โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาเอสเปรันโต

ดัชนี ภาษาเอสเปรันโต

ษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ (L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ (ในช่วงที่รัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ เอสเปรันโต มาจากนามปากกา ดร.

42 ความสัมพันธ์: AĤŬĴชาโดลูพ.ศ. 2430การประชุมใหญ่เอสเปรันโตสากลกูเกิล แปลภาษาภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติภาษาอิดอภาษาประดิษฐ์ภาษาแกนภาษาโวลาปุกภาษาโทคิโพนาภาษาเอสเปรันโตมิโนะรุ ชิโระตะยาคูลท์รายชื่อภาษารายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1วันทาพระราชินีวันซาเมนฮอฟวิกิพีเดียภาษาเอสเปรันโตสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสาธารณรัฐโรสไอส์แลนด์สโมสรฟุตบอลอันยางคำศัพท์ที่พบบ่อยที่สุดในภาษาเอสเปรันโตแบร์ตอล็อน ฟอร์ก็อชแอล. แอล. ซาเมนฮอฟแฮร์รี แฮร์ริสันเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้องเอสเปรันติโดเครื่องหมายเสริมสัทอักษรĜŜĈĂDzs (สัทศาสตร์)EOISO 639-2ISO 639-3Lernu! (เลรนู!)26 กรกฎาคม

A

A (ตัวใหญ่: A, ตัวเล็ก: a) คืออักษรและสระตัวแรกในอักษรละติน มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า เอ ในขณะที่หลายภาษาเช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี เรียกตามชื่อเดิมของอักษรนี้คือ อา รูปพหูพจน์เขียนเป็น A's, As, as, หรือ a's อักษร A มีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณโดยมีหลักฐานในอักษรภาพไฮโรกลิฟฟิก และมีการหยิบยืมไปใช้โดยวัฒนธรรมอื่นจนกระทั่งปัจจุบัน โดยยังคงไว้ซึ่งจุดเด่นนั่นคือ A เป็นตัวอักษรแรกของชุดตัวอักษรในภาษาเสมอ ใช้แทนเสียงสระ อา เอ หรือ แอ ที่ประกอบกับเสียงพยัญชนะ หรือใช้แทนเสียงสระอย่างเดียวก็ได้ นอกจากนั้นอักษร A ก็มีการเติมเครื่องหมายและถูกดัดแปลงไปหลายรูปแบบเพื่อการนำไปใช้เป็นอักขรวิธีในภาษาหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและA · ดูเพิ่มเติม »

Ĥ

ตัวอักษร Ĥ (ตัวเล็ก: ĥ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน H ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์ ซึ่งมักจะใช้แทนเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง Ĥ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและĤ · ดูเพิ่มเติม »

Ŭ

ตัวอักษร Ŭ (ตัวเล็ก: ŭ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน U ที่มี บรีฟ (breve) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลาย Ŭ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและŬ · ดูเพิ่มเติม »

Ĵ

ตัวอักษร Ĵ (ตัวเล็ก: ĵ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน J ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์  Ĵ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและĴ · ดูเพิ่มเติม »

ชาโดลู

ตราสัญลักษณ์องค์การชาโดลู องค์กรชาโดลู (เอสเปรันโต: Ŝadoluo; シャドルー) หรือ ชาดาลู (Shadaloo) เป็นองค์กรผู้ก่อการร้ายข้ามชาติ ในเกมและในภาพยนตร์สตรีทไฟท์เตอร์ ของบริษัทแคปคอม องค์กรชาโดลูมีฐานทัพใหญ่อยู่ในประเทศไทย โดยปรากฏครั้งแรกในเกมสตรีทไฟท์เตอร์ภาค 2 โดยมีหัวหน้าใหญ่คือ เวก้า ซึ่งได้ทำการจัดการต่อสู้ขึ้น เพื่อเรียกให้นักสู้จากทั่วโลกมาเจอกัน โดยสมาชิกในองค์กรหลักได้แก่ เอ็ม.ไบสัน, บัลร็อก และ สกัด ซึ่งแต่ละคนได้เข้ามาต่อสู้เป็นหัวหน้าด้วยเงื่อนไขที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ ไกล์, แนช และ ชุนลี ได้ร่วมเข้าสู่การแข่งขันเพื่อจุดประสงค์เพื่อทำล้ายล้างเวก้าและองค์กรชาโดลู.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและชาโดลู · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2430

ทธศักราช 2430 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและพ.ศ. 2430 · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมใหญ่เอสเปรันโตสากล

งเอสเปรันโต การประชุมเอสเปรันโตโลก (World Congress of Esperanto; Universala Kongreso de Esperanto) เป็นการร่วมประชุมภาษาเอสเปรันโตในระดับนานาชาติอันหนึ่งที่มีประวัติยาวนาน โดยจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2448 (ค.ศ. 1905) ที่เมืองบูลอน ซู แมร์ ในประเทศฝรั่งเศส โดยมีการจัดต่อเนื่องทุกปียกเว้นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 และ สงครามโลกครั้งที่ 2 การประชุมจัดขึ้นทั่วโลกและเปลี่ยนสถานที่จัดทุกปี ในประมาณช่วงปลายเดือนกรกฎาคม หรือเดือนสิงหาคม โดยในปี..

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและการประชุมใหญ่เอสเปรันโตสากล · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล แปลภาษา

กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและกูเกิล แปลภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ

international auxiliary language (มักย่อในภาษาอังกฤษเป็น IAL หรือ auxlang หรืออาจเรียกว่า interlanguage) คือภาษาที่ช่วยในการสื่อสารระหว่างคนจากหลากหลายประเทศ ที่ไม่ได้ใช่ภาษาแม่ร่วมกัน โดยมีหลายภาษาที่ถือว่าเข้าข่าย ในอดีตเช่น ภาษากรีก ภาษาละติน และในปัจจุบันเช่น ภาษาจีนมาตรฐาน ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาสเปน ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ เป็นต้น แต่เนื่องจากภาษาเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการเอาชนะทางวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจของประเทศเจ้าของภาษา บางคนจึงต้องการให้มีภาษาประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษเป็นทางออกของปัญหานี้ โดยภาษาประดิษฐ์ที่มักถูกกล่าวถึงคือ ภาษาเอสเปรันโต ภาษาอินเทอร์ลิงกวา และภาษาอิดอ.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิดอ

ษาอิดอ (Ido) เป็นภาษาประดิษฐ์ สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นภาษาสากลในการช่วยสื่อสารระหว่างผู้คนเชื้อชาติต่าง ๆ โดยได้สร้างให้มีรูปแบบไวยากรณ์ที่ง่ายและเป็นไปตามกฎโดยไม่มีข้อยกเว้น ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่น ๆ และไม่ให้คล้ายกับภาษาธรรมชาติภาษาใดมากเกินไปเพื่อไม่ให้เกิดความได้เปรียบในการเรียนรู้ภาษาอิดอ ภาษาอิดอได้เริ่มมีการพัฒนาในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 ดัดแปลงมาจากภาษาเอสเปรันโต โดยมีการปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ ของภาษาเอสเปรันโตให้ดีขึ้น และได้นำออกมาใช้งานใน พ.ศ. 2450 โดยองค์การภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ และได้รับการสนับสนุนจากผู้พูดภาษาเอสเปรันโตราว 20% ภาษาอิดอใช้อักษรละติน 26 ตัวเช่นเดียวกับภาษาอังกฤษ ให้สังเกตว่าตัวอักษร q จะต้องตามหลังด้วยตัวอักษร u เสมอ.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและภาษาอิดอ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาประดิษฐ์

ภาษาประดิษฐ์ (constructed language หรือ conlang) คือ ภาษาที่ไวยากรณ์ คำศัพท์ การออกเสียง ถูกสร้างขึ้นโดยบุคคลหรือกลุ่มคน จะแตกต่างจากภาษาธรรมชาติหรือภาษาทั่วไปที่เกิดจากวัฒนธรรมของมนุษย์ ภาษาประดิษฐ์ถูกสร้างขึ้นจากหลายสาเหตุ โดยอาจจะใช้งานสำหรับภาษาช่วยในสื่อสารระหว่างผู้คนจากหลายเชื้อชาติ เช่น ภาษาเอสเปรันโต ภาษาอิดอ หรือ ภาษาอินเตอร์ลิงกวา หรืออาจจะใช้ในวรรณกรรมเพื่อสร้างความสมจริงให้วรรณกรรมนั้น เช่น ภาษาพาร์เซล ในวรรณกรรม แฮร์รี่ พอตเตอร์, ภาษาซินดารินและภาษาเควนยา ในวรรณกรรมเรื่อง มิดเดิลเอิร์ธ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน หรือภาษานาเม็ก ในการ์ตูนดราก้อนบอล นอกจากคำศัพท์แล้ว ยังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์เพื่อนำมาใช้กับภาษานั้นๆด้วย.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและภาษาประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแกน

ภาษาแกน (อังกฤษ: pivot language) เป็นภาษาประดิษฐ์หรือภาษาธรรมชาติที่ใช้เป็นภาษาตัวกลางสำหรับการแปล การใช้ภาษาแกนช่วยลดความจำเป็นที่จะต้องมีผู้แปลสำหรับทุก ๆ คู่ภาษา ข้อด้อยของภาษาแกนก็คือ ในแต่ละขั้นของการแปลซ้ำนั้น อาจทำให้เกิดข้อผิดพลาดและความกำกวมใหม่ ๆ ภาษาอังกฤษ, ฝรั่งเศส, รัสเซีย, และอาหรับ มักจะถูกใช้เป็นภาษาแกน ยูเอ็นแอลเป็นภาษาประดิษฐ์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นภาษาแกนโดยเฉพาะ ภาษาเอสเปรันโตถูกใช้เป็นภาษาแกนในโครงการ Distributed Language Translation และใน หมวดหมู่:ภาษา หมวดหมู่:การแปล.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและภาษาแกน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโวลาปุก

ษาโวลาปุก (Volapük) เป็นภาษาประดิษฐ์ คิดค้นโดย โจฮานน์ มาร์ติน เชลเยอร์ ในปี พ.ศ. 2422 – 2423 โดยนำคำศัพท์บางส่วนมาจากภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน และภาษาฝรั่งเศส โดยเชลเยอร์ได้ฝันไปว่าเทพเจ้าสั่งให้เขาสร้างภาษาประดิษฐ์สากล ถึงแม้ว่าในปี..

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและภาษาโวลาปุก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโทคิโพนา

ษาโทคิโพนา เป็นภาษาประดิษฐ์ สร้างขึ้นในกลางปี พ.ศ. 2544 โดย ซอนญา ลาง (ชื่อเดิม ซอนญา เอเลน คีซา) นักแปลและนักภาษาศาสตร์ชาวแคน.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและภาษาโทคิโพนา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอสเปรันโต

ษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ (L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ (ในช่วงที่รัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ เอสเปรันโต มาจากนามปากกา ดร.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและภาษาเอสเปรันโต · ดูเพิ่มเติม »

มิโนะรุ ชิโระตะ

มิโนรุ ชิโรตะ (23 เมษายน ค.ศ. 1899 - 10 มีนาคม ค.ศ. 1982) นายแพทย์ และนักธุรกิจ ผู้คิดค้นและก่อตั้งบริษัทเครื่องดื่ม ยาคูลท.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและมิโนะรุ ชิโระตะ · ดูเพิ่มเติม »

ยาคูลท์

ูลท์ ที่วางขายในประเทศไทย ยาคูลท์ (โรมัน: Yakult) เป็นเครื่องดื่มอย่างนมโปรไบโอติกส์ เกิดจากกระบวนการหมักของนมพร่องมันเนยกับน้ำตาลและแบคทีเรียแลคโตบาซิลลัส (Lactobacillus casei Shirota) ซึ่งเป็นแบคทีเรียที่พบในระบบดูดซึมอาหารของมนุษย์ ซึ่งส่งผลช่วยให้ระบบในร่างกายของมนุษย์ทำงานได้ดีขึ้น ชื่อของยาคูลท์มาจากภาษาเอสเปรันโต คำว่า jahurto รูปเก่าของ jogurto ซึ่งหมายถึงโยเกิร์ต ยาคูลท์นั้น ศาสตราจารย์ชิโระตะ มิโนะรุ อาจารย์จากมหาวิทยาลัยเกียวโต คิดค้นขึ้นใน พ.ศ. 2473 และต่อมาใน พ.ศ. 2478 เขาได้ก่อตั้งบริษัทยาคูลท์ (Yakult Honsha Co., Ltd.) ในเมืองมินะโตะ จังหวัดโตเกียว ปัจจุบันได้มีการผลิตและจำหน่ายยาคูลท์ไปทั่วโลก ทีมเบสบอลโตเกียวยาคูลท์สวอลโลวส์ (Tokyo Yakult Swallows) ได้รับการตั้งชื่อตามบริษัทยาคูลท์ภายหลังที่บริษัทยาคูลท์ได้ซื้อทีมในปี พ.ศ. 2513 พ.ศ. 2514 ยาคูลท์ เริ่มวางจำหน่ายในประเทศไท.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและยาคูลท์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

วันทาพระราชินี

“วันทาพระราชินี” (Hail Holy Queen, Salve Regina) เป็นบทภาวนาอ้อนวอนถึงพระนางมารีย์พรหมจารี พระมารดาของพระเยซู สามารถใช้ได้ตั้งแต่ตั้งแต่ช่วงทำวัตรเย็นของวันสมโภชพระตรีเอกภาพจนถึงทำวัตรบ่ายของวันเสาร์ก่อนวันอาทิตย์สัปดาห์แรกของเทศกาลเตรียมรับเสด็จ (en:Advent) และยังเป็นบทภาวนาที่ใช้สวดปิดการสวดสายประคำอีกด้วย บุญราศีแฮร์มันน์แห่งไรเชเนา นักพรตคณะเบเนดิกตินท่านหนึ่งในสมัยกลางได้แต่งบทภาวนานี้ขึ้นเพื่อขอความช่วยเหลือจากพระนางในช่วงวิกฤตของชีวิต บทภาวนา วันทาพระราชินี ในตอนแรกได้ถูกประพันธ์เป็นภาษาละตินเพื่อบรรยายสภาพมนุษย์ที่ต้องการความช่วยเหลือ มนุษย์ทั้งชายและหญิงกำลัง “ถอนใจคร่ำครวญ ร่ำไห้ในเหวน้ำตานี้” เขาทั้งหลายจึงร้องตะโกนเช่นเดียวกับประชากรอิสราเอล ร้องหาพระยาห์เวห์เมื่อถูกชาวอียิปต์กดขี่ข่มเหง และพระองค์ทรงตอบสนอง โดยเสด็จมาช่วยเขาให้พ้นความทุกข์ทรมาน (เทียบ อพย3:7-8) หลังจากที่ได้บรรยายสภาพมนุษย์ผู้ต้องการความช่วยเหลือแล้ว บท “วันทาพระราชินี” ไม่วอนขอพระแม่ให้ทรงฟังเสียงร้องแสดงความทุกข์ทรมานของ “ผู้เป็นลูกหลานที่ถูกเนรเทศของเอวา” แต่วอนขอว่า “โปรดเถิดพระแม่ผู้ทรงช่วยเหลือเกื้อกูลลูก โปรดทอดพระเนตร..

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและวันทาพระราชินี · ดูเพิ่มเติม »

วันซาเมนฮอฟ

210x210px วันซาเมนฮอฟ (Zamenhofa Tago) (วันที่ 15 ธันวาคม) ตรงกับวันกิดของ ล. ล. ซาเมนฮอฟ (1859-1917) ผู้ประดิษฐ์ภาษาเอสเปอรันโต ซึ่งเป็นวันเฉลิงฉลองที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในวัฒนธรรมของผู้ใช้ภาษาเอสเปรันโต ในวันนี้(หรือวันอื่นในอาทิตย์เดียวกัน)  ผู้พูดภาษาเอสเปรันโตทั่วโลกจะจัดงานเฉลิงฉลองพิเศษ แนวคิดของภาษาเอสเปรันโตกับความใกล้เคียงของวันซาเมนฮอฟกับวันคริสต์มาสทำให้ผู้คนที่มาร่วมงานมักมามอบของขวัญให้กันและกัน (โดยส่วนใหญ่จะเป็นหนังสือในภาษาเอสเปรันโต) และคำอวยพร ในการงานมักจะมีการบรรยายเกี่ยวกับ ล. ล. ซาเมนฮฟ Esperanta Civito ได้บันทึกวันซาเมนฮอฟไว้ในธรรมนูญไว้เป็นดังวันในวัฒนธรรมของภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและวันซาเมนฮอฟ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาเอสเปรันโต

วิกิพีเดียภาษาเอสเปรันโต (Vikipedio en Esperanto) เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาเอสเปรันโต เริ่มสร้างเมื่อธันวาคม พ.ศ. 2544 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาเอสเปรันโตมีบทความมากกว่า 92,000 บทความ (ธันวาคม 2550).

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและวิกิพีเดียภาษาเอสเปรันโต · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโรสไอส์แลนด์

ประเทศโรสไอส์แลนด์ มีลักษณะเป็นแท่นเล็กๆ ในทะเล สาธารณรัฐโรสไอส์แลนด์ (อังกฤษ: Republic of Rose Island, เอสเปรันโต: Respubliko de la Insulo de la Rozoj) เป็นประเทศจำลอง ตั้งอยู่ในทะเลตอนตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอิตาลี ห่างจากชายฝั่งไปประมาณ 10 กิโลเมตร โดยในสถานะของประเทศถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอิตาลี ในปี พ.ศ. 2510 วิศวกรชาวอิตาลีชื่อ จิออร์จิโอ โรซา (Giorgio Rosa) ได้ก่อสร้างแท่นขนาด 400 ตร.ม. กลางทะเล และมีการสร้างร้านอาหาร บาร์ ร้านขายของ และไปรษณีย์ โดยแท่นจำลองนี้ได้ประกาศตัวเป็นประเทศเอกราช ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2511 ภายใต้ชื่อในภาษาเอสเปรันโตว่า "Insulo de la Rozoj" โดย จิออร์จิโอ โรซา ได้ตั้งตัวเองเป็นประธานาธิบดีของประเทศ และได้มีการผลิตแสตมป์จำนวนมาก โดยในแสตมป์แสดงถึงที่ตั้งของประเทศ และวางแผนจะผลิตเงินในสกุลเงิน เรียกว่า "มิลล์" (Mill) ถึงแม้ว่าจุดมุ่งหมายของโรซาไม่ได้มีการกล่าวไว้อย่างชัดเจน ทางรัฐบาลอิตาลีได้มองการกระทำว่าเป็นสถานที่สำหรับเลี่ยงภาษี ที่โรซาสร้างขึ้นเพื่อหลบหนีจากประเทศอิตาลี ทางรัฐบาลได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้ามาควบคุมการบริหารประเทศของสาธารณรัฐโรสไอส์แลนด์ และต่อมาทหารเรือของอิตาลีได้ระเบิดและถล่มสิ่งก่อสร้างทั้งหม.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและสาธารณรัฐโรสไอส์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลอันยาง

มสรฟุตบอลอันยาง (ฮันกุล: 안양시민프로축구단) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพเกาหลีใต้ ตั้งอยู่ที่เมืองอันยาง ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและสโมสรฟุตบอลอันยาง · ดูเพิ่มเติม »

คำศัพท์ที่พบบ่อยที่สุดในภาษาเอสเปรันโต

ต่อไปนี้เป็นตาราง คำศัพท์ที่พบบ่อยมากที่สุดในภาษาเอสเปรันโต 200 คำ.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและคำศัพท์ที่พบบ่อยที่สุดในภาษาเอสเปรันโต · ดูเพิ่มเติม »

แบร์ตอล็อน ฟอร์ก็อช

แบร์ตอล็อน ฟอร์ก็อช (Bertalan Farkas) เป็นเจ้าหน้าที่กองทัพอากาศฮังการีและเป็นชาวฮังการีคนแรกและเป็นผู้ใช้ภาษาเอสเปรันโตคนแรก ที่ได้ขึ้นสู่อวกาศจากภารกิจโซยุซ 36 ในโครงการอินเตอร์คอสมอ.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและแบร์ตอล็อน ฟอร์ก็อช · ดูเพิ่มเติม »

แอล. แอล. ซาเมนฮอฟ

แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ, 2451 แอล.แอล.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและแอล. แอล. ซาเมนฮอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี แฮร์ริสัน

แฮร์รี ที่ 63rd World Science Fiction Convention ที่กลาสโกว์ สิงหาคม พ.ศ. 2548 แฮร์รี แมกซ์เวลล์ แฮร์ริสัน (Harry Maxwell Harrison; เกิด 12 มีนาคม พ.ศ. 2468 (ค.ศ. 1925) ณ เมืองสแตมฟอร์ด รัฐคอนเนตทิคัต — เสียชีวิต 15 สิงหาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักเขียนจินตนิยายชาวอเมริกัน เคยอาศัยอยู่หลายที่ในโลก รวมถึงเม็กซิโก อังกฤษ เดนมาร์ก และอิตาลี ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่กรุงดับลิน สาธารณรัฐไอร์แลนด์ เขาเป็นที่รู้จักจากตัวละคร Stainless Steel Rat และนิยาย Make Room! Make Room! (ค.ศ. 1966) ซึ่งเป็นพื้นฐานของภาพยนตร์เรื่อง Soylent Green (ค.ศ. 1973) แฮร์รีเคยเป็นประธานสมาคมภาษาเอสเปรันโตของไอร์แลนด์ หมวดหมู่:นักเขียนบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ หมวดหมู่:นักเขียนชาวอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐคอนเนตทิคัต หมวดหมู่:บุคคลจากดับลิน.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและแฮร์รี แฮร์ริสัน · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง

ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง (voiceless velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาเยอรมัน, ภาษาสเปน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษารัสเซีย, ภาษาจีนกลาง ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /x/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ x เสียงนี้เป็นเสียงหนึ่งในบรรดาเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษเก่า และยังคงปรากฏในบางภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษปัจจุบัน หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่างประเทศของราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดให้เขียนทับศัพท์เสียง /x/ ในทุกภาษา (เท่าที่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้) ด้วย ค ยกเว้นภาษาอังกฤษให้ใช้ ก เมื่อเป็นตัวสะกด ส่วนภาษาจีนและภาษารัสเซียให้ใช้ ฮ อย่างไรก็ตาม ในการทับศัพท์ภาษารัสเซียนั้น ปัจจุบันนิยมใช้ ค แทนเสียงนี้ แม้แต่ในสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่มาจากราชบัณฑิตยสถานเอง ส่วนภาษาสเปน (ซึ่งพบเสียงนี้เป็นตัวสะกดท้ายพยางค์ไม่บ่อยนัก) บางคนนิยมทับศัพท์เสียงนี้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เอสเปรันติโด

เอสเปรันติโดคือภาษาประดิษฐ์ใดๆ ที่ได้รับอิทธิพลหรือแรงบันดาลใจจากภาษาเอสเปรันโต คำว่าเอสเปรันติโดมาจากคำว่าเอสเปรันโต Esperanto เติมปัจจัย -id ที่แปลว่าลูก ดังนั้น Esperantido มีความหมายตรงตัวว่า "ลูกของเอสเปรันโต" จุดประสงค์ของเอสเปรันติโดบ้างเพื่อพัฒนาและแก้ไขข้อบกพร่องของภาษาเอสเปรันโต บ้างเพื่อใช้ในวรรณกรรมภาษาเอสเปรันโต อย่างไรก็ตาม เอสเปรันติโดที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมีเพียงแค่ภาษาอิดอเท่านั้น หมวดหมู่:ภาษาประดิษฐ์.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและเอสเปรันติโด · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายเสริมสัทอักษร

รื่องหมายเสริมสัทอักษร เป็นเครื่องหมายที่ใช้กำกับอักษรโรมัน ซึ่งมีอยู่ในแป้นพิมพ์ ซึ่งได้แก่ เกรฟ และดับเบิลเกรฟ.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและเครื่องหมายเสริมสัทอักษร · ดูเพิ่มเติม »

Ĝ

ตัวอักษร Ĝ (ตัวเล็ก: ĝ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน G ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์ Ĝ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและĜ · ดูเพิ่มเติม »

Ŝ

ตัวอักษร Ŝ (ตัวเล็ก: ŝ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน S ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงโดยสัญลักษณ์  Ŝ เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต หมวดหมู่:ภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและŜ · ดูเพิ่มเติม »

Ĉ

ตัวอักษร Ĉ (ตัวเล็ก: ĉ) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน C ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลเสียงนี้แสดงโดยสัญลักษณ์ Ĉ เป็นอักษรที่ใช้ในภาษาเอสเปรันโต.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและĈ · ดูเพิ่มเติม »

Ă

ตัวอักษร Ă (ตัวเล็ก: ă) เป็นตัวอักษรที่ใช้ภาษาโรมาเนียและภาษาเวียดนามโดยเฉพาะอักษรดังกล่าวก็คืออักษร A ที่มีบรีฟอยู่ด้านบน รูปร่างของหูถ้วยกาแฟได้นำไปใช้ สำหรับผู้ที่ต้องการใส่วรรณยุกต์ของภาษาเวียดนาม.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและĂ · ดูเพิ่มเติม »

Dzs (สัทศาสตร์)

ตัวอักษร Dzs (ตัวเล็ก: dzs) เป็นรูปแบบสามของอักษรละติน D Z S ที่มี Dzs Dzs เป็นตัวอักษรที่ใช้ในภาษาฮังการีและจะออกเสียงเป็น ในสัทอักษรสากล.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและDzs (สัทศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

EO

EO หรือ eo สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและEO · ดูเพิ่มเติม »

ISO 639-2

ISO 639-2 เป็นส่วนที่สองของมาตรฐาน ISO 639 ที่จะใช้รหัสตัวอักษรภาษาอังกฤษแทนภาษาต่างๆ ซึ่งมาตรฐานชุดนี้ประกอบด้วย กลุ่มของตัวอักษร 3 ตัว แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกใช้แทนชื่อของภาษาที่ใช้ใน งานบรรณาณุกรม (bibliographic applications) และกลุ่มที่สองใช้ใน งานที่ต้องเกี่ยวกับบัญญัติศัพท์ (terminology applications) รหัสที่ใช้แทนภาษาของทั้งสองกลุ่มเหมือนกันยกเว้นเพียง 23 ภาษา จากภาษาทั้งหมดมากกว่า 450 ภาษา ทั้งนี้เนื่องจากเงื่อนไขในการสร้างรหัสนั้น การใช้รหัสแทนภาษามาตรฐานนี้เริ่มต้นมาจากการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด การให้บริการข้อมูลต่างๆ ตลอดจนงานพิมพ์ ที่ต้องใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล รหัสเหล่านี้ได้มีการใช้แพร่หลายในกลุ่มงานห้องสมุด และต่อมาได้มีการปรับนำมาใช้โดยกลุ่มของนักภาษาศาสตร์ และในกลุ่มงานที่ต้องการคำนิยามเฉพาะ ซึ่งมาตรฐานส่วนนี้ได้มีการพัฒนาขึ้นโดยมีพื้นฐานจากความต้องการใช้ภาษานั้นๆที่มีการใช้อย่างแพร่หลายอยู่ทั่วโลก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ไม่รวมถึงโปรแกรมภาษาလိၵ်ႈတၢႆးလိၵ်ႈထ.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและISO 639-2 · ดูเพิ่มเติม »

ISO 639-3

มาตรฐาน ISO 639-3 เป็นมาตรฐานกำหนดรหัสของภาษามนุษย์ทั้งหมดเท่าที่ทราบว่ามี โดยใช้ตัวอักษรละตินสามตัวเป็นรหัสแทนแต่ละภาษา ภาษาที่รวมใน ISO 639-3 นี้ รวมถึงภาษาที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน ภาษาโบราณ ภาษาที่ไม่มีการใช้แล้ว ตลอดทั้งภาษาที่ประดิษฐ์ขึ้น รวมถึงภาษาหลักและภาษารอง ทั้งที่มีตัวอักษรเขียนและที่ไม่มี.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและISO 639-3 · ดูเพิ่มเติม »

Lernu! (เลรนู!)

Lernu! เป็นชื่อเว็บไซต์สำหรับการเรียนภาษาเอสเปรันโต เป็นเว็บไซต์จะมีการรับรองหลายภาษา การสอนในเว็บไซต์จะแบ่งออกเป็นหลายระดับชั้นตั้งแต่ง่ายจนถึงยาก โดยเนื้อหาจะประกอบไปด้วย คำศัพท์ ไวยากรณ์ และสำหรับผู้ที่เริ่มเรียนสามารถเรียกดูคำแปลได้ทันทีภายในเว็บ เว็บไซต์เปิดใช้ครั้งแรกเมื่อ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2545 นอกจากนี้ในเว็บยังมีข้อมูลเกี่ยวกับ เพลง เกม เว็บบอร์ด ข้อมูลการสัมมนา และข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษาเอสเปรันโต คำว่า lernu เป็นภาษาเอสเปรันโต มีความหมายว่า "โปรดเรียน" (มาจากรากคำ Lern' บวกกับตัวลงท้าย -u ซึ่งเป็นตัวลงท้ายของกริยาแสดงการขอร้องหรือการสั่ง).

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและLernu! (เลรนู!) · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ภาษาเอสเปรันโตและ26 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Esperantoภาษาเอสปรานโตภาษาเอสเปอรันโตภาษาเอสเปอแรนโตภาษาเอสเปอเรนโตเอสเปรันโตเอสเปอรันโตเอสเปอแรนโตเอสเปอเรนโต

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »