เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ภาษาโปรแกรม

ดัชนี ภาษาโปรแกรม

ษาโปรแกรม คือภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อสื่อสารชุดคำสั่งแก่เครื่องจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมสามารถใช้สร้างโปรแกรมที่ควบคุมพฤติกรรมของเครื่องจักร และ/หรือ แสดงออกด้วยขั้นตอนวิธี (algorithm) อย่างตรงไปตรงมา ผู้เขียนโปรแกรมซึ่งหมายถึงผู้ที่ใช้ภาษาโปรแกรมเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (programmer) ภาษาโปรแกรมในยุคแรกเริ่มนั้นเกิดขึ้นก่อนที่คอมพิวเตอร์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น โดยถูกใช้เพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องทอผ้าของแจ็กการ์ดและเครื่องเล่นเปียโน ภาษาโปรแกรมต่าง ๆ หลายพันภาษาถูกสร้างขึ้นมา ส่วนมากใช้ในวงการคอมพิวเตอร์ และสำหรับวงการอื่นภาษาโปรแกรมก็เกิดขึ้นใหม่ทุก ๆ ปี ภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่อธิบายการคิดคำนวณในรูปแบบเชิงคำสั่ง อาทิลำดับของคำสั่ง ถึงแม้ว่าบางภาษาจะใช้การอธิบายในรูปแบบอื่น ตัวอย่างเช่น ภาษาที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน หรือการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ การพรรณนาถึงภาษาโปรแกรมหนึ่ง ๆ มักจะแบ่งออกเป็นสองส่วนได้แก่ วากยสัมพันธ์ (รูปแบบ) และอรรถศาสตร์ (ความหมาย) บางภาษาถูกนิยามขึ้นด้วยเอกสารข้อกำหนด (ตัวอย่างเช่น ภาษาซีเป็นภาษาหนึ่งที่กำหนดโดยมาตรฐานไอโซ) ในขณะที่ภาษาอื่นอย่างภาษาเพิร์ลรุ่น 5 และก่อนหน้านั้น ใช้การทำให้เกิดผลแบบอ้างอิง (reference implementation) เป็นลักษณะเด่น.

สารบัญ

  1. 95 ความสัมพันธ์: ActiveX Data Objectsบล็อกเชนบอร์นเชลล์ฟังก์ชันพอยต์ฟังก์ชันพื้นและฟังก์ชันเพดานพ.ศ. 2530พอลิกล็อตพีแอล/เอสคิวแอลกระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมการกำหนดค่าการยกกำลังการหารการจัดการสิ่งผิดปรกติการดำเนินการพีชคณิตการดำเนินการไตรภาคการคูณการเรียกกลับ (การเขียนโปรแกรม)การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะการเขียนโปรแกรมเชิงแข่งขันกำหนดการพลวัตภาษาระดับต่ำภาษาออว์กภาษาอาบัปภาษาอาร์ภาษาอาร์พีจีภาษาธรรมชาติภาษาดอตเน็ตภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาซีภาษาซีพลัสพลัสภาษาปาสกาลภาษาโปรแกรมย่อยภาษาโปรแกรมระดับสูงภาษาโปรแกรมเชิงความลับภาษาเบรนฟักภาษาเบสิกภาษาเพิร์ลภาษาเออร์แลงมายเอสคิวเอลมูลนิธิซอฟต์แวร์ไพทอนรหัสต้นฉบับรหัสเครื่องระบบชนิดตัวแปรระบบพิกัดเชิงขั้วระบบจัดการเนื้อหาเว็บรายการสาขาวิชารางวัลทัวริงลอการิทึมวากยสัมพันธ์ (ภาษาโปรแกรม)... ขยายดัชนี (45 มากกว่า) »

ActiveX Data Objects

ADO (ActiveX Data Objects) คือชุดส่วนประกอบของ Component Object Model สำหรับการเชื่อมต่อแหล่งข้อมูลต่างๆ ซึ่งเป็นขั้นระหว่าง OLE DB และภาษาโปรแกรม โดยมีบทบาทเพื่อให้ผู้พัฒนาสามารถเขียนโปรแกรมเชื่อมต่อกับแหล่งข้อมูลต่างๆ โดยไม่จำเป็นที่จะต้องรู้ว่าฐานข้อมูลถูกจัดเก็บรูปแบบอย่างใด มีบทบาทใกล้เคียง RDO ในการทำงานกับ API ของ ODBC ในขณะที่ OLE DB คล้ายกับ API ของ ODBC ที่เป็นการติดต่อระดับล่างที่ไม่สามารถเข้าถึงได้ง่ายจากภาษาระดับสูง เช่น Visual Basic เป็นต้น ADO สร้างบน OLE DB เพื่อให้การทำงานที่ไม่ให้ติดต่อโดยตรง ODBC หรือทำให้ผู้ใช้เขียนคำสั่งที่มีความสามารถ ADO สามารถเปรียบเทียบความสามารถกับ ADO คือ ทั้งคู่สามารถสร้างคิวรี่แบบ asychronous และการติดต่อ ADO เพิ่มส่วนใหญ่จำนวนมาก ActiveX Data Objects (ADO) เป็นอินเตอร์เฟซโปรแกรมประยุกต์ (application program interface) จากไมโครซอฟท์ที่ให้ผู้พัฒนาโปรแกรมเขียนโปรแกรมประยุกต์ window เข้าถึงฐานข้อมูลแบบ relational และ non-relational จากทั้ง provider ของไมโครซอฟท์หรืออื่นๆ ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการเขียนโปรแกรมที่ให้ผู้ใช้ web site ด้วยข้อมูลจากฐานข้อมูล DB2 ของ IBM หรือฐานข้อมูล Oracle ซึ่งสามารถรวมคำสั่งโปรแกรม ADO ในไฟล์ HTML ที่ระบุในฐานะ ActiveX Server Page จากนั้น เมื่อผู้ใช้ขอเพจจาก web site เพจจะได้รับการส่งกลับด้วยข้อมูลตามต้องการจากฐานข้อมูล ที่ให้โดยคำสั่ง ADO เหมือนกับระบบอินเตอร์เฟซอื่นๆของไมโครซอฟท์ ADO เป็นอินเตอร์เฟซแบบ object-oriented programming ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การเข้าถึงข้อมูลของไมโครซอฟท์ที่เรียกว่า Universal Data Access ไมโครซอฟท์กล่าวว่านอกจากความพยายามสร้างฐานข้อมูลสากล (universal database) เหมือน IBM และ Oracle แล้วกำลังหาทางให้มีการเข้าถึงที่หลากหลาย สำหรับฐานข้อมูลที่มีอยู่และในอนาคตให้เป็นคำตอบที่มีผลในทางปฏิบัติ สำหรับงานนี้ ไมโครซอฟท์และบริษัทฐานข้อมูลอื่นๆ ให้โปรแกรม "bridge" (สะพาน) ระหว่างฐานข้อมูลกับ OLE DB ของไมโครซอฟท์ ที่เป็นการอินเตอร์เฟซระดับต่ำ OLE DB เป็นระบบการให้บริการที่ผู้พัฒนาโปรแกรมใช้ ADO โดยส่วนการทำงานของ ADO คือ Remote Data Services สนับสนุน ActiveX control แบบ "data-aware" ในเว็บเพจ และมีประสิทธิภาพกับ cache ด้านลูกข่าย ในฐานะส่วนหนึ่งของ ActiveX แล้ว ADO เป็นส่วนหนึ่งของ Component Object Model (COM) ซึ่งเป็นกรอบการทำงานแบบ component-oriented สำหรับการดึงโปรแกรมเข้าด้วยกัน ADO ปรับปรุงมาจากการอินเตอร์เฟซก่อนหน้านี้ของไมโครซอฟท์ คือ Remote Data Object (RDO) โดย RDO ทำงานกับ ODBC ในการเข้าถึงฐานข้อมูลแบบ relational แต่ไม่สามารถเข้าถึงฐานข้อมูลแบบ non-relational ได้เหมือนกับ ISAM หรือ VSAM ของ IBM ที่สามารถเข้าถึงได้.

ดู ภาษาโปรแกรมและActiveX Data Objects

บล็อกเชน

แผนภาพของบล็อกเชน (หรือโซ่บล็อก) สายโซ่หลักมีบล็อกต่อกันยาวสุดตั้งแต่บล็อกเริ่มต้น (สีเขียว) จนถึงบล็อกปัจจุบัน บล็อกกำพร้า (สีม่วง) จะอยู่นอกโซ่หลัก บล็อกเชน#timestamping block for bitcoin --> บล็อกเชน (blockchain) หรือว่า โซ่บล็อก ซึ่งคำอังกฤษดั้งเดิมเป็นคำสองคำคือ block chain เป็นรายการระเบียน/บันทึก (record) ที่เพิ่มขึ้น/ยาวขึ้นเรื่อย ๆ โดยแต่ละรายการเรียกว่า บล็อก ซึ่งนำมาเชื่อมต่อเป็นลูกโซ่ (เชน) โดยตรวจสอบความถูกต้องและรับประกันความปลอดภัยโดยวิทยาการเข้ารหัสลับ บล็อกแต่ละบล็อกปกติจะมีค่าแฮชของบล็อกก่อนหน้าซึ่งสามารถใช้ยืนยันความถูกต้องของบล็อกก่อนหน้า มีตราเวลาและข้อมูลธุรกรรม บล็อกเชนออกแบบให้ทนทานต่อการเปลี่ยนข้อมูลที่บันทึกแล้ว คือมันเป็น "บัญชีแยกประเภท (ledger) แบบกระจายและเปิด ที่สามารถบันทึกธุรกรรมระหว่างบุคคลสองพวกอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่ยืนยันได้และถาวร" เมื่อใช้เป็นบัญชีแยกประเภทแบบกระจาย บล็อกเชนปกติจะจัดการโดยเครือข่ายเพียร์ทูเพียร์ ซึ่งร่วมกันใช้โพรโทคอลเดียวกันเพื่อการสื่อสารระหว่างสถานี (node) และเพื่อยืนยันความถูกต้องของบล็อกใหม่ ๆ เมื่อบันทึกแล้ว ข้อมูลในบล็อกใดบล็อกหนึ่ง จะไม่สามารถเปลี่ยนย้อนหลังโดยไม่เปลี่ยนข้อมูลในบล็อกต่อ ๆ มาทั้งหมดด้วย ซึ่งจะทำได้ก็ต่อเมื่อได้การร่วมมือจากสถานีโดยมากในเครือข่าย บล็อกเชนออกแบบมาตั้งแต่ต้นเพื่อให้ปลอดภัย (secure by design) และเป็นตัวอย่างของระบบคอมพิวเตอร์แบบกระจายที่ทนต่อความผิดพร่องแบบไบแซนไทน์ได้สูง ดังนั้น ความเห็นพ้องแบบไม่รวมศูนย์ จึงเกิดได้โดยอาศัยบล็อกเชน ซึ่งอาจทำให้มันเหมาะเพื่อบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ, บันทึกระเบียนการแพทย์, ในการจัดการบริหารระเบียนแบบอื่น ๆ เช่น การจัดการผู้มีสิทธิเข้าถึงระบบ (identity management), การประมวลผลธุรกรรม, การสร้างเอกสารแสดงความเป็นเจ้าของ, การตามรอยการผลิตและขนส่งอาหาร, หรือการใช้สิทธิออกเสียง บุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้ใช้นามแฝง ซาโตชิ นากาโมโตะ ได้ประดิษฐ์บล็อกเชนขึ้นในปี 2008 (พ.ศ.

ดู ภาษาโปรแกรมและบล็อกเชน

บอร์นเชลล์

อร์นเชลล์ (Bourne shell; อักษรย่อ: sh) เป็นโปรแกรมเชลล์มาตรฐานการในการติดต่อกับผู้ใช้ผ่านทางบรรทัดคำสั่ง บนยูนิกซ์ เวอร์ชัน 7 โปรแกรมนี้แทนที่ Thomson shell ในยูนิกซ์รุ่นก่อนหน้านั้นซึ่งใช้ชื่อโปรแกรม sh เหมือนกัน ผู้ที่พัฒนาคือ สตีเฟน บอร์น (Stephen Bourne) ที่ AT&T Bell Laboratories และออกเผยแพร่เมื่อ..

ดู ภาษาโปรแกรมและบอร์นเชลล์

ฟังก์ชันพอยต์

ฟังก์ชันฟอยต์ เป็นหน่วยวัด (Measurement) เพื่อแสดงถึงจำนวนฟังก์ชันเชิง ธุรกิจที่ระบบสารสนเทศสามารถให้บริการแก่ผู้ใช้ได้ ฟังก์ชันฟอยต์ นั้นเป็นหน่วย ที่ใช้โดยวิธีการวัดขนาดฟังก์ชันของกลุ่มผู้ใช้ฟังก์ชันพอยต์สากล (International Function Point Users Group Functional Size Measurement: IFPUG FSM) วิธีการ IFPUG FSM นี้ได้รับการยอมรับจากISO ให้เป็นหนึ่งในตัววัดซอฟต์แวร์ (Software Metric) เพื่อระบุขนาดของระบบสารสนเทศโดยใช้ฟังก์ชันที่ผู้ใช้ได้รับเป็นพื้นฐาน และเป็นอิสระจากเทคโนโลยีที่สร้างผลลัพธ์ (implement) ของระบบสารสนเทศนั้น.

ดู ภาษาโปรแกรมและฟังก์ชันพอยต์

ฟังก์ชันพื้นและฟังก์ชันเพดาน

กราฟของฟังก์ชันพื้น กราฟของฟังก์ชันเพดาน ในทางคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ ฟังก์ชันพื้น (floor function) คือฟังก์ชันที่จับคู่จำนวนจริงไปยังจำนวนเต็มที่อยู่ก่อนหน้า นั่นคือ floor (x) เป็นจำนวนเต็มมากที่สุดที่ไม่มากกว่า x ส่วน ฟังก์ชันเพดาน (ceiling function) คือฟังก์ชันที่จับคู่จำนวนจริงไปยังจำนวนเต็มที่อยู่ถัดจากจำนวนนั้น นั่นคือ ceiling (x) คือจำนวนเต็มน้อยที่สุดที่ไม่น้อยกว่า x กราฟของฟังก์ชันพื้นและเพดานทั้งหมด มีลักษณะคล้ายฟังก์ชันขั้นบันได แต่ไม่ใช่ฟังก์ชันขั้นบันได เนื่องจากมีช่วงบนแกน x เป็นจำนวนอนันต.

ดู ภาษาโปรแกรมและฟังก์ชันพื้นและฟังก์ชันเพดาน

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ภาษาโปรแกรมและพ.ศ. 2530

พอลิกล็อต

อลิกล็อต (polyglot) ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือสคริปต์ที่เขียนขึ้นในรูปแบบที่ถูกต้องของภาษาโปรแกรมหลายภาษาด้วยรหัสต้นฉบับอันเดียวกัน ซึ่งโปรแกรมจะทำงานหรือให้ผลลัพธ์เหมือนกันจากการแปลด้วยคอมไพเลอร์หรืออินเทอร์พรีเตอร์ของภาษานั้นอย่างอิสระ โดยทั่วไปแล้วพอลิกล็อตเขียนขึ้นจากการผสานภาษาซี ซึ่งอนุญาตให้มีการจำกัดความ (define) วลีต่างๆ ได้ด้วยตัวประมวลผลก่อน (preprocessor) รวมกับภาษาสคริปต์อื่นๆ เช่น ภาษาลิสป์ ภาษาเพิร์ล หรือ sh เทคนิคที่ใช้เป็นปกติที่สุดสองอย่างสำหรับการสร้างโปรแกรมพอลิกล็อตคือ การใช้ประโยชน์จากอักขระแทนหมายเหตุ (comment) ที่แตกต่างกัน และการจำกัดความวลีด้วยการทำงานในภาษาอื่น และเทคนิคที่ใช้ได้ดีอีกอย่างหนึ่งคือ การพลิกแพลงไวยากรณ์ของภาษา จากตัวอย่างต่อไปนี้เป็นพอลิกล็อตที่เขียนขึ้นเพื่อทำงานบน ภาษาซีแบบแอนซี (ANSI C) ภาษาพีเอชพี และ bash.

ดู ภาษาโปรแกรมและพอลิกล็อต

พีแอล/เอสคิวแอล

ีแอล/เอสคิวแอล (PL/SQL) เป็นภาษาโปรแกรมสำหรับเครื่องมือพัฒนาซอฟต์แวร์หลายตัวของ Oracle เป็นภาษาที่ถูกออกแบบมาสำหรับใช้เพื่อเข้าถึงและจัดการข้อมูลในฐานข้อมูล RDBMS โดยเฉ.

ดู ภาษาโปรแกรมและพีแอล/เอสคิวแอล

กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรม

กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรม (Programming paradigm) เป็นวิธีการพื้นฐานของการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมมี 4 กระบวนทัศน์หลัก ได้แก่ การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ การเขียนโปรแกรมเชิงคำสั่ง (imperative programming) การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน (functional programming) และการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ (logic programming) นอกจากกระบวนทัศน์หลักทั้ง 4 แล้ว ยังมีอีกกระบวนทัศน์หนึ่งซึ่งขยายความสามารถของโมดูลโปรแกรม โดยใช้วิธีการตัดแทรกโค้ด กระบวนทัศน์นี้คือ การโปรแกรมเชิงหน่วยย่อย (aspect-oriented programming).

ดู ภาษาโปรแกรมและกระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรม

การกำหนดค่า

การกำหนดค่า การกำหนดค่า ในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ คือการระบุค่าหรือการตั้งค่าใหม่ให้กับตำแหน่งเก็บข้อมูลที่แสดงไว้โดยชื่อตัวแปร ในภาษาโปรแกรมเชิงคำสั่ง ข้อความสั่งกำหนดค่า เป็นข้อความสั่งพื้นฐานอย่างหนึ่ง ข้อความสั่งกำหนดค่ามักอนุญาตให้ชื่อตัวแปรเดิมสามารถมีได้หลายค่าในเวลาต่าง ๆ ในระหว่างที่โปรแกรมทำงาน.

ดู ภาษาโปรแกรมและการกำหนดค่า

การยกกำลัง

้าx+1ส่วนx.

ดู ภาษาโปรแกรมและการยกกำลัง

การหาร

การหาร (division) ในทางคณิตศาสตร์ คือ การดำเนินการเลขคณิตที่เป็นการดำเนินการผันกลับของการคูณ และบางครั้งอาจมองได้ว่าเป็นการทำซ้ำการลบ พูดง่าย ๆ คือการแบ่งออกหรือเอาเอาออกเท่า ๆ กัน จนกระทั่งตัวหารเหลือศูนย์ (หารลงตัว) ถ้า เมื่อ b ไม่เท่ากับ 0 แล้ว (อ่านว่า "c หารด้วย b") ตัวอย่างเช่น 6 ÷ 3.

ดู ภาษาโปรแกรมและการหาร

การจัดการสิ่งผิดปรกติ

การจัดการสิ่งผิดปรกติ (Exception handling) เป็นกระบวนการรับมือกับการเกิดสิ่งผิดปรกติ (exception) หรือสภาวะผิดธรรมดาหรือพิเศษระหว่างการคำนวณ สิ่งผิดปรกตินี้มักเปลี่ยนแปลงขั้นตอนปกติของการกระทำการ (execution) ของโปรแกรม การจัดการสิ่งผิดปรกติมีในภาษาโปรแกรมเฉพาะทางหรือกลไกฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไป สิ่งผิดปรกติจะจัดการโดยการบันทึกสถานะปัจจุบันของการกระทำการในพื้นที่ที่กำหนด และสับเปลี่ยนการกระทำการไปยังซับรูทีนที่เรียกว่า ชุดคำสั่งจัดการสิ่งผิดปรกติ (exception handler) ถ้าสิ่งผิดปรกติเกิดต่อเนื่องได้ (continuable) ชุดคำสั่งดังกล่าวอาจดำเนินการกระทำการต่อไปที่ตำแหน่งเดิมโดยใช้สารสนเทศที่บันทึกไว้ ตัวอย่างเช่น สิ่งผิดปรกที่เป็นการหารจำนวนจุดลอยตัวด้วยศูนย์ โดยปริยายแล้ว จะอนุญาตให้โปรแกรมทำงานต่อได้ ขณะที่สภาวะหน่วยความจำหมด (out of memory) อาจไม่สามารถแก้ไขได้อย่างโปร่งใส หมวดหมู่:การควบคุมสายงาน หมวดหมู่:ความผิดปรกติของซอฟต์แวร์.

ดู ภาษาโปรแกรมและการจัดการสิ่งผิดปรกติ

การดำเนินการพีชคณิต

ูตรกำลังสองสำหรับการแก้สมการกำลังสอง มีการดำเนินการพีชคณิตครบทุกอย่าง การดำเนินการพีชคณิต หมายถึงการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดของการบวก การลบ การคูณ การหาร การยกกำลังด้วยจำนวนเต็ม และการถอดราก (การยกกำลังด้วยเศษส่วน) การดำเนินการพีชคณิตกระทำบนตัวแปรเชิงพีชคณิต พจน์เชิงพีชคณิต หรือนิพจน์เชิงพีชคณิต และทำงานได้เหมือนกับการดำเนินการเลขคณิต.

ดู ภาษาโปรแกรมและการดำเนินการพีชคณิต

การดำเนินการไตรภาค

ในคณิตศาสตร์ การดำเนินการไตรภาค เป็นการดำเนินการ n-อาริตี โดยที่ n.

ดู ภาษาโปรแกรมและการดำเนินการไตรภาค

การคูณ

3 × 4.

ดู ภาษาโปรแกรมและการคูณ

การเรียกกลับ (การเขียนโปรแกรม)

ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเรียกกลับ (callback) คือโค้ดปฏิบัติการที่ส่งผ่านไปยังโค้ดอื่น ๆ ในรูปของอาร์กิวเมนต์ ซึ่งจะถูกกำหนดว่าจะต้องเรียกกลับ (ปฏิบัติการ) อาร์กิวเมนต์ดังกล่าวในเวลาที่กำหนด โดยอาจเกิดขึ้นทันที (แบบซิงโครนัส) หรือในภายหลัง (แบบอะซิงโครนัส) โดยมีจุดประสงค์เพื่อระบุฟังก์ชันหรือซับรูทีนเป็นเอนทิตีโดยขึ้นอยู่กับภาษาเขียนโปรแกรมที่ใช้ โดยอาจคล้ายกับตัวแปรมากหรือน้อยก็ได้ ภาษาโปรแกรมแต่ละภาษาจะรองรับการเรียกกลับในหลายวิธี โดยมักใช้ร่วมกับซับรูทีน นิพจน์แลมบ์ดา บล็อก หรือตัวชี้ฟังก์ชัน.

ดู ภาษาโปรแกรมและการเรียกกลับ (การเขียนโปรแกรม)

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer programming) หรือเรียกให้สั้นลงว่า การเขียนโปรแกรม (Programming) หรือ การเขียนโค้ด (Coding) เป็นขั้นตอนการเขียน ทดสอบ และดูแลซอร์สโค้ดของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งซอร์สโค้ดนั้นจะเขียนด้วยภาษาโปรแกรม ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมต้องการความรู้ในหลายด้านด้วยกัน เกี่ยวกับโปรแกรมที่ต้องการจะเขียน และขั้นตอนวิธีที่จะใช้ ซึ่งในวิศวกรรมซอฟต์แวร์นั้น การเขียนโปรแกรมถือเป็นเพียงขั้นหนึ่งในวงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟต์แวร์ การเขียนโปรแกรมจะได้มาซึ่งซวอร์สโค้ดของโปรแกรมนั้นๆ โดยปกติแล้วจะอยู่ในรูปแบบของ ข้อความธรรมดา ซึ่งไม่สามารถนำไปใช้งานได้ จะต้องผ่านการคอมไพล์ตัวซอร์สโค้ดนั้นให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine Language) เสียก่อนจึงจะได้เป็นโปรแกรมที่พร้อมใช้งาน การเขียนโปรแกรมถือว่าเป็นการผสมผสานกันระหว่างศาสตร์ของ ศิลปะ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ วิศวกรรม เข้าด้วยกัน.

ดู ภาษาโปรแกรมและการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ

การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ (Logic programming) เป็นแนวทางการเขียนโปรแกรม (programming paradigm) แบบหนึ่ง โดยกำหนดเซตคุณลักษณะ (attribute) ของคำตอบ แทนที่จะกำหนดขั้นตอนที่ทำให้ได้คำตอบ ภาษาโปรแกรมสำหรับการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะที่ใช้อย่างกว้างขวาง คือ ภาษาโปรล็อก (Prolog) อีกภาษาหนึ่งที่ใช้ในเชิงการค้า คือ ภาษาเมอร์คิวรี (Mercury) การเขียนโปรแกรมแบบนี้มีหลักการคือ ความจริง + ก.

ดู ภาษาโปรแกรมและการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ

การเขียนโปรแกรมเชิงแข่งขัน

การเขียนโปรแกรมเชิงแข่งขัน เป็นการเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ไขโจทย์ปัญหาทางตรรกะหรือคณิตศาสตร์ภายใต้ข้อจำกัดบางอย่างเพื่อให้ได้คำตอบออกมา โจทย์ปัญหาส่วนใหญ่จะมีคำตอบที่แน่นอนอยู่แล้ว การเขียนโปรแกรมนี้ไม่ได้มีจุดประสงค์ในการนำโปรแกรมมาใช้งานจริง แต่เป็นการเขียนเพื่อความสนุกและวัดทักษะในการแก้ไขปัญหา อาจถือได้ว่าเป็นกีฬาความคิดรูปแบบหนึ่ง โดยมากแล้วการเขียนโปรแกรมเชิงแข่งขันจะมีขึ้นในการแข่งขันเขียนโปรแกรมซึ่งส่วนใหญ่จะจัดขึ้นผ่านทางอินเทอร์เน็ตหรือไม่ก็เครือข่ายท้องถิ่น และมักจะมีบริษัทซอฟต์แวร์และอินเทอร์เน็ตเป็นผู้สนับสนุน เช่น กูเกิล เฟซบุ๊ก และไอบีเอ็ม การตัดสินผลโดยทั่วไปจะดูที่จำนวนโจทย์ที่ทำได้กับเวลาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมรวมทั้งหมด และอาจจะมีปัจจัยอื่น ๆ ที่นำมาพิจารณาด้วย เช่น ขนาดของโปรแกรม เวลาในการทำงานของโปรแกรม หรือการเทียบคำตอบกันระหว่างผู้เข้าแข่งขันด้วยกันเอง.

ดู ภาษาโปรแกรมและการเขียนโปรแกรมเชิงแข่งขัน

กำหนดการพลวัต

ในคณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และเศรษฐศาสตร์ กำหนดการพลวัต (dynamic programming) คือกระบวนการในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนโดยการแบ่งปัญหาให้เป็นปัญหาย่อยที่สามารถแก้ได้ง่ายกว่า คุณสมบัติพื้นฐานของปัญหาที่จะใช้กำหนดการพลวัตได้คือจะต้องมีปัญหาย่อยที่ทับซ้อนกัน (overlapping subproblem) และโครงสร้างย่อยที่เหมาะสมที่สุด (optimal substructure) ปัญหาที่ใช้กำหนดการพลวัตในการแก้ปัญหาจะใช้เวลาแก้รวดเร็วกว่าการแก้ปัญหาโดยตรงเป็นอย่างมาก หลักสำคัญของกำหนดการพลวัตมาจากการสังเกตว่าในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อนนั้น จำเป็นที่จะต้องแก้ปัญหาที่เล็กกว่า (ปัญหาย่อย) และนำคำตอบของปัญหาย่อยเหล่านั้นมารวมกันเป็นคำตอบของปัญหาใหญ่ และในการดำเนินการแก้ปัญหาย่อยนี้ มีหลายปัญหาที่ปัญหาย่อยบางส่วนเหมือนกันทุกประการ ดังนั้นแทนที่จะแก้ไขปัญหาย่อยเหล่านี้ซ้ำอีกรอบ กระบวนการกำหนดการพลวัตจะใช้วิธีแก้ไขปัญหาย่อยเหล่านี้เพียงแค่ครั้งเดียว และเก็บคำตอบไว้ หรือที่เรียกว่าการจำ (memoization; ระวังสะกดเป็น memorization) เมื่อพบปัญหาย่อยดังกล่าวอีกครั้งก็ไม่จำเป็นต้องคำนวณซ้ำใหม่ แต่สามารถเรียกคำตอบที่เก็บไว้มาใช้ได้เลย กระบวนการนี้จะมีประสิทธิภาพดีเป็นอย่างยิ่งเมื่อปัญหาที่จะแก้มีจำนวนปัญหาย่อยที่ทับซ้อนกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งหากไม่ได้ใช้กำหนดการพลวัตจะทำให้จำนวนครั้งในการแก้ปัญหาย่อยเติบโตแบบฟังก์ชันเลขชี้กำลัง ส่งผลให้เวลาในการแก้ไขปัญหาเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก.

ดู ภาษาโปรแกรมและกำหนดการพลวัต

ภาษาระดับต่ำ

ษาระดับต่ำ (low-level programming language) ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาที่อิงกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ใดสถาปัตยกรรมหนึ่ง ซึ่งไมโครโพรเซสเซอร์แต่ละรุ่น หรือ แต่ละตระกูล ก็มักมีภาษาระดับต่ำที่แตกต่างกัน และโดยปกติแล้ว หนึ่งคำสั่งในภาษาระดับต่ำ จะหมายถึงการสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้ทำงานหนึ่งอย่าง (1 instruction.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาระดับต่ำ

ภาษาออว์ก

ษาออว์ก (AWK) เป็นภาษาโปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อประมวลผลข้อความในไฟล์หรือสตรีม ชื่อ "AWK" นั้นเป็นตัวย่อของชื่อผู้สร้างทั้งสามคน ซึ่งได้แก่ Alfred '''A'''ho, Peter '''W'''einberger และ Brian '''K'''ernighan ในกรณีที่เขียน awk ด้วยตัวพิมพ์เล็ก จะหมายถึงโปรแกรมในระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ หรือ Plan 9 ที่ใช้ประมวลผลโปรแกรมอื่นๆ ซึ่งเขียนด้วยภาษา AWK นี้ AWK เป็นตัวอย่างที่ดีของการสร้างภาษาโปรแกรมที่เน้นการใช้ชนิดข้อมูลแบบสตริง, associative arrays และ นิพจน์ปรกติ ด้วยความสามารถของ AWK และโปรแกรม sed จึงเป็นแรงบันดาลใจให้ Larry Wall สร้างภาษาเพิร์ลขึ้นมาในภายหลัง.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาออว์ก

ภาษาอาบัป

ษาอาบัป (ABAP: Advanced Business Application Programming) เป็นภาษาโปรแกรมระดับสูงที่พัฒนาโดยบริษัท SAP จากประเทศเยอรมนี โดยเป็นภาษาที่ใช้ในซอฟต์แวร์ประเภทเว็บแอปพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์ของบริษัท SAP เอง รูปแบบของภาษา ABAP ใกล้เคียงกับภาษาโคบอล.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาอาบัป

ภาษาอาร์

ัญลักษณ์ภาษาอาร์ อาร์ (R) หรือ ภาษาอาร์ เป็นภาษาโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์สำหรับวิเคราะห์ทางด้านสถิติ ภาษาอาร์เป็นที่นิยมใช้ในหมู่นักสถิติในด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์สถิติเอง และการวิเคราะห์ข้อมูล ภาษาอาร์ได้ถูกนำมาเปรียบเทียบกับซอฟต์แวร์สถิติตัวอื่น อาทิ SAS, SPSS และ Stata โดยในปี 2552 ทางนิวยอร์กไทมส์ได้มีบทความเกี่ยวกับภาษาอาร์กล่าวถึงการยอมรับซอฟต์แวร์ตัวนี้ในหมู่นักสถิติ และการนำมาประยุกต์ในงานสถิติ ซึ่งมีผลต่อยอดขายกับซอฟต์แวร์ตัวอื่น อาทิ SAS ภาษาอาร์เป็นซอฟต์แวร์ฟรีในรูปแบบของโอเพนซอร์ซซึ่งสามารถนำไปใช้งานได้ฟรี และแจกจ่ายได้ฟรี.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาอาร์

ภาษาอาร์พีจี

ษาอาร์พีจี (IBM RPG) ซึ่ง RPG ย่อมาจากคำว่า Report Program Generator เป็นภาษาโปรแกรมเพื่อใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชันทางธุรกิจ โดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเป็นโปรแกรมเพื่อรายงาน โดยภาษาอาร์พีจี ถูกใช้กับระบบคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ของไอบีเอ็ม ยาวนานพอสมควร ซึ่งมีรุ่นล่าสุดคือ อาร์พีจี รุ่น 4 อาร์พีจี เป็นภาษาโปรแกรมที่ ได้รับการถ่ายทอดคุณสมบัติต่าง ๆ มาจาก ซิสเต็มวัน (System I) ซึ่งรวมเอาคุณสมบัติและสภาพแวดล้อมทางภาษาลักษณะต่าง ๆ แบบการโปรแกรมเชิงวัตถุ เข้าไว้ อาทิเช่น โปรโตไทป์ฟังก์ชัน และ โพรซีเยอร์, การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ทั้งแบบคงที่ หรือสเตติกส์ และแบบไดนามิก รวมถึงความสามารถในการเข้าถึงไลบรารี่ที่ถูกใช้งานประจำของภาษาซี หรือ ไดนามิกลิงก์ไลบรารี่ อีกทั้งยังสามารถทำงานกับโค้ดแบบรีเคอร์ซีฟหรือเรียกตัวเองและรีเอ็นทรานท์ ได้อย่างเต็มรูปแบบ อาร์พีจี เป็นภาษาโปรแกรมหลักของแพลทฟอร์ม ไอบีเอ็ม ซิสเต็ม วัน (IBM System I platform) โดยได้รับการออกแบบมาให้เป็นเครื่องมือในการคิวรี่ข้อมูล โดย ไอบีเอ็มได้ทำการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง ให้ภาษาอาร์พีจี เป็นภาษาที่มีประสิทธิภาพสูงมากขึ้นเรื่อย ๆ จนเป็นที่นิยมในการใช้งาน โปรแกรมภาษาอาร์พีจี ประเภทต่าง ๆ จะเริ่มจากการกำหนดคุณลักษณะของไฟล์ โดยการแสดงลิสต์ของไฟล์ที่ถูกเขียนขึ้น ถูกอ่าน หรือถูกปก้ไข ปรับปรุง โดยการกำหนดคุณลักษณะขอบเขตของรูปแบบข้อมูล ที่ใช้ในการจัดเก็บหรือรองรับ องค์ประกอบส่วนต่าง ๆ ของโปรแกรม อาทิเช่น ดครงสร้างข้อมูล และ อะเรย์เชิงมิติ (คล้ายคลึงกับ "ส่วนจัดเก็บข้อมูลในการทำงาน" ของโปรแกรมภาษาโคบอล หรือ คำสั่ง var ในโปรแกรมภาษาปาสคาล) โดยการกำหนดที่ต่อเนื่องด้วย ข้อกำหนดที่ใช้ในการคำนวณ ที่ระบุถึงส่วนโค้ดโปรแกรมพื้นฐาน ส่วนข้อกำหนดในการเอ้าพุทหรือการแสดงผลลัพธ์ จะตามด้วยการใช้ข้อกำหนดขอบเขตของรายงาน หรือรายงานที่สามารถถูกกำหนดจากภายนอก ส่วนภาษาอาร์พีจีในปัจจุบัน นั้นมีจุดแข็งที่ รอบการจัดการโปรแกรม (program cycle) โดย โปรแกรมภาษาอาร์พีจีจะเอกซ์ซีคิวท์ ด้วยการวนลูปที่มีนัย ซึ่งสามารถประยุกต์โปรแกรม ให้สามารถเข้าถึงทุก ๆ เรคคอร์ดในไฟล์ นอกจากนี้วงรอบยังสามารถสร้างโปรแกรมที่สามารถตอบโต้ได้โดยต่อเนื่อง ในระหว่างการทำงาน จนกว่าจะเสร็จสิ้นโปรแกรมหรือเสร็จสิ้นการทำงาน ปัจจุบันโปรแกรมเมอร์ภาษาอาร์พีจีส่วนใหญ่ มักหลีกเลี่ยง ในการใช้วงรอบเพื่อเข้าควบคุม การไหลเลื่อนของโปรแกรม ด้วยโครงสร้างการวนลูปแบบมาตรฐาน.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาอาร์พีจี

ภาษาธรรมชาติ

คำว่า ภาษาธรรมชาติ (natural language) นั้น ใช้เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างภาษาทั่ว ๆ ไปที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเพื่อการสื่อสาร เช่น ภาษามนุษย์ ออกจากภาษาที่ถูกสร้างขึ้นอย่าง เช่น ภาษาโปรแกรมสำหรับสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือภาษาที่ใช้ในการศึกษาตรรกะ หมวดหมู่:ปรัชญาตรรกศาสตร์ หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาธรรมชาติ

ภาษาดอตเน็ต

ษาดอตเน็ต เป็นประเภทภาษาโปรแกรม โดยโปรแกรมที่พัฒนาจะทำงานบนดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก ซึ่งไม่ว่าภาษาดอตเน็ตไหนที่ใช้ ตัวแปลโปรแกรมจะทำการแปลมาเป็นภาษากลาง (MSIL) และเมื่อโปรแกรมถูกเรียกใช้ CLR ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของดอตเน็ตเฟรมเวิร์กจะทำการแปลเป็นโค้ดที่เหมาะสมสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ ขั้นตอนนี้สามารถทำได้ในการแปลครั้งแรกเช่นกันหากต้องการ ปัจจุบันนี้มีภาษาดอตเน็ตมีมากกว่า 40 ภาษา โดยไมโครซอฟท์ได้พัฒนาและรองรับภาษาดอตเน็ตหลักๆคือ C# VB.NET และ C++/CLI ซึ่งที่เหลือนั้นพัฒนาโดยผู้อื่น.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาดอตเน็ต

ภาษาคอมพิวเตอร์

ษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใด ๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทำงานตามคำสั่งนั้นได้ คำนี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่น ๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น เอชทีเอ็มแอล เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และภาษาระดับต่ำ (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับต่ำ โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่ำเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนำไปใช้งานหรือปฏิบัติตามคำสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคำสั่งในภาษาเครื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human-readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาซี

ษาซี (C) เป็นภาษาโปรแกรมสำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไป เริ่มพัฒนาขึ้นระหว่าง พ.ศ. 2512-2516 (ค.ศ. 1969-1973) โดยเดนนิส ริชชี่ (Denis Retchie) ที่เอทีแอนด์ทีเบลล์แล็บส์ (AT&T Bell Labs) ภาษาซีเป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นในการเขียนโปรแกรมและมีเครื่องมืออำนวยความสะดวกสำหรับการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างและอนุญาตให้มีขอบข่ายตัวแปร (scope) และการเรียกซ้ำ (recursion) ในขณะที่ระบบชนิดตัวแปรอพลวัตก็ช่วยป้องกันการดำเนินการที่ไม่ตั้งใจหลายอย่าง เหมือนกับภาษาโปรแกรมเชิงคำสั่งส่วนใหญ่ในแบบแผนของภาษาอัลกอล การออกแบบของภาษาซีมีคอนสตรักต์ (construct) ที่โยงกับชุดคำสั่งเครื่องทั่วไปได้อย่างพอเพียง จึงทำให้ยังมีการใช้ในโปรแกรมประยุกต์ซึ่งแต่ก่อนลงรหัสเป็นภาษาแอสเซมบลี คือซอฟต์แวร์ระบบอันโดดเด่นอย่างระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ยูนิกซ์ ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดตลอดกาล และตัวแปลโปรแกรมของภาษาซีมีให้ใช้งานได้สำหรับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการต่าง ๆ เป็นส่วนมาก ภาษาหลายภาษาในยุคหลังได้หยิบยืมภาษาซีไปใช้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ตัวอย่างเช่น ภาษาดี ภาษาโก ภาษารัสต์ ภาษาจาวา จาวาสคริปต์ ภาษาลิมโบ ภาษาแอลพีซี ภาษาซีชาร์ป ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี ภาษาเพิร์ล ภาษาพีเอชพี ภาษาไพทอน ภาษาเวอริล็อก (ภาษาพรรณนาฮาร์ดแวร์) และซีเชลล์ของยูนิกซ์ ภาษาเหล่านี้ได้ดึงโครงสร้างการควบคุมและคุณลักษณะพื้นฐานอื่น ๆ มาจากภาษาซี ส่วนใหญ่มีวากยสัมพันธ์คล้ายคลึงกับภาษาซีเป็นอย่างมากโดยรวม (ยกเว้นภาษาไพทอนที่ต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง) และตั้งใจที่จะผสานนิพจน์และข้อความสั่งที่จำแนกได้ของวากยสัมพันธ์ของภาษาซี ด้วยระบบชนิดตัวแปร ตัวแบบข้อมูล และอรรถศาสตร์ที่อาจแตกต่างกันโดยมูลฐาน ภาษาซีพลัสพลัสและภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีเดิมเกิดขึ้นในฐานะตัวแปลโปรแกรมที่สร้างรหัสภาษาซี ปัจจุบันภาษาซีพลัสพลัสแทบจะเป็นเซตใหญ่ของภาษาซี ในขณะที่ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีก็เป็นเซตใหญ่อันเคร่งครัดของภาษาซี ก่อนที่จะมีมาตรฐานภาษาซีอย่างเป็นทางการ ผู้ใช้และผู้พัฒนาต่างก็เชื่อถือในข้อกำหนดอย่างไม่เป็นทางการในหนังสือที่เขียนโดยเดนนิส ริตชี และไบรอัน เคอร์นิกัน (Brian Kernighan) ภาษาซีรุ่นนั้นจึงเรียกกันโดยทั่วไปว่า ภาษาเคแอนด์อาร์ซี (K&R C) ต่อม..

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาซี

ภาษาซีพลัสพลัส

ษาซีพลัสพลัส (C++) เป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ มีโครงสร้างภาษาที่มีการจัดชนิดข้อมูลแบบสแตติก (statically typed) และสนับสนุนรูปแบบการเขียนโปรแกรมที่หลากหลาย (multi-paradigm language) ได้แก่ การโปรแกรมเชิงกระบวนคำสั่ง, การนิยามข้อมูล, การโปรแกรมเชิงวัตถุ, และการโปรแกรมแบบเจเนริก (generic programming) ภาษาซีพลัสพลัสเป็นภาษาโปรแกรมเชิงพาณิชย์ที่นิยมมากภาษาหนึ่งนับตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1990 เบียเนอ สเดราสดร็อบ (Bjarne Stroustrup) จากเบลล์แล็บส์ (Bell Labs) เป็นผู้พัฒนาภาษาซีพลัสพลัส (เดิมใช้ชื่อ "C with classes") ในปี ค.ศ.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาซีพลัสพลัส

ภาษาปาสกาล

ษาปาสกาล เป็นภาษาโปรแกรมที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในวงการศึกษา คิดค้นขึ้นโดย นิเคลาส์ แวร์ท (Niklaus Wirth) นักวิทยาการคอมพิวเตอร์ชาวสวิตเซอร์แลนด์ ในปี ค.ศ.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาปาสกาล

ภาษาโปรแกรมย่อย

ภาษาโปรแกรมย่อย (dialect) คือข้อแตกต่างหรือส่วนขยายเล็กน้อยระหว่างภาษาโปรแกรมที่ไม่ทำให้ลักษณะของภาษานั้นๆเปลี่ยนไป เช่นในกรณีของภาษาสกีมและภาษาฟอร์ท ที่มาตรฐานเดิมอาจไม่ตรงกับความต้องการของผู้พัฒนา จึงได้สร้างสำเนียงใหม่ขึ้น ตัวอย่างเช่นในภาษาลิสป์ที่มีหลายสำเนียง อาทิ ภาษาสกีม ภาษาโลโก ภาษาลิสป์ใน Emacs ภาษาคอมมอนลิสป์ หมวดหมู่:ภาษาโปรแกรม.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาโปรแกรมย่อย

ภาษาโปรแกรมระดับสูง

ทุกสัปสิ่ง ที่ส่งเสียง และรับรู้._.*-* ํ"'.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาโปรแกรมระดับสูง

ภาษาโปรแกรมเชิงความลับ

ษาโปรแกรมเชิงความลับ (esoteric programming language; esolang) เป็นภาษาโปรแกรมที่สร้างขึ้นมาโดยไม่ได้มีวัตถุประสงค์ใช้งานจริง แต่เป็นการสร้างเพื่อความขำขัน เพื่อพิสูจน์แนวคิด หรือไม่ก็เพื่อทดสอบขีดจำกัดของการออกแบบภาษาคอมพิวเตอร์ คำว่าเชิงความลับ (esoteric) เป็นการระบุเพื่อแยกแยะกลุ่มภาษานี้กับภาษาโปรแกรมทั่วไปที่มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานจริง.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาโปรแกรมเชิงความลับ

ภาษาเบรนฟัก

ษาเบรนฟัก คือภาษาโปรแกรมเชิงความลับที่มีจุดเด่นในเรื่องการทำซอร์สโค้ดและคอมไพเลอร์ให้เล็กที่สุด ออกแบบขึ้นเพื่อท้าทายและสร้างความสับสนให้โปรแกรมเมอร์ แต่ไม่เหมาะสำหรับใช้งานในทางปฏิบัติ ชื่อของภาษาเบรนฟักในภาษาอังกฤษมักจะถูกปิดบังให้เป็น brainf*ck หรือ brainfsck เพื่อหลีกเลี่ยงคำว่า fuck ที่มักถือกันว่าเป็นคำหยาบ และจะไม่มีการเน้นอักษรตัวใหญ่ที่ตัว b เมื่อไม่ใช่ต้นประโยค ถึงแม้จะเป็นชื่อเฉพาะก็ตาม.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาเบรนฟัก

ภาษาเบสิก

ษาเบสิก (BASIC programming language) เป็นภาษาโปรแกรมที่ออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย และยังได้รับความนิยมมาจนถึงทุกวันนี้ เบสิกออกแบบมาให้ใช้กับคอมพิวเตอร์ตามบ้าน ชื่อภาษาเบสิก หรือ BASIC ย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code ต้องเขียนด้วยตัวพิมพ์ใหญ่เสมอ บริษัทไมโครซอฟท์ได้นำภาษาเบสิกมาปรับปรุงให้ทันสมัย และพัฒนาเครื่องมือพัฒนาโปรแกรม Visual Basic ทำให้เบสิกได้รับความนิยมในการพัฒนาโปรแกรมยุคใหม่ รุ่นล่าสุดของวิชวลเบสิกเรียกว่า VB.NET.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาเบสิก

ภาษาเพิร์ล

right ภาษาเพิร์ล (Perl) (ย่อมาจาก Practical Extraction and Report Language) เป็นภาษาโปรแกรมแบบไดนามิก พัฒนาโดยนายแลร์รี วอลล์ (Larry Wall) ในปี ค.ศ. 1987 เพื่อใช้งานกับระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ภาษาเพิร์ล นั้นถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย โครงสร้างของภาษาจึงไม่ซับซ้อน มีลักษณะคล้ายกับภาษาซี นอกจากนี้เพิร์ลยังได้แนวคิดบางอย่างมาจากเชลล์สคริปต์, ภาษา AWK, sed และ Lisp ปัจจุบันเวอร์ชันล่าสุดคือ 5.18.0.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาเพิร์ล

ภาษาเออร์แลง

ษาเออร์แลง (Erlang Programming Language) เป็นภาษาโปรแกรมที่ออกแบบมาให้มีลักษณะพร้อมทำงานหลายอย่างพร้อมกัน (concurrent) ภาษาเออร์แลงออกแบบโดยบริษัทอีริคสัน ใน ค.ศ.

ดู ภาษาโปรแกรมและภาษาเออร์แลง

มายเอสคิวเอล

MySQL (มายเอสคิวแอล) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management System) โดยใช้ภาษา SQL แม้ว่า MySQL เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส แต่แตกต่างจากซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สทั่วไป โดยมีการพัฒนาภายใต้บริษัท MySQL AB ในประเทศสวีเดน โดยจัดการ MySQL ทั้งในแบบที่ให้ใช้ฟรี และแบบที่ใช้ในเชิงธุรกิจ เมื่อปี..

ดู ภาษาโปรแกรมและมายเอสคิวเอล

มูลนิธิซอฟต์แวร์ไพทอน

มูลนิธิซอฟต์แวร์ไพทอน (Python Software Foundation, PSF) เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร ตั้งขึ้นเพื่อพัฒนาภาษาไพทอน (เป็นภาษาโปรแกรม) โดยตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 มีนาคม..

ดู ภาษาโปรแกรมและมูลนิธิซอฟต์แวร์ไพทอน

รหัสต้นฉบับ

ตัวอย่างรหัสต้นฉบับของ HTML ผสมกับ จาวาสคริปต์ รหัสต้นฉบับ หรือ รหัสต้นทาง หรือ ซอร์ซโค้ด (source code) หรืออาจจะเรียกว่า ซอร์ซ หรือ โค้ด คือข้อความที่เป็นชุดที่ถูกเขียนขึ้น และสามารถอ่านและเข้าใจได้ ใช้สำหรับภาษาโปรแกรม ในการเขียนโปรแกรมแบบใหม่ รหัสต้นฉบับนิยมเก็บไว้ในไฟล์หลายไฟล์แยกจากกัน เพื่อให้ง่ายในการเรียกใช้ส่วนย่อยของคำสั่งนั้น ถึงแม้ว่ารหัสต้นฉบับถูกเขียนขึ้นในลักษณะที่ให้อ่านและแก้ไขได้ง่าย รหัสต้นฉบับจะถูกเปลี่ยนเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการประมวลผลสำหรับคอมพิวเตอร์โดยคอมไพเลอร์สำหรับโปรแกรมนั้น หรือ คำนวณในทันทีโดยใช้อินเตอร์พรีเตอร์เข้ามาช่ว.

ดู ภาษาโปรแกรมและรหัสต้นฉบับ

รหัสเครื่อง

อภาพแสดงรหัสเครื่องในคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยว W65C816S แสดงการทำย้อนกลับเป็นรหัสแอสเซมบลี พร้อมด้วยเรจิสเตอร์ของหน่วยประมวลผล และข้อมูลเทออกจากหน่วยความจำ รหัสเครื่อง หรือ ภาษาเครื่อง คือกลุ่มของคำสั่งเครื่องที่กระทำการโดยตรงโดยหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเครื่องแต่ละคำสั่งจะปฏิบัติงานเฉพาะกิจงานเดียวเท่านั้น เช่นการบรรจุ (load) การกระโดด (jump) หรือการดำเนินการผ่านหน่วยคำนวณและตรรกะ (ALU) บนหน่วยของข้อมูลในหน่วยความจำหรือเรจิสเตอร์ ทุก ๆ โปรแกรมที่กระทำการโดยหน่วยประมวลผลกลางสร้างขึ้นจากอนุกรมของคำสั่งเครื่องเช่นว่านั้น รหัสเครื่องเชิงตัวเลข (ซึ่งไม่ใช่รหัสแอสเซมบลี) อาจพิจารณาได้ว่าเป็นตัวแทนระดับต่ำสุดของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้คอมไพล์และ/หรือเขียนด้วยภาษาแอสเซมบลี หรือเป็นภาษาโปรแกรมแบบดั้งเดิมและขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์ ถึงแม้ว่าเราจะสามารถเขียนโปรแกรมด้วยรหัสเครื่องเชิงตัวเลขโดยตรงก็ได้ แต่การจัดการบิตต่าง ๆ เป็นเอกเทศ และการคำนวณตำแหน่งที่อยู่กับค่าคงตัวเชิงตัวเลขด้วยมือ จะทำให้น่าเบื่อหน่ายและมีแนวโน้มที่จะเกิดความผิดพลาด ดังนั้นการเขียนรหัสเครื่องจึงไม่ค่อยกระทำกันในทุกวันนี้ เว้นแต่ในสถานการณ์ที่ต้องการทำให้เหมาะสมอย่างที่สุดหรือแก้จุดบกพร่อง ปัจจุบันนี้โปรแกรมเกือบทั้งหมดในทางปฏิบัติเขียนขึ้นด้วยภาษาแอสเซมบลีหรือภาษาระดับสูงกว่า แล้วแปลเป็นรหัสเครื่องที่กระทำการได้โดยคอมไพเลอร์และ/หรือแอสเซมเบลอร์ กับลิงเกอร์ อย่างไรก็ดี โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาที่แปลด้วยอินเทอร์พรีเตอร์จะไม่ถูกแปลเป็นรหัสเครื่อง ถึงแม้ว่าอินเทอร์พรีเตอร์ (ซึ่งอาจเห็นเป็นชื่อ ตัวกระทำการ หรือ ตัวประมวลผล) โดยทั่วไปประกอบขึ้นจากรหัสเครื่องที่กระทำการได้โดยตรง.

ดู ภาษาโปรแกรมและรหัสเครื่อง

ระบบชนิดตัวแปร

ระบบชนิดตัวแปร ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ กำหนดว่าในภาษาโปรแกรมแบ่งค่าและตัวแปรออกเป็นชนิดอย่างไร ภาษาโปรแกรมจัดการกับตัวแปรและค่าชนิดต่างๆ อย่างไร และตัวแปรและค่าแต่ละชนิดสัมพันธ์กันอย่างไร ชนิดบ่งบอกกลุ่มของค่าที่มีชนิดเหมือนกันและมีจุดประสงค์ในการนำไปใช้เหมือนกัน หมวดหมู่:ชนิดข้อมูล หมวดหมู่:การวิเคราะห์โปรแกรม หมวดหมู่:ทฤษฎีแบบชนิด de:Typisierung (Informatik)#Typsystem.

ดู ภาษาโปรแกรมและระบบชนิดตัวแปร

ระบบพิกัดเชิงขั้ว

ในระบบพิกัดเชิงขั้วกับขั้ว ''O'' และแกนเชิงขั้ว ''L'' ในเส้นสีเขียว จุดกับพิกัดรัศมี 3 และพิกัดมุม 60 องศาหรือ (3,60°) ในเส้นสีฟ้า จุด (4,210°) ในทางคณิตศาสตร์ ระบบพิกัดเชิงขั้ว (polar coordinate system) คือระบบค่าพิกัดสองมิติในแต่ละจุดบนระนาบถูกกำหนดโดยระยะทางจากจุดตรึงและมุมจากทิศทางตรึง จุดตรึง (เหมือนจุดกำเนิดของระบบพิกัดคาร์ทีเซียน) เรียกว่าขั้ว, และลากรังสีจากขั้วเข้ากับทิศทางตรึงคือแกนเชิงขั้ว ระยะทางจากขั้วเรียกว่าพิกัดรัศมีหรือรัศมี และมุมคือพิกัดมุม, มุมเชิงขั้ว, หรือมุมท.

ดู ภาษาโปรแกรมและระบบพิกัดเชิงขั้ว

ระบบจัดการเนื้อหาเว็บ

ระบบจัดการเนื้อหาเว็บ (Web Content management system) เป็นระบบการจัดการเนื้อหา (CMS) ชนิดหนึ่ง โดยเป็นระบบที่เขียนขึ้นด้วยภาษาโปรแกรม เพื่อใช้เป็นเว็บแอปพลิเคชัน (Web Application) ในการจัดเนื้อหาของเว็บไซต์ ให้ง่ายต่อการจัดการ การทำงานของระบบจัดการเนื้อหาเว็บไซต์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วย โปรแกรมสำหรับสร้างหน้าเว็บด้วยสคริปต์ที่ทำงานบนฝั่งเว็บเซิร์ฟเวอร์ และโปรแกรมที่ใช้จัดเก็บข้อมูลเช่น โปรแกรมฐานข้อมูล.

ดู ภาษาโปรแกรมและระบบจัดการเนื้อหาเว็บ

รายการสาขาวิชา

รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ.

ดู ภาษาโปรแกรมและรายการสาขาวิชา

รางวัลทัวริง

รางวัลทัวริง (Turing Award) เป็นรางวัลที่นับว่ามีเกียร์ติที่สุดในด้าน วิทยาการคอมพิวเตอร์ โดยจะให้กับบุคคลที่สร้างผลงานที่มีคุณค่ามหาศาลและมีประโยชน์ในระยะยาวกับสาขา จนกระทั่งปัจจุบันนี้ นักวิจัยส่วนใหญ่ที่ได้รับรางวัลทัวริงเป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ ถูกตั้งชื่อตาม อลัน ทัวริง ที่เป็นนักคณิตศาสตร์และเป็นหนึ่งในบุคคลที่ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ยุคใหม่ รางวัลทัวริงนี้ได้รับการยกย่อง(โดยบุคคลส่วนใหญ่) ให้เป็นรางวัลโนเบลสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ รางวัลนี้มีบริษัทอินเทล และกูเกิลเป็นสปอนเซอร์หลัก โดยผู้รับรางวัลจะได้รางวัลเงินสด 250,000 ดอลลาร์สหรัฐอีกด้วย ก่อนหน้าที่กูเกิลจะเข้ามาร่วมเป็นสปอนเซอร์ อินเทลให้รางวัล 100,000 ดอลลาร์สหรัฐสำหรับผู้รับรางวัล.

ดู ภาษาโปรแกรมและรางวัลทัวริง

ลอการิทึม

ีม่วงคือฐาน 1.7 กราฟทุกเส้นผ่านจุด (1, 0) เนื่องจากจำนวนใด ๆ ที่ไม่เป็นศูนย์ เมื่อยกกำลัง 0 แล้วได้ 1 และกราฟทุกเส้นผ่านจุด (''b'', 1) สำหรับฐาน ''b'' เพราะว่าจำนวนใด ๆ ยกกำลัง 1 แล้วได้ค่าเดิม เส้นโค้งทางซ้ายเข้าใกล้แกน ''y'' แต่ไม่ตัดกับแกน ''y'' เพราะมีภาวะเอกฐานอยู่ที่ ''x''.

ดู ภาษาโปรแกรมและลอการิทึม

วากยสัมพันธ์ (ภาษาโปรแกรม)

ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ วากยสัมพันธ์ของภาษาโปรแกรม คือกลุ่มของกฎเกณฑ์ที่นิยามการจัดหมู่ของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ถือว่าเป็นการสร้างโปรแกรมด้วยภาษานั้นได้อย่างถูกต้อง วากยสัมพันธ์ของภาษาใดภาษาหนึ่งเป็นตัวกำหนดรูปแบบพื้นหน้า (surface form) ของมัน ภาษาโปรแกรมเชิงข้อความ (text-based programming language) อิงอยู่กับลำดับของอักขระต่าง ๆ ในขณะที่ภาษาโปรแกรมเชิงทัศน์ (visual programming language) อิงอยู่กับการจัดวางตามพื้นที่และความเชื่อมโยงกับสัญลักษณ์ (ซึ่งอาจจะเป็นข้อความหรือกราฟิกก็ได้).

ดู ภาษาโปรแกรมและวากยสัมพันธ์ (ภาษาโปรแกรม)

วิชวลเบสิก

รูป Logo ของ Visual Basic 6.0 ซึ่งออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2541 วิชวลเบสิก (Visual Basic) หรือ VB เป็นภาษาโปรแกรมแบบ GUI สร้างโดยบริษัทไมโครซอฟท์ ภาษานี้เป็นหนึ่งในภาษาโปรแกรมยอดนิยมสำหรับโปรแกรมที่ใช้ในด้านธุรกิจ ภาษานี้พัฒนามาจากภาษาเบสิก และยังได้พัฒนาต่อเป็นภาษาVB.NET อีกด้วย วิชวลเบสิกสนับสนุน Rapid Application Development (RAD) ทั้งด้านการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์แบบ graphical user interface (GUI), การเข้าถึงฐานข้อมูลโดยใช้การเชื่อมต่อแบบ DAO, RDO, หรือ ADO, และการสร้าง ActiveX control จุดเด่นอีกอย่างหนึ่งของวิชวลเบสิกคือนักเขียนโปรแกรมสามารถนำโปรแกรมประยุกต์หลาย ๆ โปรแกรมมารวมกันในโปรแกรมเดียว และยังสามารถประยุกต์ใช้คอมโพเนนต์ของวิชวลเบสิกที่มีเตรียมไว้ให้แล้วได้อีกด้ว.

ดู ภาษาโปรแกรมและวิชวลเบสิก

วิชวลเบสิกดอตเน็ต

ลโก้ของภาษาจาวา วิชวลเบสิกดอตเน็ต (Visual Basic.NET) หรือ VB.NET เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุทำงานบนดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก ซึ่งสามารถถือเป็นวิวัฒนาการจากภาษาวิชวลเบสิก แต่เนื่องจากว่ามีการเปลี่ยนแปลงมากถึงขั้นที่ไม่เข้ากันได้กับรุ่นเก่าจึงทำให้เกิดการโต้เถียงเป็นอย่างมากในกลุ่มผู้พัฒนากันเอง.

ดู ภาษาโปรแกรมและวิชวลเบสิกดอตเน็ต

วิยุตคณิต

วิยุตคณิต ภินทนคณิตศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (discrete mathematics) หรือบางครั้งเรียกว่า คณิตศาสตร์จำกัด (finite mathematics) เป็นการศึกษาโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ซึ่งมีลักษณะเป็นค่าเฉพาะเจาะจง และไม่ต่อเนื่อง ซึ่งไม่ต้องใช้แนวคิดเกี่ยวกับความต่อเนื่อง วัตถุที่ศึกษาส่วนมากในสาขานี้มักเป็นเซตนับได้ เช่น เซตของจำนวนเต็ม วิยุตคณิตได้รับความสนใจมากขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากการประยุกต์ใช้ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ แนวคิดและสัญกรณ์จากวิยุตคณิตนั้นมีประโยชน์ในการศึกษา หรืออธิบายวัตถุหรือปัญหาในขั้นตอนวิธี และภาษาโปรแกรม ในหลาย ๆ หลักสูตรทางคณิตศาสตร์วิชาด้านคณิตศาสตร์จำกัด จะเน้นเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับด้านธุรกิจ ส่วนวิยุตคณิตเน้นแนวคิดสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ เพื่อการเปรียบเทียบ ดู ภาวะต่อเนื่อง ทอพอลอยี และ คณิตวิเคราะห.

ดู ภาษาโปรแกรมและวิยุตคณิต

วิทยาการคอมพิวเตอร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer science) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือข่าย ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับนามธรรม หรือความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ไปจนถึงระดับรูปธรรม เช่น ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฎีเครือข่าย ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรก.

ดู ภาษาโปรแกรมและวิทยาการคอมพิวเตอร์

สายอักขระ

ในการเขียนโปรแกรม สายอักขระ หรือ ข้อความ หรือ สตริง (string) คือลำดับของอักขระที่อาจจะเป็น literal หรือตัวแปรก็ได้ สำหรับในกรณีที่เป็นตัวแปร ส่วนใหญ่สายอักขระก็จะสามารถเปลี่ยนอักขระในตัวของมันได้ ในบางภาษาโปรแกรมสายอักขระสามารถเปลี่ยนความยาวของสายอักขระได้ด้วย ในขณะที่บางภาษาจะกำหนดให้ความยาวของสายอักขระคงที่ห้ามเปลี่ยนแปลงหลังการประกาศตัวแปร โดยทั่วไปแล้วจะเข้าใจกันโดยปริยายว่าสายอักขระอิมพลีเมนต์มาจากแถวลำดับของอักขร.

ดู ภาษาโปรแกรมและสายอักขระ

สารสนเทศการแพทย์

รสนเทศการแพทย์ (Medical Informatics) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือข่าย ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับนามธรรม หรือความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ไปจนถึงระดับรูปธรรม เช่น ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฎีเครือข่าย รวมทั้งการศึกษาศาสตร์ทางด้านการแพทย์ด้ว.

ดู ภาษาโปรแกรมและสารสนเทศการแพทย์

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ดู ภาษาโปรแกรมและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ส่วนปิดคลุม (วิทยาการคอมพิวเตอร์)

ในภาษาโปรแกรม ส่วนปิดคลุม (closure) คือฟังก์ชันที่อ้างถึงโดยตัวแปรอิสระในบริบทของศัพท์ ส่วนปิดคลุมมักเป็นฟังก์ชันที่สร้างในขณะโปรแกรมทำงาน กรณีที่เห็นได้ชัดคือฟังก์ชันที่ทุกส่วนปรากฏอยู่ในฟังก์ชันอื่น ฟังก์ชันชั้นในมักจะถูกอ้างถึงได้โดยตัวแปรเฉพาะที่ ฟังก์ชันชั้นนอกสร้างตัวตน (instance) ของฟังก์ชันชั้นในขึ้นใหม่ ขณะที่ฟังก์ชันชั้นนอกกำลังทำงาน ถ้าฟังก์ชันชั้นในอ้างถึงตัวแปรเฉพาะที่บางตัวของฟังก์ชันชั้นนอก ส่วนปิดคลุมจึงจะถูกสร้างขึ้น โดยส่วนปิดคลุมประกอบด้วยรหัสโปรแกรมของฟังก์ชันชั้นในและส่วนอ้างอิงถึงตัวแปรใดๆ ในฟังก์ชันชั้นนอกที่จำเป็นต้องใช้ในส่วนปิดคลุม หมวดหมู่:มโนทัศน์ภาษาโปรแกรม หมวดหมู่:Implementation of functional programming languages หมวดหมู่:ซับรูทีน.

ดู ภาษาโปรแกรมและส่วนปิดคลุม (วิทยาการคอมพิวเตอร์)

อรรถศาสตร์

อรรถศาสตร์ (อังกฤษ: semantics) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ให้ความสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างคำ วลี สัญลักษณ์ และความหมาย อรรถศาสตร์ในทางภาษาศาสตร์คือ การศึกษาความหมายที่มนุษย์ใช้เพื่อสื่อสารผ่านทางภาษา นอกจากนี้ยังมีอรรถศาสตร์ของภาษาโปรแกรม ตรรกศาสตร์ และการศึกษาสัญลักษณ์เชิงภาษาและการสื่อสาร (semiotics) คำว่า อรรถศาสตร์ นั้นหมายถึง ขอบเขตความคิดตั้งแต่ระดับที่ใช้กันทั่วไปจนถึงระดับสูง มักใช้ในภาษาทั่วไปเพื่ออธิบายปัญหาความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกใช้คำ หรือความหมายโดยนัย ปัญหาความเข้าใจนี้กลายเป็นประเด็นเกี่ยวกับการตั้งคำถามเพื่อไต่สวนหรือสอบถามแบบทางการมาเป็นเวลานานแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านอรรถศาสตร์เชิงกิจจะลักษณะ (formal semantics) ในภาษาศาสตร์นั้น อรรถศาสตร์ยังศึกษาเกี่ยวกับการแปลความหมายจากป้ายและสัญลักษณ์ที่เหล่าองค์กรและชุมชนใช้ในสถานการณ์และบริบทหรือสภาพแวดล้อมเฉพาะ หากพิจารณาอย่างละเอียด เสียง การแสดงออกทางสีหน้า ภาษากาย และการศึกษาบุคคลต่างวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ ยังมีสาระที่เกี่ยวข้องกับการหาความหมาย ซึ่งแต่ละปัจจัยนี้ยังมีสาขาที่ศึกษาแยกออกไปอีก ในภาษาเขียน เรื่องของโครงสร้างในย่อหน้า และเครื่องหมายวรรคตอน ต่างก็มีเรื่องของการหาความหมายมาเกี่ยวข้อง หรือในรูปแบบอื่นๆ ของภาษา ก็ย่อมมีส่วนเกี่ยวข้องกับการหาความหมายเช่นกัน วิชาอรรถศาสตร์จะต่างกับวากยสัมพันธ์หรือไวยากรณ์ (syntax) ซึ่งศึกษาถึงหน่วยของภาษาที่ประกอบกันโดยไม่คำนึงถึงความหมาย และต่างกับวจนปฏิบัติศาสตร์ (pragmatics) ซึ่งศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสัญลักษณ์ของภาษา ความหมาย และผู้ใช้ภาษานั้น.

ดู ภาษาโปรแกรมและอรรถศาสตร์

อัฒภาค

วามหมายอื่น ที่เป็นชื่อวงดนตรีเซมิโคล่อน ดูที่ เซมิโคล่อน อัฒภาค หรือ จุดครึ่ง เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า เซมิโคลอน หรือ เซไมโคลอน (semicolon).

ดู ภาษาโปรแกรมและอัฒภาค

อาซิโม

อาซิโม (ASIMO) คือหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ หรือหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้า ประเทศญี่ปุ่น สร้างเสร็จเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ภาษาโปรแกรมและอาซิโม

ผลรวม

ในทางคณิตศาสตร์ ผลรวม (summation) หมายถึงการบวกของเซตของจำนวน ซึ่งจะให้ผลลัพธ์เป็น ผลบวก (sum, total) จำนวนที่กล่าวถึงอาจเป็นจำนวนธรรมชาติ จำนวนเชิงซ้อน เมตริกซ์ หรือวัตถุอื่นที่ซับซ้อนกว่านั้น ผลรวมไม่จำกัดของลำดับเรียกว่าเป็นอนุกรม.

ดู ภาษาโปรแกรมและผลรวม

จำนวนเต็ม

ำนวนเต็ม คือจำนวนที่สามารถเขียนได้โดยปราศจากองค์ประกอบทางเศษส่วนหรือทศนิยม ตัวอย่างเช่น 21, 4, −2048 เหล่านี้คือจำนวนเต็ม แต่ 9.75, 5, √2 เหล่านี้ไม่ใช่จำนวนเต็ม เศษของจำนวนเต็มเป็นเศษย่อยของจำนวนจริง และประกอบด้วยจำนวนธรรมชาติ (1, 2, 3,...) ศูนย์ (0) และตัวผกผันการบวกของจำนวนธรรมชาติ (−1, −2, −3,...) เซตของจำนวนเต็มทั้งหมดมักแสดงด้วย Z ตัวหนา (หรือ \mathbb ตัวหนาบนกระดานดำ, U+2124) มาจากคำในภาษาเยอรมันว่า Zahlen แปลว่าจำนวน จำนวนเต็ม (พร้อมด้วยการดำเนินการการบวก) ก่อร่างเป็นกรุปเล็กที่สุดอันประกอบด้วยโมนอยด์เชิงการบวกของจำนวนธรรมชาติ จำนวนเต็มก่อให้เกิดเซตอนันต์นับได้เช่นเดียวกับจำนวนธรรมชาติ สิ่งเหล่านี้ในทฤษฎีจำนวนเชิงพีชคณิตทำให้เข้าใจได้โดยสามัญว่า จำนวนเต็มซึ่งฝังตัวอยู่ในฟีลด์ของจำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนเต็มตรรกยะ เพื่อแยกแยะออกจากจำนวนเต็มเชิงพีชคณิตที่ได้นิยามไว้กว้างกว.

ดู ภาษาโปรแกรมและจำนวนเต็ม

ทวิภาค

ทวิภาค หรือ จุดคู่ คลังความรู้ออนไลน์ ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สวทช. เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะเป็นจุดสองจุดเรียงตามแนวตั้ง.

ดู ภาษาโปรแกรมและทวิภาค

ข้ามแพลตฟอร์ม

้ามแพลตฟอร์ม หรือ หลายแพลตฟอร์ม (Cross-platform) หมายถึงการที่โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ หรือ ซอฟต์แวร์ชนิดอื่น ๆ สามารถทำงานได้ในหลายแพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้บนไมโครซอฟท์วินโดวส์ สำหรับสถาปัตยกรรม x86 และ Mac OS X บน PowerPC สวัสดี.

ดู ภาษาโปรแกรมและข้ามแพลตฟอร์ม

ดอกจัน

อกจัน (*) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายดอกของต้นจัน อาจมีห้าแฉก หกแฉก แปดแฉก หรือมากกว่านั้นขึ้นอยู่กับไทป์เฟซและยูนิโคด โดยปกติการเขียนดอกจันจะเขียนให้สูงขึ้นกว่าข้อความเล็กน้อย ใช้สำหรับเน้นส่วนสำคัญหรือใช้อธิบายเชิงอรรถ เครื่องหมายนี้มีการเรียกอีกชื่อว่า สตาร์ (star) เพราะมีรูปร่างคล้ายรูปดาว สำหรับดอกจันสามตัวที่วางเรียงกันแบบสามเหลี่ยม (⁂) เรียกว่า แอสเทอริซึม (asterism).

ดู ภาษาโปรแกรมและดอกจัน

ความผิดพลาดทางวากยสัมพันธ์

ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ ความผิดพลาดทางวากยสัมพันธ์ คือความผิดพลาดเชิงวากยสัมพันธ์ของโค้ดที่เขียนในภาษาโปรแกรมใด ๆ หรืออาจกล่าวว่าเป็นความผิดพลาดในการเขียนลำดับของอักขระและสัญลักษณ์ภายใต้กฎของภาษาโปรแกรมนั้น สำหรับภาษาเชิงคอมไพล์ (compiled language) ความผิดพลาดทางวากยสัมพันธ์จะแสดงออกมาเมื่อมีการคอมไพล์โปรแกรมโดยคอมไพเลอร์ และตราบใดที่ความผิดพลาดทางวากยสัมพันธ์ยังไม่ได้แก้ไขก็จะไม่สามารถดำเนินการคอมไพล์โค้ดมาเป็นโปรแกรมได้ แต่สำหรับภาษาเชิงแปลคำสั่ง (interpreted language) ความผิดพลาดทางวากยสัมพันธ์บางอย่างจะแสดงออกมาก็ต่อเมื่อโปรแกรมทำงานจนถึงคำสั่งที่มีปัญหา (run-time) ในบางบริบท อาจจะตีความ "ความผิดพลาดทางวากยสัมพันธ์" ให้ครอบคลุมไปถึงเรื่องอื่น ๆ นอกจากการเขียนโปรแกรมก็ได้ เช่น เมื่อมีการป้อนคำสั่งเข้าเครื่องคิดเลข หากมีข้อผิดพลาดในข้อมูลนำเข้า เช่น วงเล็บเปิดกับวงเล็บปิดจับคู่กันไม่ถูกต้อง ก็อาจได้รับข้อความเตือนออกมาว่าเกิดความผิดพลาดทางวากยสัมพันธ์ ตัวอย่างโค้ดภาษาซีพลัสพลัส (ตัวอย่างของภาษาเชิงคอมไพล์) ที่มีความผิดพลาดทางวากยสัมพันธ์ เช่น.

ดู ภาษาโปรแกรมและความผิดพลาดทางวากยสัมพันธ์

คำหลัก (การเขียนโปรแกรม)

ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คำหลัก คือคำหรือตัวระบุที่มีความหมายเฉพาะสำหรับภาษาโปรแกรมหนึ่ง ๆ ความหมายและสัญกรณ์ของคำหลักทำให้เกิดความแตกต่างอย่างสิ้นเชิงระหว่างภาษาหนึ่งกับภาษาหนึ่ง ในหลายภาษาที่มีภาวะแวดล้อมคล้ายกัน อย่างเช่นภาษาซีกับภาษาซีพลัสพลัส คำหลักถือว่าเป็นคำสงวนที่ระบุรูปแบบวากยสัมพันธ์ คำต่าง ๆ ใช้สำหรับโครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม ตัวอย่างเช่น if, then, else เหล่านี้เป็นคำหลัก และในภาษาเช่นนี้ คำหลักไม่สามารถนำมาใช้ตั้งชื่อตัวแปรหรือฟังก์ชันได้ แต่ในทางตรงข้าม มีบางภาษาอย่างเช่นโพสต์สคริปต์เปิดเสรีต่อแนวคิดดังกล่าว ซึ่งอนุญาตให้คำหลักอันเป็นแกนของภาษา สามารถถูกนิยามขึ้นใหม่เพื่อจุดประสงค์เฉพาะอย่าง ในภาษาคอมมอนลิสป์ คำว่า "คำหลัก" ถือเป็นสัญลักษณ์หรือตัวระบุชนิดพิเศษ ในขณะที่สัญลักษณ์ปกติใช้เป็นตัวแปรหรือฟังก์ชัน คำหลักไม่เหมือนสัญลักษณ์อื่นตรงที่สามารถโควตตัวเองได้ และสามารถประเมินค่าของตัวเองได้ คำหลักปกติใช้กำกับชื่อให้อาร์กิวเมนต์ในฟังก์ชัน และใช้เป็นตัวแทนค่าเชิงสัญลักษณ์ ภาษาต่าง ๆ แตกต่างกันในสิ่งที่ใช้เป็นคำหลักหรือรูทีนไลบรารี ตัวอย่างเช่น บางภาษากำหนดให้การดำเนินการรับเข้า/ส่งออกเป็นคำหลัก ในขณะที่บางภาษากำหนดให้การดำเนินการเดียวกันเป็นรูทีนไลบรารี อาทิ คำสั่งการแสดงผลบนจอภาพ ภาษาไพทอน (รุ่นก่อน 3.0) และภาษาเบสิก กำหนดให้ print เป็นคำหลัก ในทางกลับกันภาษาซีและภาษาลิสป์ printf และ format เป็นรูทีนไลบรารี ไม่ใช่คำหลัก โดยปกติเมื่อโปรแกรมเมอร์พยายามใช้คำหลักเป็นชื่อตัวแปรหรือฟังก์ชัน การแปลโปรแกรมจะเกิดความผิดพลาด คำหลักต่าง ๆ มีการเน้นสีโดยอัตโนมัติในโปรแกรมแก้ไขสมัยใหม่ เพื่อให้โปรแกรมเมอร์ทราบว่าคำเหล่านี้เป็นคำหลัก ในภาษาที่มีแมโครและการประเมินค่าล่าช้า (lazy evaluation) โครงสร้างการควบคุมการทำงานอาทิ if สามารถทำให้เกิดผลได้ด้วยแมโครหรือฟังก์ชัน แต่ในภาษาที่ไม่มีคุณลักษณะดังกล่าว พวกมันจะเป็นเพียงคำหลักธรรมดา หมวดหมู่:โครงสร้างการเขียนโปรแกรม.

ดู ภาษาโปรแกรมและคำหลัก (การเขียนโปรแกรม)

คณิตศาสตร์

ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity.

ดู ภาษาโปรแกรมและคณิตศาสตร์

ค่าความจริง

ค่าความจริง (Truth value) ในทางตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ หมายถึง ค่าที่ใช้บ่งบอกว่าประพจน์ใดเป็นความจริง ในเรื่องของตรรกศาสตร์แบบฉบับ (classical logic) ค่าความจริงมีเพียงสองอย่างเท่านั้นคือ ค่าจริง (true) และค่าเท็จ (false) แต่สำหรับตรรกศาสตร์คลุมเครือ (fuzzy logic) หรือตรรกศาสตร์หลายค่า (multi-valued logic) ค่าความจริงอาจจะมีค่าอย่างอื่นที่นอกเหนือจากนั้นก็ได้ เซตของค่าความจริง ทำให้เกิดพีชคณิตแบบบูล (Boolean algebra) ซึ่งคำนวณด้วยวิธีที่คล้ายพีชคณิตแล้วให้ผลเฉพาะในเซตเท่านั้น ส่วนพีชคณิตแบบอื่นอาจมีการใช้เซตของค่าความจริงในตรรกศาสตร์ที่ไม่ได้เป็นแบบฉบับ ตัวอย่างเช่น ตรรกศาสตร์สหัชญาณนิยม (intuitionistic logic) หรือพีชคณิตเฮย์ทิง (Heyting algebra) เป็นต้น ในการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์จะให้ความหมายของค่า 0 เป็นค่าเท็จ และค่าอื่นที่ไม่ใช่ 0 (รวมทั้ง 1) หมายถึงค่าจริง และภาษาโปรแกรมบางภาษาอาจมีค่าว่าง (null) อยู่ด้วย ซึ่งไม่ใช่ทั้งค่าจริงและค่าเท็จ หมวดหมู่:ตรรกศาสตร์.

ดู ภาษาโปรแกรมและค่าความจริง

ตระกูลของภาษา

ตระกูลภาษาต่างๆทั่วโลก ภาษาส่วนใหญ่สามารถจะจำแนกให้อยู่ในตระกูลของภาษา (ซึ่งจะเรียกว่า "กลุ่มภาษา" ในบทความนี้) กลุ่มภาษาที่มีการจัดกลุ่มอย่างชัดเจน จะเป็นหน่วยทางวิวัฒนาการ กล่าวคือ ทุกสมาชิกจะสืบทอดมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน ส่วนใหญ่แล้ว ภาษาบรรพบุรุษมักจะไม่เป็นที่รู้จักโดยตรง เนื่องจากภาษาส่วนใหญ่จะมีประวัติของการเขียนสั้นมาก อย่างไรก็ดี เป็นไปได้ที่จะค้นพบคุณสมบัติต่าง ๆ ของภาษาบรรพบุรุษโดยใช้วิธีการเปรียบเทียบ (comparative method) -- เป็นวิธีการสร้างใหม่ที่คิดโดย นักภาษาศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชื่อ เอากุสต์ ชไลเกอร์ ซึ่งสามารถแสดงถึงสถานภาพของกลุ่มภาษาของกลุ่มจำนวนมากที่จะได้กล่าวถึงต่อไป ตระกูลของภาษาสามารถแบ่งย่อยเป็นหน่วยที่เล็กลงไปอีก ซึ่งมักจะเรียกหน่วยย่อยว่า "สาขา" (เนื่องจากประวัติของกลุ่มภาษามักจะเขียนเป็นแผนผังต้นไม้) บรรพบุรุษของกลุ่มภาษา (หรือสาขาของภาษา) เรียกว่า "protolanguage" เช่น protolanguage ของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนที่สร้างใหม่เรียกว่า โปรโต-อินโด-ยูโรเปียน (Proto-Indo-European, ไม่เป็นที่รู้จักจากการเขียน เนื่องจากพูดกันในสมัยที่ก่อนจะมีการประดิษฐ์การเขียนขึ้น) ในบางกรณี สามารถจะระบุ protolanguage ได้เป็นภาษาที่รู้จักในสมัยประวัติศาสตร์ ด้วยเหตุนี้ ภาษาย่อยตามมณฑลชนบทต่าง ๆ ของภาษาละติน ("Vulgar Latin") ทำให้เกิดตระกูลภาษาโรมานซ์ปัจจุบัน ฉะนั้น ภาษาโปรโต-โรมานซ์จะค่อนข้างเหมือนกับภาษาละติน (ถ้าไม่ใช่ภาษาละตินที่นักเขียนคลาสสิกใช้เขียน) และภาษาย่อยของภาษานอร์สโบราณ (Old Norse) เป็น protolanguage ของภาษานอร์เวย์, ภาษาสวีเดน, ภาษาเดนมาร์ก และภาษาไอซ์แลนด์ ภาษาที่ไม่สามารถจัดได้อย่างแน่นอนลงไปในกลุ่มภาษาใด ๆ เรียกว่า ภาษาโดดเดี่ยว (language isolate).

ดู ภาษาโปรแกรมและตระกูลของภาษา

นิพจน์ปรกติ

นิพจน์ปรกติ (regular expression สามารถย่อได้เป็น regexp หรือ regex) ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ คือ สตริงที่อธิบายถึงรูปแบบของสตริงตามโครงสร้างรูปแบบที่กำหนด นิพจน์ปรกตินั้นใช้อยู่แพร่หลายในโปรแกรมประเภท Text editor ในการค้นหาและปรับเปลี่ยนข้อความ ภาษาโปรแกรมหลายภาษายังรองรับการใช้นิพจน์ปรกติสำหรับการจัดการและปรับเปลี่ยนสตริง.

ดู ภาษาโปรแกรมและนิพจน์ปรกติ

แบบจำลองข้อมูล

แบบจำลองข้อมูล (data model) ระดับสูงในธุรกิจ หรือในงานต่าง ๆ เป็นแบบจำลองนามธรรม ซึ่งเอกสารและการจัดข้อมูลธุรกิจสำหรับการสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานและนักเทคนิค แบบจำลองนี้ถูกใช้ให้แสดงข้อมูลที่จำเป็นและถูกสร้างขึ้นโดยกระบวนการทางธุรกิจ แบบจำลองข้อมูลในวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เป็นแบบจำลองนามธรรมซึ่งเอกสารและการจัดข้อมูลธุรกิจสำหรับการสื่อสารระหว่างผู้ร่วมงาน และใช้สำหรับวางแผนสำหรับการพัฒนาแอพลิเคชัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเก็บและการเข้าถึงข้อมูล โฮเบอร์แมน (Hoberman: 2009) กล่าวว่า "แบบจำลองข้อมูล เป็นเครื่องมือที่ครอบคลุมทุกวิถีทางเพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ร่วมงานทั้งด้านธุรกิจและผู้เชี่ยวชาญด้านไอที โดยใช้เซตของสัญลักษณ์และข้อความเพื่ออธิบายเซตย่อยของข้อมูลจริง สำหรับปรับปรุงการสื่อสารในองค์กร และนำไปสู่สภาพแวดล้อมของแอพลิเคชันที่ยืดหยุ่นและเสถียร" แบบจำลองข้อมูลได้กำหนดโครงสร้างของข้อมูลอย่างชัดเจน แอพลิเคชันปกติของแบบจำลองข้อมูล รวมถึงแบบจำลองฐานข้อมูล การออกแบบของระบบสารสนเทศ และการทำให้ข้อมูลสามารถแลกเปลี่ยนกันได้ โดยปกติแบบจำลองข้อมูลถูกระบุในภาษาแบบจำลองข้อมูล การสื่อสารและความถูกต้องเป็นปัจจัยสำคัญสองอย่างที่เป็นประโยชน์ในการทำให้แบบจำลองข้อมูลมีความสำคัญต่อแอพลิเคชันที่ใช้และแลกเปลี่ยนข้อมูล แบบจำลองข้อมูลเป็นตัวกลางซึ่งผู้ร่วมโครงการที่มีภูมิหลังต่างกัน มีประสบการณ์ต่างกัน สามารถสื่อสารกันได้ ความถูกต้อง หมายความว่า ทีมงานและกฎเกณฑ์ของแบบจำลองข้อมูลสามารถสื่อความหมายได้อย่างเดียวกัน ไม่กำกวม แบบจำลองข้อมูลในบางครั้งอาจใช้ในความหมายของโครงสร้างข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทของภาษาโปรแกรม และมักใช้ประกอบแบบจำลองฟังก์ชัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทของแบบจำลองวิสาหก.

ดู ภาษาโปรแกรมและแบบจำลองข้อมูล

แลมป์

Squid). A high performance and high-availability solution for a hostile environment แลมป์ (LAMP) เป็นอักษรย่อของชุดซอฟต์แวร์เสรีสำหรับการทำเว็บไซต์ โดยตัวย่อต้นฉบับนั้นย่อมาจาก.

ดู ภาษาโปรแกรมและแลมป์

แอมเพอร์แซนด์

แอมเพอร์แซนด์ (ampersand) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า แอนด์ (&) คือสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนคำว่า and ในภาษาอังกฤษ มาจากการรวมอักษรของคำในภาษาละติน et แปลว่า "และ".

ดู ภาษาโปรแกรมและแอมเพอร์แซนด์

แอลัน ทัวริง

แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing; 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยาและวีรบุรุษสงครามชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุก ๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องอินิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริง ๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเขาในเรื่องนี้ นอกจากนั้นแล้ว การทดสอบของทัวริงที่เขาได้เสนอนั้นมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเรื่องปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งในขณะมีถกเถียงที่สำคัญว่า เป็นไปได้หรือไม่ที่จะกล่าวว่าเครื่องจักรนั้นมีสำนึกและสามารถคิดได้.

ดู ภาษาโปรแกรมและแอลัน ทัวริง

แฮกกาธอน

ู! เอชคิว (ซันนีเวล รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา) ณ วันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 2006 แฮกกาธอน (Hackathon) นอกจากนี้ยังเป็นที่รู้จักในชื่อ แฮกเดย์, แฮกเฟสต์ หรือ โค้ดเฟสต์ เป็นอีเวนต์ที่นักเขียนโปรแกรมและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาซอฟต์แวร์ รวมไปถึงนักออกแบบกราฟิก, นักออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ และผู้จัดการโครงการ มาช่วยเหลือกันอย่างคร่ำเคร่งในโครงการซอฟต์แวร์, Steven Leckart, Wired, March 2012 ในบางโอกาส ก็มีฮาร์ดแวร์มาเป็นส่วนเสริมเช่นกัน ซึ่งงานแฮกกาธอน มักจะมีอายุระหว่างหนึ่งวันหรือหนึ่งสัปดาห์ บางงานแฮกกาธอนมีจุดมุ่งหมายเพียงเพื่อการศึกษาหรือวัตถุประสงค์ทางสังคม แม้ว่าในหลายกรณีเป้าหมายคือการสร้างซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้ แฮกกาธอนมีแนวโน้มที่จะมุ่งเน้นแบบเจาะจง ซึ่งอาจรวมถึงภาษาโปรแกรมที่ใช้, ระบบปฏิบัติการ, แอพพลิเคชัน, เอพีไอ หรือประเด็นและกลุ่มผู้เข้าชมของโปรแกรมเมอร์ ในกรณีอื่น ๆ อาจไม่มีข้อจำกัดอยู่กับชนิดของซอฟแวร์ที่ถูกสร้างขึ้น.

ดู ภาษาโปรแกรมและแฮกกาธอน

แถวลำดับแบบจับคู่

แถวลำดับแบบจับคู่ (Associative array) หมายถึง กลุ่มโครงสร้างข้อมูลหรือแบบชนิดข้อมูลนามธรรม ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยผ่านข้อมูลอีกตัว เรียกว่า คีย์ (key) โดยเป็นการจับคู่คีย์เข้ากับค่าข้อมูล (value) เป็นคู่ๆไป ในภาษาโปรแกรมหลายภาษา แถวลำดับแบบจับคู่ ถือเป็นประเภทข้อมูลประเภทหนึ่งที่สำคัญมากและมีใช้หลากหลายรูปแบบ อาทิ ใช้ในการจัดการข้อมูลในฐานข้อมูล ใช้เป็นโครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น เป็นต้น.

ดู ภาษาโปรแกรมและแถวลำดับแบบจับคู่

โดเมนแบบบูล

มนแบบบูล (Boolean domain) ในทางคณิตศาสตร์และพีชคณิตนามธรรม คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกสองตัวที่เป็นการตีความว่า เท็จ กับ จริง เท่านั้น ในทางตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี โดเมนแบบบูลมักจะเขียนเป็น,,, หรือ \left \ โครงสร้างเชิงพีชคณิตที่สร้างขึ้นบนโดเมนแบบบูลตามธรรมชาติคือพีชคณิตแบบบูลบนสมาชิกสองตัว (two-element Boolean algebra) วัตถุเริ่มต้นในแคทิกอรีของแลตทิซมีขอบเขตคือโดเมนแบบบูล ในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ตัวแปรแบบบูล (Boolean variable) คือตัวแปรที่เก็บค่าเป็นสมาชิกจากโดเมนแบบบูล ภาษาโปรแกรมบางภาษามีคำหรือสัญลักษณ์ที่สงวนไว้สำหรับสมาชิกในโดเมนแบบบูล เช่น false กับ true อย่างไรก็ดี ภาษาโปรแกรมหลาย ๆ ภาษาก็ไม่ได้มีชนิดข้อมูลแบบบูลโดยเฉพาะ เช่นภาษาซีหรือภาษาเบสิก ค่าเท็จแทนด้วยจำนวน 0 และค่าจริงแทนด้วยจำนวน 1 หรือ −1 ตามลำดับภาษา เป็นต้น และตัวแปรทั้งหมดที่เก็บค่าเหล่านี้ก็สามารถเก็บจำนวนอื่น ๆ ได้อีกเช่นกัน.

ดู ภาษาโปรแกรมและโดเมนแบบบูล

โปรแกรมคอมพิวเตอร์

รหัสต้นฉบับ "Hello, World" ในภาษาซี สนิปเพตที่รู้จักกันครั้งแรกในหนังสือ ''เดอะซีโปรแกรมมิงแลงกวิจ'' เขียนโดยไบรอัน เคอร์เนแฮน และเดนนิส ริตชี ในปี ค.ศ.

ดู ภาษาโปรแกรมและโปรแกรมคอมพิวเตอร์

โปรแกรมแก้ไขข้อความ

ปรแกรมแก้ไขข้อความอย่างลีฟแพด มักถูกรวมอยู่ในระบบปฏิบัติการต่าง ๆ เป็นโปรแกรมประยุกต์ช่วยเหลือโดยปริยายสำหรับการเปิดไฟล์ข้อความ โปรแกรมแก้ไขข้อความ เป็นโปรแกรมชนิดหนึ่งใช้สำหรับแก้ไขแฟ้มข้อความอย่างง่าย โปรแกรมดังกล่าว บางครั้งรู้จักในชื่อซอฟต์แวร์ "แผ่นจดบันทึก" ตามโปรแกรมแผ่นจดบันทึก โปรแกรมแก้ไขข้อความมักจะมากับระบบปฏิบัติการและโปรแกรมสำเร็จ และสามารถใช้ในการเปลี่ยนแปลงแฟ้มโครงแบบ แฟ้มเอกสาร และรหัสต้นฉบับภาษาโปรแกรม.

ดู ภาษาโปรแกรมและโปรแกรมแก้ไขข้อความ

โปรแกรมแปล

ปรแกรมแปล (translator) คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แปลชุดคำสั่งของภาษาโปรแกรมหนึ่ง ไปเป็นชุดคำสั่งของอีกภาษาโปรแกรมหนึ่ง โดยความหมายดั้งเดิมไม่สูญเสียไป โปรแกรมแปลภาษาระดับสูงบางตัวจะเปลี่ยนแปลงตรรกะบางอย่าง หรือทำตรรกะให้ง่ายขึ้นโดยผลลัพธ์ยังเป็นเช่นเดิม.

ดู ภาษาโปรแกรมและโปรแกรมแปล

ไพป์

ป์ (pipe) หรือ ขีดตั้ง (vertical bar) เป็นชื่อของสัญลักษณ์ของตัวอักษร ASCII ที่ตำแหน่ง 124 ตัวอักษรนี้ใช้สัญลักษณ์เส้นในแนวตั้ง (|) หรือในบางครั้งใช้เส้นตั้งที่มีแยกตรงกลาง (¦ - broken bar) ในคีย์บอร์ดของคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม จะใช้สัญลักษณ์ broken bar เป็นส่วนมาก แต่อย่างไรก็ตาม broken bar เป็นตัวอักษรที่อยู่ต่างออกไปที่ตำแหน่งของ U+00A6 (¦).

ดู ภาษาโปรแกรมและไพป์

ไมโครซอฟท์ วิชวล ซีพลัสพลัส

มโครซอฟท์ วิชวล ซีพลัสพลัส (Microsoft Visual C++) หรือเรียกชื่อย่อว่า MSVC เป็นซอฟท์แวร์ผลิตภัณฑ์สิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ (IDE) ที่ผลิตโดย ไมโครซอฟท์ สำหรับภาษาโปรแกรม ซี,ซีพลัสพลัส,ซี++/ซีเอลไอ "MSVC" เป็นซอฟต์แวร์จำกัดสิทธิ์ที่เดิมเป็นผลิตภัณฑ์แบบสแตนด์อโลน แต่ต่อมาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของไมโครซอฟท์ วิชวลสตูดิโอ และอยู่ในรูปแบบ trialware และfreeware นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือสำหรับพัฒนาซอฟต์แวร์ และแก้ไขจุดบกพร่อง ของรหัสภาษาซีพลัสพลัส ที่เขียนรหัสโดยเฉพาะสำหรับ วินโดวส์ เอพีไอ,ไดเรกต์เอกซ์ และดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก โปรแกรมประยุกต์จำนวนมากจำเป็นต้องมีแพคเกจ Visual c ++ ทำงานอย่างถูกต้อง แพคเกจเหล่านี้มักจะติดตั้งอย่างอิสระจากโปรแกรมประยุกต์ ทำให้สามารถใช้งานโปรแกรมประยุกต์หลาย ๆ แพคเกจได้ในขณะที่ต้องติดตั้งเพียงครั้งเดียว.

ดู ภาษาโปรแกรมและไมโครซอฟท์ วิชวล ซีพลัสพลัส

ไมโครซอฟท์ วิชวลสตูดิโอ

มโครซอฟท์ วิชวลสตูดิโอ คือ Integrated Development Environment พัฒนาขึ้นโดยไมโครซอฟท์ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยนักพัฒนาซอฟต์แวร์พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ เว็บแอปพลิเคชัน และ เว็บเซอร์วิซ ระบบที่รองรับการทำงานนั้นมีไมโครซอฟท์ วินโดวส์ พ็อคเกตพีซี Smartphone และ เว็บเบราว์เซอร์ ในปัจจุบัน วิชวลสตูดิโอนั้นสามารถใช้ภาษาโปรแกรมที่เป็นภาษาดอตเน็ต ในโปรแกรมเดียวกัน เช่น VB.NET C++ C# J# เป็นต้น วิชวลสตูดิโอ 2008 ซึ่งเป็นรุ่นหลังจาก 2010 ได้แบ่งเป็นรุ่นดังต่อไปนี้.

ดู ภาษาโปรแกรมและไมโครซอฟท์ วิชวลสตูดิโอ

เชลล์

ลล์ (shell) ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมที่โต้ตอบผู้ใช้ และมักหมายถึงระหว่างผู้ใช้กับระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้เป็น แบบชุดคำสั่ง หรือคอมมานด์ไลน์ (command line interface, CLI) และแบบกราฟิก (graphic user interface, GUI) แบบคำสั่งและแบบกราฟิกต่างก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน แบบกราฟิกจะใช้ง่ายและเหมาะกับงานประเภทตกแต่งภาพและวิดีโอ ส่วนแบบคำสั่งเหมาะกับงานบางอย่าง โดยสามารถระบุต้องเจาะจงโดยละเอียดเช่นย้ายไฟล์โดยใช้ไวลด์การ์ด * เป็นต้น เชลล์ที่ใช้ในไมโครซอฟท์วินโดวส์รุ่นหลัง ๆ จะเป็นวินโดวส์เอกซ์พลอเรอร์ ในขณะที่ในรุ่นเก่า ๆ จะเป็นโปรแกรมเมเนเยอร์ สำหรับยูนิกซ์ เชลล์มักหมายถึงเชลล์ยูนิกซ์ ที่ใช้สั่งทางคอมมานด์ไลน์ ตัวอย่างยูนิกซ์เชลล์ที่นิยม เช่น บอร์นเชลล์ คอร์นเชลล์ และ C เชลล.

ดู ภาษาโปรแกรมและเชลล์

เมทาโปรแกรมมิง

มทาโปรแกรมมิง (metaprogramming) คือเทคนิคการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำงานโดยเขียนหรือจัดการโปรแกรมอื่น (หรือโปรแกรมของตัวเอง) เสมือนข้อมูลของโปรแกรม หรือสร้างงานบางส่วนขณะแปลโปรแกรมแล้วเติมเต็มงานที่เหลือขณะโปรแกรมทำงาน ในหลายกรณี เมทาโปรแกรมมิงช่วยให้โปรแกรมเมอร์สามารถประหยัดเวลาในการเขียนรหัสต้นฉบับที่เหมือนๆ กันจำนวนมากแทนที่จะเขียนทั้งหมดเองด้วยมือ อาจเรียกได้ว่าเป็นการทำงานแบบ "โปรแกรมที่เขียนโปรแกรม" ภาษาที่ใช้เขียน เมทาโปรแกรม (metaprogram) จะถูกเรียกว่าอภิภาษา (metalanguage) และภาษาที่ถูกโปรแกรมจัดการจะเรียกว่าภาษาจุดหมาย (object language) ความสามารถของภาษาที่เป็นอภิภาษาภายในภาษาเดียวกันได้ เรียกว่าสมบัติสะท้อนของภาษาโปรแกรม (reflection/reflexivity) ซึ่งสมบัติสะท้อนเป็นคุณลักษณะหนึ่งของภาษาที่จะนำไปสู่เมทาโปรแกรมมิงได้สะดวกยิ่งขึ้น เมทาโปรแกรมมิงมักจะมีแนวทางการเขียนหนึ่งในสองทาง ทางแรกคือการเปิดเผยโครงสร้างภายในของเอนจินขณะทำงานไปเป็นรหัสต้นฉบับผ่านทางเอพีไอ ทางที่สองคือการจัดการนิพจน์สตริงที่รวมคำสั่งไปเป็นรหัสต้นฉบับแบบพลวัต.

ดู ภาษาโปรแกรมและเมทาโปรแกรมมิง

เสมอภาค

มอภาค, สมการ, สมพล หรือ เท่ากับ (.

ดู ภาษาโปรแกรมและเสมอภาค

เฮลโลเวิลด์

ปรแกรมเฮลโลเวิลด์ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานที่ทำการแสดงผลคำว่า "Hello world" หรือ "Hello, world!"(ตามหลักภาษาอังกฤษ) บนอุปกรณ์แสดงผล ซึ่งเป็นหนึ่งในโปรแกรมที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในการเขียนภาษาโปรแกรมต่างๆ เพราะฉะนั้นโดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว มักจะใช้ในการตรวจสอบว่าเขียนภาษาโปรแกรมได้ถูกต้องหรือระบบมีการประมวลผลที่ถูกต้อง และมักถูกใช้เป็นตัวอย่างที่ง่ายที่สุดในการแสดงวากยสัมพันธ์การเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งบน command-line interpreter (เชลล์) เพื่อทำการแสดงผลออกมา อย่างไรก็ตามโปรแกรมนี้ก็มีความซับซ้อนอย่างน่าประหลาดใจ โดยเฉพาะเมื่อต้องเขียนโปรแกรมสำหรับส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ เมื่อเขียนโปรแกรมในembedded system ช้อความจะถูกส่งมายังจอภาพผลึกเหลว ซึ่งตัวอุปกรณ์นั้นไม่ได้แสดงผลตัวอักษร แต่ตัวโปรแกรมง่ายๆ นี้ จะทำการสร้างสัญญาณ เช่นเดียวกับการเปิดLED บ้างที่เราอาจกล่าวได้ว่า "Hello world" เปรียบเสมือนการต้อนรับเราเข้าสู่โปรแกรมก็ได้ โปรแกรมเฮลโลเวิลด์โปรแกรมแรกเกิดขึ้น จากหนังสือการเขียนโปรแกรมภาษาซี แต่งโดยไบรอัน เคอร์นิงแฮน และ เดนนิส ริตชี ตีพิมพ์ในปี พ.ศ.

ดู ภาษาโปรแกรมและเฮลโลเวิลด์

เจดิต

ต หรือ เกดิต (gedit; หรือ) เป็นโปรแกรมแก้ไขข้อความอย่างเป็นทางการของแพลตฟอร์ม GNOME สนับสนุนการเข้ารหัสตัวอักษรแบบ UTF-8 และใช้สัญญาอนุญาตแบบซอฟต์แวร์เสรี เจดิตสามารถทำ syntax highlighting ด้วยสีหรือตัวหนา โดยรองรับภาษาโปรแกรมหลายชนิด นอกจากนี้ยังสนับสนุนการแก้ไขหลายไฟล์พร้อมกันด้วยแท็.

ดู ภาษาโปรแกรมและเจดิต

เดนนิส ริตชี

นนิส แม็กคาลิสแตร์ ริตชี (Dennis MacAlistair Ritchie) (9 กันยายน พ.ศ. 2484 — 12 ตุลาคม พ.ศ. 2554 (วันที่พบศพ)) เป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ชาวอเมริกัน ผู้มีอิทธิพลต่อภาษาซีและภาษาโปรแกรมอื่น ๆ รวมทั้งระบบปฏิบัติการหลายชนิดเช่นมัลติกส์และยูนิกซ์ เขาได้รับรางวัลทัวริงเมื่อ..

ดู ภาษาโปรแกรมและเดนนิส ริตชี

เนมสเปซ

นมสเปซ (Namespace) เป็นชื่อเรียกทางนามธรรมของกลุ่มสิ่งที่บรรจุชื่อ ความหมาย หรือคำศัพท์ ของสิ่งหนึ่งๆ หรือ คนใดคนหนึ่ง ตามกฎของเนมสเปซ ชื่อใดๆที่อยู่ในแต่ละเนมสเปซสามารถมีความหมายได้เพียงหนึ่งความหมาย โดยสิ่งที่แตกต่างกันไม่สามารถใช้ชื่อเดียวกันได้ภายในเนมสเปซเดียวกัน ถ้าชื่อเดียวกันอยู่คนละเนมสเปซสามารถหมายถึงของสองสิ่งที่แตกต่างกันได้ ภาษาแต่ละภาษาในโลกเปรียบเสมือนเป็นเนมสเปซหนึ่งๆ ซึ่งคำหนึ่งๆในแต่ละภาษาจะหมายถึงสิ่งของสิ่งๆหนึ่ง ซึ่งเมื่อคำเดียวกันในภาษาที่แตกต่างกันสามารถหมายถึงสิ่งของคนละสิ่งได้ ภาษาที่แตกต่างกันของเนมสเปซนี้รวมไปถึงภาษาถิ่น และ ภาษาโปรแกรมต่างๆ ตัวอย่างเช่นคำว่า "ไอ" ในภาษาไทย หมายถึง อาการไอ ขณะที่ "ไอ" ในภาษาอังกฤษหมายถึง เรา (ตัวผู้พูด) และ "ไอ" ในภาษาญี่ปุ่นหมายถึง ความรัก หรือ คำว่า "ซาว" ในภาษาไทยกลาง หมายถึงการซาวข้าว ขณะที่ภาษาไทยเหนือ หมายถึง ยี่สิบ ในทางคอมพิวเตอร์ เนมสเปซ จะเป็นสิ่งแวดล้อมควบคุมตัวบ่งชี้.

ดู ภาษาโปรแกรมและเนมสเปซ

C

C (ตัวใหญ่:C ตัวเล็ก:c) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 3.

ดู ภาษาโปรแกรมและC

Scratch

Scratch เป็นภาษาโปรแกรมแบบ visual programming language รูปแบบเสรี พัฒนาโดย The MIT Media Lab โดยสามารถสร้างแอนิเมชัน และ เกม ในรูปแบบง่าย ๆ Scratch ถือสัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู เวอร์ชัน 2 และ สัญญาอนุญาตรหัสต้นฉบับ ของ Scratch ในปี 2013, Scratch 2 ได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการในอินเทอร์เน็ต และเป็นโปรแกรมสำหรับ Windows, macOS, และ Linux (ด้วยต้องมี Adobe Air ก่อน).

ดู ภาษาโปรแกรมและScratch

18 ธันวาคม

วันที่ 18 ธันวาคม เป็นวันที่ 352 ของปี (วันที่ 353 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 13 วันในปีนั้น.

ดู ภาษาโปรแกรมและ18 ธันวาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Programming languageรายการภาษาโปรแกรม

วิชวลเบสิกวิชวลเบสิกดอตเน็ตวิยุตคณิตวิทยาการคอมพิวเตอร์สายอักขระสารสนเทศการแพทย์สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ส่วนปิดคลุม (วิทยาการคอมพิวเตอร์)อรรถศาสตร์อัฒภาคอาซิโมผลรวมจำนวนเต็มทวิภาคข้ามแพลตฟอร์มดอกจันความผิดพลาดทางวากยสัมพันธ์คำหลัก (การเขียนโปรแกรม)คณิตศาสตร์ค่าความจริงตระกูลของภาษานิพจน์ปรกติแบบจำลองข้อมูลแลมป์แอมเพอร์แซนด์แอลัน ทัวริงแฮกกาธอนแถวลำดับแบบจับคู่โดเมนแบบบูลโปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมแก้ไขข้อความโปรแกรมแปลไพป์ไมโครซอฟท์ วิชวล ซีพลัสพลัสไมโครซอฟท์ วิชวลสตูดิโอเชลล์เมทาโปรแกรมมิงเสมอภาคเฮลโลเวิลด์เจดิตเดนนิส ริตชีเนมสเปซCScratch18 ธันวาคม