โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มณฑลไหหลำ

ดัชนี มณฑลไหหลำ

มณฑลไหหลำ หรือ ไห่หนาน (ภาษาจีน: 海南, พินอิน: Hǎinán) คือมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนที่มีขนาดเล็กที่สุด ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศ ประกอบด้วยเกาะหลายเกาะ โดยที่เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะไหหลำ เมื่อชาวจีนพูดเกี่ยวกับ "ไห่หนาน" ในภาษาจีน มักจะหมายถึงเฉพาะเกาะไหหลำ เมื่อพูดถึงมณฑลไหหลำจะใช้คำว่า "ไห่หนานเฉิ่ง" เมืองหลวงคือ เมืองไหโข่ว.

105 ความสัมพันธ์: ชะนีแก้มขาว (สกุล)ชาวฮกเกี้ยนพ.ศ. 2527พรรคคอมมิวนิสต์มลายาพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พายุหมุนนกเตนพายุโซนร้อนเซินกา (พ.ศ. 2560)กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มภาษากัม-ไทกลุ่มภาษาจามกวางป่ากองทัพแห่งชาติพม่ากัมพูชาเชื้อสายจีนการยึดครองพม่าของญี่ปุ่นการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008การปกครองเวียดนามของจีนครั้งแรกกิ้งก่าบินปีกจุดกูรีตีบาภาษากิมมุนภาษาหมิ่นใต้ภาษาจามภาษาจีนกวางตุ้งภาษาจีนหมิ่นภาษาทซัตมิสแกรนด์จีนมิสเตอร์เวิลด์ 2016มณฑลไหหลำม่าจ้อโป๋ยอดธง เสนานันท์รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากรรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากรรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายชื่อเขตการปกครองรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิดฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2553ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559ลัทธิอาณานิคมลิ่นจีนวงศ์งูแสงอาทิตย์สกุลมหาพรหม...สกุลหนอนตายหยากสมสะหวาด เล่งสะหวัดสมเพียร เอกสมญาสางห่าสงครามกลางเมืองจีนสนธิ ลิ้มทองกุลหมู่เกาะแพราเซลหลีหวัง เฟย์เฟย์อับดุลละฮ์ อะฮ์มัด บาดาวีอาหารสิงคโปร์อ่าวตังเกี๋ยจังหวัดห่าติ๋ญจังหวัดทัญฮว้าจีนโพ้นทะเลถั่วผีทะเลท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)ข้าหลวงใบรูปหัวใจดาร์วิน (เมือง)ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสาธารณรัฐจีนงูก้นขบงูเหลือม (สกุล)ตระกูลภาษาไท-กะไดซันชาซานย่าซู เฉินประเทศจีนปลายาวปลาทู (สกุล)ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์นกกระจอกบ้านนกกาเหว่านกสาลิกาดงนกคุ่มสีแมวดาวแหลมเทียนหยาไหเจี่ยวแคะแนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไทไห่หนานแอร์ไลน์ไทยเชื้อสายจีนเก้งธรรมดาเย่ว์เส้นขนานที่ 20 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออกเหยี่ยวรุ้งเหยี่ยวดำเทวา ต.สุรัตน์เขตการปกครองของประเทศจีนเฉลียว อยู่วิทยาเฉินEremochloaRucervus ขยายดัชนี (55 มากกว่า) »

ชะนีแก้มขาว (สกุล)

นีแก้มขาว (White-cheeked gibbon) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานรสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Nomascus (/โน-มาส-คัส/) จัดเป็นลิงไม่มีหาง ในวงศ์ชะนี (Hylobatidae) เดิมสกุลนี้เคยถูกให้เป็นสกุลย่อยของสกุล Hylobates (ซึ่งบางข้อมูลจัดให้เป็นสกุลเดียวกัน) ต่อมามีการศึกษาเพิ่มเติมพบว่าชะนีสกุลนี้มีจำนวนโครโมโซม 52 ส่วนมากชะนีกลุ่มนี้จะมีขนสีดำและมีกระจุกขนสีดำที่กลางกระหม่อม แต่บางส่วนก็มีสีที่อ่อนลงไป พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน (มณฑลยูนาน และเกาะไหหลำ) จนถึงภาคเหนือและกลางของเวียดนาม และภาคเหนือของลาว.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและชะนีแก้มขาว (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ชาวฮกเกี้ยน

วฮกเกี้ยน หมายถึง ชนเผ่าจีนที่มีถิ่นฐานตั้งอยู่ในมณฑลฮกเกี้ยนหรือมณฑลฝูเจี้ยนทางตอนใต้ของจีน เป็นหนึ่งในชนเผ่าจีนโพ้นทะเล มีจำนวนมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นประชากรส่วนใหญ่ของภูเก็ต ตรัง สตูล สงขลา ปีนัง สิงคโปร์ และเป็นชนเผ่าจีนที่มีสัดส่วนสูงในมาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปิน.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและชาวฮกเกี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์มลายา

รรคคอมมิวนิสต์มลายา (Malayan Communist Party, Communist Party of Malaya) เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตัวขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและพรรคคอมมิวนิสต์มลายา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)

ันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล: 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตปลัดทูลฉลอง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นหนึ่งในผู้ร่างกฎหมายที่จะนำมาใช้เป็นรัฐธรรมนูญถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวร่วมกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ และนายเรมอนต์ บี สตีเวนส์ ซึ่งทรงมีกำหนดที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และระดับอุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งในสภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลที่ 7 และองคมนตรี ในรัชกาลปัจจุบัน บทบาทในทางการเมืองเป็นสมาชิกและเป็น..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) · ดูเพิ่มเติม »

พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์

ระอวโลกิเตศวร เป็นพระโพธิสัตว์องค์สำคัญของพระพุทธศาสนามหายาน ที่มีผู้เคารพศรัทธามากที่สุด และเป็นบุคลาธิษฐานแห่งมหากรุณาคุณของพระพุทธเจ้าทั้งปวง เรื่องราวของพระอวโลกิเตศวรปรากฏอยู่ทั่วไปในคัมภีร์สันสกฤตของมหายาน อาทิ ปรัชญาปารมิตาสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร และการัณฑวยูหสูตฺร.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

พายุหมุนนกเตน

หมุนเขตร้อนกำลังแรงนกเตน เป็นพายุหมุนเขตร้อนซึ่งสร้างความเสียหายแก่ตอนเหนือของประเทศฟิลิปปินส์ เป็นพายุลูกที่แปดที่ได้รับการตั้งชื่อและพายุหมุนเขตร้อนกำลังแรงลูกที่สี่ในฤดูไต้ฝุ่นแปซิฟิก 2554 นกเตน ตั้งตามชื่อนกชนิดหนึ่งที่พบในประเทศลาว ขึ้นฝั่งแล้ว 3 ครั้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้มีผู้เสียชีวิตแล้วมากกว่า 55 คน และสร้างความเสียหายคิดเป็นมูลค่ากว่า 99 ล้านดอลล่าร์สหรั.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและพายุหมุนนกเตน · ดูเพิ่มเติม »

พายุโซนร้อนเซินกา (พ.ศ. 2560)

ซนร้อนเซินกา (Sơn Ca) เป็นชื่อพายุที่เวียดนามตั้งชื่อ แปลว่า นกจาบฝนเสียงสวรรค์ (Alauda gulgula) เป็นพายุหมุนเขตร้อนลูกที่ 9 ประจำฤดูกาลไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 และสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงให้กับภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยก่อนหน้านั้น พายุโซนร้อนเซินกาได้พัดผ่านประเทศเวียดนามและลาว ก่อให้เกิดความเสียหายในทั้งสองประเทศ รวมถึงกัมพูชา และเกาะไหหลำของจีน อย่างไรก็ตามพายุเซินกาได้อ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในที.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและพายุโซนร้อนเซินกา (พ.ศ. 2560) · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษากัม-ไท

กลุ่มภาษากัม-ไท (Kam–Tai languages) หรือ กลุ่มภาษาจ้วง-ต้ง (Zhuang–Dong languages) เป็นสาขาภาษาหลักที่มีการเสนอให้จัดแบ่งขึ้นในตระกูลภาษาไท-กะได ประกอบด้วยภาษาของชนชาติต่าง ๆ ในจีนตอนใต้และในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประมาณกว่าร้อยละ 80 ของภาษาทั้งหมดในตระกูลดังกล่าว กลุ่มภาษากัม-สุย, เบ และไท (ซึ่งเป็นกลุ่มภาษาหลัก 3 ใน 5 กลุ่มของตระกูลไท-กะได) มักถูกจัดอยู่รวมกันในกลุ่มภาษากัม-ไทเนื่องจากมีคำศัพท์ที่ใช้ร่วมกันจำนวนมาก อย่างไรก็ตามการจัดแบ่งเช่นนี้มีผู้โต้แย้งโดยมองว่าเป็น "หลักฐานของการไม่มีจริง" (negative evidence) ซึ่งอาจเป็นเพราะมีการแทนที่ศัพท์เข้าไปในสาขาอื่น ความคล้ายกันของระบบหน่วยคำทำให้มีนักภาษาศาสตร์จัดสาขาขร้ากับกัม-สุย เป็นกลุ่มกะไดเหนือทางหนึ่ง และสาขาไหลกับไท เป็นกลุ่มกะไดใต้อีกทางหนึ่งแทน ตำแหน่งของภาษาอังเบในข้อเสนอดังกล่าวไม่ได้ถูกพิจารณาไปด้ว.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและกลุ่มภาษากัม-ไท · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจาม

กลุ่มภาษาจาม (Chamic languages) เป็นกลุ่มของภาษาจำนวน 10 ภาษาซึ่งใช้พูดในกัมพูชา เวียดนามและเกาะไหหลำ อยู่ในกลุ่มภาษามาเลย์อิก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ภาษาจารายและภาษาจาม (ทั้งตะวันตกและตะวันออก) เป็นภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุด ภาษาทซัตเป็นภาษาที่มีผู้พูดน้อยที่สุด การแบ่งย่อยในกลุ่มนี้ได้แก.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและกลุ่มภาษาจาม · ดูเพิ่มเติม »

กวางป่า

กวางป่า หรือ กวางม้า หรือ กวางแซมบาร์ (Sambar deer; หรือ Cervus unicolor) เป็นกวางขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในประเทศศรีลังกา, อินเดีย, พม่า, ไทย, จีน, ไต้หวัน, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, สุมาตรา, บอร์เนียว และหมู่เกาะซีลี.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและกวางป่า · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพแห่งชาติพม่า

กองทัพแห่งชาติพม่า (Burma National Army; ภาษาพม่า: ဗမာ့အမျိုးသားတပ်မတော် ออกเสียง) เป็นกองทัพของรัฐบาลพม่าที่จัดตั้งโดยญี่ปุ่นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 และเข้าร่วมในการทัพพม่าซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการร่วมรบกับญี่ปุ่น แต่ในภายหลังได้แยกตัวออกมาร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรแทน.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและกองทัพแห่งชาติพม่า · ดูเพิ่มเติม »

กัมพูชาเชื้อสายจีน

วกัมพูชาเชื้อสายจีน (ចិនកម្ពុជា) คือชาวจีนที่เกิดในประเทศกัมพูชา หรือเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือ ชาวจีนโพ้นทะเล โดยอาจเป็นลูกผสมระหว่างชาวกัมพูชากับจีนที่อาศัยอยู่ภายในประเทศกัมพูชา ในช่วง ค.ศ. 1960-1970 มีชาวจีนอาศัยอยู่ในกัมพูชาประมาณ 425,000 คน แต่ภายหลังเหตุการณ์ของเขมรแดง ชาวกัมพูชาเชื้อสายจีนจำนวนมากต่างอพยพออกนอกประเทศ ทำให้ประชากรชาวจีนในช่วงปี ค.ศ. 1984 มีจำนวนชาวกัมพูชาเชื้อสายจีนเพียง 61,400 คน โดยชาวกัมพูชาเชื้อสายจีนส่วนใหญ่ถือสัญชาติกัมพู.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและกัมพูชาเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองพม่าของญี่ปุ่น

ทหารญี่ปุ่นในพม่า การยึดครองพม่าของญี่ปุ่น (Japanese occupation of Burma) เป็นช่วงเวลาระหว่าง..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและการยึดครองพม่าของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

การคุ้มกันผู้วิ่งคบเพลิงที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จะสิ้นสุดลงในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) เพื่อนำไปจุดในงานเปิดมหกรรมกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน แผนการของการวิ่งนั้นได้ถูกประกาศเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ.2550) ภายใต้สโลแกนว่า "Journey of Harmony" (和諧之旅) และคาดว่าจะใช้เวลาวิ่ง 130 วัน ผ่าน 21 ประเทศรวมประเทศจีน ระยะทาง 137,000 ก.ม. (85,100 ไมล์) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการวิ่งคบเพลิงที่ยาวที่สุดนับตั้งแต่การวิ่งคบเพลิงครั้งแรก เมื่อปี..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

การปกครองเวียดนามของจีนครั้งแรก

การปกครองของจีนครั้งแรก เป็นช่วงเวลาใน ประวัติศาสตร์เวียดนาม ในช่วงเวียดนามตกอยู่ภายใต้การปกครองของจีนจากทางตอนเหนือ ในช่วงเวลานี้เป็นช่วงเวลาที่เวียดนามตกอยู่ภายใต้การปกครองของจีนครั้งแรกจากทั้งหมดสี่ครั้ง ในช่วงสามครั้งของการอยู่ภายใต้จีนมักจะถูกเรียกในภาษาเวียดนามว่า Bắc thuộc บั๊ก เถือก ที่แปลว่า ("การปกครองโดยทางเหนือ") ในช่วง 111 ปีก่อนคริสตกาล ราชวงศ์ฮั่นของจีน ได้ผนวกรวม อาณาจักรหนานเยฺว่ ในระหว่างการขยายดินแดนทางตอนใต้ของราชวงศ์ฮั่น อาณาเขตที่ราชวงศ์ฮั่นยึดได้นั้นรวมพื้นที่บริเวณเวียดนามตอนเหนือเข้าด้วยกันและบริเวณ กวางตุ้ง และ กวางสี, ได้ถูกรวมเข้ากับจักรวรรดิชาวจีนฮั่น ในหลายครั้งชาวจีนฮั่นได้ปกครองชาวพื้นเมืองทางตอนใต้หรือชาวเวียดอย่างกดขี่ ทำให้เกิดการต่อต้านของชาวเวียดนามต่อการปกครองของฮั่นที่ต่อมาได้เกิดการก่อจลาจลต่อชาวฮั่นโดยมี พี่น้องจึง เป็นผู้นำ ทั้งสองพี่น้องจึง ได้ต่อสู้ขับไล่ชาวฮั่นผู้ปกครองไปได้สำเร็จ ในปี..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและการปกครองเวียดนามของจีนครั้งแรก · ดูเพิ่มเติม »

กิ้งก่าบินปีกจุด

กิ้งก่าบินปีกจุด หรือ กิ้งก่าบินปีกส้ม (Spotted flying dragon, Orange-winged flying lizard) เป็นกิ้งก่าบินชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Draco maculatus อยู่ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) เป็นกิ้งก่าบินขนาดเล็ก ใต้คางมีเหนียงคู่หนึ่งรูปร่างกลมมน ซึ่งกึ่งกลางเหนียงตรงนี้สามารถยกขึ้นลงได้ ในตัวผู้จะมีขนาดโตเห็นชัดเจน ข้างลำตัวระหว่างขาคู่หน้าและขู่หลัง มีแผ่นหนังขนาดใหญ่ที่ใช้ในการร่อน ลำตัวมีสีน้ำตาลแดง มีลายประสีเหมือนลายไม้ จึงสามารถพรางได้เป็นอย่างดีบนต้นไม้ แผ่นหนังด้านข้างนี้ออกสีส้ม มีลายพาดตามยาวสีจาง ใต้ท้องมีสีน้ำตาลอ่อนกว่า ใต้แผ่นหนังข้างลำตัวจะมีจุดสีดำ 2-3 จุด อันเป็นที่มาของชื่อเรียก มีความยาวจากหัวจรดโคนหาง 60-65 มิลลิเมตร ส่วนหางมีความยาวกว่าคือ 93-110 มิลลิเมตร พบแพร่กระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐอัสสัมของอินเดีย จนถึงเกาะไหหลำในจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงตอนเหนือของมาเลเซีย พบได้ในป่าหลากหลายประเภท รวมถึงบ้านเรือนของมนุษย์ที่ปลูกใกล้ชายป่าด้วย หากินในเวลากลางวันจนถึงพลบค่ำ โดยมากจะหากินและอยู่ตามลำพังตัวเดียว ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่โดยตัวเมียวางไข่ไว้ในหลุมดินที่ขุดไว้ ในที่ ๆ มีแสงแดดส่องถึง ครั้งละ 3-5 ฟอง วางไข่ในฤดูฝน จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและกิ้งก่าบินปีกจุด · ดูเพิ่มเติม »

กูรีตีบา

'''กูรีตีบา''' (''Curitiba''), รัฐปารานา บราซิล กูรีตีบา (Curitiba) เป็นเมืองหลวงของรัฐปารานา ประเทศบราซิลและเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในรัฐ มีประชากรมากที่สุดในบริเวณบราซิลตอนใต้ เป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐก.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและกูรีตีบา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากิมมุน

ษากิมมุน (Kim Mun) มีผู้พูดทั้งหมด 374,500 คน พบในจีน 200,000 คน (พ.ศ. 2538) ซึ่งรวมในเกาะไหหลำ 61,000 คน (พ.ศ. 2544) แล้ว พบในยูนนาน กวางสี และเกาะไหหลำ พบในลาว 4,500 คน (พ.ศ. 2538) ในแขวงหลวงน้ำทา แขวงห้วยไซ แขวงบ่อแก้ว พบในเวียดนาม 170,000 คน (พ.ศ. 2542) จัดอยู่ในตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน ภาษากลุ่มเมี่ยน สาขาเมี่ยน-ยิน เขียนด้วยอักษรโรมันในจีน ส่วนใหญ่จัดเป็นชนเผ่าเย้า ยกเว้นผู้พูดภาษานี้ในเกาะไหหลำ จัดเป็นชนเผ่าแม้ว.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและภาษากิมมุน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นใต้

ษาหมิ่นใต้, ภาษาหมิ่นหนาน เป็นสำเนียงของภาษาจีน ใช้พูดทางใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และบริเวณใกล้เคียง และโดยลูกหลานของผู้อพยพจากบริเวณนี้เข้าไปยังบริเวณอื่นๆทั่วโลก โดยทั่วไปภาษาหมิ่นใต้เป็นชื่อเรียกโดยชาวจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำเนียงหนึ่งในภาษานี้เรียกภาษาไต้หวัน อยู่ในกลุ่มภาษาหมิ่น ของภาษาจีน โดยปกติไม่สามารถเข้าใจกันได้กับภาษาหมิ่นตะวันออก ภาษาจีนกวางตุ้ง และภาษาจีนกลาง.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและภาษาหมิ่นใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจาม

ภาษาจามอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดราว 1 แสนคนในเวียดนามและ 220,000 คนในกัมพูชา (พ.ศ. 2535) มีผู้พูดกลุ่มเล็กๆในไทยและมาเลเซีย มีความใกล้เคียงกับภาษาในตระกูลเดียวกันที่ใช้พูดในอินโดนีเซีย มาเลเซีย มาดากัสการ์ และฟิลิปปินส์ มี 2 สำเนียงคือภาษาจามตะวันออกและภาษาจามตะวันตก จาม จาม.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและภาษาจาม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกวางตุ้ง

ษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า 粵 เยฺว่ Yuè หรือ ยฺหวืด Jyut6) เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ มณฑลกวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลกที่อพยพไปจากมณฑลกวางตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเท.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและภาษาจีนกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนหมิ่น

แผนที่แสดงสำเนียงหลักของภาษาจีนหมิ่น ภาษาหมิ่น เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน พูดทางตะวันออกเฉียงใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และผู้ที่อพยพไปมณฑลกวางตุ้ง หูหนาน และไต้หวัน แบ่งย่อยได้เป็น ภาษาหมิ่นเหนือ (Min Bei) ภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาจีนฮกเกี้ยน(Min nan) และสำเนียงอื่นๆ เป็นภาษาหลักของชาวจีน ในฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซี.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและภาษาจีนหมิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทซัต

ษาทซัต หรือภาษาอุตซัต ภาษาฮุยฮุย ภาษาฮุย หรือภาษาจามไหหนาน เป็นภาษาที่ใช้พูดบนเกาะไหหลำ ประเทศจีน โดยชาวอุตซุล อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียน สาขามาลาโย-โพลีเนเซีย ใกล้เคียงกับภาษาจาม ที่ใช้พูดในเวียดนามปัจจุบัน ภาษานี้เป็นภาษาเดียวในสาขามาลาโย-โพลีเนเซียที่มีเสียงวรรณยุกต์ ซึ่งน่าจะเป็นผลจากการติดต่อกับผู้พูดภาษาจีนและภาษาไหลหรือหลีในเกาะไหหลำ.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและภาษาทซัต · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์จีน

มิสแกรนด์จีน (Miss Grand China) เป็นตำแหน่งในการประกวดนางงามระดับประเทศของจีน เพื่อคัดเลือกตัวแทนเข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล เริ่มจัดประกวดเพื่อคัดเลือกผู้ดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและมิสแกรนด์จีน · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์เวิลด์ 2016

มิสเตอร์เวิลด์ 2016 (Mister World 2016) เป็นครั้งที่ 9 ของการประกวดมิสเตอร์เวิลด์ ซึ่งจัดขึ้นที่ลอรัลฮอลล์ของศูนย์การประชุมเซาท์พอร์ต ใน เซาท์พอร์ต เดวอน สหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและมิสเตอร์เวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลไหหลำ

มณฑลไหหลำ หรือ ไห่หนาน (ภาษาจีน: 海南, พินอิน: Hǎinán) คือมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนที่มีขนาดเล็กที่สุด ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศ ประกอบด้วยเกาะหลายเกาะ โดยที่เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะไหหลำ เมื่อชาวจีนพูดเกี่ยวกับ "ไห่หนาน" ในภาษาจีน มักจะหมายถึงเฉพาะเกาะไหหลำ เมื่อพูดถึงมณฑลไหหลำจะใช้คำว่า "ไห่หนานเฉิ่ง" เมืองหลวงคือ เมืองไหโข่ว.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและมณฑลไหหลำ · ดูเพิ่มเติม »

ม่าจ้อโป๋

ม่าจ้อโป๋ หรือ ม่าโจ้ว หรือ ไฮตังม่า (媽祖 มาจู่) เป็นเทพเจ้าสตรีของจีนที่ได้รับความเคารพในหมู่ของชาวฮกเกี้ยน ชาวแต้จิ๋ว และชาวจีนโพ้นทะเล ที่ประกอบอาชีพประมงและเดินเรือ ม่าจ้อโป๋ มักจะถูกเข้าใจผิดในหมู่ชาวไทยว่าคือ เจ้าแม่ทับทิม ซึ่งความจริงแล้วเจ้าแม่ทับทิมแท้ที่จริงแล้ว คือ จุ้ยบ้วยเนี้ย (水尾聖娘) เทพสตรีอีกองค์หนึ่งที่ถือว่าเป็นเทพแห่งท้องทะเลหรือการเดินเรือเช่นเดียวกัน โดยจุ้ยบ้วยเนี้ยนั้นจะเป็นที่นับถือของชาวไหหลำ ในขณะที่ม่าจ้อโป๋จะเป็นที่นับถือของชาวฮกเกี้ยน และชาวแต้จิ๋ว ซึ่งในอดีตยุคที่ยังมีการค้าขายกันระหว่างไทยกับจีนด้วยเรือสำเภา ชาวไหหลำจะเดินทางมาถึงประเทศไทยในช่วงต้นปี คือ ราวเดือนมกราคม เนื่องจากเกาะไหหลำนั้นมีทำเลที่ตั้งอยู่ใกล้ประเทศไทยกว่า และจะทำการสักการะบูชาจุ้ยบ้วยเนี้ย เมื่อชาวฮกเกี้ยนและแต้จิ๋วเดินทางมาถึงจะอยู่ในราวปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนมีนาคม เนื่องจากมณฑลกวางตุ้งและฮกเกี้ยนนั้นตั้งอยู่ในแผ่นดินใหญ่ซึ่งไกลกว่า และก็ทำการสักการะม่าจ้อโป๋ด้วยเช่นกัน จึงทำให้เกิดความสับสนระหว่างเทพสตรีทั้งสอง อีกทั้งเครื่องประดับยังใกล้เคียงกันอีกด้วย คือ เป็นเครื่องทรงสีแดง ทั้งนี้เกิดจากฝีมือช่างที่เกิดในประเทศไท.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและม่าจ้อโป๋ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดธง เสนานันท์

อดธง เสนานันท์ หรือ ยอดธง ศรีวราลักษณ์ (28 สิงหาคม พ.ศ. 2480 — 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) เป็นครูสอนวิชามวยไทยผู้อุทิศตนเพื่อส่งเสริมศิลปะการต่อสู้ประจำชาติ จนได้รับการยกย่องเชิดชูจากสังคม โดยทั่วไปมักเรียกชื่อครูยอดธงกันว่า "ครูตุ๊ย" หรือ "ครูตุ้ย" นอกจากนี้ท่านยังมีลูกศิษย์เป็นนักมวยที่มีชื่อเสียงหลายราย อาทิ สามารถ พยัคฆ์อรุณ, ก้องธรณี พยัคฆ์อรุณ รวมทั้ง ยอดสนั่น 3เคแบตเตอรี่ อีกทั้งยังเป็นผู้ก่อให้เกิดนักมวยไทยแชมป์โลกมาแล้ว 57 ราย นับเป็นผู้สร้างแชมป์มวยไทยระดับโลกเป็นจำนวนมากสุดเท่าที่เคยมีมาในประวัติศาสตร์มวยไทยเจ้าพระยา ท่าพระจันทร.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและยอดธง เสนานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

นี่คือ รายชื่อมณฑลของจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ข้อมูลเฉพาะจีนแผ่นดินใหญ่เรียงตามค่าจีดีพีต่อประชากร.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากร

แผนที่มณฑลของจีนเรียงตามจำนวนประชากร ประชากรประเทศจีนปี 2004.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่

มณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดเนื้อที่ หมวดหมู่: มณฑลของประเทศจีน.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร

แผนที่แสดงความหนาแน่นแต่ละพื้นที่ของจีน นี่คือ รายชื่อมณฑลของจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

รายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและรายการคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2553

ใน..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

ลิ่นจีน

ลิ่นจีน (อังกฤษ: Chinese pangolin; 中華穿山甲; ชื่อวิทยาศาสตร์: Manis pentadactyla) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง จำพวกลิ่น.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและลิ่นจีน · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์งูแสงอาทิตย์

วงศ์งูแสงอาทิตย์ (Sunbeam snakes) เป็นวงศ์ของงูไม่มีพิษวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Xenopeltidae มีทั้งหมดเพียง 2 ชนิด และสกุลเดียวเท่านั้น คือ Xenopeltis คือ งูแสงอาทิตย์ (X. unicolor) ที่พบได้กว้างไกลในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียอาคเนย์ และ งูแสงอาทิตย์ไหหลำ (X. hainanensis) ที่พบได้บนเกาะไหหลำ และมณฑลที่ใกล้เคียงกันเท่านั้นของจีน ลักษณะโดยรวมของงูในวงศ์นี้ คือ กระดูกแมคซิลลาเรียงตัวตามแนวยาวและมีฟัน ช่องเปิดของตาอยู่ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกฟรอนทัลกับกระดูกพาไรทัล ขากรรไกรล่างมีกระดูกโคโรนอยด์และกระดูกเดนทารี มีฟันจำนวนมาก ไม่มีกระดูกเชิงกราน มีปอดข้างซ้ายขนาดใหญ่ มีท่อนำไข่ทั้งสองข้างและเจริญเท่ากัน มีลำตัวกลมยาว มีขนาดยาวได้เต็มที่ถึง 1.3 เมตร แต่โดยเฉลี่ยคือ 80 เซนติเมตร หัวป้านและมีหางสั้น แผ่นเกล็ดบนหัวใหญ่ แต่เกล็ดปกคลุมลำตัวด้านหลังและด้านท้องเล็ก เกล็ดเรียบเป็นมันแวววาว พื้นผิวของเกล็ดเมื่อสะท้อนกับแสงแดดจะเกิดเป็นเหลือบสี อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ มีอุปนิสัยอาศัยอยู่ในโพรง แต่ส่วนมากจะใช้โพรงของสัตว์อื่น อาศัยได้ในพื้นที่ที่ความหลากหลายมาก ตั้งแต่ป่าสมบูรณ์จนถึงพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ หากินทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน มักอาศัยอยู่ในที่ ๆ มีน้ำ กินอาหารได้หลากหลายรวมถึงสัตว์มีกระดูกสันหลังทุกกลุ่ม แต่ในวัยอ่อนจะมีฟันที่ดัดแปลงมาเพื่อกินจิ้งเหลนโดยเฉพาะ แพร่ขยายพันธุ์โดยการวางไข่ และวางไข่ได้มากถึง 17 ฟอง.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและวงศ์งูแสงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมหาพรหม

กุลมหาพรหม หรือ Mitrephora เป็นสกุลของพืชในวงศ์ Annonaceae มีสมาชิกประมาณ 40 สปีชีส์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กและไม้พุ่ม พบในเขตร้อนของเอเชียและออสเตรเลียเหนือ แพร่กระจายจากจีนไปจนถึงเกาะไหหลำจนถึงรัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย พืชสกุลนี้พบมากในอินเดียและมีความหลากหลายในเกาะบอร์เนียวและฟิลิปปิน.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและสกุลมหาพรหม · ดูเพิ่มเติม »

สกุลหนอนตายหยาก

กุลหนอนตายหยาก หรือ Stemona เป็นสกุลของไม้เถาหรือไม้กึ่งพุ่มในวงศ์ Stemonaceae ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและสกุลหนอนตายหยาก · ดูเพิ่มเติม »

สมสะหวาด เล่งสะหวัด

มสะหวาด เล่งสะหวัด (เกิด 15 มิถุนายน พ.ศ. 2488) เป็นรองนายกรัฐมนตรีลาว เป็นชาวจีน ชื่อจีน: 凌绪光 (หลิงเสี่ยวกวง) ผู้มาจากหลวงพระบางซึ่งมีเชื้อสายไหหลำ เขาเป็นบุตรบุญธรรมของไกสอน พมวิหาน เขาดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในปี..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและสมสะหวาด เล่งสะหวัด · ดูเพิ่มเติม »

สมเพียร เอกสมญา

ลตำรวจเอก สมเพียร เอกสมญา (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 จาก คมชัดลึก สืบค้นวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2553 — 12 มีนาคม พ.ศ. 2553) เป็นอดีตผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรบันนังสตา จังหวัดยะลา รับราชการตำรวจตั้งแต่เป็น พลตำรวจ จนถึงยศ พันตำรวจเอก และได้รับพระราชทานยศพลตำรวจเอกเป็นกรณีพิเศษ ได้ฉายาว่า จ่าเพียร นักสู้แห่งเทือกเขาบูโด และ จ่าเพียร ขาเหล็ก จากการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นเวลากว่า 40 ปี กระทั่งเคยได้รับการโปรดเกล้าฯ เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เหรียญรามมาลาเข็มกล้ากลางสมร ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง และกระทำพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา ณ อุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อ..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและสมเพียร เอกสมญา · ดูเพิ่มเติม »

สางห่า

ในที่เลี้ยง สางห่า หรือ จิ้งเหลนน้อยหางยาว เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่จัดอยู่ในอันดับ Squamata เช่นเดียวกับงูและกิ้งก่า จัดอยู่ในวงศ์จิ้งเหลนน้อยหางยาว (Lacertidae).

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและสางห่า · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองจีน

งครามกลางเมืองจีน (ค.ศ. 1927-1950) เป็นสงครามกลางเมือง สู้รบกันระหว่างพรรคก๊กมินตั๋ง พรรคปกครองสาธารณรัฐจีน ฝ่ายหนึ่ง กับพรรคคอมมิวนิสต์จีนอีกฝ่ายหนึ่งGay, Kathlyn.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและสงครามกลางเมืองจีน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ ลิ้มทองกุล

นธิ ลิ้มทองกุล (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 —) เป็น ประธานที่ปรึกษาสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการกลางแจ้ง เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่ปรึกษาสำนักพิมพ์ซุปเปอร์บันเทิง อดีตผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ทางช่อง 9 อสมท. และอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ เดิมเขาเคยเป็นผู้สนับสนุนอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร อย่างแข็งขัน แต่ต่อมาเป็นผู้นำขบวนการต่อต้านทักษิณ ช่วงต้น..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและสนธิ ลิ้มทองกุล · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแพราเซล

thumb หมู่เกาะแพราเซล (Paracel Islands) หรือในภาษาจีนเรียกว่า หมู่เกาะซีซา (西沙群岛, Xisha Islands) หรือในภาษาเวียดนามเรียกว่า หมู่เกาะฮหว่างซา (Quần đảo Hoàng Sa) เป็นกลุ่มเกาะอยู่ในเขตมณฑลไห่หนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน และเป็นดินแดนพิพาทที่ถูกอ้างสิทธิโดยประเทศเวียดนามและไต้หวัน พื้นที่หมู่เกาะถูกครอบครองบางส่วนโดยจีนมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 ในสมัยราชวงศ์ถังและราชวงศ์ซ่ง และบางส่วนโดยเวียดนามมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 Tập San Sử Địa,, Geographical Digest, Vol 29., Saigon, 1974.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและหมู่เกาะแพราเซล · ดูเพิ่มเติม »

หลี

หลี (ภาษาจีน:黎;พินอิน:Lì) หรือ ไหล เป็นชื่อของกลุ่มชนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาศัยอยู่แถบเกาะไหหลำ ประเทศจีน ส่วนใหญ่จะถือสัญชาติจีน มีจำนวนประชากรประมาณ 1 ล้านคน และนับถือลัทธิภูติผีวิญญาณ มีภาษาใกล้เคียงกับภาษาไทย แต่เรียกว่าภาษาไหล ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไหล ตระกูลภาษาไท-กะได ชาวหลีปรากฏในประวัติศาสตร์จีนในสมัยราชวงศ์สุย รู้จักกันในชื่อ Liliao (ลิเหลียว).

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและหลี · ดูเพิ่มเติม »

หวัง เฟย์เฟย์

หวัง เฟย์เฟย์(real name:, Korean:왕페이페이) (เกิด 27 เมษายน 2530)เป็น นักร้อง นักแสดง นักเต้น ชาวจีน รู้จักในสถานะสมาชิกวง มิสเอThe Chosun Ilbo February 9,.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและหวัง เฟย์เฟย์ · ดูเพิ่มเติม »

อับดุลละฮ์ อะฮ์มัด บาดาวี

ตุน ดาโตะก์ ซรี ฮาจี อับดุลละฮ์ บิน ฮาจี อะฮ์มัด บาดาวี (Tun Dato' Sri Haji Abdullah bin Haji Ahmad Badawi; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 -) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีประเทศมาเลเซีย รับตำแหน่งต่อจากมาฮาดีร์ บิน โมฮามัด เมื่อ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 เป็นผู้นำพรรคอัมโนคนที่ 6 และกลุ่มพรรคแนวร่วมแห่งชาติ Barison Nasional (BN) และชนะการเลือกตั้งเมื่อ 21 มีนาคม พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและอับดุลละฮ์ อะฮ์มัด บาดาวี · ดูเพิ่มเติม »

อาหารสิงคโปร์

้าวมันไก่แบบสิงคโปร์เป็นอาหารสิงคโปรที่ได้รับความนิยมมากและเป็นหนึ่งในอาหารประจำชาติของสิงคโปร์ อาหารสิงคโปร์ เป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในสิงคโปร์ ซึ่งเดิมเป็นส่วนหนึ่งของมาเลเซีย และได้มีปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมมานานนับศตวรรษ อาหารได้รับอิทธิพลจากชาวพื้นเมืองมลายู ชาวจีน อินโดนีเซีย เปอรานากัน วัฒนธรรมตะวันตกซึ่งมาจากอังกฤษ และกลุ่มที่ได้รับอิทธิพลโปรตุเกสซึ่งเรียกชาวคริสตัง อิทธิพลจากพื้นที่อื่นๆ เช่น ศรีลังกา ไทย ฟิลิปปินส์ และตะวันออกกลาง พบในอาหารพื้นเมืองเช่นกัน ในสิงคโปร์ อาหารถือเป็นสิ่งสำคัญ ในการกำหนดเอกลักษณ์ของชาติและความเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งในสิงคโปร์ การพบปะและรับประทานอาหารระหว่างวัฒนธรรมเป็นเรื่องปกติ อาหารสิงคโปร์ได้รับการส่งเสริมเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว รัฐบาลสิงคโปร์ได้จัดเทศกาลอาหารสิงคโปร์ในเดือนกรกฎาคมเพื่อส่งเสริมอาหารสิงคโปร์ สิงคโปร์เป็นประเทศเล็กที่มีประชากรหนาแน่นมาก ที่ดินเป็นทรัพยากรสำคัญที่จำเป็นสำหรับอุตสาหกรรมและที่อยู่อาศัย ผลิตภัณฑ์และเครื่องปรุงส่วนใหญ่นำเข้ามา แม้ว่าจะมีกลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กที่ปลูกผัก ผลไม้ หรือสัตว์ปีกและปลา เนื่องจากสิงคโปร์ตั้งอยู่บนเส้นทางการค้าที่สำคัญ จึงสามารถพบผลิตภัณฑ์และเครื่องปรุงทั่วโลกได้ที่นี.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและอาหารสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวตังเกี๋ย

อ่าวตังเกี๋ย (Gulf of Tonkin; Vịnh Bắc Bộ; จีนตัวเต็ม: 東京灣) เป็นอ่าวขนาด 480 x 240 กิโลเมตร อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทะเลจีนใต้ ระหว่างประเทศเวียดนามกับประเทศจีน ทะเลในอ่าวมีความลึกน้อยกว่า 60 เมตร แม่น้ำสำคัญที่น้ำไหลลงสู่อ่าวตังเกี๋ย คือ แม่น้ำแดงในเวียดนาม ท่าเรือสำคัญอยู่ในเมืองไฮฟองของเวียดนาม และเป๋ย์ไห่ของจีน อ่าวตังเกี๋ยมีเกาะขนาดใหญ่ คือ เกาะไหหลำ (ไห่หนาน) ของจีน อ่าวตังเกี๋ยมีความสำคัญในประวัติศาสตร์ อุบัติการณ์อ่าวตังเกี๋ยเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) นำไปสู่การมีส่วนร่วมอย่างเปิดเผยของสหรัฐอเมริกาในสงครามเวียดนาม ตังเกี๋ย หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศเวียดนาม หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศจีน หมวดหมู่:อ่าวตังเกี๋ย.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและอ่าวตังเกี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดห่าติ๋ญ

ห่าติ๋ญ (Hà Tĩnh) เป็นจังหวัดทางชายฝั่งตอนกลางเหนือของประเทศเวียดนาม อยู่ติดกับจังหวัดเหงะอาน สองจังหวัดนี้เคยเป็นจังหวัดเดียวกันมาก่อนคือจังหวัด "เหงะติ๋ญ" ชาวจังหวัดนี้มีสำเนียงการพูดภาษาเวียดนามที่เป็นเอกลักษณ์ จังหวัดห่าติ๋ญอยู่ห่างจากฮานอยไปทางทิศใต้ประมาณ 340 กิโลเมตร (211 ไมล์) ติดกับจังหวัดเหงะอานทางทิศเหนือ ติดกับจังหวัดกว๋างบิ่ญทางทิศใต้ ติดกับประเทศลาวทางทิศตะวันตก และติดกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันออก.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและจังหวัดห่าติ๋ญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดทัญฮว้า

ทัญฮว้า (Thanh Hóa) เป็นจังหวัดในภูมิภาคชายฝั่งตอนกลางเหนือของประเทศเวียดนาม ขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ห้า และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่สามในบรรดาเขตการปกครองระดับบนสุดของเวียดนามทั้ง 63 แห่ง เมืองหลักและเมืองใหญ่ที่สุดของจังหวัดคือเมืองทัญฮว้า จังหวัดนี้มักถูกเรียกว่า ซื้อทัญ ซึ่งแปลว่า "ดินแดนทัญฮว้า" ในภาษาเวียดนาม จังหวัดทัญฮว้ามีพื้นที่ 11,133.4 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 3.5 ล้านคน มีนครประจำจังหวัด 2 นคร (คือทัญฮว้าและเสิ่มเซิน) เมืองระดับอำเภอ 1 เมือง (คือบี๋มเซิน) และอำเภอ 24 อำเภอ นครเสิ่มเซินมีชื่อเสียงในด้านที่พักตากอากาศทางทะเล อยู่ห่างจากเมืองทัญฮว้าไปประมาณ 16 กิโลเมตร ส่วนเมืองบี๋มเซินก็เป็นย่านอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยเฉพาะการผลิตซีเมนต.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและจังหวัดทัญฮว้า · ดูเพิ่มเติม »

จีนโพ้นทะเล

วจีนโพ้นทะเล (อังกฤษ: Overseas Chinese; จีน: 華僑 huáqiáo หัวเฉียว, 華胞 huábāo หัวเปา, 僑胞 qiáobāo เฉียวเปา, 華裔 huáyì หัวอี้) คือ กลุ่มคนเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่ภายนอกประเทศจีน คำว่าประเทศจีนในที่นี้ หมายความได้ถึง จีนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งดินแดนภายใต้การปกครองของรัฐบาล สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งได้แก่ ฮ่องกง มาเก๊า และ ไต้หวัน (สาธารณรัฐประชาชนจีน ถือว่า ไต้หวัน เป็นเพียงมณฑลหนึ่งของตน และปัจจุบัน สหประชาชาติ มิได้รับรองฐานะไต้หวันให้เป็นสาธารณรัฐจีนแต่อย่างใ.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและจีนโพ้นทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วผีทะเล

ั่วผีทะเล เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ถั่ว ลำต้นทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน หรือเกี่ยวพันกับต้นไม้อื่น ลำต้นเหนียว สีเขียวหรือเขียวอมขาว ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อย 3 ใบ สีเขียวเข้ม หลังใบสีอ่อนกว่าเล็กน้อย ดอกช่อ กลีบเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสเขียว กลีบดอกสีเหลือง ผลเดี่ยว เป็นฝัก เมื่ออ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาลแห้ง แตกตามตะเข็บของผล ภายในมีเมล็ดกลมรี สีน้ำตาลอ่อน พืชชนิดนี้เป็นพืชทนเค็มพบทั่วไปตามชายหาดของเขตร้อน เช่นที่ฮาวาย และเกาะอีกหลายเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก Puerto Rico และหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียน ชายฝั่งที่บราซิล ชายฝั่งทางมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดียวของแอฟริกา มาดากัสการ์ เซเชลส์ อินเดียและศรีลังกา คาบสมุทรอินโดจีน และเกาะไหหลำ มาเลเซีย, และชายฝั่งของออสเตรเลียในควีนส์แลนด์และนอร์ทเทิร์น เทอร์ริทอร์รี publication by the Beach Protection Authority of Queensland, Australia.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและถั่วผีทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา) (U-Tapao International Airport) หรือมักเรียกกันว่า สนามบินอู่ตะเภา เป็นสนามบินตั้งอยู่ในพื้นที่ ตำบลพลา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงเทพมหานคร อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 13 เมตร ห่างจากจังหวัดระยองประมาณ 30 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 190 กิโลเมตร ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ กองการบินทหารเรือ, กองเรือยุทธการ และ กองการสนามบินอู่ต.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา) · ดูเพิ่มเติม »

ข้าหลวงใบรูปหัวใจ

้าหลวงใบรูปหัวใจ พบครั้งแรกที่เกาะไหหลำ จากนั้นพบการกระจายพันธุ์ที่หมู่เกาะริวกิว ประเทศญี่ปุ่น เขาหินปูนริมทะเลในเวียดนาม ส่วนในไทยพบที่อำเภอหนองหิน จังหวัดเลย ใช้เป็นไม้กระถาง.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและข้าหลวงใบรูปหัวใจ · ดูเพิ่มเติม »

ดาร์วิน (เมือง)

มืองดาร์วิน (Darwin) เป็นเมืองหลวงของดินแดนนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี ประเทศออสเตรเลีย เมืองดาร์วินนั้นเป็นย่านธุรกิจใจกลางเมืองของธุรกิจต่างๆ ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 112 กม.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและดาร์วิน (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสาธารณรัฐจีน

alt.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

งูก้นขบ

งูก้นขบ (Red-tailed pipe snakeSpecies at The Reptile Database. Accessed 17 August 2007.) เป็นงูไม่มีพิษชนิดหนึ่ง ยาวได้ถึง 1 เมตรBurnie D, Wilson DE.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและงูก้นขบ · ดูเพิ่มเติม »

งูเหลือม (สกุล)

งูเหลือม หรือ งูหลาม (Pythons) เป็นสกุลของงูไม่มีพิษในวงศ์งูเหลือม (Pythonidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Python (/ไพ-ธอน/) มีทั้งหมด 10 ชนิด (ดูในตาราง) แพร่กระจายพันธุ์ทั้งแต่ทวีปแอฟริกา, เอเชีย และออสเตรเลีย ในแอฟริกาพบได้ตั้งแต่ใต้ทะเลทรายซาฮาราลงไป จนถึงแอฟริกาตอนใต้ และพบในเกาะมาดากัสการ์ ในเอเชีย พบได้ตั้งแต่อนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ทั้งที่เป็นแผ่นดินใหญ่และหมู่เกาะกลางทะเล และบางส่วนในเอเชียตะวันออก เช่น ภาคใต้ของจีน, ฮ่องกง และเกาะไหหลำ เป็นงูที่ใช้พละกำลังจากกล้ามเนื้อที่ลำตัวรัดเหยื่อจนกระดูกหักและขาดใจตาย ก่อนจะกลืนกินเข้าไปทั้งตัว ในบางครั้งที่เหยื่อมีขนาดใหญ่อาจใช้เวลาหลายชั่วโมง โดยเหยื่อที่กินส่วนมากจะเป็นสัตว์เลือดอุ่น ทั้งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหรือสัตว์ปีก แพร่ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ หาเหยื่อได้ทั้งบนดิน, ต้นไม้ และในน้ำ ซึ่งแตกต่างออกไปตามชนิด โดยคำว่า Python นั้น มาจากภาษากรีก คือคำว่า "πύθων/πύθωνας" มีที่มาจากเทพปกรณัมกรีก เมื่อมหาเทพซูสได้มีจิตปฏิพัทธ์ต่อ นางเลโต ทำให้ เทพีฮีรา มเหสีเอกเกิดความหึงหวงจึงกลั่นแกล้งด้วยการส่ง งูเหลือมที่เลี้ยงไว้ไปตามรังควาน นางจึงต้องอุ้มครรภ์หนีซอกซอนไปจนถึงเกาะดีลอส โปเซดอนมีความสงสารบันดาลให้เกาะผุดขึ้นในทะเล เพื่อให้นางได้ประสูติ เทพอพอลโล กับ เทพีอาร์เตมิส บนเกาะนั้น ทันทีที่ประสูติจากครรภ์มารดา เทพอพอลโล ก็จับงูเหลือมฆ่าทิ้งเสีย จึงได้รับการขนานนามว่า ไพธูส (Pytheus) ซึ่งแปลว่า “ผู้สังหารงูเหลือม”.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและงูเหลือม (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาไท-กะได

ตระกูลภาษาไท-กะได (Tai–Kadai languages) หรือรู้จักกันในนาม กะได (Kadai), ขร้าไท (Kradai) หรือ ขร้า-ไท (Kra–Dai) เป็นตระกูลภาษาของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตอนใต้ของประเทศจีน ในช่วงแรก ตระกูลภาษาไท-กะไดเคยถูกกำหนดให้เป็นอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่ปัจจุบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่ง และยังมีผู้เห็นว่าตระกูลภาษาไท-กะไดนี้มีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไท" หรือจัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก รอเจอร์ เบลนช์ (Roger Blench) ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทั้งสองตระกูลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็นพี่น้องกัน กลุ่มภาษากะไดอาจเป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่อพยพจากฟิลิปปินส์ไปสู่เกาะไหหลำ แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหม่โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาม้ง-เมี่ยนและภาษาจีน โลร็อง ซาการ์ (Laurent Sagart) ได้เสนอว่า ภาษาไท-กะไดดั้งเดิมได้เกิดขึ้นในยุคต้นของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่อาจจะอพยพกลับจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของไต้หวันไปยังชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หรือจากจีนไปไต้หวันและเกิดการพัฒนาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนบนเกาะนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนและไท-กะไดอาจจะอธิบายได้จากคำศัพท์ที่ใกล้เคียงกัน คำยืมในยุคก่อนประวัติศาสตร์และอื่น ๆ ที่ยังไม่รู้ นอกจากนั้นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนอาจจะมีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ซึ่งมีจุดเริ่มต้นในบริเวณชายฝั่งของจีนภาคเหนือและภาคตะวันออก ความหลากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทางตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แต่ครั้งโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผู้พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้ว เนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยู่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลภาษานี้.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและตระกูลภาษาไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

ซันชา

ตบริหารหมู่เกาะซีชา, หนานชา และจงชา (海南省西沙群岛、南沙群岛、中沙群岛办事处, Hainan Province Paracels, Spratlys, and Zhongsha Islands Authority) หรือนิยมเรียกสั้นๆในชื่อ เขตปกครองแพราเซล (西沙办) เขตปกครองย่อยของมณฑลไห่หนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นเขตการปกครองที่ใช้การอ้างสิทธิเหนือดินแดนพิพาททั้ง 3 หมู่เกาะในทะเลจีนใต้ ได้แก่ หมู่เกาะแพราเซล, หมู่เกาะสแปรตลี และหมู่เกาะจง.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและซันชา · ดูเพิ่มเติม »

ซานย่า

ซานย่า ซานย่า (三亚市) เป็นเมืองทางตอนใต้สุดของมณฑลไหหลำ เป็นเมืองท่องเที่ยวเนื่องจากอยู่ติดทะเล.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและซานย่า · ดูเพิ่มเติม »

ซู เฉิน

ซู เฉิน (薛晨; Xue Chen; 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989 —) เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลชายหาดหญิงชาวจีน ซึ่งมีส่วนสูงที่ 6 ฟุต 3 นิ้ว หรือสูง 191 ซม.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและซู เฉิน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ปลายาว

ปลายาว (Cá bông lau) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasiidae) มีลักษณะหัวเรียว ตาเล็ก ปากอยู่ด้านล่างของจะงอยปาก หนวดยาวถึงลูกตา รูปร่างเพรียวยาว ลำตัวค่อนข้างกลมและแบนข้างที่ด้านท้าย ตัวผู้มีปลายครีบหลังและครีบท้องยื่นเป็นเส้นสั้น ๆ ลำตัวมีสีเทาคล้ำอมฟ้า ข้างลำตัวสีจาง ครีบสีจาง ครีบหางมีสีเหลืองอ่อน ที่ขอบบนแฉกมีสีคล้ำจาง ๆ มีขนาดประมาณ 40 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 80 เซนติเมตร พบเฉพาะในแม่น้ำโขงตั้งแต่จังหวัดหนองคายถึงอุบลราชธานี เท่านั้น เป็นปลาที่ตายง่ายมากหลังการจับจึงได้อีกชื่อจากชาวประมงที่จังหวัดหนองคายว่า "ปลาซวยเสาะ" แต่ที่จังหวัดนครพนมเรียกว่า "ปลายาว" บริโภคโดยการปรุงสด เนื้อมีรสชาติดี ปลายาวที่มีขนาดเล็กจะพบเฉพาะบริเวณปากแม่น้ำโขง และชายฝั่งทะเลไปถึงเกาะไหหลำ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและปลายาว · ดูเพิ่มเติม »

ปลาทู (สกุล)

ปลาทู (Rastrelliger) เป็นสกุลปลาทะเลสกุลหนึ่งในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับปลาอินทรี, ปลาโอ และปลาทูน่า มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงบริเวณกลางน้ำถึงผิวน้ำ ตั้งแต่บริเวณชายฝั่งจนถึงระดับความลึก 200 เมตร ในน่านน้ำไทยพบทั้งหมด 3 ชนิด ปลาในสกุลนี้เป็นปลาที่ผูกพันกับวิถีชีวิตคนไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นอาหารทะเลหลักของคนไทยมาช้านาน.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและปลาทู (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ผู้จัดรายการ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" และคอลัมนิสต์ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2513 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ นายเจริญ และนางสุจิตรา พัวพงษ์พันธ์ บิดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนไหหลำ และมารดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนแต้จิ๋ว นามสกุล "พัวพงษ์พันธ์" ตั้งให้สอดคล้องกับแซ่ "พัว" ของตระกูลนั่นเอง นายปานเทพเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนอัสสัมชัญ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และระดับปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขา การเงินการจัดการ จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นสมาชิกเครือข่ายสันติอโศกโดยมีถูกวางบทบาทในด้านสุขภาพ การเมือง และอื่นๆ เมื่อกลับมาเมืองไทยได้เข้าทำงานกับองค์กรภาคเอกชน โดยเข้าไปเป็นผู้บริหารดูด้านการเงิน และการก่อสร้างอยู่ช่วงหนึ่ง ก่อนที่ประเทศไทยจะประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจ เมื่อปี พ.ศ. 2540 ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ เข้าสู่วงการเมือง โดยมีผู้แนะนำให้รู้จักกับ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ในปี พ.ศ. 2541 โดยเข้าไปช่วยงานในพรรคความหวังใหม่ ขณะที่มีอายุ 28 ปี กระทั่งได้เป็นกรรมการบริหารพรรค เคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น..บัญชีรายชื่อของพรรคความหวังใหม่ และมีตำแหน่งสุดท้ายเป็นรองโฆษกพรรคความหวังใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 ก่อนที่จะไปดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการองค์การฟอกหนัง ด้วยวัย 31 ปี ซึ่งถือว่าเป็นผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ ที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย เมื่อ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ได้ยุบพรรคความหวังใหม่ รวมกับพรรคไทยรักไทย นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ได้เป็นทีมที่ปรึกษาเศรษฐกิจในช่วง รัฐบาลทักษิณ 1 โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจภาคใต้ ก่อนที่จะถอนตัวในเวลาต่อมาด้วยความเห็นที่ไม่ตรงกัน และหลังจากนั้นยืนอยู่ฝั่งตรงข้ามกับรัฐบาลทักษิณมาโดยตลอด โดยชื่อของ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ โด่งดังอีกครั้ง เมื่อออกหนังสือชื่อ "บันทึกลับ ๒๕๔o" โดยมีเนื้อหาชี้แจงถึงปัญหาเศรษฐกิจในช่วงที่ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ที่ถูกโจมตีว่าเป็นผู้ก่อให้เกิดวิกฤต ปานเทพ พัวพงษ์พันธุ์ ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรัฐบาลมาโดยตลอด เช่น การเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์สยามรัฐชื่อ " วิสัยทัศน์เศรษฐกิจ " รวมทั้งถึงเคยจัดรายการโทรทัศน์ทาง UBC ช่อง 7 ร่วมกับดุสิต ศิริวรรณ ด้วยอยู่ช่วงหนึ่ง ในชื่อรายการ " โต๊ะข่าวเช้านี้ " ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2548 ปานเทพ ก็ได้เข้าไปทำงานในเครือผู้จัดการ ของสนธิ ลิ้มทองกุล และได้ทำรายการใน ASTV คือ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" ในช่วงเวลา 20:30น.-21:30น.ทุกวันจันทร์ ถึง ศุกร์ และเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์ผู้จัดการด้วย ซึ่งยังทำมาจนปัจจุบัน ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2549 ปานเทพ พัวพงษ์พันธุ์ ทำหน้าที่เป็นโฆษกบนเวที และในการขับไล่ รัฐบาลสมชาย วงศ์สวั..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

นกกระจอกบ้าน

นกกระจอกบ้าน (Eurasian Tree Sparrow) เป็นนกเกาะคอนในวงศ์นกกระจอก มีสีน้ำตาลเข้มที่กระหม่อนและหลังคอ แก้มสีขาวมีจุดดำบนแก้มแต่ละข้าง นกกระจอกทั้งสองเพศมีชุดขนคล้ายกัน นกวัยอ่อนมีสีขนจืดกว่านกที่โตเต็มที่ นกชนิดนี้มีการกระจายพันธุ์เกือบทั้งทวีปยูเรเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้) และมันถูกนำไปสู่ที่อื่นๆ รวมถึง สหรัฐอเมริกา ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Eurasian Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้ยูเรเชีย) หรือ German Sparrow (นกกระจอกเยอรมัน) ต่างไปจากนกพื้นเมือง นกกระจอกต้นไม้อเมริกา (American Tree Sparrow) แม้ว่าจะมีหลายชนิดย่อยที่ได้รับการยอมรับ แต่ลักษณะที่ปรากฏของนกแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยตลอดแนวการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง นกกระจอกบ้านทำรังไม่เป็นระเบียบในโพรงธรรมชาติ รูในอาคาร หรือรังขนาดใหญ่ของนกสาลิกาปากดำหรือนกกระสาขาว นกจะวางไข่คราวหนึ่งห้าถึงหกฟอง ไข่จะฟักเป็นตัวภายในสองอาทิตย์ นกกินเมล็ดพืชเป็นอาหารหลัก แต่บางครั้งจะกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร โดยเฉพาะช่วงฤดูผสมพันธุ์ นกกระจอกบ้านเหมือนกับนกขนาดเล็กทั่วไปซึ่งอาจเสียชีวิตจากการติดเชื้อจากปรสิต โรคภัยไข้เจ็บ และถูกล่าโดยนกล่าเหยื่อ ทำให้โดยทั่วไปมีช่วงชีวิตประมาณสองปี.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและนกกระจอกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

นกกาเหว่า

นกกาเหว่า หรือ นกดุเหว่า (Asian koel) เป็นนกชนิดหนึ่งในวงศ์นกคัคคู (Cuculidae) พบในเอเชียใต้ จีน เอเชียอาคเนย์รวมทั้งประเทศไทย เป็นญาติใกล้ชิดกับ E. melanorhynchus (black-billed koel) และกับ E. orientalis (Pacific koel) โดยทั้งสองบางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ย่อยของ E. scolopaceus เป็นญาติใกล้ชิดกับ E. melanorhynchus (black-billed koel) และกับ E. orientalis (Pacific koel) โดยทั้งสองบางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ย่อยของ E. scolopaceus เป็นนกปรสิตที่วางไข่ให้กาและนกอื่น ๆ เลี้ยง เป็นนกจำพวกคัคคูที่ไม่เหมือนพันธุ์อื่น ๆ เพราะโดยมากกินผลไม้ (frugivore) เมื่อเติบใหญ่ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 ชื่อว่า "กาเหว่า" และชื่ออื่น ๆ อีกหลายภาษารวมทั้งชื่ออังกฤษว่า "koel" เป็นชื่อเลียนเสียงนก เป็นนกที่ใช้เป็นสัญลักษณ์อย่างมากมายในวรรณกรรมอินเดี.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและนกกาเหว่า · ดูเพิ่มเติม »

นกสาลิกาดง

นกสาลิกาดง (Blue magpie) เป็นสกุลของนกเกาะคอนสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Urocissa ในวงศ์นกกา (Corvidae) เป็นนกที่มีสีสันสวยงาม โดยมากจะเป็นสีฟ้าหรือสีน้ำเงิน และขนหางยาวมาก พบกระจายพันธุ์เฉพาะในป่าของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจะงอยปากที่หนาและแข็งแรง มีลักษณะใกล้เคียงกับนกในสกุล Cissa พบทั้งหมด 5 ชนิด โดยในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว คือ.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและนกสาลิกาดง · ดูเพิ่มเติม »

นกคุ่มสี

นกคุ่มสี หรือ ไก่นา (King quail, Blue-breasted quail, Asian blue quail) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) ตัวผู้มีสีสันเด่นกว่านกคุ่ม (Corturnix spp.) ชนิดอื่นมาก โดยบริเวณหน้าผาก, คิ้ว และด้านข้างของคอเป็นสีน้ำเงินแกมเทา บริเวณใต้ตามีแถบสีขาว 2 แถบ คอหอยสีดำและด้านล่างมีแถบใหญ่สีขาว อกและสีข้างเป็นสีน้ำเงินแกมเทา ลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำตาลเข้มมีลายจุดและลายขีดสีดำกระจายอยู่ ลำตัวด้านล่างส่วนที่เหลือเป็นสีน้ำตาลแดง ตัวเมียมีลำตัวด้านบนคล้ายกับตัวผู้ คอหอยสีเนื้อ ลำตัวด้านล่างสีเนื้อแกมม่วง อกและสีข้างมีลายแถบสีออกดำ นิ้วสีเหลืองเข้ม พบกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย, หมู่เกาะนิโคบาร์, ตอนใต้ของจีน, เกาะไต้หวัน, เกาะไหหลำ, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, หมู่เกาะซุนดาใหญ่, ฟิลิปปินส์ จนถึงทวีปออสเตรเลีย มีพฤติกรรมอาศัยอยู่ในป่าหญ้า, ป่าละเมาะ และทุ่งโล่ง พบอยู่เป็นคู่หรือฝูงเล็ก ๆ หากินในเวลากลางวัน โดยหากินตามพื้นดิน ได้แก่ เมล็ดพืช และแมลงต่าง ๆ เช่น ปลวก เมื่อพบศัตรูซ่อนตามกอหญ้า ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูร้อนต่อฤดูฝน ระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน ทำรังด้วยการขุดดินให้เป็นแอ่งเล็ก ๆ บริเวณที่เป็นซุ้มกอหญ้าหรือกอพืช อาจนำใบไม้หรือใบหญ้ามาวางในแอ่งเพื่อรองรับไข่ ออกไข่ครั้งละประมาณ 5-7 ฟอง นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ในประเทศไทยมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและนกคุ่มสี · ดูเพิ่มเติม »

แมวดาว

แมวดาว (Leopard cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเท่า ๆ กับแมวบ้าน แต่มีความคล่องแคล่วว่องไวกว่ามาก ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลอมเทา ลักษณะเด่นคือ ตามลำตัวมีจุดขนาดเล็กสีดำกระจายอยู่ทั่วไป ด้านข้างของหัวมีแถบสีน้ำตาลเข้ม 4—5 แถบ ขนบริเวณท้องมีสีขาวนวล แมวดาวตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย แมวดาวมีความยาวลำตัวและหัว 44.5—55 เซนติเมตร ความยาวหาง 23—29 เซนติเมตร น้ำหนัก 3—5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, รัสเซีย, อินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, สิงคโปร์ แมวดาว สามารถปรับตัวให้อยู่ในพื้นที่หลากหลายสภาพได้ บางครั้งอาจพบในป่าที่ใกล้กับพื้นที่ชุมชน ล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน พักผ่อนในเวลากลางวัน สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และยังสามารถว่ายน้ำได้อีกด้วย ปกติอาศัยและหากินตามลำพัง ยกเว้นในช่วงผสมพันธุ์ ที่อาจพบเห็นอยู่ด้วยกัน 2 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 65—72 วัน ออกลูกครั้งละ 2—4 ตัว จากการศึกษาในสถานที่เลี้ยงมีอายุยืนประมาณ 13 ปี นอกจากนี้แล้ว แมวดาวที่ผสมข้ามสายพันธุ์กับแมวบ้าน จะได้ลูกเป็นแมวพันทางสายพันธุ์ที่เรียกว่า แมวเบงกอล.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและแมวดาว · ดูเพิ่มเติม »

แหลมเทียนหยาไหเจี่ยว

ทียนหยาไหเจี่ยว (จีน: 天涯海角 หน้าผาสวรรค์จรดแหลมทะเล) คือแหล่งท่องเที่ยวอยู่ในมณฑลไหหลำทางภาคใต้ของประเทศจีน ห่างจากเมือง ซานย่า ไปทางตะวันตก 24 ก.ม.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและแหลมเทียนหยาไหเจี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

แคะ

แคะ หรือ ฮากกา (客家 คำว่า แคะ ในภาษาไทยถูกเรียกตามภาษาแต้จิ๋วว่า แขะแก ในภาษาจีนกลางเรียกว่า เค่อเจีย มีความหมายว่า ครอบครัวผู้มาเยือน ส่วนในภาษาจีนแคะเอง เรียกว่า ขักก๊า หรือ ฮากกา) คือ ชนกลุ่มจีนฮั่นกลุ่มหนึ่ง ซึ่งกล่าวกันว่ามีบรรพบุรุษที่มีต้นกำเนิดบริเวณมณฑลเหอหนานและซานซี ทางตอนเหนือของจีนเมื่อราว 2,700 ปีที่แล้ว บรรพบุรุษของชาวจีนแคะอพยพลงใต้ เนื่องจากความไม่สงบทางสังคม การลุกฮือ และการรุกรานจากผู้ยึดครองต่างชาติตั้งแต่ยุคราชวงศ์จิ้น (ค.ศ. 265-420) กระแสการอพยพครั้งต่อ ๆ มาเกิดขึ้นเมื่อยุคสิ้นราชวงศ์ถัง เมื่อประเทศจีนแตกออกเป็นส่วน ๆ และช่วงราชวงศ์ซ่ง ซึ่งเป็นช่วงที่ประชากรทางภาคเหนือลดลง.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและแคะ · ดูเพิ่มเติม »

แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไท

แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไท ประกอบด้วยแนวคิดทั้งหลายซึ่งอธิบายถึงถิ่นกำเนิดของชนชาติไทที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน โดยมีอยู่หลากหลายแนวคิด เช่น.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและแนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไท · ดูเพิ่มเติม »

ไห่หนานแอร์ไลน์

ห่หนานแอร์ไลน์ (พินอิน: Hǎinán Hángkōng Gōngsī) เป็นสายการบินสัญชาติจีน มีสำนักงานใหญ่ที่เมืองไหโขว่ มณฑลไหหลำ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นสายการบินเอกชนที่ใหญ่ที่สุด และเป็นสายการบินที่มีขนาดฝูงบินใหญ่เป็นอันดับที่สี่ของจีน ให้บริการเที่ยวบินในเส้นทางทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ รวมทั้งเที่ยวบินเช่าเหมาลำ ไห่หนานแอร์ไลน์มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติไหโข่วเม่ยหลัน และฐานบินอื่นๆ เช่น ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง ท่าอากาศยานนานาชาติซีอานเสียนหยาง ท่าอากาศยานไท่หยวนอู่ซู่ และท่าอากาศยานอูหลู่มู่ฉีตี้โวปู้ ไห่หนานแอร์ไลน์เป็นหนึ่งในเจ็ดสายการบินที่ถูกจัดอันดับจากสกายแทร็คให้อยู่ในระดับ 5 ดาว เมื่อวันที่ 11 มกราคม..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและไห่หนานแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายจีน

วไทยเชื้อสายจีน คือ ชาวจีนที่เกิดในประเทศไทยและเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล คนไทยเชื้อสายจีน มีประมาณ 9.4 ล้านคนในประเทศไทย หรือร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจำนวนมากไม่สามารถนับได้ เพราะที่กลมกลืนกับคนไทยไปแล้วโดยการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากบรรพบุรษจะมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว ในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน พูดภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นภาษากลุ่มหมิ่นหนาน รองลงมาคือมาจาก แคะ ฮกเกี้ยน และไหหลำ.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและไทยเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

เก้งธรรมดา

ก้งธรรมดา หรือ อีเก้ง หรือ ฟาน หรือที่นิยมเรียกกันว่า เก้ง (Indian muntjac, Common barking deer, Red muntjac) เป็นเก้งชนิดหนึ่ง นับเป็นเก้งชนิดที่รู้จักและมีถิ่นกระจายพันธุ์กว้างขวางที่สุด มีส่วนหลังโก่งเล็กน้อย ลำตัวสีน้ำตาลแดง ด้านใต้ซีดและอมเทาเล็กน้อย หางด้านบนสีน้ำตาลเข้ม ด้านล่างสีขาว เก้งตัวผู้มีเขาสั้น ฐานเขาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกะโหลกยื่นยาวขึ้นไปเป็นแท่ง มีขนปกคลุม และมีขนสีดำขึ้นตามแนวเขาจนดูเป็นรูปตัววีเมื่อมองด้านหน้าตรง ส่วนปลายเขาสั้น แต่เป็นง่ามเล็ก ๆ แค่สองง่าม ไม่แตกเป็นกิ่งก้านแบบกวาง ผลัดเขาปีละครั้ง ส่วนตัวเมียไม่มีเขาและฐานเขา แต่บนหน้าก็มีขนรูปตัววีเหมือนกัน เก้งตัวที่อายุมากผู้มีเขี้ยวยาวแหลมโค้งโผล่พ้นขากรรไกรออกมา เวลาเดินจะยกขาสูงทุกย่างก้าว หากินได้ทั้งกลางวันและกลางคืน แต่ส่วนใหญ่จะพบตอนเย็นหรือหัวค่ำ และตอนเช้ามืดจนถึงช่วงสาย อดน้ำไม่เก่ง จึงมักอยู่ไม่ไกลจากแหล่งน้ำ อาหารหลักได้แก่ยอดไม้, หน่ออ่อน, ใบไม้, ผลไม้ และรวมถึงเปลือกไม้ด้วย ไม่ค่อยกินหญ้า พบแพร่กระจายพันธุ์ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ ศรีลังกา, อินเดีย, จีนตอนใต้, พม่า, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะไหหลำ และหมู่เกาะซุนดา มีฤดูผสมพันธุ์อยู่ในช่วงฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม ตกลูกต้นฤดูฝนพอดี ปกติตกลูกครั้งละหนึ่งตัว ตั้งท้องนานราว 6 เดือน ออกลูกตามใต้พุ่มไม้ ลูกเก้งมีจุดสีขาวตามตัว เมื่ออายุได้ราว 6 เดือน จุดสีขาวนั้นจึงค่อยจางหายไป เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ได้เมื่ออายุได้ 18 เดือน อายุขัยประมาณ 15 ปี ในประเทศไทย ถือเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเก้งธรรมดา · ดูเพิ่มเติม »

เย่ว์

ว์ สามารถหมายถึง Việt หมายถึง เวียด * มณฑลกวางตุ้ง - มณฑลในประเทศจีน เดิมคือ NAMYUE หรือ นามเวี.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเย่ว์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ

้นขนานที่ 20 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 20 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ แคริบเบียน และมหาสมุทรแอตแลนติก เส้นขนานเป็นตัวกำหนดเขตแดนระหว่างประเทศลิเบียและประเทศซูดาน และซูดานใช้กำหนดเขตแดนระหว่างรัฐเหนือและรัฐดาร์ฟูร์เหนือ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 13 ชั่วโมง 21 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 55 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 71 องศาตะวันตก  .

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเส้นเมริเดียนที่ 109 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 69 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเส้นเมริเดียนที่ 111 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวรุ้ง

หยี่ยวรุ้ง หรือ อีรุ้ง (Crested serpent-eagle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Spilornis cheela) เป็นนกล่าเหยื่อขนาดกลางจำพวกเหยี่ยวที่พบได้ในป่าในทวีปเอเชียเขตร้อน มีการกระจายพันธุ์กว้าง ด้วยความที่นกในสกุลนี้กินอาหารหลัก คือ งู จึงได้ชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า "Serpent-eagle" (เหยี่ยวงู หรือ อินทรีงู).

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเหยี่ยวรุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวดำ

หยี่ยวดำ (Black kite, Pariah kite) เป็นเหยี่ยวชนิดหนึ่ง จัดเป็นนกขนาดกลาง ขนาดลำตัวประมาณ 60-66 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกันคือ ลำตัวสีน้ำตาลเข้มอมเหลืองทั้งด้านบนและด้านล่าง ปีกสีน้ำตาลเข้ม หางเป็นแฉกตื้น ๆ มองดูคล้ายง่าม ปากสั้นสีดำแหลมคม ปลายปากเป็นขอ หัวค่อนข้างใหญ่ คอสั้น ปีกยาว ส่วนนกที่ยังไม่โตเต็มที่ ลำตัวจะเป็นสีน้ำตาลอ่อน พร้อมกับมีขีดสีเหลืองอ่อนทั่วทั้งตัว พบกระจายพันธุ์อยู่กว้างขวางในหลายพื้นที่ ตั้งแต่ยูเรเชีย, ออสตราเลเชีย และโอเชียเนีย จึงทำให้มีชนิดย่อยหลากหลายถึง 5 ชนิด (ดูในตาราง) และเป็นนกอพยพในหลายพื้นที่ในช่วงฤดูหนาว ในประเทศไทยพบได้ในป่าทางภาคเหนือ, ภาคกลางและภาคใต้ มีพฤติกรรมหากินในเวลากลางวัน ชอบบินอยู่ตามที่โล่งชายป่า ตามริมฝั่งทะเล หรือตามแม่น้ำลำคลองต่าง ๆ เพื่อหาอาหาร เมื่อจับเหยื่อได้ก็มักกินบนพื้นดิน หรืออาจนำไปกินบนต้นไม้ พบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่หรือเป็นฝูง เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ เหยี่ยวดำจะทำรังรวมกันเป็นกลุ่มบนต้นไม้สูง ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันสร้างรังด้วยกิ่งไม้เล็ก ๆ นำมาขัดสานกัน จากนั้นทั้งคู่จะช่วยกันกกไข่และเลี้ยงลูกอ่อน นกจะใช้เวลากกไข่นานประมาณ 29-32 วัน ออกไข่ครั้งละ 2-4 ฟอง ปกติ 3 ฟอง ไข่ของเหยี่ยวดำ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 ในการสำรวจในปี..

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเหยี่ยวดำ · ดูเพิ่มเติม »

เทวา ต.สุรัตน์

ทวา ต.สุรัตน์ มีชื่อจริงคือ อภินันท์ เรืองรอน เกิดเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2533 ที่จังหวัดระยอง เป็นทั้งนักมวยไทยและนักมวยสากลอาชีพชาวไทยสไตล์จังหวะฝีมือ เขาเคยครองแชมป์มวยไทยรุ่นมินิฟลายเวทสนามมวยราชดำเนิน และแชมป์เอส-วัน รุ่นเฟเธอร์เวท ในภายหลัง เขาได้เป็นผู้ฝึกสอนมวยไทยให้แก่ปืนกล ต.สุรัตน.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเทวา ต.สุรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศจีน

ตการปกครองของจีน เขตการปกครองของจีน มีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ ได้แก่ มณฑล อำเภอ และ ตำบล แต่ในปัจจุบันได้เพิ่มมาอีก 2 ระดับ คือ จังหวัด และ หมู่บ้าน ซึ่งถ้านำมาเรียงใหม่จะได้เป็น มณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และ หมู่บ้าน.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเขตการปกครองของประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียว อยู่วิทยา

ฉลียว อยู่วิทยา (17 สิงหาคม พ.ศ. 2466 ไทยรัฐ. ปีที่ 63 ฉบับที่ 19781. วันจันทร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2555. หน้า 16 — 17 มีนาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักธุรกิจชาวไทย มีชื่อเพราะเป็นเจ้าของบริษัทเครื่องดื่มชูกำลัง กระทิงแดง มีบุตร 11 คน และในปี พ.ศ. 2554 ได้รับการจัดอันดับโดยนิตยสารฟอร์บส์ให้เป็นเศรษฐีอันดับ 205 ของโลก และอันดับ3ของไทย มีสินทรัพย์ประมาณ 5,000 ล้านดอลลาร์ โดยรวมมูลค่าของหุ้นส่วน อุตสาหกรรมยา (T.C. Pharmaceuticals) และหุ้นส่วนโรงพยาบาล.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเฉลียว อยู่วิทยา · ดูเพิ่มเติม »

เฉิน

ฉิน (陳) เป็นตระกูลหนึ่งของชาวจีนอพยพที่ใช้มากที่สุดในประเทศไทย และ ใช้เป็นอันดับที่ 3 ของจีน และ ไต้หวัน และเป็นหนึ่งในห้าตระกูลของผู้ใช้มากที่สุดในโลก จะต่างกันแค่ตามกลุ่มสำเนียงภาษาที่อพยพมา พบในประเทศไทย คือ ตัน,ตั๊น (ฮกเกี้ยน) ตั้ง (แต้จิ๋ว) ฉั่น (กวางตุ้ง) ด่าน (ไหหลำ).

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

Eremochloa

Eremochloa คือพืชสกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และออสเตรเลี.

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและEremochloa · ดูเพิ่มเติม »

Rucervus

Rucervus (/รู-เซอ-วัส/) เป็นสกุลของกวางที่กระจายพันธุ์ในอินเดีย, เนปาล, อินโดจีน และเกาะไหหลำ ของจีน ส่วนใหญ่สูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยจากการทำลายป่า รวมทั้งถูกล่า และมีบางชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้ว กวางในสกุลนี้เคยถูกรวมเป็นสกุลเดียวกันกับสกุล Cervus แต่ถูกจัดให้เป็นสกุลต่างหาก ตามหลักของความแตกต่างทางสัณฐานวิทยา ตามหลักฐานทางพันธุกรรมแล้ว ละองละมั่งควรจะใช้สกุล Cervus ขณะที่ทั้ง 2 ชนิดที่เหลือยังใช้ที่สกุล Rucervus อยู่ หรืออย่างน้อยก็ย้ายไปในสกุล AxisPitraa, Fickela, Meijaard, Groves (2004).

ใหม่!!: มณฑลไหหลำและRucervus · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Hainanมณฑลไหหลํามณฑลไหหนานมณฑลไห่หนานไหหลำไหหนานไห่หนานเกาะไหหลำเกาะไหหนันเกาะไหหนานเกาะไห่หนาน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »