เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มณฑลยูนนาน

ดัชนี มณฑลยูนนาน

มณฑลยูนนาน หรือ หยุนหนาน มีชื่อย่อว่า หยุน(云)หรือ เตียน(滇)มีชื่อในภาษาไทยถิ่นเหนือว่า วิเทหราช ตั้งอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจีน มีเมืองหลวงชื่อ คุนหมิง มีเนื้อที่ 394,100 ก.ม.

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 292 ความสัมพันธ์: ชะนีแก้มขาว (สกุล)บัวหิมะชาวมูเซอชาวทิเบตชาวไทย้อยชาดำช่องเขาเสือกระโจนบ่อเต็นช้างอินเดียช้างเอเชียพ.ศ. 2428พรรคชาตินิยมเวียดนามพรรคไดเวียดพระราชวังต้องห้ามพระลักษมณ์พระรามพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)พระเจ้าธรรมเจดีย์พระเจ้านรสีหบดีพระเจ้านันทบุเรงพวงร้อยพะโมพื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนานกบฏสามเจ้าศักดินากบดอยช้างกระดูกไก่กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มภาษากัม-ไทกลุ่มภาษาไทกองทัพกะฉิ่นอิสระกะท่างการบุกลงใต้ของจูกัดเหลียงการก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทยการรัดเท้าการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008การจับปลาของนกกาน้ำการทับศัพท์ภาษาจีนการขนส่งในประเทศลาวกิ้งก่าบินคอแดงกุบไล ข่านก่อผาก๋วยเตี๋ยวข้ามสะพานฝ่ายบริหารกลางทิเบตภาษาบีซูภาษาพูลาภาษากวาเบียวภาษากะโดภาษากะเดาภาษากังภาษากิมมุนภาษากูกอง... ขยายดัชนี (242 มากกว่า) »

ชะนีแก้มขาว (สกุล)

นีแก้มขาว (White-cheeked gibbon) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานรสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Nomascus (/โน-มาส-คัส/) จัดเป็นลิงไม่มีหาง ในวงศ์ชะนี (Hylobatidae) เดิมสกุลนี้เคยถูกให้เป็นสกุลย่อยของสกุล Hylobates (ซึ่งบางข้อมูลจัดให้เป็นสกุลเดียวกัน) ต่อมามีการศึกษาเพิ่มเติมพบว่าชะนีสกุลนี้มีจำนวนโครโมโซม 52 ส่วนมากชะนีกลุ่มนี้จะมีขนสีดำและมีกระจุกขนสีดำที่กลางกระหม่อม แต่บางส่วนก็มีสีที่อ่อนลงไป พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคใต้ของจีน (มณฑลยูนาน และเกาะไหหลำ) จนถึงภาคเหนือและกลางของเวียดนาม และภาคเหนือของลาว.

ดู มณฑลยูนนานและชะนีแก้มขาว (สกุล)

บัวหิมะ

ัวหิมะ (Snow lotus) เป็นชื่อสามัญของพืชในสกุล Saussurea อยู่ในวงศ์ Compositae เป็นพืชที่ขึ้นในที่สูง มีหิมะปกคลุม ในเอเชียกลาง และจีนเช่น ในทิเบต มณฑลยูนนาน เสฉวน ซินเจียงอุยกูร์ ในทางยาจีน มีฤทธิ์เป็นยาเย็น แก้ข้ออักเสบ แก้ไข้ บำรุงหัวใ.

ดู มณฑลยูนนานและบัวหิมะ

ชาวมูเซอ

วมูเซอ หรือ ชาวล่าหู่ (Lahu people) เป็นชาวเขาเผ่าหนึ่งในประเทศไทย แบ่งย่อยได้เป็น 23 กลุ่ม เช่น ชาวมูเซอดำ ชาวมูเซอแดง ชาวมูเซอดำเบเล ชาวมูเซอเหลืองบาเกียว ชาวมูเซอลาบา ชาวมูเซอเหลืองบ้านลาน และชาวมูเซอกุเลา เป็นต้น ภาษาที่ใช้พูดคือภาษามูเซอที่แตกต่างไปในแต่ละเผ่าย่อย ชาวมูเซอเรียกตัวเองว่าล่าหู่ หมายถึง ชนเผ่าที่ได้กินเนื้อเสือปิ้ง ซึ่งเป็นการบอกถึงความกล้าหาญของชาวมูเซอที่ล่าเสือมากินเป็นอาหารได้ส่วนคำว่ามูเซอนั้น ในภาษาไทใหญ่ มูหมายถึงนิดหน่อย ส่วนเซอ หมายถึงสนุกสนาน โดยในประเทศไทยชาวมูเซอส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดตาก.

ดู มณฑลยูนนานและชาวมูเซอ

ชาวทิเบต

วทิเบต เป็นชนกลุ่มใหญ่ในเขตปกครองตนเองทิเบต ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และถือชนชาติกลุ่มน้อย กลุ่มหนึ่งของประเทศจีน ซึ่งมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์อย่าง ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และความเป็นอยู่เป็นของตนเอง แต่ความเป็นชุมชนเมืองและเศรษฐกิจของชาวจีนซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่กำลังทำลายความเป็นทิเบตดั้งเดิม ดั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศต่างๆทั่วโลก ชาวทิเบตสืบเชื้อสายจากชนเผ่าตูรัน และตังกุตในเอเชียกลาง ต่อมาได้อพยพมาจากทางตอนบนในเขตหุบเขาที่ราบลุ่มแม่น้ำยาร์ลุงซางโป และแต่งงานกับชนพื้นเมืองแถบนี้ แล้วออกลูกออกหลานเป็นชาวทิเบตในปัจจุบัน ชาวทิเบตเป็นชนเผ่าที่รักสงบ ในอดีตเคยเป็นพวกชาวเขาที่ไม่แตกต่างกับชาวเขาทั่วไป แต่พอได้รับพระพุทธศาสนาแบบวัชรยานจากพระปัทมสัมภวะ (คุรุรินโปเช่) ทำให้ทิเบตมีวัฒนธรรมที่โดดเด่น ชาวทิเบตส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธวัชรยาน นอกนั้นนับถือศาสนาอิสลามราว 2,000 คน และคริสตังทิเบตราว 600 คน.

ดู มณฑลยูนนานและชาวทิเบต

ชาวไทย้อย

งเจีย ถู่เหยิน ถู่เหริน ไดออย เป็นคำเรียกหมู่ชนชาวไทที่หลงเหลืออยู่ในมณฑลไกวเจาของจีน คือโดยทั่วไปเรียกกันว่าจงเจีย (ชาวจีนเรียก) บางที่ก็ตุเยน หรือตุเรน พวกสอนศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกในมณฑลไกวเจาของจีน เรียกชนพวกนี้ว่า ไดออย ถึงกับสร้างพจนานุกรมขึ้นฉบับหนึ่ง เรียกว่า พจนานุกรมฝรั่งเศส-ไดออย หมอดอดด์ได้พบคนที่ถูกเรียกว่าไดออยนี้ ที่ เมืองกวางนาน (ทางตะวันออกฉียงเหนือของมณฑลยูนนาน) ได้ขอร้องให้เขาออกสียงเรียกชื่อเชื้อชาติของเขาให้ฟังอย่างแน่ชัด เขาออกเสียงอย่างชัดเจนว่า "ไทย้อย" ดร.

ดู มณฑลยูนนานและชาวไทย้อย

ชาดำ

ำ อินโดนีเซีย. ชาดำเป็นชาประเภทหนึ่งที่ผ่านการหมักยาวนานมากกว่าชาอู่หลง ชาเขียวและชาขาว ชาดำมีรสชาติที่เข้มข้นมากกว่าชาประเภทอื่น โดยส่วนมากผลิตจากต้นชาสายพันธุ์อินเดีย (สายพันธุ์: C.

ดู มณฑลยูนนานและชาดำ

ช่องเขาเสือกระโจน

นาขั้นบันไดบนเชิงผาด้านข้างช่องเขาเสือกระโจน ทิวทัศน์ของช่องเขาเสือกระโจนที่มองจากที่สูง มองเห็นภูเขาหิมะมังกรหยกทางด้านซ้าย และภูเขาหิมะฮาป๋าทางด้านขวา ช่องเขาเสือกระโจน (หู่เที่ยวเสีย) เป็นช่องหุบเขาเหนือแม่น้ำแยงซี ในมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ห่างจากเมืองลี่เจียงไปทางเหนือ 60 กิโลเมตร ช่องหุบเขานี้ความยาว 15 กิโลเมตร ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่แม่น้ำไหลผ่านระหว่างภูเขาหิมะมังกรหยกที่สูง 5,596 เมตร และภูเขาหิมะฮาป๋าที่สูง 5,396 เมตร ซึ่งเป็นบริเวณที่น้ำไหลเชี่ยวและอยู่ใต้หน้าผาสูง 2,000 เมตร ตามตำนานกล่าวว่า มีเสือตัวหนึ่งได้หนีการตามล่าจากนายพราน โดยกระโดดข้ามแม่น้ำที่จุดที่แคบที่สุด (กว้าง 25 เมตร) จึงเป็นที่มาของชื่อของช่องเขาแห่งนี้ ช่องเขาเสือกระโจนเป็นหนึ่งในหุบเขาเหนือแม่น้ำที่ลึกที่สุดในโลก ผู้อยู่อาศัยในบริเวณนี้มีจำนวนเพียงเล็กน้อย ส่วนใหญ่เป็นชนพื้นเมืองชาวน่าซี โดยจะอาศัยอยู่ในหมู่บ้านเล็กๆบริเวณใกล้เคียง และหาเลี้ยงชีพโดยการเพาะปลูกและรับจ้างนำทางคนต่างถิ่น หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์จีน หมวดหมู่:มณฑลยูนนาน.

ดู มณฑลยูนนานและช่องเขาเสือกระโจน

บ่อเต็น

อเต็น (ບໍ່ເຕົນ; 磨丁) หรือ บ่อเตน (ບໍ່ເຕນ) เป็นหมู่บ้านแห่งหนึ่งในเขตปกครองของเมืองหลวงน้ำทา แขวงหลวงน้ำทา ประเทศลาว ตั้งอยู่บริเวณชายแดนประเทศลาวกับจีนบริเวณมณฑลยูนนาน ประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาจีนมาตรฐานเป็นภาษาในการสื่อสาร ในปี..

ดู มณฑลยูนนานและบ่อเต็น

ช้างอินเดีย

้างอินเดีย (Indian elephant) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ในวงศ์ Elephantidae หรือช้าง เป็นช้างที่ถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคไพลโอซีนหรือประมาณ 5 ล้านปีก่อนมาแล้ว.

ดู มณฑลยูนนานและช้างอินเดีย

ช้างเอเชีย

้างเอเชีย (Asian elephant) จัดอยู่ในประเภทสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Elephas maximus ในวงศ์ Elephantidae มีขนาดเล็กกว่าช้างแอฟริกา รวมทั้งมีใบหูขนาดเล็กกว่า มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 60 ปี ซึ่งถือได้ว่ามีอายุยืนกว่าช้างแอฟริก.

ดู มณฑลยูนนานและช้างเอเชีย

พ.ศ. 2428

ทธศักราช 2428 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1885 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู มณฑลยูนนานและพ.ศ. 2428

พรรคชาตินิยมเวียดนาม

รรคชาตินิยมเวียดนาม (Việt Nam Quốc Dân Đảng; 越南國民黨) หรือเหวียตโกว๊ก (Việt Quốc 越國) เป็นพรรคการเมืองชาตินิยมในเวียดนามที่ได้พยายามกอบกู้เอกราชเวียดนามจากฝรั่งเศสในระหว่างต้นศตวรรษที่ 20 โดยได้กำเนิดในช่วงยุค 1920 เมื่อปัญญาชนวัยหนุ่มได้เริ่มเผยแผ่หลักการปฏิวัติ ในปี..

ดู มณฑลยูนนานและพรรคชาตินิยมเวียดนาม

พรรคไดเวียด

นายจั่น จอง ดัต ประธานพรรคขณะเปิดการประชุมที่ไซ่ง่อนน้อยเมื่อ พ.ศ. 2555 พรรคไดเวียดหรือพรรคชาตินิยมแห่งเวียดนามใหญ่ (Nationalist Party of Greater Vietnam; ภาษาเวียดนาม: Đại Việt Quốc dân đảng หรือ Đại Việt) เป็นพรรคการเมืองที่เน้นชาตินิยมและต่อต้านคอมมิวนิสต์ที่มีกิจกรรมในเวียดนามเมื่อพุทธศตวรรษที่ 25 พรรคนี้ยังคงมีกิจกรรมอยู่นอกเวียดนาม โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยแบบหลายพรรค พรรคนี้ก่อตั้งโดยเจื่อง ตื๋อ อัญ หรือที่รู้จักกันในชื่อ อัญ ก๋า เฟือง (พี่ชายใหญ่เฟือง) สมาชิกเริ่มต้นของพรรคมีหลากหลาย เช่น ดร.

ดู มณฑลยูนนานและพรรคไดเวียด

พระราชวังต้องห้าม

อู่เหมิน ไท่เหอเหมิน ตงหวาเหมิน แม่น้ำทอง 280px 190px พระราชวังต้องห้าม (จีน: 紫禁城; พินอิน: Zǐjìn Chéng จื่อจิ้นเฉิง; อังกฤษ: Forbidden City) หรือพระราชวังกู้กง จากชื่อภาษาจีน แปลตามตัวอักษรได้ว่า "เมืองต้องห้ามสีม่วง" พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ใจกลางของกรุงปักกิ่ง เมืองหลวงของประเทศจีน เป็นพระราชวังหลวงมาตั้งแต่สมัยกลางราชวงศ์หมิงจนถึงราชวงศ์ชิง พระราชวังต้องห้ามยังรู้จักกันในนาม พิพิธภัณฑ์พระราชวัง (ภาษาจีน: 故宫博物院; พินอิน: Gùgōng Bówùyùan) ครอบคลุมพื้นที่ 720,000 ตารางเมตร อาคาร 800 หลัง มีห้องทั้งหมด 9,999 ห้อง และมีพระที่นั่ง 75 องค์ หอพระสมุด ห้องหับต่างๆอีกมาก รวมทั้งยังมีสวน ลานกว้าง ทางเดินเชื่อมกันโดยตลอด มีคูและกำแพงที่สูงถึง 11 เมตร ล้อมรอบ ใช้ระยะก่อสร้างประมาณ 14 ปี ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและพระราชวังต้องห้าม

พระลักษมณ์พระราม

นักแสดงสวมหัวโขนฝ่ายอสูรพงศ์จากเรื่องพระลักษมณ์พระราม พระลักษมณ์พระราม (ພະລັກພະລາມ, อักขรวิธีเดิม: ພຣະລັກພຣະຣາມ), พระรามชาดก (ພຣະຣາມຊາດົກ) หรือ รามเกียรติ์ (ລາມມະກຽນ, อักขรวิธีเดิม: ຣາມມະກຽນ) เป็นมหากาพย์ลาวที่ดัดแปลงมาจาก รามายณะ ของวาลมีกิ มีความใกล้เคียงกับ ฮิกายัตเซอรีรามา (Hikayat Seri Rama.) อันเป็นรามายณะฉบับมลายู มหากาพย์นี้เคยสูญหายไปพร้อมกับศาสนาฮินดู แต่ภายหลังได้กลับมาอีกครั้งในรูปแบบชาดกของพระพุทธศาสนา ซึ่งเคยแพร่หลายและเป็นที่นิยมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยด้วยเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้าง.

ดู มณฑลยูนนานและพระลักษมณ์พระราม

พระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)

ระเจ้าช้างเผือก (The King of the White Elephant) เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ในระบบ 35 มม.

ดู มณฑลยูนนานและพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)

พระเจ้าธรรมเจดีย์

ระเจ้าธรรมเจดีย์ (ဓမ္မစေတီ,; c. 1409–1492) กษัตริย์องค์ที่ 16 แห่ง อาณาจักรหงสาวดี ครองสิริราชสมบัติระหว่างปี..

ดู มณฑลยูนนานและพระเจ้าธรรมเจดีย์

พระเจ้านรสีหบดี

ระเจ้านรสีหบดี (Narathihapate.; နရသီဟပတေ့, nəɹa̰ θìha̰pətḛ; c. 1238–1287) เป็นกษัตริย์พม่าองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์พุกาม ครองราชย์ตั้งแต่ปี..1254-1287 มีเรื่องโดดเด่นสองประการที่สร้างพระเจ้านรสีหบดีพระองค์นี้เป็นที่จดจำ คือ ความตะกละตะกลามชอบเสวยอาหาร โดยร่ำลือกันว่าต้องมีอาหารหลากหลายถึงสามร้อยชนิดต่อมื้อพระกระยาหาร และอีกประการคือ ความขลาดกลัวต่อการรุกรานของทัพมองโกล จนเป็นกษัตริย์ที่ได้ฉายาว่า "กษัตริย์ขี้ตะกละผู้หนีทัพจีน" พระองค์เสด็จสวรรคตด้วยถูกปลงพระชนม์โดยการวางยาพิษจากราชโอรสพระองค์รองนาม สีหตู (Thihathu) ซึ่งขณะนั้นได้ครองเมืองแปร จากนั้นราชวงศ์พุกามก็ได้ล่มสลายลงพร้อมกับชัยชนะของมองโกลที่มีอำนาจเหนือภูมิภาคตอนบนของพม่า กว่า 250 ปี ที่ราชวงศ์พุกามปกครองมีอำนาจในพื้นที่ลุ่มน้ำอิรวดี ผืนแผ่นดินอาณาจักรได้กลับไปแตกแยกเป็นแคว้นเล็กเมืองน้อยอีกครั้ง สภาพสุญญากาศทางการปกครอง สภาวะไร้ผู้นำได้ดำเนินต่อไปอีกกว่า 250 ปี จนกระทั่งการขึ้นมาของราชวงศ์ตองอูที่ได้รวบรวมอาณาจักรให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้งในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16.

ดู มณฑลยูนนานและพระเจ้านรสีหบดี

พระเจ้านันทบุเรง

นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

ดู มณฑลยูนนานและพระเจ้านันทบุเรง

พวงร้อย

วงร้อยเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู มณฑลยูนนานและพวงร้อย

พะโม

ม หรือ บานมอ (ဗန်းမော်; Bhamo หรือ Bamaw) เป็นเมืองในรัฐกะฉิ่น ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ บนฝั่งแม่น้ำอิรวดีตอนบน ห่างจากเมืองมิตจีนาไปทางทิศใต้ 186 กม.

ดู มณฑลยูนนานและพะโม

พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน

ื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน (Three Parallel Rivers of Yunnan Protected Areas) คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน กินอาณาบริเวณของเมืองลี่เจียง เขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ตี๋ชิ่ง และเขตปกครองตนเองชนชาติลีซอ นู่เจียง แม่น้ำสามสายหมายถึงแม่น้ำสามสายที่มีต้นน้ำอยู่ในที่ราบสูงทิเบตและไหลขนานกันลงมา ได้แก่ แม่น้ำแยงซี แม่น้ำโขง และแม่น้ำสาละวิน และนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง.

ดู มณฑลยูนนานและพื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน

กบฏสามเจ้าศักดินา

กบฏสามเจ้าศักดินา (三藩之乱) เกิดขึ้นในสมัยฮ่องเต้คังซี เจ้าพิชิตภาคตะวันตกอู๋ซานกุ้ย (平西王) เจ้าพิชิตภาคใต้ซ่างจือซิ่น (平南王) และ เจ้าสถาปนาสันติสุขแห่งภาคใต้เกิ่งจิงจง (靖南王) ก่อการจลาจลในภาคใต้และปลุกระดมต่อต้านราชวงศ์ชิงปี 1673-1681 กบฏสามเจ้าศักดินาจึงสิ้นสุดลง สามเจ้าศักดินาคือขุนนางหมิงที่ยอมแพ้ต่อราชวงศ์ชิงและช่วยราชสำนักปราบปรามกบฏทางใต้ เป็นผู้ที่มีความดีความชอบถูกตั้งบรรดาศักดิ์รักษามลฑลทางใต้ดังนี้.

ดู มณฑลยูนนานและกบฏสามเจ้าศักดินา

กบดอยช้าง

กบดอยช้าง (Doichang frog) สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชนิดหนึ่ง จำพวกกบ จัดเป็นกบขนาดเล็ก มีความยาวจากปลายจมูกถึงปลายก้น 35–38 มิลลิเมตร หัวกว้างกว่ายาว ปลายจมูกมนกลม สันบนจมูกหักมุมเด่นชัด รูจมูกอยู่ในตำแหน่งกึ่งกลางระหว่างตากับปลายจมูก ระยะระหว่างตาแคบกว่าความกว้างของเปลือกตา แผ่นหูขนาดเล็กกว่าครึ่งหนึ่งของความกว้างของตาและเห็นไม่ชัดเจนนัก นิ้วตีนนิ้วแรกยาวไล่เลี่ยกับนิ้วที่สอง ขาหลังยาวเมื่อเหยียดไปทางด้านหน้า รอยต่อของต้นขากับแข้งอยู่เลยปลายจมูก มีปุ่นที่ฝ่าตีนเพียงปุ่มเดียว ผิวลำตัวเรียบ สันด้านข้างลำตัวเริ่มที่หลังเปลือกตาหลังพาดตลอดความยาวตัวแล้วเข้ามาเชื่อมกับสันอีกด้านหนึ่งตรงเหนือรูทวาร ลำตัวออกสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลอมดำ สันด้านข้างลำตัวสีขาว มีขลิบสีดำตรงบริเวณหัวและไหล่ ริมฝีปากสีดำมีลายแต้มสีขาว ด้านข้างลำตัวมีจุดสีดำสนิท ขาทั้ง 4 ข้างมีลายพาดขวางสีดำ ใต้ท้องออกสีเหลือง ใต้คางมีลายกระละเอียดสีดำ มีจุดสีดำกระจายห่าง ๆ กันใต้ท้องและใต้ขา กบดอยช้าง ถูกค้นพบครั้งแรกที่ดอยช้าง ตรงรอยต่อระหว่างจังหวัดเชียงใหม่กับเชียงราย เมื่อปี..

ดู มณฑลยูนนานและกบดอยช้าง

กระดูกไก่

กระดูกไก่ เป็นพืชในวงศ์ Chloranthaceae ในมาเลเซียเรียกเกอรัส ตูลัง ในฟิลิปปินส์เรียกบาเรา บาเรา เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นเกลี้ยง มีกลิ่นหอม ข้อโป่งพอง หูใบขนาดเล็กเป็นบางแคบ ขอบใบมีรอยจัก ใบสีเขียวสด ผิวใบด้านบนเป็นมัน ดอกช่อ มีริ้วประดับเป็นกาบหุ้ม ดอกย่อยขนาดเล็ก เกสรตัวผู้เป็นสามพู ติดกับครึ่งบนของรังไข่ ผลเดี่ยว เมล็ดเดียวแข็ง ฉ่ำน้ำ ส่วนใหญ่สีขาวครีม เมล็ดค่อนข้างกลม กระดูกไก่พบได้ทั่วไป ตั้งแต่เนปาล ยูนนาน หมู่เกาะอันดามัน ไปจนถึงเกาะนิวกินี ก่อนที่จะนำต้นชามาปลูก ชาวชวานำใบและเหง้าของกระดูกไก่ไปชงน้ำชาดื่ม เมื่อเนเธอร์แลนด์เข้ามาปกครองดัตช์อีสต์อินดีสได้ห้ามประชาชนปลูกกระดูกไก่เพราะจะให้ปลูกต้นชาแทน ในมาเลเซียและอินโดนีเซียใช้ทำชาสมุนไพร ใช้ขับเหงื่อเพื่อลดไข้ ในกาลิมันตันใช้กิ่งต้มน้ำดื่มเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ ชาวไทยภูเขาใช้ต้มเป็นยารักษามาลาเรีย ใช้ทำสีย้อมผ้าได้สีน้ำเงินเข้มจนเกือบดำ ทุกส่วนของลำต้นเมื่อขยี้ มีกลิ่นคล้ายการบูร รสค่อนข้างขม ใบมีน้ำมันหอมระเหยและกรดคูมาริก คล้ายกับที่พบในพืชวงศ์พริกไท.

ดู มณฑลยูนนานและกระดูกไก่

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).

ดู มณฑลยูนนานและกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

กลุ่มภาษากัม-ไท

กลุ่มภาษากัม-ไท (Kam–Tai languages) หรือ กลุ่มภาษาจ้วง-ต้ง (Zhuang–Dong languages) เป็นสาขาภาษาหลักที่มีการเสนอให้จัดแบ่งขึ้นในตระกูลภาษาไท-กะได ประกอบด้วยภาษาของชนชาติต่าง ๆ ในจีนตอนใต้และในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประมาณกว่าร้อยละ 80 ของภาษาทั้งหมดในตระกูลดังกล่าว กลุ่มภาษากัม-สุย, เบ และไท (ซึ่งเป็นกลุ่มภาษาหลัก 3 ใน 5 กลุ่มของตระกูลไท-กะได) มักถูกจัดอยู่รวมกันในกลุ่มภาษากัม-ไทเนื่องจากมีคำศัพท์ที่ใช้ร่วมกันจำนวนมาก อย่างไรก็ตามการจัดแบ่งเช่นนี้มีผู้โต้แย้งโดยมองว่าเป็น "หลักฐานของการไม่มีจริง" (negative evidence) ซึ่งอาจเป็นเพราะมีการแทนที่ศัพท์เข้าไปในสาขาอื่น ความคล้ายกันของระบบหน่วยคำทำให้มีนักภาษาศาสตร์จัดสาขาขร้ากับกัม-สุย เป็นกลุ่มกะไดเหนือทางหนึ่ง และสาขาไหลกับไท เป็นกลุ่มกะไดใต้อีกทางหนึ่งแทน ตำแหน่งของภาษาอังเบในข้อเสนอดังกล่าวไม่ได้ถูกพิจารณาไปด้ว.

ดู มณฑลยูนนานและกลุ่มภาษากัม-ไท

กลุ่มภาษาไท

กลุ่มภาษาไท หรือ᩵ กลุ่มภาษาไต (Tai languages; 台語支, พินอิน: tái yǔ zhī) เป็นกลุ่มภาษาย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได ประกอบด้วยภาษาไทยในประเทศไทย ภาษาลาวในประเทศลาว ภาษาไทใหญ่ในรัฐฉานของประเทศพม่า และภาษาจ้วง หนึ่งในภาษาหลักของประเทศจีนตอนใต้.

ดู มณฑลยูนนานและกลุ่มภาษาไท

กองทัพกะฉิ่นอิสระ

งของกองทัพกะฉิ่นอิสระ กองทัพกะฉิ่นอิสระ (Kachin Independence Army; KIA; ภาษาพม่า) เป็นหน่วยงานด้านการทหารขององค์กรกะฉิ่นอิสระซึ่งเป็นกลุ่มทางการเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์กะฉิ่นในพม่าตอนเหนือ ชาวกะฉิ่นได้สร้างพันธมิตรทางการเมืองกับชาวเผ่าอีก 6 เผ่าที่มีบ้านเกิดในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียและรัฐกะฉิ่นในพม่า ส่วนใหญ่มีฐานที่มั่นใกล้ชายแดนจีน กองทัพกะฉิ่นอิสระก่อตั้งเมื่อ..

ดู มณฑลยูนนานและกองทัพกะฉิ่นอิสระ

กะท่าง

กะท่าง (Himalayan newt) เป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก เป็นสัตว์จำพวกนิวต์ หรือ ซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ได้ทั้งบนบกและในน้ำ เพียงชนิดเดียวที่พบได้ในประเทศไท.

ดู มณฑลยูนนานและกะท่าง

การบุกลงใต้ของจูกัดเหลียง

การบุกลงใต้ของจูกัดเหลียง (Zhuge Liang's Southern Campaign) สงครามในที่เกิดขึ้นในช่วง..

ดู มณฑลยูนนานและการบุกลงใต้ของจูกัดเหลียง

การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย

การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทยเป็นสงครามกองโจรที่กินเวลาตั้งแต่ปี 2508 ถึง 2526 สู้รบกันระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) และรัฐบาลไทยเป็นหลัก สงครามเสื่อมลงในปี 2523 หลังรัฐบาลประกาศนิรโทษกรรม และในปี 2526 พคท.

ดู มณฑลยูนนานและการก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย

การรัดเท้า

การรัดเท้า (foot binding) เป็นจารีตที่ให้รัดเท้าของหญิงสาวให้คับแน่น เพื่อมิให้นิ้วเท้างอกขึ้นได้อีก เท้าที่ถูกบีบรัดนั้นจะได้มีสัณฐานเรียวเล็กคล้ายดอกบัว เรียกว่า "บัวทองสามนิ้ว" ("three-inch golden lotus") การประพฤติเช่นนี้เชื่อว่าเริ่มในหมู่ชนชั้นสูงที่เป็นนางระบำรำฟ้อนในราชสำนักจีนช่วงห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร (คริสต์ศตวรรษที่ 10 หรือ 11) แล้วจึงเป็นที่นิยมขึ้นในสมัยราชวงศ์ซ่ง ก่อนจะแพร่หลายทั่วไปในชาวจีนทุกชนชั้น ในฐานะที่เป็นเครื่องแสดงชั้นวรรณะ (เพราะสตรีที่ครอบครัวมีอันจะกินและไม่จำต้องใช้เท้าทำงานเท่านั้นจึงจะรัดเท้าได้) และเป็นเครื่องหมายแห่งความงามในวัฒนธรรมจีนโบราณ ทว่า ความนิยมและวิธีปฏิบัตินั้นผิดแผกกันไปในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศจีน ในปี 1664 พระเจ้าคังซีทรงพยายามจะห้ามมีการรัดเท้าอีกต่อไป แต่ไม่เป็นผล ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ชาวจีนนักปฏิรูปหลายคนท้าทายจารีตนี้แต่ก็ไร้ผล แม้ซูสีไทเฮามีพระเสาวนีย์ห้ามการรัดเท้าเป็นเด็ดขาด ก็ล้มเหลวเช่นกัน อย่างไรก็ดี กิจกรรมต่อต้านการรัดเท้าที่ดำเนินอย่างต่อเนื่องสืบ ๆ มาช่วยให้การรัดเท้าสิ้นสูญไปเมื่อต้นศตวรรษที่ 20 การรัดเท้าทำให้ผู้ถูกรัดต้องพิการชั่วชีวิต หญิงชราชาวจีนบางคนซึ่งเคยถูกรัดเท้าและมีชีวิตอยู่ในเวลานี้ต้องเผชิญความลำบากหลายประการเพราะความพิกลพิการอันเนื่องมาจากถูกรัดเท้.

ดู มณฑลยูนนานและการรัดเท้า

การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

การคุ้มกันผู้วิ่งคบเพลิงที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จะสิ้นสุดลงในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

การจับปลาของนกกาน้ำ

ลิปวิดีโอการจับปลาของนกกาน้ำที่ทะเลสาบเอ๋อร์ไห่ เทศกาลอุไก การจับปลาของนกกาน้ำ (Cormorant fishing) เป็นการประมงแบบพื้นบ้านประเภทหนึ่ง นิยมทั้งในเอเชียตะวันออกและยุโรป ด้วยการใช้นกกาน้ำ ซึ่งเป็นนกที่เชียวชาญในการว่ายน้ำและดำน้ำจับปลาด้วยปาก ด้วยความที่มีจะงอยปากยาวแหลมและพังผืดที่เท้าเชื่อมติดกันเหมือนเป็ด โดยนกกาน้ำหลายชนิดสามารถเลี้ยงให้เชื่องได้ บางตัวอาจจะถือกำเนิดมาในคอกเลี้ยงของมนุษย์ การจับปลาด้วยวิธีการแบบนี้ เริ่มที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเป็นระยะเวลานานกว่า 1,500 ปี มาแล้ว ในจีนและญี่ปุ่น โดยชาวประมงจะพายเรือออกไปพร้อมด้วยฝูงนกกาน้ำ จากนั้นจะปล่อยให้นกลงไปในน้ำ และใช้ไม้พายตีน้ำเพื่อให้นกตื่นตัวและดำลงไป ทั้งนี้จะต้องใช้เชือกผูกคอนกด้วยเพื่อมิให้นกกลืนปลาลงไป แต่เมื่อนกตัวใดหาปลาได้ ชาวประมงจะแบ่งชิ้นปลาให้แก่นกเป็นรางวัล ปัจจุบัน วิธีการประมงแบบนี้ได้ลดน้อยลงไปตามกาลเวลา แต่ในญี่ปุ่นยังคงมีการอนุรักษ์ประเพณีนี้อยู่ ที่เมืองเซะกิ จังหวัดกิฟุ มีประเพณีการจับปลาอะยุ ที่แม่น้ำนะงะระ โดยเป็นประเพณีที่มีมาอย่างยาวนานกว่า 1,300 ปีแล้ว เรียกว่า "เทศกาลอุไก" (鵜飼) โดยผู้ที่จับปลาจะเรียกว่า "อุโช" (鵜匠) จะมีในระหว่างวันที่ 11 พฤษภาคม-15 ตุลาคม ของทุกปี ซึ่งถือเป็นประเพณีใหญ่มีการเฉลิมฉลองด้วยพลุและดอกไม้ไฟ ที่จีน ที่ทะเลสาบเอ๋อร์ไห่ ในมณฑลยูนนาน ยังคงอนุรักษ์การจับปลาด้วยนกกาน้ำอยู่ โดยถือเป็นไฮไลต์การท่องเที่ยวที่สำคัญประการหนึ่งของทะสาบแห่งนี้ ในยุโรป ที่ประเทศอังกฤษ พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ โปรดการเลี้ยงนกกาน้ำให้จับปลามาก ถึงขนาดสร้างบ่อน้ำขนาดใหญ่เพื่อให้นกกาน้ำได้จับปลา ในบริเวณที่ปัจจจุบันเป็นที่สถานที่ตั้งรัฐสภาอังกฤษ.

ดู มณฑลยูนนานและการจับปลาของนกกาน้ำ

การทับศัพท์ภาษาจีน

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาจีนกลางนี้เป็นหลักการที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา) ซึ่งอาจแตกต่างจากที่นักวิชาการและสื่อบางส่วนใช้อยู่บ้างเล็กน้อย โปรดดูรายละเอียดท้ายบทความ.

ดู มณฑลยูนนานและการทับศัพท์ภาษาจีน

การขนส่งในประเทศลาว

แผนที่ประเทศลาว การคมนาคมในประเทศลาว ประเทศลาวมีระบบการคมนาคมที่ทันสมัยและหลากหลาย รวมไปถึงสนามบินต่าง ๆ ด้วย แต่ประเทศลาวไม่มีด้านใดติดกับทะเล ดังนั้นประเทศลาวจึงไม่มีท่าเรือแต่อย่างใ.

ดู มณฑลยูนนานและการขนส่งในประเทศลาว

กิ้งก่าบินคอแดง

กิ้งก่าบินคอแดง หรือ กะปอมปีกคอแดง ในภาษาอีสาน (Blanford's flying lizard, Orange winged flying lizard, Banded winged flying lizard; 裸耳飞蜥) จัดเป็นกิ้งก่าบินชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Draco blanfordii อยู่ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) มีเหนียงสีเหลืองอ่อน มีประสีดำบนพื้นสีแดงสด ปีกมีลายบั้งสีเข้มสลับกับสีส้มเหลือง อันเป็นที่มาของชื่อ ลำตัวสีเขียวปนเทา กินปลวกต้นไม้, หนอนขนาดเล็ก และมดไม้ยักษ์ เป็นอาหาร ตัวเมียวางไข่ในพื้นทราย หรือจอมปลวกบนต้นไม้ หรือโพรงไม้ ครั้งละ 5-6 ฟอง พบมากที่สุด คือ 10 ฟอง แพร่กระจายพันธุ์ได้กว้างไกลตั้งแต่อนุทวีปอินเดียจนถึงภูมิภาคอินโดจีน และประเทศจีนตอนล่าง เช่น มณฑลยูนนาน สำหรับในประเทศไทย พบได้ทางภาคเหนือลงมาจนถึงภาคใต้ตอนล่าง และมาเลเซีย จัดเป็นกิ้งก่าบินที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ มีความยาวตั้งแต่ปลายหัวจรดโคนหาง 4.75 นิ้ว และหางมีความยาว 9นิ้ว มักพบในป่าดิบชื้นที่ราบ หรือ ป่าดิบเขาระดับกลาง และป่าเบญจพรรณ กิ้งก่าบินคอแดง จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและกิ้งก่าบินคอแดง

กุบไล ข่าน

มเด็จพระจักรพรรดิกุบไล ข่าน หรือ จักรพรรดิซื่อจูหวางตี้ หรือ จักรพรรดิซีโจ๊วฮ่องเต้ (23 กันยายน พ.ศ. 1758-1837 (ค.ศ. 1215-1294)) เป็นข่านหรือจักรพรรดิของมองโกล และยังเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์หยวนแห่งประเทศจีน กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิเจงกีส ข่าน พระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิมองโกลเมื่อ พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและกุบไล ข่าน

ก่อผา

ก่อผาเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู มณฑลยูนนานและก่อผา

ก๋วยเตี๋ยวข้ามสะพาน

ก๋วยเตี๋ยวข้ามสะพาน หรือ กว้อเฉียวหมี่เสี้ยน เป็นอาหารประเภทก๋วยเตี๋ยวที่รู้จักกันดีในอำเภอเหมิ่งเจ้อ มณฑลยูนนาน.

ดู มณฑลยูนนานและก๋วยเตี๋ยวข้ามสะพาน

ฝ่ายบริหารกลางทิเบต

ฝ่ายบริหารกลางทิเบต หรือ ฝ่ายบริหารกลางทิเบตขององค์ทะไลลามะ (Central Tibetan Administration, CTA; หรือ Central Tibetan Administration of His Holiness the Dalai Lama) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่น นำโดย "เทนซิน กยัตโส" ทะไลลามะองค์ที่ 14 จุดยืนขององค์กรนี้คือ ทิเบตเป็นชาติอิสระที่มีเอกราชมายาวนาน มิใช่ส่วนหนึ่งของจีน ปัจจุบันแม้ว่าทิเบตจะยังไม่ได้รับเอกราช แต่ก็ได้สิทธิปกครองตนเองเช่นเดียวกับฮ่องกง กองบัญชาการใหญ่ของรัฐบาลพลัดถิ่นนี้อยู่ที่ธรรมศาลาในอินเดีย ที่ทะไลลามะจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและฝ่ายบริหารกลางทิเบต

ภาษาบีซู

ษาบีซู (Bisu) หรือภาษามบีซู ภาษามีซู ภาษามีบีซู ภาษาเลาเมียน เป็นภาษาที่มีผู้พูดในประเทศจีนและประเทศไทย มีผู้พูดทั้งหมดราว 3,000 คน โดยในจีนมี 2,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาบีซู

ภาษาพูลา

ษาพูลา (Phula) มีผู้พูดทั้งหมด 14,050 คน พบในเวียดนาม 9,050 คน (พ.ศ. 2542) ทางภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงเหนือ พบในจีน 5,000 คน (พ.ศ. 2551) ในมณฑลยูนนาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาพม่า สาขาย่อยงวี เป็นภาษามีวรรณยุกต์ ผู้พูดในเวียดนามเริ่มเปลี่ยนมาพูดภาษาเวียดนาม ในจีนถือว่าผู้พูดภาษานี้เป็นกลุ่มเดียวกับชาวอี๋.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาพูลา

ภาษากวาเบียว

ษากวาเบียว (Qabiao) หรือภาษาละกัว ภาษาปูเปียว หรือภาษาเปน ติ โลโล อยู่ในตระกูลไท-กะได มีผู้พูดทั้งหมด 310 คน พบในเวียดนาม 307 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษากวาเบียว

ภาษากะโด

ษากะโด (Kado) หรือภาษากะดู ภาษากะโต ภาษาอาสัก ภาษาเทต ภาษาทัต มีผู้พูดทั้งหมด 228,725 คน พบในพม่า 128,500 คน (พ.ศ. 2526) ในบริเวณระหว่างมัณฑะเลย์กับมยิตกยินา บางส่วนพบในรัฐยะไข่ พบในจีน 100,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษากะโด

ภาษากะเดา

ษากะเดา (Kaduo) หรือภาษากะจัว มีผู้พูดทั้งหมด 10,292 คน อยู่ในลาว 5,000 คน (พ.ศ. 2524) ทางภาคเหนือติดกับชายแดนจีน พบในจีน 5,292 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษากะเดา

ภาษากัง

ษากัง (Kang language) หรือ ภาษาไทกัง (Tay Khang language) มีผู้พูดทั้งหมด 81,701 คน พบในประเทศลาว 47,636 คน (พ.ศ. 2538) ในแขวงหัวพันและเชียงขวาง พบในประเทศจีน 34,065 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษากัง

ภาษากิมมุน

ษากิมมุน (Kim Mun) มีผู้พูดทั้งหมด 374,500 คน พบในจีน 200,000 คน (พ.ศ. 2538) ซึ่งรวมในเกาะไหหลำ 61,000 คน (พ.ศ. 2544) แล้ว พบในยูนนาน กวางสี และเกาะไหหลำ พบในลาว 4,500 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษากิมมุน

ภาษากูกอง

ษากูกอง (Kucong) หรือ ภาษาโกซุง ภาษาละห์ลู มีผู้พูดทั้งหมด 46,870 คน พบในเวียดนามทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ 6,870 คน (พ.ศ. 2550) พบในจีน 40,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษากูกอง

ภาษามัง

ษามัง (Mang) มีผู้พูดทั้งหมด 3,165 คน อยู่ในเวียดนาม 2,660 คน (พ.ศ. 2542) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ มีผู้พูดในจีนราว 500 คน ในมณฑลยูนนาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ – เขมร สาขามอญ – เขมรเหนือ สาขาย่อยมัง.

ดู มณฑลยูนนานและภาษามัง

ภาษาม้งชัว

ษาม้งชัว (Hmong Shua หรือ Sinicized Miao) หรือภาษาม้งจีน มีผู้พูดทั้งหมด 252,000 คน พบในจีน 250,000 คน (พ.ศ. 2543) ทางตะวันตกของมณฑลกุ้ยโจว และตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลยูนนาน และตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลกวางสี พบในเวียดนาม 2,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาม้งชัว

ภาษาม้งขาว

ษาม้งขาว หรือ ภาษาม้งเด๊อว (Hmong Daw) มีผู้พูดทั้งหมด 514,895 คน พบในจีน 232,700 คน (พ.ศ. 2547) ทางตะวันตกของกุ้ยโจว ทางใต้ของเสฉวน และยูนนาน พบในลาว 169,800 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาม้งขาว

ภาษาม้งเขียว

ษาม้งเขียว หรือ ภาษาม้งจั๊ว (Hmong Njua) ภาษาม้งตะวันตก มีผู้พูดทั้งหมด 1,290,600 คน พบในจีน 1,000,000 คน (พ.ศ. 2525) ซึ่งรวมชาวบูนูที่เป็นชนกลุ่มเย้าแต่พูดภาษานี้เป็นภาษาแม่ 29,000 คนเข้าไปด้วย ในบริเวณกุ้ยโจว เสฉวน และยูนนาน พบในลาว 145,600 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาม้งเขียว

ภาษาลาฮู

ษาลาฮู (Lahu) หรือภาษาลาหู่ หรือภาษามูเซออยู่ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยโลโล มีผู้พูดทั้งหมด 577,178 คน พบในจีน 411,476 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาลาฮู

ภาษาลาฮูเหลือง

ษาลาฮูเหลือง (Lahu Shi) หรือภาษาลาฮู ชิ มีผู้พูดทั้งหมด 40,240 คน พบในลาว 3,240 คน (พ.ศ. 2543) ในบ่อแก้ว พบในจีน 5,000 คน (พ.ศ. 2527) ทางใต้ของยูนนาน พบในพม่า 10,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาลาฮูเหลือง

ภาษาลีสู่

ษาลีซอ หรือ ลีสู่ (Lisu)หรือภาษาโยบิน ภาษาเยายิน มีผู้พูดทั้งหมด 723,000 คน พบในจีน 580,000 คน (พ.ศ. 2542) ในจำนวนนี้พูดได้ภาษาเดียว 467,869 คน ในยูนนานตะวันตก พบในอินเดีย 1,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาลีสู่

ภาษาว้า

อักษรว้า ภาษาว้า (Wa language) มีผู้พูดทั้งหมด 1,188,000 คน พบในพม่า 922,000 คน (พ.ศ. 2551) โดยมี 415,000 คน พูดได้ภาษาเดียว ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง พบในทางเหนือของรัฐฉาน บริเวณตอนบนของแม่น้ำสาละวิน และทางตะวันออกของรัฐฉานแถบเชียงตุง พบในจีน 266,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาว้า

ภาษาอะชาง

ษาอะชาง (Achang language) หรือภาษาโงชาง ภาษาไมง์ถา มีผู้พูดทั้งหมด 62,700 คน พบในจีน 27,700 คน (พ.ศ. 2533) ในเขตปกครองตนเองไต-จิ่งโป่ทางตะวันตกของยูนนาน ตามแนวชายแดนจีน-พม่า มีผู้พูดในพม่า 35,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาอะชาง

ภาษาอาหม

ษาอาหม (Ahom language) เป็นหนึ่งในกลุ่มภาษาย่อยไทพายัพ ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มกัม-ไท, เบ-ไท, ไท-แสก อยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษาอาหมนั้นมีอักษร และถ้อยคำของตนใช้สื่อสารทั้งพูดและเขียนมาอย่างต่อเนื่อง แต่ชาวอาหมในปัจจุบันนั้นหันไปใช้ภาษาอัสสัมซึ่งอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนแล้ว อย่างไรก็ตาม ถ้อยคำที่บันทึกจารึกไว้ในคัมภีร์ในบทสวดในพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ก็แสดงให้เห็นว่านักบวชชาวไทอาหมยังใช้ภาษาไทได้อย่างสมบูรณ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาอาหม

ภาษาจ้วงหยาง

ษาจ้วงหยาง (Yang Zhuang language) มีผู้พูดทั้งหมด 870,000 คน (พ.ศ. 2543) ในประเทศจีน พบในเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงและมณฑลยูนนาน มีในประเทศเวียดนามเช่นกัน แต่ไม่ทราบจำนวนแน่นอน อยู่ทางภาคเหนือบริเวณจังหวัดกาวบั่ง จัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มภาษากัม-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไท-แสก จัดเป็นสำเนียงทางใต้ของภาษาจ้วง ผู้พูดภาษานี้ในจีนจะพูดภาษาจีนกลาง ภาษาจีนผิง หรือภาษาจีนกวางตุ้งเป็นภาษาที่สอง.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาจ้วงหยาง

ภาษาจ้วงหยงหนาน

ษาจ้วงหยงหนาน (Yongnan Zhuang) มีผู้พูดทั้งหมด 1,810,000 คน อยู่ในประเทศจีน1,800,000 คน (พ.ศ. 2543) ทางตอนใต้ของมณฑลกวางสี และบางส่วนของมณฑลยูนนาน อยู่ในประเทศเวียดนามราว 10,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาจ้วงหยงหนาน

ภาษาจ้วงจั่วเจียง

ษาจ้วงจั่วเจียง (Zuojiang Zhuang ISO 639-3) มีผู้พูดทั้งหมด 1,840,000 คน อยู่ในจีน 1,500,000 คน (พ.ศ. 2543) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลกวางสี มณฑลยูนนาน มีผู้พูดในเวียดนาม 340,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาจ้วงจั่วเจียง

ภาษาจ้วงได

ษาจ้วงได (Dai Zhuang) มีผู้พูดทั้งหมด 120,200 คน พบในจีน 120,000 คน (พ.ศ. 2550) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลยูนนาน เขตปกครองตนเองของชาวจ้วงและชาวแม้วในมณฑลกวางสี พบในเวียดนาม 200 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาจ้วงได

ภาษาปลัง

ษาปลังหรือภาษาบลัง ภาษาปูลัง เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร สาขาปะหล่อง มีผู้พูดทั้งสิ้น 37,200 คน พบในจีน 24,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาปลัง

ภาษาปะหล่องชเว

ษาปะหล่องชเว (Shwe Palaung) หรือภาษาปะหล่องทอง มีผู้พูดทั้งหมด 150,000 คน พบในพม่า 148,000 คน (พ.ศ. 2525) ทางภาคเหนือของรัฐฉาน พบในจีน 2,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาปะหล่องชเว

ภาษาปะหล่องรูไม

ษาปะหล่องรูไม (Rumai Palaung) หรือภาษาปะหล่องเงิน มีผู้พูดทั้งหมด 139,000 คน พบในพม่า 137,000 คน ทางตอนเหนือของรัฐฉาน พบในจีน 2,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาปะหล่องรูไม

ภาษาปะหล่องปาเล

ษาปะหล่องปาเล (Pale Palaung) หรือภาษาปะหล่องเงิน ภาษาดลัง มีผู้พูดทั้งหมด 267,539 คน พบในพม่า 257,539 คน (2543) อยู่ทางใต้ของรัฐฉาน พบในจีน 5,000 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาปะหล่องปาเล

ภาษาปาดี

ษาปาดี (Pa Di language) มีผู้พูดทั้งหมด 1,300 คน พบในประเทศจีน 1,000 คน ส่วนใหญ่อยู่ในมณฑลยูนนาน พบในประเทศเวียดนามทางภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงเหนือ 300 คน จัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มภาษากัม-ไท เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาปาดี

ภาษาปู้อี

ษาปู้อี (ปู้อี: Haausqyaix หรืออาจพบสะกดเป็น Buyi, Bouyei, Tujia หรือ Puyi;; tiếng người Bố Y) มีผู้พูดทั้งหมด 2,649,205 คน พบในจีน 2,600,000 คน (พ.ศ. 2543) ในบริเวณที่ราบกุ้ยโจว-ยูนนาน ในมณฑลยูนนานและเสฉวน พบในเวียดนาม 49,100 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาปู้อี

ภาษานุง (ทิเบต-พม่า)

ษานุง (Nung language) มีผู้พูดทั้งหมด 790 คน พบในพม่า 400 คน (พ.ศ. 2543) ทางภาคเหนือ พบในจีน 390 คน (พ.ศ. 2542) ในมณฑลยูนนาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขานุง เป็นคนละภาษากับภาษานุงที่เป็นภาษาตระกูลไท-กะไดในลาวและเวียดนาม และภาษาจีนกวางตุ้งสำเนียงนุงในเวียดนาม ผู้พูดภาษานี้ในจีนกำลังลดจำนวนลง ส่วนใหญ่พูดภาษาลีซอได้ บางส่วนพูดภาษาจีนกลางได้.

ดู มณฑลยูนนานและภาษานุง (ทิเบต-พม่า)

ภาษาน่าซี

ษาน่าซีเป็นภาษากลุ่มจีน-ทิเบต มีผู้พูดราว 300,000 คน ในลี่เจียง มณฑลยูนนาน ใน..

ดู มณฑลยูนนานและภาษาน่าซี

ภาษาไจ้หว่า

ษาไจ้หว่า (Zaiwa language) ISO 639-3: atb) หรือภาษาซิ มีผู้พูดทั้งหมด 110,000 คน โดยเป็นผู้ที่พูดได้ภาษาเดียวถึง 20,000 คน พบในจีน 80,000 คน (..

ดู มณฑลยูนนานและภาษาไจ้หว่า

ภาษาไทหย่า

ภาษาไทหย่า (Tai Ya language) เป็นภาษาของชาวไทหย่าที่อาศัยอยู่ทางมณฑลยูนนานของประเทศจีน ภาษานี้มีความคล้ายคลึงกับภาษาไทยบางคำ เช่น มา ดี ฟัน ฟาง ขา มือ หู ตา แต่แปร่งไปบ้าง เช่น เสื้อ เป็น เซ้อ หัว เป็น โห่ อยู่ดีไม่อยู่ดี เป็น อู้ดีบ่อู้ดี มีบางคำปนกับภาษาจีน เช่น อู๋หลาย หรือ มีหลาย ซึ่งคำว่า อู๋ เป็นภาษาจีน แปลว่ามี หลาย เป็นคำไทย แปลว่า มาก บางคำคล้ายกับภาษาไทใหญ่ เช่น คำว่า ไป ไทหย่าเรียก กา ไทใหญ่เรียก กว่า บางคำก็แปลก ๆ ไป หรือได้รับอิทธิพจากชาวเขาด้วย อย่างเช่น กางเกง เรียกว่า เตี๋ยว ไปเที่ยว เรียกว่า กาหว่น มากี่คน เรียกว่า มาจิก้อ หมวดหมู่:ภาษาในประเทศจีน หมวดหมู่:กลุ่มภาษาไท.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาไทหย่า

ภาษาไตลอง

ษาไตลอง (Tai Long) มีผู้พูด 4,800 คน (พ.ศ. 2547) ในประเทศลาว เป็นภาษาใกล้เคียงหรืออาจจะเป็นภาษาเดียวกับภาษาเมา หรือไทเมาตามแนวชายแดนพม่า-ยูนนาน อยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษากลุ่มคำ-ไต สาขาเบ-ไต สาขาย่อยไต-แสก.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาไตลอง

ภาษาไป๋

ษาไป๋ (ชื่อในภาษาของตน: Bairt‧ngvrt‧zix; อักษรจีนตัวเต็ม: 白語, อักษรจีนตัวย่อ: 白语; พินยิน: Báiyǔ) เป็นภาษาที่ใช้พูดในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีผู้พูดมากกว่าล้านคน แบ่งได้เป็นสามสำเนียงหลัก เป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และมีสระมาก ไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง อยู่ในตระกูลทิเบต-พม่า มีคำยืมจากภาษาจีนกลางราว 70% การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กริยา-กรรม แบบเดียวกับภาษาจีน.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาไป๋

ภาษาเรียง

ษาเรียง (Riang language) มีผู้พูดทั้งหมด 15,500 คน พบในพม่า 12,500 คน (พ.ศ. 2551) ในรัฐฉาน พบในจีน 3,000 คน (พ.ศ. 2538) ในมณฑลยูนนาน จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรเหนือ สาขาย่อยปะหล่อง ผู้พูดภาษานี้ในพม่าส่วนใหญ่พูดภาษาไทใหญ่ได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาเรียง

ภาษาเลาโว

ษาเลาโว (Lhao Vo language) มีผู้พูดทั้งหมด 103,500 คน พบในพม่า 100,000 คน (พ.ศ. 2540) ในรัฐกะฉิ่น ตามแนวชายแดนด้านตะวันออก และภาคเหนือของพม่า พบในจีน 3,500 คน (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและภาษาเลาโว

ภูมิทัศน์วัฒนธรรมนาขั้นบันไดหงเหอฮาหนี่

ูมิทัศน์วัฒนธรรมนาขั้นบันไดหงเหอฮาหนี่ คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลยูนนาน ประเทศจีนตามแม่น้ำแดง เป็นภูมิทัศน์นาข้าวแบบขั้นบันไดกว่า 3,000 ขั้นตลอดหุบเขา ที่ทั้งสวยงามน่าตื่นตาตื่นใจ และเป็นการแสดงภูมิปัญญาของชาวฮาหนี่ ชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ ผู้คิดค้นระบบชลประทานที่สลับซับซ้อน จนสามารถผันน้ำจากยอดเขาลงไปยังที่ราบตลอดทั้งหุบเขาเพื่อให้ปลูกข้าวได้ตั้งแต่เมื่อ 1,200 กว่าปีที่แล้ว ยูเนสโกให้เหตุผลในการรับรองนาข้าวหงเหอฮาหนี่เป็นมรดกโลกว่าเป็นเพราะภูมิทัศน์แห่งนี้ไม่เพียงแสดงความสมดุลระหว่างการทำเกษตรกรรมกับการอยู่ร่วมกับธรรมชาติเท่านั้น แต่ยังแสดงถึงการสอดประสานระหว่างบุคคลกับชุมชน และความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อทางศาสนากับการเกษตรกรรมได้อย่างกลมกลืนอีกด้ว.

ดู มณฑลยูนนานและภูมิทัศน์วัฒนธรรมนาขั้นบันไดหงเหอฮาหนี่

ภูเขาหิมะมังกรหยก

ภูเขาหิมะมังกรหยก เป็นเทือกเขาขนาดเล็กที่อยู่ใกล้กับเมืองลี่เจียง ในมณฑลยูนนาน ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ยอดเขาที่สูงที่สุดมีชื่อว่า ซ่านจึโต่ว (扇子陡, shàn zi dǒu) ทิวทัศน์ของเทือกเขาที่มองจากสวนที่สระมังกรดำในเมืองลี่เจียงนั้น กล่าวกันว่าเป็นหนึ่งในทิวทัศน์ที่งดงามที่สุดของจีน หมวดหมู่:ภูเขาในประเทศจีน หมวดหมู่:มณฑลยูนนาน.

ดู มณฑลยูนนานและภูเขาหิมะมังกรหยก

มะตาด

มะตาด เป็นพืชในสกุลส้าน มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และทางตะวันออกของศรีลังกาจรดทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน (มณฑลยูนนาน) และเวียดนาม และทางตอนใต้ของไทยถึงมาเลเซีย และอินโดนีเซียGermplasm Resources Information Network: มะตาดมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: ส้มปรุ ส้านกว้าง ส้านท่า ส้านใหญ่ (สุราษฎร์ธานี) ส้านป้าว (เชียงใหม่) แส้น (ตรัง, สงขลา).

ดู มณฑลยูนนานและมะตาด

มัสยิดบ้านฮ่อ

มัสยิดบ้านฮ่อ มัสยิดบ้านฮ่อ มัสยิดเฮดายาตูลอิสลามบ้านฮ่อ หรือเรียกสั้น ๆ ว่ามัสยิดบ้านฮ่อ ตั้งอยู่ในตำบลช้างคลาน ในตัวเมืองจังหวัดเชียงใหม่ใกล้กับไนท์บาซาร์ มัสยิดแห่งนี้สร้างขึ้นโดยชาวจีนมุสลิมที่อพยพมาจากมณฑลยูนนาน ประเทศจีน หรือที่เรียกว่า จีนฮ่อ.

ดู มณฑลยูนนานและมัสยิดบ้านฮ่อ

มิสแกรนด์จีน

มิสแกรนด์จีน (Miss Grand China) เป็นตำแหน่งในการประกวดนางงามระดับประเทศของจีน เพื่อคัดเลือกตัวแทนเข้าร่วมการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล เริ่มจัดประกวดเพื่อคัดเลือกผู้ดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรกในปี..

ดู มณฑลยูนนานและมิสแกรนด์จีน

มิสเอิร์ธ 2017

มิสเอิร์ธ 2017, การประกวดมิสเอิร์ธ ครั้งที่ 17 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ดู มณฑลยูนนานและมิสเอิร์ธ 2017

มณฑล

มณฑล อาจหมายถึง.

ดู มณฑลยูนนานและมณฑล

มณฑลกุ้ยโจว

มณฑลกุ้ยโจว หรือเดิมไทยเรียกว่า กุยจิว (จีนตัวย่อ: 贵州省 จีนตัวเต็ม: 貴州省 Guizhou) ชื่อย่อ เฉียน (黔) หรือ กุ้ย (贵) ตั้งอยู่บนที่ราบสูงหยุนกุ้ยส่วนตะวันออก ระหว่างเส้นลองจิจูด 103.36 - 109.31 องศาตะวันออก และ ละติจูด 24.37 - 29.13 องศาเหนือ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน มีเมืองหลวงชื่อ กุ้ยหยาง มีเนื้อที่ 176,100 ก.ม.

ดู มณฑลยูนนานและมณฑลกุ้ยโจว

มณฑลเสฉวน

มณฑลเสฉวน หรือ ซื่อชวน หรือชื่อย่อว่า ชวน(川)หรือ สู่(蜀)เป็นมณฑลหนึ่งของประเทศจีน มีเมืองเอกชื่อเฉิงตู มณฑลเสฉวนอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนตอนบนของแม่น้ำแยงซีเกียง มีพื้นที่ 485,000 ตาราง ก.ม.

ดู มณฑลยูนนานและมณฑลเสฉวน

ยวี่ซี

วี่ซี (玉溪, พินอิน: Yùxī) เป็นเมืองหนึ่งในทางตอนกลางของมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน.

ดู มณฑลยูนนานและยวี่ซี

รองเท้านารีฝาหอย

รองเท้านารีฝาหอย เป็นกล้วยไม้ในประเทศไทย อยู่ในสกุลรองเท้านารี ค้นพบโดย Messrs Low และ Co.

ดู มณฑลยูนนานและรองเท้านารีฝาหอย

รองเท้านารีดอยตุง

รองเท้านารีดอยตุงเป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี ค้นพบโดย Mr.R.Moore ในปี..

ดู มณฑลยูนนานและรองเท้านารีดอยตุง

รองเท้านารีเหลืองปราจีน

รองเท้านารีเหลืองปราจีน เป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี ถูกค้นพบโดย Mr.C. Parish ในปี..

ดู มณฑลยูนนานและรองเท้านารีเหลืองปราจีน

รัฐชาน

รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.

ดู มณฑลยูนนานและรัฐชาน

รัฐกะฉิ่น

รัฐกะฉิ่น (ကချင်ပြည်နယ်; กะฉิ่น: Jingphaw Mungdaw) เป็นเขตปกครองหนึ่ง ตั้งอยู่ทางตอนเหนือสุดของประเทศพม.

ดู มณฑลยูนนานและรัฐกะฉิ่น

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ดู มณฑลยูนนานและราชวงศ์หยวน

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร บ รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ดู มณฑลยูนนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ)

รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของบุคคลในประวัติศาสตร์จีนในยุคสามก๊กที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ล รายชื่อนี้แสดงชื่อตามสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน กรณีเป็นชื่อบุคคลที่ไม่ปรากฏในสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) จะแสดงเฉพาะชื่อในภาษาจีนกลาง ชื่อในอักษรโรมัน และชื่อเขียนเป็นตัวอักษรจีน.

ดู มณฑลยูนนานและรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)

รายชื่อพระธาตุเจดีย์

ระธาตุเจดีย์ชินสีห์มิ่งมงคล วัดสว่างแสงจันทร์ บ้านหนองลาด ตำบลหนองเม็ก อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี หน้านี้เป็นรายชื่อพระธาตุเจดีย์ สำหรับความหมายดูที่ เจดี.

ดู มณฑลยูนนานและรายชื่อพระธาตุเจดีย์

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

นี่คือ รายชื่อมณฑลของจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ข้อมูลเฉพาะจีนแผ่นดินใหญ่เรียงตามค่าจีดีพีต่อประชากร.

ดู มณฑลยูนนานและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากร

แผนที่มณฑลของจีนเรียงตามจำนวนประชากร ประชากรประเทศจีนปี 2004.

ดู มณฑลยูนนานและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากร

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่

มณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดเนื้อที่ หมวดหมู่: มณฑลของประเทศจีน.

ดู มณฑลยูนนานและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่

รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร

แผนที่แสดงความหนาแน่นแต่ละพื้นที่ของจีน นี่คือ รายชื่อมณฑลของจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร.

ดู มณฑลยูนนานและรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากร

รายชื่อหอดูดาว

นี่คือ รายชื่อหอดูดาว เรียงลำดับตามตัวอักษร รวมถึงวันเปิดปฏิบัติการและตำแหน่งที่ตั้ง รายชื่อนี้อาจรวมถึงวันปฏิบัติการวันสุดท้ายสำหรับหอดูดาวที่ได้ปิดตัวลง โดยรายชื่อนี้จะเป็นหอดูดาวซึ่งใช้ศึกษาด้านดาราศาสตร์เท่านั้น.

ดู มณฑลยูนนานและรายชื่อหอดูดาว

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ดู มณฑลยูนนานและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศจีน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศจีนทั้งสิ้น 52 แหล่ง ประกอบด้วยมรดกโลกทางวัฒนธรรม 36 แหล่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 12 แห่ง และมรดกโลกแบบผสมอีก 4 แหล่ง.

ดู มณฑลยูนนานและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศจีน

รายชื่อเขตการปกครอง

รายชื่อเขตปกครองในระดับบนสุดของประเทศต่าง ๆ ที่มีการปกครองแบบสหพันธรัฐหรือรัฐรวม รวมทั้งเขตการปกครองในระดับบนสุดของเอกรัฐหรือรัฐเดี่ยวบางแห่ง.

ดู มณฑลยูนนานและรายชื่อเขตการปกครอง

รถไฟฟ้าคุนหมิง

รถไฟฟ้าคุนหมิง (KRT) หรือ รถไฟใต้ดินคุนหมิง เป็นระบบขนส่งมวลชนในเมืองคุนหมิง เมืองหลวงของมณฑลยูนนาน ปัจจุบันมี 2 เส้นทาง.

ดู มณฑลยูนนานและรถไฟฟ้าคุนหมิง

รถไฟฟ้าคุนหมิง สาย 1

รถไฟฟ้าคุนหมิง สาย 1 เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในนครคุนหมิง มณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีระยะทาง จำนวน 12 สถานี เปิดให้บริการวันที่ 20 พฤษภาคม..

ดู มณฑลยูนนานและรถไฟฟ้าคุนหมิง สาย 1

รถไฟฟ้าคุนหมิง สาย 6

รถไฟฟ้าคุนหมิง สาย 6 หรือ แอร์พอร์ตเอ็กซ์เพรส เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในนครคุนหมิง มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ระยะทาง สีประจำเส้นทางคือ สีเทียล.

ดู มณฑลยูนนานและรถไฟฟ้าคุนหมิง สาย 6

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557

ูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก..

ดู มณฑลยูนนานและฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557

ลัทธิอาจาลี่

วัดซิงเจียว (Xingjiao) ของชาวไป๋ สร้างในยุคราชวงศ์หมิง ลัทธิอาจาลี้ เป็นศาสนาพุทธนิกายวัชรยานรูปแบบหนึ่ง ปฏิบัติในกลุ่มชาวไป๋ในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ชื่อลัทธิ "อาจาลี้" มาจากคำสันสกฤตว่า "อาจารฺย" (ācārya) ซึ่งเป็นนักบวชตันตระผู้เป็นกุญแจสำคัญของศาสนาสำหรับการใช้คาถาและเวทย์มนตร์ ลัทธิอาจาลี้ก่อตั้งขึ้นโดยจันทรคุปตะ (Candragupta) นักบวชชาวอินเดีย ที่เดินทางเผยแผ่ศาสนาจากทิเบตมาจนถึงอาณาจักรน่านเจ้า (653–902) ในปี..

ดู มณฑลยูนนานและลัทธิอาจาลี่

ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)

ลาว (ລາວ) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ตระกูลภาษาไท-กะได เป็นชนชาติใหญ่ที่สุดและมีจำนวนมากที่สุดในประเทศลาว มีประชากรประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นเป็นจำนวนร้อยละ 53.2 ส่วนที่อื่น ๆ อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ชาวลาวบางส่วนได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานที่สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ชาวลาวส่วนใหญ่ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน ชาวลาวส่วนมากจะนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และบางส่วนยังนับถือควบคู่ไปกับลัทธิภูตผีวิญญาณต่าง ๆ แม้ชาวลาวจะตกอยู่ภายใต้อำนาจของชนชาติต่าง ๆ แต่ก็ยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนได้เป็นอย่างดี.

ดู มณฑลยูนนานและลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)

ลาฮอ

ลาฮอ อาจหมายถึง.

ดู มณฑลยูนนานและลาฮอ

ลิงจมูกเชิด

ลิงจมูกเชิด หรือ ค่างจมูกเชิด (Snub-nosed monkey; 金丝猴) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสกุลหนึ่ง ในอันดับวานร (Primates) ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Rhinopithecus จัดเป็นค่าง (Colobinae) สกุลหนึ่ง กระจายพันธุ์ในป่าทึบบนภูเขาสูงกว่าระดับน้ำทะเลหลายพันเมตร ในแถบตอนเหนือของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน จนถึงตอนล่างของจีนที่ติดต่อกับพรมแดนประเทศอื่น ๆ เช่น รัฐคะฉิ่นของพม่า และเวียดนาม ลิงจมูกเชิด มีลักษณะเด่นโดยทั่วไป คือ ไม่มีกระดูกดั้งจมูก และรูจมูกเชิดขึ้นด้านบน อันเป็นที่มาของชื่อเรียก จัดเป็นลิงที่มีขนาดใหญ่พอสมควร เพราะโตเต็มที่ อาจมีขนาดใหญ่ได้ถึง 51-83 เซนติเมตร ความยาวหาง 55-97 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก แต่ตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่ากันถึงครึ่งเท่าตัว มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ กินใบไม้และดอกไม้ต่าง ๆ เป็นอาหาร โดยสามารถที่จะกินพืชชนิดต่าง ๆ ได้ถึง 60 ชนิด ลูกลิงขนาดเล็ก จะมีสีขนที่อ่อนไม่เหมือนตัวเต็มวัย โดยจะอาศัยอยู่กับแม่จนกว่าจะโต เมื่ออายุได้ราว 6-7 ปี มีระยะเวลาการตั้งท้องนาน 200 วัน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในช่วงฤดูใบไม้ผลิเท่านั้น ปัจจุบัน พบทั้งหมด 5 ชนิด โดยชนิดที่พบล่าสุด พบในประเทศพม่า ทุกชนิดเป็นสัตว์ที่อยู่ในสภาพใกล้สูญพันธุ์และใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤต โดยเฉพาะชนิดที่พบในประเทศจีน มีจำนวนประชากรในธรรมชาติไม่เกิน 2,000 ตัว.

ดู มณฑลยูนนานและลิงจมูกเชิด

ลิงจมูกเชิดสีทอง

ลิงจมูกเชิดสีทอง หรือ ค่างจมูกเชิดสีทอง (golden snub-nosed monkey; 川金丝猴) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทไพรเมต จำพวกค่างชนิดหนึ่ง เป็นลิงจมูกเชิดที่เป็นต้นแบบของลิงจมูกเชิดทั้งหมด จัดเป็นค่างหรือลิงโลกเก่าขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีขนยาว สีขนมีหลากหลายสี ทั้งสีทอง และสีแดง แตกต่างกันไปตามถิ่นที่อยู่อาศัยและชนิดย่อย (มี 3 ชนิด ดูได้ที่ตางราง) มีความยาวลำตัวประมาณ 51-83 เซนติเมตร ส่วนหางยาวถึง 55-97 เซนติเมตร ตัวผู้มีลักษณะเหมือนกับตัวเมีย แต่มีขนาดใหญ่กว่ามากถึงครึ่งหนึ่ง มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ กินใบไม้และดอกไม้ต่าง ๆ เป็นอาหาร รวมถึงไลเคนและเปลือกไม้ด้วยยามถึงฤดูกาลที่อาหารขาดแคลน โดยสามารถที่จะกินพืชชนิดต่าง ๆ ได้ถึง 60 ชนิดUntamed China with Nigel Marven, สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ลูกลิงขนาดเล็ก จะมีสีขนที่อ่อนไม่เหมือนตัวเต็มวัย โดยจะอาศัยอยู่กับแม่จนกว่าจะโต เมื่ออายุได้ราว 6-7 ปี มีระยะเวลาการตั้งท้องนาน 200 วัน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในช่วงฤดูใบไม้ผลิเท่านั้น ลิงตัวเมียที่มีลูกจะมีสถานะทางสังคมมากกว่าลิงที่ไม่มีลูก ขณะที่ตัวผู้ที่มีคู่ก็จะได้เลื่อนสถานะ และแสดงออกถึงความเป็นผู้นำด้วยการ เป็นผู้นำฝูงในการต่อสู้ปกป้องอาณาเขต หากมีลิงฝูงอื่นเข้ามา มีลักษณะเด่น คือ ไม่มีกระดูกดั้งจมูก โดยรูจมูกจะอยู่เชิดขึ้นไปทำให้แลดูเหมือนว่าจมูกเชิด สันนิษฐานว่าเป็นการวิวัฒนาการเพื่อให้จมูกหดสั้นเล็กลงเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกความหนาวเย็นกัด อันเป็นสภาพอากาศของถิ่นที่อยู่อาศัย เนื่องจากสันนิษฐานว่าเป็นลิงที่หลงรอดมาจากยุคน้ำแข็งยุคสุดท้าย และทำให้มีถิ่นกระจายพันธุ์จำกัดเฉพาะป่าดิบทึบบนภูเขาสูงกว่า 3,000 เมตรและห่างไกล ในตอนกลางและตอนใต้ของประเทศจีน เช่น มณฑลยูนนาน, เสฉวน, ฉ่านซี, กานซู และหูเป่ย์ จะอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ ซึ่งอาจมีจำนวนสมาชิกมากกว่า 400 ตัว ปัจจุบันมีลิงจมูกเชิดสีทองเหลืออยู่ในโลกประมาณ 20,000 ตัว ราว 4,000 ตัวอาศัยอยู่ในแถบภูเขาซึ่งทางการจีนจัดตั้งเป็นเขตอนุรักษ์ธรรมชาติ เนื่องจากอยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์จากการถูกล่าเพื่อเอาหนัง กระดูก และเนื้อเพื่อการบริโภค รวมถึงการรุกรานถิ่นที่อยู่อาศัยจากมนุษย์ด้วยการตัดไม้ทำลายป่าด้ว.

ดู มณฑลยูนนานและลิงจมูกเชิดสีทอง

ลี่เจียง

ลี่เจียง (ลี่เจียงซื่อ หรือ; ลี่เจียงกู่เฉิง) เป็นเขตการปกครองที่ประกอบด้วยส่วนที่เป็นเขตเมืองและเขตชนบททางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน มีจำนวนประชากรราว 1,100,000 คน มีย่านเมืองเก่าลี่เจียงที่มีชื่อเสียงมาก ซึ่งมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เมืองเก่าต้าเหยียน (大研, Dàyán).

ดู มณฑลยูนนานและลี่เจียง

วอลเลย์บอลหญิงอินเตอร์เนชันแนลวีทีวี9 บิ่ญเดี่ยนคัพ

วอลเลย์บอลหญิงอินเตอร์เนชันแนลวีทีวี9 บิ่ญเดี่ยนคัพ (Giải bóng chuyền nữ Quốc tế Cúp VTV9 Bình Điền) หรือเรียกสั้นๆว่า วีทีวี บิ่ญเดี่ยนคัพ (VTV Bình Điền Cup) เป็นการแข่งวอลเลย์บอลหญิงนานาชาติ จัดขึ้นโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลเวียดนาม และได้รับการสนับสนุนโดยโทรทัศน์เวียดนาม ทีวีที9 และบิ่ญเดี่ยนล็องอาน การแข่งขันก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู มณฑลยูนนานและวอลเลย์บอลหญิงอินเตอร์เนชันแนลวีทีวี9 บิ่ญเดี่ยนคัพ

วัฒนธรรมดงเซิน

กลองมโหระทึก เป็นวัตถุทางวัฒนธรรมที่สำคัญของวัฒนธรรมดงเซิน วัฒนธรรมดงเซิน หรือ วัฒนธรรมดองซอน เป็นวัฒนธรรมในยุคสำริด มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำแดงทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม วัฒนธรรมดงเซินเป็นวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งในคาบสมุทรและในหมู่เกาะต่าง ๆ ผู้คนในวัฒนธรรมดงเซินมีความสามารถในการปลูกข้าว เลี้ยงสัตว์ การประมง และการล่องเรือ วัตถุทางวัฒนธรรมที่สำคัญของวัฒนธรรมนี้คือกลองมโหระทึก ซึ่งเป็นกลองที่ใช้ในพิธีกรรมและพบได้ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัฒนธรรมดงเซินมีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมของผู้คนที่พูดตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า วัฒนธรรมของชาวไทในยูนนาน วัฒธรรมของผู้คนที่พูดภาษากลุ่มมอญ-เขมร และวัฒนธรรมในบริเวณทุ่งไหหินในประเทศลาว มีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีที่ใกล้เคียงกับวัตถุของวัฒนธรรมดงเซินในประเทศกัมพูชาบริเวณริมแม่น้ำโขง ซึ่งมีอายุในช่วงประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล อิทธิพลของวัฒนธรรมดงเซินสามารถพบเห็นได้ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาทิเช่น กลองโมโกในประเทศอินโดนีเซีย ไปจนถึงลวดลายของกริช ทางใต้ของสถานที่ที่พบวัฒนธรรมดงเซิน ยังพบวัฒนธรรม Sa Huỳnh ซึ่งเป็นวัฒนธรรมแรกเริ่มของชาวจาม.

ดู มณฑลยูนนานและวัฒนธรรมดงเซิน

วัดแสนเมืองมา

วัดแสนเมืองมา ตั้งอยู่บ้านมาง ตำบลหย่วน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา เดิมชื่อว่า วัดมาง เป็นวัดที่สร้างขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 1 ราว พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและวัดแสนเมืองมา

วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์

วิลเลี่ยม คลิฟตัน ดอดด์ (อังกฤษ: William Clifton Dodd) หรือ ดร.วิลเลี่ยม คลิฟตัน ดอดด์ หรือที่รู้จักกันในนาม หมอดอดด์ มิชชันนารีชาวอเมริกัน ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ได้เดินทางเข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์แก่คนไทยที่อยู่จังหวัดเชียงรายนานถึง ๓๓ ปีต่อมาได้ไปอยู่ที่ เชียงรุ้งในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน.

ดู มณฑลยูนนานและวิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์

ศาสนาพุทธในประเทศจีน

นาพุทธได้เข้ามาในประเทศจีน ดังที่ปรากฏในหลักฐาน เมื่อประมาณ..

ดู มณฑลยูนนานและศาสนาพุทธในประเทศจีน

สกุลกล้วยผา

Ensete เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์กล้วย เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของเอเชียและแอฟริกา รวมทั้งกล้วยเทียม หรือเอ็นเซท (E.

ดู มณฑลยูนนานและสกุลกล้วยผา

สกุลกะเรกะร่อน

Cymbidium Clarisse 'Best Pink' ''Cymbidium dayanum'' ''Cymbidium Hybrid'' Golden Leaf-edge Orchid (''Cymbidium floribundum'') สกุลกะเรกะร่อน หรือ Cymbidium, เป็นสกุลของกล้วยไม้ไม่ผลัดใบ มี 52 สปีชีส์ ชื่อสกุลนี้มาจากภาษากรีก kumbos หมายถึงช่อง ซึ่งหมายถึงฐานของกลีบปาก.

ดู มณฑลยูนนานและสกุลกะเรกะร่อน

สกุลหนอนตายหยาก

กุลหนอนตายหยาก หรือ Stemona เป็นสกุลของไม้เถาหรือไม้กึ่งพุ่มในวงศ์ Stemonaceae ตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู มณฑลยูนนานและสกุลหนอนตายหยาก

สกุลเอื้องหมายนา

กุลเอื้องหมายนา หรือ Costus เป็นสกุลของไม้ล้มลุกอายุหลายปีอยู่ในวงศ์ Costaceae ซึ่งตั้งชื่อโดยลินเนียสใน..

ดู มณฑลยูนนานและสกุลเอื้องหมายนา

สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

ระอุปภัยพุทธบวรไชยเชษฐาธิราช หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช (ໄຊເສດຖາ, ເສດຖາທິຣາດ; 80px) ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของชาติลาว ทรงเป็นผู้นำแห่งอาณาจักรล้านช้าง ผู้สถาปนากรุงเวียงจันทน์ให้เป็นศูนย์กลางอารยธรรม และเป็นศูนย์รวมศิลปะวัฒนธรรมต่าง ๆ ของอาณาจักรล้านช้างเข้าไว้ด้วยกัน ประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระองค์เป็นพระญาติหรือพระนัดดาในพระนางจิรประภาเทวีเจ้านางหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ในรัชสมัยพระยาโพธิสาลราช (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

สะพานเป่ยผานเจียง

นเป่ยผานเจียง (北盘江大桥) เป็นสะพานขึงแห่งหนึ่งในประเทศจีน เปิดใช้ในปลายปี..

ดู มณฑลยูนนานและสะพานเป่ยผานเจียง

สันนิบาตฟื้นฟูเวียดนาม

222px 222px 222px สันนิบาตฟื้นฟูเวียดนาม (Vietnam Restoration League; ภาษาเวียดนาม: Việt Nam Quang Phục Hội) หรือกวางฝุกโห่ย เป็นองค์กรปฏิวัตินิยมสาธารณรัฐและชาตินิยมที่มีกิจกรรมในราว..

ดู มณฑลยูนนานและสันนิบาตฟื้นฟูเวียดนาม

สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)

รณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ปี..

ดู มณฑลยูนนานและสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)

สฺยง เฉาจง

ง เฉาจง เป็นนักมวยสากลอาชีพชาวจีน สฺยง เฉาจง เกิดเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม..

ดู มณฑลยูนนานและสฺยง เฉาจง

สงกรานต์

ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ดู มณฑลยูนนานและสงกรานต์

สงครามจีน–พม่า

งครามจีน–พม่า (တရုတ်-မြန်မာ စစ်, 中緬戰爭, 清緬戰爭) หรือ การบุกพม่าของราชวงศ์ชิง หรือ การทัพพม่าแห่งราชวงศ์ชิง (Qing invasions of Burma, Myanmar campaign of the Qing Dynasty) เป็นการสงครามระหว่างราชวงศ์ชิงของจีน กับราชวงศ์โกนบองของพม่า กินเวลา 4 ปี ระหว่าง..

ดู มณฑลยูนนานและสงครามจีน–พม่า

สงครามปราบฮ่อ

งครามปราบฮ่อ เกิดขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปีรัตนโกสินทร์ศก 84 ถึง 109.

ดู มณฑลยูนนานและสงครามปราบฮ่อ

ส้านช้าง

อก ส้านช้าง เป็นพืชที่มีลักษณะคล้ายส้านหิน แต่ใบยาวกว่า ใบอ่อนมีขนปกคลุม ใบแก่เรียบ ไม่มีขน กลีบเลี้ยงไม่มีขน เกสรตัวผู้จำนวนมาก การกระจายพันธุ์จะพบในบริเวณเดียวกับส้านหิน แต่จะพบในบริเวณที่ชุ่มชื้นกว่า พบในอินเดีย พม่า ยูนนาน ลาว เวียดนาม เกาะชวา เกาะสุลาเวสี เนื้อไม้คงทน ใช้ทำเครื่องใช้ภายในบ้าน พื้นบ้าน เสาบ้าน และรางรถไฟ เผาถ่าน ผลมีรสเปรี้ยว รับประทานได้ นำมาทำน้ำผลไม้ วุ้น แกง ทางยาใช้เป็นยาแก้ไอ เปลือกใช้แก้โรครูมาติก ใช้มุงหลังคาได้.

ดู มณฑลยูนนานและส้านช้าง

หมู่บ้านสันติคีรี

ที่ตั้งของสันติคีรี ตำแหน่งอยู่บริเวณชายแดนไทย-พม่า หมู่บ้านสันติคีรี เดิมชื่อ หมู่บ้านแม่สลอง เป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่บนดอยแม่สลอง อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย พื้นที่ดังกล่าวมีลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศเป็นแบบอัลไพน์ และเป็นที่รู้จักกันจากชาวบ้านที่เป็นเผ่าชนภูเขา ไร่ชา และดอกซากุระ ประวัติศาสตร์ยุคแรกเริ่มของหมู่บ้านสันติคีรีมีศูนย์กลางอยู่ที่การค้าฝิ่นในแถบสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งมีประชากรจากกองพล 93 "กองทัพสาบสูญ" ของสาธารณรัฐจีน มีส่วนพัวพันอยู่ด้วย ภายหลังสงครามกลางเมืองจีนสิ้นสุดลงใน..

ดู มณฑลยูนนานและหมู่บ้านสันติคีรี

หลิว ฟาง

หลิว ฟาง (Liu Fang;; ค.ศ. 1974 —) เป็นนักดนตรีผีผาที่มีฝีมือโดดเด่นมากคนหนึ่งของโลก เกิดที่เมืองคุนหมิง มณฑลยูนาน เธอเริ่มศึกษาผีผาตั้งแต่อายุเพียง 6 ขวบ และได้เคยแสดงต่อหน้าสาธารณชนในขณะมีอายุเพียงแค่ 9 ขวบเท่านั้น และตอนอายุ 11 ขวบเธอได้เล่นให้กับสมเด็จพระนางเจ้าอลิซาเบทที่ 2 ต่อมา เธอได้สอบเข้าสถาบัน Shanghai Conservatory of Music ซึ่งทำให้ทักษะทางด้านดนตรีของเธอได้เพิ่มพูนขึ้นเป็นอย่างมาก และเธอยังได้ศึกษากู่เจิงเพิ่มเติมอีกด้วย เมื่อหลิว ฟาง อายุ 22 ปี เธอได้ย้ายมาอยู่ที่ประเทศแคนาดา และตอนนี้เธอก็ได้รับสัญชาติชาวแคนาดาแล้ว โดยพักอาศัยอยู่ที่รัฐมอนทรีออล หลังจากนั้นเธอได้ตัดสินใจเปิดการแสดงที่เมืองควีเบก ตั้งแต่ปี..

ดู มณฑลยูนนานและหลิว ฟาง

หลิน ไต้

ลินดา หลิน ไต้ (Linda Lin Dai) เป็นนักแสดงหญิงชาวจีน ที่มีชื่อเสียงโด่งดังระดับเอเชีย ในวงการภาพยนตร์ฮ่องกงในช่วงทศวรรษ 1950 ถึง 1960 เป็นนางเอกภาพยนตร์ภาษาจีนกลางอันดับหนึ่งในสังกัดชอว์บราเดอส์ มีชื่อเสียงอย่างมากจากเรื่อง จอมใจจักรพรรดิ์ (The Kingdom and the Beauty, 江山美人) เมื่อปี..

ดู มณฑลยูนนานและหลิน ไต้

หลินชาง

หลินชาง (临沧市, พินอิน: Líncāng Shì) เป็นจังหวัดหนึ่งในมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน.

ดู มณฑลยูนนานและหลินชาง

หล่าวกาย

หล่าวกาย (Lào Cai) เป็นเมืองหลักของจังหวัดหล่าวกายทางภาคเหนือของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำแดง ห่างจากกรุงฮานอยไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 260 กิโลเมตร และมีชายแดนติดกับเมืองเหอโข่ว ในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน.

ดู มณฑลยูนนานและหล่าวกาย

หุย

วหุย (จีน:回族;พินอิน:Huízú, อาหรับ:هوي) เป็นมุสลิมกลุ่มหนึ่งในประเทศจีน มีประชากร 9.82 ล้านคน มีประชากรเพียงหนึ่งในสามของประชากรทั้งหมดในเขตปกครองตนเองหุยหนิงเซี่ย ชาวหุยก็คือชาวจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวหุยส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ทุรกันดารทางตอนใต้ของเขตปกครองตนเอง ถึงแม้ว่าชาวหุยจะเป็นมุสลิม นับถืออิสลาม แต่ในปัจจุบันการแยกความแตกต่างของชาวหุยกับชาวจีนฮั่นโดยใช้ศาสนาค่อนข้างจะยากอยู่ ชาวหุยที่เป็นผู้ชายจะสวมหมวกสีขาว ส่วนผู้หญิงชาวหุยบางคนในปัจจุบันยังคงใส่ม่านบังหน้า ชาวหุยหลายคนที่ไม่คิดว่าคำว่า "เมกกะ" มีความสำคัญแต่อย่างใด แต่ในประเทศไทยชาวจีนที่นับถืออิสลาม จะเรียกว่า "จีนฮ่อ" ในพม่าจะเรียกว่า "ปันทาย" (Panthay) และชาวจีนมุสลิมที่อยู่ในเอเชียกลางจะถูกเรียกว่า "ดันกัน" (Dungans;дунгане).

ดู มณฑลยูนนานและหุย

หนานเยฺว่

หนานเยฺว่ หรือ นามเหวียต (Nam Việt) เป็นอาณาจักรโบราณที่มีอาณาเขตปกคลุมบริเวณมณฑลทางตอนใต้ของจีน อันได้แก่ กวางตุ้ง, กว่างซี และยูนนาน ไปจนถึงตอนเหนือของเวียดนามในปัจจุบัน หนานเยฺว่ได้รับการก่อตั้งในช่วง 204 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในช่วงการล่มสลายของราชวงศ์ฉินของจีน หนานเยฺว่ได้ถูกก่อตั้งโดย จ้าว ถัว ผู้ปกครองดินแดนทะเลจีนใต้ อาณาเขตของหนานเยฺว่ในช่วงแรกประกอบด้วยหนานไฮ่, กุ้ยหลิน และ เซียง ใน 196 ปีก่อนคริสต์ศักราช จ้าว ถัว ได้สวามิภักดิ์ต่อจักรพรรดิฮั่นเกาจู่แห่งราชวงศ์ฮั่น ดินแดนหนานเยฺว่ได้ถูกเรียกโดยผู้ปกครองชาวจีนฮั่นว่าเป็น "คนรับใช้ชาวต่างชาติ" มีภาพพจน์เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของจีน ประมาณ 183 ปีก่อนคริสต์ศักราช ความสัมพันธ์ระหว่างหนานเยฺว่และราชวงศ์ฮั่นได้ห่างเหินต่อกันมากขึ้น และ จ้าว ถัวได้เริ่มที่จะสถาปนาอ้างตัวเองว่าเป็นจักรพรรดิอีกทั้งประกาศอาณาจักรหนานเยฺว่เป็นอิสระ ใน 179 ปีก่อนคริสต์ศักราช ความสัมพันธ์ระหว่างหนานเยฺว่และราชวงศ์ฮั่นกลับมาดีขึ้นอีกครั้ง จ้าว ถัวได้ยอมสวามิภักดิ์ส่งเครื่องราชบรรณาการต่อราชวงศ์ฮั่นอีกครั้ง ในสมัยของจักรพรรดิฮั่นเหวิน ในฐานะเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของราชวงศ์ฮั่นของจีน อย่างไรก็ตามแม้จะมีการส่งบรรณาการและการยอมสวามิภักดิ์ หนานเยฺว่ยังคงมีอิสระและยังคงปกครองตนเองจากชาวจีนฮั่น และจ้าว ถัว ยังอ้างตนเป็น "จักรพรรดิ" แห่งหนานเยฺว่ จนกระทั่งพระองค์สิ้นพระชนม์ ในช่วง 113 ปีก่อนคริสตกาล ผู้นำ 4 รุ่น แห่งตระกูลจ้าว จ้าว ซิง มีแนวโน้มที่มีใจฝักใฝ่จีนโดยได้พยายามขอให้ราชวงศ์ฮั่นยอมรับหนานเยฺว่เป็นส่วนหนึ่งอย่างเป็นทางการ อัครมหาเสนาบดีของพระองค์ ลฺหวี่เจีย ได้คัดค้านอย่างรุนแรงและได้สมคบคิดวางแผนกับขุนนางคนอื่นๆทำการลอบสังหารจ้าว ซิง และอัญเชิญพระเชษฐา จ้าว เจี้ยนเต๋อที่มีพระชนม์มากกว่าขึ้นครองราชย์ ลฺวี่เจียได้บับบังคับจ้าว เจี้ยนเต๋อตั้งตนเป็นอิสระแข็งข้อต่อราชวงศ์ฮั่น ซึ่งเท่ากับเผชิญหน้ากับราชวงศ์ฮั่น ในปีต่อมาจักรพรรดิฮั่นอู่แห่งราชวงศ์ฮั่นได้ส่งกองทัพ 100,000 คน ทำสงครามบุกหนานเยฺว่ จนกระทั่งเมื่อถึงปลายปีเดียวกันนั้น กองทัพราชวงศ์ฮั่นได้บุกยึดและทำลายหนานเยฺว่ลงอย่างราบคาบและสถาปนาเป็นดินแดนของชาวจีนฮั่น ดินแดนหนานเยฺว่ได้สิ้นสุดลงนับแต่บัดนั้น โดยดำรงอยู่ 93 ปี มีกษัตริย์ปกครอง 5 รุ่น การก่อตั้งอาณาจักรหนานเยฺว่เกิดมาจากการที่เป็นเมืองหน้าด่านของแคว้นหลิงหนานในระหว่างช่วงความวุ่นวายสับสนระหว่างการล่มสลายของราชวงศ์ฉิน เปิดโอกาสให้แคว้นทางตอนใต้ของจีนได้มีอิสระและหลีกเลี่ยงการปกครองที่กดขี่จากชาวจีนฮั่นที่มาจากแคว้นทางเหนือของจีน อาณาจักรหนานเยฺว่ถูกก่อตั้งโดยผู้นำชาวจีนฮั่นที่มาจากภาคกลางของจีนตอนบนซึ่งนำไปสู่การนำรูปแบบการปกครองแบบเจ้าขุนมูลนายจีน, เทคนิควิธีทางการเกษตร, ข้าวของเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัย มาสอนเผยแพร่แก่ชนพื้นเมืองแคว้นทางตอนใต้ อาทิเช่น การรับรู้ภาษาจีนและระบบการเขียนแบบจีน ผู้นำหนานเยฺว่แทบทุกพระองค์สนับสนุนนโยบาย "สามัคคีและรวบรวมชนเผ่าไป่เยฺว่" ประกอบกับตัวผู้นำเองมีใจฝักใฝ่จีนโดยมีการเชิญชวนให้ชาวจีนฮั่นผู้เป็นมิตรมาแสวงโชคโดยอพยพจากดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำหวงโฮทางตอนเหนือเข้ามาอาศัยในดินแดนตอนใต้ พวกเขายังสนับสนุนนโยบาย เปลี่ยนให้เป็นจีน โดยการกลมกลืนระหว่างสองวัฒนธรรมและผู้คน ระหว่างสองวัฒนธรรมจีนฮั่นและวัฒนธรรมพื้นเมืองทางตอนใต้ บ่อยครั้งที่วัฒนธรรมจีนมักจะดูดกลืนวัฒนธรรมของชนพื้นเมือง ผู้นำหนานเยฺว่ ตระกูลจ้าว ยังประกาศใช้วัฒนธรรมจีนและภาษาจีนไปทั่วทั้งดินแดนหนานเยฺว่ แม้ว่าจะมีการรักษาขนบธรรมเนียมดั้งเดิมของตนเอาไว้ควบคู่กัน.

ดู มณฑลยูนนานและหนานเยฺว่

อะยี

นิกายอะยี (အရည်းဂိုဏ်း) หรือ ศาสนาพุทธแบบอะยี (Ari Buddhism) เป็นนิกายหนึ่งที่เคยปฏิบัติในประเทศพม่าก่อนที่พระเจ้าอโนรธามังช่อจะทรงปฏิรูปศาสนาพุทธช่วงศตวรรษที่ 11.

ดู มณฑลยูนนานและอะยี

อักษรฟราเซอร์

อักษรฟราเซอร์ (Fraser) หรือ อักษรลีสู่ (Lisu) ประดิษฐ์เมื่อราว..

ดู มณฑลยูนนานและอักษรฟราเซอร์

อักษรอี๋

อักษรอี๋ (Yi Syllabary) ต้นกำเนิดของอักษรอี๋ไม่แน่นอน แต่อาจเป็นไปได้ว่าได้รับอิทธิพลจากอักษรจีน อักษรอี๋ที่เก่าที่สุดมีอายุราว..

ดู มณฑลยูนนานและอักษรอี๋

อักษรทิเบต

ระอักษรทิเบต ในช่วง..

ดู มณฑลยูนนานและอักษรทิเบต

อักษรไทลื้อ

อักษรไทลื้อ เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทลื้อ มี 2 แ.

ดู มณฑลยูนนานและอักษรไทลื้อ

อักษรไทใต้คง

อักษรไทใต้คง (Dehong Dai, Tai Dehong), อักษรไทเหนือ (Tai Nüa) หรือ อักษรไตเหลอ (Tai Le) พัฒนามาจากอักษรไทโบราณ ซึ่งมาจากอักษรที่เรียกไป่ยี่ มีกำเนิดตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานแน่ชัด โดยหลักฐานจากอาหมบุราณจีระบุว่ามีมาก่อน..

ดู มณฑลยูนนานและอักษรไทใต้คง

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและอาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง

อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง คือ อาณาจักรที่เคยตั้งอยู่ในเขตสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน แต่ไม่ค่อยจะมีข้อมูลในประวัติศาสตร.

ดู มณฑลยูนนานและอาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและอาณาจักรอยุธยา

อาน เซือง เวือง

อาน เซือง เวือง (安陽王, An Dương Vương) มีชื่อจริงคือ ถุก ฟ้าน (蜀泮, Thục Phán) ผู้ปกครองอาณาจักรเอิวหลัก (ประเทศเวียดนามปัจจุบัน) ตั้งแต่ 257 ถึง 207 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นผู้นำของเผ่าเอิวเหวียต เขาได้เอาชนะและยึดราชบัลลังก์จากกษัตริย์หุ่งองค์สุดท้าย แห่งอาณาจักรวันลาง และได้รวบรวมชนเผ่าที่ยึดมาคือหลักเหวียต เข้ากับเอิวเหวียต เขาได้ก่อตั้งอาณาจักรใหม่ มีเมืองหลวงที่โก๋ลวา สร้างป้อมปราการที่ชื่อป้อมปราการโก๋ลวา จนกระทั่งในช่วง 208 ปีก่อนคริสต์ศักราช กองทัพจีนแห่งราชวงศ์ฉินนำโดยแม่ทัพจีน เจี่ยวด่า ได้รุกรานเอิวหลัก เมืองหลวงโก๋ลวาถูกโจมตี พระราชวังถูกปล้นสะดม อาน เซือง เวือง ต้องหลบหนีออกจากเมืองหลวงและตัดสินใจฆ่าตัวตาย เจี่ยวด่าแม่ทัพชาวจีนฮั่นได้สถาปนาราชวงศ์จ้าวขึ้นมาใหม่ ดินแดนเอิวหลักถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรหนานเยฺว่ที่มีศูนย์กลางอยู่ที่มณฑลกวางตุ้ง.

ดู มณฑลยูนนานและอาน เซือง เวือง

อำเภอฝาง

ฝาง (17px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง ประชากรมีทั้งชาวไทยพื้นราบและชาวไทยภูเขา อำเภอฝางเป็นอำเภอศูนย์กลางความเจริญในเขตเชียงใหม่ตอนบน มีอำเภอบริวารคือ อำเภอแม่อายและอำเภอไชยปราการ มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับสองของจังหวัดเชียงใหม่ รองจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ มีทั้งประชากรจริงและประชากรแฝง อีกทั้งยังสามารถเดินทางไปจังหวัดเชียงรายได้อย่างสะดวกหลายช่องทาง ทำให้อำเภอฝางจะได้รับความเจริญจากจังหวัดเชียงรายจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนจีนตอนใต้-อินโดจีนในอนาคต ในปี..

ดู มณฑลยูนนานและอำเภอฝาง

อำเภอแม่สะเรียง

อำเภอแม่สะเรียง (50px) เป็นหนึ่งใน 7 อำเภอของจังหวัดแม่ฮ่องสอน จัดเป็นอำเภอที่มีความสำคัญของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เนื่องจากมีที่ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัด (อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน) มากถึงประมาณ 164 กิโลเมตร โดยสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหุบเขาสลับซับซ้อน ประกอบกับเป็นอำเภอที่ติดกับชายแดนไทยพม่า และเป็นเมืองผ่านไปยังอำเภออื่นๆของจังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ดู มณฑลยูนนานและอำเภอแม่สะเรียง

อำเภอแม่แจ่ม

แม่แจ่ม (55px) เป็นหนึ่งในอำเภอของจังหวัดเชียงใหม.

ดู มณฑลยูนนานและอำเภอแม่แจ่ม

อุ้ยเสี่ยวป้อ จอมยุทธเย้ยยุทธจักร 2

อุ้ยเสี่ยวป้อ จอมยุทธเย้ยยุทธจักร 2 หรือในปัจจุบันคือ อุ้ยเสี่ยวป้อ ภาค 2 (Royal Tramp II) เป็นภาพยนตร์ฮ่องกงกำลังภายในแนวตลก สร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและอุ้ยเสี่ยวป้อ จอมยุทธเย้ยยุทธจักร 2

อูอองเมียะ

อูอองเมียะ (U Aung Myat) เกิดเมื่อเดือนกุมภาพัน..

ดู มณฑลยูนนานและอูอองเมียะ

อู๋ ซานกุ้ย

วาดอู๋ซานกุ้ย อู๋ซานกุ้ย (อังกฤษ: Wu Sangui, จีนตัวเต็ม: 吳三桂, พินอิน: Wú Sānguì) แม่ทัพในปลายราชวงศ์หมิง ผู้เปิดประตูเมืองให้แมนจูบุกเข้าปักกิ่งในสมัยหลี่ จื้อเฉิง เป็นเหตุให้ชาวแมนจูได้รับชัยชนะและตั้งราชวงศ์ชิง.

ดู มณฑลยูนนานและอู๋ ซานกุ้ย

ฮ่อ

อ หรือภาษาถิ่นพายัพว่า ห้อ (ຮໍ່) บ้างเรียกว่า จีนยูนนาน เป็นการเรียกกลุ่มชนเชื้อสายจีนที่อพยพลงมาจากมณฑลยูนนานโดยไม่จำแนกว่านับถือศาสนาใด เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณพรมแดนระหว่างประเทศไทยและลาว มีทั้งอาศัยอยู่บนเทือกเขาและในเมือง ในประเทศไทยชาวจีนฮ่อมักอาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง แล.

ดู มณฑลยูนนานและฮ่อ

ผูเอ่อร์

ผูเอ่อร์ เป็นจังหวัดหนึ่งในมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน แบ่งเขตปกครองออกเป็น.

ดู มณฑลยูนนานและผูเอ่อร์

จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง

หวียนฮุ่ยจง (25 พฤษภาคม ค.ศ. 1320 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1370) หรือ ถั่วฮฺวัน เทียมู่เอ่อร์ (Toghon Temür) เสด็จสวรรคตแล้วจึงได้พระนามว่า ยฺเหวียนชุ่นตี้ เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หยวน (ยฺเหวียน) ใน..

ดู มณฑลยูนนานและจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ดู มณฑลยูนนานและจักรวรรดิมองโกล

จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)

ักรวรรดิจีน (Empire of China) เป็นการปกครองซึ่งดำรงอยู่ในช่วงสั้น ๆ ในประเทศจีนตั้งแต่ปล..

ดู มณฑลยูนนานและจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)

จังหวัด

ังหวัด หรือมณฑล (province) คือชื่อเรียกหน่วยการปกครองระดับหนึ่ง โดยปกติจะเป็นระดับใหญ่ที่สุดในประเทศ หรือรัฐ (ลำดับแรกในการแบ่งการปกครอง) คำว่าจังหวัดใช้เรียก province ในประเทศไทย ส่วนมณฑลใช้กับบางประเทศ เช่น มณฑลยูนนาน (Yunnan Province) ในประเทศจีน หรือ.

ดู มณฑลยูนนานและจังหวัด

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

ดู มณฑลยูนนานและจังหวัดลำปาง

จังหวัดหล่าวกาย

หล่าวกาย (Lào Cai) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนามซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขา มีพรมแดนติดกับมณฑลยูนนานของประเทศจีน จังหวัดครอบคลุมพื้นที่ 6,383.9 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 602,300 คน ณ..

ดู มณฑลยูนนานและจังหวัดหล่าวกาย

จังหวัดห่าซาง

ห่าซาง (Hà Giang) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม ถือเป็นจุดเหนือสุดของประเทศโดยมีพรมแดนร่วมกับมณฑลยูนนานทางตอนใต้ของประเทศจีน จึงเป็นที่รู้จักในฐานะเขตแดนสุดท้ายของเวียดนาม จังหวัดห่าซางครอบคลุมพื้นที่ 7,945.8 ตารางกิโลเมตร ณ ปี..

ดู มณฑลยูนนานและจังหวัดห่าซาง

จังหวัดเดี่ยนเบียน

ี่ยนเบียน (Điện Biên) เป็นจังหวัดที่อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม ติดกับแขวงพงสาลีของลาวทางทิศตะวันตก และติดกับมณฑลยูนนานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เดี่ยนเบียนในภาษาเวียดนามแปลว่า "เขตแดนมั่นคง" ที่นี้เคยมียุทธการที่เดียนเบียนฟูระหว่างเวียดนามกับฝรั่งเศส โดยชัยชนะเป็นของเวียดนาม.

ดู มณฑลยูนนานและจังหวัดเดี่ยนเบียน

จันทน์เทศหอม

ันทน์เทศหอม เป็นสปีชีส์ของพืชดอกที่อยู่ในวงศ์ Myristicaceae เป็นพืชไม่ผลัดใบที่เป็นพืชท้องถิ่นในหมู่เกาะโมลุกกะในอินโดนีเซีย เป็นพืชสำคัญที่ให้ลูกจันทน์เทศและดอกจันทน์เทศ มีปลูกในกวางตุ้ง ยูนนาน ไต้หวัน อินโดนีเซีย มาเลเซีย เกรนาดาในทะเลแคริบเบียน เกระละในอินเดีย ศรีลังกา และอเมริกาใต้ สารสกัดด้วยเอทานอลจากผลและเมล็ดยับยั้งการเจริญและการงอกของถั่วเขียวผิวดำได้.

ดู มณฑลยูนนานและจันทน์เทศหอม

จางเยี่ยต้าหวาง

งเยี่ยต้าหวาง อยู่ในวงศ์ Polygonaceae เป็นไม้ล้มลุกขนาดใหญ่ รากและเหง้าอ้วนสั้น ลำต้นอ้วนสั้น กลวง เปลือกต้นเป็นร่องตามยาว มีขนสีขาว ข้อพองออก ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็ก สีแดงอมม่วง น้อยมากที่จะเป็นสีขาวอมเหลือง ผลแห้งเมล็ดล่อน เมล็ดรูปไข่กว้าง สีน้ำตาลดำ พบในจีนที่มณฑลกานซู หูเป่ย์ ชิงไห่ ชานซี เสฉวน ยูนนาน ทิเบต และมองโกเลียใน ในจีนและรัสเซียปลูกเพื่อใช้เป็น.

ดู มณฑลยูนนานและจางเยี่ยต้าหวาง

จิ้งจอกแร็กคูน

้งจอกแร็กคูน (raccoon dog) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nyctereutes procyonoides อยู่ในวงศ์ Canidae อันเป็นวงศ์เดียวกับสุนัข จัดเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวในสกุล Nyctereutes ที่ยังดำรงสายพันธุ์อยู.

ดู มณฑลยูนนานและจิ้งจอกแร็กคูน

จูเต๋อ

อมพลจูเต๋อ (1 ธันวาคม 1886- 6 กรกฎาคม 1976) ผู้นำกำลังทหารสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์จีน.

ดู มณฑลยูนนานและจูเต๋อ

ธงชาติสาธารณรัฐจีน

งชาติสาธารณรัฐจีน เป็นสัญลักษณ์ของสาธารณรัฐจีนซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีตั้งแต่สมัยที่สาธารณรัฐจีนยังอยู่บนจีนแผ่นดินใหญ่ กระทั่งภายหลังได้ตั้งมั่นอยู่ที่เกาะไต้หวันนับแต่ พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและธงชาติสาธารณรัฐจีน

ถั่งเช่า

อค้าในมณฑลชิงไห่ กำลังชั่งน้ำหนักถั่งเช่า ถั่งเช่า (蟲草; chóng cǎo) หรือ ตังถั่งเช่า (冬蟲草; dōng chóng cǎo) หรือ ตังถั่งแห่เช่า (冬蟲夏草; dōng chóng xià cǎo) เป็นสมุนไพรจีน มีความหมายว่า "หญ้าหนอน" หรือ "ฤดูหนาวเป็นหนอน ฤดูร้อนเป็นหญ้า" เกิดจากหนอนผีเสื้อแถบที่ราบสูงทิเบต ที่จำศีลอยู่ใต้ดินในฤดูหนาว ถูกสปอร์ของเห็ดราในสกุล Ophiocordyceps อาศัยเป็นปรสิตและเติบโตสร้างเส้นใยออกมาทางส่วนหัวของตัวหนอนในฤดูร้อน เห็ดนี้มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ophiocordyceps sinensis เห็ดถั่งเช่าพบในทิเบต มณฑลชิงไห่ มณฑลเสฉวน มณฑลกานซู มณฑลยูนนาน และแถบเทือกเขาหิมาลัยในอินเดีย ภูฏาน และเนปาล มีสรรพคุณในการบรรเทาอาการหย่อนและเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ รวมถึงเชื่อว่ารักษาโรคมะเร็งได้อีกด้วย มีความต้องการในท้องตลาดสูง และมีราคาแพง.

ดู มณฑลยูนนานและถั่งเช่า

ถนนพม่า

นนพม่าและถนนเลโด เมื่อ พ.ศ. 2487 ถนน 24 โค้ง (25.821725°N, 105.202600°E) ซึ่งมักเข้าใจผิดว่าอยู่บนถนนพม่า แต่ที่จริงอยู่ที่กุ้ยโจว ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ยุทธปัจจัยส่งไปยังคุนหมิงผ่านถนนพม่า แล้วส่งต่อไปยังจุงกิงโดยผ่านถนน 24 โค้ง แล้วจึงไปถึงทหารในสนามรบ แรงงานชาวพม่าและชาวจีนที่ใช้เครื่องมือสร้างถนนพม่า ถนนพม่า (Burma Road; ภาษาจีน: 滇缅公路) เป็นถนนที่เชื่อมระหว่างพม่ากับภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน โดยเริ่มจากเมืองล่าโช่ในพม่าไปจนถึงเมืองคุนหมิงในยูนนาน สร้างขึ้นเมื่อพม่าเป็นอาณานิคมของอังกฤษเพื่อส่งความช่วยเหลือให้จีนระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2 การป้องกันการลำเลียงผ่านถนนสายนี้ทำให้ญี่ปุ่นต้องเข้าไปยึดครองพม่าใน..

ดู มณฑลยูนนานและถนนพม่า

ทะเลสาบเอ๋อร์ไห่

ทะเลสาบเอ๋อร์ไห่ การจับปลาของนกกาน้ำ ทะเลสาบเอ๋อร์ไห่ หรือในภาษาไทลื้อและไทใหญ่เรียกว่า หนองแส (แปลว่า ทะเลสาบที่มีน้ำท่วมเจิ่ง) ตั้งอยู่บนที่ราบสูงในเมืองต้าหลี่ มณฑลยูนนาน ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่ระดับความสูง 1,972 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล มีความยาวจากริมฝั่งทิศเหนือจรดทิศใต้ 40 กิโลเมตร และจากทิศตะวันออกจรดทิศตะวันตกประมาณ 7-8 กิโลเมตร มีพื้นที่ 250 ตารางกิโลเมตร จึงเป็นทะเลสาบบนที่ราบสูงที่ใหญ่เป็นอันดับสองในสาธารณรัฐประชาชนจีน รองจากทะเลสาบเตียนฉือ ฝั่งทะเลสาบมีความยาวโดยรอบ 116 กิโลเมตร ความลึกเฉลี่ย 11 เมตร และความจุน้ำ 2.5 ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นทะเลสาบที่มีความสวยงามอย่างยิ่ง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญและมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของมณฑลยูนนาน ทะเลสาบแห่งนี้ คนไทยเรียกว่า "หนองแส" หรือ "หนองแสร์" และเชื่อว่าเป็นจุดเริ่มต้นความเชื่อเรื่อง พญานาค ด้วยเป็นจุดเริ่มต้นของแม่น้ำโขง และเป็นที่ตั้งของอาณาจักรน่านเจ้าในอดีต ที่เชื่อกันว่าเป็นต้นบรรพบุรุษของคนไทย ที่ทะเลสาบแห่งนี้ ยังมีการประมงด้วยวิธีการพื้นบ้าน คือ การใช้นกกาน้ำ ที่ชาวประมงเลี้ยงไว้จนเชื่อง ดำน้ำลงไปจับปลาให้ วิธีการจับปลาแบบนี้มีมาอย่างยาวนานกว่า 1,500 ปีแล้ว จนเป็นวิถีชีวิตพื้นบ้าน แต่การจับปลาด้วยนกกาน้ำในปัจจุบันได้ลดจำนวนลงตามกาลเวลา การจับปลาด้วยนกกาน้ำนี้ถือเป็นจุดสำคัญในการท่องเที่ยวของทะเลสาบเอ๋อร์ไห่ประการหนึ่ง.

ดู มณฑลยูนนานและทะเลสาบเอ๋อร์ไห่

ทะเลสาบเตียนฉือ

250px ทะเลสาบเตียนฉือ (Lake Dian, 滇池) หรือ ทะเลสาบคุนหมิง (昆明湖) เป็นทะเลสาบปิดขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ติดกับเมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ทะเลสาบแห่งนี้เป็นทะเลสาบน้ำจืด ตั้งอยู่ที่ระดับความสูง 1,886.5 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล มีพื้นที่ 298 ตารางกิโลเมตร มีความยาวจากริมฝั่งด้านทิศเหนือจรดทิศใต้ 39 กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 4.4 เมตร จากความงดงามของทะเลสาบนี้ ทำให้ถูกขนานนามว่า "ไข่มุกทอแสงแห่งที่ราบสูง" และยังเป็นต้นแบบในการสร้างทะเลสาบคุนหมิงภายในพระราชวังฤดูร้อนที่กรุงปักกิ่ง.

ดู มณฑลยูนนานและทะเลสาบเตียนฉือ

ทางหลวงเอเชียสาย 14

ทางหลวงเอเชียสาย 14 (AH14) เป็นถนนในโครงข่ายทางหลวงสายเอเชีย ระยะทางตลอดทั้งสาย เริ่มต้นจากเมืองไฮฟอง ประเทศเวียดนาม ผ่านคุนหมิง มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ถึงเมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า เชื่อมต่อระหว่างทางหลวงเอเชียสาย 1 ทางหลวงเอเชียสาย 3 แลทางหลวงเอเชียสาย 2.

ดู มณฑลยูนนานและทางหลวงเอเชียสาย 14

ที่มาของประชากรลาว

ที่มาของประชากรลาว (Peopling of Laos) หมายถึงการที่กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในลาวเกิดขึ้นเป็นชุมชนในประเทศลาวปัจจุบัน โดยเชื่อว่าประชากรลาวในปัจจุบันมีความเกี่ยวพันกับกลุ่มประชากรที่มีดีเอ็นเอในโครโมโซมวายแบบฮาโลกรุป O ซึ่งมีความใกล้เคียงกับชนกลุ่มน้อยในจีนเมื่อ 35,000 ปีที่ผ่านมา ซึ่งต่อมากลุ่มชนดังกล่าวได้แพร่กระจาย จนบางส่วนเข้ามาอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศลาวในปัจจุบัน.

ดู มณฑลยูนนานและที่มาของประชากรลาว

ท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงอูเจียป้า

ท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงอูเจียป้า ท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงอูเจียป้า เป็นท่าอากาศยานแห่งหนึ่งในเมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยอยู่ห่างจากใจกลางเมืองคุนหมิงมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 4 กิโลเมตร เริ่มก่อสร้างในปี..1923 และใช้งานในฐานะท่าอากาศยานหลักของเมืองคุนหมิงเรื่อยมาจนกระทั่งปิดให้บริการเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2555 ก่อนที่จะปิดให้บริการ ท่าอากาศยานแห่งนี้เคยเป็นฐานการบินของสายการบินไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์, คุนหมิงแอร์ไลน์, และลัคกีแอร์ ปัจจุบัน เที่ยวบินทั้งหมดได้ย้ายไปให้บริการที่ท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงฉางสุ่ย ส่วนท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงอูเจียป้าจะถูกรื้อถอนและปรับปรุงพื้นที่ใหม่ หมวดหมู่:ท่าอากาศยานในประเทศจีน.

ดู มณฑลยูนนานและท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงอูเจียป้า

ท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงฉางสุ่ย

ท่าอากาศยานนานาชาติคุณหมิงฉางสุ่ย ตั้งอยู่บริเวณทางเหนือของจีน ณ มณฑลยูนาน ประเทศจีน เริ่มก่อสร้างใน..

ดู มณฑลยูนนานและท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงฉางสุ่ย

ท่าขี้เหล็ก

ท่าขี้เหล็ก (တာချီလိတ်မြို့) เป็นเมืองชายแดนตั้งอยู่ในรัฐฉาน ทางตะวันออกของประเทศพม่า เป็นที่ตั้งศูนย์ราชการของเมืองท่าขี้เหล็ก และแขวงท่าขี้เหล็ก เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐฉาน จากสำรวจสำมะโนประชากรเมื่อปี..

ดู มณฑลยูนนานและท่าขี้เหล็ก

ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438

การต่อต้านอังกฤษในพม..

ดู มณฑลยูนนานและขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438

ดิอะเมซิ่งเรซ 18

อะเมซิ่ง เรซ 18 (The Amazing Race 18) เป็นฤดูกาลที่ 18 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ในฤดูกาลนี้ทำลักษณะแบบ ทีมรวมดารา โดยเอาทีมต่างๆ จากฤดูกาลที่ 12-17 มาแข่งขันกันใหม่ จากฤดูกาลที่ 11 ใช้ชื่อว่า The Amazing Race: All-Stars (ดิ อะเมซิ่ง เรซ รวมดารา) แต่ในฤดูกาลนี้จะใช้ชื่อว่า The Amazing Race: Unfinished Business (ดิ อะเมซิ่ง เรซ ธุรกิจนี้ยังสะสางไม่เสร็จ) ซึ่งซีบีเอสได้โปรโมทฤดูกาลนี้ทันที โดยอยู่ภายในตอนสุดท้ายของฤดูกาลที่ 17 เลยและรวมถึงฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่จะถ่ายทำในระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูงอีกด้วย แต่เป็นที่ทราบกันดีว่ารายการนี้ถ่ายทำยากมาก เนื่องจากช่างกล้องจะต้องวิ่งตามผู้เข้าแข่งขันตลอดและภาพบางภาพในรายการใช้การตัดต่อหรือดึงภาพจากแฟ้มข้อมูลที่เคยมีไว้มาตัดต่อลงไปทำให้อาจมีภาพแบบขนาดความละเอียดมาตรฐานปนอยู่บ้าง โดยทางผู้ผลิตได้กล่าววาจะจัดการปัญหาตรงจุดนี้ให้เหมาะสมอย่างสมดุลและออกอากาศในแบบโทรทัศน์ความละเอียดสูงอย่างแน่นอน และจะมีการจัดฉลองการครบรอบ 10 ปีของรายการซึ่งในการจัดงานครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจากเครื่องดื่มชาสแนปเปิล โดยจะทำการจัดงานวันที่ 8 พฤษภาคม 2554 (ตรงกับวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ของประเทศไทย) รวมถึงการออกอากาศตอนสุดท้ายของฤดูกาลนี้ในวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 (ตรงกับวันที่ 10 พฤษภาคม 2554 ของประเทศไทย) ด้วยความยาว 2 ชั่วโมงเป็น 2 เลกสุดท้ายติดต่อกันเนื่องจากเคยมีการหยุดฉายไป 1 สัปดาห์ที่ทางสถานีได้ถ่ายทอดสด คันทรี มิวสิก อาวอร์ด คู่พี่น้องจากฤดูกาลที่ 14 คิชากับเจน ซึ่งได้ลำดับที่ 4 ในฤดูกาลนั้น เป็นผู้ชนะการแข่งขันครั้งนี้ไปรวมถึงทั้งคู่ยังเป็นทีมหญิงล้วนคู่ที่สองที่ชนะรายการนี้อีกด้ว.

ดู มณฑลยูนนานและดิอะเมซิ่งเรซ 18

คาสต์ในจีนตอนใต้

ต์ในจีนตอนใต้ หมายถึงแหล่งมรดกโลกที่มีภูมิประเทศแบบคาสต์ ที่ตั้งอยู่ในเขตเมืองฉือหลิน ในมณฑลยูนนาน เมืองลี่โป ในมลฑลกุ้ยโจว และเมืองอู่หลง นครฉงชิ่ง ประเทศจีน ภูมิประเทศแบบคาสต์ หมายถึง พื้นที่หินปูนที่น้ำฝนน้ำท่า ชะละลายหินออกไป มากจนเป็นตะปุ่มตะป่ำ เต็มไปด้วยหลุมบ่อ ถ้ำ และทางน้ำใต้ดินที่น้ำละลายเอาเนื้อหินปูนแทรกซึมหายลงไป.

ดู มณฑลยูนนานและคาสต์ในจีนตอนใต้

คุนหมิง

ทะเลสาบเตียนฉือ อาคารไม้เก่าแก่ กับตึกระฟ้าสมัยใหม่ที่อยู่เบื้องหลัง คลองในย่านใจกลางเมือง คุนหมิง เป็นเมืองเอกในมณฑลยูนนานในสาธารณรัฐประชาชนจีน มีจำนวนประชากรประมาณ 3,740,000 คน โดยมีประมาณ 1,055,000 คนที่อาศัยอยู่ในเขตเมือง ตัวเมืองตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลสาบเตียนฉือด้านทิศเหนือ เนื่องจากมีอากาศอบอุ่นตลอดทั้งปี จึงถูกขนานนามว่า "นครแห่งฤดูใบไม้ผลิ".

ดู มณฑลยูนนานและคุนหมิง

งูพิษเฟีย

งูพิษเฟีย (Fea's viper; 白頭蝰亞科) เป็นงูเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ย่อย Azemiopinae และสกุล Azemiops ในวงศ์ใหญ่ Viperidae งูชนิดนี้ถูกตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแด่ ลีโอนาร์โด เฟีย นักธรรมชาติวิทยาชาวอิตาเลียน โดยจอร์จ อัลเบิร์ต บุลเลเยอร์ นักมีนวิทยาและนักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวฝรั่งเศส-เบลเยียม มีลักษณะโดยรวมคือ ระหว่างตาและช่องจมูกไม่มีแอ่งรับคลื่นอินฟราเรด กระดูกพาลาทีนมีก้านกระดูกโคเอนัลชิ้นใหญ่ ทางด้านท้ายของกระดูกฟรีฟอนทัลและค่อนไปทางด้านในมีก้านกระดูกออร์ไบทัล มีสีลำตัวที่โดดเด่นชัดเจนมาก โดยตามลำตัวเป็นสีฟ้าเทาอมดำและมีแต้มระหว่างเกล็ดเว้นระยะห่างกันประมาณ 1-2 ชิ้น มีลายแถบสีส้มขาว หัวมีขนาดเล็กเป็นสีส้มเหลืองตัดกับลำตัว ม่านตาเป็นสีส้มเหลืองในแนวตั้ง มีขนาดความยาวประมาณ 60-70 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ตามกองใบไม้กิ่งไม้ตามพื้นดินของป่าที่มีความชื้นสูงและอุณหภูมิต่ำไม่เกิน 25 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะในป่าไผ่และป่าเฟิร์นบนภูเขาสูงในระดับ 800-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกหากินในเวลากลางคืนและกินสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กเป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในแถบเทือกเขาตั้งแต่ตอนเหนือของเวียดนาม, ภาคใต้ของจีน (มณฑลฟูเจี้ยน, มณฑลกวางสี, มณฑลเจียงซี, มณฑลกุ้ยโจว, มณฑลยูนนาน, มณฑลเสฉวน และมณฑลเจ้อเจียง), ตอนใต้ของธิเบต และในรัฐคะฉิ่น ทางภาคเหนือของพม่า งูชนิดนี้มีพิษที่คล้ายคลึงกับพิษของงูชนิด Tropidolaemus wagleri และไม่มีผลต่อการแข็งตัวของเลือ.

ดู มณฑลยูนนานและงูพิษเฟีย

ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน

ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยนหรือแม้ว-เย้า เป็นตระกูลภาษาเล็กๆที่ใช้กันทางตอนใต้ของประเทศจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใช้พูดกันในแถบภูเขาสูงตอนใต้ของจีน เช่นในมณฑลกุ้ยโจว หูหนาน ยูนนาน เสฉวน กวางสี และมณฑลหูเป่ยที่เรียกกันว่าชาวเขาในขณะที่ชาวจีนฮั่นตั้งถิ่นฐานอยู่ตามลุ่มแม่น้ำ เมื่อ 300-400 ปีที่ผ่านมา ชาวม้งและเมี่ยนจำนวนมากได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย ลาว เวียดนาม และพม่า และเนื่องจากสงครามอินโดจีน ชาวม้งบางส่วนได้ลี้ภัยจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปอยู่ที่ประเทศออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศ ม ม ม.

ดู มณฑลยูนนานและตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน

ตะพาบยักษ์แยงซีเกียง

ตะพาบยักษ์แยงซีเกียง หรือ ตะพาบเซี่ยงไฮ้ (จีน: 斑鳖, พินอิน: Bān Bīe; ตรึงเวียด: Rùa mai mềm Thượng Hải) ตะพาบขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่ใกล้จะสูญพันธุ์มาก ๆ แล้วชนิดหนึ่งของโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rafetus swinhoei (มีชื่อวิทยาศาสตร์อีกชื่อหนึ่งเป็นชื่อพ้อง โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเวียดนามตั้งให้ว่า Rafetus leloii เพื่อเป็นเกียรติแด่จักรพรรดิเลเลย) พบในแม่น้ำแยงซีเกียง ในประเทศจีน และมณฑลยูนนาน นอกจากนี้ยังพบได้ที่แม่น้ำแดง ในประเทศเวียดนามด้วย เป็นตะพาบที่มีขนาดใหญ่มาก และเป็นหนึ่งในเต่าน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีส่วนหัว ที่มีจมูกและปากคล้ายหมู ขนาดโตเต็มที่สามารถมีน้ำหนักมากถึง 136 กิโลกรัม ถึง 200 กิโลกรัม ยาวถึง 0.9144 เมตร และมีชีวิตอยู่ได้นานกว่า 100 ปี สถานะในธรรมชาติใกล้สูญพันธุ์มาก ๆ แล้ว ในสถานที่เลี้ยงปัจจุบันมีเพียง 5 ตัวใน 2 ที่เท่านั้น คือที่สวนสัตว์ในประเทศจีน 4 ตัว และที่ทะเลสาบคืนดาบที่เมืองฮานอย 1 ตัว ปัจจุบันตะพาบน้ำแยงซีเกียงในทะเลสาบคืนดาบยังมีชีวิตอยู่ แต่น้ำในทะเลสาบกลับมีสภาพที่ย่ำแย่ ทั้งยังมีการปล่อยสิ่งปฏิกูลรวมไปถึงเต่าชนิดอื่นเข้าไปทำลายระบบนิเวศของทะเลสาบ ทำให้ตะพาบเกิดบาดแผลที่หัวและขาของมัน.

ดู มณฑลยูนนานและตะพาบยักษ์แยงซีเกียง

ตะพาบหับพม่า

ตะพาบหับพม่า (Burmese flap-shell turtle) เป็นตะพาบชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lissemys scutata.

ดู มณฑลยูนนานและตะพาบหับพม่า

ตังกุย

ตังกุย หรือ โสมตังกุย เป็นสมุนไพรที่มีต้นกำเนิดจากประเทศจีน เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี รากอวบหนา ทรงกระบอก มีกลิ่นเฉพาะตัว หอมแรง ใบหยักลึกแบบขนนกสามชั้น ออกดอกเป็นช่อซี่ร่มตามปลายกิ่ง โคนแผ่เป็นกาบ สีอมม่วง ผลเป็นผลแบบผักชี พบแพร่กระจายในป่าดิบในเขตเขาสูงทางภาคกลางของจีน เช่น เสฉวน หูเป่ย กานซีจนถึงยูนนาน นอกจากนั้นยังมีปลูกในญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม.

ดู มณฑลยูนนานและตังกุย

ตังเกี๋ย

อาณานิคมตังเกี๋ย (Bắc Kỳ บั๊กกี่; Tonkin, Tongkin, Tonquin หรือ Tongking) เป็นส่วนที่อยู่ทางเหนือสุดของประเทศเวียดนาม มีอาณาเขตติดต่อกับเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงและมณฑลยูนนานของจีนทางเหนือ ทางตะวันตกติดต่อกับลาว และทางตะวันออกติดต่อกับอ่าวตังเกี๋ย ตังเกี๋ยตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมแม่น้ำแดงอันอุดมสมบูรณ์ และนับเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ.

ดู มณฑลยูนนานและตังเกี๋ย

ตั้งอึ๊ง

ตั้งอึ๊ง หรือรูบาบจีน อยู่ในวงศ์ Polygonaceae ภาษาจีนกลางเรียกต้าหวางหรือย่างย่งต้าหวาง เป็นไม้ล้มลุกขนาดใหญ่ รากและเหง้าอ้วนสั้น เปลือกต้นเป็นร่องตามยาว พองตามข้อ ใบหยักเป็นแฉก ดอกช่อ ดอกย่อยออกเป็นกระจุก สีเขียวหรือขาวอมเหลือง ผลแห้ง เมล็ดล่อน เป็นพืชพื้นเมืองในจีนพบในมณฑลฝูเจี้ยน กุ้ยโจว เหอหนาน หูเป่ย์ ชานซี เสฉวน และยูนนาน ในจีนปลูกเพื่อใช้เป็นยา พืชชนิดนี้มีการศึกษาทางคลินิกในการใช้กำจัดไวรัสเฮปาทิทิสบี ซึ่งการใช้ร่วมกับอินเตอร์เฟียรอนให้ผลที่เป็นที่พอใ.

ดู มณฑลยูนนานและตั้งอึ๊ง

ตำบลคุนหยาง

ตำบลคุนหยาง (Kunyang Subdistrict) ตำบลหนึ่งของจีนซึ่งขึ้นตรงกับ อำเภอจินหนิง มณฑลยูนนาน มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์เพราะตำบลแห่งนี้คือบ้านเกิดของมหาขันที, นักเดินเรือและนักการทูตผู้ยิ่งใหญ่ของจีน เจิ้งเหอ หมวดหมู่:มณฑลยูนนาน.

ดู มณฑลยูนนานและตำบลคุนหยาง

ต้าหลี่

แผนที่มณฑลยูนนานแสดงที่ตั้ง เขตปกครองตนเองชนชาติไป๋ ต้าหลี่ ตำแหน่งของมณฑลยูนนานในสาธารณรัฐประชาชนจีน ประตูเมืองเก่า ทิวทัศน์ยามค่ำคืนของย่านเมืองโบราณในต้าหลี่ เจดีย์สามองค์ในวัดฉงเซิ่ง ประตูทิศใต้ของย่านเมืองโบราณ ต้าหลี่ หรือภาษาไทใหญ่ว่า แสหลวง หรือ มิถิลา เป็นเมืองเอกของ เขตปกครองตนเองชนชาติไป๋ ต้าหลี่ มณฑลยูนนานทางตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่บนที่ราบสูงระหว่างเทือกเขาชางซานทางด้านตะวันตก และทะเลสาบเอ๋อร์ไห่ทางด้านตะวันออก เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวไป๋และชาวอี๋มาตั้งแต่สมัยโบราณ.

ดู มณฑลยูนนานและต้าหลี่

ฉวี่จิ้ง

ฉวี่จิ้ง เป็นจังหวัดหนึ่งในมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน.

ดู มณฑลยูนนานและฉวี่จิ้ง

ซานชี

ซานชี หรือ เถียนชี เป็นพืชสมุนไพรอยู่ในตระกูล "โสมคน" ซานชีเป็นภาษาจีน แปลว่า "สามเจ็ด" เป็นไม้ยืนต้น แต่ละต้นมีกิ่ง 3 กิ่ง แต่ละกิ่งมีใบไม้ 7 ใบ เลยตั้งชื่อว่า สามเจ็ดกิ่ง.

ดู มณฑลยูนนานและซานชี

ประวัติศาสตร์มวยไทย

การแข่งมวยคาดเชือกหน้าพระที่นั่งในประเทศไทย ประวัติศาสตร์มวยไทย มีส่วนเกี่ยวข้องกับการอพยพของประชากรที่อาศัยอยู่ในมณฑลยูนนาน บนฝั่งแม่น้ำแยงซีเกียง ของประเทศจีน โดยตามตำนานของไทย เชื่อว่ามีผู้คนจำนวนมากที่เดินทางออกจากมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มาสู่ประเทศไทย เพื่อค้นหาที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สำหรับการเกษตร อย่างไรก็ตาม ในระหว่างการโยกย้ายของพวกเขา ชาวไทยกลุ่มนี้ได้ถูกโจมตีโดยโจรและสัตว์ นอกจากนี้ ยังมีโรคต่าง ๆ ที่พวกเขาต้องเผชิญ เพื่อเพิ่มความสามารถในการป้องกันร่างกายและจิตใจ, การรับมือกับความทุกข์ยาก ชาวไทยสยามจึงได้คิดค้นวิธีการต่อสู้ แม้ว่าการจัดเก็บเอกสารตำราทางประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่จะสูญหายไปเมื่อครั้งที่ถูกกองทัพพม่าทำลาย และขับไล่ออกจากเมืองอยุธยาในสมัยสงครามพม่า-ไทย (พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและประวัติศาสตร์มวยไทย

ประวัติศาสตร์ลาว

ประวัติศาสตร์ลาว เริ่มตั้งแต่อาณาจักรล้านช้าง จนถึงสมัยสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.

ดู มณฑลยูนนานและประวัติศาสตร์ลาว

ประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทย

วิวัฒนาการเงินตราไทยในอดีต วิวัฒนาการเงินตราไทย เริ่มตั้งแต่กลุ่มชนดั้งเดิมในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ได้อาศัยอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันตั้งแต่ราว 38,000 ปีมาแล้ว ก่อนจะได้รับวัฒนธรรมจากอินเดียนั้น กลุ่มชนเหล่านี้ติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้ากัน โดยใช้สิ่งของเป็นสื่อกลาง เมื่อวัฒนธรรมอินเดียแพร่เข้ามาจึงเริ่มผลิตเงินตราเป็นสื่อกลางค้าขาย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-16 ในวัฒนธรรมแบบฟูนัน-ทวารวดี ได้ผลิตเหรียญกลมแบนจากโลหะเงิน ดีบุก ทองแดง โดยใช้แม่พิมพ์ตราสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น พระอาทิตย์ สังข์ แพะ ปูรณกลศ ตัวอักษร เป็นต้น ซึ่งสื่อถึงความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ อำนาจรัฐ กษัตริย์ และความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ ช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-18 อาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งเป็นเมืองท่าค้าขายบริเวณคาบสมุทรภาคใต้ของไทยมีอำนาจควบคุมเส้นทางการค้าทางทะเล มีการผลิตเงินดอกจันทน์และเงินนโม เพื่อระบบเศรษฐกิจอย่างแพร่หลาย ราวพุทธศตวรรษที่ 19 ราชอาณาจักรสุโขทัยและล้านนาก็ถือกำเนิดขึ้นและได้ติดต่อค้าขายกับราชอาณาจักรในลุ่มเจ้าพระยา คือ กรุงศรีอยุธยา ตลอดจนดำเนินการค้าทางทะเลกับจีน อินเดีย ยุโรป และได้ติดต่อค้าขายกับกลุ่มชนทางตอนเหนือของไทย เช่น ล้านช้าง ยูนาน น่านเจ้า เป็นต้น และไปไกลถึงเปอร์เซีย อาหรับ ในดินแดนตะวันออกกลาง ราชอาณาจักรสุโขทัย ล้านนา กรุงศรีอยุธยา ได้ผลิตคิดค้นเงินตราขึ้นใช้ในระบบเศรษฐกิจ พร้อมกันนั้นก็ยอมรับเงินตราของต่างชาติด้วย เงินตราที่ใช้ในอาณาจักรล้านนา ได้แก่ เงินไซซี เงินกำไล เงินเจียง เงินท้อก เงินดอกไม้ ส่วนราชอาณาจักรสุโขทัยและอยุธยาได้ผลิตเงินพดด้วง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะของตนเองขึ้นใช้ และใช้เบี้ยหอยแทนเงินปลีกย่อย บางครั้งเบี้ยหอยขาดแคลนก็ได้ผลิตเบี้ยโลหะและประกับดินเผาขึ้นใช้ร่วมด้วย ภายหลังราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาสลายลง กรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ถือกำเนิดขึ้นตามลำดับ ก็ยังคงใช้เงินพดด้วงเช่นครั้งกรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งถึงรัชกาลที่ 4 การเปิดประเทศสยามสู่อารยประเทศ มีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบเงินตราให้เป็นสากล นำไปสู่การผลิตเงินตราในลักษณะเหรียญกลมแบนออกใช้เป็นครั้งแรก ต่อมารัชกาลที่ 5 จึงทรงประกาศยกเลิกการใช้เงินพดด้วง นับตั้งแต่นั้นเงินตราไทยจึงคงลักษณะเป็นเหรียญกลมแบนต่อเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน.

ดู มณฑลยูนนานและประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทย

ประวัติศาสตร์จีน

ตพื้นที่ของราชวงศ์ต่างๆตามประวัติศาสตร์ของจีน ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีอารยธรรมยาวนานที่สุดประเทศหนึ่ง โดยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถค้นคว้าได้บ่งชี้ว่าอารยธรรมจีนมีอายุถึง 5,000 ปี รากฐานที่สำคัญของอารยธรรมจีนคือ การสร้างระบบภาษาเขียน ในยุคราชวงศ์กอณัฐ (ศตวรรษที่ 58 ก่อน ค.ศ.) ให้เป็นภาษากลางใช้ได้ทั่วประเทศ เป็นครั้งแรกในโลก (ไม่ว่าชนเผ่าใดๆจะพูดต่างกัน สำเนียงต่างกัน แต่ใช้ตัวเขียนเหมือนกัน) และการพัฒนาแนวคิดลัทธิขงจื๊อ เมื่อประมาณ ศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและประวัติศาสตร์จีน

ประวัติศาสตร์ทิเบต

ทิเบต ตั้งอยู่ในใจกลางของทวีปเอเชียระหว่างประเทศจีนกับอินเดีย ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในบริเวณที่มีภูเขาและที่ราบสูงที่สุดในโลก มีอากาศแห้งและหนาวเย็น รวมทั้งที่ราบกลางหุบเขาริมแม่น้ำอันกว้างใหญ่หลายสาย อันเป็นที่พำนักพิงของชาวธิเบต ผู้ซึ่งมีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง มาเป็นเวลาช้านาน และมีชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างจากผู้คนในประเทศเพื่อนบ้าน ชาวธิเบตได้มีการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ในตนเอง ทั้งยังมีการพัฒนาด้านสติปัญญาและจิตใจ ได้แก่ การมีภาษาที่โดดเด่น มีวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่ และมีผลงานศิลปะที่น่ามหัศจรรย์ นอกจากนี้ อารยธรรมของชาวธิเบต ซึ่งสืบเนื่องมาเป็นเวลาหลายพันปีนั้น ยังเป็นอารยธรรมที่สูงส่ง และมีคุณค่าสืบทอดต่อกันมา เป็นมรดกของมนุษยชาต.

ดู มณฑลยูนนานและประวัติศาสตร์ทิเบต

ประวัติศาสตร์เชียงตุง

นแดนเชียงตุงเป็นดินแดนที่มีความสำคัญมานานในอดีตเช่นเดียวกับเชียงใหม่และเชียงรุ่ง (สิบสองปันนา)ตามหลักฐานในประวัติศาสตร์ แต่เดิมเชียงรุ่งเป็นเมืองลูกหลวงของเชียงใหม่ จนกลายเป็นเมืองประเทศราชของพม่าในสมัยพระเจ้าบุเรงนอง หลังจากนั้น เชียงใหม่ได้แยกตัวเป็นอิสระจากพม่า มาเป็นเมืองประเทศราชของสยาม ส่วนเชียงตุงยังคงเป็นเมืองประเทศราชของพม่า ทำให้เกิดความขัดแย้งเป็นสงครามเชียงใหม่-เชียงตุงถึง 3 ครั้ง ในที่สุด เชียงตุงเป็นอาณานิคมของอังกฤษเช่นเดียวกับพม่า ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของไทยในชื่อสหรัฐไทยเดิมในเวลาสั้นๆช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อพม่าได้รับเอกราช จึงเป็นส่วนหนึ่งของรัฐฉาน ประเทศพม.

ดู มณฑลยูนนานและประวัติศาสตร์เชียงตุง

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ดู มณฑลยูนนานและประเทศพม่า

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ดู มณฑลยูนนานและประเทศจีน

ปรงเขา

ปรงเขา หรือปรงอัสสัม (ชื่อสามัญ: Assam cycas; ภาษาอัสสัม:nagphal; ภาษามณีปุรี: yendang)เป็นพืชชนิดที่สี่ในสกุลปรงที่ได้รับการตั้งชื่อ ตั้งชื่อเมื่อ..

ดู มณฑลยูนนานและปรงเขา

ปลาหมูน่าน

ปลาหมูน่าน ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ambastaia nigrolineata ในวงศ์ปลาหมู (Botiidae) มีรูปร่างและสีสันคล้ายคลึงปลาหมูอารีย์ (A.

ดู มณฑลยูนนานและปลาหมูน่าน

ปลาแค้

ปลาแค้ (Devil catfish, Goonch, Bagarius catfish; বাঘাইর) เป็นปลากระดูกแข็งในสกุล Bagarius (/บา-กา-เรียส/) อยู่ในอันดับปลาหนัง ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ดู มณฑลยูนนานและปลาแค้

ปางคำ

ปางคำ (ว้า: Bangkum) หรือชื่อเดิมว่า ปางซาง เป็นเมืองหลักของตำบลปางซาง อำเภอมัตมัน รัฐฉาน ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของรัฐฉานบริเวณโค้งน้ำข่า (Nam Hka) ตรงข้ามเขตปกครองตนเองชนชาติไท ล่าหู่ และว้า เมิ่งเหลียน จังหวัดปู้เอ่อ มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ปางคำเป็นแหล่งผลิตยาเสพติดแหล่งใหญ่ มีโรงแรม ร้านค้า ร้านสะดวกซื้อ ร้านคาราโอเกะ ลานโบลิ่ง และกาสิโนที่คอยให้บริการ 24 ชั่วโมง อาหารส่วนใหญ่นำเข้าจากประเทศจีน รถยนต์ส่วนใหญ่เป็นรถแลนด์โรเวอร์และรถกระบะญี่ปุ่นที่ลักลอบมาจากประเทศไท.

ดู มณฑลยูนนานและปางคำ

ป่าเมฆ

ฟินต้นในป่าเมฆบนยอดเขากีนาบาลู, บอร์เนียว ที่ Parque Internacional la Amistad ป่าเมฆเขตอบอุ่นบน La Palma, หมู่เกาะคะเนรี ป่าเมฆของ Monteverde, ประเทศคอสตาริกา ป่าเมฆบนเขาหลูซานทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หนึ่งในสะพานแขวนของ Sky walk ใน Santa Elena, Costa Rica หายไปในเมฆ มอสส์ในป่าเมฆเขตอบอุ่นที่ Budawang National Park, ประเทศออสเตรเลีย ป่าเมฆ (cloud forest) หรือ ป่าหมอก (fog forest) คือป่าไม้เขตร้อนในเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน เติบโตตามภูเขา ไม่ผลัดใบ มีโอกาสถูกปกคลุมด้วยเมฆระดับต่ำได้สูง ปกติมักอยู่ระดับยอดเขาและสันเขา ป่าเมฆจะอุดมไปด้วยมอสส์ไม่ว่าบนพื้นหรือบนต้นไม้จึงเรียกอีกอย่างว่า ป่ามอสส์ (mossy forest) ป่ามอสส์มักจะอยู่บนสันเขาที่ซึ่งได้รับความชื้นจากเมฆอย่างมีประสิท.

ดู มณฑลยูนนานและป่าเมฆ

นกกระทาดงแข้งเขียว

นกกระทาดงแข้งเขียว (Green-legged partridge, Scaly-breasted partridge, Green-legged hill-partridge) เป็นนกในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) พบในป่าในอินโดจีนไปจนถึงตอนใต้สุดของประเทศจีน (มณฑลยูนนาน) จัดเป็นญาติใกล้ชิดกับนกกระทาดงเวียดนามและนกกระทาดงปักษ์ใต้.

ดู มณฑลยูนนานและนกกระทาดงแข้งเขียว

นักฆ่าเทวดาแขนเดียว

นักฆ่าเทวดาแขนเดียว (Wuxia, จีนตัวเต็ม: 武俠, จีนตัวย่อ: 武侠, พินอิน: Wǔ Xiá, อู๋เซีย หมายถึง กำลังภายใน) ภาพยนตร์กังฟูกำลังภายในสัญชาติฮ่องกง นำแสดงโดย เจิ้น จื่อตัน, ทาเคชิ คาเนชิโร่, ทัง เหวย และ หวัง หยู่ กำกับการแสดงโดย ปีเตอร์ ชาน ออกฉายในปี พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและนักฆ่าเทวดาแขนเดียว

นากใหญ่ขนเรียบ

นากใหญ่ขนเรียบ (smooth-coated otter) เป็นนากชนิดหนึ่ง จัดเป็นนากชนิดที่ใหญ่ที่สุดที่พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียมาก มีลักษณะแตกต่างไปจากนากใหญ่ธรรมดา (Lutra lutra) และ นากจมูกขน (L.

ดู มณฑลยูนนานและนากใหญ่ขนเรียบ

นางพญาเสือโคร่ง

นางพญาเสือโคร่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus cerasoides กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,, สืบค้นวันที่ 21 ก.ย. 2552, Wild Himalayan Cherry) เป็นพืชดอกในสกุล Prunus ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ พบทั่วไปบนภูเขาตั้งแต่ความสูง 1,200-2,400เมตรจากระดับน้ำทะเล เช่น ภูลมโล จังหวัดเลย, ดอยแม่สลอง จังหวัดเชียงราย, ดอยเวียงแหง ดอยอ่างขาง ขุนช่างเคี่ยน ขุนแม่ยะ จังหวัดเชียงใหม่, ขุนสถาน ดอยวาว ดอยภูคา มณีพฤกษ์ จังหวัดน่าน, ภูทับเบิก จังหวัดเพชรบูรณ์, ภูหินร่องกล้า จังหวัดพิษณุโลก ฯลฯ โดยเป็นดอกไม้ประจำอำเภอเวียงแหง นางพญาเสือโคร่ง เป็นพรรณไม้ที่มีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติอยู่ที่ตอนเหนือของประเทศไทย ในต่างประเทศ พบในประเทศพม่า รัฐฉานและรัฐคะฉิ่น, ประเทศอินเดียพบบนเทือกเขาหิมาลัย ในรัฐอรุณาจัลประเทศยาวไปจนถึงรัฐหิมาจัลประเทศทางตอนเหนือของอินเดีย หรือที่เรียกว่าHimalayas, ประเทศภูฏาน, ประเทศเนปาล และประเทศจีนพบในมณฑลยูนนาน นางพญาเสือโคร่งถูกนิยมเรียกว่า"ซากุระเมืองไทย" เพราะมีลักษณะคล้ายซากุระในประเทศญี่ปุ่น แม้จะเป็นคนละชนิดกันก็ตาม.

ดู มณฑลยูนนานและนางพญาเสือโคร่ง

น่าซี

วน่าซี หรือ หน่าซี เป็นชนกลุ่มหนึ่งในประเทศจีน ส่วนใหญ่จะอยู่ในเมืองลี่เจียง เมืองที่มีมนต์เสน่ห์แห่งหนึ่งของมณฑลยูนนาน.

ดู มณฑลยูนนานและน่าซี

แชงกรี-ลา (แก้ความกำกวม)

แชงกรี-ลา (Shangri-La) เป็นดินแดนสมมุติในนวนิยายปี..

ดู มณฑลยูนนานและแชงกรี-ลา (แก้ความกำกวม)

แชงกรี-ลา (เทศมณฑล)

้านของชาวทิเบตภายนอกเมือง แชงกรี-ลา (Shangri-La) เป็นเมืองในมณฑลยูนนาน ที่ราบสูงทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน มีชนชาติส่วนน้อย 25 ชนชาติอาศัยกันอยู่ อาทิ ชนชาติทิเบต ลีซอ น่าซี ไป๋ และอี๋ เป็นต้น.

ดู มณฑลยูนนานและแชงกรี-ลา (เทศมณฑล)

แพนด้ายักษ์ (สกุล)

แพนด้ายักษ์ หรือ หมีแพนด้า (Giant pandas, Pandas) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์หมี (Ursidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Ailuropoda แพนด้ายักษ์ ได้ปรากฏขึ้นมาครั้งแรกบนโลกเมื่อราว 8–9 ล้านปีก่อน ในช่วงปลายยุคไพลโอซีน (เริ่มต้นเมื่อ 25 ล้านปีก่อน กินเวลาประมาณ 12 ล้านปี) ตามที่มีการพบหลักฐาน เป็นซากฟอสซิล ที่บริเวณรอบ ๆ ป่าเขตร้อนชื้น ในมณฑลยูนาน ทางภาคใต้ของประเทศจีน โดยสัตว์ในสกุลนี้ได้กระจายพันธุ์ไปทั่วบริเวณที่เป็นประเทศจีนในปัจจุบัน ตลอดจนถึงเกาะไต้หวัน และภาคเหนือของเวียดนาม, พม่า และภาคเหนือของไทยด้วย ซึ่งบรรพบุรุษของสัตว์ในสกุลนี้ได้วิวัฒนาการแยกตัวเองออกจากสัตว์ในสกุล Ailurarctos ที่มีชีวิตอยู่ในปลายยุคไมโอซีน โดยแพนด้ายักษ์ในตอนแรกเริ่มมีขนาดเพียงครึ่งหนึ่งของแพนด้ายักษ์ในปัจจุบัน หรือมีขนาดตัวพอ ๆ กับสุนัขอ้วน ๆ ตัวหนึ่งเท่านั้น และมีชีวิตอยู่ร่วมกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมยุคก่อนประวัติศาสตร์หลายชนิด อาทิ มนุษย์ปักกิ่ง, เสือเขี้ยวดาบ, ช้างแมมมอธ เป็นต้น.

ดู มณฑลยูนนานและแพนด้ายักษ์ (สกุล)

แมวดาว

แมวดาว (Leopard cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเท่า ๆ กับแมวบ้าน แต่มีความคล่องแคล่วว่องไวกว่ามาก ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลอมเทา ลักษณะเด่นคือ ตามลำตัวมีจุดขนาดเล็กสีดำกระจายอยู่ทั่วไป ด้านข้างของหัวมีแถบสีน้ำตาลเข้ม 4—5 แถบ ขนบริเวณท้องมีสีขาวนวล แมวดาวตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย แมวดาวมีความยาวลำตัวและหัว 44.5—55 เซนติเมตร ความยาวหาง 23—29 เซนติเมตร น้ำหนัก 3—5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, รัสเซีย, อินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, สิงคโปร์ แมวดาว สามารถปรับตัวให้อยู่ในพื้นที่หลากหลายสภาพได้ บางครั้งอาจพบในป่าที่ใกล้กับพื้นที่ชุมชน ล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน พักผ่อนในเวลากลางวัน สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และยังสามารถว่ายน้ำได้อีกด้วย ปกติอาศัยและหากินตามลำพัง ยกเว้นในช่วงผสมพันธุ์ ที่อาจพบเห็นอยู่ด้วยกัน 2 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 65—72 วัน ออกลูกครั้งละ 2—4 ตัว จากการศึกษาในสถานที่เลี้ยงมีอายุยืนประมาณ 13 ปี นอกจากนี้แล้ว แมวดาวที่ผสมข้ามสายพันธุ์กับแมวบ้าน จะได้ลูกเป็นแมวพันทางสายพันธุ์ที่เรียกว่า แมวเบงกอล.

ดู มณฑลยูนนานและแมวดาว

แม่น้ำสาละวิน

แม่น้ำสาละวิน (Salween River; သံလွင်မြစ်; 40px; กะเหรี่ยงสะกอ: โคโหล่โกล) เป็นแม่น้ำสายที่ยาวเป็นอันดับที่ 26 ของโลก ยาว 2,800 กิโลเมตร และเป็นแม่น้ำที่มีความยาวเป็นอันดับสองของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ รองมาจากแม่น้ำโขง จากไทยพีบีเอส มีต้นกำเนิดจากการละลายของหิมะเหนือเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ที่ซึ่งเรียกแม่น้ำนี้ว่า นู่เจียง (怒江) หมายถึง "แม่น้ำพิโรธ" และผ่านประเทศพม่าผ่านรัฐฉาน รัฐกะยา รัฐกะเหรี่ยง ซึ่งเป็นแม่น้ำกั้นพรมแดน ระหว่างพม่ากับไทยที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และไหลลงมาบรรจบกับแม่น้ำเมย หลังจากนั้นแม่น้ำสาละวินจึงไหลวกกลับเข้าประเทศพม่า และไหลลงสู่มหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเมาะตะมะ รัฐมอญ แม่น้ำสาละวินมีต้นกำเนิดที่เดียวกับแม่น้ำโขง และแม่น้ำแยงซี โดยแบ่งแยกออกจากกันอย่างชัดเจนจากต้นกำเนิด และเนื่องจากเป็นน้ำที่เกิดจากการละลายของหิมะ อุณหภูมิของน้ำในแม่น้ำสาละวินจึงมีความเย็นกว่าน้ำในแม่น้ำอื่น ๆ ในประเทศไทย บางช่วงมีความลึกมากและน้ำไหลแรง นอกจากนี้ ในประเทศ จีน แม่น้ำสาละวิน เป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น "มรดกโลก" ร่วมกับ แม่น้ำโขง และ แม่น้ำแยงซี ในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน โดยพื้นที่ดังกล่าว นับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง.

ดู มณฑลยูนนานและแม่น้ำสาละวิน

แม่น้ำแยงซี

้นทางแม่น้ำแยงซีในประเทศจีน แม่น้ำแยงซี, แยงซีเกียง (Yangtze river) หรือแม่น้ำฉางเจียง เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในทวีปเอเชีย และเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากแม่น้ำไนล์ในทวีปแอฟริกาและแม่น้ำแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้ แม่น้ำแยงซียาว 6,300 กิโลเมตร ต้นน้ำอยู่ที่มณฑลชิงไห่และทิเบต ในทิศตะวันตกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และไหลมาทางทิศตะวันออก ออกสู่ทะเลจีนตะวันออก.

ดู มณฑลยูนนานและแม่น้ำแยงซี

แม่น้ำแดง

ทิวทัศน์แม่น้ำแดงช่วงที่ไหลผ่านประเทศจีน แม่น้ำแดง (红河; Sông Hồng) เป็นแม่น้ำที่ไหลจากทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนผ่านทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ไปสิ้นสุดที่อ่าวตังเกี๋ย แม่น้ำแดงมีจุดกำเนิดในเทือกเขาทางตอนใต้ของต้าหลี่ในมณฑลยูนนาน ไหลไปทางตะวันออกเฉียงใต้ผ่านพื้นที่ที่เป็นถิ่นที่อยู่ของชาวไทลื้อ และไหลออกจากจีนที่เขตปกครองตนเองชนชาติอาข่าและอี๋ หงเหอ เข้าสู่เวียดนามที่จังหวัดหล่าวกาย เมื่อแม่น้ำไหลถึงที่ลุ่มใกล้ ๆ กับเหวียตจี่ก็จะเริ่มเข้าสู่พื้นที่ที่เรียกว่าดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง หลังจากนั้นแม่น้ำแดงจะไหลผ่านฮานอย และไหลลงสู่อ่าวตัวเกี๋ยในที่สุด ด ด หมวดหมู่:แม่น้ำแดง หมวดหมู่:แม่น้ำนานาชาติในทวีปเอเชีย.

ดู มณฑลยูนนานและแม่น้ำแดง

แม่น้ำโล

แม่น้ำโล แม่น้ำโล (sông Lô) เป็นแม่น้ำที่สำคัญของประเทศเวียดนาม ไหลผ่านจังหวัดห่าซาง, จังหวัดเตวียนกวาง และจังหวัดฟู้เถาะ มีความยาวทั้งสิ้น 470 กิโลเมตร และมีพื้นที่ลุ่มน้ำ 39,000 กิโลเมตร โดยมีต้นกำเนิดจากมณฑลยูนนาน, ประเทศจีน.

ดู มณฑลยูนนานและแม่น้ำโล

แม่น้ำโขง

แม่น้ำโขง (မဲခေါင်မြစ်; ແມ່ນ້ຳຂອງ; ទន្លេដ៏ធំ; Mê Kông) มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านบริเวณที่ราบสูงทิเบตและมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ผ่านประเทศจีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งหมด 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านประเทศจีนมีชื่อเรียกว่า แม่น้ำหลานชาง หรือ หลานชางเจียง (จีนตัวย่อ: 澜沧江, จีนตัวเต็ม: 瀾滄江) แปลว่า "แม่น้ำที่มีความเชี่ยวกราก" และเมื่อไหลผ่านเข้าเขตประเทศพม่าและประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ รวมถึงคำเมืองล้านนาก็เรียก น้ำของ เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือ มีตลิ่งที่สูงชันมากทั้งสองฝั่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปี ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านหลายประเทศเช่นเดียวกับแม่น้ำดานูบในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่าแม่น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า แม่น้ำดานูบตะวันออก นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญและพบได้เฉพาะในแม่น้ำโขงได้แก่ ปลาบึก.

ดู มณฑลยูนนานและแม่น้ำโขง

แวนด้า

''Vanda tricolor'' ''Vanda'' cultivar แวนด้า เป็นกล้วยไม้สกุล หนึ่งในวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) ซึ่งเป็นสกุลไม่ใหญ่นัก (ประมาณ 50สายพันธุ์) แต่เป็นไม้ดอกสำคัญที่ใช้ในการจัดดอกไม้ กล้วยไม้สกุลและกลุ่มนี้ได้รับการพัฒนามากที่สุดในกลุ่มกล้วยไม้ทั้งหมดในวงศ์ Orchidaceae กล้วยไม้สกุลนี้ราคาแพงมาก ในการจัดสวนดอกไม้เนื่องจากเป็นกล้วยไม้ที่รูปสวย หอม อยู่ทน และสีสรรที่จัดจ้าน การปลูกแวนด้าแพร่หลายทั่วเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเกาะนิวกินี และบางสายพันธุ์ ก็แพร่หลายในรัฐควีนส์แลนด์ และบางเกาะในแปซิฟิกตะวันตก.

ดู มณฑลยูนนานและแวนด้า

แหล่งซากดึกดำบรรพ์เฉิงเจียง

แหล่งซากดึกดำบรรพ์เฉิงเจียง ตั้งอยู่บนเนินเขาบนพื้นที่ 512 เฮกเตอร์ในมณฑลยูนนาน เป็นบันทึกของสังคมในทะเลแห่งยุคแคมเบรียนเริ่มแรกที่สมบูรณ์ที่สุด ด้วยพืชและสัตว์ประจำถิ่นที่ถูกเก็บรักษาไว้ได้อย่างพิเศษสุด เผยให้เห็นถึงกายวิภาคของเนื้อเยื่อทั้งอ่อนและแข็งในหลากหลายพันธุ์พืชและสัตว์ ทั้งที่มีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูกสันหลัง มันเป็นบันทึกเริ่มแรกของระบบนิเวศทางทะเลที่ซับซ้อน แหล่งนี้เก็บรักษาข้อมูลของกลุ่มที่มีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมอย่างน้อย 14 กลุ่มและกลุ่มต่าง ๆ ที่ยังเป็นปริศนาอีกกลุ่มหนึ่ง รวมกว่า 196 ชนิด เป็นหลักฐานอันพิเศษสุดของการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสิ่งมีชีวิตบนโลกเมื่อ 530 ล้านปีมาแล้ว เมื่อสัตว์กลุ่มหลัก ๆ เกือบทั้งหมดบนโลกปัจจุบันนี้เริ่มปรากฏขึ้น เป็นการเปิดหน้าต่างทางบรรพชีววิทยาที่สำคัญยิ่งต่อวงวิชาการ.

ดู มณฑลยูนนานและแหล่งซากดึกดำบรรพ์เฉิงเจียง

แผนพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตกของจีน

ตเศรษฐกิจใหญ่ทั้งสี่ของจีน ไฟล์:Zhongguo jingji bankuai.png ตะวันออก ตะวันตก ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง แผนพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตกของจีน (ซีปู้ต้าไคฟา; China Western Development) คือนโยบายที่เสนอโดยรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนเพื่อพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตกของจีน โดยกินพื้นที่ร้อยละ 71.4 ประชากรร้อยละ 28.8 และเศรษฐกิจร้อยละ 16.8 ของประเทศ ปกคลุมอาณาเขตของ 6 มณฑล (กานสู้ กุ้ยโจว ชิงไห่ ฉ่านซี เสฉวน ยูนนาน) 5 เขตปกครองตนเอง (กวางสี มองโกเลียใน หนิงเซี่ย ทิเบต) และ 1 เทศบาลนคร (นครฉงชิ่ง) รถไฟใต้ดินนครฉงชิ่ง และทางรถไฟชิงไห่ คือตัวอย่างของโครงการนี้ หมวดหมู่:ประเทศจีน.

ดู มณฑลยูนนานและแผนพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตกของจีน

แผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560

แผนที่แผ่นดินไหวในปี พ.ศ. 2560 ณ วันที่ 31 กรกฎาคม มีแผ่นดินไหวทั้งหมด 6,904 ครั้ง แผ่นดินไหวใน..

ดู มณฑลยูนนานและแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560

แผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน..

ดู มณฑลยูนนานและแผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน พ.ศ. 2555

แผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน..

ดู มณฑลยูนนานและแผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน พ.ศ. 2555

แขวงพงสาลี

งสาลี (ຜົ້ງສາລີ, ผ้งสาลี) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนบนสุดของประเทศ เดิมพื้นที่แขวงพงสาลีเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นสิบสองปันนา ประเทศจีน เรียกว่า ปันนาอู ต่อมาตกเป็นของฝรั่งเศสแล้วถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศลาวในปัจจุบัน ล้อมรอบด้วยภูเขาสูงตั้งแต่ 450 เมตร ถึง 1,800 เมตร อากาศหนาวเย็นตลอดทั้งปี ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทลื้อและชนเผ่าต่าง.

ดู มณฑลยูนนานและแขวงพงสาลี

แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไท

แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไท ประกอบด้วยแนวคิดทั้งหลายซึ่งอธิบายถึงถิ่นกำเนิดของชนชาติไทที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน โดยมีอยู่หลากหลายแนวคิด เช่น.

ดู มณฑลยูนนานและแนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไท

โรงเรียนแม่ทาวิทยาคม

รงเรียนแม่ทาวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมแห่งแรกของ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2517 โรงเรียนแม่ทาวิทยาคมจึงถือเอาวันที่ 22 เมษายน..

ดู มณฑลยูนนานและโรงเรียนแม่ทาวิทยาคม

โผน อินทรทัต

.ต.โผน อินทรทัต พันตรีโผน อินทรทัต อดีตรองผู้อำนวยการโรงงานยาสูบ และเสรีไทยสายสหรัฐอเมริกา รุ่นที่ 1 เกิดเมื่อ..

ดู มณฑลยูนนานและโผน อินทรทัต

โจฮวน

ระเจ้าโจฮวน (Cáo Huàn) เป็นฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของวุย ก๊ก ซึ่งถูกสุมาเอี๋ยน (Sima Yan) ขับออกจากราชบังลังก์และสถาปนาราชวงศ์จิ้นขึ้นแทนที่ราชวงศ์วุยและเปลี่ยนชื่อก๊กจากวุยก๊กเป็นไต้จิ้น โจฮวน ตอนเกิดชื่อ โจฮวง (Cao Huang 曹璜) เป็นบุตรของโจฮู (Cao Yu) ซึ่งเป็นบุตรคนที่ 3 ของโจโฉกับนางฮวนฮูหยิน (บุตรคนโตของโจโฉกับนางฮวนฮูหยินคือโจฉอง ซึ่งได้ชื่อว่ามีสติปัญญาคิดวิธีชั่งน้ำหนักช้างได้ แต่เสียชีวิตตั้งแต่ยังเด็ก) ในปี..

ดู มณฑลยูนนานและโจฮวน

โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง

รงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง(Greater Mekong subregional-GMS)หรือ หกเหลี่ยมเศรษฐกิจ เป็นความร่วมมือของ 6 ประเทศ คือ ไทย พม่า สปป.ลาว กัมพูชา จีน(ยูนนาน) และเวียดนาม เริ่มโครงการตั้งแต่ปี..

ดู มณฑลยูนนานและโครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง

ไชนายูนนานแอร์ไลน์

นายูนนานแอร์ไลน์ (พินอิน: Yúnnán Hángkōng Gōngsī) เป็นสายการบินสัญชาติจีน มีฐานบินที่ท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงอูเจียป้า"World airline directory." Flight International.

ดู มณฑลยูนนานและไชนายูนนานแอร์ไลน์

ไก่ป่า

''Gallus gallus'' ไก่ป่า หรือ ไก่เถื่อน อยู่ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) จัดเป็นนกมีขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ขนาดลำตัว 46-73 เซนติเมตร พบการกระจายอยู่ในเขตศูนย์สูตรโดยมีการกระจายตั้งแต่ประเทศอินเดียจนถึงเวียดนาม และประเทศจีนตอนใต้ จนไปถึงเกาะต่าง ๆ ในประเทศอินโดนีเซีย จัดเป็นไก่สายพันธุ์ดั้งเดิมและเป็นต้นตระกูลของไก่บ้านที่เลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจในปัจจุบันนี้ สามารถแบ่งออกได้แบ่งชนิดย่อยได้ 6 ชน.

ดู มณฑลยูนนานและไก่ป่า

ไก่เถื่อน

ก่เถื่อน หรือ ไก่ป่า เป็นสกุลของสัตว์ปีกที่บินไม่ได้ ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Gallus ซึ่งเป็นภาษาละตินที่หมายถึง "ไก่ตัวผู้" ไก่เถื่อน มีลักษณะสำคัญแตกต่างจากไก่สกุลอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน คือ บนหัวมีหงอนที่เป็นเนื้อไม่ใช่ขน มีเหนียงทั้ง 2 ข้างห้อยลงมาที่โคนปากและคาง ที่บริเวณใบหน้าและคอเป็นหนังเกลี้ยงไม่มีขน ขนตามลำตัวมีสีสันสวยงาม ขนหางตั้งเรียงกันเป็นสันสูงตรงกลาง มีขนหาง 14-16 เส้น เส้นกลางยาวปลายแหลมและอ่อนโค้ง ที่แข้งมีเดือยแหลมข้างละอันเป็นอาวุธที่ใช้ในการป้องกันตัว มีความแตกต่างระหว่างเพศชัดเจน โดยตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้และขนมีสีไม่ฉูดฉาดเท่าตัวผู้ แข้งไม่มีเดือย หงอนและเหนียงมีขนาดเล็กเห็นชัดเจน พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ทวีปยูเรเชีย จนถึงอนุทวีปอินเดีย, เอเชียอาคเนย์ และภาคใต้ของจีน เช่น มณฑลยูนนาน โดยพบทั้งผืนแผ่นดินใหญ่และส่วนที่เป็นเกาะหรือหมู่เกาะ ไก่ในสกุลนี้ ถือได้ว่าเป็นไก่ที่ผูกพันกับมนุษย์มาอย่างยาวนาน โดยมีหลักฐานว่ามนุษย์ได้นำไก่ในสกุลนี้มาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงในครัวเรือน เพื่อการบริโภคเป็นเวลานานกว่า 4,000 ปีมาแล้วในยุคเมโสโปเตเมีย หรือในสมัยสุโขทัย ในประวัติศาสตร์ไทย การล่าไก่ป่าถือเป็นวิถีการดำรงชีวิตอย่างหนึ่งของผู้คนในสมัยนั้น ก่อนที่จะมีการพัฒนาสายพันธุ์จนมาเป็นไก่บ้านอย่างในปัจจุบัน และในส่วนการเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงามและความเพลินเพลินก็พัฒนามาเป็นไก่แจ้หรือไก่ชน ที่มีการจิกตีกันเป็นการละเล่นในหลายวัฒนธรรม.

ดู มณฑลยูนนานและไก่เถื่อน

ไผ่รวก

ผ่รวก เป็นไผ่ขนาดค่อนข้างเล็ก เหง้ารวมเป็นกอแน่น กาบหุ้มลำต้นรัดแน่น ไม่หลุดจนแก่ ยอดกาบเรียงสอบไปหาปลาย ไม่มีติ่งปลายกาบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ 2 แถว ทนแล้งได้ดี กระจายพันธุ์ทั่วทุกภาคของประเทศไทย นิยมปลูกกันลมหรือปลูกเป็นรั้ว พบครั้งแรกในประเทศไทย ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติให้แก่ประเทศไทย กระจายพันธุ์ใน ยูนนาน พม่า ลาว ไทย เวียดนาม ศรีลังกา บังกลาเทศ มาเลเซี.

ดู มณฑลยูนนานและไผ่รวก

ไผ่ตง

ผ่ตง เป็นไผ่สกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกว่า "δένδρον" (déndron) แปลว่า "ต้นไม้" และ "κάλαμος" แปลว่า "พืชจำพวกกกหรืออ้อย" รวมหมายถึง "อ้อยที่เป็นกอคล้ายต้นไม้" จึงสื่อถึงลักษณะของไผ่สกุลนี้ที่มีขนาดใหญ่และนิยมปลูกเพื่อการบริโภคหน่อ ไผ่สกุลนี้มีประมาณ 50 ชนิด ในจำนวนนี้พบในไทย 4 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อนของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในเขตอินเดีย จีน อินโดนีเซีย พม่า ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปิน.

ดู มณฑลยูนนานและไผ่ตง

ไทยสยาม

ทยสยาม (Thai Siam) โดยทั่วไปหมายถึง คือกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งพูดภาษาไทยกลาง หรือมี เชื้อชาติไทยสยามผสมอยู่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศไทย และอาศัยกระจายอยู่ในประเทศอื่นทั่วโลก โดยคนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ ศาสนาอิสลาม และ ศาสนาคริสต์ ในความหมายทางชาติพันธุ์ ใช้เฉพาะเจาะจงถึงคนไทยภาคกลาง หรือเดิมเรียกว่า ชาวสยาม แต่ในความหมายมุมกว้าง สามารถหมายความครอบคลุมถึง กลุ่มชาติพันธุ์ไทย อื่นๆ ทั้งนอกและในราชอาณาจักร เช่น ไทยโคราช ไทยอีสาน ไทยโยเดีย หรือ ไทยเกาะกง เช่นกัน.

ดู มณฑลยูนนานและไทยสยาม

ไทยอง

มารถดูชนกลุ่มที่มีความใกล้เคียงกับชาวไทยองได้ที่ ชาวไทลื้อ ชาวไทยอง หรือ ชาวเมืองยอง ใช้เรียกกลุ่มคนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณเมืองยอง และกระจายอยู่ในด้านตะวันออกของรัฐฉาน ประเทศพม่า เขตสิบสองพันนา ในมณฑลยูนนานของจีน ภายหลังได้อพยพเข้ามาตั้งบ้านเรือนใน จังหวัดลำพูน เชียงใหม่ เชียงราย และน่าน ในสมัยรัชกาลที่ 1 ภายใต้กุศโลบาย "เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง" ของ พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ แห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ เพื่อรื้อฟื้นอาณาจักรล้านนาภายหลังการยึดครองของพม่าสิ้นสุดลง จากตำนาน ชาวเมืองยองนั้น ได้อพยพมาจากเมืองเชียงรุ้งและเมืองอื่นๆ ในสิบสองปันนา ซึ่งเป็นคนไทลื้อ และได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานครั้งใหญ่ในเมืองลำพูน และ เชียงใหม่ ในปี พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและไทยอง

ไทยเชื้อสายจีน

วไทยเชื้อสายจีน คือ ชาวจีนที่เกิดในประเทศไทยและเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล คนไทยเชื้อสายจีน มีประมาณ 9.4 ล้านคนในประเทศไทย หรือร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจำนวนมากไม่สามารถนับได้ เพราะที่กลมกลืนกับคนไทยไปแล้วโดยการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากบรรพบุรษจะมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว ในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน พูดภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นภาษากลุ่มหมิ่นหนาน รองลงมาคือมาจาก แคะ ฮกเกี้ยน และไหหลำ.

ดู มณฑลยูนนานและไทยเชื้อสายจีน

ไทหย่า

ทหย่า คือกลุ่มชนชาวไทกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมีถิ่นอาศัยเดิมในตำบลโมซาเจียง อำเภอซินผิง จังหวัดยิ่วซี มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ชาวจีนเรียกคนไทกลุ่มนี้ว่าฮวาเย่าไต แปลว่าไทเอวลาย ชาวไทหย่าบางส่วนได้อพยพมายังสิบสองปันนา บางส่วนเข้าสู่พม่าและไทยมีประชากร 60,000 คน พูดภาษาไท (ไทตะวันตกเฉียงใต้) ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มภาษากัม-ไท ตระกูลภาษาไท-กะได ชื่อของชาวไทหย่าหรือไตหย่า ซึ่งแท้จริงแล้วคือชื่อเมืองหย่าในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ซึ่งเป็นถิ่นฐานเดิมของชาวไทกลุ่มนี้ จึงเรียกว่าไทหย่าหรือไตหย่า มีผู้กล่าวไว้เพื่อจะดึงดูดศาสนิกไว้ว่าเป็นคำที่พวกไทด้วยกันเรียกชาวไทพวกหนึ่งที่มิได้นับถือพระพุทธศาสนา ซ้ำอธิบายด้วยว่า พระพุทธเจ้าเสด็จมาพบพวกนี้ ทรงเห็นว่าเป็นพวกกิเลสหนาและโของประเทศจีนง่เขลาจนไม่สามารถจะเข้าใจพุทธวจนะ เปรียบดังเหล่าเวไนยสัตว์ ที่พระพุทธเจ้าทรงเปรียบเป็นดอกบัวใต้น้ำลึกมาก ไม่สามารถที่จะโผล่ขึ้นมารับแสงดวงอาทิตย์ได้ เป็นพวกที่พระพุทธเจ้าเองก็ไม่สามารถจะสอนได้ พระพุทธเจ้าตัดสินพระทัยไม่สอน คนไทพวกนี้จึงถูกเรียกว่า "ไทหย่า" เป็นพวกไม่มีศาสนาจนทุกวันนี้ ชาวไทหย่ายังนับถือศาสนาคริสต์อยู่ร้อยละ 96 นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 3 และไม่มีศาสนาอยู่ร้อยละ 1 ชื่อชาวไท หรือไตนั้นมาจากกลุ่มชนที่อยู่เทือกเขาภาคเหนือของไทย พม่า และตอนใต้ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของจีน มีภาษาในตระกูลไทเช่นเดียวกัน ชาวไตหรือไทนั้นมีหลายกลุ่ม อพยร่นลงมาจนถึง 12 ปันนา เป็นหนึ่งในอณาจักรน่านเจ้าในอดีต พระพทธเจ้าไม่เคยมาสอนหรือเจอกลุ่มไทหย่า ตามที่อ้าง ไทหย่าเป็นกลุ่มที่ไม่ได้อพยมาจาก 12 ปันนาสู่ประเทศไทย อาศัยเมืองที่แยกกันตรงนั้นเรียกเมืองหย่า ต่อมาส่วนหนึ่งนับถือศาสนาคริสต์จึงอพยจาก 12 ปันนาเข้าสู่ประเทศไท.

ดู มณฑลยูนนานและไทหย่า

ไทไขหัว

วไทไขหัว เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่งที่มีภูมิลำเนาอยู่ในทุ่งใหญ่ ที่มีชื่อว่า "ทุ่งไขหัว" ในแถบมณฑลยูนนาน จึงเป็นที่มาของชื่อ ชาวไทไขหัว ทุ่งนี้เป็นที่ราบสูงกว้างใหญ่ มีลำน้ำเล็กๆไหลผ่าน ชาวไทไขหัวนี้ นำเอาภาษาจีนเข้ามาใช้ปะปนกับภาษาไทอันมาก และตัวหนังสือ ก็ใช้อักษรจีน.

ดู มณฑลยูนนานและไทไขหัว

ไดโนเซฟาโลซอรัส

นเซฟาโลซอรัส (ความหมาย: "สัตว์เลื้อยคลานที่มีหัวน่ากลัว") เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ มีชีวิตอยู่ในยุคไทรแอสซิก (ราว 245 ล้านปีก่อน) เป็นไดโนเสาร์ชนิดหนึ่งที่มีส่วนคอเรียวยาว มีเท้าที่มีครีบหรือพังผืดระหว่างนิ้วเท้า มีส่วนหัวที่เล็ก โดยตัวอย่างต้นแบบถูกค้นพบที่มณฑลกุ้ยโจว ประเทศจีน เมื่อปี..

ดู มณฑลยูนนานและไดโนเซฟาโลซอรัส

เชลยศึก (ละครโทรทัศน์ไทย)

ลยศึก เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนวพีเรียด-ดราม่า ผลิตโดย บริษัท อาร์เอส จำกัด โดยผู้จัด บทประพันธ์โดย ตัวกลม บทโทรทัศน์โดย สิริวัฒน์69, แสงแรก กำกับการแสดงโดย อัครพล อัครเศรณี นำแสดงโดย ปภาวิน หงษ์ขจร,ษริกา สารทศิลป์ศุภา, เวฬุรีย์ ดิษยบุตร, ปริศนา กัมพูสิริ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มออกอากาศตอนแรกวันพฤหัสบดีที่ 25 มกราคม พ.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและเชลยศึก (ละครโทรทัศน์ไทย)

เชียงรุ่ง

แผนที่เชียงรุ่ง แม่น้ำโขงช่วงที่ไหลผ่านเชียงรุ่ง เชียงรุ่ง หรือในภาษาจีนคือ จิ่งหง, เจียงฮุ่ง หรือออกเสียงในภาษาไทลื้อว่า เจงฮุ่ง (ไทลื้อใหม่: ᦵᦋᧂᦣᦳᧂᧈ ;) คือเมืองเอกในเขตปกครองตนเองชนชาติไท - สิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีชายแดนทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับประเทศพม่า และทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับประเทศลาว.

ดู มณฑลยูนนานและเชียงรุ่ง

เชียงลาบ

มืองเชียงลาบ (Keng Lap) หรือ "เวียงแคว้นสา" เป็นเมืองเก่าแก่ของชาวไทลื้อบางครั้งจะเรียกชื่อเมืองโขง หรือ เมืองโขงโค้ง หรือ เวียงแคว้นสา ตั้งอยู่ในแขวงท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน ประเทศพม่า ตรงข้ามกับบ้านเชียงกก เมืองลอง แขวงหลวงน้ำทา ประเทศลาว และตั้งอยู่ครึ่งทางระหว่างหิรัญเงินยางนคร (เมืองเชียงแสน) ประเทศไทย และเมืองเชียงรุ่ง สิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ตัวเมืองตั้งอยู่ตรงแหลมเชียงลาบ มีเจ้าผู้ครองเมืองตามนามเมืองว่า "เจ้าหลวงเชียงลาบ" ปฐมผู้สร้างเมืองคือ พญาเจิงหาญ หรือ ขุนเจือง หรือ สมเด็จพระเจ้าเจืองฟ้าธรรมิกราชสมเด็จพระเจ้าหอคำเชียงรุ่งที่ 1วีรบุรุษในตำนานของชนชาติไตย ตลอดลุ่มแม่น้ำโขง แห่งราชวงค์อาฬโวสวนตาน เชียงลาบซึ่งเป็นบริเวณที่แม่น้ำโขงไหลเชี่ยวที่สุด หรือที่เรียกว่า "โขงโค้ง" เป็นแนวบริเวณที่อันตรายที่สุดในการเดินเรือ เนื่องจากเป็นบริเวณที่แม่น้ำโขงไหลลงมาตรงแล้วกระทบกับโขดหินและไหลย้อยกลับขึ้นไปข้างบน จึงทำให้แม่น้ำโขงในบริเวณนี้ไหลแรงและเชี่ยวที่สุดและต้องใช้ความชำนาญสูงในการเดินเรือสินค้า หากมองด้านจุดยุทธศาสตร์การเมือง การคมนาคม และการค้าขายในอดีต เมื่อสองร้อยกว่าปีที่ผ่านมา หากต้องเดินทางเดินทางจากเชียงแสนไปเชียงรุ่ง ต้องหยุดพักตรงนี้ เมื่อมีการหยุดพักแล้วจึงมีคารวานต่าง ๆ มาแลกเปลี่ยนสินค้าในบริเวณดังกล่าว จึงทำให้เชียงลาบกลายเป็นเมืองหน้าด่านสู่ประตูสู่เชียงรุ่งโดยปริยาย บริเวณเมืองเมืองตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้ำโขงที่ไหลย้อนขึ้นและไหลลง ชาวเมืองเรียกบริเวณนี้ว่า "โขงโค้ง" ทางตอนกลางของเมืองมีแม่น้ำลาบ ไหลผ่านลงไปแม่น้ำโขง หากนั่งเรือจากเชียงแสนขึ้นไปราว 82 กม.

ดู มณฑลยูนนานและเชียงลาบ

เบ้งเฮ็ก

มิ่ง ฮั่ว ตามสำเนียงกลาง หรือ เบ้งเฮ็ก ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นผู้นำประเทศอิสระบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของจ๊กก๊ก ซึ่งปัจจุบันคือ เขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิงผ่อ เต๋อหง มณฑลยูนนาน เบ้งเฮ็กได้รับการสนับสนุนจากต้วนอี้ สมุหนายกของวุยก๊ก ทำให้สามารถผนึกกำลังกับ ยงคี เจ้าแคว้นเกียวเหล็ง จูโพ เจ้าแคว้นอวดจุ้น และชนเผ่าอื่นๆ เข้าตีเมืองเองเฉียง (ปัจจุบันคือ เขตเป่าซาน มณฑลยูนนาน) จึงทำให้ขงเบ้งต้องยกทัพมาปราบด้วยตัวเองแล้ววางแผนจับเบ้งเฮ็กถึง 6 ครั้ง แล้วก็ปล่อยไปทุกครั้ง เมื่อครั้งที่เจ็ดก็จับตัวเบ้งเฮ็กได้ก็เชิญไปรับประทานอาหาร เบ้งเฮ็กคิดว่าครั้งนี้ขงเบ้งคงไม่ปล่อยเราเป็นแน่ นี่คงเป็นอาหารมื้อสุดท้ายของเรา แล้วขงเบ้งก็เอ่ยว่า เจ้าจงกลับไปตั้งทัพแล้วกลับมาสู้กับเราใหม่เถิด เมื่อได้ยินขงเบ้งพูดอย่างนั้นเบ้งเฮ็กถึงกับน้ำตาไหล เบ้งเฮ็กสำนึกในพระคุณของขงเบ้ง จึงยอมแพ้ ขงเบ้งให้อยู่ครองเมืองต่อโดยไม่ทิ้งทหารประจำการ สาเหตุที่ขงเบ้งจับเบ้งเฮ็กแล้วปล่อยไปแล้วถึงเจ็ดครั้ง เพราะเบ้งเฮ็กเป็นผู้นำเผ่าภาคใต้ คนชนเผ่าให้ความเคารพนับถือมาก ถ้าประหารเบ้งเฮ็กเสียก็จะทำให้ชนเผ่าแข็งข้อและจะก่อความวุ่นวายให้กับจ๊กก๊กในภายหลังได้ ดังนั้นขงเบ้งก็ได้ใช้แผนการจับเบ้งเฮ็กและปล่อยไปเพื่อเป็นการเอาใจเบ้งเฮ็กจนทำให้ยอมจำนนอย่างเต็มใจ และไม่คิดก่อกบฏอีกเลย คึกฤทธิ์ ปราโมช สันนิษฐานว่าเบ้งเฮ็กเป็นผู้นำชนชาติ ไต-ไท หากในประวัติศาสตร์ทางการ เบ้งเฮ็กที่จริงแล้วเป็นพลเมืองของจักรวรรดิฮั่น แต่คนมักคิดว่าเบ้งเฮ้กเป็นผู้นำชนเผ่าป่าเถื่อนทางใต้เนื่องจากภาพที่บรรยายในนิยายสามก๊ก.

ดู มณฑลยูนนานและเบ้งเฮ็ก

เกาลัดไทย

กาลัดไทย เป็นพืชท้องถิ่นในจีนตอนใต้ บริเวณกวางตุ้ง กวางสี ยูนนาน ไต้หวัน จากนั้นจึงมีการแพร่กระจายไปยังอินเดีย เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ญี่ปุ่น รวมทั้งไทย ผลเป็นผลแห้ง แตกเปลือกแข็ง เปลือกสีแดง หุ้มเมล็ดสีดำข้างใน เนื้อในเมล็ดสีเหลือง ต้มสุกแล้วเป็นสีเหลืองสด ผลเมื่อนำไปต้มหรือคั่วก่อนจะรับประทานได้ ไม้นำไปทำเฟอร์นิเจอร์ได้ดี เนื้อไม้มีเรซินมาก นำไปใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรมได้.

ดู มณฑลยูนนานและเกาลัดไทย

เก้งจีน

ก้งจีน (Reeves' Muntjac, Chinese Muntjac) เป็นเก้งชนิดหนึ่งที่พบในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศจีน (มณฑลกานซูถึงมณฑลยูนนาน) และในไต้หวันWilson, Don E.; Reeder, DeeAnn M., eds (2005).

ดู มณฑลยูนนานและเก้งจีน

เมิ้งล่า

มิ้งล่า หรือ เมืองหล้า (勐腊县; พินอิน: Měnglà Xiàn) เป็นเขตปกครองระดับเทศมณฑลในเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ เมิ้งล่า มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตพฤษชาติเขตร้อน มีพันธุ์ไม้มากกว่า 13,000 ชน.

ดู มณฑลยูนนานและเมิ้งล่า

เมิ้งฮาย

มิ้งฮาย หรือ เมืองฮาย (勐海县; พินอิน: Měnghǎi Xiàn) คือเขตปกครองระดับเทศมณฑลในเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน.

ดู มณฑลยูนนานและเมิ้งฮาย

เมืองสิงห์ (ประเทศลาว)

มืองสิงห์ (ເມືອງສີງ) เป็นเมืองที่มีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทลื้อ เพราะอยู่ใกล้สิบสองปันนาในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ชาวไทลื้ออาศัยในพื้นที่ลุ่ม ส่วนบนเขตภูเขาเป็นที่อยู่ของชาวม้ง ชาวเย้า แต่เดิมเป็นเมืองเดียวกับเมืองเชียงแขง ในรัฐฉาน ประเทศพม่า แต่เมื่ออังกฤษและฝรั่งเศสเข้ามาล่าอาณานิคม ได้ตกลงแบ่งดินแดนกันโดยใช้แม่น้ำโขงเป็นแดน ฝั่งเชียงแขงจึงอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ และรัฐฉานของพม่าในที่สุด ส่วนฝั่งเมืองสิงห์อยู่ในการปกครองของฝรั่งเศส และประเทศลาวในปัจจุบันในวันที่ 9 พฤษภาคม..

ดู มณฑลยูนนานและเมืองสิงห์ (ประเทศลาว)

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและเวียงจันทน์

เสือโคร่งอินโดจีน

ือโคร่งอินโดจีน (Indochinese tiger, Corbett's tiger) เสือโคร่งชนิดย่อยชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera tigris corbetti อยู่ในวงศ์เสือและสิงโต (Felidae) รูปร่างเหมือนเสือโคร่งทั่วไป แต่มีลายเส้นที่เล็กกว่าเสือโคร่งเบงกอล (P.

ดู มณฑลยูนนานและเสือโคร่งอินโดจีน

เส้นทางการค้า

้นทางการค้า (trade route) คือเส้นทางที่ในเครือข่ายที่บ่งว่าเป็นเส้นทางและจุดหยุดพักที่ใช้ในการขนส่งสินค้าไปยังตลาดที่อยู่ในดินแดนที่ไกลออกไปจากต้นแหล่งที่ผลิตสินค้ามาก เส้นทางการค้าแต่ละเส้นทางก็จะประกอบด้วยถนนสายหลัก (Arterial road) ที่อาจจะมีเครือข่ายย่อยๆ ที่ใช้เป็นเส้นทางการค้าและการคมนาคมมาบรรจบ ในประวัติศาสตร์ช่วงตั้งแต่ปี 1532 ก่อนคริสต์ศักราช จนถึง..

ดู มณฑลยูนนานและเส้นทางการค้า

เส้นขนานที่ 25 องศาเหนือ

้นขนานที่ 25 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 25 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรแปซิฟิก, ทวีปอเมริกาเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นชายแดนจุดเหนือสุดของมาลีซึ่งแบ่งกับมอริเตเนีย ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 13 ชั่วโมง 42 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 35 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ดู มณฑลยูนนานและเส้นขนานที่ 25 องศาเหนือ

เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตก.

ดู มณฑลยูนนานและเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และทวีปแอนตาร์กติกาเข้าสู่ขั้วโลกใต้   เส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 78 องศาตะวันตก  .

ดู มณฑลยูนนานและเส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และทวีปแอนตาร์กติกาเข้าสู่ขั้วโลกใต้     เส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 77 องศาตะวันตก.

ดู มณฑลยูนนานและเส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจาก ขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรใต้, และทวีปแอนตาร์กติกาเข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 76 องศาตะวันตก.

ดู มณฑลยูนนานและเส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตก.

ดู มณฑลยูนนานและเส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตก.

ดู มณฑลยูนนานและเส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออก

เหยียน หย่งชุน

1994) เหยียน หย่งชุน (嚴詠春, Yim Wing-chun, แปลว่า "ฤดูใบไม้ผลิ") หรือ หยิ่ม เหวงช๊น ในสำเนียงกวางตุ้ง เป็นจอมยุทธหญิงในตำนานของจีน ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้แรกที่ต้นแบบของมวยกังฟูในแบบที่เรียกว่า "หย่งชุน".

ดู มณฑลยูนนานและเหยียน หย่งชุน

เหตุการณ์โกก้าง

ตปกครองพิเศษโกก้าง(เขียว) ภายในรัฐฉาน(เหลือง) เหตุการณ์โกก้าง (Kokang incident) เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในเดือนสิงหาคม..

ดู มณฑลยูนนานและเหตุการณ์โกก้าง

เอื้องสายมรกต

อิ้องสายมรกต เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองในจีน (กว่างซีจ้วง กุ้ยโจว ทิเบต และยูนนาน) อินโดจีน ไทย และเขตเทือกเขาหิมาลัย เช่น เนปาล ภูฏาน อัสสัม ภาษาจีนกลางเรียกหวงเฉ่าสือหู ก้านใช้ทำยาที่เรียกสือหูหรือเจี่ยฮก แก้ท้องผูก เบื่ออาหาร.

ดู มณฑลยูนนานและเอื้องสายมรกต

เอื้องสีตาล

อื้องสีตาล หรือเอื้องแซะดง เอื้องสีจุน เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองในเทือกเขาหิมาลัย ยูนนาน เนปาล รัฐอัสสัม อินเดีย ศรีลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู มณฑลยูนนานและเอื้องสีตาล

เอ็กโซดัส (อัลบั้มเอ็กโซ)

อ็กโซดัส (Exodus) เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่สองของวงดนตรีชายสัญชาติเกาหลีใต้และจีน เอ็กโซ ออกจำหน่ายในวันที่ 30 มีนาคม..

ดู มณฑลยูนนานและเอ็กโซดัส (อัลบั้มเอ็กโซ)

เจาทง

ทง เป็นจังหวัดหนึ่งในมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน.

ดู มณฑลยูนนานและเจาทง

เจิ้งเหอ

รูปวาดเจิ้งเหอในจินตนาการของศิลปินที่ไม่ทราบชื่อ เจิ้งเหอ (แต้จิ๋ว: แต้ฮั้ว) เป็นผู้บัญชาการทหารเรือจีนในยุคราชวงศ์หมิง (明; Ming) มีบันทึกว่าเจิ้งเหอเริ่มเดินทางรอบโลกตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู มณฑลยูนนานและเจิ้งเหอ

เจ้าฟ้า (เจ้าผู้ครอง)

้าฟ้าจากรัฐฉานและกะเหรี่ยงแดง ณ จัตุรัสเดลี พ.ศ. 2446 เจ้าฟ้า เป็นพระราชบรรดาศักดิ์ที่ใช้เรียกเจ้าผู้ครองแคว้นหรือนครต่าง ๆ ของชาวไทใหญ่ (บริเวณภาคตะวันออกของประเทศพม่าปัจจุบัน) นอกจากนี้ยังใช้กับผู้ปกครองชาวไทถิ่นอื่นในประเทศข้างเคียงด้วย ที่สำคัญเช่นในมณฑลยูนนานของจีน คำ "ซอ-บวา" ในภาษาพม่าตรงกับคำ "เจ้าฟ้า" ในภาษาไทย แต่ในประเทศไทย คำ "เจ้าฟ้า" ยังใช้หมายถึงสกุลยศหรือฐานันดรศักดิ์อย่างหนึ่งของเชื้อพระวงศ์ด้ว.

ดู มณฑลยูนนานและเจ้าฟ้า (เจ้าผู้ครอง)

เจ้าเสือข่านฟ้า

้าเสือข่านฟ้า (ภาษาไทใหญ่:100pxเจาเสอข่านฟ่า;ภาษาไทใต้คง100pxเจาเสอข่านฟ่า) หรือเจ้าหลวงเสือข่านฟ้าทรงเป็นวีระบุรุษที่ยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ไทใหญ่เพราะทรงรวบรวมรัฐไทใหญ่ต่างๆที่เป็นอิสระต่อกันให้มาเป็นอาณาจักรเดียวกันภายใต้ชื่ออาณาจักรเมืองมาวหลวง ในรัชสมัยนี้อาณาจักรเมืองมาวหลวงมีอำนาจเกรียงไกรและเจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์ไทใหญ.

ดู มณฑลยูนนานและเจ้าเสือข่านฟ้า

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ดู มณฑลยูนนานและเถรวาท

เทศบาลตำบลโพธิ์พระยา

ทศบาลตำบลโพธิ์พระยา เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลตำบล ตั้งอยู่ตอนเหนือของอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี มีพื้นที่ 6.25 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลโพธิ์พระยา ได้แก่ หมู่ที่ 1, หมู่ที่ 3, หมู่ที่ 6, และหมู่ที่ 7 และมีประชากรในปี..

ดู มณฑลยูนนานและเทศบาลตำบลโพธิ์พระยา

เขตการปกครองของประเทศจีน

ตการปกครองของจีน เขตการปกครองของจีน มีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ ได้แก่ มณฑล อำเภอ และ ตำบล แต่ในปัจจุบันได้เพิ่มมาอีก 2 ระดับ คือ จังหวัด และ หมู่บ้าน ซึ่งถ้านำมาเรียงใหม่จะได้เป็น มณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และ หมู่บ้าน.

ดู มณฑลยูนนานและเขตการปกครองของประเทศจีน

เขตปกครองตนเองชนชาติลีซอ นู่เจียง

แผนที่มณฑลยูนนานแสดงที่ตั้ง เขตปกครองตนเองชนชาติลีซอ นู่เจียง เขตปกครองตนเองชนชาติลีซอ นู่เจียง (นู่เจียงลี่สู้สูซื่อจื้อโจว) คือหนึ่งในเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน.

ดู มณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองชนชาติลีซอ นู่เจียง

เขตปกครองตนเองชนชาติอาข่าและอี๋ หงเหอ

แผนที่มณฑลยูนนานแสดงที่ตั้ง เขตปกครองตนเองชนชาติอาข่าและอี๋ หงเหอ เขตปกครองตนเองชนชาติอาข่าและอี๋ หงเหอ (หงเหอฮาหนีสูอี๋สูซื่อจื้อโจว) คือหนึ่งในเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 32.929 ตร.

ดู มณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองชนชาติอาข่าและอี๋ หงเหอ

เขตปกครองตนเองชนชาติอี๋ ฉู่สยง

แผนที่มณฑลยูนนานแสดงที่ตั้ง เขตปกครองตนเองชนชาติอี๋ ฉู่สยง เขตปกครองตนเองชนชาติอี๋ ฉู่สยง (ฉู่สยง อี๋จู๋ จื้อจื้อโจว) คือหนึ่งในเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 29.256 ตร.

ดู มณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองชนชาติอี๋ ฉู่สยง

เขตปกครองตนเองชนชาติจ้วงและม้ง เหวินซาน

แผนที่มณฑลยูนนานแสดงที่ตั้ง เขตปกครองตนเองชนชาติจ้วงและม้ง เหวินซาน เขตปกครองตนเองชนชาติจ้วงและม้ง เหวินซาน (เหวินซาน จ้วงจู๋ เหมียวจู๋ จื้อจื้อโจว) คือหนึ่งในเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน.

ดู มณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองชนชาติจ้วงและม้ง เหวินซาน

เขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ตี๋ชิ่ง

แผนที่มณฑลยูนนานแสดงที่ตั้ง เขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ตี๋ชิ่ง เขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ตี๋ชิ่ง (བདེ་ཆེན་བོད་རིགས་རང་སྐྱོང་ཁུལ་ / Bde-chen Bod-rigs rang-skyong khul;; ตี๋ชิ่งจ้างสูซื่อจื้อโจว) คือหนึ่งในเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีชื่อเสียงจากการเป็นเขตปกครองที่มีเมืองชื่อ แชงกรี-ล.

ดู มณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ตี๋ชิ่ง

เขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา

ตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา (อักษรธรรม: ᩈᩥ᩠ᨷᩈ᩠ᩋᨦᨻᩢ᩠ᨶᨶᩣ ไทลื้อใหม่: ᦈᦹᧈᦈᦹᧈᦋᦵᦲᧁᦘᦱᦉᦱᦑᦺ᧑᧒ᦗᧃᦓᦱ) หรือชื่อย่อว่า ซีไต่ ตั้งอยู่ทางใต้สุดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีเมืองเอก คือ เมืองเชียงรุ่ง.

ดู มณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนา

เขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิ่งพัว เต๋อหง

ตปกครองตนเองชนชาติไทและจิ่งพัว เต๋อหง หรือเขตปกครองตนเองใต้คง (ไทเหนือ: 60px; เต๋อหง ไต่จู๋ จิ่งพัวจู๋ จื้อจื้อโจว) คือหนึ่งในเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีพื้นที่ประมาณ 11,526 ตร.

ดู มณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิ่งพัว เต๋อหง

เขตปกครองตนเองชนชาติไป๋ ต้าหลี่

แผนที่มณฑลยูนนานแสดงที่ตั้ง เขตปกครองตนเองชนชาติไป๋ ต้าหลี่ เขตปกครองตนเองชนชาติไป๋ ต้าหลี่ (ต้าหลี่ไป๋จู๋จื้อจื้อโจว) คือหนึ่งในเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดของมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มีพื้นที่ประมาณ 29,460 ตร.

ดู มณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองชนชาติไป๋ ต้าหลี่

เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง

ตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง หรือ กวางสี หรือ กวางไซ (จ้วง: Gvangjsih Bouxcuengh Swcigih) หรือชื่อย่อว่า กุ้ย (桂; จ้วง: Gvei) เป็นเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศจีน มีเมืองเอกคือหนานหนิง.

ดู มณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง

เขตปกครองตนเองทิเบต

ตปกครองตนเองทิเบต (ทิเบต:བོད་- โบด์; ซีจ้าง) เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศจีน มีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย ชาวทิเบต มีพระเป็นผู้นำของเขตปกครองพิเศษนี้ ชนพวกนี้นับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยาน คล้ายกับประเทศภูฏาน ทิเบตตั้งอยู่บนเทือกเขาหิมาลัย เป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก จนได้รับฉายาว่า หลังคาโลก ทิเบตมีอากาศที่หนาวเย็นมาก และมีความกดอากาศและอ๊อกซิเจนที่ต่ำ ฉะนั้นผู้ที่จะมาในทิเบตจะต้องปรับสภาพร่างกายก่อน และด้วยเหตุนี้ประชากรที่อาศัยอยู่ในทิเบตจึงน้อย พลเมืองชายของทิเบตกว่าครึ่งบวชเป็นพระ ก่อนจีนจะยึดครองทิเบต ทิเบตมีสามเณริกามากที่สุดในโลก ในทิเบตเคยมีคัมภีร์มากมาย พลเมืองนับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด จนได้รับฉายาว่า "แดนแห่งพระธรรม" (land of dharma) ทิเบตมีเมืองหลวงชื่อ ลาซา (Lhasa).

ดู มณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองทิเบต

เครือข่ายสถาบันการศึกษาและวิจัยในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง

รือข่ายสถาบันการศึกษาและวิจัยในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (Greater Mekong Sub-region Academic and Research Network หรือ GMSARN) คือเครือข่ายด้านการศึกษาและการวิจัยในลุ่มแม่น้ำโขง โดยมีจุดมุ่งหมายที่ส่งเสริมกิจกรรมทางด้านพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การวิจัยร่วมกัน ทรัพย์สินทางปัญญา และการเผยแพร่ข้อมูลที่เกี่ยวกับประเทศในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง โดยเน้นที่ประเด็นความเชื่อมโยงระหว่างเทคโนโลยีและการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจเป็นหลัก.

ดู มณฑลยูนนานและเครือข่ายสถาบันการศึกษาและวิจัยในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง

เต่าหับเอเชีย

ต่าหับเอเชีย (Asian box turtles; 閉殼龜屬; พินอิน: Bì ké guī shǔ) เป็นสกุลของเต่าสกุลหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์เต่านา (Geoemydidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Cuora มีรูปร่างคล้ายโดยรวมคล้ายกับเต่าในวงศ์นี้ส่วนใหญ่ คือ กระดองโค้งกลมเห็นได้ชัด มีลักษณะสำคัญ คือ กระดองส่วนท้องแบ่งออกเป็น 2 ตอน สามารถทำให้พับหับได้เหมือนกล่อง ซึ่งเต่าจะสามารถเก็บส่วนหัว ขาทั้ง 4 ข้าง และหางได้ปิดสนิท เต่าหับเอเชียนั้นมีอยู่ด้วยกันทั้งหมดประมาณ 9 ชนิด กระจายพันธุ์ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และตอนใต้ของจีน เช่น มณฑลยูนนาน เป็นเต่าที่สามารถว่ายน้ำได้ดี แต่มักที่จะอยู่บนพื้นดินที่มีความชุ่มชื้นมากกว่า กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เต่าหับเอเชียนอกจากได้รับความนิยมในแง่ของการเป็นสัตว์เลี้ยงแล้ว ยังถือว่าเป็นสัตว์นำโชคอีกด้วย เชื่อว่าจะนำโชคลาภมาสู่ผู้เป็นเจ้าของ โดยเฉพาะหากเต่าหับตัวใดมีหับที่ใต้ท้องมากกว่า 2 ตอน หรือ 3 ตอน และยังนำกระดองไปทำเป็นเครื่องรางของขลังได้อีกด้วย โดยเฉพาะอย่างในเต่าหับเหรียญทอง (C.

ดู มณฑลยูนนานและเต่าหับเอเชีย

เป่าซาน

เป่าซาน เป็นจังหวัดหนึ่งในมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน หมวดหมู่:เมืองในประเทศจีน หมวดหมู่:เมืองในมณฑลยูนนาน.

ดู มณฑลยูนนานและเป่าซาน

Eremochloa

Eremochloa คือพืชสกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) พบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และออสเตรเลี.

ดู มณฑลยูนนานและEremochloa

Siamogale melilutra

Siamogale melilutra สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง จำนวนนากที่สูญพันธุ์ไปแล้วตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จัดเป็นนากขนาดใหญ่ นักวิทยาศาสตร์ขุดค้นพบซากดึกดำบรรพ์ที่มณฑลยูนนาน ประเทศจีน Siamogale melilutra มีกะโหลกและฟันคล้ายกับแบดเจอร์ ซึ่งเป็นสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน มีฟันที่แหลมคมสำหรับใช้กัดแทะหรือเจาะทำลายสัตว์น้ำเปลือกแข็ง เช่น หอย, หมึก หรือกุ้งปู กินเป็นอาหาร จากการคำนวณจากหัวกะโหลกและฟันที่พบ พบว่าเป็นนากขนาดใหญ่มีความยาวกว่า 2 เมตร น้ำหนัก 50 กิโลกรัม นับว่าใหญ่กว่าสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เดียวกันชนิดอื่นมาก สามารถว่ายน้ำได้ดีทั้งน้ำตื้นและน้ำลึก เชื่อว่าอาศัยอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำ สูญพันธุ์ไปแล้วเมื่อราว 6.2 ล้านปีก่อน ในยุคไมโอซีน โดยมีการพบการกระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก แต่ยังไม่มีข้อมูลด้านวิวิฒนาการเท่าไหร่นัก เนื่องจากเป็นซากดึกดำบรรพ์ค่อนข้างหาได้ยาก.

ดู มณฑลยูนนานและSiamogale melilutra

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2546)

8 เทพอสูรมังกรฟ้า (อังกฤษ: Demi-Gods And Semi-Devils) เป็นละครโทรทัศน์ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2546 กล่าวถึงเรื่องราวของวรรณกรรมของ กิมย้ง เรื่อง 8 เทพอสูรมังกรฟ้า นำแสดงโดย ฮู จุน, หลิว อี้เฟย์, หลิน จื้ออิ่ง ออกอากาศทางช่อง CCTV ในจีน.

ดู มณฑลยูนนานและ8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2546)

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Yunnanมณฑลยูนานมณฑลหยุนหนานยูนานยูนนาน

ภาษามังภาษาม้งชัวภาษาม้งขาวภาษาม้งเขียวภาษาลาฮูภาษาลาฮูเหลืองภาษาลีสู่ภาษาว้าภาษาอะชางภาษาอาหมภาษาจ้วงหยางภาษาจ้วงหยงหนานภาษาจ้วงจั่วเจียงภาษาจ้วงไดภาษาปลังภาษาปะหล่องชเวภาษาปะหล่องรูไมภาษาปะหล่องปาเลภาษาปาดีภาษาปู้อีภาษานุง (ทิเบต-พม่า)ภาษาน่าซีภาษาไจ้หว่าภาษาไทหย่าภาษาไตลองภาษาไป๋ภาษาเรียงภาษาเลาโวภูมิทัศน์วัฒนธรรมนาขั้นบันไดหงเหอฮาหนี่ภูเขาหิมะมังกรหยกมะตาดมัสยิดบ้านฮ่อมิสแกรนด์จีนมิสเอิร์ธ 2017มณฑลมณฑลกุ้ยโจวมณฑลเสฉวนยวี่ซีรองเท้านารีฝาหอยรองเท้านารีดอยตุงรองเท้านารีเหลืองปราจีนรัฐชานรัฐกะฉิ่นราชวงศ์หยวนรายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (บ)รายชื่อบุคคลในยุคสามก๊ก (ล)รายชื่อพระธาตุเจดีย์รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามจำนวนประชากรรายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามขนาดพื้นที่รายชื่อมณฑลของประเทศจีนเรียงตามความหนาแน่นของประชากรรายชื่อหอดูดาวรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศจีนรายชื่อเขตการปกครองรถไฟฟ้าคุนหมิงรถไฟฟ้าคุนหมิง สาย 1รถไฟฟ้าคุนหมิง สาย 6ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2557ลัทธิอาจาลี่ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)ลาฮอลิงจมูกเชิดลิงจมูกเชิดสีทองลี่เจียงวอลเลย์บอลหญิงอินเตอร์เนชันแนลวีทีวี9 บิ่ญเดี่ยนคัพวัฒนธรรมดงเซินวัดแสนเมืองมาวิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ศาสนาพุทธในประเทศจีนสกุลกล้วยผาสกุลกะเรกะร่อนสกุลหนอนตายหยากสกุลเอื้องหมายนาสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชสะพานเป่ยผานเจียงสันนิบาตฟื้นฟูเวียดนามสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)สฺยง เฉาจงสงกรานต์สงครามจีน–พม่าสงครามปราบฮ่อส้านช้างหมู่บ้านสันติคีรีหลิว ฟางหลิน ไต้หลินชางหล่าวกายหุยหนานเยฺว่อะยีอักษรฟราเซอร์อักษรอี๋อักษรทิเบตอักษรไทลื้ออักษรไทใต้คงอาณาจักรล้านช้างอาณาจักรหอคำเชียงรุ่งอาณาจักรอยุธยาอาน เซือง เวืองอำเภอฝางอำเภอแม่สะเรียงอำเภอแม่แจ่มอุ้ยเสี่ยวป้อ จอมยุทธเย้ยยุทธจักร 2อูอองเมียะอู๋ ซานกุ้ยฮ่อผูเอ่อร์จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงจักรวรรดิมองโกลจักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)จังหวัดจังหวัดลำปางจังหวัดหล่าวกายจังหวัดห่าซางจังหวัดเดี่ยนเบียนจันทน์เทศหอมจางเยี่ยต้าหวางจิ้งจอกแร็กคูนจูเต๋อธงชาติสาธารณรัฐจีนถั่งเช่าถนนพม่าทะเลสาบเอ๋อร์ไห่ทะเลสาบเตียนฉือทางหลวงเอเชียสาย 14ที่มาของประชากรลาวท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงอูเจียป้าท่าอากาศยานนานาชาติคุนหมิงฉางสุ่ยท่าขี้เหล็กขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438ดิอะเมซิ่งเรซ 18คาสต์ในจีนตอนใต้คุนหมิงงูพิษเฟียตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยนตะพาบยักษ์แยงซีเกียงตะพาบหับพม่าตังกุยตังเกี๋ยตั้งอึ๊งตำบลคุนหยางต้าหลี่ฉวี่จิ้งซานชีประวัติศาสตร์มวยไทยประวัติศาสตร์ลาวประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทยประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์ทิเบตประวัติศาสตร์เชียงตุงประเทศพม่าประเทศจีนปรงเขาปลาหมูน่านปลาแค้ปางคำป่าเมฆนกกระทาดงแข้งเขียวนักฆ่าเทวดาแขนเดียวนากใหญ่ขนเรียบนางพญาเสือโคร่งน่าซีแชงกรี-ลา (แก้ความกำกวม)แชงกรี-ลา (เทศมณฑล)แพนด้ายักษ์ (สกุล)แมวดาวแม่น้ำสาละวินแม่น้ำแยงซีแม่น้ำแดงแม่น้ำโลแม่น้ำโขงแวนด้าแหล่งซากดึกดำบรรพ์เฉิงเจียงแผนพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันตกของจีนแผ่นดินไหวใน พ.ศ. 2560แผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวในมณฑลยูนนาน พ.ศ. 2555แขวงพงสาลีแนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไทโรงเรียนแม่ทาวิทยาคมโผน อินทรทัตโจฮวนโครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงไชนายูนนานแอร์ไลน์ไก่ป่าไก่เถื่อนไผ่รวกไผ่ตงไทยสยามไทยองไทยเชื้อสายจีนไทหย่าไทไขหัวไดโนเซฟาโลซอรัสเชลยศึก (ละครโทรทัศน์ไทย)เชียงรุ่งเชียงลาบเบ้งเฮ็กเกาลัดไทยเก้งจีนเมิ้งล่าเมิ้งฮายเมืองสิงห์ (ประเทศลาว)เวียงจันทน์เสือโคร่งอินโดจีนเส้นทางการค้าเส้นขนานที่ 25 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 102 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 103 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 104 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออกเส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออกเหยียน หย่งชุนเหตุการณ์โกก้างเอื้องสายมรกตเอื้องสีตาลเอ็กโซดัส (อัลบั้มเอ็กโซ)เจาทงเจิ้งเหอเจ้าฟ้า (เจ้าผู้ครอง)เจ้าเสือข่านฟ้าเถรวาทเทศบาลตำบลโพธิ์พระยาเขตการปกครองของประเทศจีนเขตปกครองตนเองชนชาติลีซอ นู่เจียงเขตปกครองตนเองชนชาติอาข่าและอี๋ หงเหอเขตปกครองตนเองชนชาติอี๋ ฉู่สยงเขตปกครองตนเองชนชาติจ้วงและม้ง เหวินซานเขตปกครองตนเองชนชาติทิเบต ตี๋ชิ่งเขตปกครองตนเองชนชาติไท สิบสองปันนาเขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิ่งพัว เต๋อหงเขตปกครองตนเองชนชาติไป๋ ต้าหลี่เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงเขตปกครองตนเองทิเบตเครือข่ายสถาบันการศึกษาและวิจัยในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงเต่าหับเอเชียเป่าซานEremochloaSiamogale melilutra8 เทพอสูรมังกรฟ้า (ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2546)