โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มณฑลเหอหนาน

ดัชนี มณฑลเหอหนาน

หอหนาน ตามสำเนียงกลาง หรือ ห้อหลำ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือชื่อย่อ อวี้ และชื่อเดิม จงโจว หรือ จงหยวน เป็นมณฑลในสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตอนกลางเยื้องทางตะวันออกของประเทศ อยู่ทางตอนกลางส่วนล่างของ แม่น้ำเหลือง (หวงเหอ) ซึ่งไหลผ่านเป็นระยะทาง 700 กว่ากิโลเมตร ถือเป็นแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของจีน มีเมืองเอกชื่อ เจิ้งโจว (郑州) มีเนื้อที่ 167,000 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 97,170,000 คน ความหนาแน่น 582 ต่อตารางกิโลเมตร จีดีพี 881.5 พันล้านเหรินหมินปี้ จีดีพีต่อประชากร 9070 เหรินหมินปี้ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น มณฑลเหอหนานมีประชากรมากที่สุดในประเทศจีน ภูมิประเทศ ทิศตะวันตกเป็นเทือกเขาทอดตัวยาวสลับซับซ้อน อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลมากกว่า 1,000 เมตร ทางตะวันออกเป็นพื้นที่ราบ สูงกว่าระดับน้ำทะเลราว 100 เมตร จุดที่สูงที่สุดของมณฑลอยู่ที่ยอดเหล่ายาช่า ในเมืองหลิงเป่า ซึ่งสูงกว่าระดับน้ำทะเลถึง 2413.8 เมตร ภูมิอากาศมีสภาพภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อนกึ่งอบอุ่น มีฤดู 4 ฤดูอย่างชัดเจน อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปี 13-15 องศาเซลเซียส เศรษฐกิจปี 2547 เหอหนันมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเท่ากับ 881,509 ล้านหยวน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 13.7 % อุตสาหกรรมเหอหนันถือเป็นฐานผลิตพลังงานที่สำคัญ มีธุรกิจถ่านหิน 65 ราย สามารถผลิตถ่านหินได้ปีละประมาณ 100 ล้านตัน เป็นที่ 2 ของจีน.

150 ความสัมพันธ์: บัวขาว บัญชาเมฆชาวจีนแต้จิ๋วชิงช้าสวรรค์ชุย เจี้ยนจฺวินบูเช็กเทียนพระถังซัมจั๋งพระโพธิธรรมพวงร้อยกบฏไท่ผิงเทียนกั๋วการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008การทัพปราบตั๋งโต๊ะกิมสวนกุยฮิวจี๋กุยแกภาษาจีนหมิ่นมอกายมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015มิสแกรนด์จีนมณฑลชานตงมณฑลชานซีมณฑลส่านซีมณฑลหูเป่ย์มณฑลอานฮุยมณฑลเหอเป่ย์ม่อจื๊อยุทธการมู่เหย่ยุทธการที่กัวต๋อยุทธการที่ลิหยงยุทธการที่ทุ่งพกบ๋องยุทธการที่เอ๊งหยงยุทธการฉางชา (1939)ยฺเหวียน ชื่อไข่รัฐหานราชวงศ์ซ่งราชวงศ์เซี่ยรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ม)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ย)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ส)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (อ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ถ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ท)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ค)...รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ต)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฉ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ซ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ป)รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากรรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากรรายชื่อหอดูดาวรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศจีนรายชื่อเขตการปกครองลั่วหยางลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)วัดม้าขาววัดเส้าหลินวูยิซิเล โคลอสซาสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)สิบขันทีสิงอี้เฉวียนสื่อ เขอฝ่าสุมาหูสุมาอี้สุสานโจโฉสู เหยี่ยนสฺวี เจียยฺหวีสฺวี่ชางสถานที่พักร้อนและหมู่วัดในเฉิงเต๋อสงครามโลกครั้งที่สองหลินชงหลี่ เสฺว่ยิงหวังอันฉือหอคอยเจิ้งหยวนหนิง เจ๋อเทาอักษรหนี่ว์ซูอักษรจีนอินซฺวีอุบัติการณ์สุสานโกเบงเหลงอุทกภัยแม่น้ำหวง พ.ศ. 2481อู๋ อฺวี่เซียงอ้องอุ้นฌ้อปาอ๋องจอมยุทธ์พเนจรจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงจักรพรรดิซ่งไท่จงจักรพรรดินีจางหฺวายจักรพรรดินีซ่ง (ราชวงศ์ซ่ง)จักรพรรดินีเหวย์จัง เหิงจาง เฟิงอี้จาง เหมิง (นักแสดง)จู ถิง (นักวอลเลย์บอล)จูกัดเหลียงจงฮิวถ้ำหลงเหมินทางหลวงเอเชียสาย 34ท่าอากาศยานนานาชาติเจิ้งโจวซินเจิ้งขับเจ้งขันทีขงมอขงหยงงอฮูหยินงักฮุยตันก๋งตันฮกตั้งอึ๊งตี๋ ชิงตี๋ เหรินเจี๋ยซูสีไทเฮาซ่งเจียงประวัติศาสตร์จีนประเทศจีนปักกิ่งแบล็กเดทแม่น้ำหวงแผ่นดินไหวในมณฑลส่านซี พ.ศ. 2099แคะโบราณสถานแห่งเติงเฟิงโว่หลงกังโฮอั๋นโฮจิ๋นโจโฉไชนีสซูเปอร์ลีกไคเฟิงเพ็กฮวยเกี่ยมเมืองรูหนานเย่ (เหอเป่ย)เศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่นเส้นขนานที่ 35 องศาเหนือเส้นขนานที่ 36 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออกเหตุการณ์จิ้งคังเจิ้งโจวเขาเฉียวเขตการปกครองของประเทศจีนเซว เหว่ยเปาบุ้นจิ้นEremochloa ขยายดัชนี (100 มากกว่า) »

บัวขาว บัญชาเมฆ

ท สมบัติ บัญชาเมฆ หรือ บัวขาว บัญชาเมฆ เกิดวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 เป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในวงการการต่อสู้ระดับสากล โดยเฉพาะในทวีปยุโรปและประเทศญี่ปุ่น เคยเป็นนักมวยไทยสังกัดค่ายมวย ป.ประมุข ส่วนสูง 174 เซนติเมตร น้ำหนัก 70 กิโลกรัม บัวขาวจัดเป็นหนึ่งในนักกีฬาอาชีพไทยที่ทำรายได้สูง โดยส่วนใหญ่มาจากการชกมวยที่ต่างประเทศ นอกจากนี้แล้ว ยังมีผลงานการแสดงในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ซามูไร อโยธยา และใน..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและบัวขาว บัญชาเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีนแต้จิ๋ว

วเฉาโจว (รู้จักกันทั่วไปว่าชาวแต้จิ๋ว) คือชาวฮั่นที่เป็นคนท้องถิ่นในเขตเฉาซานในภาคตะวันออกของมณฑลกวางตุ้งของประเทศจีน และพูดภาษาถิ่นแต้จิ๋ว ทุกวันนี้คนแต้จิ๋วส่วนใหญ่อาศัยอยู่นอกประเทศจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในสิงคโปร์, มาเลเซีย และไทย และยังสามารถพบคนแต้จิ๋วได้เกือบทุกที่ทั่วโลกอีกด้วยทั้งใน ทวีปอเมริกาเหนือ, ออสตราเลเซีย และประเทศฝรั่งเศส ชาวแต้จิ๋วพลัดถิ่นมีประมาณมากกว่า 10 ล้านคน ซึ่งมีมากพอๆกับประชากรของเฉาซานเอง ชาวแต้จิ๋วพูดภาษาที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาถิ่นฮกเกี้ยน ในขณะที่อาหารแต้จิ๋วก็มีลักษณะเฉพาะตัว บรรพบุรุษของชาวแต้จิ๋วอพยพมายังเขตเฉาซานในปัจจุบันจากที่ราบตอนกลางของประเทศจีนเพื่อที่จะหลบหนีจากสงครามกลางเมืองอย่างต่อเนื่องในระหว่างราชวงศ์จิ้น.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและชาวจีนแต้จิ๋ว · ดูเพิ่มเติม »

ชิงช้าสวรรค์

'''ชิงช้าสวรรค์''' ชิงช้าสวรรค์ (Ferris wheel คือ เครื่องเล่นเพื่อความบันเทิงชนิดหนึ่ง มักพบเห็นตามงานวัด สวนสนุก และตามงานเทศกาลต่างๆ ประกอบด้วยวงล้อโลหะขนาดใหญ่คู่ขนานกัน หมุนด้วยแรงกลในแนวตั้งรอบแกนที่ติดอยู่กับที่ มีกระเช้าผู้โดยสารที่ทำจากโลหะ (gondola หรือ capsule) ห้อยติดเป็นช่วงระหว่างโครงของล้อทั้งสอง ชิงช้าสวรรค์ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1893 โดยจอร์จ เฟอร์ริส และเป็นสัญลักษณ์โดดเด่นในงานแสดงสินค้าที่ชิคาโก ได้รับการขนานนามตามชื่อผู้ประดิษฐ์ว่า Ferris Wheel หรือบ้างก็เรียก Chicago Wheel.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและชิงช้าสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ชุย เจี้ยนจฺวิน

ี้ยนจฺวิน (崔建军; Cui Jianjun; เกิด 1 สิงหาคม ค.ศ. 1985 —) เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลชายทีมชาติจีน ปัจจุบันเขาเล่นตำแหน่งตัวตีด้านนอกให้แก่สโมสรเหอหนาน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและชุย เจี้ยนจฺวิน · ดูเพิ่มเติม »

บูเช็กเทียน

อู่ เจ๋อเทียน ตามสำเนียงกลาง หรือ บูเช็กเทียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระราชสมภพ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 624ปีประสูตินี้ ได้มาจากการเอาพระชนม์กับปีสวรรคตที่ระบุไว้ใน นวพงศาวดารถัง (New Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 1045–1060 มาบวกลบกัน ผลลัพธ์ดังกล่าวนี้เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ แต่ถ้าคำนวณตามที่ระบุไว้ใน พงศาวดารถัง (Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 941-945 จะได้ปีประสูติเป็น ค.ศ. 623; สวรรคต 16 ธันวาคม ค.ศ. 705)Paludan, 100 บางทีเรียก อู่ เจ้า หรือ อู่ โฮ่ว ในราชวงศ์ถังมักออกพระนามว่า พระนางสวรรค์ และในสมัยต่อมาว่า พระนางอู่ ทรงเป็นสตรีพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์จีนอันยาวนานกว่า 4,000 ปี ที่ได้เป็น "ฮ่องเต้" ในแผ่นดินของพระภัสดาและพระราชบุตรของพระนางระหว่างปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและบูเช็กเทียน · ดูเพิ่มเติม »

พระถังซัมจั๋ง

วาดพระถังซัมจั๋ง เหี้ยนจึง หรือสำเนียงกลางว่า เสวียนจั้ง (ประมาณ ค.ศ. 602 – 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 664) หรือที่รู้จักในนิยายไซอิ๋วว่า ถังซัมจั๋ง (唐三藏) เป็นพระภิกษุที่บำเพ็ญศีล สมาธิ ปัญญา มาแต่เยาว์ เมื่อเติบใหญ่ขึ้นจึงได้ออกเดินทาง โดยได้เขียนเป็นบันทึกการเดินทางไว้ด้วย ซึ่งเขียนขึ้นในปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและพระถังซัมจั๋ง · ดูเพิ่มเติม »

พระโพธิธรรม

'''"พระโพธิธรรม"''' โดยโยะชิโทะชิ (ค.ศ. 1877) พระโพธิธรรม (โพธิธรฺม, เทวนาครี बोधिधर्म; อักษรโรมัน (NLAC): bōdhidharma; 菩提達摩, พินอิน: Pútídámó, Dámó) แต่ในนิยายกำลังภายในในประเทศไทยมักเรียก ตักม้อ หรือ ตั๊กม้อ (สำเนียงแต้จิ๋ว ตรงกับจีนกลางว่า ต๋าหมอ) เป็นพระภิกษุในศาสนาพุทธฝ่ายมหายานนิกายเซน มีประวัติไม่ชัดเจนนัก แต่เชื่อกันว่ามีตัวตนอยู่จริง และเป็นผู้สถาปนาวัดเส้าหลิน ในจีน ทั้งยังได้เผยแพร่วิชามวยจีนในหมู่พระเณรของวัดเส้าหลิน จนมีชื่อเสียงมาจวบจนทุกวันนี้ ตามตำนานระบุว่า ท่านเกิดเมื่อราว..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและพระโพธิธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พวงร้อย

วงร้อยเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและพวงร้อย · ดูเพิ่มเติม »

กบฏไท่ผิงเทียนกั๋ว

กบฏไท่ผิงเทียนกั๋ว หรือที่รู้จักในชื่อ กบฏไท่ผิง เป็นกบฎครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นในสมัยราชวงศ์ชิง ช่วงปี ค.ศ. 1850-1864 มีผู้นำคือ หง ซิ่วเฉฺวียน เหตุการณ์กบฏไท่ผิงนับเป็นการกบฏครั้งสำคัญที่รุนแรงที่สุดในยุคแห่งการปกครองของราชวงศ์ชิง โดยในเหตุการณ์กบฏนี้ มีทหารและประชาชนล้มตายลงมากกว่ายี่สิบล้านคน นับเป็นหนึ่งในเหตุวิปโยคในหน้าประวัติศาสตร์ของโลก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและกบฏไท่ผิงเทียนกั๋ว · ดูเพิ่มเติม »

การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

การคุ้มกันผู้วิ่งคบเพลิงที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จะสิ้นสุดลงในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) เพื่อนำไปจุดในงานเปิดมหกรรมกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน แผนการของการวิ่งนั้นได้ถูกประกาศเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ.2550) ภายใต้สโลแกนว่า "Journey of Harmony" (和諧之旅) และคาดว่าจะใช้เวลาวิ่ง 130 วัน ผ่าน 21 ประเทศรวมประเทศจีน ระยะทาง 137,000 ก.ม. (85,100 ไมล์) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการวิ่งคบเพลิงที่ยาวที่สุดนับตั้งแต่การวิ่งคบเพลิงครั้งแรก เมื่อปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

การทัพปราบตั๋งโต๊ะ

ศึกปราบตั๋งโต๊ะ เป็นหนึ่งในสงครามที่สำคัญในยุคสามก๊ก สงครามครั้งนี้ได้เกิดขึ้นเมื่อจอมทรราชตั๋งโต๊ะได้สร้างความวุ่นวายในราชสำนักด้วยการปลดห้องจูเปียนออกจากราชสมบัติและตั้งห้องจูเหียบ พระราชอนุชาขึ้นเป็นพระเจ้าเหี้ยนเต้และขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนทำให้มีอำนาจบาตรใหญ่ในราชสำนัก เหล่าขุนนางต่างหวั่นเกรงกลัวอำนาจของตั๊งโต๊ะ แต่โจโฉได้อาสาที่จะลอบสังหารแต่ไม่สำเร็จจึงหนีไปยังบ้านเกิดขายทรัพย์สมบัติทั้งหมดของตนเป็นทุนเพื่อรับทหารอาสาสมัครจำนวนหนึ่ง จากนั้นไปสมทบกับอ้วนเสี้ยวและส่งสาส์นไปยังเมืองต่างๆให้มาช่วยรบเพื่อโค่นล้มอำนาจของตั๋งโต๊ะ ปรากฏว่า มีหัวเมืองทั้งหมดสิบแปดหัวเมืองได้เข้าร่วมรบในศึกครั้งนี้ ผลลัพธ์ปรากฏว่ากองทัพผสมสิบแปดหัวเมืองสามารถเอาชนะกองทัพตั๊งโต๊ะได้ในด่านเฮาโลก๋วนและกำลังจะบุกตีเมืองลกเอี๋ยงอันเป็นราชธานี แต่ตั๊งโต๊ะได้อัญเชิญพระเจ้าเหี้ยนเต้ไปยังเมืองเตียงอันและสั่งให้ทหารของตนไปปล้นฆ่าราษฏรในเมืองและริบทรัพย์สินมาทั้งหมด เผาลกเอี๋ยงให้ราบ จากนั้นก็ได้สร้างเตียงฮันเป็นราชธานีใหม่โดยนำเงินที่ปล้นมาเป็นทุน ส่วนกองทัพของสิบแปดหัวเมืองไม่ได้คิดตามไปตีเตียงอันแต่ก็ได้มีแตกแยกกันทำให้กองทัพพากันสลายตัวในที่สุด หมวดหมู่:สามก๊ก หมวดหมู่:สงครามสามก๊ก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและการทัพปราบตั๋งโต๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

กิมสวน

กิมสวน (เสียชีวิต ค.ศ. 209) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า จินเสฺวียน มีชื่อรองว่าเยฺหวียนจี เป็นตัวละครในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นขุนศึกในปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เป็นเจ้าเมืองบุเหลงซึ่งเป็นหัวเมืองหนึ่งในแคว้นเกงจิ๋ว.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและกิมสวน · ดูเพิ่มเติม »

กุยฮิวจี๋

กุยฮิวจี๋ มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า กัวโยวจือ มีชื่อรองว่าเหยี่ยนฉาง เป็นตัวละครในวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นขุนนางของจ๊กก๊กในยุคสามก๊ก เป็นชาวเมืองลำหยง (南陽 หนานหยาง ปัจจุบันคือเมืองหนานหยาง มณฑลเหอหนาน) จูกัดเหลียง (ขงเบ้ง) อัครมหาเสนาบดีแห่งจ๊กก๊ก ได้เขียนกล่าวถึงกุยฮิวจี๋ในฎีกาออกศึก (出師表 ชูชือเปี่ยว) ฉบับแรกในปี ค.ศ. 227 ว่ากุยฮิวจี๋เป็นผู้มีความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์เป็นอย่างสูง กุยฮิวจี๋ถูกระบุชื่อพร้อมด้วยตังอุ๋นและบิฮุยว่าเป็นขุนนางมีความสามารถที่สามารถให้คำปรึกษาในราชการทั้งใหญ่และน้อยแก่พระเจ้าเล่าเสี้ยนได้.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและกุยฮิวจี๋ · ดูเพิ่มเติม »

กุยแก

กุยแก (Guo Jia) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ยอดกุนซือแห่งวุยก๊ก เป็นชาวเมืองอิ่งชวน เอี๋ยงตี๋ (เมืองอวี๋ มณฑลเหอหนานในปัจจุบัน) ชื่อรองฟ่งเสี้ยว เดิมอยู่กับอ้วนเสี้ยว แต่อ้วนเสี้ยวเป็นผู้นำที่ใช้คนไม่เป็น กุยแกจึงมาอยู่กับโจโฉในวัยเพียง 27 ปี ด้วยการแนะนำของซุนฮก กุยแกเป็นนักวางแผนคนสำคัญ เป็นผู้สรุปข้อดี 10 ประการของโจโฉ และสรุปข้อด้อย 10 ประการของอ้วนเสี้ยวเปรียบเทียบให้โจโฉฟัง ซึ่งเป็นแรงดลใจให้โจโฉทำสงครามแตกหักกับอ้วนเสี้ยว แม้จะมีกำลังคนน้อยกว่าอ้วนเสี้ยวถึง 10:1 แต่โจโฉเอาชนะอ้วนเสี้ยวได้ กุยแกเป็นผู้ที่ได้ชื่อว่าเฉลียวฉลาดมาก อาจเทียบได้กับขงเบ้งของเล่าปี่ ทว่าทั้งคู่ไม่มีโอกาสได้ประชันฝีมือกัน เพราะกุยแกเสียชีวิตเสียก่อน ด้วยป่วยตายที่เมืองลกเอี๋ยงในวัยเพียง 38 ปี ระหว่างที่โจโฉทำสงครามติดตามอ้วนซง และอ้วนถำ บุตรชายของอ้วนเสี้ยว ที่หนีไป ภายหลังอ้วนเสี้ยวตายไปแล้ว ก่อนตาย กุยแกได้เขียนจดหมายถึงโจโฉว่า ไม่จำเป็นต้องไล่ติดตามคนทั้ง 2 ไปไกล เพราะไม่นานทั้ง 2 จะแตกกันเองและจะมีผู้จัดการให้ในที่สุด ซึ่งก็ปรากฏเป็นจริงดังคำของกุยแก เพราะเมื่ออ้วนซงและอ้วนฮีหนีไปอยู่กับกองซุนข้อง กองซุนข้องระแวงคนทั้ง 2 อยู่แล้ว จึงฆ่าและตัดหัวมามอบให้แก่โจโฉ เมื่อกุยแกตาย โจโฉร่ำไห้อาลัยมาก รำพึงรำพันว่า กุยแกตายแต่ยังหนุ่ม เหมือนสวรรค์กลั่นแกล้งตน และอีกครั้งหลังพ่ายแพ้ย่อยยับจากศึกเซ็กเพ็ก โจโฉรำพันว่า ถ้ากุยแกยังอยู่จะต้องห้ามปรามตน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและกุยแก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนหมิ่น

แผนที่แสดงสำเนียงหลักของภาษาจีนหมิ่น ภาษาหมิ่น เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน พูดทางตะวันออกเฉียงใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และผู้ที่อพยพไปมณฑลกวางตุ้ง หูหนาน และไต้หวัน แบ่งย่อยได้เป็น ภาษาหมิ่นเหนือ (Min Bei) ภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาจีนฮกเกี้ยน(Min nan) และสำเนียงอื่นๆ เป็นภาษาหลักของชาวจีน ในฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซี.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและภาษาจีนหมิ่น · ดูเพิ่มเติม »

มอกาย

มอกาย (อังกฤษ: Mao jie; จีน:毛玠) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นชาวเมืองตันลิว มณฑลเหอหนาน มีชื่อรองว่า เสี้ยวเซียน เป็นคนสุภาพ รักความเป็นธรรม เข้ารับราชการกับโจโฉพร้อมกับ หมันทองและลิยอย ศึกเซ็กเพ็ก เมื่อโจโฉหลงกลจิวยี่โดยสั่งประหารชัวมอกับเตียวอุ๋น ผู้ชำนาญในการเรือของเกงจิ๋วแล้ว ได้ให้มอกายกับอิกิ๋ม เป็นผู้ฝึกหัดทหารเรือแทน บั้นปลายชีวิต มอกายถูกใส่ร้าย จึงจำใจออกจากราชการกลับไปอยู่ภูมิลำเนาเดิมจนสิ้นชีวิตในปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและมอกาย · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 (Miss Grand International 2015) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 3 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายถูกจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2015 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์จีน

มิสแกรนด์จีน (Miss Grand China) เป็นตำแหน่งในการประกวดนางงามระดับประเทศของจีน เพื่อคัดเลือกตัวแทนเข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล เริ่มจัดประกวดเพื่อคัดเลือกผู้ดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและมิสแกรนด์จีน · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลชานตง

มณฑลชานตง ใช้ตัวย่อว่า 鲁 (หลู่) ที่มาของชื่อมณฑลชานตงมาจากคำว่า ชาน (山, shān) ที่หมายถึงภูเขา และคำว่า ตง (东, dōng) ที่หมายถึงทิศตะวันออก มณฑลชานตงมีเมืองหลวง (เมืองใหญ่สุด) คือเมืองจี๋หนาน มณฑลนี้มีเนื้อที่ 156,700 ตารางกิโลเมตร (อันดับที่ 20 ของจีน) แต่มีประชากรมากเป็นอันดับสองของจีน คือประมาณ 91,800,000 คน (2004) มีความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 586 คนต่อตารางกิโลเมตร นับเป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นมากเป็นอันดับ 5 ของจีน ตัวเลข GDP รวมในปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและมณฑลชานตง · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลชานซี

นซี ตามสำเนียงกลาง หรือ ซัวไซ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ชื่อย่อ จิ้น (晋) เป็นมณฑลหนึ่งของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของแม่น้ำเหลืองในภาคเหนือของประเทศจีน คำว่า "ชานซี" แปลตรงตัวว่า ทิศตะวันตกของภูเขา เนื่องจากมณฑลตั้งอยู่ทางตะวันตกของภูเขาไท่หัง มีเมืองเอกชื่อ ไท่หยวน มีเนื้อที่ 156,800 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 33,350,000 คน ความหนาแน่น 213 ต่อตารางกิโลเมตร จีดีพี 304.2 พันล้านเหรินหมินปี้ จีดีพีต่อประชากร 9120 เหรินหมินปี้ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและมณฑลชานซี · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลส่านซี

นซี ตามสำเนียงกลาง หรือ เจียบไซ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ชื่อย่อ: "ส่าน" (陕) หรือ "ฉิน" (秦)) เป็นมณฑลในสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ในเขตใจกลางประเทศแถบลุ่มแม่น้ำเหลือง (หวงเหอ) มีเมืองหลวงชื่อ ซีอาน มีเนื้อที่ 205,800 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 37,050,000 คน จีดีพี 288.4 พันล้านเหรินหมินปี้ จีดีพีต่อประชากร 7,780 เหรินหมินปี้ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น มณฑลส่านซีโดยมากมีลักษณะภูมิประเทศคล้ายแอ่งอยู่ระหว่างภูเขาหลายแห่ง.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและมณฑลส่านซี · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลหูเป่ย์

มณฑลหูเป่ย์ (จีน: 湖北省 Húběi Shěng) ชื่อย่อ เอ้อ (鄂) ตั้งอยู่ตอนกลาง ของประเทศ มีอาณาเขตอยู่ในพื้นที่ของแม่น้ำ 2 สายคือ แม่น้ำฉางเจียง (แยงซีเกียง) และฮั่นเจียง เนื่องจากอยู่ ทางเหนือของทะเลสาบต้งถิงทางตอนกลางของแม่น้ำ ฉางเจียง จึงได้ชื่อว่า ‘หูเป่ย’ ซึ่งแปลว่า เหนือทะเลสาบ มีเมืองหลวงชื่อ อู่ฮั่น มีเนื้อที่ 185,900 ตร.ก.ม. มีประชากร 60,160,000 คน ความหนาแน่น 324/ตร.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและมณฑลหูเป่ย์ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลอานฮุย

มณฑลอานฮุย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศจีน มีเมืองเอกชื่อ เหอเฟย์ มีเนื้อที่ทั้งหมด 139,400 ตาราง ก.ม.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและมณฑลอานฮุย · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเหอเป่ย์

มณฑลเหอเป่ย์ (河北省) ชื่อย่อ จี้(冀)ตั้งอยู่ระหว่างที่ราบสูง มองโกเลียในและที่ราบภาคเหนือของประเทศ เป็นมณฑลที่อยู่ล้อมรอบนครสำคัญคือ ปักกิ่ง และเทียนจินมีเมืองหลวงชื่อ ฉือเจียจวง มีเนื้อที่ 187,700 ก.ม.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและมณฑลเหอเป่ย์ · ดูเพิ่มเติม »

ม่อจื๊อ

ม่อจื๊อ (พ.ศ. 74-พ.ศ. 153) เป็นนักปรัชญาชาวจีน นับได้ว่าเป็นคู่แข่งผู้หนึ่งของขงจื๊อ หลักคำสอนของม่อจื๊ออยู่ในหนังสือที่มีชื่อเดียวกับชื่อของเขา คือ ม่อจื๊อ ประกอบด้วยข้อเขียน 53 บท เป็นทั้งข้อเขียนของเขาเองและที่สานุศิษย์ช่วยกันเรียบเรียงต่อเติม และมามีอิทธิพลเหนือชาวจีนหลังจากที่เขาตายไปแล้วประมาณ 500 ปี ม่อจื๊อ มีชื่อจริงว่า มั่ว ตี๋ (墨翟) สถานที่เกิดไม่แน่นอน บ้างก็ว่ามาจากแคว้นสุ้ง (ปัจจุบันอยูระหว่างมณฑลเหอหนานและมณฑลซานตง) บ้างก็ว่ามาจากแคว้นเดียวกับขงจื๊อ คือมาจากแคว้นหลู่ แนวความคิดของม่อจื๊อเป็นปฏิปักษ์อย่างรุนแรงต่อแนวความคิดของขงจื๊ออย่างเห็นได้ชัด ถึงแม้ว่าความต้องการที่เหมือนกันคือ เพื่อปรับปรุงให้สังคมดีขึ้น แต่ม่อจื๊อไม่นิยมวิธีการของขงจื๊อ โดยโจมตีว่า "เป็นวิธีการที่ไม่ได้ผลและเสียเวลา" ม่อจื๊อเน้นถึง ประโยชน์และความใช้ได้ของขนบธรรมเนียมประเพณีมากกว่าจะต้องยึดถือตามขงจื๊อทั้งหมด เชื่อในความเป็นไปของโลกหน้า สนับสนุนให้มนุษย์มีความรักซึ่งกันและกัน เขาเชื่อว่าความรักโดยไม่จำกัดเชื้อชาติ วรรณะ ชนชั้น หรือความยากดีมีจน ประณามการทำสงคราม ความแตกต่างระหว่างแนวความคิดของขงจื๊อกับม่อจื๊อนี้ ทำให้ขงจื๊อได้รับขนานนามว่า "เป็นนักประมวลขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีมาใช้" แต่ม่อจื๊อเป็น "นักวิจารณ์ นักติชม" นอกจากนี้ม่อจื๊อยังได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้นำความรู้ทางด้านตรรกวิทยาเข้ามาใช้ในจีนเป็นคนแรก เกี่ยวกับตำแหน่งผู้ปกครองม่อจื๊อมีความเห็นว่า "ผู้ปกครองควรได้ตำแหน่งเพราะความดีและความสามารถส่วนตัวมากกว่าได้มาโดยการสืบตำแหน่ง ถ้าผู้ปกครองไม่มีความสามารถก็ควรจะยกตำแหน่งนี้ให้ที่ปรึกษาจะดีกว่า".

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและม่อจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการมู่เหย่

ทธการมู่เหย่ (Battle of Muye) เป็นการสู้รบระหว่างราชวงศ์ซางกับราชวงศ์โจว เกิดขึ้นประมาณปีที่ 1046 ก่อนคริสต์ศักราช ประมาณศตวรรษที่ 12 ก่อนคริสต์ศักราช ราชวงศ์ซางได้ขยายอิทธิพลมาทางตะวันตกแถบหุบเขาแม่น้ำเว่ย์ ซึ่งตระกูลโจวปกครองอยู่ พระเจ้าโจวเหวินเป็นผู้ปกครองดินแดนพระองค์หนึ่งของราชวงศ์ซางและเคยช่วยเหลือพระเจ้าซางโจ้วในตอนที่พระองค์นำทัพบุกภาคตะวันออกเฉียงใต้ แต่พระเจ้าซางโจ้วรู้สึกระแวงจึงสั่งคุมขังพระเจ้าโจวเหวิน ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างซางและโจวตึงเครียดขึ้น ภายหลังที่ถูกปล่อยตัวออกมา พระเจ้าโจวเหวินได้นำกองทัพพิชิตดินแดนต่าง ๆ ที่ภักดีต่อราชวงศ์ซาง แต่ในปีที่ 1050 ก่อนคริสต์ศักราช พระองค์เสด็จสวรรคต พระเจ้าโจวอู่ พระโอรสก่อกบฏต่อพระเจ้าซางโจ้วโดยมีประชาชนเข้าร่วมจำนวนมาก พระเจ้าโจวอู่ได้รับคำแนะนำจากที่ปรึกษา เจียง จื่อหยา ให้นำกำลัง 50,000 นายเข้าตีกองทัพพระเจ้าซางโจ้วที่กำลังติดพันกับการศึกทางทิศตะวันออก แต่พระเจ้าซางโจ้ววางกำลังทหารไว้ป้องกันเมืองอินซฺวี เมืองหลวงราว 530,000 นายและทาสกว่า 170,000 คน อย่างไรก็ตาม กลุ่มทาสได้แปรพักตร์ไปอยู่ฝ่ายพระเจ้าโจวอู่ ทำให้ขวัญกำลังใจทหารซางลดน้อยลง ทั้งสองฝ่ายปะทะกันที่ตำบลมู่เหย่ ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองอินซฺวี ทหารฝ่ายราชวงศ์ซางส่วนใหญ่ลดอาวุธลงและแปรพักตร์เพราะไม่อยากรบเพื่อพระเจ้าซางโจ้ว แต่บางส่วนยังไม่ยอมจำนนจึงเกิดการสู้รบกันอย่างรุนแรง พระเจ้าซางโจ้วหลบหนีไปที่เมืองหลวงหลังเห็นว่าทัพของพระองค์พ่ายแพ้ หลังการสู้รบ พระเจ้าซางโจ้วได้ปลงพระชนม์พระองค์เอง พระเจ้าโจวอู่สังหารพระนางต๋าจี่ พระมเหสีของพระเจ้าซางโจ้วหลังพบว่าพระนางวางแผนลอบปลงพระชนม์พระองค์ ข้าวในท้องพระคลังถูกนำไปแจกจ่ายให้ประชาชนทั่วไป ยุทธการมู่เหย่เป็นจุดสิ้นสุดของราชวงศ์ซาง และการขึ้นสู่อำนาจของราชวงศ์โจว.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและยุทธการมู่เหย่ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่กัวต๋อ

ึกกัวต๋อ (官渡之戰, Battle of Guandu) เกิดขึ้นที่ริมฝั่งแม่น้ำฮวงโหในปี ค.ศ. 200 เป็นศึกที่โจโฉได้ชัยชนะต่ออ้วนเสี้ยว จุดตัดสินผลการรบของศึกนี้อยู่ที่การลอบโจมตีทัพขนเสบียงของอ้วนเสี้ยวที่อัวเจ๋า ทำให้ทัพอ้วนเสี้ยวขาดเสบียงและเกิดความระส่ำระสายไปทั้งกองทัพ จากแผนการของเขาฮิว ซึ่งเดิมอยู่กับอ้วนเสี้ยว แต่มาอยู่ข้างโจโฉ เพราะคาดการณ์ว่าอ้วนเสี้ยวต่อไปจะพ่ายแพ้แน่ ทั้ง ๆ ที่เริ่มต้นกองทัพของอ้วนเสี้ยวมีมากกว่าโจโฉถึง 10:1 แต่โจโฉนำทัพอย่างใจเย็นค่อย ๆ รุกคืบ และฝ่ายอ้วนเสี้ยวก็โลเลไม่ยอมทำศึกแตกหัก จึงต้องประสบความพ่ายแพ้ในที่สุด ภายหลังศึกนี้ อ้วนเสี้ยวเสียใจมาก อีกทั้งลูกชาย 2 คน คือ อ้วนซีกับอ้วนถำก็บาดหมางถึงขนาดฆ่ากัน จนต้องกระอักเลือดชีวิตในเวลาต่อมาไม่นาน ศึกนี้นำมาสู่การล่มสลายของตระกูลอ้วน เมื่อบุคคลสำคัญ ๆ ในตระกูลได้ล้มตายหมดสิ้น อีกทั้งเป็นศึกที่โจโฉได้สร้างชื่อเสียงไว้มาก และทำให้ได้ครองอำนาจใหญ่แต่เพียงผู้เดียวในดินแดนภาคเหนือของจีน ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบโจโฉใช้เวลาทำศึกครั้งนี้นานถึง 7 ปี ในสามก๊ก เริ่มแรกจากที่เล่าปี่ได้เข้าเฝ้าพระเจ้าเหี้ยนเต้ในพระราชวัง จากที่มีความดีความชอบในการปราบตั๋งโต๊ะและลิโป้ พระองค์ทรงให้ตรวจพงศาวลี พบว่าเล่าปี่สืบสายเชื้อสายมาจากตงสานเชงอ๋องจริง จึงให้ความเคารพเล่าปี่และทรงเรียกเล่าปี่ว่า พระเจ้าอา และเชื้อเชิญให้ไปปรึกษาราชการเป็นการส่วนพระองค์ ทำให้โจโฉเกิดความระแวงในตัวเล่าปี่ อีกทั้งในเวลาเดียวกันนั้น ตังสินร่วมมือกับเกียดเป๋งหมายจะลอบฆ่าโจโฉ แต่ไม่สำเร็จ โจโฉยิ่งเพิ่มความระแวงในตัวผู้ที่อยู่ตรงกันข้าม เล่าปี่จึงตัดสินใจหนีออกจากเมืองไปเข้าร่วมกับอ้วนเสี้ยว เพื่อชักชวนให้ปราบโจโฉ โจโฉได้ทำการฝังศพอ้วนเสี้ยวอย่างสมเกียรติ และได้ซื้อใจราษฎรด้วยการงดภาษีถึง 1 ปี และต่อมาได้ร่างโคลงถึงการรบในครั้งนี้ด้วย ที่เขาจรดทะเลเช่นเดียวกับฮั่นอู่ตี้ อดีตฮ่องเต้ผู้ยิ่งใหญ่ในราชวงศ์ฮั่นเคยกระทำ หลังจากชนะศึกที่นี่เช่นกัน สำหรับฝ่ายเล่าปี่ นี่เป็นศึกอย่างเป็นทางการครั้งแรกที่ทำให้เล่าปี่แตกหักกับฝ่ายโจโฉอย่างสิ้นเชิง ซึ่งนับต่อจากนี้ทั้งคู่จะขับเขี่ยวกันไปตลอ.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและยุทธการที่กัวต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ลิหยง

ทธการที่ลิหยง สงครามความขัดแย้งระหว่าง โจโฉ กับบุตรชาย 2 คนของ อ้วนเสี้ยว คือ อ้วนถำบุตรชายคนโตและอ้วนซงบุตรชายคนเล็กที่เกิดขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและยุทธการที่ลิหยง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ทุ่งพกบ๋อง

ึกทุ่งพกบ๋อง หรือ ศึกเนินพกบ๋อง (The Battle of Bowang, 博望之戰) เป็นการศึกใน วรรณกรรมเรื่องสามก๊ก เมื่อ ค.ศ. 202 และเป็นการศึกครั้งแรกของขงเบ้งที่แสดงฝีมือให้เห็นประจักษ์ ทุ่งพกบ๋อง (ปัจจุบันอยู่ในมณฑลเหอหนาน) เป็นช่องเขาหลังเมืองซินเอี๋ย เป็นช่องทางหนึ่งที่จะเข้าเมืองได้ เป็นทางแคบ ทางซ้ายเป็นเขา ชื่อ เขาอีสัน ทางขวาเป็นป่าชื่อ ป่าอันหลิม เมื่อแฮหัวตุ้นยกทัพเรือนแสนมาหมายจะขยี้เมืองซินเอี๋ย และตั้งทัพอยู่ห่างจากเมืองเพียง 40 ลี้ ขงเบ้งได้รับกระบี่อาญาสิทธิ์จากเล่าปี่ ให้บัญชาการทัพได้เต็มที่ ขงเบ้งได้มอบหมายให้เล่าปี่และจูล่งยกทัพไปสู้กับแฮหัวตุ้นซึ่ง ๆ หน้า แต่ต้องแสร้งแพ้เพื่อล่อให้แฮหัวตุ้นยกทัพตามเข้ามาในทุ่งพกบ๋อง เพื่อที่กวนอูและเตียวหุยที่ซ่อนทัพในป่าและเขาด้านข้างใช้ไฟเผาทั้งเป็นตามแผน โดยแต่แรกนั้น กวนอูและเตียวหุยไม่เชื่อมั่นในตัวขงเบ้ง แต่เมื่อแผนการนี้สำเร็จ ทหารของแฮหัวตุ้นเสียชีวิตในการนี้หลายหมื่นคน กวนอูและเตียวหุยก็ได้ให้ความมั่นใจและศรัทธาในตัวขงเบ้ง และหลังจากนั้นไม่นาน โจโฉก็ยกทัพหลวงมาเองเพื่อที่จะแก้แค้นในการศึกนี้ โดยให้โจหยินเป็นแม่ทัพใหญ่ ยกไปที่เมืองซินเอี๋ย ซึ่งขงเบ้งก็ใช้อุบายทำให้เมืองซินเอี๋ยเป็นเมืองร้าง และใช้ไฟเผาทัพของโจโฉอีกครั้ง เมื่อทหารที่หนีรอดมาได้ก็ถูกน้ำซัดอีกครั้ง จากกวนอูที่ทลายเขื่อนกั้นแม่น้ำแปะโห ศึกนี้เรียกกันว่า ไฟเผาซินเอี๋ย การศึก 2 ครั้งนี้เป็นสิ่งพิสูจน์ให้ประจักษ์ว่า ขงเบ้ง เป็นแม่ทัพที่เหนือแม่ทัพคนอื่น ๆ เพราะสามารถใช้พลังธรรมชาติ อันได้แก่ ไฟและน้ำ มาเป็นประโยชน์ในการทำลายทัพเรือนแสนได้ โดยไม่ต้องสูญเสียทหารฝ่ายตนมากนัก และอีกครั้งที่ขงเบ้งใช้เงื่อนไขของพลังธรรมชาติ คือ หมอกและลม คราวศึกเซ็กเพ็ก ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากนี้ จึงเป็นที่มาของฉายา "ผู้หยั่งรู้ดินฟ้ามหาสมุทร".

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและยุทธการที่ทุ่งพกบ๋อง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เอ๊งหยง

ยุทธการที่เอ๊งหยง (Battle of Xingyang) สงครามที่เกิดขึ้นในช่วงปลายสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก อันเป็นส่วนหนึ่งของ ศึกปราบตั๋งโต๊ะ ภายหลังจาก ศึกด่านเฮาโลก๋วน ตั๋งโต๊ะได้รับคำแนะนำจาก ลิยู (Li Ru) ผู้เป็นกุนซือและลูกเขยของตั๋งโต๊ะให้รีบย้ายเมืองหลวงจากลั่วหยางไปยังเตียงฮัน อดีตเมืองหลวงของ ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ตั๋งโต๊ะจึงให้ทหารปล้นเมืองและพระราชสุสานของอดีตจักรพรรดิพร้อมกับเผาเมืองลั่วหยางจนวอดวายแต่ก่อนจะย้ายเมืองหลวงลิยูได้แนะนำตั๋งโต๊ะให้ระวังโจโฉให้ดีเพราะเกรงว่าโจโฉจะโจมตีท้ายทัพจึงได้สั่งให้ ซีเอ๋ง ขุนศึกคนหนึ่งของตั๋งโต๊ะไปดักซุ่มอยู่ที่ช่องเขาเอ๊งหยงซึ่งสถานที่เดียวกันนี้เมื่อ 205 ปีก่อนคริสตกาล ได้เคยใช้เป็นสมรภูมิรบระหว่าง เซี่ยงอวี่ ฌ้อป้าอ๋องและ หลิวปัง ฮันต๋งอ๋อง ทางด้านโจโฉได้ขอกำลังทหารม้าอาชาจาก ซุนเกี๋ยน จำนวน 3,000 นายไปรวมกับกองกำลังของโจโฉที่มีอยู่ประมาณ 4,000 นายเพื่อโจมตีกองทัพตั๋งโต๊ะจนเดินทางมาถึงช่องเขาเอ๊งหยงก็ถูกทัพของซีเอ๋งโจมตีจนแตกพ่ายยับเยินโดยที่ อ้วนเสี้ยว ไม่ได้ส่งทัพหนุนมาช่วยทำให้โจโฉถูกเกาฑัณฑ์ยิงเข้าที่ไหล่ได้รับบาดเจ็บโชคดีที่ โจหอง น้องชายของโจโฉเข้ามาช่วยจนหนีรอดไปได้ หมวดหมู่:สงครามสามก๊ก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและยุทธการที่เอ๊งหยง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการฉางชา (1939)

ทธการฉางชา (17 กันยายน – 6 ตุลาคม ค.ศ. 1939) เป็นความพยายามครั้งแรกของญี่ปุ่นในการยึดครองฉางชา ประเทศจีน ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและยุทธการฉางชา (1939) · ดูเพิ่มเติม »

ยฺเหวียน ชื่อไข่

ยฺเหวียน ชื่อไข่ (16 กันยายน พ.ศ. 2402 – 6 มิถุนายน พ.ศ. 2459) เป็นประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน ผู้โค่นล้มราชวงศ์ชิงได้สำเร็จ โดยได้อาศัยความได้เปรียบจากการคุมกองทัพเป่ยหยาง ซึ่งเป็นปัจจัยทั้งการอยู่รอดของราชวงศ์ชิงและการก่อตั้งสาธารณรัฐ ถ้ายฺเหวียนเลือกข้างฝ่ายไหน ฝ่ายนั้นก็ได้รับชัยชนะไป กองทัพของซุนยัคเซนเองก็ใช่ว่าจะสามารถต่อต้านทัพเป่ยหยางที่มีอาวุธที่ทันสมัยกว่าได้ หลังจากได้เข้าเจรจาทั้งฝ่ายปฏิวัติและฝ่ายต้าชิงแล้ว ยฺเหวียนได้บีบให้หลงหยู่ไทเฮาประกาศให้ฮ่องเต้ปูยีสละราชสมบัติ ซุน ยัตเซนจึงลาออกจากประธานาธิบดีชั่วคราว และยกตำแหน่งนี้ให้ยฺเหวียนดำรงตำแหน่ง ภายหลังยฺเหวียนสถาปนาตนเองเป็น "จักรพรรดิหงเซียน" ปกครองจักรวรรดิจีนแต่ไม่ได้รับการยอมรับ จึงล้มเลิกจักรวรรดิและกลับมาปกครองแบบสาธารณรัฐเช่นเดิม หมวดหมู่:ประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน ซ.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและยฺเหวียน ชื่อไข่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐหาน

หาน เป็นรัฐจีนโบราณในยุครณรัฐ (戰國時代) ตั้งอยู่ในท้องที่ซึ่งปัจจุบันเป็นชานซีและเหอหนาน ที่ตั้งดังกล่าวกีดกันมิให้รัฐฉิน (秦國) เข้าถึงที่ราบจีนเหนือ ทำให้รัฐหานตกเป็นเป้าโจมตีของรัฐฉินบ่อยครั้ง ที่สุดแล้ว รัฐหานก็เป็นรัฐแรกในกลุ่มเจ็ดรณรัฐ (戰國七雄) ที่ผนวกเข้ากับรัฐฉิน หลังจากการรบราจนเลือดนองแผ่นดินในยุทธการที่ฉางผิง (長平之戰) เมื่อ 260 ปีก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 3 หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรัฐหาน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปีพ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหาร ของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรม และเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใดๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่างๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ "คนป่าเถื่อน" ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ "หวังอั้นจี่" ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงิน ของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้าย ก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉิน ไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง) บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและราชวงศ์ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เซี่ย

ตแดนราชวงศ์เซี่ย (สีเหลือง) ราชวงศ์เซี่ย (ภาษาอังกฤษ: Xia Dynasty) (ภาษาจีนกลาง: 夏朝) (พินอิน: xià cháo) เป็นราชวงศ์แรกของจีน ปกครองประเทศจีนในช่วง 2100-1600 ปีก่อนคริสตกาล มีอายุอยู่ได้ราว 500 ปี ในอดีตนักวิชาการและบุคคลโดยทั่วไปเชื่อว่าเรื่องราวของราชวงศ์เซี่ยเป็นเพียงเรื่องแต่งหรือปรัมปราที่เล่าสืบต่อกันมา แต่ปัจจุบันมีการขุดค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีที่เชื่อถือได้ ในปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและราชวงศ์เซี่ย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ช รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ช) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร บ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ก รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ก) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ม)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ม รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ม) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ย)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ย รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ย) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ล รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ส)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ส รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ส) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ห รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ห) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (อ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร อ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (อ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ฮ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฮ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร จ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (จ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ถ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ถ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ถ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ท)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ท รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ท) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ข รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ข) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ค)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ค รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ค) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ง รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ง) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ต)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ต รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ต) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฉ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ฉ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ฉ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ซ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ซ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ซ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ป)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ป รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ป) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

นี่คือ รายชื่อมณฑลของจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ข้อมูลเฉพาะจีนแผ่นดินใหญ่เรียงตามค่าจีดีพีต่อประชากร.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากร

แผนที่มณฑลของจีนเรียงตามจำนวนประชากร ประชากรประเทศจีนปี 2004.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่

มณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดเนื้อที่ หมวดหมู่: มณฑลของประเทศจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร

แผนที่แสดงความหนาแน่นแต่ละพื้นที่ของจีน นี่คือ รายชื่อมณฑลของจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหอดูดาว

นี่คือ รายชื่อหอดูดาว เรียงลำดับตามตัวอักษร รวมถึงวันเปิดปฏิบัติการและตำแหน่งที่ตั้ง รายชื่อนี้อาจรวมถึงวันปฏิบัติการวันสุดท้ายสำหรับหอดูดาวที่ได้ปิดตัวลง โดยรายชื่อนี้จะเป็นหอดูดาวซึ่งใช้ศึกษาด้านดาราศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อหอดูดาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศจีน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศจีนทั้งสิ้น 52 แหล่ง ประกอบด้วยมรดกโลกทางวัฒนธรรม 36 แหล่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 12 แห่ง และมรดกโลกแบบผสมอีก 4 แหล่ง.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและรายชื่อเขตการปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

ลั่วหยาง

thumb ลั่วหยาง หรือสำเนียงฮกเกี้ยนว่า ลกเอี๋ยง เป็นเมืองหนึ่งในประเทศจีน ปัจจุบันตั้งอยู่ทางตะวันตกของมณฑลเหอหนาน เคยเป็นเมืองหลวงของหลายราชวงศ์เช่น ราชวงศ์โจวตะวันออก ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและลั่วหยาง · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)

นี่คือ ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 1939 ถึง 31 ธันวาคม 1939.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939) · ดูเพิ่มเติม »

วัดม้าขาว

้านหน้าของวัด ที่มีประติมากรรมหินสลักรูปม้าขาว วัดม้าขาว หรือ ไป๋หม่าซื่อ (สำเนียงจีนกลาง) หรือ แป๊ะเบ๊ยี่ (สำเนียงแต้จิ๋ว) (白馬寺, White Horse Temple, พินอิน: Báimǎ Sì) เป็นวัดทางพุทธศาสนาแห่งแรกที่ตั้งขึ้นในประเทศจีน อยู่ที่เมืองลั่วหยาง มณฑลเหอหนาน ซึ่งประวัติความเป็นมา คือ ในปี ค.ศ. 66 ในรัชสมัยจักรพรรดิมิ่งตี้ แห่งราชวงศ์ฮั่น หลังจากได้มีการส่งคณะทูต 18 คน ไปสืบพุทธศาสนาที่ประเทศอินเดีย โดยใช้เวลา 3 ปี คณะทูตก็ได้เดินทางกลับ พร้อมด้วยพระพุทธรูป พระภิกษุอีก 2 รูป คือ พระกัศยป มาตังคะ (迦葉摩騰)และพระธรรมรัตน์ โคภรณ์ (竺法蘭) และคัมภีร์ทางพุทธศาสนามาส่วนหนึ่งด้วย โดยบรรทุกมาบนหลังม้าสีขาวตัวหนึ่ง ในปี ค.ศ. 68 จึงได้โปรดให้มีการสร้างวัดแห่งนี้ขึ้นที่ชานเมืองลั่วหยาง เพื่อเป็นที่เก็บพระคัมภีร์ และให้พระภิกษุทั้ง 2 จำพรรษา ณ วัดแห่งนี้ และพระราชทานนามให้ว่า "วัดม้าขาว" เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ม้าขาวตัวนั้น วัดม้าขาว กลายมาเป็นต้นกำเนิด และศูนย์กลางของพุทธศาสนาในประเทศจีน ซึ่งต่อมาได้มีพระภิกษุอีกนับพันรูปได้จำพรรษา ณ วัดแห่งนี้ รวมทั้งพระอันซื่อกาว พระเสวียนจั้ง หรือ พระถังซัมจั๋ง ด้วย ซึ่งก่อนออกเดินทางไปจารึกแสวงบุญยังประเทศอินเดีย ก็ได้เริ่มต้นการเดินทางจากที่นี่ และเดินทางกลับมายังประเทศจีน ในปี ค.ศ. 645 และมาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ซึ่งปัจจุบันอัฐิของท่านก็ถูกบรรจุอยู่ในเจดีย์องค์หนึ่งที่วัดแห่งนี้ ปัจจุบัน วัดม้าขาวมีเนื้อที่ราว 80 ไร่เศษ ซึ่งในปี ค.ศ. 1992 พุทธศาสนิกชนชาวไทยและชาวจีนได้ร่วมกันบริจาคเงินสร้างวิหารหลังหนึ่งในรูปแบบสถาปัตยกรรมไทย ขึ้นทางด้านทิศตะวันตกของวัด ซึ่งในปัจจุบัน วัดม้าขาวถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่ง ของเมืองลั่วหยาง และมณฑลเหอหนาน โดยมีผู้มาเยือนจากทั่วโลกไม่ขาดสายในแต่ละปี.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและวัดม้าขาว · ดูเพิ่มเติม »

วัดเส้าหลิน

วัดเส้าหลินหรือสำนักเส้าหลิน (เส้าหลินซื่อ; แต้จิ๋ว: เสี้ยวลิ้มยี่; ฮกเกี้ยน: เชี้ยวหลิมซี; คำแปล: วัดป่าบนเขาเส้าซื่อ) เป็นวัดทางพระพุทธศาสนานิกายมหายานที่มีความเก่าแก่อายุมากกว่า 1,500 ปี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเทือกเขาซงซาน หนึ่งในจำนวนห้ายอดเขาอันศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของชาวจีน เป็นเทือกเขาที่มีชื่อเสียงมากที่สุดทั้งในด้านของประวัติศาสตร์และในแวดวงยุทธภพ ประกอบด้วยยอดเขาน้อยใหญ่จำนวน 72 ยอด แบ่งเป็นสองกลุ่มคือในกลุ่มของเขาไท่ซื่อ จำนวน 36 ยอด และกลุ่มของเขาเส้าซื่อ จำนวน 36 ยอด ในอำเภอเติงเฟิง เมืองเจิ้งโจว มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน อยู่กึ่งกลางระหว่างเมืองเจิ้งโจวและเมืองลั่วหยาง บริเวณรอบ ๆ วัดเส้าหลินเป็นพื้นที่โล่งกว้าง ใช้สำหรับฝึกวิทยายุทธของหลวงจีน รายล้อมด้วยป่าเจดีย์หรือถ่าหลิน ซึ่งเป็นสุสานของอดีตเจ้าอาวาสและหลวงจีน ซึ่งมีมาตั้งแต่ในยุคสมัยของราชวงศ์ถัง วัดเส้าหลินมีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดในประเทศจีนและในต่างประเทศ ได้รับการกล่าวขานในเรื่องของกระบวนท่าวิทยายุทธ เพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินเป็นอย่างมาก เป็นแหล่งวิชาการต่อสู้และศิลปะการป้องกันตัวที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของจีน ปรากฏชื่อในนิยายกำลังภายในหลายต่อหลายเรื่อง ซึ่งล้วนแต่กล่าวถึงวิชาเพลงหมัดมวย พลังลมปราณและกังฟูเส้าหลินอยู่เสมอ โดยเฉพาะนิยายกำลังภายในของกิมย้งเช่น มังกรหยก, จอมใจจอมยุทธ์, จิ้งจอกภูเขาหิมะ เป็นต้น ปัจจุบันมีหลวงจีนที่บวชเพื่อศึกษาธรรมะและกังฟูจำนวน 180 รูป มีหลวงจีน ซือ หย่งซิน ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน เป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งในประเทศจีน ที่ทางรัฐบาลจีนได้ร้องขอต่อองค์กรยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก และได้รับการพิจารณาให้เป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ร่วมกับโบราณสถานอีก 5 แห่ง.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและวัดเส้าหลิน · ดูเพิ่มเติม »

วูยิซิเล โคลอสซา

วูยิซิเล โคลอสซา (Vuyisile Colossa) หรือฉายา เดอะชีต้า เกิดวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2525 เป็นที่รู้จักในฐานะของนักมวยไทยชาวแอฟริกาใต้ที่สามารถชนะยอดแสนไกล แฟร์เท็กซ์ มาแล้วครั้งหนึ่ง รวมทั้งยังเป็นนักมวยคิกบ็อกซิ่งรุ่นมิดเดิ้ลเวท ตลอดจนเป็นนักต่อสู้แบบผสม ด้วยส่วนสูง 178 เซนติเมตร (5 ฟุต 10 นิ้ว) ปัจจุบันเขาอยู่สังกัดทีมเวอร์ซัส (Team Versus) และพำนักอยู่ที่เขตการปกครองพิเศษฮ่องกง ล่าสุดเขาได้มีส่วนร่วมในการแข่งขันคิงส์คัพ ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและวูยิซิเล โคลอสซา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)

รณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949) · ดูเพิ่มเติม »

สิบขันที

ันที หรือ สิบเสียงสี (Ten Attendants) เป็นกลุ่มของขุนนางขันทีที่มีอิทธิพลในราชสำนักของพระเจ้าเลนเต้ (ฮั่นหลิงตี้ ครองราชย์ ค.ศ. 168 - ค.ศ. 189) แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันออกของประเทศจีน แม้ว่าจะถูกเรียกว่าเป็นกลุ่มของคน 10 คน แต่จริงๆแล้วกลุ่มสิบขันทีประกอบด้วยขันทีจำนวน 12 คน และทุกคนดำรงตำแหน่งจงฉางชื่อ (中常侍; "ขันทีส่วนกลาง") ในราชสำนักของพระเจ้าเลนเต้ ขันทีทั้ง 12 คนได้แก่ เตียวเหยียง (張讓 จางร่าง), เตียวต๋ง (趙忠 เจ้าจง), เห้หุย (夏惲 เซี่ยยฺหวิน), ก๊กเสง (郭勝 กัวเซิ่ง), ซุนจาง (孫璋), ปี้หลัน (畢嵐), ลี่ซง (栗嵩), ต๋วนกุย (段珪 ตฺวั้นกุย), เกาว่าง (高望), จางกง (張恭), หันคุย (韓悝) และซ่งเตี่ยน (宋典) (張讓者,潁川人;趙忠者,安平人也。... 是時讓、忠及夏惲、郭勝、孫璋、畢嵐、栗嵩、段珪、高望、張恭、韓悝、宋典十二人,皆為中常侍,...) โฮ่วฮันชู เล่มที่ 78.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสิบขันที · ดูเพิ่มเติม »

สิงอี้เฉวียน

งอี้เฉวียน เป็นหนึ่งในศิลปะต่อสู้ป้องกันตัวของบู๊ตึ๊ง คำว่า สิง (形) แปลว่า รูปลักษณ์ ส่วนคำว่า อี้ (意) หมายถึง จิต เมื่อรวมกันจึงเข้าใจได้ว่า มวยสิงอี้ให้ความสำคัญแก่การฝึกจิตสำนึกและรูปลักษณ์ ลักษณะของมวยสิงอี้คือการโจมตีเป็นเส้นตรงอย่างรุนแรงและทรงพลังในระยะสั้น ผู้ฝึกฝนมวยสิงอี้ใช้การเคลื่อนไหวประสานเพื่อสร้างพลังงานที่ใช้ในการเอาชนะคู่ต่อสู้ในขณะนั้นก็ป้องกันตัวพร้อมกับที่โจมตี รูปแบบวัธีจะแตกต่างกันไปตามสำนักแต่ทุกสำนักจะฝึกต่อสู้มือเปล่าโดยมีทั้งแบบเคลื่อนไหวเดียวและหลายรูปแบบ รวมถึงการฝึกฝนการใช้อาวุธที่มีระบบกระบวนท่าเดียวกับการฝึกต่อสู้มือเปล่า ความเข้าใจพื้นฐานในการเคลื่อนไหวร่างกายได้ถูกกำหนดจากการใช้ทวนหรือไม้พลอง.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสิงอี้เฉวียน · ดูเพิ่มเติม »

สื่อ เขอฝ่า

ื่อ เขอฝ่า (4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1601 – 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1645), ชื่อทางการแบบจีน เซี่ยนชือ และ เต้าหลิน, เป็นข้าราชการและนักอักษรแห่งราชวงศ์หมิง สื่อ เขอฝ่า เกิดที่ เซี่ยงฟู่ (祥符; ปัจจุบันคือ ไคเฟิง, เหอหนาน) และอ้างสิทธิ์สืบเชื้อสายมาจาก เขตต้าซิง, จังหวัดชุนเตียน (順天府大興縣; ในปัจจุบันคือ ปักกิ่ง).

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสื่อ เขอฝ่า · ดูเพิ่มเติม »

สุมาหู

มาหู หรือ ซือหม่าฝู ในภาษาจีนกลาง (Sima Fu; 180 — 3 เมษายน 272) พระนามรอง ชูต๋า (Shuda) องค์ชายและรัฐบุรุษแห่ง ราชวงศ์จิ้น ซึ่งก่อนหน้านั้นพระองค์รับราชการเป็นขุนนางแห่ง วุยก๊ก ก่อนที่พระนัดดาของพระองค์ สุมาเอี๋ยน (จักรพรรดิจิ้นหวู่) จะโค่นล้มวุยก๊กใน..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสุมาหู · ดูเพิ่มเติม »

สุมาอี้

มาอี้ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ ซือหม่าอี้ ตามสำเนียงกลาง (司马懿; Sima Yi; ค.ศ. 179-251) นายทหารคนสำคัญของวุยก๊ก หลังยุคที่โจโฉสิ้นไปแล้ว เป็นคู่ปรับที่สำคัญของขงเบ้ง และเป็นผู้ที่วางรากฐานให้กับทายาทผู้สืบทอดตระกูลจนได้รวบรวมแผ่นดินเป็นหนึ่งเดียว กลายเป็นพระจักรพรรดิ์องค์ใหม่ และก่อตั้งราชวงศ์ใหม่ คือ ราชวงศ์จิ้น อันเป็นการสิ้นสุดยุคสามก๊กที่ดำเนินมานานถึง 111 ปี สามชั่วอายุคน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสุมาอี้ · ดูเพิ่มเติม »

สุสานโจโฉ

ทางเข้าหลุมศพหมายเลข 2 สุสานหลวงของโจโฉ (Cao Cao Mausoleum) สุสานที่ฝังศพของ โจโฉ ขุนศึกผู้มีชื่อเสียงช่วงปลายยุค ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก และเป็นผู้ก่อตั้ง วุยก๊ก แห่ง ยุคสามก๊ก สุสานหลวงแห่งนี้ได้ถูกค้นพบโดยบังเอิญโดยช่างทำอิฐคนหนึ่งใน มณฑลเหอหนาน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสุสานโจโฉ · ดูเพิ่มเติม »

สู เหยี่ยน

ู เหยี่ยน (徐 琰; Xu Yan) เจ้าของฉายา ไทเกอร์ เกิดวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1989 เป็นนักมวยคิกบ็อกซิ่งชาวจีนซึ่งเข้าแข่งขันในรุ่นเวลเธอร์เวท.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสู เหยี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

สฺวี เจียยฺหวี

วี เจียยฺหวี (徐嘉余; เกิด 19 สิงหาคม ค.ศ. 1995 ในเมืองเจิ้งโจว มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน) เป็นนักว่ายน้ำชายชาวจีน เป็นนักกีฬาว่ายน้ำท่ากรรเชียง เขาว่ายน้ำให้กับประเทศจีนในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 2012 เขาเป็นเจ้าของสถิติกีฬาแห่งชาติในปัจจุบัน ในท่ากรรเชียงของระยะทางทั้งหมด (50 เมตร, 100 เมตร และ 200 เมตร).

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสฺวี เจียยฺหวี · ดูเพิ่มเติม »

สฺวี่ชาง

วี่ชาง เป็นนครระดับจังหวัด (地级市; prefecture-level city) ในใจกลางมณฑลเหอหนาน ภาคกลางของประเทศจีน ด้านตะวันตกเฉียงเหนือติดกับนครเจิ้งโจว (郑州) เมืองเอกของมณฑลเหอหนาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับนครไคเฟิง (开封) ด้านตะวันออกติดกับนครโจวโข่ว (周口) ด้านตะวันออกเฉียงใต้ติดกับนครลั่วเหอ (漯河) และด้านตะวันตกเฉียงใต้ติดกับนครผิงติ่งชาน (平顶山) นครสฺวี่ชาง สมัยสามก๊ก มีชื่อว่า สฺวี่ตู หรือ ฮูโต๋ ในสำเนียงฮกเกี้ยน (許都) แปลว่า นครสฺวี่/ฮู ปัจจุบัน มีประชากร 4,307,488 คน ตามสำมะโนครัว..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสฺวี่ชาง · ดูเพิ่มเติม »

สถานที่พักร้อนและหมู่วัดในเฉิงเต๋อ

นที่พักร้อนและหมู่วัดในเฉิงเต๋อ คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในเมืองเฉิงเต๋อ มณฑลเหอเป่ย์ ประเทศจีน สถานที่พักร้อนแห่งนี้หมายถึงวังฤดูร้อนบนเขา (避暑山庄) ของราชวงศ์ชิงที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสถานที่พักร้อนและหมู่วัดในเฉิงเต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

หลินชง

หลินชง หรือ ลิมชอง เป็นตัวละครในวรรณกรรมปลอมพงศาวดารจีนเรื่อง 108 ผู้กล้าหาญแห่งเขาเหลียงซาน ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีน เป็นพี่น้องลำดับที่ 6 ในกลุ่ม 36ดาวฟ้าจากพี่น้องผู้กล้าทั้ง 108 คน มีฉายาว่าเศียรเสือดาว ในวรรณกรรมบันทึกเอาไว้ว่าเขาเป็นศิษย์ของโจวทง (อาจารย์ของแม่ทัพเยว่เฟย).

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและหลินชง · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เสฺว่ยิง

หลี่ เสฺว่ยิง (李雪英; Li Xueying) เกิดวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1990 ที่มณฑลเหอหนาน เป็นนักยกน้ำหนักชาวจีน เธอได้รับรางวัลเหรียญทองในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 โดยยกน้ำหนักได้ 108 กิโลกรัม (240 ปอนด์) และ 138 กิโลกรัม (300 ปอนด์) ในท่าสแนตช์และคลีนแอนด์เจิร์กตามลำดับ ซึ่งมีน้ำหนักรวมในการยกที่ 246 กิโลกรัม (540 ปอนด์) โดยเป็นสถิติโอลิมปิกใหม่ในท่าสแนตช์และน้ำหนักยกรวม.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและหลี่ เสฺว่ยิง · ดูเพิ่มเติม »

หวังอันฉือ

หวังอันฉือ (เกิด: พ.ศ. 1564; ตาย: วันที่ 6 เดือน 4 ปีหยวนโหยวที่ 1 ตรงกับวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 1629 ตามปฏิทินสุริยคติ) เป็นข้าราชการชาวจีนในประวัติศาสตร์ มีบทบาทเป็นนักเศรษฐศาสตร์ นักปฏิรูป อัครมหาเสนาบดีซึ่งตรงกับตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" ในปัจจุบัน และกวีสมัยราชวงศ์ซ่งเหนือ หวังอันฉือมีผลงานโดดเด่นในด้านการปฏิรูปเศรษฐกิจ เขาเล็งเห็นความล้าหลังของสังคมและเป็นผู้นำการปฏิรูปทางเศรษฐกิจสังคม ส่งผลให้การใช้จ่ายของประชาชนคล่องตัว ทำลายการผูกขาดทางการค้า และสร้างระเบียบทางการปกครองและสวัสดิการสังคมรูปแบบใหม่ หวังอันฉือยังปรับปรุงระบบการสอบคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการ โดยขัดขวางคติเห็นแก่ญาติและระบบอุปถัมภ์อันฝังรากลึกในมาแต่เดิม การปฏิรูปของหวังอันฉือไม่เป็นที่พึงใจของกลุ่มอนุรักษนิยมอันนำโดยรัฐมนตรีซือหม่ากวงอย่างยิ่ง นอกจากนี้ สมเด็จพระจักรพรรดิเหรินจงซึ่งมีพระราชอัธยาศัยใฝ่พระราชหฤทัยไปทางซือหม่ากวงก็ไม่โปรดด้วย ทำให้การปฏิรูปดำเนินการและประสบความสำเร็จในช่วงสั้น ๆ เท่านั้น อัครมหาเสนาบดีหวังมีชีวิตอยู่ในช่วงก่อนกรุงสุโขทัยเมื่อเทียบกันแล้ว.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและหวังอันฉือ · ดูเพิ่มเติม »

หอคอยเจิ้งหยวน

หอคอยเจิ้งหยวน (Zhongyuan Tower) ตั้งอยู่ในเมืองเจิ้งโจว เมืองหลวงของมณฑลเหอหนาน ประเทศจีน หอคอยนี้ครอบคลุมพื้นที่ 141 เฮกตาร์ และพื้นที่การก่อสร้าง 58,000 ตารางเมตร ด้วยการลงทุนรวมประมาณ 836 ล้านหยวน ความสูงของหอคอย คือ 388 เมตร ซึ่งเป็นหอคอยเหล็กที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากโตเกียวสกายทรี และเป็นหอคอยที่สูงที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก หอคอยแห่งนี้ถูกพิจารณาให้เป็นสถานที่สำคัญของมณฑลเหอหนานที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว โดยมีหน้าที่เป็นหอส่งสัญญาณโทรทัศน์ รวมถึงศูนย์วัฒนธรรมและการศึกษาของเมือง หอคอยเจิ้งหยวน เมืองเจิ้งโจว ประเทศจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและหอคอยเจิ้งหยวน · ดูเพิ่มเติม »

หนิง เจ๋อเทา

หนิง เจ๋อเทา (Ning Zetao) เป็นนักว่ายน้ำชายจากสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นนักกีฬาว่ายน้ำฟรีสไตล์ระยะทางสั้น ๆ ในเอเชียนเกมส์ 2014 เขาได้รับรางวัลเหรียญทองการแข่งขันท่าฟรีสไตล์ 50 เมตร, ว่ายน้ำท่าฟรีสไตล์ 100 เมตร, ผลัดฟรีสไตล์ 4×100 เมตร, ผลัดผสม 4×100 เมตร เขาได้สร้างสถิติเอเชียใหม่ ในท่าฟรีสไตล์ 50 เมตร รอบชิงชนะเลิศ และผลัดผสมชาย 4×100 เมตร รอบชิงชนะเล.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและหนิง เจ๋อเทา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรหนี่ว์ซู

อักษรนหวู่ซู (นหวู่ซู: 𛆁𛈬 หนังสือผู้หญิง) เป็นอักษรที่ประดิษฐ์และใช้โดยผู้หญิงในมณฑลเหอหนาน ประเทศจีน ผู้หญิงถูกกีดกันจากระบบการศึกษาที่เป็นทางการเป็นเวลาหลายศตวรรษ และได้พัฒนาอักษรนหวู่ซูเพิ่อใช้ระหว่างกัน อักษรนี้ใช้ปักลงบนผ้าหรือเขียนลงหนังสือและพัดกระดาษ ใช้ในการประดิษฐ์ซัน เชา ชุ หรือสารวันที่สามที่เป็นหนังสือขนาดเล็ก ห่อด้วยผ้าที่แม่จะมอบให้ลูกสาวในวันแต่งงานหรือเพื่อนผู้หญิงที่สนิทกัน ซัน เชา ชุ ประกอบด้วยบทเพลง ความหวังและความปวดร้าว ผู้หญิงจะได้หนังสือนี้ในวันที่สามหลังการแต่งงาน ผู้เชี่ยวชาญอักษรนหวู่ซูคนสุดท้าย ยัง ฮวนยี ตายเมื่อ 20 ก..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและอักษรหนี่ว์ซู · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีน

รูปอักษรจีนของคำว่า "ฮั่นจื้อ"-คันจิ-ฮันจา-ฮั้นถื่อ (漢字 / 汉字 หมายถึง "อักษรจีน") สีแดงเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีน คืออักษรภาพ (logogram) ที่โดยหลัก ๆ ในปัจจุบันใช้สำหรับเขียนภาษาจีน (เรียกว่า ฮั่นจื้อ) และภาษาญี่ปุ่น (เรียกว่า คันจิ) นอกจากนี้ก็ยังใช้เขียนระบบเลขของภาษาอื่นด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดเช่นภาษาเกาหลี (เรียกว่า ฮันจา) และภาษาเวียดนาม (เรียกว่า จื๋อโนม) และยังคงหลงเหลืออยู่ในภาษาเหล่านี้ในบางระดับ อักษรจีนเป็นระบบการเขียนที่ใช้กันมาอย่างต่อเนื่องอันเก่าแก่ที่สุดในโลก นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่า การเขียนในจีนที่เก่าสุดเริ่มเมื่อ 957 ปีก่อนพุทธศักราช ไม่มีหลักฐานแสดงความเกี่ยวข้องกับการเขียนในบริเวณอื่น ตัวอย่างการเขียนภาษาจีนที่เก่าสุดมีอายุราว 957 – 407 ปี ก่อนพุทธศักราช (ราชวงศ์ซาง) ซึ่งเป็นจารึกบนกระดูกวัวและกระดองเต..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและอักษรจีน · ดูเพิ่มเติม »

อินซฺวี

อินซฺวี คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในเมืองอันหยาง มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน เป็นเมืองหลวงแห่งสุดท้ายของราชวงศ์ซาง โดยเป็นเมืองหลวงอยู่ 225 ปี มีจักรพรรดิปกครองอยู่ 12 พระองค์ เมืองหลวงเก่าแห่งนี้เป็นหลักฐานชิ้นสำคัญของสิ่งที่เป็นไปในยุคทองของอารยธรรมจีนยุคสำริด สุสานหลวงและพระราชวังที่เป็นต้นแบบของสถาปัตยกรรมจีน และกระดูกคำทำนายที่จารึกด้วยตัวอักษรจีนโบราณ ที่บ่งบอกเกี่ยวกับวัฒนธรรม และสถานะทางสังคมของคนในยุคนั้นนับว่าเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่ได้ขุดค้นพบในเมืองนี้.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและอินซฺวี · ดูเพิ่มเติม »

อุบัติการณ์สุสานโกเบงเหลง

อุบัติการณ์สุสานโกเบงเหลง (Incident at Gaoping Tombs) ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นใน วุยก๊ก ช่วงปลาย ยุคสามก๊ก เมื่อ..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและอุบัติการณ์สุสานโกเบงเหลง · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภัยแม่น้ำหวง พ.ศ. 2481

ผู้อพยพจากตำบลฮั่วหยวนโข่ว เนื่องจากน้ำท่วม เหตุอุทกภัยที่แม่น้ำหวง..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและอุทกภัยแม่น้ำหวง พ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

อู๋ อฺวี่เซียง

อู๋ อฺวี่เซียง (ค.ศ. 1812-1880) ชื่อเดิม อู่ เหอชิง เป็นข้าราชการราชวงศ์ชิง และเป็นครูสอนไท่เก๊ก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและอู๋ อฺวี่เซียง · ดูเพิ่มเติม »

อ้องอุ้น

หวัง ยฺหวิ่น ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ อ้องอุ้น ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 137–192) ชื่อรองว่า จื่อชือ (子师) เป็นข้าราชการชาวจีนปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ดำรงตำแหน่งอุปราช (司徒) ในรัชกาลพระเจ้าหลิว เสีย (劉協) หรือหองจูเหียบ เข้าสู่อำนาจโดยวางแผนให้ขุนศึกลฺหวี่ ปู้/ลิโป้ (呂布) สังหารอุปราชต่ง จั๋ว/ตั๋งโต๊ะ (董卓) แต่ในไม่ช้า ผู้ใต้บัญชาของต่ง จั๋ว ก็ก่อการกำเริบ เป็นผลให้หวัง ยฺหวิ่น ถูกประหารพร้อมครอบครัว ในนวนิยายเรื่อง สามก๊ก (三國演義) หวัง ยฺหวิ่น เป็นบิดาบุญธรรมของตัวละครหญิงชื่อ เตียวฉัน/เตียวเสียน (貂蟬) ซึ่งเขาใช้ไปยุแยงให้ลฺหวี่ ปู้ และต่ง จั๋ว บาดหมางกัน จนลฺหวี่ ปู้ สังหารต่ง จั๋ว.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและอ้องอุ้น · ดูเพิ่มเติม »

ฌ้อปาอ๋อง

หน้ากากอุปรากรฌ้อปาอ๋อง ฌ้อปาอ๋อง หรือ ซีฉู่ป้าหวัง (Xīchǔ Bàwáng, 楚霸王) เป็นขุนศึกผู้ยิ่งใหญ่ในยุคปลายราชวงศ์ฉินที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์จีน เป็นคู่ปรับคนสำคัญของหลิวปังหรือจักรพรรดิฮั่นเกาจู ปฐมจักรพรรดิจีนราชวงศ์ฮั่น ฌ้อปาอ๋อง มีชื่อเดิมว่า เซี่ยงอวี่ (Xiang Yu, 项羽) เกิดเมื่อ 232 ปีก่อนคริสตกาล ตรงกับยุคจ้านกว๋อ ที่แคว้นฌ้อ หรือ แคว้นฉู่ (ปัจจุบันครอบคลุมดินแดนของมณฑลหูหนาน, มณฑลหูเป่ย์, ฉงชิ่ง, มณฑลเหอหนาน, มณฑลอานฮุย และบางส่วนของมณฑลเจียงซูและมณฑลเจียงซี) เป็นบุคคลที่ได้รับการกล่าวขานว่ามีพละกำลังมหาศาล สามารถยกกระถางธูปที่มีน้ำหนักนับร้อยกิโลกรัมไว้บนเหนือหัวได้ เกิดในตระกูลขุนศึก ได้รับการเล่าเรียนวิชายุทธและการศึกจาก เซี่ยงเหลียง (Xiang Liang, 項梁) ผู้เป็นอา ต่อมาเมื่อปลายราชวงศ์ฉิน เกิดกบฏชาวนาและอีกหลายกบฏต่อต้านราชวงศ์ฉิน เซี่ยงอวี่ก็เป็นหนึ่งในนั้นด้วย และด้วยความสามารถ ทำให้ได้เป็นผู้นำระดับแม่ทัพ และได้ร่วมมือกับหลิวปังในการโจมตีหัวเมืองต่าง ๆ โดยวีรกรรมครั้งสำคัญคือ เมื่อ 206 ปีก่อนคริสตกาล เซี่ยงอวี่นำทัพไปที่เมืองเสียนหยาง เมืองหลวงของราชวงศ์ฉิน ทั้งที่มีกองกำลังน้อยกว่ามากถึง 10 ต่อ 1 หลังจากข้ามแม่น้ำจางเหอไปแล้ว เซี่ยง หวี่ได้สั่งการให้ทหารทั้งหมดที่พกเสบียงอาหารแห้งจำนวนที่จะพอรับประทานได้ 3 วัน และให้ทุบหม้อสำหรับปรุงอาหาร และให้เจาะรูให้เรือที่ข้ามแม่น้ำมาให้รั่วทั้งหมด เพื่อที่จะเอาชนะให้ได้ ไม่เช่นนั้นก็ตายกันหมด ซึ่งวีรกรรมตรงนี้ได้กลายมาเป็นภาษิตในภาษาจีนที่ว่า "ทุบหม้อจมเรือ" อันหมายถึง สิ่งสำคัญที่ตัดสินชะตากรรม ซึ่งเซี่ยงอวี่ได้รับชัยชนะ แต่ปรากฏเป็นกองทัพของหลิวปังที่ได้เข้าสู่เมืองหลวงก่อน พร้อมกับได้นั่งบัลลังก์ฮ่องเต้ สร้างความไม่พอใจให้แก่เซียงอวี่ ต่อมา เซียงอวี่ได้ประกาศตนเองเป็น ฌ้อปาอ๋อง อันหมายถึง "อ๋องแห่งฌ้อผู้ยิ่งใหญ่" พร้อมกับได้สถาปนาให้หลิวปังมีบรรดาศักดิ์เป็น ฮั่นอ๋อง (King of Han, 汉王) ต่อมาเซี่ยงอวี่กับหลิวปังก็แตกแยกกัน ทั้งคู่ทำสงครามแย่งชิงราชบัลลังก์กันนานถึง 4 ปี ที่เรียกกันว่า สงครามฉู่-ฮั่น (Chu–Han contention, 楚汉战争) ในระยะแรก ฌ้อปาอ๋องที่มีกองกำลังมากกว่าได้รับชัยชนะต่อเนื่องกันหลายครั้ง แต่หลิวปังซึ่งได้รับการช่วยเหลือจากที่ปรึกษาและขุนพลคนสำคัญ คือ เตียวเหลียง (Zhang Liang 張良), เซี่ยวเหอ (Xiao He, 蕭何) และ ฮั่นสิน (Han Xin, 韓信) ทำให้ได้เปรียบได้ตอนท้าย และกลายมาเป็นฝ่ายยกกองทัพปิดล้อมกองทัพฌ้อ จนฌ้อปาอ๋องและหยูจี ซึ่งเป็นนางสนมไม่มีทางหนี ขณะที่กำลังถูกปิดล้อมอยู่นั้น กล่าวกันว่าฝ่ายฮั่นได้เล่นเพลงของฌ้อดังไปถึงกองทัพของฌ้อเพื่อข่มขวัญ ทำให้ฌ้อปาอ๋องเกิดมุทะลุบุกขึ้นมาตีฝ่าวงล้อม ซึ่งทำให้ต้องเสียไพร่พลที่เหลือน้อยอยู่แล้วลงไปอีก และตัวเองต้องหนีไปจนมุมที่แม่น้ำไก่เซี่ย (ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวันตกของมณฑลอานฮุย) และฆ่าตัวตายด้วยการเชือดลำคอด้วยดาบในที่สุด จบชีวิตลงเมื่อปี 202 ปีก่อนคริสตกาล ขณะที่มีอายุเพียง 30 ปีเท่านั้น เรื่องราวของฌ้อปาอ๋องได้รับการเล่าขานสืบต่อกันมาในวัฒนธรรมจีนจนถึงปัจจุบัน ซึ่งส่วนใหญ่บุคลิกของฌ้อปาอ๋อง จะเป็นไปในลักษณะของ ชายรูปร่างสูงใหญ่ บึกบึน ไว้หนวดไว้เครา อุปนิสัยโหดร้าย เจ้าอารมณ์ และมุทะลุดุดัน เนื่องจากการบุกเมืองเสียนหยาง ฌ้อปาอ๋องได้สั่งเผาและฝังทั้งเป็นทหารฉินถึง 200,000 นาย และต่อมาเมื่อมีอำนาจ ก็เป็นบุคคลเจ้าอารมณ์ไม่ฟังเสียงทัดทานของผู้คนรอบข้าง ผิดกับหลิวปัง ซึ่งใจเย็น สุขุม และมีเมตตากว่า จึงเป็นที่นิยมของราษฎร ขณะเดียวกันชีวิตส่วนตัวของฌ้อปาอ๋องกับนางสนมหยูจี ที่เป็นผู้หญิงที่สวยมาก ที่อยู่เคียงข้างจนวาระสุดท้าย ก็เป็นที่เล่าขานกัน ซึ่งก่อนที่ฌ้อปาอ๋องจะลุกขึ้นมานำทัพบุกฝ่าวงล้อมของกองทัพฮั่นนั้น ได้เข้าไปร่ำลานางหยูจี พร้อมกับตีกลองร้องเพลงที่มีความหมายถึงวาระสุดท้ายของชีวิตตนเอง ซึ่งเรียกว่า "เพลงแห่งไก่เซี่ย" (Song of Gaixia, 垓下歌) ที่อาจถอดความหมายได้ว่า ซึ่งเรื่องราวของฌ้อปาอ๋อง ได้บันทึกไว้ในวรรณคดีเรื่องสำคัญแห่งการสถาปนาราชวงศ์ฮั่น คือ ไซฮั่น และในยุคปัจจุบันได้กลายเป็นตัวละครสำคัญในวัฒนธรรมร่วมสมัยมากมาย เช่น ภาพยนตร์เรื่อง The Great Conqueror's Concubine ในปี ค.ศ. 1993 นักแสดงผู้ที่รับบทฌ้อปาอ๋อง คือ หลี่ เหลียงเหว่ย หรือละครโทรทัศน์ทุนสร้างสูงในปี ค.ศ. 2011 ซึ่งผู้รับบทนี้ คือ เหอ ยุ่นตง หรืออ้างอิงถึงในภาพยนตร์เรื่อง Farewell My Concubine ในปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและฌ้อปาอ๋อง · ดูเพิ่มเติม »

จอมยุทธ์พเนจร

อมยุทธ์พเนจร เป็น คำเรียก ผู้กล้านักสู้ ที่ร่อนพเร่ไปที่ต่างๆของจีน ในยุคระหว่าง ราชวงศ์ฮั่น และ ราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจอมยุทธ์พเนจร · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง

หวียนฮุ่ยจง (25 พฤษภาคม ค.ศ. 1320 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1370) หรือ ถั่วฮฺวัน เทียมู่เอ่อร์ (Toghon Temür) เสด็จสวรรคตแล้วจึงได้พระนามว่า ยฺเหวียนชุ่นตี้ เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หยวน (ยฺเหวียน) ใน..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งไท่จง

220px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จง (1482-1540) มีพระนามเดิมว่า เจ้ากวงอี้ ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจักรพรรดิซ่งไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีจางหฺวาย

ักรพรรดินีจางหฺวาย หรือ พันฮูหยิน (潘夫人) (ค.ศ. 968-ค.ศ. 989) เป็นธิดาของพัน เหม่ย์ (潘美) ขุนศึกราชวงศ์ซ่ง และสมรสกับองค์ชายเจ้า เหิง (趙恆) ได้รับพระนามว่า "จู่กั๋วฮูหยิน" (莒国夫人) แต่สิ้นพระชนม์ไปก่อนที่พระสวามีจะครองราชย์เป็นจักรพรรดิซ่งเจินจงในปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจักรพรรดินีจางหฺวาย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีซ่ง (ราชวงศ์ซ่ง)

ักรพรรดินีซ่ง (Empress Song; 952 — 995) ฐานันดรศักดิ์ จักรพรรดินีเซี่ยวจาง จักรพรรดินีแห่ง ราชวงศ์ซ่ง โดยอภิเษกเป็นจักรพรรดินีองค์ที่ 2 ใน จักรพรรดิซ่งไท่จู่ พระนางมาจากการเป็นเชื้อพระวงศ์โดยพระอัยกาฝ่ายพระมารดา (ตา) คือ ปฐมจักรพรรดิ ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง หลิว จือ-ยฺเหวี่ยน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระบิดา (ปู่) คือ ปฐมจักรพรรดิ ราชวงศ์ถังยุคหลัง หลี่ ฉุนซฺวี.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจักรพรรดินีซ่ง (ราชวงศ์ซ่ง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเหวย์

ักรพรรดินีเหวย์ ชื่อตัวไม่ทราบ เป็นฮองเฮา (皇后) แห่งราชวงศ์ถังของประเทศจีน เป็นมเหสีองค์ที่สองของจักรพรรดิถังจงจง (唐中宗) ซึ่งครองราชย์สองครั้ง เมื่อถังจงจงสิ้นพระชนม์โดยร่ำลือกันว่า เป็นผลมาจากการวางยาขอพระนางเหวย์ และองค์หญิงอันเล่อ (安樂公主) ผู้เป็นธิดา พระนางเหวย์ก็ยึดอำนาจการปกครองแผ่นดินและพยายามขึ้นเป็นกษัตริย์หญิงทำนองเดียวกับพระนางอู่ เจ๋อเทียน (武則天) ผู้เป็นแม่ผัว แต่ไม่สำเร็จ ในไม่ช้า องค์หญิงไท่ผิง (太平公主) น้องสาวของถังจงจง และหลี่ หลงจี (李隆基) หลานชายของถังจงจง รวมกำลังกันมาปราบปราม พระนางเหวย์ถูกทหารตัดศีรษะสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจักรพรรดินีเหวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จัง เหิง

ัง เหิง (Zhang Heng; ค.ศ. 78, มณฑลเหอหนาน - ค.ศ. 139, ลั่วหยาง) ปราชญ์ชาวจีน นักพรต สังฆราชศาสนาเต๋า ในราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เป็นบุคคลผู้มีความรู้ในหลายๆ ด้านสาขา ไม่ว่าจะเป็นคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์หรือวรรณคดี.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจัง เหิง · ดูเพิ่มเติม »

จาง เฟิงอี้

ง เฟิงอี้ เกิดเมื่อวันที่ 1 กันยายน..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจาง เฟิงอี้ · ดูเพิ่มเติม »

จาง เหมิง (นักแสดง)

ง เหมิง (Lemon Zhang) เป็นนักแสดงชาวจีน เกิดเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2531 ที่เหอหนาน ประเทศจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจาง เหมิง (นักแสดง) · ดูเพิ่มเติม »

จู ถิง (นักวอลเลย์บอล)

ู ถิง (朱婷; Zhu Ting; เกิด 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1994 —) เธอเป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงชาวจีน ในตำแหน่งตัวตบหัว.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจู ถิง (นักวอลเลย์บอล) · ดูเพิ่มเติม »

จูกัดเหลียง

ูกัดเหลียง ภาพวาดจากหนังสือ "Wan hsiao tang-Chu chuang -Hua chuan"(晩笑堂竹荘畫傳) จูกัดเหลียง (Zhuge Liang) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ขงเบ้ง (孔明; Kǒngmíng) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก นอกจากนี้ยังมีฉายาอื่นเช่น มังกรหลับ (臥龍先生) หรือ (伏龍) เป็นนักการเมืองสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นของจีน หรือในสมัยหลังราชวงศ์ฮั่นหากกล่าวอ้างอิงตามประวัติศาสตร์ จูกัดเหลียงดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาด้านการยุทธนาการของพระเจ้าเล่าปี่ในตำแหน่งสมุหนายกและผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งจ๊กก๊ก รวมทั้งมีความสามารถในด้านการเมือง การทูต นักปราชญ์ วิศวกรและได้ชื่อว่าเป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้นที่สำคัญ โดยคิดค้นหมั่นโถว หน้าไม้กล โคมลอยและระบบชลประทาน ศิลปินมักวาดภาพให้จูกัดเหลียงสวมชุดยาวแบบนักปราชญ์ สวมหมวก และถือพัดขนนกกระเรียน (บ้างก็ว่า ขนนก ขนห่าน) อยู่ในมือเสมอ โดยขงเบ้งเป็นชื่อรอง เป็นบุตรชายคนที่ 2 ของ จูเก๋อกุย ขุนนางตงฉินของพระเจ้าเหี้ยนเต้ โดยขงเบ้งมีพี่ชาย และน้องชายอย่างละคน คือ จูเก๋อกึ๋น พี่ชาย เป็นที่ปรึกษาของง่อก๊ก และน้องชาย จูเก๋อจิ๋น ขงเบ้ง เป็นผู้ฉลาดปราดเปรื่อง รอบรู้สรรพวิชาอย่างแตกฉาน ทั้งวิทยาศาสตร์ โหราศาสตร์ การเมืองการปกครอง การทูต และแม้กระทั่งไสยศาสตร์ มีอุปนิสัยใจคอเยือกเย็น มีเมตตา ชอบลองดีกับผู้ที่อวดโอ้ อุดมด้วยวาทะศิลป์ ใช้ชีวิตอยู่อย่างสงบกับชาวบ้าน ที่เชิงเขาโงลังกั๋ง โดยช่วยเหลือชาวบ้านในการทำนาต่าง ๆ จนเป็นที่นับถือของชาวบ้าน ขงเบ้งมักจะเสวนากับผู้รู้เสมอ ๆ โดยเพื่อนร่วมวงเสวนากับเขานั้นได้แก่ ชีซี สื่อกวงเหวียน เมิ่งกงเวย และซุยเป๋ง และขงเบ้งมักจะยกตัวเองเทียบกับขวันต๋งและงักเย สองยอดนักปราชญ์ยุคชุนชิวและราชวงศ์ฉิน ซึ่งเพื่อน ๆ มักแปลกใจที่ขงเบ้งกล้ายกตนเช่นนั้น มีแต่ชีซีเท่านั้น ที่เชื่อว่าไม่ได้เป็นการยกตนเกินเลยไปเลย ขงเบ้ง มาเป็นกุนซือให้เล่าปี่จากการได้รับคำแนะนำจากชีซี โดยเล่าปี่ต้องมาคาราวะขงเบ้งถึงกระท่อมไม้ไผ่ ที่เขาโงลังกั๋ง ถึง 3 ครั้ง 3 ครา เมื่อขงเบ้งอายุได้เพียง 26 แต่ระยะแรกนั้น ขงเบ้งมิได้เป็นที่ยอมรับของบรรดานายทหารจ๊กก๊ก รวมทั้งกวนอูและเตียวหุยด้วย แต่เมื่อขงเบ้งได้แสดงฝีมือให้ปรากฏด้วยการทลายทัพของโจโฉที่เนินพกบ๋องแล้ว ขงเบ้งก็กลายเป็นที่นับถือและเลื่องลือถึงความสามารถอันปราดเปรื่อง ขงเบ้ง ยามออกศึก จะบัญชาการการรบบนรถเลื่อน โดยมีหมวกและพัดขนนกเป็นของประจำตัว ขงเบ้งเป็นผู้รอบรู้สรรพวิชาอย่างถ่องแท้ มองจิตใจคนทะลุปรุโปร่ง ทำนายเหตุการณ์ล่วงหน้าได้แม่นยำ จึงสามารถล่วงรู้ได้ถึงสภาพดินฟ้าอากาศ สามารถเรียกลมได้ ผู้คนจึงกล่าวขานว่า เป็นผู้หยั่งรู้ดินฟ้า ขงเบ้ง เป็นกำลังสำคัญของแคว้นจ๊กก๊ก ภายหลังการสิ้นของเล่าปี่ กวนอู เตียวหุย ผู้นำคนสำคัญ โดยขงเบ้งมีฐานะเป็นเสนาบดีใหญ่ (เสิงเสี้ยน) ดูแลกิจการแทบทุกอย่างของจ๊กก๊ก เนื่องจากความอ่อนแอของพระเจ้าเล่าเสี้ยน (อาเต๊า) ขงเบ้งประสบความสำเร็จจากการยกทัพไปปราบเบ้งเฮ็ก อานารยชนที่แดนใต้ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเลยในการยกทัพบุกเหนือถึง 5 ครั้ง เพื่อพิชิตแคว้นวุยก๊ก บั้นปลายชีวิต ขงเบ้งเจ็บออด ๆ แอด ๆ เสมอ ๆ ขงเบ้งสิ้นอายุเมื่อได้ 54 ปี บนรถม้ากลางสนามรบ ก่อนสิ้นชีพ ขงเบ้งได้ตรวจดวงชะตาตนเองแล้วรู้ว่า ใกล้ดับ จึงทำพิธีต่อชะตาอายุ แต่พิธีต้องล่มกลางคัน เมื่ออุยเอี๋ยน ทหารคนหนึ่งวิ่งทะเล่อทะล่าเข้ามา จนตะเกียงน้ำมันดับลง.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจูกัดเหลียง · ดูเพิ่มเติม »

จงฮิว

งฮิว (Zhong Yao, ค.ศ. 151 — ค.ศ. 230) มีชื่อรองว่า เหวียนฉาง เป็นขุนนางในสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็น ราชครูแห่งวุยก๊ก ในช่วง ยุคสามก๊ก จงฮิวเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและจงฮิว · ดูเพิ่มเติม »

ถ้ำหลงเหมิน

้ำผาหลงเหมิน (หลงเหมินฉือคู) เป็นกลุ่มถ้ำบนหน้าผา ห่างออกไปทางใต้ 12 กิโลเมตรจากเมืองลั่วหยาง ในมณฑลเหอหนาน ประเทศจีน อยู่ระหว่างภูเขาเซียงทางทิศตะวันออกกับภูเขาหลงเหมินทางทิศตะวันตก หันหน้าออกสู่ริมฝั่งแม่น้ำอี้ พื้นที่บริเวณกลุ่มถ้ำมีความยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต้ประมาณ 1 กิโลเมตร จัดว่าเป็น 1 ใน 3 แหล่งปฏิมากรรมโบราณที่ประกอบด้วยถ้ำมั่วเกา ถ้ำหลงเหมิน และถ้ำยฺหวินกัง ที่มีชื่อเสียงที่สุดในจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและถ้ำหลงเหมิน · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 34

ทางหลวงเอเชียสาย 34 (AH34) เป็นถนนในแนวตะวันออก–ตะวันตกในโครงข่ายทางหลวงสายเอเชีย มีระยะทาง 1,033 กิโลเมตร (6,450 ไมล์) จากเมืองเหลียนหยุนก่าง ประเทศจีน ผ่าน 4 มณฑล ได้แก่ มณฑลเจียงซู มณฑลอานฮุย มณฑลเหอหนาน มณฑลส่านซี และสิ้นสุดที่ทางหลวงเอเชียสาย 5 ในเมืองซีอาน มณฑลส่านซี.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและทางหลวงเอเชียสาย 34 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเจิ้งโจวซินเจิ้ง

ท่าอากาศยานนานาชาติเจิ้งโจวซินเจิ้ง เป็นท่าอากาศยานหลักของเมืองเจิ้งโจว มณฑลเหอหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ท่าอากาศยานนานาชาติเจิ้งโจวซินเจิ้ง อยู่ห่างจากตัวเมืองเจิ้งโจว ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 37 กิโลเมตร ท่าอากาศยานแห่งนี้เปิดใช้เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม..1997 ซึ่งถือเป็นท่าอากาศยานนานาชาติแห่งที่ 21 ของประเทศจีน เพื่อใช้งานแทนท่าอากาศยานตงเจียว ที่ตั้งอยู่ใกล้กับใจกลางเมืองเจิ้งโจว ท่าอากาศยานแห่งนี้เที่ยวบินที่ให้บริการทั้งในประเทศและในภูมิภาคจากท่าอากาศยานใหญ่ๆ ในประเทศจีน และยังมีเที่ยวบินขนส่งสินค้าไปยังภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ตลอดจนเที่ยวบินเช่าเหมาลำมายังประเทศไทยในช่วงฤดูท่องเที่ยวอีกด้ว.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและท่าอากาศยานนานาชาติเจิ้งโจวซินเจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ขับเจ้ง

ับเจ้ง (Xi Zheng, ? — ค.ศ. 278) มีชื่อรองว่า หลิงเซี่ยน เกิดที่เมืองอี๋หยัง (อวี๋เอี้ยง) มณฑลเหอหนาน เป็นเสนาธิการแห่ง จ๊กก๊ก ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก บิดาของขับเจ้งเคยรับใช้ วุยก๊ก และได้มารับใช้ จ๊กก๊ก เมื่อขับเจ้งยังเล็กแต่ก็ตายจากไปเมื่อขับเจ้งยังเด็กทำให้ตัวของขับเจ้งต้องเรียนรู้ด้วยตนเอง เมื่อ จ๊กก๊กยอมแพ้ต่อวุยก๊ก ใน..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและขับเจ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ขันที

หลี่เสียน ค.ศ. 706 ขันที คือ ชายที่ถูกตอน บางประเทศทางเอเชียสมัยโบราณใช้สำหรับควบคุมฝ่ายใน ในภาษาจีนเรียกว่า ไท้เจี๋ยน หรือไท้ก๋ำ (ฮกเกี้ยน:太監,ไท้ก่ำ) ในภาษาละตินและอาหรับเรียกว่ายูนุก (Eunuch) โดยมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคำว่า ยูโนคอส (eunouchos) แปลว่าผู้ดูแลรักษาเตียง ส่วนชนชาติมอญเรียกขันทีว่า กมนุย (อ่านว่า ก็อมนอย) แปลว่า ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทาง.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและขันที · ดูเพิ่มเติม »

ขงมอ

งมอ มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าข่งโจ้ว (เสียชีวิตราวปี พ.ศ. 733) มีชื่อรองว่ากงซฺวี่ เป็นขุนศึกในช่วงปลายสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ต่อมา ตั๋งโต๊ะ ได้แต่งตั้งให้ขงมอเป็นผู้ตรวจการแห่งอิจิ๋วหลังจากนั้นไม่นานขงมอได้เข้าร่วมกองทัพพันธมิตรปราบตั๋งโต๊ะที่มี อ้วนเสี้ยว เป็นผู้นำแต่ขงมอถึงแก่กรรมหลังจากนั้นไม่นานในราวปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและขงมอ · ดูเพิ่มเติม »

ขงหยง

งหยง หรือ ขงเล่ง มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่า ข่งหรง() (ค.ศ. 153 - ค.ศ. 208) มีชื่อรองว่าเหวินจฺวี่ เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก เป็นชาวเมืองซีฟู่ ในเขตแคว้นหลู่โก้วะ (โลก๊ก) อันเป็นที่เกิดของขงจื้อ เป็นเชื้อสายของขงจื้อลำดับที่ 20 มีสติปัญญาเฉียบแหลม เมื่ออายุ 10 ขวบได้ไปหาหลี่อิ๋ง เจ้าเมือง คนเฝ้าประตูไม่ให้เข้า ขงหยงอ้างว่าเป็นเพื่อนสนิทของเจ้าเมืองจึงเข้าได้ เมื่อหลีอิ๋งถามว่า เป็นเพื่อนสนิทมาตั้งแต่ครั้งไหน ขงหยงตอบว่า บรรพบุรุษของข้าพเจ้า (คือขงจื้อ) ได้ไปถามความรู้เกี่ยวกับประเพณี จากบรรพบุรุษของท่าน (คือ เล่าจื๊อ ซึ่งชื่อจริงว่า หลีเอ๋อ) จึงถือว่าสกุลเราสนิทมาหลายชั่วคนแล้ว หลีอิ๋งประหลาดใจในสติปัญญาของเด็กน้อยผู้นี้มาก พอดีเฉินวุ่ย ขุนนางผู้ใหญ่ตำแหน่งต้าจงต้าฟูมาเยี่ยมหลีอิ๋งจึงเล่าให้เฉินวุ่ยฟัง เฉินวุ่ยก็ว่า เด็กฉลาดไม่แน่นักที่โตขึ้นจะฉลาดเสมอไป ขงหยงโต้ว่า ตัวท่านเองก็เป็นเด็กฉลาดมาก่อนไม่ใช้หรือ พูดคำนี้ทั้งหลีอิ๋งกับเฉินวุ่ย ก็หัวเราะขึ้นพร้อมกัน โตขึ้น ขงหยงได้ดำรงตำแหน่งราชการเป็นจงหลังเจี้ยง เจ้าเมื่องปักไฮ ประชาชานิยมรักใคร่มาก ชอบยกคำโบราณมาพูดเสมอว่า “ในห้องพรั่งพร้อมด้วยเพื่อน ในแก้วเอิบอาบด้วนน้ำเหล้า” เป็นผู้จัดตั้งสถานศึกษาศิลปะวรรณคดี และได้ชื่อว่าเป็นปราชญ์คนหนึ่งใน 7 ของราชสมัยพระเจ้าเหี้ยนเต้ ครั้งหนึ่งโจโฉต้องการคนดีมีฝีปากไปเกลี้ยวกล่อมเล่าเปียว ผู้ครองแคว้นเกงจิ๋ว มีผู้เสนอให้วานขงหยง แต่ขงหยงไม่ยอมรับ แนะนำให้วานยีเอ๋ง ซึ่งเป็นเพื่อนรักไปแทน แต่ยีเอ๋งเป็นปราชญ์ที่พูดมากเกินไป ชอบยกตนข่มท่าน การเกลี้ยกล่อมจึงไม่สำเร็จ เนื่องจากคอยขัดคอโจโฉบ่อย ๆ โจโฉจึงไม่ชอบ ครั้งสุดท้ายขัดคอไม่ให้ยกทัพไปปราบเล่าปี่ อ้างว่าเล่าปี่เป็นเชื้อสายพระเจ้าเหี้ยนเต้ และตั้งหลักมั่นคงที่เกงจิ๋วแล้ว โจโฉโกรธ ให้จับขงหยงประหารชีวิตเสีย ขณะที่บุตรกำลังเล่นหมากรุกกันอยู่คนใช้วิ่งมาบอกข่าว และให้ขอให้หนีไปเสีย บุตรขงหยงคนที่สองตอบว่า “ซึ่งท่านเอ็นดูแก่เรานี้คุณก็หาที่สุดมิได้ แต่ธรรมดานกทั้งปวงซึ่งตกฟองในรัง แม้ว่ารังทำลายแล้ว ฟองนั้นก็ตกแตก มิอาจสามารถตั้งอยู่ได้ และบิดาเราถึงแก่ความตายแล้ว บัดนี้ตัวเราผู้เป็นบุตรหรือจะหนีพ้น” พูดมิทันขาดคำทหารโจโฉก็เข้ามาล้อมเรือนจับบุตรภรรยาขงหยงไปฆ่าเสียสิ้น แล้วโจโฉให้เอาศพขงหยงไปประจานไว้ที่สามแพร่ง รูปขงหยงจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและขงหยง · ดูเพิ่มเติม »

งอฮูหยิน

งอฮูหยิน (? — 245) พระนามเดิม ไม่ทราบ ฐานันดรศักดิ์ จักรพรรดินีมู่ (Empress Mu) จักรพรรดินีแห่ง จ๊กก๊ก ระหว่าง ยุคสามก๊ก ของจีนเป็นน้องสาวของ งออี้ ส่วนพระบิดาของพระนางไม่ปรากฏชื่อในประวัติศาสตร์เป็นเพื่อนกับ เล่าเอี๋ยน และติดตามเล่าเอี๋ยนมายัง เอ๊กจิ๋ว เมื่อเล่าเอี๋ยนได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าเมืองและด้วยความเป็นเพื่อนพระบิดาของพระนางและเล่าเอี๋ยนได้จัดให้พระนางแต่งงานกับบุตรชายของเล่าเอี๋ยน เล่ามอ แต่หลังจากเล่ามอเสียชีวิตพระนางก็ไม่ได้แต่งงานอีก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและงอฮูหยิน · ดูเพิ่มเติม »

งักฮุย

งักฮุย (สำเนียงแต้จิ๋ว) หรือ เยว่ เฟย์ (สำเนียงจีนกลาง) (24 มีนาคม ค.ศ. 1103 - 27 มกราคม ค.ศ. 1142) เป็นนักรบกู้ชาติคนสำคัญซึ่งมีชื่อเสียงมากผู้หนึ่งในประวัติศาสตร์ประเทศจีน มีชีวิตอยู่ในยุคราชวงศ์ซ่งใต้ เป็นแม่ทัพผู้ต่อต้านการรุกรานของชนเผ่าจิน ถูกใส่ความโดยศัตรูทางการเมืองจนต้องโทษประหารชีวิต หลังจากนั้นจึงได้รับยกย่องเป็นแบบอย่างแห่งความซื่อสัตย์ในวัฒนธรรมจีน ในปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและงักฮุย · ดูเพิ่มเติม »

ตันก๋ง

ฉิน กง ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ ตันก๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ตาย ค.ศ. 198) ชื่อรองว่า กงไถ (公臺) เป็นข้าราชการชาวจีนสมัยปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก รับใช้ขุนศึกเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ต่อมาเป็นที่ปรึกษาของขุนศึกลฺหวี่ ปู้/ลิโป้ (呂布) หลังจากเฉา เชา พิชิตลฺหวี่ ปู้ ในยุทธการเซี่ยพี (下邳之戰) แล้ว ก็ประหารเฉิน กง พร้อมกับลฺหวี่ ปู้ ในนวนิยายสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 เรื่อง สามก๊ก (三國演義) เฉิน กง เป็นข้าราชการชั้นผู้น้อยในราชวงศ์ฮั่น แต่เลื่อมใสเฉา เชา ที่คิดกำจัดทรราชต่ง จั๋ว/ตั๋งโต๊ะ (董卓) จึงละทิ้งราชการออกติดตามเฉา เชา แต่เมื่อเห็นเฉา เชา สังหารลฺหวี่ ปั๋วเชอ/ลิแปะเฉีย (呂伯奢) ทั้งตระกูลด้วยความเข้าใจผิด เฉิน กง จึงผละหนีจากเฉา เชา ไปเข้ากับลฺหวี่ ปู้ ท้ายที่สุดก็ถูกเฉา เชา ประหารพร้อมลฺหวี่ ปู้ เช่นเดียวกับในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและตันก๋ง · ดูเพิ่มเติม »

ตันฮก

ีซี (Xu Shu) หรือตันฮก (Shan Fu) ได้รับฉายาจากยาขอบว่าเป็น "ผู้เผ่นผงาดเหนือเมฆ" มีชื่อรองว่า เหวียนจื่อ เป็นชาวเมืองเองจิ๋ว มณฑลเหอหนาน เมื่อเยาว์วัยร่ำเรียนวิชากระบี่ เติบใหญ่ขึ้นมาได้ศึกษาศิลปศาสตร์ ยุทธศาสตร์ต่าง ๆ จนชำนาญ โดยเป็นศิษย์ของสุมาเต็กโชได้ร่วมสำนักเดียวกับขงเบ้ง และบังทอง เมื่อยามว่างมักจะถกเถียง หารือกับขงเบ้งเสมอ ๆ ต่อมาเมื่อเกิดกลียุค ชีซีได้ฆ่าขุนนางชั่วผู้หนึ่งตาย จึงหลบหนีมาและปลอมชื่อว่าตันฮก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและตันฮก · ดูเพิ่มเติม »

ตั้งอึ๊ง

ตั้งอึ๊ง หรือรูบาบจีน อยู่ในวงศ์ Polygonaceae ภาษาจีนกลางเรียกต้าหวางหรือย่างย่งต้าหวาง เป็นไม้ล้มลุกขนาดใหญ่ รากและเหง้าอ้วนสั้น เปลือกต้นเป็นร่องตามยาว พองตามข้อ ใบหยักเป็นแฉก ดอกช่อ ดอกย่อยออกเป็นกระจุก สีเขียวหรือขาวอมเหลือง ผลแห้ง เมล็ดล่อน เป็นพืชพื้นเมืองในจีนพบในมณฑลฝูเจี้ยน กุ้ยโจว เหอหนาน หูเป่ย์ ชานซี เสฉวน และยูนนาน ในจีนปลูกเพื่อใช้เป็นยา พืชชนิดนี้มีการศึกษาทางคลินิกในการใช้กำจัดไวรัสเฮปาทิทิสบี ซึ่งการใช้ร่วมกับอินเตอร์เฟียรอนให้ผลที่เป็นที่พอใ.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและตั้งอึ๊ง · ดูเพิ่มเติม »

ตี๋ ชิง

ตี๋ ชิง ตามสำเนียงกลาง หรือ เต็ก เช็ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 1008–1057) เป็นแม่ทัพในยุคราชวงศ์ซ้องที่มีชื่อเสียงปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์และพงศาวดารของจีน ตี๋ ชิง เกิดในครอบครัวที่ยากจน ณ บริเวณซึ่งปัจจุบันคือ เมืองเฟิงหยาง มณฑลซานซี ไต่เต้าจนกระทั่งได้มาเป็นแม่ทัพใหญ่ในยุคของเหรินจงฮ่องเต้ เรื่องราวของตี๋ ชิง ปรากฏอยู่ในพงศาวดารจีนชื่อว่า 萬花樓 แต่เป็นการเอาประวัติศาสตร์จริง ๆ มาแต่งเติมว่า เป็นขุนทหารที่จงรักภักดีต่อฮ่องเต้อย่างสูง แม้เป็นแม่ทัพ แต่เมื่อออกรบ จะอยู่แนวหน้าพร้อมทหารเลว จึงเป็นที่เคารพของไพร่พล และเมื่อออกรบจะสวมหน้ากากปิศาจที่ทำจากหนังสัตว์เพื่อปกปิดใบหน้าตน เพราะเคยกระทำผิดจนถูกสักที่ใบหน้า และเพื่อข่มขวัญข้าศึกด้วย ต่อมา ตี๋ ชิง ถูกใส่ความ และได้เปาบุ้นจิ้น ชำระคดีให้ ทั้งยังระบุว่า ตี๋ ชิง เป็นดาวบู๊จุติมาคู่กับเปาบุ้นจิ้นซึ่งเป็นดาวบุ๋น โดยตี๋ ชิง เป็นผู้ที่ไต่เต้าขึ้นมาจนเป็นบัณฑิตและแม่ทัพใหญ่ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการสำนักกิจการทหาร (樞密副使) โดยมีผลงานการรบทั้งหมด 25 ครั้ง การรบที่เป็นที่เลื่องลือรู้จักดีที่สุด คือ การบุกจู่โจมที่ช่องเขาคุนหลุนในเวลากลางคืน ในวันแรกตามปฏิทินจันทรคติเมื่อ..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและตี๋ ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ตี๋ เหรินเจี๋ย

ตี๋ เหรินเจี๋ย ตามสำเนียงจีนกลาง หรือ เต๊ก ยิ่นเกี๊ยด ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 630 — 15 สิงหาคม ค.ศ. 700) หรือชื่อรองว่า ไหวฺอิง เป็นอัครมหาเสนาบดีแห่งราชวงศ์ถัง ในรัชศกอู่ เจ๋อเทียน (บูเช็กเทียน) เป็นข้าราชการหนึ่งในหลาย ๆ คนซึ่งได้รับการสรรเสริญมากที่สุดในรัชศกดังกล่าว และเป็นที่สดุดีว่ามีบทบาทผลักดันให้อู่ เจ๋อเทียนเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบอันโหดร้ายเป็นระบอบอันเชิดชูคุณธรรม.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและตี๋ เหรินเจี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

ซูสีไทเฮา

ฉือสี่ไท่โฮ่ว ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ซูสีไทเฮา ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908) เป็นสตรีชาวแมนจูจากตระกูลเย่เฮ่อน่าลา (葉赫那拉氏) ดำรงตำแหน่งไท่โฮ่ว (พระราชชนนีพันปีหลวง) และสำเร็จราชการแทนจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ในช่วงปลายราชวงศ์ชิง พระนางจึงควบคุมการปกครองจักรวรรดิจีนโดยพฤตินัยเป็นเวลา 47 ปีตั้งแต..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและซูสีไทเฮา · ดูเพิ่มเติม »

ซ่งเจียง

ซ่งเจียง หรือซ้องกั๋ง ในสำเนียงแต้จิ๋ว เป็นผู้นำกลุ่มกบฏคนสำคัญในสมัยราชวงศ์ซ่ง เคยครองความเป็นใหญ่ในบริเวณมณฑลซานตงและมณฑลเหอหนาน ก่อนที่จะยอมสวามิภักดิ์ต่อราชสำนักในภายหลัง ซ่งเจียงยังเป็นตัวละครหลักในวรรณกรรมเรื่องสุยหู่จ้วน ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีน ซ่งเจียงถูกจัดอยู่อันดับแรกใน36ดาวฟ้าแห่ง108 ผู้กล้าหาญแห่งเขาเหลียงซาน มีฉายาว่า "พิรุณทันกาล" (及時雨).

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและซ่งเจียง · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์จีน

ตพื้นที่ของราชวงศ์ต่างๆตามประวัติศาสตร์ของจีน ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอารยธรรมยาวนานที่สุดประเทศหนึ่ง โดยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถค้นคว้าได้บ่งชี้ว่าอารยธรรมจีนมีอายุถึง 5,000 ปี รากฐานที่สำคัญของอารยธรรมจีนคือ การสร้างระบบภาษาเขียน ในยุคราชวงศ์กอณัฐ (ศตวรรษที่ 58 ก่อน ค.ศ.) ให้เป็นภาษากลางใช้ได้ทั่วประเทศ เป็นครั้งแรกในโลก (ไม่ว่าชนเผ่าใดๆจะพูดต่างกัน สำเนียงต่างกัน แต่ใช้ตัวเขียนเหมือนกัน) และการพัฒนาแนวคิดลัทธิขงจื๊อ เมื่อประมาณ ศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. ประวัติศาสตร์จีนมีทั้งช่วงที่เป็นปึกแผ่นและแตกเป็นหลายอาณาจักรสลับกันไป ในบางครั้งก็ถูกปกครองโดยชนชาติอื่น เช่น มองโกล แมนจู ญี่ปุ่น วัฒนธรรมของจีนมีอิทธิพลอย่างสูงต่อชาติอื่นๆ ในทวีปเอเชีย และในสังคมโลก ยุคก่อนประวัติศาสตร์นั้นไม่มีหลักฐานแน่ชัดนักว่าเริ่มต้นเมื่อไร แต่จากการขุดพบวัตถุโบราณตามลุ่มแม่น้ำฉางเจียงและหวางเหอ แบ่งช่วงเวลานี้ออกได้เป็นสังคมสองแบบ แบบแรกเป็นช่วงที่ผู้หญิงเป็นใหญ่เรียกว่าช่วงวัฒนธรรมหยางเซา และช่วงที่ผู้ชายเป็นใหญ่เรียกว่าวัฒนธรรมหลงซาน ตำนานเล่ากันว่าบรรพบุรุษจีนมีชื่อเรียกว่า หวางตี้ และ เหยียนตี้.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและประวัติศาสตร์จีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

แบล็กเดท

การฝังศพผู้เสียชีวิตจากแบล็กเดทในเมืองตูร์แน ภาพประกอบจากบันทึกของฌีล ลี มุยซี (Gilles Li Muisis) อธิการอารามนักบุญมาร์แต็งแห่งตูร์แน แบล็กเดท (Black Death) หรือ กาฬมรณะ เป็นโรคระบาดทั่วครั้งที่ก่อความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษย์ ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิตประเมินไว้ราว 75 ถึง 100 ล้านคน และทวีความรุนแรงที่สุดในทวีปยุโรประหว่างปี 1348–50 การวิเคราะห์ดีเอ็นเอของผู้เสียชีวิตในทวีปยุโรปตอนเหนือและใต้บ่งชี้ว่า จุลชีพก่อโรคอันเป็นสาเหตุของโรค คือ แบคทีเรีย Yersinia pestis ซึ่งอาจก่อกาฬโรคได้หลายแบบ คาดว่าแบล็กเดทเริ่มต้นในจีนหรือเอเชียกลาง จากนั้นแพร่มาตามเส้นทางสายไหมและถึงไครเมียในปี 1346 และหมัดหนูตะวันออก (Xenopsylla cheopis) ซึ่งอาศัยอยู่ในหนูดำอันอยู่บนเรือพาณิชย์ทั่วไป น่าจะเป็นตัวนำโรคจากไครเมีย กาฬโรคได้แพร่ไปทั่วเมดิเตอร์เรเนียนและทวีปยุโรป ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตเป็น 30–60% ของประชากรทั้งทวีปยุโรป กาฬโรคลดประชากรโลกจากที่ประเมินไว้ 450 ล้านคน ลงเหลือ 350–375 ล้านคนในคริสต์ศตวรรษที่ 14 กาฬโรคมีผลต่อเส้นทางประวัติศาสตร์ยุโรป ก่อให้เกิดทั้งกลียุคทางศาสนา สังคมและเศรษฐกิจ ประชากรยุโรปกว่าจะกลับคืนจำนวนก็ใช้เวลา 150 ปี กาฬโรคอุบัติซ้ำเป็นครั้งคราวในทวีปยุโรปกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและแบล็กเดท · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำหวง

แม่น้ำหวางเหอที่น้ำตกหูโกว แม่น้ำหวางเหอช่วงที่ไหลผ่านมณฑลกานซู แม่น้ำหวางเหอ, หวง หรือ แม่น้ำฮวง, ฮวงโห (แปลว่า แม่น้ำเหลือง) เป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับสองของประเทศจีน รองจากแม่น้ำแยงซี และเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่ 6 ของโลก มีความยาว 3,395 ไมล์ หรือ 5,464 กิโลเมตร สูงเหนือระดับน้ำทะเล ถึง 5,400 เมตร (ยาวกว่าแม่น้ำเจ้าพระยาถึง 15 เท่า) ไหลจากฝั่งตะวันตกมาทางตะวันออก ผ่านมณฑลชิงไห่, เสฉวน, กานซู, หนิงเซี่ย, มองโกเลียใน, ซานซี, เหอหนาน และออกสู่ทะเลโป๋ (โป๋ไห่) ใน มณฑลซานตง ซึ่งเป็นทะเลในอ่าวทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีน น้ำในแม่น้ำหวางเหอ เป็นสีเหลืองเนื่องจากมีตะกอนดินทรายพัดพามาจากทิศตะวันตก ยังความอุดมสมบูรณ์ในการเพาะปลูกให้เกิดขึ้นสองฟากฝั่งแม่น้ำ ในขณะเดียวกันก็เกิดภาวะน้ำล้นตลิ่ง เกิดอุทกภัยหลายครั้งซึ่งแต่ละครั้งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินของผู้คนอย่างมากมายมหาศาล จึงได้รับฉายาว่า "แม่น้ำวิปโยค" (悲劇河) ลุ่มแม่น้ำหวางเหอเป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมจีนมาช้านาน ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีการขุดค้นพบซากฟอสซิลมนุษย์วานรอายุ 5–600,000 ปี เรียกว่า "มนุษย์หลันเถียน" (蓝田人) ที่เชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษของชนชาติจีน ที่มีถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่อำเภอหลันเถียน มณฑลชานซี นอกจากนี้ยังพบซากโบราณสถานจำนวนมาก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและแม่น้ำหวง · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในมณฑลส่านซี พ.ศ. 2099

แผ่นดินไหวที่มณฑลส่านซี..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและแผ่นดินไหวในมณฑลส่านซี พ.ศ. 2099 · ดูเพิ่มเติม »

แคะ

แคะ หรือ ฮากกา (客家 คำว่า แคะ ในภาษาไทยถูกเรียกตามภาษาแต้จิ๋วว่า แขะแก ในภาษาจีนกลางเรียกว่า เค่อเจีย มีความหมายว่า ครอบครัวผู้มาเยือน ส่วนในภาษาจีนแคะเอง เรียกว่า ขักก๊า หรือ ฮากกา) คือ ชนกลุ่มจีนฮั่นกลุ่มหนึ่ง ซึ่งกล่าวกันว่ามีบรรพบุรุษที่มีต้นกำเนิดบริเวณมณฑลเหอหนานและซานซี ทางตอนเหนือของจีนเมื่อราว 2,700 ปีที่แล้ว บรรพบุรุษของชาวจีนแคะอพยพลงใต้ เนื่องจากความไม่สงบทางสังคม การลุกฮือ และการรุกรานจากผู้ยึดครองต่างชาติตั้งแต่ยุคราชวงศ์จิ้น (ค.ศ. 265-420) กระแสการอพยพครั้งต่อ ๆ มาเกิดขึ้นเมื่อยุคสิ้นราชวงศ์ถัง เมื่อประเทศจีนแตกออกเป็นส่วน ๆ และช่วงราชวงศ์ซ่ง ซึ่งเป็นช่วงที่ประชากรทางภาคเหนือลดลง.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและแคะ · ดูเพิ่มเติม »

โบราณสถานแห่งเติงเฟิง

ราณสถานแห่งเติงเฟิง ณ "ใจกลางฟ้าดิน" (Historic Monuments of Dengfeng in "The Centre of Heaven and Earth") คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในมณฑลเหอหนาน ประเทศจีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและโบราณสถานแห่งเติงเฟิง · ดูเพิ่มเติม »

โว่หลงกัง

ทางเข้าวัดวู่โหฺว ที่โว่หลงกัง โว่หลงกัง ตามสำเนียงกลาง หรือ โงลังกั๋ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นทัศนียเขตทางวัฒนธรรมใน เมืองหนันหยาง มณฑลเหอหนัน สาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อเสียงเป็นอันมากเนื่องจากจูเกอ เลี่ยง (ฮกเกี้ยนว่า จูกัดเหลียง) อัครมหาเสนาบดีแห่งรัฐฉู่ฮั่นในสมัยสามอาณาจักร เคยพำนักอยู่เกือบสิบปี.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและโว่หลงกัง · ดูเพิ่มเติม »

โฮอั๋น

อั๋น (He Yan, ค.ศ. 195 — ค.ศ. 249) หรือ เหอหยัน มีชื่อรองว่า ผิงฉู่ (Pingshu) เป็นขุนนางและนักปราชญ์แห่ง วุยก๊ก ในช่วงปลาย ยุคสามก๊ก โฮอั๋นเกิดเมื่อ..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและโฮอั๋น · ดูเพิ่มเติม »

โฮจิ๋น

หอ จิ้น หรือสำเนียงแต้จิ๋วว่า โฮจิ๋น (เสียชีวิต 22 กันยายน ค.ศ. 189) มีชื่อรองว่าซุ่ยเกา เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขุนนางผู้ใหญ่สมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลาย เป็นบุตรคนโตของนางบูยงกุ๋น เป็นพี่ชายของพระนางโฮเฮา ซึ่งเป็นมเหสีของพระเจ้าเลนเต้ เป็นผู้นำกองทัพปราบโจรโพกผ้าเหลืองตอนปลายรัชสมัยของพระเจ้าเลนเต้ เมื่อพระเจ้าเลนเต้สวรรคต โฮจิ๋นได้ตั้งหองจูเปียนโอรสองค์โตของพระเจ้าเลนเต้และนางโฮเฮาขึ้นเป็นฮ่องเต้แทน และคิดกำจัด 10 ขันที และพวกขันทีรู้ตัวก่อนจึงลวงโฮจิ๋นไปฆ่า รูปโฮจิ๋นจากเกม Romance Of The Three Kingdoms XI ของค่ายเกม KOEI.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและโฮจิ๋น · ดูเพิ่มเติม »

โจโฉ

ฉา เชา ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ โจโฉ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 155 – 15 มีนาคม ค.ศ. 220) ชื่อรองว่า เมิ่งเต๋อ (孟德) ชื่อเล่นว่า อาหมาน (阿瞞) และ จี๋ลี่ (吉利)(太祖一名吉利,小字阿瞞。) Pei Songzhi.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและโจโฉ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนีสซูเปอร์ลีก

นีสซูเปอร์ลีก, ซูเปอร์ลีกที่ถูกสร้างขึ้นโดยสมาคมฟุตบอลจีนมาแทนลีกเดิมที่มีชื่อว่า เจีย-เอลีก (Jia-A League) ในปี 2547 โดยเริ่มต้นมีเพียง 12 ทีมเข้าร่วมการแข่ง จนกระทั่งในปี 2552 ได้เพิ่มจำนวนทีเข้าร่วมเป็น 16 ทีม.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและไชนีสซูเปอร์ลีก · ดูเพิ่มเติม »

ไคเฟิง

ไคเฟิง ตามสำเนียงกลาง หรือ คายฮอง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นเมืองในมณฑลเหอหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน อยู่ริมฝั่งด้านใต้ของแม่น้ำฮวงโห (หรือแม่น้ำเหลือง) เป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน ไคเฟิงแต่เดิมนั้นมีชื่อว่าเปี้ยนโจว ในสมัยราชวงศ์โฮ่วเหลียงเปลี่ยนชื่อเป็น เปี้ยนจิง ครั้งมา พอมาถึงสมัยหลังได้เปลี่ยนเป็น ไคเฟิง นครไคเฟิงเป็นที่รู้จักกันดีเพราะเคยเป็นที่ทำงานของเปาบุ้นจิ้น หมวดหมู่:เมืองในมณฑลเหอหนาน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและไคเฟิง · ดูเพิ่มเติม »

เพ็กฮวยเกี่ยม

ทพบุตรงูทอง หรือ เพ็กฮวยเกี้ยม เป็นนิยายกำลังภายในเรื่องที่สองของ กิมย้ง การแปลเป็นภาษาไทย ครั้งแรก โดย จำลอง พิศนาคะ และ ครั้งที่สองโดย น.นพรัตน์ ชื่อภาษาอังกฤษว่า The Sword Stained With Royal Blood.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเพ็กฮวยเกี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

เมืองรูหนาน

เมืองรูหนานเป็นเมืองๆหนึ่งในมณฑลเหอหนานประเทศจีนโดยเมืองนี้บรรพบุรุษของอ้วนเสี้ยวแม่ทัพคนสำคัญในสมัยสามก๊กเคยปกครอง หมวดหมู่:มณฑลเหอหนาน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเมืองรูหนาน · ดูเพิ่มเติม »

เย่ (เหอเป่ย)

เย่ หรือ เย่เฉิง หรือในวรรณกรรมเรื่องสามก๊กเรียก เงียบกุ๋น เมืองโบราณของประเทศจีนปัจจุบันคือ อำเภอหลินจาง เทศมณฑลหานตาน มณฑลเหอเป่ย และเมืองใกล้เคียง เทศมณฑลอันหยาง มณฑลเหอหนาน เมืองเย่ถูกสร้างขึ้นครั้งแรกใน ยุควสันตสารท โดย ฉีหวน เจ้าผู้ครอง รัฐฉี และใน ยุครณรัฐ เมืองเย่ตั้งอยู่ใน รัฐเว่ย์ ซึ่งเมืองเย่เป็นศูนย์กลางทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง ยุคสามก๊ก และ ราชวงศ์เหนือ โดยเป็นศูนย์กลางทางทหารของขุนศึก อ้วนเสี้ยว หรือ ยฺเหวียนเซ่า และ โจโฉ หรือ เฉาเชา ช่วงปลายยุค ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก หมวดหมู่:มณฑลเหอเป่ย์ หมวดหมู่:วุยก๊ก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเย่ (เหอเป่ย) · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น

ตะขอเข็มขัด ตอกและสลักด้วยการออกแบบตามหลักของสัตว์และนกในตำนาน ราชวงศ์ฮั่น (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 220) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนในยุคโบราณ ปรากฏช่วงเวลาที่เศรษฐกิจรุ่งเรืองและถดถอยที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน แบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลา คือ ราชวงศ์ฮั่นเหนือ (ปี 206 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 9) ราชวงศ์ซิน (ปี ค.ศ. 9 – 23) และราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ปี ค.ศ. 25 – 220) ระบอบการปกครองของราชวงศ์ซินก่อตั้งโดยจักรพรรดิซินเกาจู่ (หวัง หมั่ง) เป็นระบอบการปกครองช่วงระหว่างภาวะสุญญากาศทางการเมืองคั่นกลางระหว่างการปกครองที่ยาวนานของราชวงศ์ฮั่น หลังจากที่การปกครองของจักรพรรดิซินเกาจู่ล่มสลายลง เมืองหลวงของราชวงศ์ฮั่นถูกย้ายไปทางทิศตะวันออกจากเมืองฉางอานไปยังเมืองลั่วหยาง ด้วยเหตุนี้นักประวัติศาสตร์จึงเรียกยุคก่อนและหลังว่าราชวงศ์ฮั่นตะวันตกและราชวงศ์ฮั่นตะวันออกตามลำดับ เศรษฐกิจสมัยราชวงศ์ฮั่นถูกกำหนดโดยการเติบโตของประชากรอย่างแพร่หลาย การกลายเป็นเมืองเพิ่มขึ้น การเติบโตอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนของอุตสาหกรรมและการค้า และการทดลองของรัฐบาลโดยแปลงสินทรัพย์ของเอกชนให้เป็นสินทรัพย์ของรัฐ ในยุคนี้ระดับของการทำเหรียญและการไหลเวียนของเหรียญเงินตราเติบโตอย่างมีนัยสำคัญ รูปแบบของพื้นฐานทางระบบการเงินที่มั่นคง เส้นทางสายไหมช่วยอำนวยความสะดวกในการสถาปนาการค้าและแลกเปลี่ยนเครื่องบรรณาการกับต่างประเทศทั่วทวีปยูเรเชีย หลายสิ่งนี้ไม่เคยเป็นที่รับรู้ของชาวจีนยุคโบราณมาก่อน เมืองหลวงของราชวงศ์ทั้งราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (ฉางอาน) และราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ลั่วหยาง) ตั้งอยู่ท่ามกลางเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้นทั้งด้านประชากรและด้านพื้นที่ โรงงานของรัฐบาลผลิตเครื่องตกแต่งสำหรับพระราชวังของจักรพรรดิและผลิตสินค้าสำหรับสามัญชน รัฐบาลควบคุมการก่อสร้างถนนและสะพานหลายแห่งซึ่งอำนวยความสะดวกให้กับธุรกิจของรัฐบาลอย่างเป็นทางการและส่งเสริมการเจริญเติบโตทางการค้า ภายใต้การปกครองของราชวงศ์ฮั่น นักอุตสาหกรรม ผู้ค้าส่งและพ่อค้า จากพ่อค้าปลีกรายย่อยไปจนถึงนักธุรกิจที่มั่งคั่งสามารถมีส่วนร่วมในความหลากหลายของอุตสาหกรรมและการค้าที่หลากหลายทั้งภายในประเทศ ในแวดวงสาธารณะ และแม้แต่ทหาร ในช่วงต้นราชวงศ์ฮั่น ชาวนาที่อาศัยอยู่พื้นที่ชนบทพึ่งพาตัวเองเป็นส่วนใหญ่ แต่พวกเขาเริ่มพึ่งพาการแลกเปลี่ยนทางการค้าอย่างหนักกับเจ้าของที่ดินการเกษตรขนาดใหญ่ที่มั่งคั่ง ชาวนาชาวไร่จำนวนมากมีหนี้สินลดลงและถูกบังคับให้กลายเป็นแรงงานจ้างหรือไม่ก็เป็นผู้อยู่อาศัยที่ต้องจ่ายค่าเช่าให้กับชนชั้นเจ้าของที่ดิน รัฐบาลของราชวงศ์ฮั่นพยายามให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจกับชาวนาที่ยากจนอย่างต่อเนื่อง พวกชาวนาต้องแข่งขันกับขุนนาง เจ้าของที่ดินและผู้ประกอบการค้าที่ทรงอำนาจและอิทธิพล รัฐบาลพยายามจำกัดอำนาจของกลุ่มคนที่มั่งคั่งเหล่านี้โดยการเก็บภาษีและออกกฎระเบียบทางราชการอย่างหนัก ถึงแม้ว่ารัฐบาลของจักรพรรดิฮั่นอู่ (ปี 141 – 87 ก่อนคริสตกาล) ได้แปรรูปอุตสาหกรรมเหล็กและเกลือให้กลายเป็นกิจการของรัฐ อย่างไรก็ตาม การผูกขาดของรัฐบาลเหล่านี้ถูกยกเลิกในระหว่างยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก การแทรกแซงของรัฐบาลที่เพิ่มขึ้นในด้านเศรษฐกิจภาคเอกชนระหว่างปลายศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล ส่งผลให้ชนชั้นพ่อค้าเชิงพาณิชย์อ่อนแอลงอย่างหนัก การแทรกแซงของรัฐบาลช่วยให้เจ้าของที่ดินที่มั่งคั่งเพิ่มอำนาจพวกเขาและรับประกันความต่อเนื่องของเศรษฐกิจที่ครอบงำการเกษตร เจ้าของที่ดินที่มั่งคั่งครอบงำกิจกรรมด้านการค้าได้เป็นอย่างดี ปรับปรุงอำนาจการปกครองให้อยู่เหนือชาวนาที่อยู่ในชนบททั้งหมด ผู้ซึ่งรัฐบาลไว้วางใจเพราะรายได้จากการจัดเก็บภาษี กำลังทางทหารและแรงงานสาธารณะ โดยในปีคริสต์ทศวรรษที่ 180 วิกฤตทางเศรษฐกิจและการเมืองเป็นเหตุให้รัฐบาลของราชวงศ์ฮั่นกระจายอำนาจมากขึ้น ขณะที่เจ้าของที่ดินรายใหญ่มีอิสระและมีอำนาจในชุมชนของพวกเขามากขึ้น.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเศรษฐกิจจีนยุคราชวงศ์ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 35 องศาเหนือ

้นขนานที่ 35 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 35 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก ในสหรัฐอเมริกา เส้นขนานนี้กำหนดเป็นเส้นแบ่งเขตทางใต้ของรัฐเทนเนสซี, และเส้นแบ่งเขตระหว่างรัฐนอร์ทแคโรไลนา และรัฐจอร์เจีย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 14 ชั่วโมง 31 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 9 ชั่วโมง 48 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเส้นขนานที่ 35 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 36 องศาเหนือ

้นขนานที่ 36 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 36 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ และมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเส้นขนานที่ 36 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูด ที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และ ทวีปแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 68 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเส้นเมริเดียนที่ 112 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 69 องศาตะวันตก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเส้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย ออสตราเลเซีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันตก ระหว่างออสเตรเลียและเส้นขนานที่ 60 องศาใต้ เส้นเมริเดียนนี้ถูกใช้เป็นเขตแดนด้านตะวันตกของเขตเสรีอาวุธนิวเคลียร์แปซิฟิกใต้.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์จิ้งคัง

ปี 1125 หลังจากหวันเหยียนเซิ่นขึ้นครองราชย์เป็นจินไท่จง สืบต่อจากจินไท่จู่ผู้พี่ชายแล้ว ก็นำทัพกวาดล้างแคว้นเหลียวเป็นผลสำเร็จ ทัพจินอ้างเหตุรุกไล่ติดตามตัวนายทัพเหลียว นำทัพล่วงเข้ามาในแดนซ่ง แยกย้ายบุกแดนไท่หยวนและเยียนจิง(ปักกิ่ง) แม่ทัพรักษาเมืองเยียนจิงยอมสวามิภักดิ์ทัพจิน นำทางเคลื่อนทัพรุกประชิดเมืองหลวงไคเฟิงซ่งฮุยจงเมื่อได้ทราบข่าวทัพจินเคลื่อนลงใต้ รีบสละบัลลังก์ให้กับรัชทายาทส่วนตัวเองหลบหนีลงใต้ ซ่งชินจง เมื่อขึ้นครองราชย์ ก็เรียกประชุมเสนาบดีคิดหาหนทางแก้ไขวิกฤตครั้งนี้ กลุ่มขุนนางใหญ่สนับสนุนให้ย้ายเมืองหลวงเพื่อลี้ภัย ทว่าหลี่กัง อาสาทำหน้าที่รักษาเมืองอย่างแข็งขัน หัวเมืองรอบนอกเมื่อทราบข่าวทัพจินก็รวมตัวกันจัดตั้งกองกำลังต่อต้านการรุกรานจากภายนอก ทัพจินเมื่อไม่สามารถเอาชัยได้ในระยะเวลาอันสั้น ก็เริ่มขาดแคลนเสบียง ในเวลาเดียวกัน ซ่งชินจงแอบทำสัญญาสงบศึกกับทัพจิน โดยยินยอมจ่ายทรัพย์สินเงินทองจำนวนมหาศาล อีกทั้งส่งมอบดินแดนสามเมืองให้เป็นการชดเชย ฝ่ายจินจึงยอมถอนทัพกลับภาคเหนือ ภายหลังวิกฤตหลี่กังถูกปลดจากตำแหน่ง ราชสำนักซ่งแม้ว่ารับปากส่งมอบเมืองไท่หยวน จงซานและเหอเจียนให้กับแคว้นจิน แต่ราษฎรในท้องถิ่นต่างพากันต่อต้านทัพจินอย่างไม่คิดชีวิต ทัพจินไม่อาจเข้าครอบครองทั้งสามเมืองได้ จึงส่งกองกำลังบุกลงใต้มาอีกครั้ง แต่คราวนี้ ชาวเมืองไท่หยวนที่ยืนหยัดต่อสู้เป็นเวลานาน เกิดขาดแคลนเสบียง จึงต้องเสียเมืองในที่สุด ทัพจินรุกประชิดเมืองไคเฟิงอีกครั้ง ราชสำนักซ่งจัดส่งราชทูตไปเจรจาสงบศึกแต่ไม่เป็นผล ทัพจินบุกเข้าเมืองไคเฟิงกวาดต้อน ซ่งเวยจง ซ่งชินจง และเชื้อพระวงศ์ ไปเป็นเชลย อีกทั้งปล้นสะดมทรัพย์สินในท้องพระคลังไปจนหมดสิ้น ราชวงศ์ซ่งเหนือล่มสลาย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเหตุการณ์จิ้งคัง · ดูเพิ่มเติม »

เจิ้งโจว

้งโจวจตุรัสหน้าสถานีทางรถไฟ เจิ้งโจว เป็นเมืองเอกของมณฑลเหอหนาน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเจิ้งโจว · ดูเพิ่มเติม »

เขาเฉียว

ฉียว (ค.ศ. 150 - ค.ศ. 195) มีชื่อในสำเนียงจีนกลางว่าสฺวี่เช่า มีชื่อรองว่าจื่อเจียง เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นข้าราชการและนักดูลักษณะคนในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเขาเฉียว · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศจีน

ตการปกครองของจีน เขตการปกครองของจีน มีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ ได้แก่ มณฑล อำเภอ และ ตำบล แต่ในปัจจุบันได้เพิ่มมาอีก 2 ระดับ คือ จังหวัด และ หมู่บ้าน ซึ่งถ้านำมาเรียงใหม่จะได้เป็น มณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และ หมู่บ้าน.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเขตการปกครองของประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

เซว เหว่ย

ซว เหว่ย นักไวโอลินชาวจีนที่มีชื่อเสียงในระดับโลก เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเซว เหว่ย · ดูเพิ่มเติม »

เปาบุ้นจิ้น

ปา เจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (11 เมษายน ค.ศ. 999 — 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1062) วรรณกรรมเรียก เปา เหวินเจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาบุ้นจิ้น ในภาษาจีนฮกเกี้ยน (包文拯) เป็นข้าราชการชาวจีนในรัชสมัยจักรพรรดิเหรินจงแห่งราชวงศ์ซ่งของจักรวรรดิจีน ตลอดเวลา 25 ปีที่รับราชการนั้น เปา เจิ่ง แสดงออกซึ่งความซื่อสัตย์สุจริตและเป็นกลางอย่างเสมอหน้า ในระหว่าง..

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและเปาบุ้นจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

Eremochloa

Eremochloa คือพืชสกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และออสเตรเลี.

ใหม่!!: มณฑลเหอหนานและEremochloa · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

HenanHonanมณฑลเหอหนันเหอหนันเหอหนาน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »