต็มวัย หรือแย่กว่านั้นอาจทำให้แผลเกิดการติดเชื้อตามมาด้วยการเน่าและถึงแก่ความตายได้ เบียร์ดดราก้อนไม่ควรนำมาเลี้ยงด้วยกันไม่ว่าจะเพศผู้หรือเพศเมีย ช่วงเวลาที่เหมาะที่สุดที่จะให้มันมาอยู่ร่วมกันคือช่วงการผสมพันธุ์ชั่วคราวเท่านั้น การที่เบียร์ดดราก้อนสองตัวเอาตัวทับกันนั้นไม่ได้เป็นการแสดงออกถึงความรักแต่อย่างใด แต่หากเป็นการแสดงถึงความเป็นใหญ่ในอาณาเขตของตน ตัวที่เป็นใหญ่นั้นจะเอาร่างตัวมันเองบังแสงและความร้อนจากดวงอาทิตย์ทำให้อีกตัวไม่สามารถได้รับแสงได้อย่างเหมาะสม ลักษณะพฤติกรรมแบบนี้ไม่ใช่การแสดงออกทางความรักแต่อย่างใด เนื่องจากเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์เลือดเย็นไม่สามารถสร้างความร้อนเองได้ อาจส่งผลทำให้ตัวที่ด้อยกว่านั้นส่งผลเสียทางสุขภาพและความเครียดในระยะยาวอาทิ ซึมเศร้า ขาดน้ำและขาดสารอาหาร ซึ่งสามารถทำให้ถึงตายได้ เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่ไม่ค่อยแสดงออกทางอาการ ไม่ว่าจะเจ็บ หรือป่วย แต่จะตายทันทีเมื่อถึงขีดสุดที่มันจะทนได้ เบียร์ดดราก้อนที่มีอาการเครียดนั้น จะแสดงออกโดยการฉีดสีดำเข้าไปที่ใต้ท้อง มีลักษณะเป็นเส้นลายวงๆ เบียร์ดดราก้อนที่ไม่มีอาการเครียดจะมีท้องลักษณะขาวโพลน ไม่มีเส้นดำ หรือลายใดๆใต้ท้องลำตัว หากมีอาการดังกล่าวเกิดขึ้น ควรที่จะนำเบียร์ดดราก้อนไปในที่ที่มันรู้สึกปลอยภัยเช่นตู้ที่อยู่ของมันในทันที มักจะทำให้อาการเหล่านี้หายไปได้ เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่ขี้เกียจ ไม่ค่อยชอบเดินและมักจะอยู่เฉยๆตากแดดตลอดวัน เมื่อเบียร์ดดราก้อนรู้สึกร้อน มันจะอ้าปากเพื่อเป็นการคลายความร้อน เนื่องจากเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์เลื้อยคลาน พวกมันไม่สามารถระบายความร้อนทางเหงื่อได้เฉกเช่นมนุษย์ เบียร์ดดราก้อนที่ตากแดด ควรจะมีที่กำบังขณะตากแดดบ้าง จะทำให้เบียร์ดดราก้อนสามารถเข้าไปหลบแดดได้ เพื่อหลีกเลี่ยงการช็อกตายโดยความร้อนจัดในเวลากลางวัน เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่เก็บน้ำในร่างกาย พวกมันกินน้ำน้อยมากต่อวันหรือไม่กินเลย เบียร์ดดราก้อนบางตัวมักไม่ยอมกินน้ำจากถ้วย แต่พวกมันสามารถได้รับน้ำจากอาหารที่กินเช่นผักหรือผลไม้ได้ ลักษณะของเบียร์ดดราก้อนที่แข็งแรงนั้นควรจะหัวเชิดตรง ดวงตาเปิดเป็นวงกลมเต็มที่ ไม่ง่วงซึมช่วงตอนกลางวันแต่อย่างใด เบียร์ดดราก้อน นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง เพราะมีอุปนิสัยไม่ดุร้าย ไม่กัดหรือทำร้ายมนุษย์ โดยสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้ โดยมักจะเป็นตู้ปลาที่ปูพื้นด้วยทรายหรือกรวดแห้ง ๆ เหมือนสภาพที่อยู่ในธรรมชาติ ซึ่งปัจจุบัน สามารถเพาะเบียร์ดดราก้อนที่มีความยาวถึง 22 นิ้วได้ ซึ่งนับว่ามีความใหญ่กว่าขนาดในธรรมชาติ หรือมีสีต่าง ๆ ผิดไปจากธรรมชาติด้วย เช่น สีแดง, สีเหลืองทั้งตัว หรือหนามบนตัวหายไปหมด หรือแม้แต่ลำตัวโปร่งใสจนมองเห็นอวัยวะต่าง ๆ ภายในได้ลาง ๆ ดวงตามีแต่ส่วนตาดำ ไม่มีตาขาว เป็นต้น.

ดู มนุษย์และเบียร์ดดราก้อน

เบียร์ดดราก้อน (สกุล)

ียร์ดดราก้อน (อังกฤษ: Bearded dragons; มังกรเครา) ชื่อสามัญที่ใช้เรียกกิ้งก่าในสกุล Pogona มีรูปร่างเหมือนกิ้งก่าทั่วไป แต่มีจุดเด่นอยู่ที่ถุงใต้คอซึ่งเป็นหนามแหลม อันเป็นที่มาของชื่อ ยิ่งโดยเฉพาะในตัวผู้ในวัยเจริญพันธุ์จะมีถุงนี้เห็นได้ชัดเจน ซึ่งจะแผ่ขยายออกเป็นสีดำเวลาตื่นเต้นหรือตกใจ เบียร์ดดราก้อน มีขนาดความยาวโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 18 นิ้ว มีทั้งสิ้น 7 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถแยกเพศได้ชัดเจนเมื่ออายุได้ 1 ปี พบกระจายพันธุ์ในทะเลทรายทางตอนเหนือของออสเตรเลีย สามารถเปลี่ยนสีได้ตามสภาพแวดล้อม กินอาหารได้ทั้งพืช,แมลงและ หนอนนก หากินในเวลากลางวัน โดยกินผักได้หลากหลายชนิด เช่น ข้าวโพด, ผักกาดขาว, ผักกาดหอม, ฟักทอง, ผักกวางตุ้ง, แครอท มีอุปนิสัยที่ไม่ดุร้าย เชื่องต่อมนุษย์ จึงนิยมนำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลาน ยิ่งโดยเฉพาะในตัวที่มีสีสันแปลกแตกต่างไปจากปกติ สนนราคาก็จะยิ่งแพงขึ้น.

ดู มนุษย์และเบียร์ดดราก้อน (สกุล)

เพียงพอน

ระวังสับสนกับ: พังพอน เพียงพอน (weasel, mink, ferret, ermine, polecat) คือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในสกุล Mustela ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวงศ์ Mustelidae มีถิ่นกำเนิดกว้างขว้างทั้งในทวีปเอเชีย, แอฟริกาเหนือ, ยุโรป, อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ เพียงพอนมีรูปร่างโดยรวมเป็นสัตว์ขนาดเล็ก มีความยาวตั้งแต่ 15–55 เซนติเมตร น้ำหนักตั้งแต่ 30–40 กรัม ไปจนถึง 1.4–3.2 กิโลกรัม เป็นสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร มีรูปร่างเพรียวยาว ส่วนขาทั้งสี่ข้างสั้น มีนิ้วเท้า 5 นิ้ว เล็บมีความแหลมคม แต่พับเก็บเล็บไม่ได้ ปากแหลม ภายในปากมีฟันแหลมคมจำนวน 34 ซี่ ทุกชนิดจะมีต่อมกลิ่นที่ก้น ซึ่งจะผลิตสารเคมีสีเหลืองคล้ายน้ำมันที่มีกลิ่นเหม็นรุนแรง ใช้ในประกาศอาณาเขต เป็นสัตว์มีความปราดเปรียวว่องไว หากินได้ทั้งกลางวันและกลางคืน โดยจะล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู, หนูผี, ตุ่น, แมลง, สัตว์เลื้อยคลาน หรือสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำเป็นอาหาร รวมทั้งอาจล่ากระต่ายได้ด้วย รวมทั้งล่าเป็ด, ไก่, นกกระทา ในพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ได้ด้วย ซึ่งจะใช้ลำตัวที่เพียวยาวนั้นมุดเข้าไปล่าถึงในโพรงดิน นอกจากนี้แล้ว เพียงพอนเป็นสัตว์ที่เมื่อผสมพันธุ์กันแล้ว ตัวผู้จะผสมกับตัวเมียหลายตัว แต่จะอยู่กับตัวเมียเพียงตัวเดียว ในบางชนิด ไข่เมื่อได้รับการปฏิสนธิแล้ว จะยังไม่ฝังตัวในผนังมดลูก แต่จะลอยอยู่อย่างนั้น ซึ่งอาจกินเวลานับ 10 เดือน จะฝังตัวเฉพาะเมื่อถึงฤดูกาลที่อาหารอุดมสมบูรณ์เท่านั้น มีระยะเวลาการตั้งท้องนานประมาณ 35–45 วัน ออกลูกครั้งละ 4–10 ตัว และอาจมากได้ถึง 13 ตัว ซึ่งจะออกลูกในโพรงของสัตว์ที่ล่าได้ ลูกที่เกิดใหม่ตาจะยังไม่ลืม จะมีขนบาง ๆ ปกคลุมลำตัวเท่านั้น จะลืมตาเมื่ออายุได้ 3–4 สัปดาห์ หรืออาจจะ 5–6 สัปดาห์ มีระยะเวลาการกินนมแม่ 5–10 สัปดาห์ และจะอาศัยอยู่กับแม่จนอายุได้ 1 ปี ในอดีต เพียงพอนมักถูกมนุษย์ล่า เพื่อนำขนและหนังไปทำเป็นเสื้อขนสัตว์ที่เรียกว่า "เสื้อขนมิงก์" ในปัจจุบัน ในบางชนิดนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง แบ่งออกได้เป็น 18 ชนิด (ดูในตาราง) ในประเทศไทยมักพบในพื้นที่ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลนับพันเมตร พบประมาณ 3 ชนิด ได้แก่ เพียงพอนไซบีเรีย (M.

ดู มนุษย์และเพียงพอน

เพียงพอนไซบีเรีย

ียงพอนไซบีเรีย (Siberian weasel, Kolonok) เป็นเพียงพอนชนิดหนึ่ง มีรูปร่างคล้ายกับเพียงพอนทั่ว ๆ ไป คือ เพรียวยาว ส่วนขาสั้น ลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลอ่อน บริเวณส่วนท้องจะมีสีที่อ่อนกว่า แต่สีจะเข้มขึ้นในช่วงฤดูร้อน ขนบริเวณคอจะมีสีขาวหรือสีน้ำตาลแดง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 27-30 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 13.5-15 เซนติเมตร โดยตัวผู้จะมีน้ำหนักและขนาดที่ใหญ่กว่าตัวเมีย น้ำหนักประมาณ 0.5-2 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบตั้งแต่ไซบีเรียในรัสเซีย, เอเชียกลาง, เอเชียตะวันออก, อนุทวีปอินเดีย, ภาคเหนือและภาคอีสานของไทย และทางตอนเหนือของลาวและเวียดนาม มักอาศัยอยู่ในป่าที่อุดมสมบูรณ์ที่มีความชื้นไม่มากนัก และอยู่ในระดับพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเล 1,500-5,000 เมตร บางครั้งอาจเข้ามาหากินในพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ได้ ออกหาสัตว์ขนาดเล็กกว่า เช่น หนู เป็นอาหาร ออกหาอาหารทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่ในโพรงดิน ผสมพันธุ์ในเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม ตั้งท้องนาน 35-45 วัน ออกลูกครั้งละ 4-10 ตัว จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ดู มนุษย์และเพียงพอนไซบีเรีย

เกม

การเล่นชักเย่อ เกมไพ่ เป็นเกมอีกประเภทหนึ่งที่นิยมเล่นทั่วโลก เกม เป็นลักษณะของกิจกรรมของมนุษย์เพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เพื่อความสนุกสนานบันเทิง เพื่อฝึกทักษะ และเพื่อการเรียนรู้ เป็นต้น และในบางครั้งอาจใช้เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาได้ เกมประกอบด้วยเป้าหมาย กฎเกณฑ์ การแข่งขันและปฏิสัมพันธ์ เกมมักจะเป็นการแข่งขันทางจิตใจหรือด้านร่างกาย หรือทั้งสองอย่างรวมกัน ซึ่งส่งผลให้เกิดพัฒนาการของทักษะ ใช้เป็นรูปแบบของการออกกำลังกาย หรือการศึกษา บทบาทสมมุติและจิตศาสตร์ เป็นต้น เกมเป็นกิจกรรมของมนุษย์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน Royal Game of Ur, Senet และ Mancala เป็นเกมที่ได้ชื่อว่าเก่าแก่ที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยสามารถย้อนไปได้ถึง 2,600 ปีก่อนคริสตกาล.

ดู มนุษย์และเกม

เกรทโอลด์วัน

กรทโอลด์วัน หรือ เฒ่าผู้ยิ่งใหญ่ เป็นศัพท์ซึ่งใช้เรียกสิ่งสมมุติในวรรณกรรมกลุ่มตำนานคธูลู ซึ่งมีที่มาจากบทประพันธ์ของเอช.

ดู มนุษย์และเกรทโอลด์วัน

เกลือแร่

กลือแร่ (Dietary mineral) มีบทบาทและหน้าที่สำคัญใน ร่างกายหลายอย่างโดยเฉพาะอย่างยิ่งทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของร่างกาย เป็นองค์ประกอบของ เซลล์เนื้อเยื่อและเส้นประสาท เป็นองค์ประกอบของเอนไซม์ ฮอร์โมน และวิตามิน นอกจากนี้ เกลือแร่ยังทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในทุกอวัยวะ จากความสำคัญและหน้าที่ ดังกล่าวนั้น จะเห็นว่า เกลือแร่เป็นสารอาหารที่มีความสำคัญยิ่งต่อร่างกาย ซึ่งร่างกายต้องได้ รับเพียงพอ ร่างกายจึงจะเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่และแข็งแรง อาหารทั่วไปที่เป็นแหล่งของเกลือแร่ทั้งชนิดหลักและชนิดปริมาณน้อยแตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิดของอาหาร ตัวอย่าง เกลือแร่ที่มีความสำคัญต่อร่างกายประกอบด้วย แคลเซียม ฟอสฟอรัส ไอโอดีน เหล็ก แมกนีเซียม สังกะสี ทองแดง และโพแทสเซียม ร่างกายมีเกลือแร่ 4% ของน้ำหนักร่างกายทั้งหมด เกลือแร่ที่ร่างกายต้องการมีดังต่อไปนี้.

ดู มนุษย์และเกลือแร่

เกวตซัลโกอัตล์

วาดของเกวตซัลโกอัตล์ เกวตซัลโกอัตล์ในรูปงูใหญ่ เกวตซัลโกอัตล์ เป็นเทพผู้สร้างโลกในคติความเชื่อของชาวอินเดียนแดง เป็นผู้สร้างมนุษย์และเป็นเทพผู้เป็นใหญ่ในโลกแห่งความตาย รูปลักษณ์เป็นรูปงูใหญ่ ในตำนานของชาวอินเดียนแดงกล่าวว่าเทพองค์นี้ได้ลงมายังโลกมนุษย์และสร้างมนุษย์จากกองกระดูกในโลก.

ดู มนุษย์และเกวตซัลโกอัตล์

เกเด

เกเด้ (Guede) ปีศาจผู้ดูแลคนตาย ในลัทธิวูดู เกเด้ เป็นผีของประเทศเฮติ เกเด้มักปรากฏตัวในรูปร่างชายผอมสวมชุดดำ ใส่หมวกทรงสูงสีดำ และแว่นตาดำ หยั่งรู้เรื่องราวทุกอย่างของมนุษย์ เกเด้มีพ่อชื่อว่าบารอนซาเมดี้ และแม่ชื่อว่ามามองบริจิต เกเด้ชอบเหล้า บุหรี่ ไม่ก็อาหารใส่พริกไทยเยอะๆ ปรากฏได้ทุกเวลา นอกจากเกเด้แล้ว ยังมีบาบาโก้ เกเด้นิโบ และเกเด้มาซากา เป็นต้น หมวดหมู่:ปรัมปราวิทยา.

ดู มนุษย์และเกเด

เมกะลาเนีย

มกะลาเนีย (Megalania; ชื่อวิทยาศาสตร์: Varanus priscus) เป็นสัตว์เลื้อยคลานกินเนื้อขนาดใหญ่ในวงศ์เดียวและสกุลเดียวกับเหี้ยในปัจจุบัน ซึ่งเมกะลาเนียได้สูญพันธุ์ไปแล้ว แต่ทว่า เมกะลาเนีย นั้นมีขนาดใหญ่ได้มากถึง 5.5 เมตร และหนักได้ถึง 600 กิโลกรัม ซึ่งเท่ากับว่าใหญ่กว่ามังกรโคโมโด สัตว์ในวงศ์เหี้ยขนาดใหญ่ที่สุดที่ยังสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันนี้ถึง 2 เท่า เมกะลาเนีย อาศัยอยู่บริเวณที่เป็นทวีปออสเตรเลียในปัจจุบัน และได้สูญพันธุ์ไปเมื่อ 45,000-50,000 ปีก่อน ในปลายยุคเพลสโตซีน หรือ ยุคสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมยุคน้ำแข็ง เชื่อว่าเมกะลาเนีย มีพฤติกรรมและมีพิษในน้ำลายเช่นเดียวกับมังกรโคโมโดในปัจจุบัน และเชื่อว่าเมกะลาเนียยังเป็นสัตว์นักล่าที่น่ากลัวมากอีกด้วย เนื่องจากมีกรามที่ใหญ่และฟันที่แหลมคมมากในปากและอาหารโปร่ดเมกะลาเนียคือ ไดโปรโตดอนสึงมันยังมีคู่แข่งอย่า สิงโตมาซูเพียล หรือ สิงโตมีกระเป๋าหน้าท้อง อีกด้วย สำหรับคำว่าเมกะลาเนียนั้นตั้งโดย เซอร์ริชาร์ด โอเวน นักบรรพชีวินวิทยาชาวอังกฤษ ซึ่งเป็นผู้ที่ศึกษามัน และตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ให้แก่มันด้วย โดยมาจากภาษากรีก ที่มีความหมายว่า "ผู้เดินทางที่ยิ่งใหญ่ในอดีต".

ดู มนุษย์และเมกะลาเนีย

เม็กกาโลดอน

ม็กกาโลดอน (Megalodon; มาจากภาษากรีกโบราณคำว่า μέγας (megas) "ใหญ่, ทรงพลัง" และ ὀδoύς (odoús), "ฟัน"—ต้นกำเนิดคือ odont-, ตามที่เห็นในรูปแบบสัมพันธ์รูปแบบ ὀδόντος, odóntos; หมายความโดยรวม คือ ฟันใหญ่) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เม็ก (Meg) ปลาฉลามขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่โลกเคยมีมา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Carcharocles megalodon โดยเดิมใช้ชื่อวิทยาศาตร์ว่า Carcharodon megalodon ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันกับปลาฉลามขาว (C.

ดู มนุษย์และเม็กกาโลดอน

เม็ดรู้สัมผัส

ม็ดรู้สัมผัส หรือ เม็ดไวสัมผัส (Meissner's corpuscle, Tactile corpuscle) เป็นปลายประสาทรับแรงกลชนิดหนึ่งที่ผิวหนังซึ่งไวสัมผัสแบบเบา ๆ โดยเฉพาะก็คือ ไวสูงสุดเมื่อรับรู้แรงสั่นระหว่าง 2-50 เฮิรตซ์ เป็นตัวรับความรู้สึกที่ปรับตัวอย่างรวดเร็ว โดยหนาแน่นมากสุดที่ปลายนิ้วมือ (เป็นใยประสาทที่มีมากที่สุดในมือมนุษย์ คือ 40%).

ดู มนุษย์และเม็ดรู้สัมผัส

เม็ดเลือดแดง

ซลล์เม็ดเลือดแดงในร่างกายมนุษย์ เม็ดเลือดแดง (red blood cell, Erythrocyte: มาจากภาษากรีก โดย erythros แปลว่า "สีแดง" kytos แปลว่า "ส่วนเว้า" และ cyte แปลว่า "เซลล์") มีหน้าที่ในการส่งถ่ายออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกาย เม็ดเลือดแดงมีขนาดประมาณ 6-8 ไมครอน มีลักษณะค่อนข้างกลม เว้าบริเวณกลางคล้ายโดนัท ไม่มีนิวเคลียส มีสีแดง เนื่องจากภายในมีสารฮีโมโกลบิน โดยในกระแสเลือดคนปกติจะพบเม็ดเลือดแดงที่เจริญเติบโตเต็มที่ (Mature red cell) มีเพียงไม่เกิน 2% ที่สามารถพบเม็ดเลือดแดงตัวอ่อน (Reticulocyte) ได้.

ดู มนุษย์และเม็ดเลือดแดง

เยติ

รคดี เยติ หรือ มนุษย์หิมะ (เนปาลี: हिममानव himamānav, คำแปล "มนุษย์หิมะ") เป็นชื่อที่ใช้เรียกสัตว์ประหลาดชนิดหนึ่ง ในความเชื่อของชาวเชอร์ปา ชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่แถบเทือกเขาหิมาลัย ในประเทศเนปาล, ภูฏาน, ธิเบต, จีน จนถึงบางพื้นที่ในมองโกเลียและรัสเซีย โดยเชื่อว่าเยติ เป็นสัตว์ขนาดใหญ่สูงตั้งแต่ 5–8 ฟุต น้ำหนักประมาณ 600 ปอนด์ ที่คล้ายมนุษย์ผสมกับลิงไม่มีหางคล้าย กอริลลา มีขนยาวสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลดำหรือสีเทาหรือเทาเข้มปกคลุมทั้งลำตัว ยกเว้นใบหน้าที่มีสีคล้ำ มีเสียงร้องที่น่าสะพรึงกลัว โดยปรกติแล้ว เยติเป็นสัตว์ที่มีนิสัยสงบเสงี่ยม แต่อาจดุร้ายโจมตีใส่มนุษย์และสัตว์เลี้ยง เช่น จามรี ได้ในบางครั้ง เยติ ปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมของชาวเชอร์ปามาอย่างช้านาน โดยถูกกล่าวถึงในนิทานและเพลงพื้นบ้าน และเรื่องเล่าขานต่อกันมาถึงผู้ที่เคยพบมัน นอกจากนี้แล้วยังปรากฏในศิลปะของพุทธศาสนานิกายมหายานแบบธิเบต โดยปรากฏเป็นภาพในพรมธิเบตที่แขวนไว้ที่ฝาผนังเหมือนจิตรกรรมฝาผนังในวัดลามะอายุกว่า 400 ปี เป็นภาพของสิ่งมีชีวิตประหลาดอย่างหนึ่งที่ขนดกอยู่ด้านมุมภาพและในมือถือกะโหลกมนุษย์อยู่ และปัจจุบันนี้ ก็มีสิ่งที่เชื่อว่าเป็นหนังหัวของเยติถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีในวัดลามะแห่งหนึ่งในคุมจุง ซึ่งนับว่าเยติเป็นสัตว์ที่ถูกกล่าวอ้างถึงยาวนานกว่าสัตว์ประหลาดที่มีลักษณะคล้ายกันชนิดอื่นที่พบในอีกซีกโลก เช่น บิ๊กฟุต หรือ ซาสควาทช์ ในทวีปอเมริกาเหนือ, ยาวี ในทวีปออสเตรเลีย หรืออัลมาส์ ในเอเชียกลาง หากแต่หลักฐานเกี่ยวกับเยติเมื่อเทียบกับบิ๊กฟุตแล้วพบน้อยกว่ามาก แต่มีหลายกรณีที่บ่งชี้ว่าเป็นสัตว์ที่ดุร้าย ก้าวร้าวกว่ามาก นอกจากคำว่าเยติแล้ว ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ ที่เรียกเยติ เช่น เธลม่า (Thelma), แปลว่า "ชายตัวเล็ก" เชื่อว่ามีนิสัยรักสงบ ชอบสะสมกิ่งไม้และชอบร้องเพลงขณะที่เดินไป, ดซูท์เทห์ (Dzuteh) เป็นเยติขนาดใหญ่ มีขนหยาบกร้านรุงรัง มีนิสัยดุร้ายชอบโจมตีใส่มนุษย์, มิห์เทห์ (Mith-teh) มีนิสัยคล้ายดซูท์เทห์ คือ ดุร้าย มีขนสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลดำ, เมียกา (Mirka) แปลว่า "คนป่า" เชื่อว่าหากมันพบเห็นสิ่งใดไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์ มันจะทำร้ายจนถึงแก่ความตาย, คัง แอดมี (Kang Admi) แปลว่า "มนุษย์หิมะ" และ โจบราน (JoBran) แปลว่า "ตัวกินคน" ขณะที่ในภูฏานเรียกว่า มิกอย (Migoi) หรือ นากอย (Nagoi) ส่วนชื่อ มนุษย์หิมะ นั้น ปรากฎขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ.

ดู มนุษย์และเยติ

เรซิเดนต์อีวิล 4

รซิเดนต์อีวิล 4 (Resident Evil 4) หรือ ไบโอฮาซาร์ด 4 (Biohazard 4 バイオハザード4 Baiohazādo Fō ?) เป็นวิดีโอเกมแนวแอ็กชันสยองขวัญเอาชีวิตรอด ผลิตและพัฒนาโดยแคปคอมโพรดักชันสตูดิโอ 4 และออกจำหน่ายโดยผู้จัดทำหลายแห่ง ได้แก่ แคปคอม, ยูบิซอฟต์, นินเทนโดออสเตรเลีย, เรดแอนต์เอนเตอร์ไพรส์ และทีเอชคิวเอเชียแปซิฟิก เป็นเกมลำดับที่ 6 ในเกมชุดเรซิเดนต์อีวิล แรกเริ่มวางจำหน่ายสำหรับเครื่องเกมคิวบ์ในเดือนมกราคม..

ดู มนุษย์และเรซิเดนต์อีวิล 4

เลวี่ อาแทน

ลวี่ อาแทน เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดย ยูโตะ นาคาโนะ สังกัดวาเรียสุดยอดกลุ่มนักฆ่าของวองโกเล่ เป็นตัวแทนแห่ง Envy - ความอิจฉา หนึ่งในบาปเจ็ดประการ อาวุธกล่อง คือ ปลากระเบนอัสนี เลวีตั้งชื่อว่า ลิไวร.

ดู มนุษย์และเลวี่ อาแทน

เวชพันธุศาสตร์

เวชพันธุศาสตร์ (medical genetics) เป็นการแพทย์เฉพาะทางอย่างหนึ่ง มุ่งวินิจฉัยและให้การดูแลโรคพันธุกรรม ต่างจาก มนุษยพันธุศาสตร์ (human genetics) ตรงที่ human genetics จะศึกษาพันธุศาสตร์เกี่ยวกับมนุษย์ทั้งหมดโดยอาจเกี่ยวหรือไม่เกี่ยวกับโรคก็ได้ หมวดหมู่:การแพทย์เฉพาะทาง.

ดู มนุษย์และเวชพันธุศาสตร์

เวนดิโก

วนดิโก (Wendigo) เป็นความเชื่อที่อยู่ในคติชนวิทยาของชาวอินเดียแดงในทวีปอเมริกาเหนือ เวนดิโก มีชื่อเรียกต่างออกไปในหลายชื่อ ได้แก่ วินดาโก (Windago), วินดิโก (Windiga), วิติโก (Witiko), วีตีโก (Wee-tee-go), หรือ วีห์ติโก (Wihtikow) หรือคำอื่น ๆ ที่ใกล้เคียงกัน เวนดิโกเป็นความเชื่อรวมกันของอินเดียนแดงเผ่าต่าง ๆ ทั้งในแคนาดาและสหรัฐอเมริกา เช่น เผ่าครี, เผ่าอินนู และเผ่าซอเท็ก เวนดิโกคล้ายกับซอมบี้ เป็นปีศาจร้ายแห่งป่าที่เข้าสิงผู้คนให้กินเนื้อมนุษย์ด้วยกันเป็นอาหาร โดยเชื่อว่า เวนดิโกมีรูปร่างคล้ายมนุษย์กึ่งสัตว์ป่า แต่มีรูปร่างที่ผอมบางจนเห็นกระดูก ผิวหนังซีดเหมือนศพ มีตาลึกโบ๋และริมฝีปากแห้ง มีเลือดนองอยู่ตลอดเวลา มีเขี้ยวสีเหลืองยาวและลิ้นยาวที่ตวัดไปมาได้ นอกจากนี้แล้ว เวนดิโกยังมีกลิ่นตัวเหม็นคล้ายกับกลิ่นซากศพขณะเน่าเปื่อยอย่างเต็มที่ ซึ่งเวนดิโกสามารถเติบโตและมีร่างกายที่ใหญ่โตตามระยะเวลาที่ได้สั่งสมการกินเนื้อมนุษย์ ซึ่งในวิถีของอินเดียนแดงบางเผ่า มีลักษณะคล้ายกับเวนดิโกอยู่ เช่น มีรายงานจากทางตอนเหนือของรัฐมินนิโซตา ที่มักมีรายงานการหายสาบสูญของนักเดินป่า เป็นต้น เรื่องราวของเวนดิโกที่โด่งดังที่สุดเกิดขึ้นเมื่อปี..

ดู มนุษย์และเวนดิโก

เศรษฐกิจสีเขียว

รษฐกิจสีเขียว (Green Economy) เป็นเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นให้เกิดความกินดีอยู่ดีของมนุษย์และความเท่าเทียมทางสังคมโดยลดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและทรัพยากรของระบบนิเวศน์เป็นผลลัพธ์ โดยทั่วไปแล้วเศรษฐกิจสีเขียวเป็นความพยายามในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์พร้อมกับการดูแลสิ่งแวดล้อมและการลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติแทนการแสวงหาผลกำไรเพียงอย่างเดียวและการดำเนินธุรกิจที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลืองและก่อมลพิษ โดยดำเนินระบบหรือทำการพัฒนาโดยตั้งอยู่บนฐานของการพัฒนาแบบยั่งยืนและคำนึงถึงความสัมพันธ์ของระบบนิเวศน์และเศรษฐกิจ (Cheng Siwei, 2011: 2).

ดู มนุษย์และเศรษฐกิจสีเขียว

เสมหะ

มหะ เสลดหรือสิ่งขาก (Phlegm) เป็นของไหลเหนียวที่ผลิตโดยเยื่อเมือกของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ คำจำกัดความของเสหะคือเมือกที่ผลิตโดยระบบการหายใจนอกจากเมือกที่ออกมาทางช่องจมูกโดยเฉพาะที่ออกมาจากร่างกายโดยการจาม ส่วนผสมของเสหะอาจไม่เหมือนกันในแต่ละคนขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ สถานะของระบบภูมิต้านทาน หรือพันธุกรรมของคน ทั้งนี้ เสมหะยังเป็นเจลที่มีส่วนผสมของน้ำเป็นหลักและมีสารประกอบโปรตีน โปรตีนที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรค ลิพิดและอื่นๆอีกมากมาย เสมหะอาจจะมีหลายสีแตกต่างกันไป.

ดู มนุษย์และเสมหะ

เสือ

ือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ฟิลิดีซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตรและหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งยกเว้นเสือชีต้า เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เสือและแมวประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย เสือจัดเป็นสัตว์นักล่าที่มีความสง่างามในตัวเอง โดยเฉพาะเสือขนาดใหญ่ที่แลดูน่าเกรงขราม ไม่ว่าจะเป็นเสือโคร่งหรือเสือดาว ผู้ที่พบเห็นเสือในครั้งแรกย่อมเกิดความประทับใจในความสง่างาม แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดความหวาดหวั่นเกรงขามในพละกำลังและอำนาจภายในตัวของพวกมัน เสือจึงได้รับการยกย่องให้เป็นราชาแห่งสัตว์ปา และเป็นจ้าวแห่งนักล่าอย่างแท้จริง เสือ จ้าวแห่งนักล่า, ศลิษา สถาปรวัฒน์, ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, สำนักพิมพ์สารคดี, 2538, หน้า 14 ปัจจุบันจำนวนของเสือในประเทศไทยลดจำนวนลงเป็นอย่างมากในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี เสือกลับถูกล่า ป่าภายในประเทศถูกทำลายเป็นอย่างมาก สภาพธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ทุกวันนี้ปริมาณของเสือที่จัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของห่วงโซ่อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการสูญสิ้นหรือลดจำนวนลงอย่างมากของเสือซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบนิเวศทั้งหมด การลดจำนวนอย่างรวดเร็วของเสือเพียงหนึ่งหรือสองชนิดในประเทศไทย ทำให้ปริมาณของสัตว์กินพืชเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้ธรรมชาติเสียความสมดุลในที.

ดู มนุษย์และเสือ

เสือก

ือก เป็นคำกริยาและคำวิเศษณ์ หมายความว่า ชอบเข้าไปยุ่งในเรื่องของคนอื่นหรือเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตน อยากรู้อยากเห็น โดยที่อีกฝ่ายไม่ต้องการให้มายุ่งหรือเกี่ยวข้อง ในภาษาไทยมีไวพจน์อยู่หลายคำ เช่น จุ้น, จุ้นจ้าน, เจ๋อ, ละลาบละล้วง, สอดรู้, สอดรู้สอดเห็น, สะเหล่อ, สะเออะ, สาระแน, สู่รู้, เสนอหน้า, เสือกกระบาล, เสือกกะโหลก, แส่ ฯลฯ ซึ่งทุกคำมีความหมายในทางลบ และมักใช้เป็นคำด่า อาการเสือกเป็นอารมณ์ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมอยากรู้ อยากเห็น อยากค้นหา อยากสืบเสาะ ซึ่งอาการเช่นนี้มิได้มีแต่เฉพาะในมนุษย์เท่านั้น แต่สัตว์อีกหลายสายพันธุ์ก็ดุจกัน หากผู้มีอาการได้สนองความรู้เช่นนี้โดยมีพฤติกรรมต่าง ๆ จนติดเป็นสันดาน อย่างไรก็ดี อาการเสือกเป็นพฤติกรรมอันไม่เป็นที่พึงประสงค์ ผู้เสือกอาจประสบอันตรายได้ ดังคำว่า "แส่หาเรื่อง" และการเสือกก็มักตามมาด้วยการนินทาไม่ว่าข้อเท็จจริงจะเป็นอย่างไร แต่หากพฤติกรรมนั้นกระทำให้ผู้อื่นต้องเสียหาย อาจเป็นความผิดอาญาฐานหมิ่นประมาทและอาจถูกฟ้องเอาค่าเสียหายทางแพ่งได้และเป็นคำหยาบคายที่ไม.

ดู มนุษย์และเสือก

เสือดาว

ำหรับเสือดำ มีบทความขยายที่: เสือดำ เสือดาว หรือ เสือดำ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จัดอยู่ในวงศ์เสือและแมว (Felidae) เป็นเสือขนาดใหญ่รองจากเสือโคร่ง (P.

ดู มนุษย์และเสือดาว

เสือดาวหิมะ

ือดาวหิมะ (Snow leopard, Ounce) สัตว์ในวงศ์ Felidae ชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์ป่าที่หายากใกล้สูญพันธุ์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera uncia เดิมทีเสือดาวหิมะ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Uncia uncia โดยถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Uncia โดยใช้มาตั้งแต่ยุคทศวรรษที่ 30 แต่จากการศึกษาด้านจีโนไทป์พบว่าอยู่ในสกุล Panthera เช่นเดียวกับเสือใหญ่หลายชนิด ตั้งแต่ปี..

ดู มนุษย์และเสือดาวหิมะ

เสือปลา

ือปลา หรือ เสือแผ้ว (ชื่อเรียกเสือปลาในตัวที่มีขนาดใหญ่; Fishing cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็ก จัดเป็นแมวป่าขนาดกลาง รูปร่างอ้วนป้อม ขนตามลำตัวค่อนข้างสั้นและหนา ขนสีเทาอมน้ำตาล หรือขนสีเทาอมมะกอก มีจุดสีน้ำตาลเข้มแกมดำเรียงเป็นลายแนวขนานไปกับความยาวลำตัว โดยขนแบ่งออกเป็น 2 ชั้น ซึ่งพัฒนามาเพื่อหากินกับน้ำโดยเฉพาะ ขนชั้นในสั้นเกรียนและแน่นมากจนน้ำซึมผ่านไม่ได้ ทำให้ตัวของเสือปลาแห้ง และช่วยรักษาความอบอุ่นเอาไว้ในขณะลงจับปลาในน้ำ ขนชั้นในสั้นกว่าขนชั้นนอก มีความหนาและยาวกว่าขนชั้นใน ขนชั้นนอกเป็นชั้นที่มีลวดลายและหนามันวาว หางยาวเพียงหนึ่งในสามของลำตัว มีพังผืดบาง ๆ ยึดระหว่างนิ้วเท้าหน้า ยังไม่พัฒนา เก็บเล็บไม่ได้เหมือนเสือชนิดอื่น ๆ เสือปลามีหัวขนาดใหญ่ หูสั้นมีกรอบสีดำ ดวงตาสีเขียว มีความยาวตั้งแต่หัวถึงลำตัว 70–90 เซนติเมตร หรือเกินกว่านั้น หางสั้น 20–30 เซนติเมตร น้ำหนัก 7–11 กิโลกรัม ขนาดของเสือปลาอาจมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของอาหารซึ่งก็คือความสมบูรณ์ของป่า ลูกเสือปลาขนาดเล็กมีลักษณะคล้ายแมวดาว (P.

ดู มนุษย์และเสือปลา

เสือโคร่ง

ือโคร่ง หรือ เสือลายพาดกลอน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris ในวงศ์ Felidae จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดที่สุดในวงศ์นี้ และเป็นเสือชนิดที่ใหญ่ที่สุดด้ว.

ดู มนุษย์และเสือโคร่ง

เสือโคร่งชวา

ือโคร่งชวา เป็นเสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris sondaica เป็นเสือโคร่ง 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่เคยพบได้ในอินโดนีเซีย โดยจะพบได้เฉพาะบนเกาะชวาเท่านั้น ปัจจุบันเสือโคร่งชวาได้สูญพันธุ์ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เช่นเดียวกับเสือโคร่งบาหลี (P.

ดู มนุษย์และเสือโคร่งชวา

เสือโคร่งบาหลี

ือโคร่งบาหลี (Bali tiger) เสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris balica เป็นเสือโคร่ง 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่เคยมีอยู่ในอินโดนีเซีย โดยเสือโคร่งบาหลีจะพบได้เฉพาะบนเกาะบาหลีเท่านั้น ปัจจุบันได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วจากการล่าด้วยน้ำมือของมนุษย์ เสือโคร่งบาหลีนับเป็นเสือโคร่งที่มีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่มีในโลก เมื่อเทียบกับเสือโคร่งไซบีเรีย (P.

ดู มนุษย์และเสือโคร่งบาหลี

เสือโคร่งสุมาตรา

ำหรับเสือสุมาตราที่หมายถึงปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ดูที่: ปลาเสือสุมาตรา เสือโคร่งสุมาตรา (Sumatran tiger) เสือโคร่งสายพันธุ์ย่อยสายพันธุ์หนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris sumatrae ในวงศ์ Felidae จัดเป็นเสือโคร่งขนาดเล็กที่สุดในโลกที่ยังคงพบได้จนถึงทุกวันนี้.

ดู มนุษย์และเสือโคร่งสุมาตรา

เสือโคร่งอินโดจีน

ือโคร่งอินโดจีน (Indochinese tiger, Corbett's tiger) เสือโคร่งชนิดย่อยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris corbetti อยู่ในวงศ์เสือและสิงโต (Felidae) รูปร่างเหมือนเสือโคร่งทั่วไป แต่มีลายเส้นที่เล็กกว่าเสือโคร่งเบงกอล (P.

ดู มนุษย์และเสือโคร่งอินโดจีน

เสน่ห์

วามสวย จัดเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่ง เสน่ห์ คือลักษณะที่ชวนให้รัก หรือเครื่องที่ทำให้บุคคลอื่นรัก การที่มีคนเราทำให้เกิดเป็นความสุขอย่างหนึ่ง แต่ในขณะเดียวกันบุคคลที่มีแต่คนเกลียด ก็ย่อมจะเป็นสาเหตุของการเกิดความทุกข์ได้ ในทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมหมวดที่หนึ่งที่พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงมีชื่อว่า สังคหวัตถุ ๔ เป็นสิ่งที่ยึดเหนี่ยวน้ำใจของมนุษย์ หากผู้ใดปฏิบัติได้ครบทุกข้อจัดว่าเป็น ยอดมหาเสน่ห์ซึ่ง.

ดู มนุษย์และเสน่ห์

เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

้นเวลาของคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ (timeline of mathematics).

ดู มนุษย์และเส้นเวลาของคณิตศาสตร์

เส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ

้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ คือ เส้นเวลาที่บอกถึงประวัติศาสตร์ของธรรมชาติตั้งแต่การเกิดบิกแบงจนถึงปัจจุบัน.

ดู มนุษย์และเส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ

เหยี่ยว

หยี่ยว หรือ อีเหยี่ยวบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ดู มนุษย์และเหยี่ยว

เหย่เหริน

อักษรสลักเป็นภาษาจีนบนหน้าผา ความว่า "ถ้ำของเหย่เหริน" ในมณฑลหูเป่ย์ตะวันตก เหย่เหริน หรือ ซูเหริน (อังกฤษ: Yeren, Yiren, Yeh Ren; จีน: 野人; พินอิน: Yěrén แปลว่า "คนป่า"; อังกฤษ: Xueren; จีน: 神农架野人; พินอิน: Shénnóngjiàyěrén แปลว่า "คนป่าแห่งเสินหนงเจี้ย") หรือ มนุษย์หมี (อังกฤษ: Man Bear; จีน: 人熊; พินอิน: Ren Xiong) เป็นสิ่งมีชีวิตลึกลับขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่เชื่อว่า มีลักษณะคล้ายมนุษย์แต่มีขนดกปกคลุมอยู่ทั่วร่าง อาศัยอยู่ ณ เขตอนุรักษ์ป่าดึกดำบรรพ์เขาเสินหนงเจี้ย ในมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน โดยเหย่เหริน มีลักษณะคล้ายอุรังอุตังที่พบบนเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา ในอินโดนีเซีย มีขนสีน้ำตาลแดงเข้มยาว 3–4 เซนติเมตร มีท้องขนาดใหญ่ ยืนด้วยขาหลังทั้งสองข้าง มีความสูง 5–7 ฟุต หรือ 8 ฟุต แต่มีรายงานว่าสามารถเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ใบหน้ามีลักษณะผสมกับระหว่างมนุษย์และเอป มีส่วนของขาหน้าหรือมือมีนิ้ว 5 นิ้ว โดยที่นิ้วโป้งแยกออกมาเหมือนมนุษย์ เคยมีการพบรอยเท้าของเหย่เหรินมีความยาว 16 นิ้ว มีโครงสร้างที่ใกล้เคียงกับเอป ในตัวผู้มีองคชาตเหมือนผู้ชาย ในขณะที่ตัวเมียมีเต้านมเหมือนผู้หญิง ส่งเสียงร้องได้ดังและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เชื่อกันว่า เหย่เหริน มีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์นีแอนเดอร์ธาลที่เคยอาศัยอยู่ในเอเชียเหนือ และเอเชียกลาง เมื่อ 350,000 กว่าปีก่อน ซึ่งเมื่อเทียบกับสัตว์ชนิดอื่นที่คล้ายคลึงกัน เช่น บิ๊กฟุตในอเมริกาเหนือ ในคติของจีนมีศัพท์ที่ใช้เรียกสัตว์ที่มีลักษณะเช่นนี้โดยเฉพาะ โดยมีผู้เชื่อว่าอาจจะมีจำนวนเหย่เหรินมากถึง 1,000–2,000 ตัวอาศัยอยู่ในประเทศจีนตอนกลาง นักวิทยาศาสตร์ชาวจีนที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการมีอยู่ของเหย่เหริน โดยการกล่าวอ้างถึงจากนักท่องเที่ยวที่ได้มาเที่ยวยังเขตอนุรักษ์ป่าดึกดำบรรพ์เขาเสินหนงเจี้ย โดยค้นพบรอยเท้าและทำการหล่อเป็นปูนปลาสเตอร์เพื่อศึกษา ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มีทฤษฎีว่า เหย่เหรินอาจจะเป็นเอปขนาดใหญ่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ชนิดที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gigantopithecus blacki ที่เคยอาศัยอยู่ในเอเชียกลาง แต่ได้สูญพันธุ์ไปแล้วกว่า 500,000 ปี มีนักวิชาการที่ได้รับทุนจากรัฐบาลให้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของเหย่เหริน สามารถเก็บตัวอย่างขนที่เชื่อว่าเป็นของเหย่เหรินได้เมื่อนำไปเทียบกับขนของลิงหรือเอปที่เป็นที่รู้จัก ปรากฏว่าไม่ตรงกับชนิดใดเลย ในตำนานพื้นบ้านแถบนี้ เหย่เหรินถูกเล่าขานว่าเป็นสัตว์กินเนื้อ และจับมนุษย์ฉีกแขนขากินเป็นอาหารด้วย ปัจจุบันแม้จะมีการสำรวจศึกษาเกี่ยวกับเหย่เหรินมากขึ้น แต่เรื่องของเหย่เหรินก็ยังคงอยู่ในความเชื่อของชาวจีนพื้นถิ่น ซึ่งป่าที่เหย่เหรินอาศัยอยู่นั้นก็ถือได้ว่าเป็นป่าดึกดำบรรพ์ที่เป็นพื้นที่อนุรักษ์ มีพรรณพืชและพรรณสัตว์โบราณและหายากหลายชนิดอาศัยอยู่ด้วย โดยบางคนที่อ้างว่าเคยพบเห็นเหย่เหริน เป็นเจ้าหน้าที่ของเขตอนุรักษ์ อ้างว่าตนเคยคิดที่จะจับเหย่เหรินด้วยซ้ำ โดยเชื่อว่าเหย่เหรินอาศัยอยู่ในป่าหินซึ่งเป็นจุดสูงสุดของเขตป่าอนุรักษ์เสินหนงเจี้ย รวมถึงมีมัคคุเทศก์ท้องถิ่นขณะนำพานักท่องเที่ยวบนรถทัวร์ ได้เห็นเหย่เหรินตัวหนึ่งที่มีขนสีดำวิ่งตัดหน้ารถด้วยสองขาหลัง คนขับรถได้ตะโกนบอกว่า "เหย่เหริน ๆ" ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเพิ่มเติม พบว่า เหย่เหรินไม่อยู่เป็นกลุ่ม แต่จะอยู่กันเป็นคู่ ๆ ระหว่างตัวผู้และตัวเมีย โดยปกติจะเดินด้วยสองขาหลัง แต่สามารถใช้ขาทั้งสี่ข้างปีนป่ายได้รวดเร็ว โดยกินอาหารจำพวก ผลไม้, ถั่ว, ข้าวโพด และแมลงบางชนิด ในสถานที่ ๆ ไม่มีใครมาพบเห็น.

ดู มนุษย์และเหย่เหริน

เอชไอวี

วามหมายอื่น: อัลบั้มเพลงของ ไฮ-ร็อก ดูที่ HIV เอชไอวี (Human immunodeficiency virus, HIV) ไวรัสตระกูล Retrovirus เป็นสาเหตุของภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ในกรณีของมนุษย์ จะทำให้ระบบภูมิต้านทานล้มเหลว และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ชื่อเดิมของไวรัสนี้ ได้แก่ human T-lymphotropic virus-III (HTLV-III), lymphadenopathy-associated virus (LAV), และ AIDS-associated retrovirus (ARV).

ดู มนุษย์และเอชไอวี

เอกเทวนิยม

อกเทวนิยมราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 364 (Monotheism มาจากภาษาμόνος, monos - เดียว, และ θεός, theos - เทพ) คือความเชื่อว่ามีพระเป็นเจ้าเป็นเทวดาองค์เดียว หรือความเชื่อว่าพระเป็นเจ้าเป็นหนึ่งเดียว (ไม่ทรงแบ่งภาค) แนวคิดเอกเทวนิยมแบบบริสุทธิ์พบในศาสนายูดาห์และศาสนาอิสลาม ส่วนแบบอ่อนพบในศาสนาคริสต์ส่วนใหญ่ ลัทธิซาเบียน นิกายมอรมอน และศาสนาอื่น ๆ เช่น ศาสนาโซโรอัสเตอร์ ศาสนาบาไฮ ศาสนาซิกข์ และศาสนาฮินดูในบางสำนัก.

ดู มนุษย์และเอกเทวนิยม

เอกเทวนิยมอิสลาม

ตาฮีดในอิสลามหมายถึง เอกเทวนิยมบริสุทธิ์ คือการยอมรับในพระเจ้าองค์เดียวถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่สุดของศาสนาอิสลาม.

ดู มนุษย์และเอกเทวนิยมอิสลาม

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ดู มนุษย์และเอมิล เคร็บส์

เอรากอน

อรากอน (Eragon) เป็นนวนิยายแฟนตาซี เขียนโดย คริสโตเฟอร์ เปาลินี ตีพิมพ์ครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี..

ดู มนุษย์และเอรากอน

เอจออฟมีโธโลจี

อจออฟมีโธโลจี (Age of Mythology) หรือมักย่อเป็น AoM เป็นเกมคอมพิวเตอร์แนววางแผนเรียลไทม์ ซึ่งมีเนื้อหาของปรัมปราวิทยา พัฒนาโดย เอนเซมเบิลสตูดิโอส์ และจัดจำหน่ายโดยไมโครซอฟท์เกมสตูดิโอส์ ออกวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ดู มนุษย์และเอจออฟมีโธโลจี

เอป

อป หรือ ลิงไม่มีหาง (Ape) เป็นไพรเมตที่อยู่ในวงศ์ใหญ่ Hominoidea ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นอีก 2 วงศ์ เอป คือ ลิงที่ไม่มีหาง มีแขนที่ยาวกว่าลิงในวงศ์อื่น ๆ มีนิ้วที่ใช้ในการหยิบจับและใช้ประโยชน์คล้ายคลึงกับมนุษย์มากกว่าสัตว์ในอันดับลิงใด ๆ สามารถเดินตัวตรงได้ สันนิษฐานว่าเอปนั้นวิวัฒนาการมาจากลิงโลกเก่า เอปในปัจจุบันมีเพียง 4 จำพวกเท่านั้น พบในทวีปแอฟริกา และเอเชียแถบเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ ชิมแปนซี, กอริลลา, อุรังอุตัง และชะนี จากการศึกษาสารพันธุกรรมพบว่า กอริลล่าและชิมแปนซีมีความใกล้ชิดทางสายวิวัฒนาการกับมนุษย์มากกว่าเอปที่พบในทวีปเอเชีย ซึ่งได้แก่ ชะนีและอุรังอุตัง ซึ่งมีจำนวนโครโมโซม 48 อัน ในขณะที่มนุษย์มี 46 อัน โดยเฉพาะชิมแปนซีนั้น มีหมู่โลหิตแบ่งได้เป็น A, B, O เช่นเดียวกับมนุษย์ และจากหลักฐานทางชีววิทยาระดับโมเลกุลพบว่าดีเอ็นเอของมนุษย์มีความคล้ายกันกับชิมแปนซีถึงร้อยละ 98.4 นอกจากนี้แล้วจากหลักฐานดังกล่าวยังทำให้สันนิษฐานได้ว่าบรรพบุรุษของมนุษย์ วิวัฒนาการแยกจากลิงไม่มีหางเมื่อประมาณ 7.5-4 ล้านปีที่ผ่านมา ซึ่งลิงไม่มีหางจัดได้ว่าเป็นสัตว์ที่มีความเฉลียวฉลาดมากกว่าสัตว์จำพวกใด ๆ ในโลก.

ดู มนุษย์และเอป

เฮอร์เมทิคา

อร์เมทิคาเป็นวรรณคดีโบราณของอียิปต์ เชื่อกันว่าเขียนขึ้นโดยเทพเจ้าธอธซึ่งเป็นเทพเจ้าที่ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์ไฮโรกลิฟ ชาวกรีกเชื่อว่าเทพเจ้าองค์นี้เป็นองค์เดียวกับเทพเฮอร์มีสของตน จึงเรียกงานเขียนของเทพธอธว่าเฮอร์เมท.

ดู มนุษย์และเฮอร์เมทิคา

เจเรมี เวด

รมี เวด (Jeremy Wade) เกิดเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1960 ที่ซัฟฟอล์ก ประเทศอังกฤษ มีชื่อเต็มว่า เจเรมี จอห์น เวด (Jeremy John Wade) เป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงจากการเป็นพิธีกรและนักตกปลาจากรายการ River Monsters ที่ออกอากาศทางช่องแอนิมอลแพลนเน็ต (ในประเทศไทยออกอากาศทางช่องดิสคัฟเวอรี ทางทรูวิชันส์) เวดจบการศึกษาด้านสัตววิทยาจากมหาวิทยาลัยบริสตอล และประกาศนียบัตรการเรียนการสอนด้านชีววิทยาจากมหาวิทยาลัยเคนท์ เคยทำงานเป็นครูสอนวิชาชีววิทยาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา และได้เขียนบทความเกี่ยวกับเรื่องทางธรรมชาติและการท่องเที่ยวลงในหนังสือพิมพ์ฉบับต่าง ๆ ปัจจุบัน เจเรมี เวด เป็นพิธีกรและนักตกปลาแบบสุดเหวี่ยงในรายการโทรทัศน์ชุด River Monsters อันเป็นรายการสารคดีที่เดินทางไปในแม่น้ำสายต่าง ๆ ทั่วโลก อาทิ แอฟริกา, อะแลสกา, ประเทศไทย เพื่อตกปลาน้ำจืดขนาดใหญ่หลายชนิด ซึ่งบางชนิดมีรายงานว่าทำร้ายมนุษย์ได้ด้วย ซึ่งหลายต่อหลายครั้ง เวดต้องเสี่ยงตายและได้รับบาดเจ็บจากการตกปลาในรายการ เช่น เครื่องบินตกในหนองน้ำที่บราซิล, เกือบถูกฟ้าผ่าที่สุรินัม, เย่อกับปลากระเบนราหูจนเอ็นแขนขวาขาดที่ประเทศไทย, เป็นไข้ป่าใจกลางป่าคองโก เป็นต้น สถานะทางครอบครัว ปัจจุบันเวดยังคงเป็น.

ดู มนุษย์และเจเรมี เวด

เทราคาโตะ ซือ

ทราคาโตะ ซือ เป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ เป็นนักร้องเพลงป๊อบไอดอลชื่อดังในระดับแนวหน้าของเอโดะทีมีแฟนคลับเป็นจำนวนมาก รวมถึงชิมูระ ชินปาจิที่เป็นหัวหน้าของหน่วยพิทักษ์เทราคาโตะ ซือด้ว.

ดู มนุษย์และเทราคาโตะ ซือ

เทววิทยา

ทววิทยา (theology) ในความหมายอย่างแคบคือวิชาว่าด้วยพระเจ้าและความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ ความหมายอย่างกว้างคือการศึกษาเรื่องศาสนา อิทธิพลของศาสนา ธรรมชาติของความจริงทางศาสนา อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล หรือหมายถึงวิชาชีพที่มาจากการฝึกฝนเรียนรู้ทางด้านศาสนศึกษาที่มหาวิทยาลัย สำนักเทวศาสตร์ หรือเซมินารี.

ดู มนุษย์และเทววิทยา

เทวัสนิยม

เทวัสนิยม (deism) เป็นแนวความคิดที่สำคัญในศตวรรษที่ 18 โดยในศตวรรษนี้เป็นยุคแห่งเหตุผล นักคิดทั้งหลายต่างพยายามที่จะสร้างระบบการวิเคราะห์แบบวิทยาศาสตร์ที่ได้ผลและสมเหตุสมผลขึ้น โดยไม่ยอมพึ่งพาอาศัยอำนาจเหนือธรรมชาติต่าง ๆ พระเจ้าเป็นเพียงผู้สร้างโลกเท่านั้น เราจะเห็นการแบ่งเป็นฝักฝ่ายระหว่างศาสนากับวิทยาศาสตร์ได้เกิดขึ้น พวกหัวเก่าโจมตีพวกหัวใหม่ว่าต่อไปนี้จะไม่มีอะไรที่ศักดิ์สิทธิ์หลงเหลืออยู่อีก การถกเถียงเป็นไปอย่างกว้างขวางอันเป็นเหตุให้เกิดความคิดแบบเทวัสนิยมขึ้นมา พวกนี้เชื่อในพระเจ้าแต่ในขณะเดียวกันก็เชื่อมั่นในเหตุผลและคิดว่าจะสามารถใช้เหตุผลพิสูจน์ในเรื่องพระเจ้าได้ พวกนี้เชื่อต่อไปอีกว่าเหตุผลเท่านั้นที่จะช่วยให้เราเกิดความเข้าใจศาสนาและศีลธรรมอย่างถูกต้อง พวกนี้ถือว่าพระเจ้านั้นมีอยู่ ทว่าหลังจากที่ทรงสร้างโลกแล้วก็มิได้ลงมายุ่งเกี่ยวกับมนุษย์อีกเลย พวกนี้ยอมรับศาสนาในสมัยแรกเริ่ม แต่มักจะโจมตีศาสนาในระยะหลังที่มีพิธีการ มีพระเป็นผู้สืบศาสนา พวกนี้เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีเหตุผลอยู่ในตัว เพียงแต่ว่าคนส่วนใหญ่ไม่สามารถจะบังคับในตัวเองให้ใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ ทำให้พระเข้ามามีบทบาทได้ ทั้ง ๆ ที่แท้จริงแล้ว มนุษย์ทุกคนเข้าถึงและรู้เข้าใจเกี่ยวกับศาสนาเป็นอย่างดี ตัวอย่างผู้มีความเชื่อแบบเทวัสนิยม ได้แก่ เบนจามิน แฟรงคลินและวอลแตร์ หมวดหมู่:ความเชื่อ.

ดู มนุษย์และเทวัสนิยม

เทศบาลเมืองศรีราชา

ทศบาลเมืองศรีราชา หรือ เมืองศรีราชา เป็นเทศบาลขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญของอ่าวไทยริมฝั่งภาคตะวันออกของประเทศไทย และที่สำคัญยังเป็นเมืองเศรษฐกิจอีกเมืองหนึ่งของจังหวัดชลบุรีด้ว.

ดู มนุษย์และเทศบาลเมืองศรีราชา

เทสโทสเตอโรน

ทสโทสเตอโรน (Testosterone) เป็นฮอร์โมนหลักในกลุ่มฮอร์โมนเพศชายและสเตอรอยด์การสร้าง (anabolic steroid) ประเภทหนึ่งที่พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังโดยมาก มีบทบาทสำคัญในพัฒนาการของเนื้อเยื่อในระบบสืบพันธุ์ชาย เช่น อัณฑะและต่อมลูกหมาก ตลอดจนส่งเสริมลักษณะเฉพาะทางเพศทุติยภูมิ เช่น การเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อกับกระดูก และการเกิดขนตัว นอกจากนั้นแล้ว ฮอร์โมนยังเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ต่อสุขภาพและความอยู่เป็นสุข ตลอดจนป้องกันโรคกระดูกพรุน ระดับฮอร์โมนที่ไม่พอในชาย อาจทำให้เกิดความผิดปกติต่าง ๆ เช่น ความอ่อนแอและการเสียกระดูก ฮอร์โมนอาจใช้เพื่อรักษาอวัยวะเพศชายทำงานไม่พอ (male hypogonadism) และมะเร็งเต้านมบางชนิด เนื่องจากระดับฮอร์โมนจะลดลงเรื่อย ๆ ตามอายุ แพทย์บางครั้งจะให้ฮอร์โมนสังเคราะห์กับชายสูงอายุเพื่อแก้ปัญหาการขาด เทสโทสเตอโรนเป็นสเตอรอยด์ในกลุ่ม androstane ที่มีกลุ่มคีโทนและไฮดรอกซิลที่ตำแหน่ง 3 และ 17 ตามลำดับ ซึ่งสามารถสังเคราะห์จากคอเลสเตอรอลในหลายขั้นตอน และตับจะเปลี่ยนมันเป็นเมแทบอไลต์ที่ไม่มีฤทธิ์ ฮอร์โมนสามารถเข้ายึดและออกฤทธิ์ต่อตัวรับแอนโดรเจน (androgen receptor) ในนิวเคลียสของเซลล์ ในมนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลังโดยมาก อัณฑะเป็นอวัยวะที่หลั่งฮอร์โมนในชาย และรังไข่ในหญิงแม้ในระดับที่ต่ำกว่า ต่อมหมวกไตก็หลั่งฮอร์โมนแม้เล็กน้อยด้วย โดยเฉลี่ย ในชายผู้ใหญ่ ระดับเทสโทสเตอโรนจะอยู่ที่ 7-8 เท่าของหญิงผู้ใหญ่ เพราะฮอร์โมนมีเมแทบอลิซึมที่สูงกว่าในชาย การผลิตแต่ละวันจะมากกว่าหญิงประมาณ 20 เท่า หญิงยังไวต่อฮอร์โมนมากกว่าชายอีกด้ว.

ดู มนุษย์และเทสโทสเตอโรน

เท็ด บันดี

ท็ด บันดี ธีโอดอร์ โรเบิร์ต 'เท็ด' บันดี (Theodore Robert 'Ted' Bundy) เป็นฆาตกรต่อเนื่องชาวอเมริกัน เกิดวันที่ 24 พฤศจิกายน..

ดู มนุษย์และเท็ด บันดี

เขตอาศัยได้

ตัวอย่างของระบบตาม ความสว่างของดาวฤกษ์ เพื่อคาดการณ์ที่ตั้งของโซนอาศัยอยู่รอบ ๆหลายประเภทของดาวฤกษ์,ขนาดดาวเคราะห์,ขนาดดาวฤกษ์,ระยะโคจร และขนาดโซนอาศัยไม่ได้ระดับ เขตอาศัยได้ (habitable zone) ในทางดาราศาสตร์ หมายถึง ย่านหนึ่งในอวกาศที่ซึ่งดาวเคราะห์คล้ายโลกสามารถดำรงน้ำในสถานะของเหลวได้บนพื้นผิว และสามารถมีสิ่งมีชีวิตคล้ายกับสิ่งมีชีวิตบนโลก เขตอาศัยได้เป็นจุดตัดกันระหว่างสองเขตที่ต่างก็เอื้อต่อการให้กำเนิดชีวิต คือหนึ่ง ภายในระบบดาวเคราะห์ และสอง คือภายในดาราจักร ดาวเคราะห์และดวงจันทร์บริวารของมันที่อยู่ในเขตนี้มีโอกาสมากที่จะเป็นแหล่งอยู่อาศัยของมนุษย์ได้ จึงมีความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตต่างดาวลักษณะคล้ายคลึงกับเราอยู่ที่นั่น จะต้องไม่สับสนปนเประหว่าง เขตอาศัยได้ กับ ดาวเคราะห์ที่อยู่อาศัยได้ (planetary habitability) ซึ่งในข้อหลังนี้จะคำนึงถึงเงื่อนไขต่างๆ ของดาวเคราะห์ที่จำเป็นในการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตที่มีคาร์บอนเป็นพื้นฐาน (carbon-based life) ขณะที่ เขตอาศัยได้ คำนึงถึงเงื่อนไขเกี่ยวกับดาวฤกษ์ซึ่งส่งอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตที่มีคาร์บอนเป็นพื้นฐาน.

ดู มนุษย์และเขตอาศัยได้

เดอะ ฮอบบิท: สงคราม 5 ทัพ

อะ ฮอบบิท: สงคราม 5 ทัพ (The Hobbit: The Battle of the Five Armies) เป็นภาพยนตร์แนวมหากาพย์แฟนตาซี เขียนบทร่วมและกำกับโดย ปีเตอร์ แจ็กสัน โดยเป็นภาคจบของภาพยนตร์ไตรภาคชุดเดอะ ฮอบบิท ดัดแปลงจากนิยายในชื่อเดียวกัน ประพันธ์โดยเจ.

ดู มนุษย์และเดอะ ฮอบบิท: สงคราม 5 ทัพ

เด็ก

็กในโรงเรียนแห่งหนึ่ง เด็ก หมายถึง มนุษย์ที่อยู่ระหว่างการเกิดและวัยแรกรุ่น ส่วนคำจำกัดความในทางกฎหมาย "เด็ก" หมายถึง ผู้เยาว์ หรือบุคคลที่มีอายุต่ำกว่าประชากรส่วนใหญ่ คำว่า "เด็ก" ยังอาจใช้อธิบายความสัมพันธ์กับผู้ปกครองหรือต่ออำนาจหน้าที่ หรือแสดงความเป็นส่วนหนึ่งในสกุล เผ่าหรือศาสนา และความหมายอื่น.

ดู มนุษย์และเด็ก

เด็กชาย

เด็กผู้ชาย คือมนุษย์เพศชายที่อายุน้อย มักจะใช้เรียกเด็กหรือวัยรุ่น สิ่งที่แยกแยะเด็กผู้ชายจากเด็กผู้หญิงอย่างชัดเจนคือ เด็กผู้ชายโดยทั่วไปจะมีองคชาต ขณะที่เด็กผู้หญิงมีช่องคลอด อย่างไรก็ตาม เด็กภาวะเพศกำกวมที่มีอวัยวะเพศที่ไม่ชัดเจน และเด็กที่ข้ามเพศที่เป็นผู้หญิงแท้อาจจะจัดตนเองว่าเป็นเด็กผู้ชายก็ได้เช่นกัน คำว่า "เด็กผู้ชาย" ใช้กำหนดความแตกต่างของเพศทางชีววิทยา ความโดดเด่นของเพศที่เป็นบทบาททางวัฒนธรรม หรือทั้งสองอย่าง หมวดหมู่:วัยเด็ก หมวดหมู่:ผู้ชาย.

ดู มนุษย์และเด็กชาย

เด็กหญิง

็กผู้หญิงคนหนึ่ง เด็กผู้หญิง เป็นมนุษย์เพศหญิงตั้งแต่แรกเกิด วัยเด็กและวัยรุ่น จนกลายเป็นผู้หญิงเมื่อถึงวัยผู้ใหญ่ ในภาษาอังกฤษ คำว่า girl อาจใช้หมายถึงผู้หญิงอายุน้อย dictionary.com,, retrieved 2 January 2008 และยังใช้เป็นไวพจน์หมายถึง ลูกสาว ด้ว.

ดู มนุษย์และเด็กหญิง

เด็กป่าเถื่อน

เด็กป่าเถื่อน (feral child) คือเด็กมนุษย์ซึ่งไม่ได้อยู่อาศัยกับมนุษย์ตั้งแต่อายุยังน้อยมาก และมักจะไม่มีประสบการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมและภาษามนุษย์ โดยในบางรายเป็นเด็กที่ถูกกักขัง (ส่วนใหญ่โดยผู้ปกครองของเด็ก) และบางรายอาจถูกกระทำทารุณทั้งทางกายและทางจิตใจก่อนที่จะถูกทิ้งหรือหนีไป เรื่องราวเกี่ยวกับเด็กป่าเถื่อนบางคนปรากฏอยู่ในตำนานและนิทานพื้นบ้าน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กที่ถูกเลี้ยงดูมาโดยสัตว์ป่า.

ดู มนุษย์และเด็กป่าเถื่อน

เครย์ฟิช

ำหรับเครย์ฟิชที่พบในทะเล ดูที่: ล็อบสเตอร์ และกุ้งมังกร เครย์ฟิช หรือ หรือ ล็อบสเตอร์น้ำจืด (10088/1372 Crawdad, Mudbug, Freshwater yabby) เป็นกุ้งน้ำจืดจำพวกหนึ่ง มีรูปร่างโดยรวมลำตัวใหญ่ เปลือกหนา ก้ามใหญ่แลดูแข็งแรง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ, ทวีปยุโรป, โอเชียเนียและบริเวณใกล้เคียง เช่น อีเรียนจายา และเอเชียตะวันออก ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานเครย์ฟิชไปแล้วกว่า 500 ชนิด ซึ่งกว่าครึ่งนั้นเป็นเครย์ฟิชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่ก็ยังมีอีกหลายร้อยชนิดที่ยังไม่ได้รับการอนุกรมวิธาน อีกทั้งหลายชนิดยังมีความหลากหลายทางสีสันมากอีกด้วย สำหรับในประเทศไทยไม่มีกุ้งในลักษณะเครย์ฟิช ซึ่งกุ้งน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่สุดที่พบในประเทศไทย คือ กุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) ซึ่งในลักษณะกุ้งก้ามกรามนี้ ไม่จัดว่าเป็นเครย์ฟ.

ดู มนุษย์และเครย์ฟิช

เครื่องปรับอากาศ

รื่องปรับอาก.หรือภาษาปากว่า แอร์กี่(Air conditioner, aircon) คือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ปรับอุณหภูมิของอากาศในเคหสถาน เพื่อให้มนุษย์ได้อาศัยอยู่ในที่ที่ไม่ร้อนหรือไม่เย็นจนเกินไป หรือใช้รักษาภาวะอากาศให้คงที่เพื่อจุดประสงค์อื่น เคหสถานในเขตศูนย์สูตรหรือเขตร้อนชื้นมักมีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศเพื่อลดอุณหภูมิให้เย็นลง ตรงข้ามกับในเขตอบอุ่นหรือเขตขั้วโลกใช้เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ้น (อาจเรียกว่า เครื่องทำความร้อน) เครื่องปรับอากาศมีทั้งแบบตั้งพื้น ติดผนัง และแขวนเพดาน ทำงานด้วยหลักการการถ่ายเทความร้อน กล่าวคือ เมื่อความร้อนถ่ายเทออกไปข้างนอก อากาศภายในห้องจะมีอุณหภูมิลดลง เป็นต้น และเครื่องปรับอากาศอาจมีความสามารถในการลดความชื้นหรือการฟอกอากาศให้บริสุทธิ์ด้ว.

ดู มนุษย์และเครื่องปรับอากาศ

เคลด

แผนภาพวิวัฒนาการชาติพันธุ์ (Cladogram) หรือพงศาวลีของกลุ่มสิ่งมีชีวิต โดยลำต้น (เส้นตั้ง) ที่ฐานแต่ละฐานจะเป็นบรรพบุรุษร่วมกันสุดท้ายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นลูกหลานภายในพุ่มไม้ที่อยู่เหนือลำต้นนั้น ๆ กลุ่มย่อยสีน้ำเงินและสีแดง (ซ้ายและขวาสุด) เรียกว่า clade เพราะเป็นกลุ่ม "จากชาติพันธุ์เดียว" (monophyletic) โดยแต่ละกลุ่มจะมีบรรพบุรุษร่วมกันที่ฐาน ส่วนกลุ่มย่อยสีเขียวไม่เรียกว่า clade เพราะเป็นกลุ่ม paraphyletic และไม่รวมเอากลุ่มย่อยสีน้ำเงินแม้จะสืบทอดมาจากบรรพบุรุษร่วมกันซึ่งอยู่ที่ฐานของกลุ่มสีเขียว เคลด (clade จาก κλάδος, klados แปลว่า "สาขา") เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่รวมเอาบรรพบุรุษที่มีร่วมกันและลูกหลานของมันทั้งหมด โดยแสดงเป็น "สาขา" เดียวจากต้นไม้ชีวิต บรรพบุรุษร่วมกันอาจเป็นสิ่งมีชีวิตหนึ่งหน่วย กลุ่มประชากร สปีชีส์ (ไม่ว่าจะสูญพันธุ์ไปแล้วหรือยังมีอยู่) เป็นต้น จนไปถึงระดับอาณาจักร เคลดเป็นโครงสร้างซ้อนใน คือจะมีเคลดภายในเคลดเพราะสาขาใหญ่หนึ่ง ๆ จะแยกออกเป็นสาขาย่อย ๆ การแยกออกจะสะท้อนให้เห็นถึงประวัติวิวัฒนาการ เพราะแสดงกลุ่มประชากรที่แยกจากกันแล้ววิวัฒนาการแยกกันต่างหาก ๆ เคลดจะมาจากชาติพันธุ์เดียว (monophyletic) ในทศวรรษ 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา วิธีการศึกษาแบบแคลดิสติกส์ (คือใช้แนวคิดแบบเคลด) ได้ปฏิวัติการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต และได้แสดงความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการที่น่าทึ่งใจระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ โดยมีผลเป็นนักอนุกรมวิธานพยายามหลีกเลี่ยงการให้ชื่อกับหน่วยที่ไม่ใช่เคลด คือหน่วยที่ไม่ได้มาจากชาติพันธุ์เดียว (monophyletic).

ดู มนุษย์และเคลด

เงือกสาวยากูซ่า

งือกสาวยากูซ่า เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวเลิฟคอมมาดี้ ระหว่างมนุษย์กับเงือก เงือกสาวยากูซ่าฉบับภาษาไทย สำนักพิมพ์ Ant Comics Group เป็นผู้จัดพิมพ์ ออกฉายทางช่อง ทรู สปาร์ก.

ดู มนุษย์และเงือกสาวยากูซ่า

เงือกน้อยผจญภัย ภาค 3 ตอน กำเนิดแอเรียล

งือกน้อยผจญภัย ภาค 3 ตอน กำเนิดแอเรียล เป็นภาพยนตร์อนิเมชั่นที่ออกฉายในปี..

ดู มนุษย์และเงือกน้อยผจญภัย ภาค 3 ตอน กำเนิดแอเรียล

เต่าเหลือง

ต่าเหลือง หรือ เต่าเทียน หรือ เต่าแขนง หรือ เต่าขี้ผึ้ง (Elongated tortoise) เป็นเต่าบกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Indotestudo elongata จัดเป็นเต่าบกขนาดกลาง เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 2 กิโลกรัม กระดองโค้งสูงพอสมควร ทั่วตัวมีสีขาวหรือเหลืองเป็นส่วนใหญ่ มีแต้มสีดำบ้างประปราย ขอบกระดองของบางตัวมีสีเหลืองใสดูคล้ายขี้ผึ้งหรือเทียน จึงเป็นที่มาของชื่อ ในบางตัวเมื่อโตเต็มที่อาจมีสีน้ำตาลแก่ปน ขามีสีเทาดำ ขาหน้ามีเกล็ดใหญ่ ๆ อยู่ด้านบน ขาหลังสั้นทู่ ขาหน้าและขาหลังไม่มีพังผืดระหว่างนิ้ว แต่มีนิ้วแข็งแรงมาก ตัวผู้มีเกล็ดกระดองเว้าและลึก ขณะที่ตัวเมียราบเรียบกว่า พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และบางส่วนในเอเชียใต้ ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค กินพืชและผลไม้เป็นอาหารหลัก แต่ก็สามารถกินเนื้อ เช่น ซากสัตว์หรือหอยได้ด้วย เป็นเต่าที่ชอบความชื้น แต่ไม่ชอบที่จะแช่น้ำ พบได้ในป่าแทบทุกสภาพ แม้กระทั่งในสวนยางพาราหรือสวนปาล์มน้ำมัน วางไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง โดยมีฤดูผสมพันธุ์ระหว่างเดือนกันยายน-ตุลาคม จากนั้นในเดือนธันวาคมจึงจะวางไข่ โดยจะขุดหลุมลึกประมาณครึ่งตัว ใช้เวลาฟักประมาณ 146 วัน ลูกเต่าที่เกิดมาใหม่กระดองจะมีความนิ่ม จะแข็งเมื่ออายุได้ราวหนึ่งปี เต่าชนิดนี้ ในประเทศไทย สามารถพบเห็นได้ง่าย คือ ที่หมู่บ้านบ้านกอก อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ห่างจากตัวอำเภอเมืองราว 50 กิโลเมตร โดยจะพบเต่าเหลืองอาศัยและเดินไปเดินมาทั่วไปในหมู่บ้าน โดยที่ชาวบ้านไม่ทำอันตรายหรือนำไปรับประทาน เต่าจึงอาศัยอยู่ร่วมกับมนุษย์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งชาวบ้านที่นี่เชื่อว่าเต่าเหลืองเป็นเต่าเจ้า เป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ และเรียกชื่อเต่าชนิดนี้เป็นภาษาถิ่นว่า "เต่าเพ็ก" จนได้รับชื่อเรียกว่าเป็น "หมู่บ้านเต่า" เต่าเหลือง มีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 และนิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง.

ดู มนุษย์และเต่าเหลือง

เต๋า

ปากว้า เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงเต๋าและการก่อกำเนิดสรรพสิ่ง เต๋า (道. เต้า) มีความหมายตามตัวอักษรว่า วิถี หรือ วิธี ต่อมาคัมภีร์เต๋ายุคแรก ได้ใช้คำว่า เต๋า ในความหมายใหม่ว่า เป็นสัจภาวะสูงสุด เป็นอุตรภาพ อัพภันตรภาพ ซึ่งปราศจากรูปร่าง พ้นวิสัยภาษา ความคิด และความเข้าใจของมนุษย์ เชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดและจุดหมายปลายทางของสรรพสิ่ง แม้ความเชื่อนี้จะมีที่มาจากลัทธิเต๋า แต่ก็ได้แพร่หลายไปยังคตินิยมอื่น ๆ ด้วยทั้ง ลัทธิขงจื๊อ ตลอดจนศาสนาและปรัชญาตะวันออกโดยรวม.

ดู มนุษย์และเต๋า

เซลล์รับกลิ่น

แผนภาพของเซลล์ประสาทรับกลิ่น เซลล์ประสาทรับกลิ่น (olfactory receptor neuron ตัวย่อ ORN, olfactory sensory neuron ตัวย่อ OSN) เป็นเซลล์ที่ถ่ายโอนกลิ่นเป็นกระแสประสาทภายในระบบรับกลิ่น เป็นเซลล์ที่อยู่ภายในเยื่อรับกลิ่นที่บุบางส่วนของโพรงจมูก (ประมาณ 5 ซม2 ในมนุษย์) บริเวณยอดเซลล์จะมีเส้นขนเล็ก ๆ (olfactory cilia) ที่ทำหน้าที่จับโมเลกุลกลิ่นจากสิ่งแวดล้อมที่เข้ามาภายในรูจมูก เซลล์จะถ่ายโอนกลิ่นเป็นกระแสประสาทแล้วส่งผ่านเส้นประสาทรับกลิ่น (olfactory nerve) ซึ่งวิ่งผ่านรูในกระดูก cribriform plate เหนือโพรงจมูกขึ้นไปยังป่องรับกลิ่นในสมอง การรับกลิ่นของมนุษย์จะไม่พัฒนาเทียบเท่ากับสัตว์บางชนิดเช่นสุนัข ซึ่งมีประสาทรับกลิ่นที่ดีเยี่ยม.

ดู มนุษย์และเซลล์รับกลิ่น

เซลล์ขน

ซลล์ขน (Hair cell) เป็นเซลล์รับความรู้สึก (sensory receptor) ของทั้งระบบการได้ยินและระบบการทรงตัว (vestibular system) ในหูชั้นในของสัตว์มีกระดูกสันหลัง โดยตรวจจับการเคลื่อนไหวของน้ำในระบบผ่านกระบวนการถ่ายโอนแรงกล (mechanotransduction) ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เซลล์ขนรับเสียงอยู่ในอวัยวะของคอร์ติ ซึ่งอยู่บนเยื่อกั้นหูชั้นใน (basilar membrane) ในอวัยวะรูปหอยโข่ง (คอเคลีย) ชื่อของเซลล์มาจากมัดขนที่เรียกว่า stereocilia ที่ยื่นออกมาจากเยื่อหุ้มเซลล์ด้านบน (apical) เข้าไปในน้ำของท่อคอเคลีย (cochlear duct) เซลล์ขนในคอเคลียของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสามารถแบ่งโดยกายวิภาคและหน้าที่เป็นสองอย่าง คือ เซลล์ขนด้านนอก (outer hair cell, OHC) และเซลล์ขนด้านใน (inner hair cell, IHC) ความเสียหายต่อเซลล์ขนทำให้ได้ยินน้อยลง และเพราะว่า เซลล์ขนไม่สามารถเกิดใหม่ ดังนั้น ความเสียหายก็จะคงยืน แต่ว่า ก็ยังมีสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เช่น ปลาม้าลายและสัตว์ปีกที่เซลล์ขนสามารถเกิดใหม่ได้ คอเคลียของมนุษย์มี IHC ประมาณ 3,500 ตัว และ OHC 12,000 ตัว OHC มีหน้าที่ขยายเสียงเบา ๆ ที่เข้ามาในคอเคลีย (แต่ไม่ขยายเสียงที่ดังถึงระดับหนึ่งแล้ว) ซึ่งอาจเกิดจากการเคลื่อนไหวของมัดขน หรือว่า จากการเคลื่อนไหวของตัวเซลล์เองที่ได้พลังงานจากไฟฟ้า ส่วน IHC จะเปลี่ยนแรงสั่นของเสียงในน้ำไปเป็นสัญญาณไฟฟ้าที่ส่งผ่านโสตประสาท (auditory nerve) ไปยังก้านสมอง และต่อไปยังคอร์เทกซ์การได้ยิน (auditory cortex) เพื่อแปลและประมวลผลต่อ ๆ ไป.

ดู มนุษย์และเซลล์ขน

เซคันด์ไลฟ์

ซคันด์ไลฟ์ (Second Life: SL) เป็นโลกเสมือนบนอินเทอร์เน็ต เริ่มให้บริการเมื่อราว พ.ศ. 2546 พัฒนาโดยบริษัทลินเดนรีเสิร์ช (นิยมเรียกกันว่า ลินเดนแล็บ) และได้รับความสนใจในทางสากลผ่านสื่อข่าวเป็นกระแสหลักในช่วงปลายปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และเซคันด์ไลฟ์

เปลือกสมอง

ปลือกสมอง"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑"หรือ ส่วนนอกของสมองใหญ่ หรือ คอร์เทกซ์สมองใหญ่"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ cerebral ว่า "-สมองใหญ่" หรือ "-สมอง" หรือ เซรีบรัลคอร์เทกซ์ หรือบางครั้งเรียกสั้น ๆ เพียงแค่ว่า คอร์เทกซ์ (แต่คำว่า คอร์เทกซ์ สามารถหมายถึงส่วนย่อยส่วนหนึ่ง ๆ ในเปลือกสมองด้วย) (Cerebral cortex, cortex, Cortex cerebri) เป็นชั้นเนื้อเยื่อเซลล์ประสาทชั้นนอกสุดของซีรีบรัม (หรือเรียกว่าเทเลนฟาลอน) ที่เป็นส่วนของสมองในสัตว์มีกระดูกสันหลังบางพวก เป็นส่วนที่ปกคลุมทั้งซีรีบรัมทั้งซีรีเบลลัม มีอยู่ทั้งซีกซ้ายซีกขวาของสมอง เปลือกสมองมีบทบาทสำคัญในระบบความจำ ความใส่ใจ ความตระหนัก (awareness) ความคิด ภาษา และการรับรู้ (consciousness) เปลือกสมองมี 6 ชั้น แต่ละชั้นประกอบด้วยเซลล์ประสาทต่าง ๆ กัน และการเชื่อมต่อกับสมองส่วนอื่น ๆ ที่ไม่เหมือนกัน เปลือกสมองของมนุษย์มีความหนา 2-4 มิลลิเมตร ในสมองดอง เปลือกสมองมีสีเทา ดังนั้น จึงมีชื่อว่าเนื้อเทา มีสีดังนั้นก็เพราะประกอบด้วยเซลล์ประสาทและแอกซอนที่ไม่มีปลอกไมอีลิน เปรียบเทียบกับเนื้อขาว (white matter) ที่อยู่ใต้เนื้อเทา ซึ่งประกอบด้วยแอกซอนที่โดยมากมีปลอกไมอีลิน ที่เชื่อมโยงกับเซลล์ประสาทในเขตต่าง ๆ ของเปลือกสมองและในเขตอื่น ๆ ของระบบประสาทกลาง ผิวของเปลือกสมองดำรงอยู่เป็นส่วนพับในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่ จนกระทั่งว่า ผิวเปลือกสมองของมนุษย์มากกว่าสองในสามส่วน อยู่ใต้ช่องที่เรียกว่า "ร่อง" (sulci) ส่วนใหม่ที่สุดของเปลือกสมองตามวิวัฒนาการชาติพันธุ์ ก็คือ คอร์เทกซ์ใหม่ (neocortex) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไอโซคอร์เทกซ์ ซึ่งมีชั้น 6 ชั้น ส่วนที่เก่าแก่ที่สุดก็คือฮิปโปแคมปัส หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อาร์คิคอร์เทกซ์ ซึ่งมีชั้น 3 ชั้นเป็นอย่างมาก และแบ่งเขตออกเป็นฟิลด์ย่อยของฮิปโปแคมปัส (Hippocampal subfields) เซลล์ในชั้นต่าง ๆ ของเปลือกสมองเชื่อมต่อกันเป็นแนวตั้ง รวมตัวกันเป็นวงจรประสาทขนาดเล็กที่เรียกว่า "คอลัมน์ในคอร์เทกซ์" (cortical columns) เขตต่าง ๆ ในคอร์เทกซ์ใหม่ สามารถแบ่งออกเป็นเขตต่าง ๆ ที่เรียกว่า เขตบร็อดแมนน์ (Brodmann areas) แต่ละเขตมีลักษณะต่าง ๆ กันเป็นต้นว่า ความหนา ชนิดของเซลล์โดยมาก และตัวบ่งชี้สารเคมีประสาท (neurochemical markers).

ดู มนุษย์และเปลือกสมอง

เปลือกสมองส่วนการเห็น

ทางสัญญาณด้านหลัง (เขียว) และทางสัญญาณด้านล่าง (ม่วง) เป็นทางสัญญาณเริ่มมาจากเปลือกสมองส่วนการเห็นปฐมภูมิ เปลือกสมองส่วนการเห็น (visual cortex, cortex visualis) ในสมองเป็นส่วนหนึ่งของเปลือกสมอง ทำหน้าที่ประมวลข้อมูลสายตา อยู่ในสมองกลีบท้ายทอยด้านหลังของสมอง คำว่า เปลือกสมองส่วนการเห็น หมายถึงคอร์เทกซ์ต่าง ๆ ในสมองรวมทั้ง.

ดู มนุษย์และเปลือกสมองส่วนการเห็น

เป็ดก่า

ป็ดก่า (White-winged duck, White-winged wood duck) เป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่ง จำพวกเป็ด อยู่ในวงศ์นกเป็ดน้ำ (Anatidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Asarcornis จัดเป็นเป็ดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเด่นคือ หัวและลำคอตอนบนสีขาว มีจุดกระดำกระด่างสีดำ โดยทั่วไปสีของลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลเหลือบเขียว มีขนเป็นปื้นขาวตรงหัวไหล่เป็นลักษณะเด่น มีรูปร่างเทอะทะ ปีกกว้าง ขาสั้น เพศผู้มีม่านตาสีสดใสเป็นสีเหลืองส้ม ในขณะที่เพศเมียมีม่านตาสีน้ำตาลเข้ม จะงอยปากสีเหลืองเข้มหรือสีส้ม มีประดำเป็นหย่อม ๆ เพศผู้ในฤดูผสมพันธุ์โคนปากจะพองโต เพศผู้มีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย น้ำหนักโดยเฉลี่ยเพศผู้ประมาณ 2,945-3,855 กรัม ขณะที่เพศเมีย 1,925-3,050 กรัม พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศอินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, พม่า, ไทย จนถึงหลาย ๆ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับในประเทศไทยถือเป็นนกในวงศ์ Anatidae ชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็ดก่า มีอุปนิสัยแปลกไปจากนกชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน โดยมักจะอาศัยอยู่ในป่าดิบทึบ และพบได้จนถึงในพื้นที่ ๆ มีความสูงถึง 5,000 ฟุตจากระดับน้ำทะเล ออกหากินในเวลากลางคืนและกลับสู่ถิ่นที่อยู่ในเวลารุ่งเช้า โดยมักจะจับกิ่งไม้สูง ๆ ใช้เป็นที่หลับนอน มักจับคู่เป็นกลุ่มเล็ก ๆ 5-6 ตัวในแหล่งน้ำที่สงบ ปราศจากการรบกวน แม้จะมีรูปร่างเทอะทะแต่ก็สามารถบินได้ดี และบินหลบหลีกต้นไม้ต่าง ๆ ในป่าดิบได้เป็นอย่างดี ในฤดูผสมพันธุ์ เป็ดก่าจะส่งเสียงร้องขณะบิน การจับคู่ผสมพันธุ์อาจเป็นในรูปแบบผัวเดียวเมียเดียว แต่ยังไม่เป็นที่ยืนยัน วางไข่ครั้งละ 6-13 ฟอง สีของไข่เป็นสีเหลืองอมเขียว มักทำรังตามโพรง เพศเมียเท่านั้นที่กกฟักไข่ ระยะเวลาฟักประมาณ 33-35 วัน ขณะฟักไข่หรือเลี้ยงลูกอ่อนเพศผู้จะอยู่พัวพันเพียงห่าง ๆ เท่านั้น เป็ดก่า ถือเป็นเป็ดป่าที่หายากและเพาะขยายพันธุ์ได้ยากชนิดหนึ่ง มีการขยายพันธุ์ได้ด้วยฝีมือมนุษย์เพื่อการอนุรักษ์ ได้แค่ไม่กี่ครั้ง และถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ดู มนุษย์และเป็ดก่า

เนื้อทราย

thumb เนื้อทราย หรือ ทราย หรือ ตามะแน (Hog deer) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกกวางชนิดหนึ่ง มีรูปร่างอ้วนป้อม ขาสั้น เนื้อทรายจะมีสีขนเปลี่ยนไปตามสภาพภูมิอากาศ thumb thumb.

ดู มนุษย์และเนื้อทราย

เนื้อเยื่อ

นื้อเยื่อ ในทางชีววิทยาคือกลุ่มของเซลล์ที่ทำหน้าที่ร่วมกันในสิ่งมีชีวิต วิชาการศึกษาเนื้อเยื่อ เรียกว่า มิญชวิทยา (Histology) หรือ จุลกายวิภาคศาสตร์ (Microanatomy) หรือหากเป็นการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโรคเรียกว่า จุลพยาธิวิทยา (histopathology) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเนื้อเยื่อโดยทั่วไปคือ แท่งขี้ผึ้ง (wax block), สีย้อมเนื้อเยื่อ (tissue stain), กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (optical microscope) ซึ่งต่อมามีการพัฒนาเป็นกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (electron microscopy), immunofluorescence, และการตัดตรวจเนื้อเย็นแข็ง (frozen section) เป็นเทคนิคและความรู้ใหม่ที่เพิ่งกำเนิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ ด้วยเครื่องมือต่างๆ เหล่านี้เราสามารถตรวจพยาธิสภาพ เพื่อการวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้.

ดู มนุษย์และเนื้อเยื่อ

เนเฟช

นเฟช (נֶפֶש) เป็นคำที่ปรากฏในคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายูดาห์ หมายถึง "ชีวิต" ซึ่งมีอยู่ทั้งในมนุษย์และสัตว์ ซึ่งจะสิ้นสุดลงเมื่อผู้นั้นตาย เนเฟชตามความเข้าใจของศาสนายูดาห์และพยานพระยะโฮวาจึงไม่ใช่วิญญาณอมตะ ศาสนาคริสต์ได้พัฒนาความเชื่อนี้ต่อมาว่าเนเฟชหรือ "พซีเค" ในภาษากรีกเป็นวิญญาณอมตะ จะดำรงอยู่ต่อไปแม้ว่าร่างกายจะแตกสลายไปแล้วก็ตาม นิกายโปรเตสแตนต์ฝ่ายลัทธิคาลวินเชื่อว่าวิญญาณเป็นอมตะ และยังมีความรู้สึกอยู่ตลอดแม้ตายไปแล้ว แต่ฝ่ายลูเทอแรนว่าวิญญาณเป็นมตะ จะหลับใหลไปจนกว่าบรรดาผู้ตายจะคืนชีพ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์เชื่อว่าวิญญาณจะไปอยู่ที่แดนผู้ตาย ส่วนนิกายโรมันคาทอลิกเชื่อว่าผู้ที่ยังไม่ได้รับการชำระให้บริสุทธิ์จะต้องไปอยู่ในแดนชำระก่อน เมื่อบริสุทธิ์แล้วจึงขึ้นสวรรค์ต่อไป ตั้งแต่สังคายนาลาเตรันครั้งที่ห้า คริสตจักรโรมันคาทอลิกถือว่าผู้ไม่เชื่อว่าวิญญาณเป็นอมตะเป็นพวกนอกรีต.

ดู มนุษย์และเนเฟช

Ductus reuniens

ในมนุษย์ ductus reuniens หรือ canalis reuniens of Hansen เป็นส่วนของหูชั้นใน ซึ่งเชื่อมส่วนล่างของ saccule ที่ริม ๆ ส่วนของระบบการทรงตัว กับ cochlear duct ซึ่งเป็นส่วนของระบบการได้ยินในห้องหูชั้นใน ดังนั้น จึงเป็นการเชื่อมเยื่อห้องหูชั้นในที่เต็มไปด้วยน้ำ endolymph ของสองระบบเข้าด้วยกันด้ว.

ดู มนุษย์และDuctus reuniens

Elizabethkingia meningoseptica

Elizabethkingia meningoseptica เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบรูปแท่งที่พบได้ทั่วไปในธรรมชาติ อาจพบเป็นเชื้อประจำได้ในปลาหรือกบแต่ปกติแล้วจะไม่พบเป็นเชื้อประจำถิ่นในร่างกายมนุษย์ นักวิทยาแบคทีเรียชาวอเมริกา Elizabeth O.

ดู มนุษย์และElizabethkingia meningoseptica

Expo Zaragoza 2008

Expo Zaragoza 2008 งานแสดงนิทรรศการนานาชาติที่เมืองซาราโกซา ราชอาณาจักรสเปน ระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน ถึง 14 กันยายน 2551 ณ เมืองซาราโกซา ราชอาณาจักรสเปน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลักดันให้ประเทศต่างๆ เห็นความสำคัญเรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและให้ความสำคัญของทรัพยากรน้ำต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตตลอดจนการป้องกันปัญหาความขัดแย้งของภูมิภาค เรื่องการขาดแคลนทรัพยากรน้ำในอนาคต ทั้งนี้ ซาราโกซาได้รับคัดเลือกให้เป็นเมืองศูนย์กลางในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแห่งทศวรรษ (ค.ศ.2005 – 2015) ขององค์การสหประชาชาติด้ว.

ดู มนุษย์และExpo Zaragoza 2008

Gene flow

ในสาขาพันธุศาสตร์ประชากร gene flow (การไหลของยีน, การโอนยีน) หรือ gene migration เป็นการโอนความแตกต่างของยีน (genetic variation) ของประชากรกลุ่มหนึ่งไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง ถ้าอัตราการโอนยีนสูงพอ กลุ่มประชากรทั้งสองก็จะพิจารณาว่ามีความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) ที่เหมือนกัน และดังนั้น จึงเท่ากับเป็นกลุ่มเดียวกัน มีการแสดงแล้วว่า ต้องมี "ผู้อพยพหนึ่งหน่วยต่อหนึ่งรุ่น" เป็นอย่างน้อย เพื่อป้องกันไม่ให้กลุ่มประชากรเบนออกจากกันทางพันธุกรรมเนื่องจากการเปลี่ยนความถี่ยีนอย่างไม่เจาะจง (genetic drift) กระบวนการนี้เป็นกลไกสำคัญเพื่อโอนความหลากหลายของยีนในระหว่างกลุ่มประชากรต่าง ๆ หน่วยที่ "อพยพ" เข้ามาหรือออกจากกลุ่มประชากรอาจเปลี่ยน ความถี่อัลลีล (allele frequency, สัดส่วนของสมาชิกกลุ่มประชากรที่มีรูปแบบหนึ่งเฉพาะของยีน) ซึ่งก็จะเปลี่ยนการแจกแจงความหลากหลายของยีนระหว่างกลุ่มประชากร "การอพยพ" อาจเพิ่มรูปแบบยีนใหม่ ๆ ให้กับสปีชีส์หรือประชากรกลุ่ม ๆ หนึ่ง อัตราการโอนที่สูงสามารถลดความแตกต่างของยีนระหว่างสองกลุ่มและเพิ่มภาวะเอกพันธุ์ เพราะเหตุนี้ การโอนยีนจึงเชื่อว่าจำกัด การเกิดสปีชีสใหม่ (speciation) เพราะรวมยีนของกลุ่มต่าง ๆ และดังนั้น จึงป้องกันพัฒนาการความแตกต่างที่อาจนำไปสู่การเกิดสปีชีสใหม่ '''gene flow''' ก็คือการโอนอัลลีลจากประชากรกลุ่มหนึ่งไปยังอีกกลุ่มหนึ่งผ่าน "การอพยพ" ของสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วย มีปัจจัยต่าง ๆ ต่ออัตราการโอนยีนข้ามกลุ่มประชากร อัตราคาดว่าจะต่ำในสปีชีส์ที่กระจายแพร่พันธุ์หรือเคลื่อนที่ไปได้ในระดับต่ำ ที่อยู่ในที่อยู่ซึ่งแบ่งออกจากกัน ที่มีกลุ่มประชากรต่าง ๆ อยู่ห่างกัน และมีกลุ่มประชากรเล็ก การเคลื่อนที่ได้มีบทบาทสำคัญต่ออัตราการโอนยีน เพราะสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนที่ได้มีโอกาสอพยพไปที่อื่นสูงกว่า แม้สัตว์มักจะเคลื่อนที่ได้มากกว่าพืช แต่พาหะที่เป็นสัตว์หรือลมก็อาจจะขนละอองเรณูและเมล็ดพืชไปได้ไกล ๆ เหมือนกัน เมื่อระยะแพร่กระจายพันธุ์ลดลง การโอนยีนก็จะถูกขัดขวาง การผสมพันธุ์ในสายพันธุ์ (inbreeding) วัดโดย สัมประสิทธิ์การผสมพันธุ์ในสายพันธุ์ (inbreeding coefficient ตัวย่อ F) ก็จะเพิ่มขึ้น ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มประชากรบนเกาะจำนวนมากมีอัตราการโอนยีนที่ต่ำ เพราะอยู่ในภูมิภาคแยกต่างหากและมีขนาดประชากรเล็ก ตัวอย่างโดยเฉพาะอย่างหนึ่งก็คือ จิงโจ้สกุล Petrogale lateralis (Black-footed Rock-wallaby) ที่มีกลุ่มซึ่งผสมพันธุ์ภายในสายพันธุ์บนเกาะต่าง ๆ แยกต่างหาก ๆ นอกชายฝั่งของออสเตรเลีย นี่เนื่องจากไปมาหาสู่กันไม่ได้ การโอนยีนจึงเป็นไปไม่ได้ และทำให้ต้องผสมพันธุ์กันในสายพัน.

ดู มนุษย์และGene flow

Homo erectus

ม อีเร็กตัส (แปลว่า "มนุษย์ที่ยืนตรง" มาจากคำกริยาในภาษาละตินว่า ērigere ซึ่งแปลว่า ตั้งให้ตรง) เป็นสปีชีส์ของมนุษย์ที่สูญพันธุ์ไปแล้ว ที่มีชีวิตอยู่เกือบทั้งสมัยไพลสโตซีน โดยมีหลักฐานซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ที่สุดประมาณ และหลักฐานที่ใหม่ที่สุดที่ 27,000 ปีก่อน เป็นสกุลที่เกิดในแอฟริกาและได้ย้ายถิ่นฐานกระจายไปจนถึงจอร์เจีย อินเดีย ลังกา จีน และเกาะชวาChauhan, Parth R.

ดู มนุษย์และHomo erectus

Lateral geniculate nucleus

Lateral geniculate nucleus (ตัวย่อ LGN แปลว่า นิวเคลียสงอคล้ายเข่าด้านข้าง) เป็นศูนย์ถ่ายทอดสัญญาณประสาทหลักจากจอตา ไปยังระบบประสาทกลาง อยู่ในส่วนทาลามัสของสมอง และยังมีส่วนอื่นที่เรียกว่า medial geniculate nucleus ซึ่งเป็นส่วนที่มีหน้าที่คล้ายกันแต่ทำหน้าที่ส่งสัญญาณเกี่ยวกับเสียง LGN รับสัญญาณโดยตรงจาก.

ดู มนุษย์และLateral geniculate nucleus

Matrix of Leadership

แมททริกซ์แห่งจิตพลังผู้นำ (Matrix of leadership) เป็นสิ่งที่สามารถชุบชีวิต หุ่นยนต์ทรานส์ฟอร์มเมอร์สทุกตัวที่สิ้นชีพ ให้กลับฟื้นคืนชีพขึ้นมาได้.

ดู มนุษย์และMatrix of Leadership

Onegai My Melody

Onegai My Melody (おねがいマイメロディ) เป็นอะนิเมะชุดตามตัวละครจาก บริษัท ซานริโอ จำกัด, มายเมโลดี้ ที่ผลิตโดยสตูดิโอโคเมทชุดแรกที่ได้รับการปล่อยตัวระหว่าง 3 เมษายน 2005 แล อซาก้าที่มีการขยายจาก 52 ตอนที่ ผลสืบเนื่อง, Onegai My Melody ~Kuru Kuru Shuffle!~ เริ่มที่จะออกอากาศที่ 2 เมษายน 2006 และสิ้นสุดเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2007 ในผลสืบเนื่องต่อไป Onegai My Melody Sukkiri♪ แต่ละตอนที่ถูกตัดถึง 10 นาที ชุดนี้ยังได้รับการเผยแพร่ในประเทศญี่ปุ่นโดยแอนิแมกซ์, ทีวีโตเกียวและโอซาก้าทีวี ขณะนี้ไม่มีแผนการที่จะนำชุดเหล่านี้ไปอเมริกาเป็น แฟรนไชส์​​อะนิเมะที่สิ้นสุดวันที่ 30 มีนาคม 2009 และถูกแทนที่ด้วย จิเวลเพ็ท อันยมณีมหัศจรร.

ดู มนุษย์และOnegai My Melody

RNA interference

RNA interference RNA interference หรือ RNAi เป็นกระบวนการในการควบคุมการแสดงออกของลักษณะทางพันธุกรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งพบทั้งในพืช สัตว์ และมนุษย์ โดยอาศัยการทำงานของชิ้นส่วน double strand RNA (dsRNA) ซึ่งเมื่อผ่านกระบวนการต่าง ๆ แล้ว จะมีผลไปยับยั้งการทำงานของ messenger RNA (mRNA) ของยีนหนึ่ง ๆ อย่างจำเพาะ จึงมีผลยับยั้งการทำงานของยีนนั้นได้.

ดู มนุษย์และRNA interference

Superior colliculus

optic tectum หรือเรียกสั้น ๆ ได้ว่า tectum เป็นโครงสร้างคู่ที่เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในสมองส่วนกลางของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โครงสร้างนี้มักจะเรียกกันว่า superior colliculus (ตัวย่อ SC) เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นชั้น ๆ แม้ว่าจำนวนชั้นจะแตกต่างกันไปในสัตว์สปีชีส์ต่าง ๆ ชั้นนอก ๆ มีหน้าที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัส และรับข้อมูลมาจากทั้งตาและระบบรับความรู้สึกอื่น ๆ ส่วนชั้นที่ลึก ๆ ลงไปมีหน้าที่เกี่ยวกับการสั่งการ (motor) มีความสามารถในการเริ่มการเคลื่อนไหวของตาและเริ่มการตอบสนองในระบบอื่น ๆ ส่วนชั้นในระหว่างกลางมีนิวรอนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสหลายทาง และเกี่ยวกับการสั่งการด้วย หน้าที่ทั่ว ๆ ไปของเทคตัมก็คือ ชี้ทางการตอบสนองทางพฤติกรรมไปยังตำแหน่งต่าง ๆ โดยมีกายเป็นศูนย์กลาง ชั้นแต่ละชั้นของเทตตัมมีแผนที่ภูมิลักษณ์ของโลกรอบตัวที่ใช้พิกัดแบบ retinotopy และการทำงานของนิวรอนจุดหนึ่งในแผนที่ทำให้เกิดการตอบสนองทางพฤติกรรมตรงตำแหน่งในปริภูมิที่สัมพันธ์กับจุดในแผนที่นั้น ในไพรเมต งานศึกษาเรื่องของ SC โดยมากเป็นไปเกี่ยวกับการควบคุมการทอดสายต.

ดู มนุษย์และSuperior colliculus

Whistle register

Whistle register คือการหวีดเสียงร้องเพลงสูงสุดของมนุษย์ โดยมีลักษณะคล้ายการกรีดร้อง.

ดู มนุษย์และWhistle register

1 E0 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวที่อยู่ระหว่างหนึ่งเมตร และสิบเมตร ---- ความยาวน้อยกว่า 1 เมตร ----.

ดู มนุษย์และ1 E0 m

10 กรกฎาคม

วันที่ 10 กรกฎาคม เป็นวันที่ 191 ของปี (วันที่ 192 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 174 วันในปีนั้น.

ดู มนุษย์และ10 กรกฎาคม

16 สิงหาคม

วันที่ 16 สิงหาคม เป็นวันที่ 228 ของปี (วันที่ 229 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 137 วันในปีนั้น.

ดู มนุษย์และ16 สิงหาคม

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ดู มนุษย์และ17 กรกฎาคม

20 กรกฎาคม

วันที่ 20 กรกฎาคม เป็นวันที่ 201 ของปี (วันที่ 202 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 164 วันในปีนั้น.

ดู มนุษย์และ20 กรกฎาคม

23

23 (ยี่สิบสาม) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 22 (ยี่สิบสอง) และอยู่ก่อนหน้า 24 (ยี่สิบสี่).

ดู มนุษย์และ23

25 ตุลาคม

วันที่ 25 ตุลาคม เป็นวันที่ 298 ของปี (วันที่ 299 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 67 วันในปีนั้น.

ดู มนุษย์และ25 ตุลาคม

27 กันยายน

วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.

ดู มนุษย์และ27 กันยายน

37

37 (สามสิบเจ็ด) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 36 (สามสิบหก) และอยู่ก่อนหน้า 38 (สามสิบแปด).

ดู มนุษย์และ37

3×3 Eyes

3×3 Eyes เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวผจญภัยแฟนตาซี เรื่องและภาพโดยยูโซ ทาคาดะ ตีพิมพ์ในประเทศญี่ปุ่นโดยสำนักพิมพ์โคดันฉะ ตีพิมพ์ในประเทศไทยโดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ ในปี พ.ศ.

ดู มนุษย์และ3×3 Eyes

หรือที่รู้จักกันในชื่อ H. sapiensHomo sapiensมนุษยชาติคนโฮโมเซเปียนส์เผ่าพันธุ์มนุษย์

พระอัศวินพระผู้สร้างพระผู้ไถ่พระคริสต์พระแม่วาราหีพระเจ้าสร้างอาดัม (มีเกลันเจโล)พลรัตน์ รอดรักษาพลังจิตพลาสโมเดียมพอร์พอยส์พะยูนพันธุศาสตร์พันนิชเชอร์พารัลแลกซ์พาวเวอร์ดอลส์พิภพวานรพิภพวานร (นวนิยาย)พิราวรรณ ประสพศาสตร์พิสัยการได้ยินพ็อลเทอร์ไกสท์กฎบัตรซาราโกซากฎหมายสิ่งแวดล้อมกระสวยแซงเวลากระดูกฝ่ามือกระดูกลูเนทกระดูกสันหลังกระดูกหน้าผากกระดูกฮาเมตกระดูกทราพีซอยด์กระดูกข้อมือกระดูกข้างขม่อมกระดูกต้นขากระดูกแคปปิเตตกระต่ายกระแตใต้กรดยูริกกรดอะมิโนกรดเบฮินิกกลุ่มนิวเคลียส pulvinarกลีบท้ายทอยกลีบขมับกล้ามเนื้อสเตอร์โนไคลโดมาสตอยด์กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอกล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ คาร์ไพ อัลนาริสกล้ามเนื้อเดลทอยด์กวางมูสกสิณไฟกองทะเบียนประวัติอาชญากรกะโหลกศีรษะกัมนอว์กั้งกายกายวิภาคศาสตร์การชำระให้บริสุทธิ์การรับรู้รสการรับรู้ความใกล้ไกลการละเล่นพื้นเมืองการวิ่งทางไกลการวิเคราะห์การศึกษาสร้างคุณค่าการสำรวจอวกาศการสืบเชื้อสายร่วมกันการจับปลาของนกกาน้ำการทดสอบทัวริงการดูแลและหาเพื่อนการคลอดทางช่องคลอดการควบคุมอารมณ์ตนเองการตั้งครรภ์การประมวลผลคำพูดการปรับภาวะให้เกิดความกลัวการปรับตัว (ชีววิทยา)การปรับตัวไม่ดีการปรับตัวเป็นสัตว์เลี้ยงการปรับตาดูใกล้ไกลการนับรวมทุกกลุ่มคนการแทนความรู้การเพิ่มอำนาจการเกิดเซลล์สืบพันธุ์การเรียนการเห็นเป็น 3 มิติการเดินป่า ล่าสัตว์ แกะรอยในเพชรพระอุมาการเคลื่อนที่ (ฟิสิกส์)การเปลี่ยนแปลงหลังการตายกาลานุกรมวิวัฒนาการมนุษย์กินรีกุสตาฟ (จระเข้)ญินฝูหนิวเล่อเล่อภาพยนตร์ภารกิจแอบจิ๊กตัวแม่บนดาวมฤตยูภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็กภาษา (แก้ความกำกวม)ภาษาเกาหลีภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์มนุษย์มหาชนมหาวิทยาลัยรังสิตมหาวิทยาลัยเคสเวสเทิร์นรีเสิร์ฟมหาสฟิงซ์มหาสีลวชาดกมหาเผ่าพันธุ์แห่งยิธมอธแมนมัดแฟล็ปส์มังกรยุโรปมังกรจีนมังกรโกโมโดมัตสึไดระ คาทาคุริโกะมันติคอร์มาม่ามาร์เทินมาสค์ไรเดอร์เบลดมาซายมานุษยรูปนิยมมานุษยวิทยามานุษยวิทยาสังคมมิซึนาชิ เรย์นะมือมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกีมีนวิทยามณีแดนสรวงมนุษยพันธุศาสตร์มนุษยศาสตร์มนุษยนิยมมนุษย์มนุษย์ชวามนุษย์ช้างมนุษย์ล่องหนมนุษย์ที่มีกายวิภาคปัจจุบันมนุษย์ต่างโลกมนุษย์นกฮูกม็อบ (แก้ความกำกวม)ยอดเขาคิลิมันจาโรยายามาซากิ ซางารุยามาโมโตะ ทาเคชิยางิว คิวเบยาปฏิชีวนะยานพาหนะยุคก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินกลาง (แอฟริกา)ยุคหินเก่ายุคโจมงยูเธอเรียรหัสยลัทธิรอยนูนหลังร่องกลางรอยนูนหน้าส่วนบนระบบการได้ยินระบบการเงินในระดับจุลภาคระบบสารสนเทศระบบอวัยวะระบบตรวจสอบลายพิมพ์นิ้วมืออัตโนมัติรัญญา ศิยานนท์รา (เทพ)ราม ราชพงษ์รายชื่อตัวละครในครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!รายชื่อนวนิยายไทยรายการสัตว์รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดรายการซากดึกดำบรรพ์สายพันธุ์มนุษย์ราศีเมถุนร่มชูชีพร่างกายมนุษย์ลอตเตโนะโอะโมะชะ!ละองละมั่งลัทธิอำนาจนิยมลัทธิเชมันแบบเกาหลีลายเจ็นนารีลำดับชั้นของทูตสวรรค์ในศาสนาคริสต์ลำดับสงวนลำไส้เล็กส่วนกลางลิมโฟไซต์ลิงลิงบาบูนลู่ตูงล่าสุดขอบจักรวาลวรายุฑ มิลินทจินดาวัยสูงอายุวัดพรหมทินใต้วัดเส้าหลินวาฬบรูด้าวาฬสีน้ำเงินวานรวิทยาวิญญาณวิวรณ์วิวัฒนาการกระดูกหูสำหรับได้ยินของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมวิวัฒนาการของการเห็นสีวิวัฒนาการของมนุษย์วิวัฒนาการของคอเคลียวิศวกรรมสารสนเทศวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมวิทยาศาสตร์สุขภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีนวิตรูวิอุสวิตามินบี12วงศ์กบลูกศรพิษวงศ์กระต่ายวงศ์กระแตวงศ์ย่อยวัวและควายวงศ์ย่อยหอยมือเสือวงศ์ย่อยหนูวงศ์ย่อยปลากระดี่วงศ์ย่อยปลากัดวงศ์ย่อยแกะและแพะวงศ์ลิงใหญ่วงศ์ลิงโลกเก่าวงศ์วัวและควายวงศ์หนูวงศ์จิ้งจกและตุ๊กแกวงศ์งูแมวเซาวงศ์งูแสงอาทิตย์วงศ์งูเหลือมวงศ์ตะพาบวงศ์ปลากระเบนหางสั้นวงศ์ปลากะพงแดงวงศ์ปลาวัววงศ์ปลาสลิดทะเลวงศ์ปลาสากวงศ์ปลาสินสมุทรวงศ์ปลาอินทรีวงศ์ปลาดาบลาววงศ์ปลาดุกทะเลวงศ์ปลางวงช้างวงศ์ปลาตะพัดวงศ์ปลาเสือพ่นน้ำวงศ์ปลาเฉี่ยววงศ์นกแสกวงศ์นกเป็ดน้ำวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทาวงศ์เหี้ยศพศักดิ์ศรีศาสนาพุทธศาสนาพุทธกับจิตวิทยาศิลปินแห่งชาติศีรษะสกุล (ชีววิทยา)สกุลชิมแปนซีสกุลยาสุฮิโกทาเกียสกุลรัสบอร่าสกุลเตตราโอดอนสมองใหญ่สมัยไพลสโตซีนสอดรู้ สอดเห็น สอดเป็น สอดตายสังคมวิทยาสัตว์มีกระดูกสันหลังสัตว์รังควานสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกสัตว์สังคมสัตว์ประหลาดสัตว์ประหลาดแฟลทวูดส์สัตว์เลื้อยคลานสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลสาบนรสิงห์สารัตถะสาวกลายพันธุ์สิทธิแรงงานสิงโตสิ่งมีชีวิตตัวแบบสิ่งมีชีวิตนอกโลกสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติสื่อที่มนุษย์สามารถอ่านได้สุดยอดสิ่งมีชีวิตสีสีดา ราม ศึกรักมหาลงกาสถาบันนิยมสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นสถาปัตยกรรมภายในสงครามมหาเทพประจัญบานสตาร์ เทรคสนทนาประสาสมัครสเปลบี สควอโล่สเปซ มารีนส์หมวดคำอักษรจีนหมาจิ้งจอกหมาจิ้งจอกทองหมาจิ้งจอกเฟนเนกหมาป่าดิงโกหมาป่านิวกินีหมึก (สัตว์)หมึกกระดองหมึกสายวงน้ำเงินหมูหริ่งหมีกริซลีหลักสูตรหลุมยุบหลุยส์ ลีกคีหอยเต้าปูนกลอรีออฟอินเดียหอยเต้าปูนหาดราไวย์หัวโขนหัวเราะหุ่นยนต์หุ่นยนต์อัตโนมัติหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์หุ่นไล่กาหูหูชั้นในรูปหอยโข่งหงส์หงส์ดำหนอนมรณะมองโกเลียหนังสือปฐมกาลหนังสือปัญญาจารย์หนุมาน สงครามมหาเทพหนูหนูบ้านหนูหริ่งบ้านหนูผีหนูผีบ้านหนูผีจิ๋วหนูจี๊ดหน่วยรับกลิ่นหน่วยรับรสหน่วยรับที่จับคู่กับจีโปรตีนห่านอมนุษย์อรสา พรหมประทานอรหันอวสานวิทยาอวสานผีชีวะอวัยวะอสูรน้อยคิทาโร่ออมนิทริกซ์อะมิกดะลาอัญชลี ไชยศิริอัมเบรลลาคอร์ปอเรชันอัลมาส์อัลลอฮ์อัลคาไลน์ ฟอสฟาเตสอัลโซ สปราค ซาราธุสตรา (ชเตราส์)อันดับกบอันดับกระต่ายอันดับย่อยปลากัด ปลากระดี่อันดับวานรอันดับสัตว์ฟันแทะอันดับด้วงอันดับปลาหลังเขียวอันดับปลาหัวตะกั่วอันดับปลาตะเพียนอันดับปลาแมงป่องอันดับไฮแรกซ์อาชญากรรม / ความหวัง / การสูญเสียอาร์เอ็มเอส ควีนแมรี 2อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงอาหารกับโรคมะเร็งอาถรรพณ์นิทรานครอาณัติแห่งสวรรค์อาดัมอาคารอาคาอินุอาซิโมอำเภอพิบูลมังสาหารอิทธิฤทธิ์ภูมิเทวดาอินทรีอินเตอร์นิวรอนอิโต คาโมทาโร่อึ่งผีอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรอีเห็นข้างลายอ่างเก็บน้ำฮาลาลฮาเซงาว่า ไทโซฮิบะกงฮิบาริ เคียวยะฮิจิคาตะ โทชิโร่ฮิปโปแคมปัสฮิโตะดะมะฮีตเวฟ (หนังสือการ์ตูน)ผลไม้ผายลมผึ้งผู้ชายผู้ใหญ่ผีชีวะ 2 ผ่าวิกฤตไวรัสสยองโลกผีชีวะ 5 สงครามไวรัสล้างนรกผีโพงผีไม่มีหน้าผีเสื้อ (แมลง)จระเข้น้ำเค็มจระเข้แม่น้ำไนล์จักระจัสติสลีก (ภาพยนตร์การ์ตูน)จังหวัดศรีสะเกษจันทนา ศิริผลจามรีจานดาวเทียมจิตพยาธิวิทยาสัตว์จิตวิทยาจิ้งหรีดจุลประติมากรรมจีโนมมนุษย์ธันเดอร์เบิร์ด (เทพปกรณัม)ธุลีปริศนาทรานส์ฟอร์มเมอร์ส อภิมหาสงครามแค้นทรานส์ฟอร์เมอร์ส 5: อัศวินรุ่นสุดท้ายทริปโตเฟนทวินซิกแนลทอมัส อไควนัสทักษะชีวิตทากาสุงิ ชินสุเกะทารกออกแบบทาลามัสทางเดินอาหารของมนุษย์ทีมฟอร์เทรส 2ขวานหินขามนุษย์ขนขนสัตว์ขนาดองคชาตมนุษย์ข้อความอาเรซีโบดังโงะโมโมทาโร่ดาวทะเลดูน (นวนิยาย)ดีพวันดีดีทีดนตรีไทยด็อพเพิลเก็งเงอร์ด้วงกว่างครอบฟันคลื่นความคิดความยาวความสอดคล้องกันของจอตาความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศจีนความอยากรู้อยากเห็นความจุที่นั่งความคิดแทรกซอนความตลกขบขันความต่างที่สองตาความเบื่อหน่ายความเสมอภาคทางสังคมความเสี่ยงด้านปฏิบัติการความเจ็บปวดความเครียด (ชีววิทยา)ความเป็นพลเมืองคอมมานด์ & คองเคอร์: ไทบีเรียนซันคอร์ปัส คาโลซัมคอร์เทกซ์กลีบหน้าผากส่วนหน้าคอลัมน์ในคอร์เทกซ์คองกามาโตคอนโด้ อิซาโอะคัมภีร์ไบเบิลคามิยะ คาโอรุคาร์ล มากซ์คาร์นิทีนคาลาโนโร่คาวาคามิ บันไซคาซึระ โคทาโร่คิวริโอคิจิมะ มาทาโกะคิซารุคุริโบคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคติชนวิทยาคนครึ่งสัตว์ นัดยึดเมืองค่างหนุมานค่างแว่นถิ่นใต้ค่างเทาคโลนะเซแพมค้างคาวแม่ไก่ป่าฝนค้างคาวแวมไพร์ค้างคาวแวมไพร์ธรรมดางูกระด้างงูอนาคอนดางูอนาคอนดาเขียวงูแมมบางูไทปันงูเหลือมตรีเอกภาพตะพาบหับตับอ่อนตัวละครในโทโฮโปรเจกต์ตัวนำโชคตาบอดสีตามล่านักฆ่าแอนดรอยด์ตามนุษย์ตำนานเดชนางพญางูขาวตุลาการทมิฬตุ๊กตาตุ๊กตากระดาษตุ๊กแกตุ๊กแกบินต้นไม้กินคนซัยโตเมกาโลไวรัสซากาตะ กินโทกิซากดึกดำบรรพ์ช่วงเปลี่ยนสภาพซารุโทบิ อายาเมะซาวาดะ สึนะโยชิซาซางาวะ เรียวเฮซานเตียโก รามอน อี กาฮาลซิก ฮาร์ทซีอุยซีเวอร์ตประชากรโลกประชานประวัติศาสตร์การทหารประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์อังกฤษประวัติศาสตร์โลกประเทศฟิลิปปินส์ปริศนาปลาปลาชะโอนถ้ำปลาฟิงเกอร์ปลากระทิง (สกุล)ปลากระเบนไฟฟ้าปลากัด (สกุล)ปลากดหัวเสียมปลายรัฟฟินีปลายประสาทรับร้อนปลายประสาทเมอร์เกิลปลาสอดปลาสังกะวาดปลาหมอฟรอนโตซ่า (สกุล)ปลาหมอตาลปลาหมอแคระแรมเจ็ดสีปลาหลดปลาหัวงอนปลาออร์ปลาอะราไพม่าปลาอินซีเน็ตปลาอินซีเน็ตหางแดงปลาจิ้มฟันจระเข้ปลาที่ว่ายในสนามฟุตบอลปลาดุกทะเลลายปลาคู้ดำปลาตองปลาตะพากส้มปลาตะกรับเจ็ดแถบปลาฉลามปลาฉลามพอร์ตแจ็กสันปลาฉลามหัวบาตรปลาฉลามหัวค้อนปลาฉลามครีบขาวปลาฉลามเสือปลาฉลามเสือดาวปลาซักเกอร์ครีบสูงปลาซาร์ดีนปลาซาร์ดีนยุโรปปลาซิวข้างขวานปลาปอดอเมริกาใต้ปลาแบมบูซ่าปลาแมกเคอเรลปลาแค้ยักษ์ปลาไหลไฟฟ้าปลาไนปลาเลียหินปลาเสือพ่นน้ำปลาเทวดาปักกิ่งร่ายรำปัจจัยสี่ปุ่มกระดูกหัวไหล่ปูม้าปูทะเลปีศาจโดเวอร์ป่องรู้กลิ่นป่าสันทรายป่าโลกล้านปีนบีนกกินปลีนกหัวขวานเขียวตะโพกแดงนกออกนกอีเสือสีน้ำตาลนกปรอดหัวโขนนกแสกนกเขาชวานกเค้าจุดนมนรสิงห์นักภูมิศาสตร์นักล่า-เก็บของป่านัมมูนากนากยักษ์นากเล็กเล็บสั้นนารีผลนิพพานนิรุตติ์ ศิริจรรยานิวต์ท้องแดงจีนนิงเง็นนิติพยาธิวิทยานิติพิษวิทยานิ้วกลางนิ้วหัวแม่มือนิ้วนางนิเวศวิทยานิเวศวิทยาชุมชนเมืองนึกคิด บุญทองนุระริเฮียงนีแอนเดอร์ทาลน้ำน้ำลายน้ำอสุจิน้ำเงิน บุญหนักแบบสิ่งเร้าแบล็คชัคแบทแมน บีกินส์แบดเทสต์ (ภาพยนตร์)แบคทีเรียดื้อยาแฟรงค์ เฮอร์เบิร์ตแมรี ลีกคีแมลงสาบแมลงสาบมาดากัสการ์แมลงทับแมงคีมแม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพแรดแรดอินเดียแร็กคูนแร้งแร้งเทาหลังขาวแลนโด คาลริสเซียนแอนดรอยด์แอนโทรโปซีนแอ่งเลือดโคโรนารีแอเรียลแจ็ค ข้อเท้าสปริงแขนแคปต์ชาโบราณสถานโบราณคดีโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์โบโรเมียร์โบโนโบโพรมีเทียสโกคุเดระ ฮายาโตะโมะโมะตะโรโมโนทรีมโยชิโยวี่โยฮันน์ กอทท์ฟรีด ซินน์โรคพยาธิไส้เดือนโรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลังโรควัวบ้าโรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคซึมเศร้า (การวินิจฉัยแยกโรค)โรงเรียนธรรมโชติศึกษาลัยโลกโลมาหัวบาตรหลังเรียบโลมาอิรวดีโหนกคิ้วโอคิตะ โซโกะโอโทเซะโฮโมโทราห์โทรโข่งโทะซะกินโขนโดราเอมอนโดะงูโดคุโร โครมโครงข่ายประสาทโครโมโซมวายโครโมโซมเพศโคอาทีโปเยโปโลเย เย้ยฟ้าแล้วก็ท้า ภาค 2ไฟลัมไพโรจน์ ใจสิงห์ไกรทองไลรา เบลัควาไวรัสไฮยีน่าไฮแรกซ์หินไฮเปอร์ไดมอนด์ไทรออปส์ไขกระดูกไข่ (อาหาร)ไข้ไข้เหลืองไดโปรโตดอนไซเรนเชร็คเบลล่า สวอนเบลด (ภาพยนตร์ชุด)เบลด 3 อำมหิต พันธุ์อมตะเบลเฟกอลเชื้อเพลิงเบียร์ดดราก้อนเบียร์ดดราก้อน (สกุล)เพียงพอนเพียงพอนไซบีเรียเกมเกรทโอลด์วันเกลือแร่เกวตซัลโกอัตล์เกเดเมกะลาเนียเม็กกาโลดอนเม็ดรู้สัมผัสเม็ดเลือดแดงเยติเรซิเดนต์อีวิล 4เลวี่ อาแทนเวชพันธุศาสตร์เวนดิโกเศรษฐกิจสีเขียวเสมหะเสือเสือกเสือดาวเสือดาวหิมะเสือปลาเสือโคร่งเสือโคร่งชวาเสือโคร่งบาหลีเสือโคร่งสุมาตราเสือโคร่งอินโดจีนเสน่ห์เส้นเวลาของคณิตศาสตร์เส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติเหยี่ยวเหย่เหรินเอชไอวีเอกเทวนิยมเอกเทวนิยมอิสลามเอมิล เคร็บส์เอรากอนเอจออฟมีโธโลจีเอปเฮอร์เมทิคาเจเรมี เวดเทราคาโตะ ซือเทววิทยาเทวัสนิยมเทศบาลเมืองศรีราชาเทสโทสเตอโรนเท็ด บันดีเขตอาศัยได้เดอะ ฮอบบิท: สงคราม 5 ทัพเด็กเด็กชายเด็กหญิงเด็กป่าเถื่อนเครย์ฟิชเครื่องปรับอากาศเคลดเงือกสาวยากูซ่าเงือกน้อยผจญภัย ภาค 3 ตอน กำเนิดแอเรียลเต่าเหลืองเต๋าเซลล์รับกลิ่นเซลล์ขนเซคันด์ไลฟ์เปลือกสมองเปลือกสมองส่วนการเห็นเป็ดก่าเนื้อทรายเนื้อเยื่อเนเฟชDuctus reuniensElizabethkingia meningosepticaExpo Zaragoza 2008Gene flowHomo erectusLateral geniculate nucleusMatrix of LeadershipOnegai My MelodyRNA interferenceSuperior colliculusWhistle register1 E0 m10 กรกฎาคม16 สิงหาคม17 กรกฎาคม20 กรกฎาคม2325 ตุลาคม27 กันยายน373×3 Eyes