สารบัญ
590 ความสัมพันธ์: AAGROVOCบรูซ วิลลิสชวาเนนเกซังชอกเวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)ชาวชวาชาวสวิสชาวออสเตรียชาวเบลเยียมชิลเพริคที่ 1ชื่อวันของสัปดาห์ชีวเคมีบีเวอร์บีเอ็มดับเบิลยูชนอลามันน์ชแชตชินบ็อคเบียร์ฟรานซ์ คาฟคาฟรีดริช นีทเชอฟรีเซียนฟลัวร์ฟุตบอลโลก 2006ฟุเรินฟ็อยค์เมเยอร์พฟัลซ์-ซไวบรึคเคินพยางค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรีพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์พันเซอร์พันเซอร์แกรนาเดียร์พิสุทธินิยมทางภาษาพีรชยา พิณเมืองงามพี่น้องตระกูลกริมม์พ็อลเทอร์ไกสท์กฎชัทแธมเฮ้าส์กรดแมนดีลิกกลุ่มภาษาสลาวิกกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกกลุ่มอาการมือแปลกปลอมกล้วยนากกวอกูแวกกวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์กองทัพประชาชนแห่งชาติกันดั้มวิงกันดั้มโธรนการกอดการล้อมเซวัสโตปอล (ค.ศ. 1941–1942)การผันคำ... ขยายดัชนี (540 มากกว่า) »
A
A (ตัวใหญ่: A, ตัวเล็ก: a) คืออักษรและสระตัวแรกในอักษรละติน มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า เอ ในขณะที่หลายภาษาเช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี เรียกตามชื่อเดิมของอักษรนี้คือ อา รูปพหูพจน์เขียนเป็น A's, As, as, หรือ a's อักษร A มีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณโดยมีหลักฐานในอักษรภาพไฮโรกลิฟฟิก และมีการหยิบยืมไปใช้โดยวัฒนธรรมอื่นจนกระทั่งปัจจุบัน โดยยังคงไว้ซึ่งจุดเด่นนั่นคือ A เป็นตัวอักษรแรกของชุดตัวอักษรในภาษาเสมอ ใช้แทนเสียงสระ อา เอ หรือ แอ ที่ประกอบกับเสียงพยัญชนะ หรือใช้แทนเสียงสระอย่างเดียวก็ได้ นอกจากนั้นอักษร A ก็มีการเติมเครื่องหมายและถูกดัดแปลงไปหลายรูปแบบเพื่อการนำไปใช้เป็นอักขรวิธีในภาษาหนึ่ง.
AGROVOC
AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1980 โดยเป็นอรรถาภิธานศัพท์พหุภาษาแบบมีโครงสร้าง ในด้านการเกษตร วนศาสตร์ การประมง อาหาร โภชนาการ และสาขาที่เกี่ยวข้อง (เช่น สิ่งแวดล้อม) อรรถาภิธานนี้เป็นคำศัพท์มาตรฐานที่กำหนดคำดรรชนีให้ถูกต้องตรงกัน ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และยังช่วยขยายผลการสืบค้นสารสนเทศให้มีความครอบคลุมและกว้างขวางยิ่งขึ้น ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา AGROVOC เป็นเครื่องมือที่ให้องค์กรต่างๆ ใส่องค์ความรู้ และพัฒนาออนโทโลยี เพื่อให้มีความสามารถในการสืบค้นได้ แต่ในปัจจุบัน AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็นแม่ข่ายทางมโนทัศน์ (Concept Server) ซึ่งเปรียบเสมือนอรรถาภิธานคำศัพท์ (Term-based hesaurus) AGROVOC ได้ถูกใช้งานโดยกลุ่มคนทั่วโลก เช่นนักวิจัย บรรณารักษ์ ผู้จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และบุคคลอื่นๆ เพื่อใช้ในการทำดรรชนี การค้นคืน และการจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันในด้านสารสนเทศทางการเกษตร สิ่งสำคัญก็คือการทำให้การอธิบายเชิงความหมายมีมาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อทำให้ระบบต่างๆ สามารถทำงานประสานกันได้ และเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลให้กว้างขึ้น อรรถาภิธานศัพท์เกษตร AGROVOC ประกอบด้วยคำศัพท์ใน 6 ภาษาหลัก คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ภาษาอาหรับ ภาษาจีน ภาษารัสเซีย และได้ถูกแปลเป็นภาษาอื่น ๆ อีก ได้แก่ ภาษาเช็ก ภาษาเปอร์เซีย ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาฮังการี ภาษาอิตาลี ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษาลาว ภาษาโปแลนด์ ภาษาโปรตุเกส ภาษาสโลวัก และภาษาไทย สำหรับคำศัพท์ในภาษามลายู ภาษามอลโดวา ภาษาเตลูกู ภาษาตุรกี และภาษายูเครน อยู่ในระหว่างดำเนินการ.
บรูซ วิลลิส
วอลเตอร์ บรูซ วิลลิส (Walter Bruce Willis, เกิด 19 มีนาคม ค.ศ. 1955) เป็นนักแสดงอเมริกัน เกิดที่ฐานทัพทหารในเมืองไอดาร์-โอเบอร์สไตน์ ประเทศเยอรมนี โตที่เมืองเพนส์ โกรฟ รัฐนิวเจอร์ซีย์และย้ายมาอยู่ที่มหานครนิวยอร์กเพื่อเริ่มอาชีพนักแสดง เริ่มมีชื่อเสียงโด่งดังจากละครโทรทัศน์แนวโรแมนติกเรื่องมูนไลท์ติ้ง อันโด่งดัง (ค.ศ.
ชวาเนนเกซัง
วาเนนเกซัง (Schwanengesang, D 957) เป็นชื่อรวมผลงานของฟรันซ์ ชูแบร์ท (1797 - 1828) คีตกวีชาวออสเตรีย ที่ตีพิมพ์หลังการเสียชีวิตของชูแบร์ท ประกอบด้วยงานดนตรี 13 ชิ้นสำหรับประกอบโคลงของกวีสามคน คือ ลุดวิจ เรลสแตป (1799–1860), ไฮน์ริก ไฮน์ (1797–1856) และโยฮันน์ กาเบรียล ซีเดิล (1804-1875) รวมกับผลงานชื่อ Taubenpost ที่ว่ากันว่าเป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของชูแบร์ทก่อนจะเสียชีวิต รวมผลงานชิ้นนี้ได้ชื่อว่า "ชวาเนนเกซัง" เป็นภาษาเยอรมันมีความหมายว่า "งานชิ้นสุดท้าย (ก่อนตาย)" ตั้งชื่อโดยโทเบียส ฮาสลิงเจอร์ ผู้จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 เมื่อ ค.ศ.
ชอกเวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)
อกเวฟ (Shockwave) เป็นชื่อตัวละครหุ่นยนต์ฝ่ายเดสทรอน หรือ ดีเซปติคอนส์ จากการ์ตูนชุดเรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส (Transformers).
ดู ภาษาเยอรมันและชอกเวฟ (ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส)
ชาวชวา
วา เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย มีถิ่นฐานอยู่ทางตอนกลางและทางตะวันออกของเกาะชว.
ชาวสวิส
วสวิส (die Schweizer, les Suisses, gli Svizzeri, ils Svizzers, Swiss) คือประชาชนที่เกิดในประเทศสวิตเซอร์แลน.
ชาวออสเตรีย
วออสเตรีย (Österreicher) เป็นกลุ่มคนเผ่าพันธุ์เจอรมานิก ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศออสเตรี.
ชาวเบลเยียม
วเบลเยียม (Belgen, Belges, Belgier) คือประชาชนที่เกิดในประเทศเบลเยียม.
ชิลเพริคที่ 1
ลเปริคที่ 1 ภาษาอังกฤษ Chilperic I (ค.ศ.539 - กันยายน ค.ศ.584) เป็นกษัตริย์แห่งนูสเตรีย (หรือซอยส์ซงส์) ตั้งแต..561 จนสิ้นพระชนม์ พระองค์เป็นหนึ่งในพระโอรสของกษัตริย์แฟรงก์ โคลทาร์ที่ 1 กับพระราชินี อาเรกุน.
ดู ภาษาเยอรมันและชิลเพริคที่ 1
ชื่อวันของสัปดาห์
วันในสัปดาห์ ถูกตั้งชื่อตามวัตถุบนท้องฟ้าที่สำคัญ ได้แก่ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร ดาวพุธ ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ และ ดาวเสาร์ ซึ่งเป็นวัตถุบนท้องฟ้าที่สามารถมองเห็นได้ตั้งแต่ในสมัยโบราณ ตั้งแต่มนุษย์เริ่มสนใจในเรื่องของฟากฟ้าแล้ว วันเสาร์และวันอาทิตย์ถูกเรียกกันโดยทั่วไปว่าเป็นวันหยุดประจำสัปดาห์ วันแห่งการพักผ่อนหรือนันทนาการในประเทศตะวันตก ส่วนวันศุกร์และวันเสาร์ เป็นวันแห่งการพักผ่อนในประเทศมุสลิมบางประเทศ ในอิสราเอล ถือว่าวันเสาร์และวันศุกร์หรือวันอาทิตย์เป็นวันพักผ่อนของสัปดาห์ตามโอกาส แต่ในบางประเทศ เช่น อิหร่าน มีวันหยุดของสัปดาห์เพียงแค่หนึ่งวัน คือ วันศุกร์เท่านั้น และสัปดาห์ใหม่จะเริ่มขึ้นในวันเสาร์ ประเทศมุสลิมอื่น ๆ มักจะมีวันหยุดเป็นวันพฤหัสบดีและวันศุกร์ วันอาทิตย์เป็นวันแรกของสัปดาห์ตามวิชาโหราศาสตร์ ในศาสนายูดาย และใน Ecclesiastical Latin รวมไปถึงในสหรัฐอเมริกา และในบางประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ รวมไปถึง ประเทศไทย ด้วย ส่วนประเทศจำนวนมากในยุโรป อเมริกาใต้ และบางส่วนของเอเชีย ถือว่าวันจันทร์เป็นวันแรกของสัปดาห์ ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างนานาชาติมาตรฐานสำหรับการใช้วันและเวลา ISO 8601 ซึ่งกำหนดให้วันจันทร์เป็นวันแรกของสัปดาห์ และวันอาทิตย์เป็นวันสุดท้ายของสัปดาห.
ดู ภาษาเยอรมันและชื่อวันของสัปดาห์
ชีวเคมี
ชีวเคมี (biochemistry) หรือเรียกว่า เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เป็นวิชาที่ศึกษากระบวนการเคมีในสิ่งมีชีวิต ตลอดจนการควบคุมในระดับต่าง ๆ อย่างเช่นที่เกี่ยวกับการแปรรูปสารอาหารไปเป็นพลังงาน, การสร้างและเปลี่ยนแปลงสารชีวโมเลกุลภายในเซลล์ที่เรียกว่า กระบวนการ เมแทบอลิซึม การทำงานของเอนไซม์และโคเอนไซม์, ระบบของพลังงานในสิ่งมีชีวิต, การสลายและการสังเคราะห์สารชีวโมเลกุลต่าง ๆ ชื่อนี้มาจากภาษาเยอรมันว่า บิโอเคมี (Biochemie) ซึ่งแรกตั้งโดย ฮอปเปอ-ซีเลอร์ (Hoppe-Sieler) ในปี พ.ศ.
บีเวอร์
รงกระดูกของบีเวอร์ บีเวอร์ (beaver) เป็นสัตว์กินพืชเลี้ยงลูกด้วยนมจัดเป็นสัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่งเช่นเดียวกับหนูยักษ์ พวกมันมีอยู่ด้วยกันสองสายพันธุ์คือ พันธุ์ยูเรเชียน (Eurasian beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Castor fiber) กับพันธุ์อเมริกาเหนือ (North American beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์ก็คือ Castor Canadensis) ถึงแม้จะมีขนาดและรูปร่างหน้าตาที่คล้ายคลึงกัน แต่ทั้งสองสายพันธุ์แยกขาดจากกันตั้งแต่เมื่อ 24,000 ปีที่แล้ว พวกมันจึงไม่สามารถผสมพันธุ์กันเองได้อีก บีเวอร์มีขนาดตัวที่ใหญ่ตัวโตเต็มวัยจะมีขนาดใหญ่พอ ๆ กับเด็กอายุ 8 ขวบ ตัวผู้สามารถมีน้ำหนักได้มากกว่า 25 กิโลกรัมส่วนตัวเมียอาจมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ในช่วงอายุเท่ากัน นอกจากนี้บีเวอร์มีอายุยืนยาวได้ถึง 24 ปี พวกมันยังมีอีกสายพันธุ์หนึ่งในอดีตคือสายพันธุ์บีเวอร์ยักษ์ (Giant beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Castor ohioensis) ที่สูญพันธุ์ไปเมื่อประมาณ 10,000 ปีก่อน พวกมันส่วนมากอาศัยอยู่ในบริเวณซีกโลกเหนือมีจำนวนประชากรในแถบอเมริกาเหนือมากกว่า 60 ล้านตัว แต่เมื่อปี..
บีเอ็มดับเบิลยู
ตราสัญลักษณ์ สำนักงานใหญ่บีเอ็มดับเบิลยู เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี บีเอ็มดับเบิลยู (BMW ย่อจาก ภาษาเยอรมัน: Bayerische Motoren Werke; Bavarian Motor Works) เป็นบริษัทผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์ของเยอรมนี ตั้งอยู่ที่เมืองมิวนิก ก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและบีเอ็มดับเบิลยู
ชนอลามันน์
ริเวณที่ตั้งถิ่นฐานของอลามันน์และสมรภูมิของสงครามโรมัน-อลามันน์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 6 ชนอลามันน์ (Alamanni) หรือ ชาวชวาเบิน (Swabians) เดิมเป็นกลุ่มสหพันธ์ของกลุ่มชนเจอร์แมนิกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำไมน์ในเยอรมนีปัจจุบัน หลักฐานแรกที่กล่าวถึงชนกลุ่มนี้มาจากบันทึกถึงชน "อลามันนิคุส" (ละติน: Alamannicus) ที่สรุปกันว่าเขียนโดยจักรพรรดิคาราคัลลาผู้ปกครองจักรวรรดิโรมันระหว่างปี..
ชแชตชิน
แชตชิน (Szczecin; เยอรมัน Stettin) เป็นเมืองหลักของจังหวัดปอมอแชซาคอดแญในประเทศโปแลนด์ เป็นเมืองท่าหลักในทะเลบอลติกของโปแลนด์และเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอำดับ 7 ของโปแลน.
บ็อคเบียร์
็อคเบียร์ (Bockbier) เป็นเบียร์จากประเทศเยอรมนีประเภทหมักนอนก้น ตั้งชื่อตามชื่อเมืองไอน์เบ็ค (Einbeck) ของเยอรมนีในยุคกลาง ที่มีชื่อเสียงทางด้านการหมักเบียร์ บ็อคเบียร์เป็นเบียร์ประเภทลาเกอร์ที่มีความเข้มข้นและสีเข้มจากการใช้มอลต์สีเข้ม ปกติจะหมักในฤดูหนาวเพื่อนำออกบริโภคในช่วงฤดูใบไม้ผลิ บ็อคเบียร์ยังแบ่งเป็นประเภทย่อย คือ ไมบ็อค (Maibock - ตามชื่อเดือนทีหมักคือเดือนพฤษภาคม), ไอส์บ็อค (Eisbock - บ็อคน้ำแข็ง), ไวท์เซินบ็อค (Weizenbock - บ็อคข้าวสาลี) และด็อพเพิลบ็อค (Doppelbock - บ็อคสองเท่า) ชื่อของเบียร์ประเภทด็อพเพิลบ็อคนี้ โดยปกติจะตั้งชื่อโดยมีส่วนท้ายชื่อ -ator เพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้ผลิตแรกคือ Paulaner Salvator ผู้ผลิตหลายแห่งจะใช้รูปแพะในบนตราเครื่องหมาย เนื่องมาจาก "บ็อค" ในภาษาเยอรมันหมายถึง แพะตัวผู้ และในสำเนียงท้องถิ่น Einbeck นั้นจะออกเสียงเหมือน "Einbock" ซึ่งจะเหมือน ein Bock หมายถึง แพะหนึ่งตัว บ็อคเบียร์เป็นพวกเฮฟวีเบียร์ (heavy beer) มีเปอร์เซ็นต์แอลกอฮอล์ค่อนข้างสูง เป็นเบียร์สีเข้มเกือบดำจากการใช้มอลต์สีเข้ม บ็อคเบียร์ให้พลังงานและสารอาหารมากกว่าเบียร์ลาเกอร์ทั่วไป.
ฟรานซ์ คาฟคา
ลายเซ็นของฟรานซ์ คาฟคา ฟรานซ์ คาฟคา (Franz Kafka) (3 กรกฎาคม ค.ศ. 1883 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1924) ฟรานซ์ คาฟคาเป็นนักเขียนชาวยิวคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาฟคาถือกำเนิดมาในครอบครัวที่พูดภาษาเยอรมัน ผู้มีฐานะปานกลางในกรุงปรากใน ราชอาณาจักรโบฮีเมีย ที่ขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันสาธารณรัฐเช็ก) ผลงานเขียนอันเป็นเอกลักษณ์ของคาฟคาที่ส่วนใหญ่เป็นงานที่เขียนค้างไว้ และส่วนใหญ่ตีพิมพ์หลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วถือว่าเป็นงานที่มีอิทธิต่องานวรรณกรรมตะวันตกมากที่สุดContijoch, Francesc Miralles (2000) "Franz Kafka".
ฟรีดริช นีทเชอ
ฟรีดริช วิลเฮล์ม นีทเชอ (Friedrich Wilhelm Nietzsche) (15 ตุลาคม ค.ศ. 1844 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1900) เป็นนักนิรุกติศาสตร์และนักปรัชญาชาวเยอรมัน นิยมเขียนการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับเรื่องศาสนา คุณธรรม วัฒนธรรมร่วมสมัย ปรัชญา และวิทยาศาสตร์ เป็นภาษาเยอรมันในแบบเฉพาะตัว เพื่อแสดงถึงคติพจน์ต่าง ๆ งานเขียนของนิชเชอที่โด่งดังคือ"Beyond Good And Evil" และ"คือพจนาซาราทุสตรา".
ดู ภาษาเยอรมันและฟรีดริช นีทเชอ
ฟรีเซียน
ฟรีเซียน (Frisians) คือชาติพันธุ์หนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์เจอร์มานิคที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามริมฝั่งทะเลของเนเธอร์แลนด์และเยอรมนี ส่วนใหญ่อยู่กันหนาแน่นในจังหวัดฟรีสแลนด์ และโกรนิงเกนในเนเธอร์แลนด์ และในบริเวณฟรีเซียตะวันออก และ ฟรีเซียเหนือในเยอรมนี ฟรีเซียนตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่เรียกว่าฟรีเซี.
ฟลัวร์
ฟลัวร์ (Flure) เป็นวงดนตรีแนวร็อก สังกัดค่ายเบเกอรี่มิวสิก ในเครือโซนี่มิวสิก ประเทศไท.
ฟุตบอลโลก 2006
ฟุตบอลโลก 2006 (2006 FIFA World Cup) รอบสุดท้ายเป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 18 จัดขึ้น ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและฟุตบอลโลก 2006
ฟุเริน
ฟุเริน (Voeren) เป็นเทศบาลทางตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลลิมเบิร์กในประเทศเบลเยียม และเป็นเมืองในเขตฟลามส์ที่ไม่มีพื้นที่ติดกับเขตฟลามส์ด้วยกัน โดยทางเหนือติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ ส่วนทางใต้ติดต่อกับมณฑลลีแยฌในเขตวัลลูน ชื่อฟุเรินมาจากแม่น้ำที่ไหลผ่านเมืองชื่อว่า แม่น้ำฟูร์ (Voer) ซึ่งเป็นแม่น้ำสาขาของแม่น้ำเมิซ ฟุเรินมีประชากรประมาณ 4,000 คน ประมาณร้อยละ 25 เป็นชาวต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่มีสัญชาติเนเธอร์แลนด์ ประมาณช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ฟุเรินยังเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลลีแยฌ หน่วยงานรัฐใช้ภาษาฝรั่งเศส แต่โบสถ์และโรงเรียนใช้ภาษาเยอรมันหรือดัตช์ และได้เกิดการถกเถียงเรื่องภาษาขึ้น จนในปี ค.ศ.
ฟ็อยค์เมเยอร์
แท่นบูชาและธรรมาสน์โดย ฟรานซ์ โจเซฟ ฟ็อยค์เมเยอร์ ภายในวัดเซนต์มาเรีย (St. Maria) - ไซเต็นชเต็ทเต็น (Seitenstetten) ประเทศออสเตรีย ฟ็อยค์เมเยอร์ (ภาษาเยอรมนี: Feuchtmayer หรือ Feuchtmayr หรือ Feichtmair หรือ Feichtmayr) เป็นครอบครัว ปฏิมากร ช่างปูนปั้น และช่างปูน (plastering|plasterer)แบบโรโคโคเวสโซบรุน (Wessobrunn) ที่มีชื่อเสียงของประเทศเยอรมนี สมาชิกที่มีชื่อเสียงของตระกูลนี้ก็มีพี่น้อง ฟรานซ์ โจเซฟ, โยฮันน์ มืเคล (ผู้พ่อ) และ มิเคล กับลูกและหลาน.
ดู ภาษาเยอรมันและฟ็อยค์เมเยอร์
พฟัลซ์-ซไวบรึคเคิน
ฟัลซ์-ซไวบรึคเคิน (Pfalz-Zweibrücken) หรือ พาลาทิเนต-ซไวบรึคเคิน (Palatinate-Zweibrücken) เป็นอดีตอาณาจักรเคานต์ที่เดิมเป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยเคานต์แห่งพฟัลซ์ พฟัลซ์-ซไวบรึคเคินก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและพฟัลซ์-ซไวบรึคเคิน
พยางค์
งค์ หมายถึงหน่วยหนึ่งขององค์ประกอบในลำดับของเสียงที่ใช้สื่อสารด้วยคำพูด พยางค์โดยทั่วไปเกิดขึ้นจากแกนพยางค์ (syllable nucleus) ซึ่งมักจะเป็นเสียงสระ และอาจมีเสียงขึ้นต้นและเสียงลงท้ายเป็นเสียงพยัญชนะในพยางค์ พยางค์ถูกจัดว่าเป็นส่วนประกอบของคำในการศึกษาระบบเสียงในภาษา (phonology) ซึ่งมีอิทธิพลต่อจังหวะในภาษา ฉันทลักษณ์ ลักษณะคำประพันธ์ รูปแบบการเน้นเสียง เป็นต้น คำหนึ่งคำอาจอบขึ้นจากพยางค์เพียงพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ การเขียนสัญลักษณ์แทนพยางค์เริ่มมีขึ้นเมื่อไม่กี่ร้อยปีก่อนที่จะมีการใช้ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรก สัญลักษณ์แทนพยางค์ในสมัยนั้นถูกบันทึกลงบนแผ่นจารึกเมื่อประมาณ 2,800 ปีก่อนคริสตกาลโดยชาวสุเมเรียน สิ่งนี้เป็นตัวผลักดันให้อักษรภาพที่เขียนกันมาแต่เดิมถูกเปลี่ยนเป็นการเขียนแทนพยางค์ ซึ่งเป็นก้าวหนึ่งที่สำคัญในประวัติศาสตร์ของระบบการเขียน.
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู ภาษาเยอรมันและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี
ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี เป็นบทความที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระนิพนธ์ไว้เมื่อ..
ดู ภาษาเยอรมันและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี
พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์
ระเจ้าฟารูกที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فاروق الأول Fārūq al-Awwal) (11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1920-18 มีนาคม ค.ศ. 1965) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ พระราชบิดา ส่วนพระขนิษฐาของพระองค์ เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี เป็นราชินีแห่งอิหร่าน ก่อนเกิดการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์
พันเซอร์
Leopard 2A5 ของ กองทัพเยอรมัน พันเซอร์ 3ในช่วงยุทธการที่กรีซ, เมษายน ค.ศ. 1941 แพนเซอร์ (Panzer) เป็นคำศัพท์เยอรมันที่มีความหมายว่า ยานเกราะ นอกจากนี้ยังได้ใช้โดยการเรียกภาษาเยอรมันเป็นคำย่อซึ่งหมายถึง "ยานเกราะรบ" หรือรถถัง คำศัพท์เต็มเยอรมันสำหรับ"ยานพาหนะหุ้มเกราะรบ"คือ พันเซอร์คัมพ์วาเกิน (Panzerkampfwagen) คำว่า พันเซอร์ เป็นที่ใช้บางครั้งบางในภาษาอังกฤษและอื่นๆ เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่นๆในเรื่องการทหารเยอรมัน หมวดหมู่:ทหาร.
พันเซอร์แกรนาเดียร์
''พันเซอร์แกรนาเดียร์'' ของบุนเดซเวร์ในช่วงการซ้อมทั่วไป พันเซอร์แกรนาเดียร์ (Panzergrenadier) ย่อว่า PzGren หรือ Pzg เป็นคำศัพท์เยอรมันสำหรับการเรียกใช้กับทหารราบยานยนต์ หรือ ทหารราบยานเกราะ –เป็นพลทหารราบที่ให้การสนับสนุนในยานพาหนะรบซึ่งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะภารกิจดังกล่าว-ได้เป็นที่รู้จักกันในสงครามโลกครั้งที่สอง ถูกใช้ในกองทัพออสเตรีย, เยอรมนี และสวิตเซอร์แลนด์ อย่างไรก็ตาม ในกองทัพเยอรมัน คำว่า พันเซอร์แกรนาเดียร์ ยังเป็นคำที่เรียกใช้กับทหารที่มีตำแหน่งต่ำสุดของทหารเกณฑ์ (Mannschaften) ในพันเซอร์แกรนาเดียร์ทรูปเปอร์, ซึ่งเทียบเท่ากับระดับตำแหน่งที่ 1 อื่นๆของนาโต้ หมวดหมู่:ทหาร.
ดู ภาษาเยอรมันและพันเซอร์แกรนาเดียร์
พิสุทธินิยมทางภาษา
หน้าแรกของพจนานุกรมภาษาฝรั่งเศสฉบับที่ 6 ของบัณฑิตยสถานฝรั่งเศส (Académie française) ตีพิมพ์เมื่อปีค.ศ. 1835 วัตถุประสงค์หลักของบัณฑิตยสถานนี้ คือ การทำให้ภาษาฝรั่งเศสบริสุทธิ์ พิสุทธินิยมทางภาษา หรือ ความพิถีพิถันในภาษา (linguistic purism, linguistic protectionism) เป็นคตินิยมที่มีจุดมุ่งหมายจะทำให้ภาษาใดภาษาหนึ่ง "บริสุทธิ์" หรือ "สะอาด" ที่สุด โดยนิยาม “ภาษาบริสุทธิ์” หรือ “ภาษาสะอาด” ว่าเป็นภาษาที่ปราศจากคุณสมบัติทางภาษาจากภาษาต่างชาติ ในคตินิยมนี้ จึงมีการอนุรักษ์ภาษาโดยการขจัดสิ่ง ที่เห็นว่ามาจากภาษาต่างชาติ ซึ่งสามารถอยู่ในทุกระดับของระบบภาษา เช่น ไวยากรณ์ การออกเสียง หรือ คำศัพท์ เป็นต้น แต่ส่วนใหญ่วัตถุประสงค์หลักในการกำจัด มักจะเป็นคำศัพท์ พิสุทธินิยมทางภาษา มักมีความเกี่ยวข้องกับชาตินิยม ซึ่งมักเกิดขึ้นควบคู่กับการสถาปนารัฐชาต.
ดู ภาษาเยอรมันและพิสุทธินิยมทางภาษา
พีรชยา พิณเมืองงาม
ีรชยา พิณเมืองงาม หรือ มิว เดอะสตาร์ (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532) เป็นนักร้อง นักแสดง ที่ได้รับชื่อเสียงมาจากรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 3 ปัจจุบันไม่ได้อยู่ในวงการแล้ว เนื่องจากต้องไปเรียนต่อ.
ดู ภาษาเยอรมันและพีรชยา พิณเมืองงาม
พี่น้องตระกูลกริมม์
วิลเฮล์ม กริมม์ (ซ้าย) และยาค็อบ กริมม์ (ขวา) ภาพวาดโดย เอลิซาเบธ เจริโช-โบแมน ค.ศ. 1855 พี่น้องตระกูลกริมม์ (The Brothers Grimm; Die Gebrüder Grimm) ยาค็อบ กริมม์ (ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและพี่น้องตระกูลกริมม์
พ็อลเทอร์ไกสท์
หน้าปกนิตยสาร ''La Vie Mysterieuse'' ของ ฝรั่งเศสฉบับเดือนเมษายน ค.ศ. 1911 หน้าปกเป็นรูปปรากฏการณ์พ็อลเทอร์ไกสท์ พ็อลเทอร์ไกสท์ (Poltergeist) เป็นชื่อเรียกปรากฏการณ์ชนิดหนึ่ง ที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน คำว่า "พ็อลเทอร์ไกสท์" มาจากภาษาเยอรมันคำว่า "Poltern" หมายถึง "ก่อความรำคาญหรือเอะอะมะเทิ่ง" และคำว่า "Geist" หมายถึง "ผี" เมื่อรวมความแล้ว คำว่า "พ็อลเทอร์ไกสท์" พอจะแปลความหมายได้ว่า "ผีที่น่ารำคาญหรือส่งเสียงดัง" ปรากฏการณ์พ็อลเทอร์ไกสท์จะแสดงออกด้วยการเคลื่อนข้าวของภายในบ้าน โดยที่ไม่มีใครไปเคลื่อนย้าย ซึ่งปรากฏการณ์เช่นนี้จะปรากฏในบ้านของโลกตะวันตก จึงมีความเชื่อกันว่าเป็นการกระทำของผี ซึ่งจะไม่ถึงขั้นหลอกหลอนมนุษย์จนขวัญผวา เพียงแค่ทำให้ตกใจเล่นเท่านั้น แต่ในบางกรณีก็อาจรุนแรงถึงขั้นทำให้ข้าวของเสียหายหรือเกิดเป็นรอยข่วน รอยกัดตามร่างกายมนุษย์ก็มี บางครั้งปรากฏการณ์พ็อลเทอร์ไกสท์อาจเกิดติดต่อกันเป็นวัน ๆ แต่นักวิทยาศาสตร์บางคนเชื่อว่า พ็อลเทอร์ไกสท์ เป็นการกระทำที่เกิดจากมนุษย์เอง โดยเกิดจากความกดดัน โดยเฉพาะในวัยรุ่น เชื่อว่าเป็นลักษณะของการใช้พลังจิตแบบที่เคลื่อนย้ายสิ่งของ ที่เรียกว่าไซโคคิเนซิส (Psychokinesis) นั่นเอง โดยที่เจ้าตัวไม่รู้ตัว ขณะที่นักวิชาการชาวญี่ปุ่น โอทสึ โยะชิฮิโกะ แห่งมหาวิทยาลัยวะเซะดะ ที่ศึกษาเรื่องเหนือธรรมชาติต่าง ๆ เห็นว่า พ็อลเทอร์ไกสท์เป็นปรากฏการณ์ของพลาสมา คือ ไฟฟ้าสถิตที่ไหลวนอยู่ในอากาศ ซึ่งปรากฏการณ์แบบนี้เป็นปรากฏการณ์เดียวกับการเกิด "ลูกไฟวิญญาณ" หรือ "ฮิโตะดะมะ" (ญี่ปุ่น: 人魂) ตามความเชื่อของชาวจีนและชาวญี่ปุ่นนั่นเอง พ็อลเทอร์ไกสท์ได้ถูกอ้างอิงในวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยมีการเขียนเป็นนวนิยายในชื่อเดียวกันนี้ (ฉบับแปลเป็นภาษาไทยใช้ชื่อว่า "โพลเทอร์ไกสท์ผีเกเร") โดย เจมส์ คาห์น นักเขียนชาวอเมริกัน ในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและพ็อลเทอร์ไกสท์
กฎชัทแธมเฮ้าส์
ัทแธมเฮ้าส์ กฎชัทแธมเฮ้าส์ คือ ระบบการจัดโต้วาทีและการอภิปรายแบบคณะเกี่ยวกับประเด็นที่เป็นที่ถกเถียง ชื่อของกฎถูกตั้งตามสำนักงานใหญ่ของสถาบันกิจการต่างประเทศของสหราชอาณาจักร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชัทแธมเฮ้าส์ เมืองลอนดอนตั้งแต่เดือนมิถุนายน..
ดู ภาษาเยอรมันและกฎชัทแธมเฮ้าส์
กรดแมนดีลิก
กรดแมนดีลิก (Mandelic acid) เป็นกรดอะโรมาติกอัลฟาไฮดรอกซี มีสูตรโครงสร้างโมเลกุลเป็น C6H5CH (OH) CO2H มีส่วนของโมเลกุลที่เป็นไครัลอะตอม โดยสารผสมราซิมิค (racemic mixture) ของกรดแมนดีลิกมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กรดพาราแมนดีลิก (paramandelic acid) ทั้งนี้ กรดแมนดีลิกบริสุทธิ์มีลักษณะเป็นผลึกของแข็งสีขาว ละลายได้ดีในน้ำและตัวทำละลายอินทรีย์ที่มีขั้ว กรดแมนดีลิกถือเป็นสารตั้งต้นที่สำคัญในการผลิตยาหลายชนิด กรดแมนดีลิกถูกค้นพบโดยเฟอร์ดินาน ลูดวิก วิงเคลอร์ เภสัชกรชาวเยอรมัน เมื่อปี 1831 จากการให้ความร้อนแก่สารสกัดที่ได้จากอัลมอนด์ขม นอกจากนี้ยังพบการเกิดกรดแมนดีลิกขึ้นได้จากกระบวนการเมแทบอลิซึมของเอพิเนฟรีน และนอร์เอพิเนฟริน ในร่างกาย ปัจจุบันสามารถสังเคราะห์กรดแมนดีลิกขึ้นได้หลากหลายช่องทางภายในห้องปฏิบัติการ โดยกรดแมนดีลิกนี้ถูกนำมาใช้ในทางการแพทย์เพื่อเป็นยาปฏิชีวนะในการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ รวมไปถึงการใช้เพื่อช่วยในการผลัดเซลล์ผิว.
กลุ่มภาษาสลาวิก
ประเทศที่มกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาประจำชาติ กลุ่มภาษาสลาวิก เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มภาษาบัลโต-สลาวิก ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาสลาวิกเป็นภาษาแม่ของชาวสลาฟ ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปตะวันออกและคาบสมุทรบอลข่าน แก้ไข กลุ่มภาษาสลาวิก.
ดู ภาษาเยอรมันและกลุ่มภาษาสลาวิก
กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก
้นแบ่งระหว่างกลุ่มเจอร์แมนิกตะวันตกและกลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน.
ดู ภาษาเยอรมันและกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก
กลุ่มอาการมือแปลกปลอม
กลุ่มอาการมือแปลกปลอม (alien hand syndrome, Dr Strangelove syndrome) หรือ กลุ่มอาการมือต่างดาว เป็นความผิดปกติทางประสาทที่มือของคนไข้เหมือนกับมีใจเป็นของตน เป็นกลุ่มอาการที่มีการรายงานมากที่สุดในกรณีที่คนไข้ได้รับการตัด corpus callosumcorpus callosum หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า colossal commissure เป็นกลุ่มใยประสาทที่กว้างและแบนใต้เปลือกสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (มีรก) ประเภท eutheria อยู่ที่ ร่อง longitudinal fissure (ที่แบ่งสมองออกเป็น 2 ข้าง) เป็นโครงสร้างที่เชื่อมซีกสมองซ้ายขวาเข้าด้วยกัน และอำนวยให้เขตในสมองทั้งสองซีกสื่อสารกันได้ เป็นส่วน white matter (ส่วนในสมองที่โดยมากประกอบด้วยแอกซอน) ที่ใหญ่ที่สุดในสมองมีแอกซอนส่งเชื่อมซีกสมองถึง 200-250 ล้านแอกซอน ออก ซึ่งบางครั้งใช้เป็นวิธีบรรเทาอาการเกี่ยวกับโรคลมชัก (epilepsy) ชนิดรุนแรง แต่ก็เป็นกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นด้วยในกรณีอื่น ๆ เช่นการผ่าตัดสมอง โรคหลอดเลือดสมอง การติดเชื้อ เนื้องอก หลอดเลือดโป่งพอง และโรคสมองเสื่อมบางชนิดเช่นโรคอัลไซเมอร์ และ Creutzfeldt-Jakob diseaseBellows, A.
ดู ภาษาเยอรมันและกลุ่มอาการมือแปลกปลอม
กล้วยนาก
กล้วยนาก (Red bananas) เป็นสายพันธุ์ของกล้วยที่เปลือกสีแดงคล้ำ ลูกเล็กกว่ากล้วยหอมเขียว เนื้อเมื่อสุกเป็นสีเหลืองครีมหรือสีเหลืองอมชมพู นิ่มและหวานกว่ากล้วยพันธุ์อื่นในกลุ่มคาเวนดิช แหล่งปลูกอยู่ในแอฟริกาตะวันออก เอเชีย อเมริกาใต้ และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นที่นิยมในอเมริกากลาง.
กวอกูแวก
กวอกูแวก (Głogówek; Oberglogau) เมืองทางตอนใต้ของประเทศโปแลนด์ อยู่ในเขตจังหวัดออปอแลใกล้กับพรมแดนสาธารณรัฐเช็ก ห่างจากเมืองหลักออปอแล 35 กิโลเมตร เมืองก่อตั้งขึ้นในศตวรรษที่ 11 มีเนื้อที่ 22.06 ตารางกิโลเมตร ในปี.ศ 2006 มีประชากร 5,816 คน ตั้งแต่ปี..
กวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์
กวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์ หรือชื่อเดิมว่า วัลเณซ่า พวง แฮร์มันน์ เมืองโคตร (Vanessa Poung Herrmann Muangkod, 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2534) มีชื่อเล่นว่า ณฉัตร และเรียกแทนตัวเองว่า วัล มิสไทยแลนด์เวิลด์ ปี 2012 และเป็นตัวแทนสาวไทยในการประกวดมิสเวิลด์ปีเดียวกันนั้น ซึ่งจัดขึ้นในเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน สาธารณรัฐประชาชนจีน.
ดู ภาษาเยอรมันและกวิยณัฎฐ์ แฮร์มันน์
กองทัพประชาชนแห่งชาติ
กองทัพประชาชนแห่งชาติ (NPA) (German: Nationale Volksarmee – NVA) เป็นชื่อเรียกของกองทัพสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี มีกำลังทหารประมาณ 120,000 นาย กองทัพประชาชนแห่งชาติถูกสถาปนาในปี 1956 และถูกยุบในปี 1990 กองทัพมีส่วนในการบุกครองพร้อมกับกองทัพสหภาพโซเวียต ต่อรัฐบาลเชโกสโลวาเกียในช่วงปรากสปริง ในปี 1968 นอกจากนี้ยังมีการพบว่ามีเจ้าหน้าที่ทางทหารของเยอรมนีตะวันออกทำงานให้กับรัฐบาลคอมมิวนิสต์ในแอฟริกาในช่วงสงครามเย็น.
ดู ภาษาเยอรมันและกองทัพประชาชนแห่งชาติ
กันดั้มวิง
มบิลสูทกันดั้มวิง (Mobile Suit Gundam Wing) เป็นแอนิเมชันทางโทรทัศน์ความยาว 49 ตอน ออกอากาศ พ.ศ. 2538 ในประเทศไทยเคยแพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.
กันดั้มโธรน
กันดั้มโธรน(ガンダムスローネ;Gundam Throne) เป็นกลุ่มของโมบิลสูทซึ่งมีบทบาทสำคัญในการ์ตูนญี่ปุ่น อะนิเมะ โมบิลสูทกันดั้มดับเบิลโอ ซึ่งกันดั้มโธรนทั้งหมดได้รับการออกแบบโดยนาโอฮิโระ วาชิโอะ ชื่อของกันดั้มโธรนแปลว่าบัลลังก์ ซึ่งหมายถึงเทวทูตคณะหนึ่งในศาสนาคริสต์ที่ทำหน้าที่แบกบัลลังก์ของพระเจ้า กันดั้มโธรนรุ่นแรกนั้นจะมีชื่อเป็นตัวเลขในภาษาเยอรมัน กันดั้มโธรนนั้นเป็นกันดั้มของ ทีมทรินิตี้ ซึ่งทำหน้าที่แยกจากปโทเลมิออสและปรากฏตัวครั้งแรกเพื่อช่วยเหลือปโทเลมิออสจากกับดักของมหาอำนาจสามฝ่าย บทบาทของทีมทรินิตี้ตามแผนการของอิโอเลียก็คือสร้างความปั่นป่วนเพื่อเร่งให้มหาอำนาจในโลกรวมตัวเป็นหนึ่งเดียว กันดั้มโธรนนั้นต่างจากกันดั้มรุ่นอื่นๆของเซอเลสเทียลบีอิงโดยใช้เตาปฏิกรณ์แบบ GNไดรฟ์เทา ซึ่งสามารถให้พลังงานได้จำกัด นอกจากนั้นGNบีมของ GNไดรฟ์เทายังเป็นพิษที่ทำให้เซลล์เสื่อมสภาพ บาดแผลที่เกิดจากบีมของกันดั้มโธรนจึงไม่สามารถหายได้ตามธรรมชาติ กันดั้มโธรนยังไม่สามารถใช้ระบบทรานแซมได้เหมือนกันดั้มของเซอเลสเทียลบีอิงอีกด้วย กันดั้มโธรนนั้นได้รับการพัฒนาโดยบริษัทอุตสาหกรรมลิเนียร์เทรนของลากูนา ฮาวีย์ หนึ่งในสมาชิกของเซอเลสเทียลบีอิง เมื่อเทียบกับกันดั้มรุ่นอื่นๆของเซอเลสเทียลบีอิงแล้ว กันดั้มโธรนจะมีโครงสร้างที่ผอมกว่า โครงสร้างพื้นฐานของกันดั้มโธรนนี้ต่อมาได้พัฒนาต่อไปเป็น GNX-509T โธรนวารานุส ซึ่งเป็นรุ่นต้นแบบของ GNX-603T จิงซ์ ที่ลากูนาได้มอบให้มหาอำนาจสามฝ่ายที่รวมกันเป็นสหประชาชาติเพื่อต่อสู้กับเซอเลสเทียลบีอิง.
การกอด
การกอด (hug) เป็นรูปแบบของความใกล้ชิดทางกาย (physical intimacy) และเป็นสิ่งสากลในชุมชนมนุษย์ ซึ่งคนสองคนหรือมากกว่านำแขนคล้องรอบคอ หลัง หรือเอวของกันและกันเพื่อจับกันไว้อย่างใกล้ชิด หากมีคนร่วมมากกว่าสองคนจะเรียกว่า การกอดแบบกลุ่ม (group hug).
การล้อมเซวัสโตปอล (ค.ศ. 1941–1942)
การล้อมเซวัสโตปอล ยังเป็นที่รู้จักกันคือ การป้องกันที่เซวัสโตปอล (Оборона Севастополя, transliteration: Oborona Sevastopolya) หรือ ยุทธการที่เซวัสโตปอล (German: Schlacht um Sewastopol) เป็นการสู้รบทางทหารที่เกิดขึ้นบนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง การทัพครั้งนี้เป็นการสู้รบโดยฝ่ายอักษะ อันได้แก่ เยอรมนี โรมาเนีย และอิตาลี เข้าปะทะกับสหภาพโซเวียตจากพื้นที่ควบคุมที่เซวัสโตปอล ท่าเรือในแหลมไครเมียบนทะเลดำ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน..
ดู ภาษาเยอรมันและการล้อมเซวัสโตปอล (ค.ศ. 1941–1942)
การผันคำ
การผันคำ หรือ การลงวิภัตติปัจจัย คือการเปลี่ยนแปลงรูปคำในประโยค เพื่อแสดงเพศ พจน์ การก บุรุษ กาล วาจก มาลา ฯลฯ การเปลี่ยนแปลงรูปคำเช่นนี้ไม่พบในภาษาไทย แต่จะพบในภาษาในหลายๆตระกูล เช่น ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน เป็นต้น ภาษาที่อาศัยการผันคำเพื่อเปลี่ยนความหมายในระดับสูงเรียกว่า ภาษามีวิภัตติปัจจัย (Inflectional Language) ซึ่งตรงกันข้ามกับ ภาษาคำโดด (Isolating Language) ซึ่งมักจะเป็นภาษาที่คำแต่ละคำมีพยางค์เดียวและไม่มีการผันคำ สำหรับภาษาที่จำแนกตามลักษณะอื่นๆ ได้แก่ ภาษาคำติดต่อ (Agglutinative Language) และ ภาษาคำควบมากพยางค์ (Poly-synthetic Language).
การถอดเสียง
การถอดเสียง หรือ การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง (Transcription) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นเป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับการทับศัพท์แบบถอดอักษร ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอดอักษรซีริลลิกเป็นอักษรละตินสำหรับภาษารัสเซีย (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ สัทอักษรสากล และ แซมปา ตารางด้านล่าง แสดงตัวอย่างของการทับศัพท์ โดยมี การทับศัพท์แบบถอดอักษร และสัทอักษรสากลกำกั.
การทับศัพท์ภาษาเยอรมัน
้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การเขียนคำทับศัพท์ภาษาเยอรมันนี้เป็นหลักเกณฑ์ทั่วไปที่กำหนดโดยราชบัณฑิตยสถาน ในกรณีที่คำบางคำออกเสียงแตกต่างจากทั่วไปก็ให้ยึดตามการออกเสียงนั้น.
ดู ภาษาเยอรมันและการทับศัพท์ภาษาเยอรมัน
การทดลองทางความคิด
การทดลองทางความคิด (Thought Experiment) (มาจากคำ เยอรมัน ว่า Gedankenexperiment ซึ่งตั้งโดย ฮานส์ คริสเตียน เออร์สเตด) ในความหมายที่แพร่หลายที่สุดคือ การใช้แผนการที่จินตนาการขึ้นมาเพื่อช่วยเราเข้าใจวิถีทางที่สิ่งต่าง ๆ เป็นในความเป็นจริง ความเข้าใจได้มาจากปฏิกิริยาต่อสถานการณ์นั้น หลักการของการทดลองทางความคิด เป็น a priori มากกว่า เชิงประจักษ์ กล่าวคือ การทดลองทางความคิดไม่ได้มาจาก การสังเกต หรือ การทดลอง แต่อย่างใด การทดลองทางความคิดคือคำถามเชิง สมมติฐาน ที่วางรูปแบบอย่างดีซึ่งให้เหตุผลจำพวก "จะเกิดอะไรถ้า?" (ดูที่ irrealis moods) การทดลองทางความคิดถูกนำมาใช้ใน ปรัชญา, ฟิสิกส์, และสาขาอื่น ๆ มันถูกใช้ในการตั้งคำถามทางปรัชญาอย่างน้อยที่สุดตั้งแต่ยุคกรีก สมัยก่อน โสกราตีส ในฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์สาขาอื่น ๆ นั้น การทดลองทางความคิดที่มีชื่อเริ่มจากคริสตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในช่วงศตวรรษที่ 20 แต่ตัวอย่างต่าง ๆ ก็ได้เริ่มพบมากตั้งแต่อย่างน้อยในยุคของ กาลิเลโอ.
ดู ภาษาเยอรมันและการทดลองทางความคิด
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลูกาโน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 14 เพลง 7 ประเทศ(ประเทศละ 2 เพลง) โดยเพลงที่ชนะคือ Refrain ขับร้องโดย Lys Assia ตัวแทนจากสวิตเซอร์แลน.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์ ประเทศเยอรมนี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 10 เพลง 10 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Net als toen ขับร้องโดย Corry Brokken ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฮิลเวอร์ซัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 10 เพลง 10 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Dors, mon amour ขับร้องโดย André Claveau ตัวแทนจากฝรั่ง.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองกาน ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 11 เพลง 11 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Een beetje ขับร้องโดย Teddy Scholten ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 13 เพลง 13 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Tom Pillibi ขับร้องโดย Jacqueline Boyer ตัวแทนจากฝรั่ง.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองกาน ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Nous les amoureux ขับร้องโดย Jean-Claude Pascal ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Un premier amour ขับร้องโดย Isabelle Aubret ตัวแทนจากฝรั่ง.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Dansevise ขับร้องโดย Grethe Ingmann & Jørgen Ingmann ตัวแทนจากเดนมาร์ก.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Non ho l'età ขับร้องโดย Gigliola Cinquetti ตัวแทนจากอิตาลี.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเนเปิลส์ ประเทศอิตาลี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Poupée de cire, poupée de son ขับร้องโดย France Gall ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Merci, Chérie ขับร้องโดย Udo Jürgens ตัวแทนจากออสเตรี.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเวียนนา ประเทศออสเตรีย จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Puppet on a String ขับร้องโดย Sandie Shaw ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ La, la, la ขับร้องโดย Massiel ตัวแทนจากสเปน.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมาดริด ประเทศสเปน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะในปีนี้มีทั้งหมด 4 เพลง ได้แก่ Vivo cantando ขับร้องโดย Salomé ตัวแทนจากสเปน Boom Bang-a-Bang ขับร้องโดย Lulu ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร De troubadour ขับร้องโดย Lenny Kuhr ตัวแทนจากเนเธอร์แลนด์ และ Un jour, un enfant ขับร้องโดย Frida Boccara ตัวแทนจากฝรั่ง.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 12 เพลง 12 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ All Kinds of Everything ขับร้องโดย Dana ตัวแทนจากไอร์แลน.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Un banc, un arbre, une rue ขับร้องโดย Séverine ตัวแทนจากโมนาโก.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเอดินบะระ ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Après toi ขับร้องโดย Vicky Leandros ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Tu te reconnaîtras ขับร้องโดย Anne-Marie David ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองไบรตัน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Waterloo ขับร้องโดย ABBA ตัวแทนจากสวีเดน.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ding-a-dong ขับร้องโดย Teach-In ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Save Your Kisses for Me ขับร้องโดย Brotherhood of Man ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ L'oiseau et l'enfant ขับร้องโดย Marie Myriam ตัวแทนจากฝรั่ง.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ A-Ba-Ni-Bi ขับร้องโดย Izhar Cohen & the Alphabeta ตัวแทนจากอิสราเอล.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Hallelujah ขับร้องโดย Gali Atari & Milk and Honey ตัวแทนจากอิสราเอล.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ What's Another Year ขับร้องโดย Johnny Logan ตัวแทนจากไอร์แลน.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Making Your Mind Up ขับร้องโดย Bucks Fizz ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฮาร์โรเกต ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ein bißchen Frieden ขับร้องโดย Nicole ตัวแทนจากเยอรมนี.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983
การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Si la vie est cadeau ขับร้องโดย Corinne Hermès ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.
ดู ภาษาเยอรมันและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983
การเดินทางของคิโนะ
การเดินทางของคิโนะ มีจุดเริ่มต้นจากนิยายประเภท Light Novel ซึ่งเขียนโดย เคอิจิ ซิกุซาว่า ภาพประกอบและออกแบบตัวละครโดย โคฮาคุ คุโรโบชิ ปัจจุบันนิยายเรื่องนี้ถูกแปลเป็นภาษาจีน ภาษาเกาหลี ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน และภาษาไทย ในประเทศไทย การเดินทางของคิโนะ เคยออกฉายทางช่อง Animax ซึ่งออกอากาศผ่าน UBC มีการประกาศลิขสิทธิ์ฉบับนิยายโดยบลิส พับลิชชิ่งโดยอยู่ในหมวด J-Light เล่มที่ 1 ตีพิมพ์ครั้งแรก ตุลาคม..
ดู ภาษาเยอรมันและการเดินทางของคิโนะ
กางเขนแพตตี
กางเขนแพตตี (Cross Pattée, Cross Patty, Cross Pate) เป็นสัญลักษณ์รูปแบบหนึ่งของกางเขนคริสเตียน ซึ่งมีลักษณะของแขนแคบเข้าตรงช่วงกลางของกางเขน โดยจะเริ่มจากเป็นเส้นตรงหรือเส้นโค้ง และจะค่อยๆ กว้างออกที่บริเวณช่วงปลายทั้งสี่ด้าน โดยได้พบหลักฐานการใช้สัญลักษณ์กางเขนแพตตีในงานศิลปะยุคกลางตอนต้น อาทิเช่น งานปกสมุดทำด้วยโลหะซึ่งจัดสร้างโดยพระราชินีเธโอเดลินดา เพื่อใช้ถวายให้กับมหาวิหารมอนซา ในปี..
กาเลวาลา
กาเลวาลา (Kalevala, Kalewala) เป็นบทกวีมหากาพย์ ซึ่งนักปรัชญาชาวฟินแลนด์ เอเลียส เลินน์รูต เรียบเรียงขึ้นจากลำนำพื้นบ้านในภาษาฟินแลนด์และภาษาคาเรเลียในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 บทกวีนี้ได้รับยกย่องให้เป็นมหากาพย์แห่งประเทศฟินแลนด์ และเป็นงานวรรณกรรมชิ้นสำคัญที่สุดของประวัติศาสตร์ฟินแลนด์ มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นจิตวิญญาณของพลเมือง ทำให้ฟินแลนด์สามารถแยกตัวเป็นเอกราชจากรัสเซียได้สำเร็จในปี..
กุสตาฟ มาห์เลอร์
กุสตาฟ มาห์เลอร์ ในวัยเด็ก กุสตาฟ มาห์เลอร์ (เกิด 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1860 - เสียชีวิต 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1911) เป็นคีตกวีและวาทยกรชาวโบฮีเมียน-ออสเตรียน มาห์เลอร์เป็นที่รู้จักในยุคของเขา ในฐานะวาทยากรชื่อดังแห่งยุค แต่ในปัจจุบัน เขากลับเป็นที่ยอมรับในฐานะคีตกวีแห่งยุคนีโอโรแมนติก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากซิมโฟนี และบทเพลงในลักษณะซิมโฟนี เช่น เพลง Das Lied von der Erde (บทเพลงแห่งโลก) ที่เป็นจุดสุดยอดของบทเพลงขับร้องที่เขาประพันธ์ ส่วนซิมโฟนีหมายเลข 3 ความยาว 95 นาที นับเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดที่เคยมีการเปิดแสดง และยังชื่อได้ว่าเป็นซิมโฟนีที่ยาวที่สุดในบรรดาซิมโฟนีทั้งหลายอีกด้ว.
ดู ภาษาเยอรมันและกุสตาฟ มาห์เลอร์
กูดบาย เลนิน!
กูดบาย เลนิน! (Good Bye, Lenin!, ในประเทศไทย วางจำหน่ายวีซีดีในชื่อ "คุณแม่จู้จี้ คุณลูกขี้จุ๊") เป็นภาพยนตร์ภาษาเยอรมันที่ออกฉายในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและกูดบาย เลนิน!
กูเกิล แปลภาษา
กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.
ดู ภาษาเยอรมันและกูเกิล แปลภาษา
กแดโดโมฟมูย
กแดโดโมฟมูย? (Kde domov můj?) บ้านของฉันนั้นคือที่ใด? เป็นเพลงชาติเชโกสโลวาเกียและเช็กเกีย ผลงานประพันธ์โดย František Škroup เรียบเรียงทำนองโดย Josef Kajetán Tyl.
ญาบิร
อะบูมูซา ญาบิร บินฮัยยาน ที่ชาวตะวันตกเรียกว่า เกเบอร์ (Geber) ขึ้นชื่อลือชาว่าเป็นบิดาแห่งเคมี ท่านเป็นนักเคมีที่ยิ่งใหญ่มากตำราชื่อ Kitab al-Kimya, Kitab al-Sab'een เป็นตำราถูกแปลเป็นภาษาของยุโรบหลายภาษา เช่น ภาษาลาติน ภาษาฮีบรู ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส มีอิทธิผลต่อนักเคมีชาวยุโรปต่อมาอีกหลาย ศตวรรษ ญาบิร บินฮัยยาน เกิดราวปี..
ฐานข้อมูลโครงสร้าง
นข้อมูลโครงสร้าง (Structurae: Internationale Galerie und Datenbank des Ingenieurbaus Structurae: International Database and Gallery of Structure หรือเรียกสั้นๆ ว่า Structurae) "ฐานข้อมูลโครงสร้าง" เป็นฐานข้อมูลออนไลน์ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างทางวิศวกรรม และ โครงสร้างทางโยธาทุกรูปแบบเช่นสะพาน ตึก ตึกระฟ้า หอ เขื่อน และอื่นๆ นอกจากนั้นก็ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท และ บุคคล (วิศวกร สถาปนิก และผู้ก่อสร้าง) ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการออกแบบหรือก่อสร้างโครงสร้าง คำว่า "ฐานข้อมูลโครงสร้าง" มาจากภาษาลาติน "Strūctūra" ที่หมายถึงการกระทำการก่อสร้างและผลของสิ่งที่กระทำ "ฐานข้อมูลโครงสร้าง" ดำรงอยู่ได้โดยอาสาสมัครผู้ส่งข้อมูลและภาพประกอบเข้ามาในเป็นส่วนหนึ่งของฐานข้อมูล ข้อมูลแต่ละหัวข้ออ้างอิงไปยังนิตยสารทางวิชาการและแหล่งข้อมูลอื่นๆ ผู้ก่อตั้งนิโคลัส ยานบวร์กเป็นวิศวกรสร้างสะพานชาวเยอรมัน-ฝรั่งเศสผู้ก่อตั้งฐานข้อมูลขึ้นในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและฐานข้อมูลโครงสร้าง
ฝั่ม ถิ ฮหว่าย
ฝั่ม ถิ ฮหว่าย (Phạm Thị Hoài) เกิดเมื่อ..
ดู ภาษาเยอรมันและฝั่ม ถิ ฮหว่าย
ฝ่ายปกครองทหาร (นาซีเยอรมนี)
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมนีได้ก่อตั้งระบอบการปกครองภายใต้การนำโดยทหารในดินแดนยึดครองซึ่งเป็นที่รู้จักกันคือ ฝ่ายปกครองทหาร หรือ อำนาจฝ่ายปกครองทหาร (de: Militärverwaltung) ซึ่งจะแตกต่างกันกับไรชส์คอมมิสซาเรียท ซึ่งอยู่ภายใต้การนำโดยเจ้าหน้าที่พรรคนาซี ฝ่ายปกครองทหารมักจะมีผู้นำโดย ผู้บัญชาการทหาร (Militärbefehlshaber, ชื่อย่ออย่างเป็นทางการว่า MilBfh) หมวดหมู่:นาซีเยอรมนี.
ดู ภาษาเยอรมันและฝ่ายปกครองทหาร (นาซีเยอรมนี)
ภาษาฟินแลนด์
ษาฟินแลนด์ เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรส่วนใหญ่ของฟินแลนด์ (เป็นภาษาแม่ถึง 92%) รวมถึงชาวฟินน์ที่อาศัยนอกฟินแลนด์ด้วย เป็นภาษาทางการในฟินแลนด์และภาษาชนกลุ่มน้อยในสวีเดน ทั้งในรูปแบบมาตรฐานและ ภาษาเมแอนเคียลิ (Meänkieli) และในนอร์เวย์ในรูปของภาษาคเวน ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษากลุ่มฟินโน-ยูกริก และจัดเป็นภาษาติดต่อคำ (agglutinative language) ภาษาฟินแลนด์แปลงรูปของคำนาม คำวิเศษณ์, คำสรรพนาม, คำเลข, คำกริยา ตามบทบาทในประโยค ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษาที่แตกจากภาษาอื่น ๆ โดยทั่วไปในยุโรปมาก จุดเด่นของภาษาตระกูลฟินโน-อูกริกคือ เป็นภาษาที่ไม่มีคำบุพบท แต่จะใช้วิธีการผันคำแทน การเขียนภาษาฟินแลนด์ ใช้ตัวอักษรละตินซึ่งประกอบด้วย29ดังนี้ A-อา B-เบ C-เซ D-เด E-เอ F-แอฟ G-เก H-โฮ I-อี J-ยี K-โก L-แอล M-แอม N-แอน O-โอ P-เป Q-กู R-แอรฺ S-แอส T-เต U-อู V-เว W-กักโชยส์-เว (Kaksois-Vee) X-แอกซ์ Y-อวี Z-เซตตา Å-โอของสวีเดน (Ruotsin-Oo) Ä-แอ Ö-เออวฺ โดยที่ตัว C Q W X Z และ Å ใช้ในคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศเท่านั้น การสะกดคำของภาษาฟินแลนด์เป็นลักษณะการเขียนตามเสียงที่อ่านเหมือนภาษามาเลเซีย ภาษาอินโดนีเซียและภาษาเวียดนาม.
ภาษากอกบอรอก
ษากอกบอรอก หรือ ภาษาตรีปุรี เป็นภาษาพื้นเมืองของชาวตรีปุระ ในรัฐตรีปุระ และบริเวณใกล้เคียงในบังกลาเทศ เป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า คำว่า กอกบอรอก มาจาก “kok” แปลว่า “ภาษา” และ “borok” ที่แปลว่าผู้ชาย ซึ่งใช้แทนชาวตรีปุระทั้งหมดด้วย ดังนั้น กอกบอรอก จึงหมายถึง “ภาษาของชาวตรีปุระ”.
ภาษาฝรั่งเศส
ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.
ภาษายักโนบี
ษายักโนบี (ชื่ออื่นๆคือ Yaghnabi, Yagnobi หรือ Yagnabi. - yaγnobī́ zivók (ในภาษาทาจิกเขียนด้วยอักษรซีริลลิกเป็น яғнобӣ зивок), ภาษารัสเซีย ягнобский язык /jagnobskij jazyk/, ภาษาทาจิก забони яғнобӣ /zabon-i yaġnobî/, ภาษาเปอร์เซีย زبان یغنابى /zæbān-e yæġnābī/, ภาษาออสเซติก ягнобаг æвзаг /jagnobag ævzag/, ภาษาเยอรมัน Jaghnobisch, Czech jaghnóbština, ภาษาสโลวัก jagnóbčina, ภาษายูเครน ягнобська мова /jahnobs’ka mova/, ภาษาโปแลนด์ jagnobski język) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้พูดโดยชาวยักโนบีในหุบเขาทางเหนือของแม่น้ำยักนอบในเขตซาราฟซาน ประเทศทาจิกิสถาน จัดว่าเป็นลุกหลานของภาษาซอกเดี.
ภาษายิดดิช
ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.
ภาษายูราร์เทีย
ษายูราร์เทีย เป็นภาษาที่ใช้พูดในราชอาณาจักรยูราร์ตู ทางตะวันออกเฉียงใต้ของอนาโตเลีย (ปัจจุบันคือประเทศตุรกี) เป็นภาษารูปคำติดต่อซึ่งไม่อยู่ในภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียนและภาษากลุ่มเซมิติก แต่ถือว่าอยู่ในกลุ่มฮูร์โร-ยูราร์เทีย พบในจารึกจำนวนมากในบริเวณราชอาณาจักรยูราร์ตู เขียนด้วยอักษรรูปลิ่มของอัสซีเรีย มีรูปแบบที่เขียนด้วยไฮโรกลิฟด้วยซึ่งใช้ในทางศาสน.
ดู ภาษาเยอรมันและภาษายูราร์เทีย
ภาษาลาดิโน
ษาลาดิโน (Ladino) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ ได้รับอิทธิพลจากภาษาสเปนมาก โดยเฉพาะภาษาสเปนโบราณ (คัสติลเลียน) ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาลาดิโนกับภาษาสเปน เทียบได้กับภาษายิดดิชกับภาษาเยอรมัน ผู้พูดส่วนใหญ่เป็นชาวยิวเซฟาร์ดิก ตัวอย่างเช่น ชาวยิวในเทสซาโลนิกี อิสตันบูล และอิสมีร์ โครงสร้างของภาษาใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีบางส่วนมาจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษาสลาฟใต้ ขึ้นกับว่าผู้พูดอาศัยอยู่ที่ใด ภาษาลาดิโนมีเสียงที่มาจากภาษาสเปนโบราณที่กลายเป็นเสียงจากเพดานอ่อน /x/ ในภาษาสเปนสมัยใหม่ ภาษาลาดิโนมีหน่วยเสียง /x/ ที่ได้จากภาษาฮีบรู ในบางบริเวณมีการสร้างคำที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น muestro จาก nuestro (ของเรา) โครงสร้างทางไวยากรณ์ใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีการเพิ่มส่วนจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษากลุ่มสลาฟใต้ ขึ้นกับบริเวณที่ใช้พูด ภาษาลาดิโนเป็นภาษาที่ใกล้ตายเนื่องจากผู้พูดเป็นภาษาแม่มีอายุมากและไม่ถ่ายทอดภาษาให้รุ่นต่อไป ชุมชนชาวยิวเซฟาร์ดิกในประเทศต่างๆมีความพยายามฟื้นฟูภาษานี้โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับดนตรี สาเหตุที่ทำให้เป็นภาษาที่ใกล้ตายอีกอย่างหนึ่งคือการกลมกลืนไปกับภาษาสเปนสมัยใหม.
ภาษาสเปน
ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ภาษาอังกฤษแบบบริติช
ภาษาอังกฤษแบบบริติช (British English, BrE) เป็นคำที่ใช้แยกแยะรูปแบบของภาษาอังกฤษที่ใช้ในหมู่เกาะบริเตน (British Isles) และที่ใช้ในภูมิภาคอื่น ๆ คำว่า "ภาษาอังกฤษแบบบริติช" นี้ ยังหมายรวมถึงภาษาถิ่นย่อยทั้งหมดของภาษาอังกฤษ ทั้งที่ใช้ในหมู่เกาะบริเตนทั้งหมด (รวมสกอตแลนด์ ไอร์แลนด์ และเวลส์ด้วย) คำนี้มักจะนิยมใช้เป็นพิเศษในหมู่ชาวอเมริกัน (รวมทั้งนักภาษาศาสตร์และนักเขียนพจนานุกรม) ส่วนชาวอังกฤษนั้น ปกติแล้วจะใช้คำว่า "ภาษาอังกฤษมาตรฐาน" (Standard English) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "ภาษาอังกฤษ" (English) เท่านั้น ความแตกต่างเด่นที่สุดของภาษาอังกฤษแบบบริติชกับภาษาอังกฤษแบบอเมริกันคือ แบบบริติชจะออกเสียงคำอย่างตรงตัว a จะออกเป็น อา ตรง ๆ ไม่ออกว่า แอ อย่างแบบอเมริกัน เสียง t จะเน้นมาก และชาวสหราชอาณาจักรจะไม่นิยมการออกเสียงตัว r ท้ายคำ ถึงออกก็เพียงออกไปนิดเดียว นอกจากนั้นอังกฤษแบบบริติชจะออกเสียงลงคอดั่งเช่นภาษาเยอรมันและภาษาฝรั่งเศส เช่นคำว่า schedule ซึ่งภาษาอังกฤษแบบบริติชจะมีออกเสียงลงคอตรงท่อน sche ซึ่งเป็นเสียงควบระหว่าง ซ กับ ค หมวดหมู่:ภาษาอังกฤษ หมวดหมู่:ภาษาถิ่น.
ดู ภาษาเยอรมันและภาษาอังกฤษแบบบริติช
ภาษาอิดอ
ษาอิดอ (Ido) เป็นภาษาประดิษฐ์ สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นภาษาสากลในการช่วยสื่อสารระหว่างผู้คนเชื้อชาติต่าง ๆ โดยได้สร้างให้มีรูปแบบไวยากรณ์ที่ง่ายและเป็นไปตามกฎโดยไม่มีข้อยกเว้น ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่น ๆ และไม่ให้คล้ายกับภาษาธรรมชาติภาษาใดมากเกินไปเพื่อไม่ให้เกิดความได้เปรียบในการเรียนรู้ภาษาอิดอ ภาษาอิดอได้เริ่มมีการพัฒนาในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 ดัดแปลงมาจากภาษาเอสเปรันโต โดยมีการปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ ของภาษาเอสเปรันโตให้ดีขึ้น และได้นำออกมาใช้งานใน พ.ศ.
ภาษาจีนฮกเกี้ยนสำเนียงไต้หวัน
ษาจีนฮกเกี้ยนสำเนียงไต้หวัน (Taiwanese Hokkien) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ภาษาไต้หวัน (Taiwanese;; ไต้หวัน: Tâi-oân-oē; หรือ; ไต้หวัน: Tâi-gí) เป็นภาษาจีนสำเนียงฮกเกี้ยนซึ่งใช้โดยราว ๆ ร้อยละเจ็ดสิบของประชากรในสาธารณรัฐจีน (ประเทศไต้หวัน) จัดเป็นสำเนียงย่อยของภาษาจีนฮกเกี้ยนที่เรียก ฮกโล (Hoklo) และเป็นภาษาประจำชาติไต้หวัน อย่างไรก็ดี ภาษาราชการของสาธารณรัฐจีน คือ ภาษาจีนสำเนียงกลางซึ่งใช้รูปแบบการเขียนแตกต่างจากสำเนียงกลางของสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) เพราะชาวไต้หวันยังใช้ตัวอักษรจีนดั้งเดิมซึ่งเรียก อักษรจีนตัวเต็ม (Traditional Chinese) ส่วนจีนแผ่นดินใหญ่ปรับปรุงระบบตัวอักษรให้เขียนง่ายขึ้นเรียก อักษรจีนตัวย่อ (Simplified Chinese).
ดู ภาษาเยอรมันและภาษาจีนฮกเกี้ยนสำเนียงไต้หวัน
ภาษาของชาวยิว
งานเขียนอายุราวพุทธศตวรรษที่ 21 ของ Elia Levita แสดงจากซ้ายไปขวา ภาษายิดดิช - ภาษาฮีบรู - ภาษาละติน - ภาษาเยอรมัน ภาษาของชาวยิว (Jewish languages) เป็นกลุ่มของภาษาและสำเนียงที่พัฒนาในชุมชนชาวยิวทั่วโลกทั้งในยุโรป เอเชียและแอฟริกาเหนือ พัฒนาการของภาษาเหล่านี้เกิดขึ้นโดยการเพิ่มศัพท์ภาษาฮีบรูเพื่อใช้อธิบายแนวคิดเฉพาะของชาวยิวเข้าสู่ภาษาท้องถิ่น ส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรฮีบรู การอยู่เป็นกลุ่มก้อนอย่างเป็นเอกเทศของชาวยิว ทำให้ภาษาเหล่านี้รักษาคำศัพท์และลักษณะดั้งเดิมของภาษาที่เป็นภาษาต้นกำเนิดได้ภาษาของชาวยิวที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษายิดดิช ซึ่งเคยมีผู้พูดมากที่สุดในอดีต ภาษาลาดิโนที่เป็นภาษาของชาวยิวเซฟาร์ดีมากว่า 5 ศตวรรษและภาษาอาหรับของชาวยิวที่ใช้พูดในบริเวณที่มีผู้พูดภาษาอาหรับมากว่าพันปี ภาษาฮีบรูเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนายูดาย และเคยใช้เป็นภาษาพูดมาก่อน จนราว..
ดู ภาษาเยอรมันและภาษาของชาวยิว
ภาษานาอูรู
ษานาอูรู (dorerin Naoero: โดเรริน นาโอเอโร) เป็นตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่พูดในประเทศนาอูรู คาดว่ามีคนพูดประมาณ 7,000 คน หรือ 50% ของประชากรนาอูรู คนพูดแทบทุกคนสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ด้วย ภาษานาอูรูเป็นสมาชิกของภาษากลุ่มไมโครนีเซียในกลุ่มออสโตรนีเซียน มีรหัส ISO 639 คือ 'na' และ 'nau'.
ภาษาโวลาปุก
ษาโวลาปุก (Volapük) เป็นภาษาประดิษฐ์ คิดค้นโดย โจฮานน์ มาร์ติน เชลเยอร์ ในปี พ.ศ. 2422 – 2423 โดยนำคำศัพท์บางส่วนมาจากภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน และภาษาฝรั่งเศส โดยเชลเยอร์ได้ฝันไปว่าเทพเจ้าสั่งให้เขาสร้างภาษาประดิษฐ์สากล ถึงแม้ว่าในปี..
ภาษาเชเชน
ษาเชเชน เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐเชเชน (เชชเนีย) ในรัสเซีย มีผู้พูดราว 1.2 ล้านคน คำศัพท์ส่วนมากเป็นคำยืมจากภาษารัสเซีย ภาษาตุรกี ภาษาคาลมึกซ์ ภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอลานิกหรือภาษาออสเซติกอยู่ในภาษากลุ่มคอเคซัส จัดอยู่ในภาษากลุ่มนัขร่วมกับภาษาอิงกุซและภาษาบัตส์ ทั้งหมดนี้อยู่ในภาษากลุ่มคอเคเซียนตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีเพียงภาษาอิงกุซและภาษาเชเชนที่เข้าใจกันได้.
ภาษาเลปชา
ษาเลปชา(อักษรเลปชา: ไฟล์:ᰛᰩᰵ་ᰛᰧᰶᰵ.SVG; Róng ríng)เป็นภาษาที่พูดโดยชาวเลปชา ในรัฐสิกขิม อินเดีย รวมทั้งบางส่วนของเนปาลและภูฏาน เขียนด้วยอักษรเลปชา ต้นกำเนิดของอักษรนี้ยังคลุมเครือ เริ่มแรกเขียนในแนวตั้งแบบเดียวกับอักษรจีน จัดเป็นภาษาท้องถิ่นในบริเวณที่ใช้พูด มีผู้พูดราว 50,000 คน.
ภาษาเอสเปรันโต
ษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล.
ดู ภาษาเยอรมันและภาษาเอสเปรันโต
มหาวิทยาลัยศิลปะเบอร์ลิน
thumb มหาวิทยาลัยศิลปะเบอร์ลิน (เยอรมัน: Universität der Künste Berlin - UdK) หรือ "อูเดคา" เป็นมหาวิทยาลัยในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและมหาวิทยาลัยศิลปะเบอร์ลิน
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
ในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University อ่านว่า สแตนเฟิร์ด) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มหาวิทยาลัยลีแลนด์สแตนฟอร์ดจูเนียร์ (Leland Stanford Junior University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ที่เมือง สแตนฟอร์ด รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโกประมาณ 60 กม.
ดู ภาษาเยอรมันและมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน
มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน (เดนมาร์ก: Københavns Universitet; อังกฤษ University of Copenhagen) เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยที่เก่าแก่ที่สุดและใหญ่ที่สุดในประเทศเดนมาร์ก ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน
มหาวิทยาลัยเกอเทอแห่งแฟรงก์เฟิร์ต
มหาวิทยาลัยเกอเทอแห่งแฟรงก์เฟิร์ต (Goethe University Frankfurt) หรือชื่อเต็มคือ มหาวิทยาลัยโยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ แห่งฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์ (Johann Wolfgang Goethe-Universität Frankfurt am Main) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ตั้งอยู่ในนครแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งเมื่อปี..
ดู ภาษาเยอรมันและมหาวิทยาลัยเกอเทอแห่งแฟรงก์เฟิร์ต
มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน
มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน (FU Berlin; เยอรมัน: Freie Universität Berlin; อังกฤษ: The Free University of Berlin) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งใน ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและมหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน
มหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเบอร์ลิน
มหาวิทยาลัยเทคนิกแห่งเบอร์ลิน (TUB หรือ TU-Berlin) (เยอรมัน: Technische Universität Berlin; อังกฤษ: Technical University of Berlin) ตั้งอยู่ใจกลางกรุงเบอร์ลินเมืองหลวงของประเทศเยอรมนี ก่อตั้งในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและมหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเบอร์ลิน
มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์
มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ หรือ เฟท/สเตย์ ไนท์ เป็นเอโรเกะ สร้างโดยไทป์-มูน วางจำหน่ายครั้งแรกในปี 2547 ต่อมา สตูดิโอดีน ได้นำไปทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนฉายทางโทรทัศน์ โดยมีเจเนออนเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 6 มกราคม 2549 ถึงวันที่ 16 มิถุนายน 2549 นอกจากนี้ในปี 2550 ไทป์-มูน ได้นำมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์มาสร้างใหม่สำหรับเครื่อง เพลย์สเตชัน 2 ภายใต้ชื่อ "เฟท/สเตย์ ไนท์ " โดยตัดเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสำหรับผู้เยาว์ออกทั้งหมด เฟท/สเตย์ ไนท์ ยังถูกดัดแปลงเป็นมังงะ ซึ่งในขณะนี้กำลังตีพิมพ์ลงในนิตยสารโชเน็นเอซ ฉบับรายเดือน.
ดู ภาษาเยอรมันและมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์
มาริโอ้ เมาเร่อ
มาริโอ้ เมาเร่อ (Mario Maurer) ชื่อเล่น โอ้ เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2531 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยได้รับการติดต่อจากโมเดลลิ่งในสยามสแควร์ โดยเริ่มจากงานถ่ายแบบ ถ่ายโฆษณา เช่น โฆษณาเอ็กซิท โรลออน ขนมแจ็ค เดอะพิซซ่าคอมปานี และยังได้ถ่ายแบบอยู่เรื่อยมา อย่าง เธอกับฉัน และหนังสือวัยรุ่นอีกหลายเล่มและถ่ายมิวสิกวิดีโอ อีกหลายตัวเช่น กุญแจที่หายไป ของ ปาล์มมี่, ปากดีขี้เหงาเอาแต่ใจ ของ มิล่า เป็นต้น จนในปี 2550 มีผลงานสร้างชื่อจากภาพยนตร์ไทยเรื่อง รักแห่งสยาม ซึ่งจากบทบาท "โต้ง" ใน รักแห่งสยาม นี้ มาริโอ้ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม จากนิตยสารสตาร์พิกส์ รับรางวัลจากเทศกาลหนังซีเนมะนิลา ที่จัดขึ้นที่ประเทศฟิลิปปินส์ สาขานักแสดงชายยอดเยี่ยม ประเภทภาพยนตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงจาก รางวัลเอเชียนฟิล์ม สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม อีกทั้งยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิงครั้งที่ 16 ประจำปี 2550 ในสาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม และรางวัลสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส ครั้งที่ 6 ในสาขาผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม มาริโอ้ได้ร่วมงานกิจกรรมการกุศลอยู่หลายครั้ง รวมถึงยังเป็นพรีเซนเตอร์ ในวันงดสูบบุหรี่โลก ประจำปี..
ดู ภาษาเยอรมันและมาริโอ้ เมาเร่อ
มารี อ็องตัวแน็ต
มารี อ็องตัวแน็ต (Marie Antoinette) หรือนามประสูติคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย อันโทเนีย โยเซฟา โยอันนา (Maria Antonia Josepha Johanna) เป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์ฝรั่งเศสและขึ้นเป็นพระราชินีแห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) พระนางถูกประหารด้วยกิโยตีนระหว่างการปฏิวัติฝรั่ง.
ดู ภาษาเยอรมันและมารี อ็องตัวแน็ต
มารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก
้าหญิงมารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล(ภาษาเยอรมัน:Marie Sophie Friederike von Hessen-Kassel,28 ตุลาคม พ.ศ. 2310 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2395) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ และทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น ผู้สำเร็จราชการแห่งเดนมาร์กในระหว่างปี..
ดู ภาษาเยอรมันและมารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก
มารี เบิร์นเนอร์
มารี เบิร์นเนอร์ (Marie Broenner, เกิด 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 —) มีชื่อเล่นว่า มารี เป็นนางแบบและนักแสดงลูกครึ่งไทย-เยอรมัน ชื่อของ มารี เป็นชื่อที่สามารถออกเสียงได้หลายภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ, เยอรมัน และไทย บิดามารดาจึงตั้งชื่อนี้ให้.
ดู ภาษาเยอรมันและมารี เบิร์นเนอร์
มาร์ลีส์ อัสคัมป์
มาร์ลีส์ อัสคัมป์ มาร์ลีส์ อัสคัมป์ (เกิด 7 สิงหาคม ค.ศ. 1970) เป็นนักบาสเกตบอลมืออาชีพชาวเยอรมัน เคยเล่นในสมาคมบาสเกตบอลแห่งชาติหญิงสหรัฐอเมริกา (WNBA).
ดู ภาษาเยอรมันและมาร์ลีส์ อัสคัมป์
มาเรีย ลูโดวีกา แห่งออสเตรีย-เอสเต
อาร์คดัชเชสมาเรีย ลูโดวิก้าแห่งออสเตรีย-เอสต์ อาร์คดัชเชสมาเรีย ลูโดวิก้าแห่งออสเตรีย-เอสต์ (ภาษาเยอรมัน: Maria Ludovika von Österreich-Este, ภาษาอังกฤษ: Archduchess Maria Ludovika of Austria-Este) (พระนามเต็ม: มาเรีย ลูโดวิก้า เบียทริกซ์, Maria Ludovika Beatrix von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นสมาชิกราชสกุลฮับส์บูร์ก-ลอร์เรน และเป็นพระชายาองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิท.
ดู ภาษาเยอรมันและมาเรีย ลูโดวีกา แห่งออสเตรีย-เอสเต
มิดเดิลเอิร์ธ
แผนที่มิดเดิลเอิร์ธในช่วงยุคที่หนึ่ง แสดงแผ่นดินเบเลริอันด์ ซึ่งเป็นสถานที่เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ที่บันทึกในซิลมาริลลิออน ทางด้านขวามือสุดของแผนที่เป็นที่ตั้งของ 'เทือกเขาสีน้ำเงิน' แผนที่มิดเดิลเอิร์ธในช่วงปลายของยุคที่สาม ซึ่งปรากฏอยู่ในหนังสือ ลอร์ดออฟเดอะริงส์ สังเกตจะเห็น 'เทือกเขาสีน้ำเงิน' อยู่ทางด้านซ้ายมือสุดของแผนที่ มิดเดิ้ลเอิร์ธ (Middle-earth) หรือ มัชฌิมโลก หมายถึงสถานที่ในนิยายของ เจ.
ดู ภาษาเยอรมันและมิดเดิลเอิร์ธ
มูฮัมมัด อิกบาล
ซอร์มูฮัมมัด อิกบาล (Muhammad Iqbal) (9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1877 - 21 เมษายน ค.ศ. 1938) มักเรียกว่า อัลลามา อิกบาล เป็นกวีและนักปรัญชาเกิดในเซียลคอต ซึ่งขณะนั้นอยู่ในแคว้นปัญจาบ บริติชอินเดีย ซึ่งปัจจุบันอยู่ในปากีสถาน อิกบาล ผู้เขียนบทกวีในภาษาอุรดูและภาษาเปอร์เซีย ถูกมองว่าเป็นหนึ่งในบุคคลที่เป็นสัญลักษณ์ (icon) ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในสมัยใหม่ หลังศึกษาในอังกฤษและเยอรมนี อิกบาลได้ทำงานด้านกฎหมาย แต่ยังมุ่งสนใจงานเขียนผลงานเชิงวิชาการว่าด้วยการเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญาและศาสนาเป็นหลัก ผลงานที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักกันมากที่สุดเป็นงานด้านบทกวี อิกบาลเป็นผู้เสนอการฟื้นฟูอารยธรรมอิสลามทั่วโลกอย่างแข็งขัน แต่โดยเฉพาะยอ่างยิ่งในอินเดีย เขาเป็นหนึ่งในผู้นำที่โดดเด่นของสันนิบาติมุสลิมทั่วอินเดีย (All-India Muslim League) และสนับสนุนการสถาปนา "รัฐในทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียสำหรับมุสลิมชาวอินเดีย" ในการปราศรัยประธานาธิบดีใน..
ดู ภาษาเยอรมันและมูฮัมมัด อิกบาล
มีป คีส
แฮร์มีเนอ ซันทรูชิทซ์ (Hermine Santruschitz; 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2452 – 11 มกราคม พ.ศ. 2553) หรือเป็นที่รู้จักทั่วใปในภาษาดัตช์ว่า มีป คีส (Miep Gies) คือหนึ่งในชาวดัตช์ผู้ช่วยเหลืออันเนอ ฟรังค์, ครอบครัวของเธอ และชาวยิวอีกสี่คนในการหลบซ่อนตัวจากนาซีเยอรมัน ซึ่งทั้งหมดซ่อนตัวอยู่ในส่วนต่อเติมอาคารที่ทำการของบริษัทค้าขายของออทโท ฟรังค์ บิดาของอันเนอ ฟรังค์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เดิมทีมีป คีส ถือสัญชาติออสเตรียโดยกำเนิด แต่ในปี..
มีไซอาห์ (แฮนเดิล)
มีไซอาห์ (Messiah, HWV 56) เป็นผลงานออราทอริโอสำหรับการขับร้องประสานเสียงโดยจอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล เป็นหนึ่งในบทร้องประสานเสียงภาษาอังกฤษที่มีได้รับความนิยมที่สุด โดยนำคำร้องมาจากคัมภีร์ไบเบิลฉบับนิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ 2 ฉบับ ที่ชำระขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ฉบับ ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและมีไซอาห์ (แฮนเดิล)
มณฑลลีแยฌ
ลีแยฌ (Liège) หรือ ลึททิช (Lüttich) เป็นมณฑลที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกที่สุดของเขตวัลลูนและประเทศเบลเยียม โดยทางเหนือมีพื้นที่ติดต่อกับมณฑลเฟลมิชบราบันต์, มณฑลลิมเบิร์กของประเทศเบลเยียมและจังหวัดลิมเบิร์กของประเทศเนเธอร์แลนด์, ทางตะวันออกติดต่อกับประเทศเยอรมนี, ทางตะวันตกติดต่อกับมณฑลวัลลูนบราบันต์และมณฑลนามูร์ และทางใต้ติดต่อกับมณฑลลักเซมเบิร์กของประเทศเบลเยียมและประเทศลักเซมเบิร์ก ประชากรส่วนใหญ่ของลีแยฌพูดภาษาฝรั่งเศส แต่ในบางเมืองทางตะวันออกของมณฑลใช้ภาษาเยอรมันเป็นภาษาหลัก ลีแยฌมีแม่น้ำสายหลักคือแม่น้ำเมิซ ลีแยฌมีเมืองหลวงเป็นชื่อเดียวกันกับมณฑล และมีพื้นที่ 3,862 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 4 เขตการปกครอง ซึ่งแบ่งย่อยได้อีก 84 เทศบาล.
มนตร์น้ำหมึก
มนตร์น้ำหมึก (Tintenblut; Inkspell) เป็นวรรณกรรมเล่มที่สองต่อจาก หัวใจน้ำหมึก ประพันธ์โดย คอร์เนอเลีย ฟุงเค่อ นักเขียนชาวเยอรมัน ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.
ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน
อดนักสืบจิ๋วโคนัน เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น เรื่องยาวแนวสืบสวนสอบสวน เรื่องและภาพโดย อาโอยาม่า โกโช ซึ่งตีพิมพ์บน นิตยสารรายสัปดาห์โชเน็งซันเดย์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและยอดนักสืบจิ๋วโคนัน
ยาฮู! รู้รอบ
ู! รู้รอบ (Yahoo! Answers) เป็นชุมชนออนไลน์ของยาฮู!เปิดให้ใช้งานในการถามและตอบคำถามในลักษณะคล้ายเว็บบอร์ด แต่มีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างไปจากเว็บบอร์ดคือ เว็บบอร์ดจะเปิดให้โพสต์ข้อความอะไรก็ได้ แต่ยาฮู! รู้รอบจะเปิดให้ผู้ใช้งานโพสต์เฉพาะคำถามหรือคำตอบเท่านั้น โดยท้ายสุดจะมีการเลือกคำตอบที่ดีที่สุด พร้อมขอเหตุผลว่าทำไมถึงดีที่สุด พร้อมกับมีระบบสะสมแต้มและระดับความเก่งกาจของผู้ใช้งาน เปิดใช้งานเมื่อ 13 ธันวาคม พ.ศ.
ยาแก้ซึมเศร้า
แผงยาโปรแซ็ก (ฟลูอ๊อกซิติน) ซึ่งเป็นยาแก้ซึมเศร้ากลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitor (SSRI) โครงสร้างทางเคมีของ venlafaxine ซึ่งเป็นยาแก้ซึมเศร้ากลุ่ม Serotonin-norepinephrine reuptake inhibitor (SNRI) ยาแก้ซึมเศร้า (Antidepressant) เป็นยาเพื่อรักษาโรคซึมเศร้าและโรคอื่น ๆ รวมทั้ง dysthymia, โรควิตกกังวล, โรคย้ำคิดย้ำทำ, ความผิดปกติในการรับประทาน (eating disorder), ความเจ็บปวดเรื้อรัง, ความเจ็บปวดเหตุประสาท (neuropathic pain), และในบางกรณี อาการปวดระดู การกรน โรคไมเกรน โรคสมาธิสั้น การติด การติดสารเสพติด และความผิดปกติในการนอน โดยสามารถใช้เดี่ยว ๆ หรือรวมกับยาชนิดอื่น ๆ ตามที่แพทย์สั่ง กลุ่มยาแก้ซึมเศร้าที่สำคัญที่สุดรวมทั้ง selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs), serotonin-norepinephrine reuptake inhibitors (SNRIs), tricyclic antidepressants (TCAs), monoamine oxidase inhibitors (MAOIs), reversible monoamine oxidase A inhibitors (rMAO-A inhibitors), tetracyclic antidepressants (TeCAs), และ noradrenergic and specific serotonergic antidepressant (NaSSAs) โดยมียาสมุนไพรจากพืช Hypericum perforatum (St John's wort) ที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้าเหมือนกัน.
ดู ภาษาเยอรมันและยาแก้ซึมเศร้า
ยิ้มไว้โลกนี้ไม่มีสิ้นหวัง
้มไว้โลกนี้ไม่มีสิ้นหวัง (Life Is Beautiful, La vita è bella) เป็นภาพยนตร์สัญชาติอิตาเลียนที่พูดถึงชาวยิวในอิตาลีที่ชื่อ กุยโด (แสดงโดย โรแบร์โต เบนิญี่ ที่ทั้งกำกับเองและร่วมเขียนบทในภาพยนตร์) ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 7 สาขา ในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและยิ้มไว้โลกนี้ไม่มีสิ้นหวัง
ยึม กิจจแส
ึม กิจจแส (Yim Guechse) เป็นนักเขียนชาวกัมพูชา ปัจจุบันอาศัยอยู่ในเยอรมัน เกิดเมื่อ 20 พฤศจิกายน..
ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก
ทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก (Valkyrie) เป็นภาพยนตร์อเมริกันในปี ค.ศ. 2008 นำแสดงโดย ทอม ครูซ, เคนเนธ บรานาห์, บิล ไนอี, เอ็ดดี อิซซาร์ด, เทเรนซ์ สแตมพ์, ทอม วิลคินสัน กำกับการแสดงโดย ไบรอัน ซิงเกอร.
ดู ภาษาเยอรมันและยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก
ยุทธการเดือดเชือดนาซี
ทธการเดือดเชือดนาซี (Inglourious Basterds) เป็นภาพยนตร์สงคราม กำกับและเขียนบทโดยเควนติน แทแรนติโน นำแสดงโดยแบรด พิตต์และคริสตอฟ วอลซ์ ออกฉายในสหรัฐอเมริกาในวันที่ 21 สิงหาคม 2009 ชื่อเรื่องดัดแปลงจากชื่อภาษาอังกฤษ The Inglorious Bastards ของภาพยนตร์สงครามปี 1978 Quel maledetto treno blindato โดยผู้กำกับชาวอิตาลี เอนโซ จี.
ดู ภาษาเยอรมันและยุทธการเดือดเชือดนาซี
ยุโรปตะวันตก
แผนที่ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ มหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาวไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ 36,933,412 ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และ ภาษากรีก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมืองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก.
ยูฟ่า
หภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (Union of European Football Associations) หรือ ยูฟ่า (UEFA; ในต่างประเทศยกเว้นประเทศไทย เรียกว่า ยูเอฟา หรือ อูเอฟา) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปยุโรป จัดการเกี่ยวกับทีมฟุตบอล เงินรางวัล กฎระเบียบ รวมถึงลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดฟุตบอล ยูฟ่าเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า ยูฟ่าก่อตั้งเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ.
ระบำมรณะ
“ระบำมรณะ” โดย ไมเคิล โวลเกอมุท ราว ค.ศ. 1493 จาก “Liber chronicarum” โดยฮาร์ทมันน์ เชเดล เปียเตอร์ บรูเกล (ผู้พ่อ), “ชัยชนะแห่งความตาย” (The Triumph of Death) (ราว ค.ศ.
รัฐชวีซ
รัฐชวีซ (Schwyz) เป็นรัฐตอนกลางของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอลป์ทางทิศใต้ ทะเลสาบลูเซิร์นทางทิศตะวันตกและทะเลสาบซูริกทางทิศเหนือ มีเมืองหลวงของรัฐคือ ชวีซ เป็นรัฐมีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว เป็นหนึ่งในรัฐก่อตั้งของสวิตเซอร์แลนด์ ชวีซ.
รัฐบาเซิล-ชตัดท์
รัฐบาเซิล-ชตัดท์ (Basel-Stadt) เป็น 1 ใน 26 รัฐของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ รัฐแห่งนี้มีสถานะเป็นนครรัฐ ตั้งอยู่ชายแดนทางเหนือติดกับประเทศเยอรมนีและประเทศฝรั่งเศส ด้วยพื้นที่เพียง 37 ตารางกิโลเมตรทำให้รัฐแห่งนี้เป็นรัฐขนาดเล็กที่สุดในสวิตเซอร์แลนด์ รัฐแห่งนี้มีประชากรรวมทั้งสิ้น 198,290 ในปี 2017 ในจำนวนนี้เป็นชาวต่างด้าว 56,106 คน แม้จะเป็นรัฐเล็กๆ แต่พื้นที่บริเวณเมืองบาเซิลถือเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจอันดับสองของประเทศสวิตเซอร์แลนด์รองจากซือริชและตามด้วยเจนีวา อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์และเวชภัณฑ์มีบทบาทอย่างมากต่อเศรษฐกิจของรัฐนี้ นอกจากนี้ เมืองบาเซิลยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ ซึ่งมีสมาชิกเป็นธนาคารกลางของกว่า 60 ประเทศ หมวดหมู่:รัฐในประเทศสวิตเซอร์แลนด์.
ดู ภาษาเยอรมันและรัฐบาเซิล-ชตัดท์
รัฐบาเซิล-ลันท์ชัฟท์
ซิล-ลันท์ชัฟท์ (Basel-Landschaft) เป็น 1 ใน 26 รัฐของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมืองหลวงรัฐชื่อเมืองลีสทาล มีชายแดนติดกับรัฐบาเซิล-ชตัดท์ รัฐโซโลทวร์น รัฐฌูว์รา และรัฐอาร์เกา ยังติดกับแคว้นกร็องแต็สต์ของฝรั่งเศส และติดกับรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์คของเยอรมนี.
ดู ภาษาเยอรมันและรัฐบาเซิล-ลันท์ชัฟท์
รัฐกลารุส
รัฐกลารุส (Glarus) เป็นรัฐทางตะวันออก ตอนกลางของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมืองหลวงคือ กลารุส รัฐมีประชากร 39,217 คน (ข้อมูล 31 ธันวาคม ค.ศ.
รัฐวาเล
วาเล (Valais) เป็น 1 ใน 26 รัฐของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ เป็นต้นน้ำของแม่น้ำโรน เป็นสถานีที่มีรีสอร์ตสกี ประกอบด้วย 13 เขต โดยมีเมืองหลวงคือเมืองซียง วาเล.
รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป
รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป (Member State of the European Union) คือประเทศใดประเทศหนึ่งใน 28 ประเทศที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ตั้งแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) เป็นต้นมา เดิมทีประเทศก่อตั้งมีเพียง 6 ประเทศ ซึ่งได้มีการขยายสมาชิกทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดเกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป
รัฐอัศวินทิวทัน
รัฐอัศวินทิวทัน หรือ รัฐนิกาย (Deutschordensland หรือ Ordensstaat, State of the Teutonic Order หรือ Order-State) เป็นรัฐที่ก่อตั้งขึ้นเมื่ออัศวินทิวทันได้รับชัยชนะต่อชนปรัสเซียเก่าที่เป็นเพกันทางตะวันตกของบอลติกในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและรัฐอัศวินทิวทัน
รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย
รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย (Protektorat Böhmen und Mähren; Protektorát Čechy a Morava) เป็นรัฐอารักขาของนาซีเยอรมนีได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 16 มีนาคม..
ดู ภาษาเยอรมันและรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย
รัฐอาร์เกา
รัฐอาร์เกา (Aargau) เป็นหนึ่งในรัฐที่อยู่ทางตอนเหนือของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของแม่น้ำอาเร จึงเป็นที่มาของชื่อรัฐที่เรียกว่า Aar-gau ที่หมายถึง เขตอาเร เป็นหนึ่งในรัฐที่มีความหนาแน่นประชากรมากที่สุดของสวิตเซอร์แลนด์ มีเมืองหลวงคือ อาเร.
รัฐผู้พิทักษ์แห่งเซอร์เบีย
รัฐผู้พิทักษ์แห่งเซอร์เบีย (Vlada narodnog spasa, Влада народног спаса; Regierung der nationalen Rettung) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระบอบเนดิก เป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมัน.
ดู ภาษาเยอรมันและรัฐผู้พิทักษ์แห่งเซอร์เบีย
รัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนต
รัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนต (Pfalzgrafschaft bei Rhein ต่อมาเป็น Kurpfalz, Palatinate of the Rhine ต่อมาเป็น Electoral Palatinate) เป็นภูมิภาคในประวัติศาสตร์ของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ดินแดนพาลาทิเนตปกครองโดยเคานต์พาเลไทน์ ผู้มีตำแหน่งเป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตั้งแต่ปี..
ดู ภาษาเยอรมันและรัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนต
รัฐทัวร์เกา
ทัวร์เกา (Thurgau) เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จากข้อมูลเมื่อเดือนธันวาคม..
รัฐของประเทศสวิตเซอร์แลนด์
มาพันธรัฐสวิสประกอบด้วย 26 รัฐ (Kanton หรือ Canton) ซึ่งในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึง 18 ต่างเคยเป็นรัฐเอกราช มีเขตแดน, กองทัพ และสกุลเงินเป็นของตนเอง จนกระทั่งมีการสถาปนาสมาพันธรัฐสวิสขึ้นใน..
ดู ภาษาเยอรมันและรัฐของประเทศสวิตเซอร์แลนด์
รัฐของประเทศออสเตรีย
ออสเตรียเป็นประเทศสหพันธรัฐที่ประกอบด้วย 9 รัฐ (Land; Bundesland) รัฐเหล่านี้แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็นเขต (Bezirk) และนครตามกฎหมาย (Statutarstadt) ซึ่งในเขตแต่ละแห่งยังแบ่งออกเป็นเทศบาล (Gemeinde) รัฐทั้ง 9 แห่งของออสเตรีย ได้แก่ 720px หมวดหมู่:รัฐของออสเตรีย.
ดู ภาษาเยอรมันและรัฐของประเทศออสเตรีย
รัฐซือริช
ซือริช (Zürich) หรือ ซูริก (Zurich) เป็นรัฐในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ มีเมืองหลวงของรัฐคือเมืองซือริช ภาษาราชการใช้ภาษาเยอรมันแต่คนพื้นเมืองพูดสำเนียงท้องถิ่นที่เรียกว่า Züritüütsch รัฐซือริชอยู่บริเวณตอนเหนือของเทือกเขาแอลป์ โดยมีทิศเหนือติดกับรัฐชาฟฟ์เฮาเซิน ทิศตะวันตกติดรัฐอาร์เกา ทิศใต้ติดรัฐซุกและชวีซ ส่วนทางตะวันออกติดกับรัฐทูร์เกาและซังคท์กัลเลิน นอกจากนี้ยังมีทะเลสาบซือริชซึ่งบริเวณเกือบทั้งหมดอยู่ภายในรั.
รัฐซูค
ซูค (Zug) เป็นหนึ่งใน 26 รัฐของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ มีเมืองหลวงคือเมือง ซูค รัฐมีพื้นที่ 239 กม² เป็นหนึ่งในรัฐที่มีพื้นที่น้อยที่สุด Zug มีประชากร (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2016) 29,804 คน ขณะที่ปี 2014, 31.7% ของประชากรคือชาวต่างประเทศ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาประชากรที่เติบโตขึ้นในอัตรา 11.4% ส่วนใหญ่ของประชากร พูดภาษาเยอรมัน (81.8%), อิตาลีเป็นอันดับสองร่วมกับ (3.8%) และเซอร์เบีย - โครเอเชียเป็นสาม (3.2%) เมืองนี้ค่อนข้างเล็ก แต่มีความหลากหลายมากและเป็นเรื่องง่ายที่จะเดินทางไปรอบๆ เนื่องจากทางเลือกในการคมนาคมสาธารณะที่ยอดเยี่ยม เมืองแห่งนี้มีวัฒนธรรมหลากหลายและเป็นที่อยู่ของผู้คนจากทั่วโลก เมืองเก่าของเมืองมีทัศนียภาพที่สวยงามของทะเลสาบ Zug และทัศนียภาพภูเขาที่สวยงาม เมือง Zug ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในเรื่องภาษีที่ต่ำและเป็นทั้งที่อยู่อาศัยและสำนักงานใหญ่ของเอกชน บริษัท ต่างๆเช่น Xstrata, Transocean, Siemens Building Technologies และ V-Zug ตั้งอยู่ที่นี่ ที่ตั้งของบริษัทนานาชาติหลายแห่งซึ่งก่อตั้งโดย Kyburgers Zyt Tower ซึ่งมีทิวทัศน์อันงดงามของเมืองเก่า ภูเขาซูก และทะเลสาบซูก เป็นจุดเด่นของเมือง ซูกได้รับการขนานนามว่า เป็นเมืองที่เล็กและร่ำรวยที่สุดในประเทศสวิตเซอร์แลนด์และติดอันดับเมืองที่สะอาดที่สุดในยุโรป ซูค.
รัฐโซโลทวร์น
ซโลทวร์น (Solothurn) เป็นรัฐในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ เมืองหลวงคือเมืองโซโลทวร์น.
รัฐเกราบึนเดิน
รัฐเกราบึนเดิน (Graubünden; Grigioni; Grischun) เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุด ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อยู่ติดกับรัฐทีชีโน รัฐอูรี รัฐกลารุส รัฐซังคท์กัลเลิน มีเมืองหลวงชื่อ คูร์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นรีเชียแห่งจักรวรรดิโรมันโบราณ พวกแฟรงก์เข้ายึดครองในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 6 ต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศเยอรมนี เข้าร่วมอยู่ในสมาพันธรัฐสวิสใน..
ดู ภาษาเยอรมันและรัฐเกราบึนเดิน
รัมสไตน์
รัมสไตน์ (Rammstein) เป็นวงดนตรีเยอรมันแนว นอยเอดอยท์เชแฮร์เตและ อินดัสเทรียลเมทัล ก่อตั้งวงที่ เบอร์ลินในปี 1994 ประกอบด้วยสมาชิก Till Lindemann (ร้องนำ), Richard Z.
ราชรัฐมุขนายกบริกเซิน
ตมุขนายกบริกเซิน (Bishopric of Brixen) เป็นอดีตมุขมณฑลโรมันคาทอลิกที่ปกครองโดยบิชอปแห่งบริกเซินและเจ้าชายบิชอปแห่งบริกเซินเมื่อได้เลื่อนฐานะเป็นราชรัฐมุขนายก นอกจากนั้นเขตมุขนายกบริกเซินก็ยังเป็นอดีตรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ตั้งอยู่ในมณฑลโบลซาโน-โบเซนในอิตาลีปัจจุบันอีกด้วย เดิมเขตมุขนายกที่ก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ตั้งอยู่ในหุบเขาไอซัค/อิซาโค ต่อมาย้ายมาตั้งอยู่ที่บริกเซินราว..
ดู ภาษาเยอรมันและราชรัฐมุขนายกบริกเซิน
ราชรัฐมุขนายกลีแยฌ
ราชรัฐมุขนายกลีแยฌ (Prince-Bishopric of Liège) เป็นรัฐของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในบริเวณที่ปัจจุบันคือประเทศเบลเยียมที่ปกครองโดยเจ้าชายบิชอปแห่งลีเยช (Prince-Bishop of Liège) ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและราชรัฐมุขนายกลีแยฌ
ราชรัฐลิพเพอ
ราชรัฐลิพเพอ (Fürstentum Lippe, Principality of Lippe) เป็นอดีตอาณาจักรที่เดิมเป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ราชรัฐลิพเพอก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
ราชอาณาจักรบาวาเรีย
ราชอาณาจักรบาวาเรีย (Königreich Bayern; Kingdom of Bavaria) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของเยอรมนีระหว่างปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและราชอาณาจักรบาวาเรีย
ราชอาณาจักรฮังการี
ราชอาณาจักรฮังการี หรือเรียกสั้นๆ ว่า ฮังการี (Kingdom of Hungary, Magyar Királyság) มีชื่อเต็มว่า “ราชอาณาจักรแห่งพระมหามงกุฎอันศักดิ์สิทธิ์แห่งเซนต์สตีเฟน” (A magyar Szent Korona országai) เริ่มก่อตั้งราชอาณาจักรขึ้นราว..
ดู ภาษาเยอรมันและราชอาณาจักรฮังการี
ราชอาณาจักรซัคเซิน
ราชอาณาจักรซัคเซิน ในปี ค.ศ. 1900 ราชอาณาจักรซัคเซิน Königreich Sachsen) หรือ ราชอาณาจักรแซกโซนี (Kingdom of Saxony) เป็นราชอาณาจักรตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐเช็กในปัจจุบันระหว่างปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและราชอาณาจักรซัคเซิน
ราชอาณาจักรปรัสเซีย
ราชอาณาจักรปรัสเซีย (Kingdom of Prussia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของชนชาติเยอรมัน ดำรงอยู่ระหว่างปีค.ศ. 1701 ถึง 1918 ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศเยอรมนี โปแลนด์ รัสเซีย ลิทัวเนีย เดนมาร์ก เบลเยียม และเช็กเกียในปัจจุบัน ราชอาณาจักรปรัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจของยุโรปในศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยของพระเจ้าฟรีดริชมหาราช และยิ่งทรงอำนาจขึ้นจนสามารถเป็นแกนนำในการชักนำรัฐเยอรมันต่างๆให้ทำการรวมชาติกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1871.
ดู ภาษาเยอรมันและราชอาณาจักรปรัสเซีย
ราชอาณาจักรโบฮีเมีย
ราชอาณาจักรโบฮีเมีย (Kingdom of Bohemia; České království; Königreich Böhmen; Regnum Bohemiae) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในตอนกลางของทวีปยุโรปที่ได้รับการก่อตั้งโดยสารตราทองแห่งซิซิลีที่ออกโดยจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและราชอาณาจักรโบฮีเมีย
ราชอาณาจักรโรมาเนียเก่า
การเปลี่ยนแปลงชายแดนโรมาเนียนับตั้งแต่ค.ศ. 1881— ราชอาณาจักรเก่าแสดงสีม่วง แผนที่ราชอาณาจักรเก่าในปีค.ศ. 1901 วาดโดยชาวเยอรมัน ราชอาณาจักรโรมาเนียเก่า หรือ Romanian Old Kingdom (โรมาเนีย: Vechiul Regat หรือ just Regat; เยอรมัน: Regat หรือ Altreich) เป็นคำที่หมายถึงดินแดนที่ครอบครองโดยอธิปไตยของโรมาเนียครั้งแรกในฐานะรัฐชาติ ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มราชรัฐดานูบ ได้แก่ วัลลาเซียและมอลเดเวีย การก่อตั้งครั้งนี้ประสบความสำเร็จได้ด้วยการอุปถัมภ์จากสนธิสัญญาปารีส (1856) สภาแอด ฮอค ดีวานส์ของทั้งสองดินแดน ที่ซึ่งอยู่ภายใต้อำนาจของซูเซอร์เรนแห่งจักรวรรดิออตโตมัน ได้เลือกให้อเล็กซานดรู เอียน คูซาขึ้นเป็นองค์อธิปัตย์ ถือเป็นการรวมประเทศโดยพฤตินัยในนามว่าสหราชรัฐแห่งมอลเดเวียและวัลลาเซีย ดินแดนได้ถูกกำหนดตัวเองโดยผลจากการกระทำทางการเมือง ตามมาด้วยการรวมเอาโดบรูจาเหนือและถ่ายโอนทางตอนใต้ของเบสซาราเบียให้แก่รัสเซียในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและราชอาณาจักรโรมาเนียเก่า
ราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1916–1918)
ราชอาณาจักรโปแลนด์ (Królestwo Polskie) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแห่งโปแลนด์ (Królestwo Regencyjne), เป็นโปแลนด์ หรือ รัฐหุ่นเชิดของจักรวรรดิเยอรมัน สถาปนาขึ้นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 พฤศจิกายน..1916 ได้จัดตั้งคณะรัฐบาลโดยสมเด็จพระจักรพรรดิเยอรมัน และ ออสเตรีย-ฮังการี ประกาศใช้รัฐธรรมนูญเมื่อ..
ดู ภาษาเยอรมันและราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1916–1918)
ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค
ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค (Königreich Württemberg) เคยเป็นราชอาณาจักรหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1806 - ค.ศ. 1918 ปัจจุบันอยู่ในเขตของรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี.
ดู ภาษาเยอรมันและราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค
รายชื่อภาษา
รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.
รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่
นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.
ดู ภาษาเยอรมันและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่
รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1
ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.
ดู ภาษาเยอรมันและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1
รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)
รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (List of fields of doctoral studies) นี้จัดทำขึ้นโดย "ศูนย์วิจัยความเห็นแห่งชาติ" (Opinion Research Center หรือ NORC) ที่ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกาจากการสำรวจปริญญาเอกที่มีผู้จบการศึกษารายปี โดยจัดทำให้กับมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐบาลกลางอีกหลายหน่วยงานในสหรัฐฯ ทั้งหมดนี้คือสายวิชาการศึกษาระดับปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยที่มุ่งสู่ปริญญาดุษฎีบัณฑิตปรัชญา (Doctor of Philosophy หรือ Ph.D.) และการศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Education Ed.D 1หรือ D.Ed) ที่เปิดสอนในสหรัฐฯ ซึ่งในปีการศึกษา 2547-2548 พบว่าร้อยละ 90.3 ของปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยจำนวน 43,354 ปริญญาในสหรัฐฯ ปริญญาเป็น Ph.D.
ดู ภาษาเยอรมันและรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)
รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)
ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.
ดู ภาษาเยอรมันและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)
รายชื่อนิยายปรัมปรา
รายชื่อเทพนิยาย เทพนิยาย.
ดู ภาษาเยอรมันและรายชื่อนิยายปรัมปรา
รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้
การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.
ดู ภาษาเยอรมันและรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้
รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย
รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.
ดู ภาษาเยอรมันและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย
รถไฟฟ้าปารีส
รถไฟฟ้าปารีส (Métro de Paris) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ถือเป็นสัญลักษณ์ของเมืองก็ว่าได้ เห็นได้ชัดจากอิทธิพลของนวศิลป์ (Art Nouveau) มีเส้นทางทั้งหมด 16 สาย ส่วนมากมักจะอยู่ใต้ดินและมีความยาวทั้งสิ้น 213 กิโลเมตร (133 ไมล์) และมีสถานี 298 แห่ง รถไฟฟ้าสายแรกเปิดโดยไม่มีพิธีรีตองในปี พ.ศ.
ฤดูหนาว
ฤดูหนาว (ฝรั่งเศส: hiver; เยอรมัน อังกฤษ: winter; สเปน: invierno; โปรตุเกส: inverno) เป็นฤดูที่มีอากาศหนาวที่สุดในปี ฤดูหนาวในเขตอบอุ่นและเขตหนาวของซีกโลกเหนือ โดยทั่วไปจะมีระยะเวลาตั้งแต่ 22 ธันวาคม ถึง 22 มีนาคม ของทุกปี เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในระยะนี้ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือได้พัดปกคลุมประเทศไทย ทำให้อุณหภูมิลดลงทั่วไป อากาศจะหนาวเย็น ยกเว้นภาคใต้ของประเทศไทยอุณหภูมิจะลดลงได้บ้างเป็นครั้งคราวและจะมีฝนตกตามชายฝั่งทะเลตะวันออก ตั้งแต่สุราษฎร์ธานีลงไปจนถึงนราธิวาส หนาว หมวดหมู่:ฤดูหนาว.
ลอสต์อินดิเอ็กโค
"ลอสต์อินดิเอ็กโค" (ชื่อเดิม "Holding Company") เป็นเพลงของวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก จากสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 5 ของวง ลิฟวิงทิงส์ เพลงเผยแพร่ทางสถานีวิทยุ และดิจิตอลดาวน์โหลด ในวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและลอสต์อินดิเอ็กโค
ลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง
ในสาขาจิตวิทยา ลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง (Big Five personality traits) หรือ แบบจำลองมีปัจจัย 5 อย่าง (five factor model ตัวย่อ FFM) เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับมิติหรือปัจจัยใหญ่ ๆ 5 อย่างที่ใช้อธิบายบุคลิกภาพและสภาพทางจิตใจของมนุษย์ โดยมีนิยามของปัจจัย 5 อย่างว.
ดู ภาษาเยอรมันและลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่าง
ลาบราบ็องซอน
ลาบราบ็องซอน (La Brabançonne) หรือ เพลงแห่งบราบ็อง คือเพลงชาติของประเทศเบลเยียม ประพันธ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1830 คำร้องโดยหลุยส์-อาแล็กซ็องดร์ เดอเช (Louis-Alexandre Dechet) ในนามแฝง "แฌนวาล" ("Jenneval") ทำนองโดย ฟร็องซัว ฟาน กอมเปนฮูต (François Van Campenhout) เพลงนี้ได้มีการรับรองเป็นเพลงชาติเบลเยียมอย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ.
ลาพร็องตีซอร์ซีเย
ประกอบหนังสือของเกอเทอ ในปี 1882 ผลงานของ Ferdinand Barth (1842–1892) ลาพร็องตีซอร์ซีเย (L'apprenti sorcier; มีชื่อเต็มว่า The Sorcerer's Apprentice, Scherzo after a ballad by Goethe) เป็นซิมโฟนิกโพเอ็ม ผลงานประพันธ์ของปอล ดูว์กัสในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและลาพร็องตีซอร์ซีเย
ลาเกอร์
เบียร์ลาเกอร์ ลาเกอร์ (Lager) เป็นเบียร์ที่มีแหล่งกำเนิดจากประเทศเยอรมนี โดยมาจากคำเยอรมัน "lagern" หมายถึง การกักเก็บ ลาเกอร์นั้นหมักจากมอลต์ข้าวบาเลย์และฮอปส์ ด้วยยีสต์ประเภทหมักนอนก้น (bottom-fermentation yeast) ที่อุณหภูมิต่ำกว่าที่ใช้หมักเอล คือประมาณ 5 ถึง 15 องศาเซลเซียส หลังจากเสร็จกระบวนการหมักแล้ว ลาเกอร์จะถูกเก็บไว้ในห้องเย็นที่อุณหภูมิประมาณ 0 ถึง 32 องศาเซลเซียส เป็นเวลาหลายสัปดาห์ หรือ หลายเดือน ก่อนจะนำออกบริโภค ซึ่งจะทำให้เบียร์มีสีที่ใส และมีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์สูง เบียร์ที่เป็นที่นิยมหลายตรานั้นเป็นเบียร์ประเภทลาเกอร์ ลาเกอร์นั้นจะมีทั้งรสที่หวานจนถึงขม และทั้งสีอ่อนจนถึงสีเข้ม แต่ส่วนใหญ่แล้วจะสีค่อนข้างอ่อน และมีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์สูง และมีรสฮอปส์ที่ค่อนข้างเข้มข้น และระดับแอลกอฮอล์ประมาณ 3-5 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร หมวดหมู่:เบียร์ หมวดหมู่:เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เยอรมนี.
ลิงค์ (ภาษาศาสตร์)
ลิงค์ (อ่านว่า ลิง) หรือ เพศทางไวยากรณ์ เป็นคำศัพท์ที่ใช้ในการแบ่งประเภทคำนามในบางตระกูลภาษา โดยเฉพาะตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน เช่น ภาษากรีก ภาษาละติน ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต แม้ในภาษาสมัยใหม่ ก็ยังมีการใช้ลิงค์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี เป็นต้น ลิงค์โดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 3 จำพวก คือ เพศชาย เพศหญิง และเพศกลาง ตำราไวยากรณ์ของไทย มักจะใช้ศัพท์บาลี หรือสันสกฤต ว่า ปุลลิงค์ (ปุงลิงค์), อิตถีลิงค์ (สตรีลิงค์) และนปุงสกลิงค์ ทั้งนี้ โดยทั่วไปแล้ว ลิงค์ ในทางไวยากรณ์ไม่ได้ผูกพันกับลักษณะทางเพศในเชิงชีววิทยาของสิ่งมีชีวิตแต่อย่างใด หมวดหมู่:ไวยากรณ์.
ดู ภาษาเยอรมันและลิงค์ (ภาษาศาสตร์)
ลูอีสแห่งเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์
ลูอีสแห่งเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เว.
ดู ภาษาเยอรมันและลูอีสแห่งเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์
ลูเซิร์น
ลูเซิร์น (Lucerne) หรือ ลุทแซร์น (Luzern) เป็นเมืองหลวงของรัฐลูเซิร์นในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ด้วยความที่ลูเซิร์นเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในภาคกลางของประเทศ ทำให้ลูเซิร์นกลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ, การคมนาคม, ทางวัฒนธรรม ของภาคกลาง ภาษาทางการที่ใช้ในลูเซิร์นคือภาษาเยอรมัน ตั้งอยู่ชายฝั่งด้านตะวันตกติดกับทะเลสาบลูเซิร์น มีแม่น้ำร็อยส์ไหลออกมาจากทะเลสาบผ่านกลางเมือง จากเมืองนี้สามารถมองเห็นเทือกเขาแอลป์, เขาพีลาทุส และเขารีกี ลูเซิร์นมีภูมิอากาศเย็นตลอดทั้งปี จุดหมายตาที่สำคัญในเมืองคือคาเพ็ลล์บรึคเคอ สนามบินที่อยู่ใกล้ลูเซิร์นที่สุดคือท่าอากาศยานซือริช ซึ่งมีรถไฟโดยตรงมาสู่ลูเซิร์นทุกชั่วโมงโดยใช้เวลาเดินทางราว 1 ชั่วโมง ภายหลังการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ชนอลามันน์เชื้อสายเยอรมันก็มีอิทธิพลเหนือดินแดนที่เป็นประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในปัจจุบัน จนกระทั่งราวปี 750 ก็มีการจัดตั้งสังฆมณฑลซังคท์เลโอเดอการ์ (St.
ล็อยเคอร์บาท
ล็อยเคอร์บาท (Leukerbad) หรือ ลอแอ็ช-เล-แบ็ง (Loèche-les-Bains) เป็นหมู่บ้านและเทศบาลในรัฐวาเล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาเยอรมันเป็นหลัก หมู่บ้านแห่งนี้ตั้งอยู่ในหุบเขากลางเทือกเขาแอลป์ จากหมู่บ้านมีกระเช้าลอยฟ้าข้ามเขาเชื่อมไปยังทะเลสาบเดาเบินทางเหนือ และยังมีกระเช้าลอยฟ้าขึ้นสู่รินเดอร์ฮึทเทอร์ทางตะวันออกเฉียงใต้.
วลาดีมีร์ คลิทช์โก
วลาดีมีร์ คลิทช์โก (อังกฤษ: Wladimir Klitschko) นักมวยรุ่นเฮฟวี่เวทชาวยูเครน มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ โวโลดีมีโลวิช คลิทช์โก (Volodymyr Volodymyrovych Klychko, ยูเครน: Володимир Володимирович Кличко) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและวลาดีมีร์ คลิทช์โก
วันทาพระราชินี
“วันทาพระราชินี” (Hail Holy Queen, Salve Regina) เป็นบทภาวนาอ้อนวอนถึงพระนางมารีย์พรหมจารี พระมารดาของพระเยซู สามารถใช้ได้ตั้งแต่ตั้งแต่ช่วงทำวัตรเย็นของวันสมโภชพระตรีเอกภาพจนถึงทำวัตรบ่ายของวันเสาร์ก่อนวันอาทิตย์สัปดาห์แรกของเทศกาลเตรียมรับเสด็จ (en:Advent) และยังเป็นบทภาวนาที่ใช้สวดปิดการสวดสายประคำอีกด้วย บุญราศีแฮร์มันน์แห่งไรเชเนา นักพรตคณะเบเนดิกตินท่านหนึ่งในสมัยกลางได้แต่งบทภาวนานี้ขึ้นเพื่อขอความช่วยเหลือจากพระนางในช่วงวิกฤตของชีวิต บทภาวนา วันทาพระราชินี ในตอนแรกได้ถูกประพันธ์เป็นภาษาละตินเพื่อบรรยายสภาพมนุษย์ที่ต้องการความช่วยเหลือ มนุษย์ทั้งชายและหญิงกำลัง “ถอนใจคร่ำครวญ ร่ำไห้ในเหวน้ำตานี้” เขาทั้งหลายจึงร้องตะโกนเช่นเดียวกับประชากรอิสราเอล ร้องหาพระยาห์เวห์เมื่อถูกชาวอียิปต์กดขี่ข่มเหง และพระองค์ทรงตอบสนอง โดยเสด็จมาช่วยเขาให้พ้นความทุกข์ทรมาน (เทียบ อพย3:7-8) หลังจากที่ได้บรรยายสภาพมนุษย์ผู้ต้องการความช่วยเหลือแล้ว บท “วันทาพระราชินี” ไม่วอนขอพระแม่ให้ทรงฟังเสียงร้องแสดงความทุกข์ทรมานของ “ผู้เป็นลูกหลานที่ถูกเนรเทศของเอวา” แต่วอนขอว่า “โปรดเถิดพระแม่ผู้ทรงช่วยเหลือเกื้อกูลลูก โปรดทอดพระเนตร..
ดู ภาษาเยอรมันและวันทาพระราชินี
วาทยกร
วาทยกร (conductor) หรือผู้อำนวยเพลง คือคนที่ตีความหมายของบทเพลง โดยเห็นภาพรวมทั้งหมดของวงดนตรี มีหน้าที่ดึงความสัมพันธ์ของเครื่องดนตรีแต่ละชิ้นออกมาเพื่อสอดผสานรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน อาจกล่าวอีกนัยได้ว่า วาทยกรเป็นผู้ที่สื่อสารกับนักดนตรีด้วยภาษามือ เป็นเหมือนภาษาใบ้ที่ใช้กับดนตรี พร้อมกันนี้วาทยกรต้องมีความเป็นผู้นำที่สามารถให้ความเชื่อมั่นแก่นักดนตรีด้วย เสมือนผู้กำกับ วาทยกรควบคุมวงดนตรีโดยการใช้รหัสหรือสัญญาณมือ มักถือไม้บาตอง (Baton) ที่มือขวาสำหรับให้จังหวะ ส่วนมือซ้ายจะควบคุมในด้านอื่น เช่น ให้นักดนตรีเล่นเสียงดังหรือค่อย หรือเป็นการแสดงออกด้านอารมณ์อื่น ๆ ที่วาทยกรต้องการสื่อสารกับนักดนตรีในวง วาทยากรจะพบในการแสดงดนตรีที่ใช้นักดนตรีจำนวนมาก เช่นในวง ออร์เคสตร้า วงประสานเสียง ส่วนการบรรเลงดนตรีในวงดุริยางค์ของกองทัพ อาจเรียกว่า หัวหน้าวงดุริยางค์ วาทยกรผู้เป็นสมาชิกของวงออร์เคสตร้าจะเป็นคนที่กำหนดทิศทางของวง ซึ่งบางครั้งเรียกว่า ผู้กำกับดนตรี หรือเรียกว่า คาเปลไมสเตอร์ (Kapellmeister) ในภาษาเยอรมันซึ่งหมายความถึง หัวหน้าวาทยากรในวงออร์เคสตร้าเยอรมัน สำหรับวาทยกรของวงประสานเสียง จะเรียก ผู้ควบคุมวงประสานเสียง ส่วนวาทยากรอาวุโสจะเรียกว่า มาเอสโตร (maestro - นาย) ในภาษาอิตาเลียน แต่ความสำคัญของวาทยกรนั้น ไม่ได้อยู่แค่ที่การกำกับวงออกแสดงเท่านั้น กลับอยู่ที่การฝึกซ้อมนักดนตรีให้เล่นคีตนิพนธ์ต่าง ๆ ตามการตีความของวาทยกรแต่ละคน การนำวงดุริยางค์ออกแสดงเป็นแต่เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ของการเล่นและการตีความคีตนิพนธ์นั้น ๆ เพราะการฝึกซ้อมต้องใช้เวลาที่ยาวนานกว่าการออกแสดงแต่ละครั้ง ทั้งนี้วาทยกรยังต้องเป็นผู้ที่สามารถแนะนำหรือแก้ไขเทคนิคต่าง ๆ ให้แก่นักดนตรีได้ วาทยกรที่ดีจึงมักจะเป็นนักดนตรีที่ดีมาก่อนด้วย จึงจะสามารถเข้าใจปัญหาของวงได้เป็นอย่างดี และรู้ความสามารถและขีดจำกัดของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด วาทยกรที่ดีเป็นแบบใดนั้น เป็นเรื่องที่ให้คำจำกัดความได้ยาก เพราะวาทยกรบางคนให้จังหวะแก่นักดนตรีได้อย่างแม่นยำ แต่วาทยกรบางคนก็ดูประหนึ่งว่าไม่ค่อยให้จังหวะแก่นักดนตรี หรือที่นักดนตรีเรียกว่า "ให้คิว" แต่กลับสื่อสารกับนักดนตรีได้อย่างสมบูรณ์แบบ ดังนั้น คุณค่าของวาทยกรจึงไม่ได้อยู่ที่ลีลาการกำกับวงเมื่อออกแสดง แต่อยู่ที่การฝึกซ้อมและการสื่อสารกับนักดนตรีให้เข้าใจ วาทยกรใหญ่หลายต่อหลายคนออกท่าทางน้อยมาก เช่น อิกอร์ มาร์เควิช (Igor Markevitch) หรือบางคนอาจดูเหมือนให้จังหวะที่สับสน เช่น วิลเฮ็ล์ม ฟวร์ตแวงเลอร์ (Wilhelm Furtwangler) แต่บทเพลงภายใต้การกำกับวงของเขาเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าเต็มเปี่ยมไปด้วยความล้ำลึก คุณค่าของวาทยกรจึงมิได้วัดด้วยสายตา แต่ต้องวัดจากการฟังของผู้ฟัง หมวดหมู่:อาชีพ.
วิกฤติรักแดนเบอร์ลิน
วิกฤติรักแดนเบอร์ลิน เป็นภาพยนตร์เยอรมัน ออกฉายปี 2006 กำกับโดย Florian Henckel von Donnersmarck ตัดต่อโดย Patricia Rommel.
ดู ภาษาเยอรมันและวิกฤติรักแดนเบอร์ลิน
วิกิพีเดียภาษาเยอรมัน
วิกิพีเดียภาษาเยอรมัน เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาเยอรมัน เริ่มสร้างเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2544 วิกิพีเดียภาษาเยอรมันเป็นวิกิพีเดียที่มีจำนวนบทความมากเป็นอันดับสองรองจากภาษาอังกฤษ มีบทความมากกว่า 2,014,836 บทความ (30 ธันวาคม 2559) of German Wikipedia (English).
ดู ภาษาเยอรมันและวิกิพีเดียภาษาเยอรมัน
วิลนีอุส
อนุสาวรีย์ไม้กางเขน 3 อันในกรุงวิลนีอุส วิลนีอุส (Vilnius) (ภาษาเบลารุส Вільня, ภาษาโปแลนด์ ไฟล์:Ltspkr.png Wilno, ภาษารัสเซีย Вильнюс, อดีต Вильно, ภาษาเยอรมัน Wilna) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลิทัวเนีย มีจำนวนประชากรมากกว่า 540,000 คน ในปี พ.ศ.
วิลเลียม เชกสเปียร์
วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare; รับศีล 26 เมษายน ค.ศ. 1564 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616) เป็นกวีและนักเขียนบทละครชาวอังกฤษ ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของโลก มักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "Bard of Avon" (กวีแห่งเอวอน) งานเขียนของเขาที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยบทละคร 38 เรื่อง กวีนิพนธ์แบบซอนเน็ต 154 เรื่อง กวีนิพนธ์อย่างยาว 2 เรื่อง และบทกวีแบบอื่นๆ อีกหลายชุด บทละครของเขาได้รับการแปลออกไปเป็นภาษาต่างๆ มากมาย และเป็นที่นิยมนำมาแสดงมากที่สุดในบรรดาบทละครทั้งหมด เชกสเปียร์เกิดและเติบโตที่เมืองสแตรทฟอร์ด ริมแม่น้ำเอวอน เมื่ออายุ 18 ปี เขาสมรสกับแอนน์ ฮาธาเวย์ มีบุตรด้วยกัน 3 คนคือ ซูซานนา และฝาแฝด แฮมเน็ตกับจูดิธ ระหว่างช่วงปี..
ดู ภาษาเยอรมันและวิลเลียม เชกสเปียร์
วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน
วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน (Wilhelm Conrad Röntgen - 27 มีนาคม พ.ศ. 2388 — 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ประจำมหาวิทยาลัยเวิร์ซแบร์ก ผู้ค้นพบและสร้าง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มี ช่วงคลื่น ขนาดที่รู้จักในปัจจุบันว่า รังสีเอกซ์ (x-rays) หรือ รังสีเรนต์เกน เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและวิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกน
วิทยาการคอมพิวเตอร์
วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer science) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือข่าย ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับนามธรรม หรือความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ไปจนถึงระดับรูปธรรม เช่น ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฎีเครือข่าย ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรก.
ดู ภาษาเยอรมันและวิทยาการคอมพิวเตอร์
สภายุโรป
รป (Council of Europe, ตัวย่อ CoE, Conseil de l'Europe) เป็นองค์การระหว่างรัฐบาลส่วนภูมิภาค (regional intergovernmental organisation) ที่ตั้งขึ้นในปี..
สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ
ื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ (Council for Mutual Economic Assistance) หรือ คอมิคอน (Comecon) เป็นองค์กรความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต ประเทศต่าง ๆ ในกลุ่มตะวันออก และรัฐคอมมิวนิสต์บางแห่งทั่วโลก มอสโกกังวลเรื่องแผนมาร์แชลล์ คอมิคอนมีขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประเทศในขอบเขตอิทธิพลของโซเวียตไปสู่อิทธิพลของอเมริกาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คอมิคอนได้รับการตอบรับจากกลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) ถึงการก่อตัวในยุโรปตะวันตกขององค์การเพื่อการดำเนินงานทางเศรษฐกิจของยุโรป (OEEC)"Germany (East)", Library of Congress Country Study, การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในปี 1957 และองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1961.
ดู ภาษาเยอรมันและสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ
สมพล ปิยะพงศ์สิริ
มพล ปิยะพงศ์สิริ ชื่อเล่น ไก่ เกิดเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2512 ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนที่ย่านเยาวราช กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาระดับประถมจากโรงเรียนเผยอิง มัธยมจากโรงเรียนทวีธาภิเศก โดยเรียนสาขาภาษาเยอรมัน ระหว่างเรียนได้ทุนเรียนดีให้ไปศึกษาต่อที่ประเทศเยอรมนีอยู่ระยะหนึ่งด้วย จากนั้นจึงเข้าศึกษาต่อคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นเดียวกับ "ครูลิลลี่" กิจมาโนชญ์ โรจนทรัพย์ มีชื่อเสียงมาจากการเคยเล่นมิวสิกวีดีโอของ ธเนศ วรากุลนุเคราะห์ ในเพลง รักน้องคนเดียว และรวมทั้งเป็นดีเจในเครือของแกรมมี่ โดยมีบุคลิกเฮฮา เจ้าสำราญ มีมุกตลกชอบอำอยู่เสมอ ๆ จากนั้นจึงได้เป็นพิธีกรรายการเกมโชว์ในเครือของแกรมมี่อีกหลายรายการ เช่น เกมฮอตเพลงฮิต, เกมวัดดวง เซียนโอเกะ, คอซองเกม เป็นต้น นอกจากนั้นยังเคยออกอัลบั้มเพลงมา 2 ชุด ชื่อ เหล่าเจ๊กหงี กับ แมงยุ่ง และแสดงภาพยนตร์เรื่อง ยังไงก็รัก ในปี พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและสมพล ปิยะพงศ์สิริ
สมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์
มาพันธรัฐแห่งลุ่มแม่น้ำไรน์ หรือ สมาพันธรัฐแม่น้ำไรน์ (Rheinbund; États confédérés du Rhin (ชื่ออย่างเป็นทางการ) Confédération du Rhin (ชื่อในทางพฤตินัย)) เป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 ก่อตั้งจากรัฐเยอรมันทั้ง 16 รัฐ โดยจักรพรรดินโปเลียนหลังจากรบชนะจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียในยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์ การลงนามในสนธิสัญญาเพรซเบิร์กได้นำไปสู่การก่อตั้งสมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์ ซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและสมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์
สมาพันธรัฐเยอรมัน
มาพันธรัฐเยอรมัน (German Confederation; Deutscher Bund) เป็นสมาคม 39 รัฐเยอรมันในยุโรปกลางอย่างหลวม ตั้งขึ้นโดยการประชุมใหญ่แห่งเวียนน..
ดู ภาษาเยอรมันและสมาพันธรัฐเยอรมัน
สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ
มาพันธรัฐเยอรมันเหนือ (Norddeutscher Bund) คือชื่อของรัฐชาติเยอรมันซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง กรกฎาคม..
ดู ภาษาเยอรมันและสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ
สมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียม
มเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียม (Fabiola, koningin der Belgen; Fabiola, Reine des Belges; พระราชสมภพ: 11 มิถุนายน ค.ศ. 1928 – สวรรคต: 5 ธันวาคม ค.ศ. 2014) หรือพระนามเดิมว่า ดอญญา ฟาเบียวลา เด โมรา อี อารากอน (Doña Fabiola de Mora y Aragón) สตรีชาวสเปนที่ต่อมาได้เป็นสมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม ครั้นเมื่อพระราชสวามีได้เสด็จสวรรคตลงในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและสมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียม
สมเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์
มเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์ (Jadwiga of Poland) (3 ตุลาคม 1373 - 17 กรกฎาคม 1399) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรโปแลนด์ ต้งแต่ปี 1384 จนถึงการสวรรคตของพระองค์ พระองค์เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าหลุยส์ที่ 1 แห่งฮังการีกับสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธแห่งบอสเนีย พระองค์เป็นที่รู้จักในภาษาโปแลนด์ในพระนามว่า เจดวิกา ในภาษาอังกฤษและภาษาเยอรมันว่า เฮ็ดวิก ยุโรปในช่วงเวลานั้นการครองราชย์ของพระราชินีนาถค่อนข้างไม่ใช่เรื่องที่ปกติ พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์อย่างเป็นทางการของประเทศโปแลนด์Hedvigis Rex Polonie: M.
ดู ภาษาเยอรมันและสมเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์
สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6
มเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6 (2 มีนาคม ค.ศ. 1459 - 14 กันยายน ค.ศ. 1523) มีพระนามเดิมว่า Adrian Florisz Boeyens ทรงดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สหพันธรัฐออสเตรีย
หพันธรัฐออสเตรีย (Federal State of Austria) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ออสเตรียระหว่างปี 1934 ถึง 1938 เมื่อประเทศออสเตรียอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของพรรคแนวร่วมปิตุภูมิ ทำให้ประเทศออสเตรียกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ ต่อมาในปี 1938 สหพันธรัฐออสเตรียได้ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของนาซีเยอรมนี.
ดู ภาษาเยอรมันและสหพันธรัฐออสเตรีย
สหภาพยุโรป
หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
สัทอักษรสากล
ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2015 สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไท.
สันนิบาตสตรีชาติสังคมนิยม
ันนิบาตสตรีชาติสังคมนิยม(German: Nationalsozialistische Frauenschaft, ย่อ NS-Frauenschaft)เป็นสมาชิกฝ่ายสตรีแห่งพรรคนาซี.ก่อตั้งในเดือนตุลาคม ปี..
ดู ภาษาเยอรมันและสันนิบาตสตรีชาติสังคมนิยม
สันนิบาตนักเรียนชาติสังคมนิยมเยอรมัน
ันนิบาตนักเรียนชาติสังคมนิยมเยอรมัน (German: Nationalsozialistischer Deutscher Studentenbund, ย่อคำว่า NSDStB)ถูกก่อตั้งขึ่นในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและสันนิบาตนักเรียนชาติสังคมนิยมเยอรมัน
สาวทรงเสน่ห์
วทรงเสน่ห์ (Pride and Prejudice) เป็นนวนิยายเชิงเรียลลิสติกเรื่องแรกๆ ของโลก ประพันธ์โดย เจน ออสเตน สุภาพสตรีชาวอังกฤษ ตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อวันที่ 28 มกราคม..
สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
รณรัฐโปแลนด์ที่ 2 หรือเครือจักรภพโปแลนด์ที่สองหรือโปแลนด์ระหว่างสงคราม หมายความถึงประเทศโปแลนด์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง (ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
สาธารณรัฐไวมาร์
รณรัฐไวมาร์ (Weimarer Republik) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกประเทศเยอรมนีในยุคสาธารณรัฐระหว่างปี..
ดู ภาษาเยอรมันและสาธารณรัฐไวมาร์
สาธารณรัฐเทกซัส
รณรัฐเทกซัส (Republic of Texas) คือรัฐเอกราชในทวีปอเมริกาเหนือที่ดำรงอยู่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1836 ถึง 1846 โดยมีชายแดนติดอยู่กับสหรัฐอเมริกาและเม็กซิโก สาธารณรัฐเทกซัสสถาปนาตนเองเป็นสาธารณรัฐโดยแยกดินแดนออกมาจากเม็กซิโกในเหตุการณ์ปฏิวัติเทกซัส โดยอ้างสิทธิ์ในดินแดนที่มีขอบเขตครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของรัฐเทกซัส รวมไปถึงบางส่วนของรัฐนิวเม็กซิโก, โอคลาโฮมา, แคนซัส, โคโลราโด และไวโอมิงของสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน โดยยึดตามสนธิสัญญาวิลาสโกระหว่างสาธารณรัฐเทกซัสที่เพิ่งตั้งขึ้นมาใหม่กับเม็กซิโก พรมแดนทางตะวันออกกับสหรัฐอเมริกาถูกกำหนดโดยสนธิสัญญาแอดัมส์-โอนิสที่ทำขึ้นระหว่างสหรัฐอเมริกากับสเปนในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและสาธารณรัฐเทกซัส
สีขาว
ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สท. เป็นหน่วยงานของรัฐ ประเภทองค์การมหาชน จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีการจัดตั้งสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน)..
ดู ภาษาเยอรมันและสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก
ันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก (Swiss Federal Institute of Technology in Zurich, ชื่อเต็มในภาษาเยอรมันคือ Eidgenössische Technische Hochschule Zürich โดยมีชื่อย่อที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ETH Zürich) เป็นมหาวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริกเป็นมหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงในระดับนานาชาติเป็นสมาชิกของ IDEA League และ International Alliance of Research Universities IARU.
ดู ภาษาเยอรมันและสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก
สงคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศ
งคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศ (The Pianist) เป็นภาพยนตร์ร่วมระหว่างประเทศฝรั่งเศส เยอรมัน อังกฤษ และโปแลนด์ ผลงานการกำกับโดย โรมัน โปลันสกี้ นำแสดงโดย เอเดรียน โบรดี ออกฉายครั้งแรก ในวันที่ 24 พฤษภาคม ปี..
ดู ภาษาเยอรมันและสงคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศ
สงครามเกียรติยศ มิตรภาพเหนือพรมแดน
งครามเกียรติยศ มิตรภาพเหนือพรมแดน ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์เกาหลีเรื่อง Joint Security Area (ตัวย่อ: JSA, ฮันกึล: 공동경비구역JSA, ฮันจา: 共同警備區域JSA, ระบบกระทรวงวัฒนธรรมเกาหลี 2000: Gongdong Gyeongbi Guyeok JSA, ระบบแมกคูน-ไรซ์ชาวเออร์: Kongdong Kyŏngbi Kuyŏk JSA) นำแสดงโดย ลี ยองเอ, ซอง กังโฮ, ชิน ฮาคุน กำกับการแสดงโดย ปาร์ค ชานวุก.
ดู ภาษาเยอรมันและสงครามเกียรติยศ มิตรภาพเหนือพรมแดน
สตัดเฮาเดอร์
ตัดเฮาเดอร์ (stadhouder) แปลตรงตัวว่า เจ้าผู้ครองสถาน คือคำที่ใช้อธิบายรูปแบบหนึ่งของศักดินาตำแหน่งอุปราชหรือผู้บริหารมณฑลแทนพระองค์ ในกลุ่มประเทศต่ำ สตัดเฮาเดอร์คือระบบจากยุคกลางและต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ถูกยกระดับให้มีศักดิ์เทียบเท่าประมุขแห่งรัฐในทางปฏิบัติของระบอบมกุฎสาธารณรัฐ (crowned republic) ในสาธารณรัฐดัตช์ สามารถเปรียบเทียบได้กับศักดินา ลีเยิตน็อง ของฝรั่งเศส และ ผู้บริหารมณฑลแทนพระองค์ ของอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งประสงค์หลักของของตำแหน่งนี้ก็เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยและอำนาจการปกครองส่วนท้องถิ่นของสาธารณรัฐดัตช์ตอนต้น.
สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี
นธิสัญญาการในการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี หรือเรียกว่า สนธิสัญญาสองบวกสี่ (Zwei-plus-Vier-Vertrag) มีการเจรจาขึ้นในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและสนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี
สนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย
ัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย หรือ สนธิสัญญาโอสนาบรึคและ มึนสเตอร์ (Westfälischer Friede, Peace of Westphalia หรือ Treaties of Osnabrück and Münster) เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามกันเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย
สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด
นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด
สโนว์ไวต์
วาดสโนว์ไวต์ในโลงศพแก้ว ของ ธีโอดอร์ ฮอสมัน สโนว์ไวต์ (Schneewittchen; Schneeweißchen, Snow White) เป็นชื่อของเทพนิยายอันโด่งดังในยุโรป และเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก รวมไปถึงประเทศไทยด้วยเช่นกัน เทพนิยายเรื่องนี้ตั้งชื่อขึ้นตามตัวเอกของเรื่อง โดยดังเดิมเป็นนิทานพื้นบ้านของยุโรป ได้รับการเล่าขานกันมาต่าง ๆ กัน แต่เทพนิยายเรื่องสโนว์ไวต์ที่เรารู้จักกันดีที่สุด มาจากบทประพันธ์ในภาษาเยอรมันของ พี่น้องตระกูลกริมม์ โดยพี่น้องตระกูลกริมม์ได้เพิ่มตัวละครส่วนประกอบที่ทำให้เรื่องราวน่าสนใจยิ่งขึ้น อาทิ กระจกวิเศษ และ คนแคระทั้งเจ็ด เป็นต้น ต่อมาเมื่อปี ค.ศ.
หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย
ลตำรวจจัตวา หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย (5 ตุลาคม พ.ศ. 2451 - 3 มกราคม พ.ศ. 2552) นักเขียน นักภาษาศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักการศึกษา หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย เป็นบุตรของ พันเอก หลวงเอนกนัยวาที (หม่อมราชวงศ์นารถ ชุมสาย) มีน้องสาวคือ หม่อมหลวงอนงค์ นิลอุบล เกิดที่จังหวัดฉะเชิงเทรา จบชั้นมัธยม 8 จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และได้รับพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวง ไปศึกษาอักษรศาสตร์จาก ทรินิตี้คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ สำเร็จการศึกษาเมื่อปี..
ดู ภาษาเยอรมันและหม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย
หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล
ตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 — 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นนักประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีชาวไทย ทรงเป็นบุคคลคนแรกที่พบทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ปราสาทพนมรุ้ง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถาบันศิลปะแห่งชิคาโก สหรัฐอเมริกา จนมีการทวงทับหลังชิ้นกลับคืนสู่ประเทศไทย ทรงเป็นหนึ่งในบุคคลไทยที่ทรงมีคุณูปการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีไท.
ดู ภาษาเยอรมันและหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล
หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร
หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร (15 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 28 มกราคม พ.ศ. 2510) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยบางขวางแล้ว ก็ทรงศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ..
ดู ภาษาเยอรมันและหม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร
หลักระวังไว้ก่อน
หลักระวังไว้ก่อน (precautionary principle) เป็นวิธีการจัดการความเสี่ยงที่มีหลักว่า ถ้าการกระทำหรือนโยบายมีข้อน่าสงสัยว่า จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อสาธารณประโยชน์หรือต่อสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ โดยไม่มีมติส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ว่า การกระทำหรือนโยบายนั้นจะไม่ทำความเสียหาย การพิสูจน์ว่าจะไม่ก่อความเสียหาย ตกเป็นหน้าที่ของบุคคลที่ต้องการทำการนั้น ๆ ผู้ออกนโยบายได้ใช้หลักนี้เป็นเหตุผลการตัดสินใจ ในสถานการณ์ที่อาจเกิดความเสียหายเพราะการตัดสินใจบางอย่าง (เช่นเพื่อจะทำการใดการหนึ่ง หรืออนุมัติให้ทำการใดการหนึ่ง) ในกรณีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไม่ชัดเจน หลักนี้แสดงนัยว่า ผู้ออกนโยบายมีหน้าที่ทางสังคมที่จะป้องกันสาธารณชนจากการได้รับสิ่งที่มีอันตราย เมื่อการสืบสวนทางวิทยาศาสตร์ได้พบความเสี่ยงที่เป็นไปได้ และการป้องกันเช่นนี้จะสามารถเพลาลงได้ ก็ต่อเมื่อมีงานศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงหลักฐานที่ชัดเจนว่าจะไม่มีอันตรายเกิดขึ้น กฎหมายของเขตบางเขต เช่นในสหภาพยุโรป ได้บังคับใช้หลักนี้ในบางเรื่อง ส่วนในระดับสากล มีการยอมรับใช้หลักนี้เป็นครั้งแรกในปี 2525 เมื่อสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตกลงใช้กฎบัตรเพื่อธรรมชาติแห่งโลก (World Charter for Nature) แล้วต่อมาจึงมีผลเป็นกฎหมายจริง ๆ ในปี 2530 ผ่านพิธีสารมอนทรีออล (Montreal Protocol) ต่อจากนั้นจึงมีการใช้หลักนี้ตามสนธิสัญญาที่มีผลทางกฎหมายต่าง ๆ เช่น ปฏิญญารีโอ (Rio Declaration) และพิธีสารเกียวโต.
ดู ภาษาเยอรมันและหลักระวังไว้ก่อน
หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เป็นระบบการทับศัพท์ที่นิยมใช้มากที่สุดระบบหนึ่งในประเทศไทย โดยคณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การทับศัพท์และคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (เดิมคือราชบัณฑิตยสถาน) เป็นผู้กำหนดและเสนอหลักเกณฑ์ต่อสำนักงานราชบัณฑิตยสภาเพื่อออกประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้หลักเกณฑ์ จากนั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะเป็นผู้เสนอหลักเกณฑ์ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แล้วลงประกาศเผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป.
ดู ภาษาเยอรมันและหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
หลุยส์ ดูว์ครุแอ
หลุยส์ รอแบร์ ปอล ดูว์ครุแอ (Louis Robert Paul Ducruet, เกิด 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535) พระโอรสองค์ใหญ่ในเจ้าหญิงสเตฟานีแห่งโมนาโก กับนายดาเนียล ดูว์ครุแอ อดีตราชองครักษ์ส่วนพระอง.
ดู ภาษาเยอรมันและหลุยส์ ดูว์ครุแอ
หลุยส์แห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์
้าหญิงหลุยส์แห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์(7 ธันวาคม พ.ศ. 2267 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2294) พระนางเป็นพระราชธิดาองค์สุดท้องในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่กับคาร์โรไลน์แห่งอันสบาค สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร และทรงดำรงพระอิศริยยศสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ โดยทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 5 แห่งเดนมาร์ก พระนางเป็นพระมเหสีพระองค์แรกในพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 5 จนกระทั่งพระนางสิ้นพระชนม์ พระนางทรงเป็นที่นิยมในหมู่ชาวเดนมาร์ก เนื่องจากทรงเป็นผู้อุปถัมภ์วงการศิลปะ การดนตรี การละครเดนมาร์กที่สำคัญพระองค์หนึ่ง และทรงพยายามนำพาเดนมาร์กสู่ความทันสมั.
ดู ภาษาเยอรมันและหลุยส์แห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์
หลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก
้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก (ภาษาเยอรมัน: Luise Wilhelmine Friederike Caroline Auguste Julie von Hessen-Kassel; ภาษาเดนมาร์ก: Louise Wilhelmine Frederikke Caroline Auguste Julie) (7 กันยายน พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก
หงส์
หงส์ (มักเขียนผิดเป็น หงษ์) เป็นนกน้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ในสกุล Cygnus ในวงศ์ Anatidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเป็ดและนกเป็ดน้ำ มีลักษณะทั่วไป มีขนสีขาวทั้งตัว จะงอยปากสีเหลืองส้มและมีปุ่มสีดำที่ฐานของปาก มักรวมฝูงในบึงน้ำเพื่อกินพืชน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก พบในทวีปเอเชียทางตอนเหนือ, ยุโรปทางตอนเหนือ, อเมริกา และออสเตรเลีย หงส์ สามารถร่อนลงบนพื้นน้ำแข็งหรือผิวน้ำที่เยือกตัวเป็นน้ำแข็งได้ เพราะมีอุ้งตีนที่ใหญ่คล้ายใบพายซึ่งช่วยกระจายน้ำหนักได้เมื่อร่อนลง แต่จะควบคุมการร่อนได้ดีกว่าในบริเวณที่น้ำแข็งละลาย หงส์มีทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก.
หน่วยคำเติม
หน่วยคำเติม (affix) เป็นหน่วยคำชนิดหนึ่งที่ไม่สามารถใช้ในภาษาตามลำพังได้ แต่จะต้องใช้ร่วมกับหน่วยคำประเภทอื่นเสมอ.
ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์
ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ (Dexter's Laboratory) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Gendy Tatakovsky โดยค่าย Hanna-Barbera Cartoons ในปี 1996-1998 และเปลี่ยนมือมาเป็น Cartoon Network Studios ในปี 2001-2003 ฉายทั่วโลกผ่านทางช่อง Cartoon Network และทางยูบีซีช่อง 29 (ปัจจุบันทรูวิชั่นส์ ช่อง 44) สำหรับประเทศไทย ปัจจุบันออกอากาศที่ช่องบูมเมอแรง ช่อง 89 เรื่องราวของห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ เป็นเรื่องราวของเด็กซ์เตอร์ เด็กอัจฉริยะ ผู้ซึ่งมีสติปัญญาเหนือเด็กทั่วไป เขามีห้องทดลองลับอยู่ในห้องนอนของเขา โดยในแต่ละตอนเขามีหน้าที่ปกป้องห้องทดลองของเขาจากดีดี พี่สาวตัวร้าย และต้องไม่ให้พ่อกับแม่รู้เรื่องนี้อีกด้ว.
ดู ภาษาเยอรมันและห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์
ออร์เคสตรา
วง '''เมลเบิร์น ซิมโฟนี ออร์เคสตรา''' ออร์เคสตรา (orchestra) หรือ วงดุริยางค์ ในภาษาไทย เป็นคำศัพท์เกี่ยวกับดนตรี มีประวัติมาช้านาน และมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปตามยุคสมัย เพื่อสนองความต้องการของผู้ประพันธ์ในการถ่ายทอดความรู้สึกของดนตรีในแต่ละยุค วงออร์เคสตราเป็นวงดนตรีที่มีวิวัฒนาการเริ่มขึ้นราว..1600 ลักษณะที่สำคัญของวงออร์เคสตราคือ เป็นกลุ่มของนักดนตรี ที่เล่นเครื่องดนตรีหลักทั้ง 4 ประเภท ได้แก่ เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย เครื่องเป่าลมไม้ เครื่องลมทองเหลือง และเครื่องกระทบ โดยบรรเลงภายใต้การควบคุมของผู้อำนวยเพลง.
อะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์
อะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์ เป็นซอฟต์แวร์สำหรับรังสรรค์ และทัศนาสื่อภาพเครื่องไหว ภาพยนตร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ บนเว็บเบราว์เซอร์ ในเว็บไซต์ทั่วไปจะสามารถเห็นแฟลซเพลย์เยอร์แสดงภาพเคลื่อนไหวหรือภาพยนตร์ต่างๆ แฟลซเพลย์เยอร์เป็นซอร์ฟแวร์มัลติมีเดีย และ โปรแกรมประยุกต์ที่มีกรรมสิทธิ์ ที่แพร่หลายในวงกว้าง เริ่มต้นพัฒนาโดย แมโครมีเดีย แต่ปัจจุบัน พัฒนาและเผยแพร่โดย อะโดบี หลังจากการควบรวมกิจการ แฟลซ์ เพลย์เยอร์ ทำงานโดยการอ่านไฟล์ SWF ที่เขียนขึ้นโดยโปรแกรม อะโดบี แฟลช, อะโดบี แฟล็ก เครื่องมืออื่นๆ ของแมโครมีเดีย หรือ เครื่องมือที่ผู้ร่วมพัฒนาจัดทำขึ้น อะโดบี แฟลช หรือ เรียกย่อว่า แฟลช มักใช้อ้างถึงทั้ง อะโดบี แฟลช ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม และ อะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์, ซึ่งเขียนและเผยแพร่โดย อะโดบี, สามารถทำงานกับภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ และภาพถ่ายทั่วไป มีภาษาสคริปต์เป็นของตนเองเรียกว่า ActionScript, สามารถเรียกข้อมูลวิดีโอและเสียงแบบสองทิศทาง (Bidirectional Streaming).
ดู ภาษาเยอรมันและอะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์
อะเว
อะเว (Ave) เป็นคำในภาษาละติน เป็นการแสดงความเคารพหรือการทักทายของชาวโรมัน หมายถึง "ขอให้เป็นสุข" ส่วนใหญ่คำดังกล่าวมักจะใช้กล่าวทำความเคารพแก่จักรพรรดิแห่งโรมันหรือผู้มีอำนาจอื่น ๆ แต่ภายหลังจากนั้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ลัทธิฟาสซิสต์ได้นำไปดัดแปลงไปใช้ในการทักทาย โดยในนาซีเยอรมนี คำว่า อะเว แปลเป็นภาษาเยอรมันว่า ไฮล.
อักษรรูน
รึกอักษรฟูทาร์กใหม่บน Vaksala Runestone อักษรรูน หรือ อักษรรูนิก ในภาษาพื้นเมืองเรียกฟูทาร์ก ซึ่งหมายถึงตัวอักษร ข้อความ หรือจารึก ในภาษาเยอรมันเก่าหมายถึง ประหลาดหรือความลับ อักษรนี้มีความเกี่ยวข้องกับเวทมนตร์ ทฤษฎีเกี่ยวกับจุดกำเนิดของอักษรรูน ได้แก่ อักษรนี้ถูกออกแบบโดยอิสระ ไม่ขึ้นกับอักษรอื่น การเขียนเริ่มขึ้นในยุโรปใต้และถูกนำไปทางเหนือโดยเผ่าเยอรมัน เป็นแบบให้อักษรละตินและอักษรอีทรัสคัน จารึกอักษรรูนที่เก่าที่สุดพบราว..
อักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์
อักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์ (Arabic Afrikaans; Arabiese Afrikaans; اَرابيسي اَفريكانس) เป็นการนำอักษรอาหรับมาเขียนภาษาแอฟริคานส์ เริ่มเมื่อ..
ดู ภาษาเยอรมันและอักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์
อักษรฮีบรู
อรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita อักษรฮีบรูเป็นอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรกๆอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากอักษรอราเมอิกรุ่นแรกๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ, เมม, นุน, ฟี และซาดดี มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ, วาว และโยด/ยุด ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาต.
อักขรวิธี
อักขรวิธี หมายถึงวิธีการเขียนและการใช้ระบบการเขียนของภาษาหนึ่งๆ ให้ถูกต้อง (ซึ่งภาษาหนึ่งๆ อาจมีระบบการเขียนมากกว่าหนึ่งแบบก็ได้ เช่นภาษาเคิร์ด) อักขรวิธีเป็นสิ่งที่นิยามหรืออธิบายถึงกลุ่มของสัญลักษณ์ที่ใช้ (คืออักษรหรือเครื่องหมายเสริมอักษรเป็นต้น) และกฎเกณฑ์ที่ว่าจะเรียบเรียงสัญลักษณ์เหล่านั้นอย่างไร กฎเกณฑ์เหล่านั้นอาจมีเรื่องของเครื่องหมายวรรคตอน การสะกดคำ และการขึ้นต้นอักษรตัวใหญ่เข้ามาประกอบด้วย ซึ่งแตกต่างกันออกไปในแต่ละภาษา บุคคลทั่วไปมักเข้าใจว่าอักขรวิธีเป็นเรื่องของการสะกดคำเพียงอย่างเดียว ความจริงคือการสะกดคำเป็นส่วนหนึ่งของอักขรวิธีเท่านั้น.
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein, อัลแบร์ท ไอน์ชไตน์; 14 มีนาคม พ.ศ. 2422 – 18 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2428 ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม สถิติกลศาสตร์ และจักรวาลวิทยา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ใน..
ดู ภาษาเยอรมันและอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
อันฮัลท์-แบร์นบูร์ก
ราชรัฐอันฮาลท์-แบร์นบวร์ก (Fürstentum (Herzogtum) Anhalt-Bernburg, Principality of Anhalt-Bernburg) เป็นอดีตราชรัฐที่เดิมเป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อันฮาลท์-แบร์นบวร์กก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและอันฮัลท์-แบร์นบูร์ก
อันฮัลท์-เดสเซา
ราชรัฐอันฮาลท์-เดสเซา (Fürstentum (Herzogtum) Anhalt-Dessau, Anhalt-Dessau) เป็นอดีตราชรัฐที่เดิมเป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อันฮาลท์-เดสเซาเดิมเป็นราชรัฐและต่อมาเป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนีที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและอันฮัลท์-เดสเซา
อันฮัลท์-เคอเทิน
ราชรัฐอันฮาลท์-เคอเทิน (Fürstentum (Herzogtum) Anhalt-Köthen, Anhalt-Köthen) เป็นอดีตดัชชีที่เดิมเป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อันฮาลท์-เคอเทินเดิมเป็นราชรัฐและต่อมาเป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนีที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและอันฮัลท์-เคอเทิน
อันโตญีน ดโวชาก
อันโตญีน ดโวชาก อันโตญีน ดโวชาก (Antonín Dvořák) เป็นคีตกวีชาวเช็ก เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2384 (ค.ศ. 1841) ที่เมืองมุลโฮเซน (ในภาษาเช็กคือเมืองเนลาโฮเซเวส) ห่างจากกรุงปรากออกไปทางตอนเหนือราว 20 กิโลเมตร ในแคว้นโบฮีเมีย (สาธารณรัฐเช็ก) และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและอันโตญีน ดโวชาก
อันเดรีย กาสิรากี
อันเดรีย อัลแบร์ ปิแยร์ กาสิรากี (Andrea Albert Pierre Casiraghi, 8 มิถุนายน พ.ศ. 2527) โอรสคนโตในเจ้าหญิงการอลีน เจ้าหญิงแห่งฮาโนเวอร์ กับสเตฟาโน กาสิรากี พระภัสดาคนที่สองชาวอิตาลีของเจ้าหญิงการอลีน ในปัจจุบันอันเดรีย กาสิรากี จัดอยู่ในลำดับที่สี่ของการสืบราชบัลลังก์โมนาโก ต่อจากพระมารดาคือเจ้าหญิงการอลีนVelde, Francois.
ดู ภาษาเยอรมันและอันเดรีย กาสิรากี
อาการคันต่างที่
อาการคันต่างที่ (Referred itch, mitempfindungen) เป็นปรากฏการณ์ที่การเร้าร่างกายที่ส่วนหนึ่งกลับรู้สึกคันหรือระคายที่อีกส่วนหนึ่ง อาการนี้ไม่ค่อยมีอันตราย แต่อาจน่ารำคาญ โดยคนที่สุขภาพดีก็มีอาการได้เหมือนกัน สิ่งเร้าที่ทำให้เกิดอาการเริ่มตั้งแต่แรงกดที่ผิวหนัง การขูด การทำให้ระคาย จนไปถึงการดึงขน แต่ความคันต่างที่ไม่ควรเจ็บ มันมักจะเป็นความเหน็บชาที่น่ารำคาญซึ่งอาจทำให้รู้สึกว่าควรเกา ทั้งสิ่งเร้าและความคันต่างที่ จะเกิดในร่างกายซีกเดียวกัน (ipsilateral) และเพราะการเกาหรือการกดส่วนที่คันต่างที่ไม่ได้ทำให้บริเวณที่เร้าตอนแรกคัน ความสัมพันธ์ระหว่างบริเวณที่เร้าและบริเวณที่คันต่างที่จึงเป็นไปในทางเดียว (unidirectional) ความคันจะเกิดเองและอาจหยุดแม้จะเร้าอีกที่หนึ่งต่อไปเรื่อย ๆ อาการคันต่างที่มีสองอย่าง คือ แบบปกติ และแบบได้ทีหลัง (เพราะโรค) อาการธรรมดามักจะพบตั้งแต่วัยเด็กต้น ๆ และจะคงยืนเกือบตลอดหรือไม่ก็ตลอดชีวิต ส่วนอาการที่ได้ทีหลังเป็นผลจากความเสียหายต่อระบบประสาทส่วนกลาง และจะคงยืนเพียงแค่ระยะหนึ่ง อาการจะต่างกันระหว่างบุคคล แต่โดยทั่วไปจะไม่เกิดที่ฝ่าเท้า ฝ่ามือ และใบหน้า ปัจจัยทางพันธุกรรมดูจะไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง แต่ก็มีงานศึกษาหนึ่งที่ตีพิมพ์ ซึ่งแสดงว่ามีชายคนหนึ่งที่ลูก ๆ ของเขาก็เป็นด้วย กลไกทางสรีรภาพที่เป็นเหตุยังไม่ชัดเจน และก็ยังไม่มีทฤษฎีใดที่ได้การยอมรับอย่างทั่วไป งานวิจัยและข้อมูลเกี่ยวกับอาการจะค่อนข้างจำกัดและเก่า งานวิจัยในเรื่องนี้โดยมากได้ทำในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และงานที่ตีพิมพ์ล่าสุดเกิดเมื่อปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 มีงานศึกษาจำนวนหนึ่งที่ทำในต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 อย่างไรก็ดี จะต้องรวบรวมและไขข้อมูลเพิ่มขึ้นเพื่อให้ได้ความเข้าใจที่สมบูรณ.
ดู ภาษาเยอรมันและอาการคันต่างที่
อาร์ชดยุกฟรันซ์ คาร์ลแห่งออสเตรีย
อาร์ชดยุกฟรานซ์ คาร์ลแห่งออสเตรีย อาร์ชดยุกฟรานซ์ คาร์ลแห่งออสเตรีย (en.: Archduke Franz Karl of Austria, de.: Erzherzog Franz Karl von Österreich) (พระนามเต็ม: ฟรานซ์ คาร์ล โจเซฟ, Franz Karl Joseph von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย และเป็นพระบิดาของสมเด็จพระจักรพรรดิถึง 2 พระองค์ ได้แก่สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย และสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโก อีกด้ว.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์ชดยุกฟรันซ์ คาร์ลแห่งออสเตรีย
อาร์ชดยุกลุดวิก วิกเตอร์แห่งออสเตรีย
อาร์คดยุคลุดวิก วิคเตอร์ อาร์คดยุคลุดวิก วิคเตอร์แห่งออสเตรีย (en.: Archduke Ludwig Viktor of Austria, de.: Erzherzog Ludwig Viktor von Österreich) (พระนามเต็ม: ลุดวิก วิคเตอร์ โจเซฟ แอนตัน, Ludwig Viktor Joseph Anton von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์คดยุคแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าชายแห่งฮังการี และนอกจากนี้ยังเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรียอีกด้ว.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์ชดยุกลุดวิก วิกเตอร์แห่งออสเตรีย
อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรีย
อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรีย (อังกฤษ: Archduke Karl Ludwig of Austria, de.: Erzherzog Karl Ludwig von Österreich) (พระนามเต็ม: คาร์ล ลุดวิจ โจเซฟ มาเรีย, Karl Ludwig Joseph Maria von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าชายแห่งฮังการี และเป็นพระราชอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรียอีกด้ว.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสมารี-วาเลอรีแห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Marie-Valerie of Austria, the Princess of Tuscany, de.: Erzherzogin Marie-Valerie von Österreich, Prinzessin von Toskana) (พระนามเต็ม: มารี วาเลอรี มาธิลด์, Marie-Valerie Mathilde von Habsburg-Lorraine (ราชสกุลเดิม Habsburg-Lothringen)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย เจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการีและโบฮีเมีย และทรงได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าหญิงแห่งทัสคานี ภายหลังจากการอภิเษกสมร.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Maria Leopoldina of Austria, de.: Erzherzogin Maria Leopoldine von Österreich, pt.: Maria Leopoldina da Áustria) (พระนามเต็ม: มาเรีย ลีโอโพลดีน่า โจเซฟ่า แคโรไลน์, Maria Leopoldina Josepha Caroline von Habsburg-Lorraine (de Bragança)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย และนอกจากนี้ ยังทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งบราซิล และสมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสอีกด้ว.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสมาเรีย คลีเมนติน่าแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสมาเรีย คลีมนติน่าแห่งออสเตรีย อาร์ชดัชเชสมาเรีย คลีเมนติน่าแห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Maria Clemantina of Austria, de.: Erzherzogin Maria Klementine von Österreich) (พระนามเต็ม: มาเรีย คลีเมนติน่า ฟรานซิสก้า โจเซฟ่า, Maria Clementina Francisca Josepha von Habsburg-Lorraine (de Bourbon)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย และทรงเป็นเจ้าฟ้าหญิงแห่งทู ซิชิลีส์ และดำรงพระราชอิสริยยศ เจ้าหญิงแห่งซาร์เลอโน (Princess of Salerno) หลังจากการอภิเษกสมร.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์ชดัชเชสมาเรีย คลีเมนติน่าแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสมาเรีย คาโรลีเนอแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสมารี แคโรไลน์แห่งออสเตรีย อาร์ชดัชเชสมารี แคโรไลน์แห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Marie Caroline of Austria, de.: Erzherzogin Marie Karoline von Österreich) (พระนามเต็ม: มารี แคโรไลน์ เฟอร์ดินานด์ เธเรเซีย โจเซฟิน เดเมเทรีย, Marie Caroline Ferdinande Theresia Josephine Demetria von Habsburg-Lorraine (von Wettin)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย และทรงเป็นเจ้าฟ้าหญิงมกุฎราชกุมารีแห่งราชอาณาจักรแซ็กโซนี หลังจากการอภิเษกสมร.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์ชดัชเชสมาเรีย คาโรลีเนอแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสมาเรีย เอลีซาเบทแห่งออสเตรีย (ค.ศ. 1743–1808)
อาร์ชดัชเชสมาเรีย เอลิซาเบธ โจเซเฟ้ โจฮันนา แอนโตนี่ (13 สิงหาคม พ.ศ. 2286 - 22 กันยายน พ.ศ. 2351) พระราชธิดาพระองค์ที่ 6 ในจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา และดยุคฟรานซิสที่ 3 สตีเฟนแห่งลอร์เรน ประสูติเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์ชดัชเชสมาเรีย เอลีซาเบทแห่งออสเตรีย (ค.ศ. 1743–1808)
อาร์ชดัชเชสจิเซลาแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสจิเซลาแห่งออสเตรีย (ภาษาอังกฤษ: Archduchess Gisela of Austria, the Princess of Bavaria, ภาษาเยอรมัน: Erzherzogin Gisela von Österreich, Prinzessin von Bayern) (พระนามเต็ม: จิเซลา หลุยส์ มารี, Gisela Louise Marie von Habsburg-Lothringen) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 และสมเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งออสเตรี.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์ชดัชเชสจิเซลาแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Elisabeth Marie of Austria, de.: Erzherzogin Elisabeth Marie von Österreich) (พระนามเต็ม: เอลิซาเบธ มารี เฮ็นเรียต สเตฟานี่ กิเซล่า, Elisabeth Marie Henriette Stephani Gisela von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย เจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการีและโบฮีเมี.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรีย
อาร์คีออปเทอริกซ์
อาร์คีออปเทอริกซ์ (Archaeopteryx) หรือที่รู้จักกันในชื่อภาษาเยอรมันว่า Urvogel (ออกเสียง:อูร์ฟอเกิล, แปลว่า "นกต้นกำเนิด" หรือ "นกชนิดแรก") เป็นสกุลของไดโนเสาร์เทอโรพอดซึ่งเป็นญาติใกล้ชิดกับนก ชื่อมาจากภาษากรีกโบราณ (archaīos) แปลว่า "เก่าแก่โบราณ" และ (ptéryx) แปลว่า "ขน" หรือ "ปีก" --> อาร์คีออปเทอริกซ์มีชีวิตอยู่ในช่วงปลายของยุคจูแรสซิกหรือประมาณ 150 ล้านปีมาแล้ว ในสถานที่ที่ปัจจุบันอยู่ทางตอนใต้ของประเทศเยอรมนี ในช่วงเวลาที่ยุโรปมีสภาพเป็นหมู่เกาะ เป็นทะเลตื้น ที่มีภูมิอากาศแบบเขตร้อน และอยู่ใกล้กับแนวเส้นศูนย์สูตรมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน มีขนาดและรูปร่างคล้ายกับนกสาลิกาปากดำ ตัวใหญ่ที่สุดอาจมีขนาดเท่านกเรเวน อาร์คีออปเทอริกซ์มีความยาวของลำตัวได้ถึง 0.5 เมตร (1.6 ฟุต) กล่าวคือเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก มีปีกกว้าง และอนุมานได้ว่ามีความสามารถในการบินหรือร่อนได้ อาร์คีออปเทอริกซ์มีลักษณะกระเดียดไปทางไดโนเสาร์ในมหายุคมีโซโซอิกขนาดเล็กมากกว่าลักษณะของนกในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมันมีลักษณะหลายประการที่เป็นลักษณะร่วมกับไดโนเสาร์ในกลุ่มของไดโนนายโคซอร์ (โดรมีโอซอร์ และ ทรูดอนติด) ได้แก่ลักษณะของกรามที่มีฟันแหลมคม มีนิ้วสามนิ้ว และมีกงเล็บ มีกระดูกหางยาว มีนิ้วเท้านิ้วที่สองยื่นยาวออกไปมากเป็นพิเศษ (killing claws) มีขนแบบนก (ซึ่งแสดงลักษณะของสัตว์เลือดอุ่น) และลักษณะโครงกระดูกอื่นๆ อีกหลายประการ ลักษณะดังกล่าวข้างต้นทำให้อาร์คีออปเทอริกซ์เป็นตัวแทนชิ้นแรกที่มีความชัดเจนของฟอสซิลในการส่งผ่านจากไดโนเสาร์สู่นก - Jamie Headden, Scott Hartman, and Rutger Jansma's skeletal restorations of most of the specimens.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์คีออปเทอริกซ์
อาร์แซน แวงแกร์
อาร์แซน แวงแกร์, โอบีอี (Arsène Wenger, ออกเสียง) หรือ อาร์เซน เวงเกอร์ ตามการออกเสียงในภาษาอังกฤษ ในภาษาอังกฤษออกเสียง (สำเนียง Received Pronunciation ในสหราชอาณาจักร) หรือ (สำเนียง General American ในสหรัฐอเมริกา).
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์แซน แวงแกร์
อาร์โน อัสส์มันน์
อาร์โน อัสส์มันน์ (30 กรกฎาคม ค.ศ. 1908 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1979) เป็นนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ และนักเขียนบทโทรทัศน์ชาวเยอรมัน.
ดู ภาษาเยอรมันและอาร์โน อัสส์มันน์
อาคารแห่งหนังสือ
มุมมองของอาคารจากภายนอก ทางเข้าสู่อาคารแห่งหนังสือ โดมสีขาวกับกำแพงสีดำ อาคารแห่งหนังสือ (היכל הספר. Heikhal HaSefer), เป็นปีกหนึ่งของพิพิธภัณฑ์อิสราเอลที่ใกล้กับบริเวณเมืองเยรูซาเลมฝั่งตะวันตก สถานที่แห่งนี้ได้เก็บรักษาม้วนหนังสือแห่งทะเลสาบเดดซี ซึ่งได้ถูกค้นพบระหว่างปี..
ดู ภาษาเยอรมันและอาคารแห่งหนังสือ
อาเรา
อาเรา (Aarau) เป็นเมืองหลวงของรัฐอาร์เกาซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของสวิตเซอร์แลนด์ เป็นเมืองที่ประชากรพูดภาษาเยอรมันและผู้นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เป็นหลัก อาเราตั้งอยู่บนที่ราบสูงสวิส ทางตอนใต้ติดกับภูเขาจูราBridgwater, W.
อาเคิน
แผนที่เยอรมนีแสดงเมืองอาเคิน อาเคิน (Aachen) เป็นเมืองที่อยู่ด้านตะวันตกสุดของประเทศเยอรมนี ติดกับพรมแดนประเทศเนเธอร์แลนด์และเบลเยียม อยู่ห่างจากเมืองโคโลญมาทางตะวันตก 65 กิโลเมตร พิกัดภูมิศาสตร์ 50°46′ เหนือ 6°6′ ตะวันออก มีประชากร 256,605 คน (เมื่อปี พ.ศ.
อิสเตรีย
มุทรอิสเตรีย อิสเตรีย (Istria; โครเอเชีย, สโลวีเนีย: Istra; Istriot: Eîstria; เยอรมัน: Istrien) หรือชื่อเก่าในภาษาละตินคือ Histria เป็นคาบสมุทรขนาดกลางในทะเลเอเดรียติก คาบสมุทรเป็นที่ตั้งสำคัญของอ่าวในทะเลเอเดรียติกคือ Gulf of Trieste และ Kvarner Gulf คาบสมุทรอิสเตรียเป็นดินแดนของสามประเทศคือ ประเทศโครเอเชีย, ประเทศสโลวีเนีย, และ ประเทศอิตาลี.
อินส์บรุค
อินส์บรุค (Innsbruck) เป็นเมืองหลวงของรัฐทิโรล ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของประเทศออสเตรีย ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำอินน์ กลางหุบเขาของเทือกเขาแอลป์ ซึ่งสามารถมองเห็นยอดเขาสูงได้แก่ นอร์ดเคทเทอ (Nordkette, สูง 2,334 เมตร) อยู่ทางตอนเหนือของเมือง ยอดพัทแชร์โคเฟิล (Patscherkofel, สูง 2,246 เมตร) และแซร์เลส (Serles, สูง 2,718 เมตร) ที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเมือง เมืองอินส์บรุคมีชื่อเสียงในด้านเป็นศูนย์กลางของกีฬาฤดูหนาว ซึ่งเมืองแห่งนี้เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาฤดูหนาวหลายครั้ง ได้แก่ โอลิมปิกฤดูหนาว 1964 และ 1976 พาราลิมปิกฤดูหนาว 1984 และ 1988 รวมถึงโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาวที่จัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี..
อุ๊ยส์! คันอะไรในกุงเกง (อีกแล้ว)
อุ๊ยส์! คันอะไรในกุงเกง หรือในชื่อภาษาอังกฤษ (More Ants In The Pants) ออกฉายแล้วเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2545.
ดู ภาษาเยอรมันและอุ๊ยส์! คันอะไรในกุงเกง (อีกแล้ว)
อู-571 ดิ่งเด็ดขั้วมหาอำนาจ
อู-571 ดิ่งเด็ดขั้วมหาอำนาจ ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดเรื่อง U-571 นำแสดงโดย แมทธิว แม็คคอนาเฮย์, บิลล์ แพ็กตัน, ฮาวีย์ ไคเทล, จอน บอง โจวี กำกับการแสดงโดย โจนาธาน มอสโทว.
ดู ภาษาเยอรมันและอู-571 ดิ่งเด็ดขั้วมหาอำนาจ
อี ย็อง-แอ
อี ย็อง-แอ (이영애; Lee Young-ae; เกิด 31 มกราคม 1971) เป็นนักแสดงหญิงชาวเกาหลีใต้ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยฮันยาง และปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยซุงอาง สามารถพูดได้ถึง 3 ภาษาคือเกาหลี, อังกฤษ และเยอรมัน มีผลงานเด่นคือละครซีรีส์เรื่อง 대장금 หรือ แดจึงกึม จอมนางแห่งวังหลวง ชีวิตส่วนตัว ในกลางปี..
อีวานวาซีเลียวิชเมนยาเอตโปรเฟสซียู
อีวานวาซีเลียวิชเมนยาเอตโปรเฟสซียู (Иван Васильевич меняет профессию, Ivan Vasilyevich menyayet professiyu) เป็นภาพยนตร์ตลก ไซไฟ ของสหภาพโซเวียตออกฉายในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและอีวานวาซีเลียวิชเมนยาเอตโปรเฟสซียู
อีซาแบล อาจานี
อีซาแบล ยัสมีน อาจานี (Isabelle Yasmine Adjani) นักร้องและนักแสดงหญิงชาวฝรั่งเศส มีชื่อเสียงในคริสต์ทศวรรษ 1980 เคยได้รับรางวัลซีซาร์ 4 ครั้ง จากเรื่อง Possession (ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและอีซาแบล อาจานี
องค์การอวกาศยุโรป
องค์การอวกาศยุโรป หรือ อีเอสเอ (European Space Agency, ESA; Agence spatiale européenne, ASE) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1975 โดยเป็นองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในยุโรป มีเป้าหมายเพื่อการสำรวจอวกาศ ปัจจุบันมีสมาชิก 20 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีจำนวนพนักงานเกือบ 2,000 คน และมีงบประมาณประจำปีราว 2.9 พันล้านยูโรในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและองค์การอวกาศยุโรป
อเล็กซันดรา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์ก
อเล็กซันดรา คริสตินา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์ก (Alexandra Christina, grevinde af Frederiksborg) หรือนามเดิมว่า อเล็กซันดรา คริสตินา มันลีย์ (Alexandra Christina Manley; 30 มิถุนายน พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและอเล็กซันดรา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์ก
อเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)
อเล็กซานเดอร์ (Alexander) เป็นชื่อต้นของผู้ชาย มีที่มาจากคำในภาษาละติน "Alexander" ซึ่งเป็นการถอดคำมาจากภาษากรีกจากคำว่า "Αλέξανδρος".
ดู ภาษาเยอรมันและอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)
ฮอยเทอ
มนซ์-แลร์คเคินแบร์ก เมืองไมนซ์ ฮอยเทอ (heute "วันนี้") เป็นรายการข่าวโทรทัศน์ในช่องเยอรมัน (ZDF) ส่วนมากจะออกอากาศในเวลา 19:00 น.
ฮัมบวร์ค
ัมบวร์ค (Hamburg) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศเยอรมนี รองลงมาจาก เบอร์ลิน และเป็นเมืองที่ใหญ่อันดับ 8 ของยุโรป โดยมีประชากรอาศัยอยู่ในเมืองฮัมบวร์คมากกว่า 1.8 ล้านคน ในขณะที่รวมปริมณฑลรอบ ๆ ไปด้วยแล้วจะทำให้ นครฮัมบวร์คมีประชากรทั้งสิ้น 5 ล้านคน ท่าเรือฮัมบวร์คเป็นท่าเรือสำคัญ ซึ่งนับเป็นท่าเรือที่ใหญ่เป็นอันดับสองของสหภาพยุโรป และใหญ่เป็นอันดับที่ 10 ของโลก พื้นที่ท่าเรือส่วนใหญ่เป็นบริเวณปลอดภาษี ฮัมบวร์ค ถือเป็นศูนย์กลางการขนส่งที่สำคัญและถือเป็นหนึ่งใน เมืองที่รวยที่สุดในยุโรปและเป็นเขตเมือง อุตสาหกรรมที่แห่งหนึ่งที่สำคัญของ เยอรมันมีบริษัท ห้างร้านที่สำคัญ ๆ ของเยอรมนี อยู่ที่เมืองนี้ และที่สะคัญ ฮัมบวร์คได้รับการศูนย์กลางทางการเงินที่สำคัญมานานหลายศตวรรษและเป็นที่ตั้งของธนาคารที่เก่าแก่ในประเทศเยอรมันคือ ธนาคารแบร์มเบริก ธนาคารนองจากนนี้ ฮัมบวร์คยังเป็น เมืองที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญสำหรับนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่างประเทศจากการจัดอันดับโดยได้อันดับที่ ที่ 17 ของโลกในปี 2555 และในปี 2553 ก็ได้อันดับที่ 10 ชื่ออย่างเป็นทางการของฮัมบวร์คคือ นครอิสระและฮันเซียติกแห่งฮัมบวร์ค (เยอรมัน: Freie und Hansestadt Hamburg) คำว่าฮันเซียติกนั้นหมายถึงการเป็นสมาชิกสันนิบาตฮันเซียติกของฮัมบวร์คตั้งแต่ยุคกลาง และบ่งบอกว่าฮัมบวร์คมีฐานะเป็นนครรัฐ ถือเป็น 1 ใน 16 รัฐสหพันธ์ของเยอรมนี ฮัมบวร์คอยู่ทางทิศใต้ของคาบสมุทรจัตแลนด์ ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์นั้นอยู่ระหว่างสแกนดิเนเวียกับพื้นทวีปยุโรป ระหว่างทะเลเหนือกับทะเลบอลติก ปัจจุบันฮัมบวร์คเป็นศูนย์กลางการค้านานาชาติ และศูนย์กลางวัฒนธรรมของเยอรมนีทางภาคเหนือ.
ฮีมาโทคริต
ีมาโทคริต (Hematocrit, Ht หรือ HCT) หรือ packed cell volume (PCV) หรือ erythrocyte volume fraction (EVF) คือ เปอร์เซนต์ของเม็ดเลือดแดงต่อปริมาณเลือดทั้งหมด ค่าปกติของ HCT ในเพศชายอยู่ที่ 45% และเพศหญิงอยู่ที่ 40% HCT นับเป็นส่วนประกอบหนึ่งของผลการตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์ ร่วมกับ ความเข้มข้นของฮีโมโกลบิน จำนวนเม็ดเลือดขาว และจำนวนเกล็ดเลือด ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ค่า HCT ขึ้นอยู่กับขนาดของร่างกาย คำว่า "hematocrit" มาจากภาษาเยอรมัน/ภาษาสวีเดน ซึ่ง "haematokrit" ถูกบัญญัติขึ้นโดย Blix ที่ Upsala เมื่อ ค.ศ.
ฌูว์ลี แดลปี
ูว์ลี แดลปี (21 ธันวาคม ค.ศ. 1969) นักแสดง ผู้กำกับ นักเขียนบท นักแต่งเพลงและนักร้องชาวฝรั่งเศส จบการศึกษาด้านภาพยนตร์จากโรงเรียนศิลปะทิสช์ในนิวยอร์ก ปัจจุบันใช้ชีวิตอยู่ในสหรัฐอเมริกา และได้รับสัญชาติอเมริกันตั้งแต..
จอห์น ฟอน นอยมันน์
อห์น ฟอน นอยมันน์ ในช่วงปี ค.ศ. 1940 จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neumann, Neumann János, 28 ธ.ค. ค.ศ. 1903 - 8 ก.พ. ค.ศ. 1957) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี มีผลงานสำคัญในหลายสาขา ทั้ง ควอนตัมฟิสิกส์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ จะว่าไปแล้วก็ทุกๆ สาขาในวิชาคณิตศาสตร์ เลยก็ว่าได้.
ดู ภาษาเยอรมันและจอห์น ฟอน นอยมันน์
จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย
ักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย พระนามเต็ม: ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งออสเตรีย และ กษัตริย์แห่งฮังการี และทรงเป็นจักรพรรดิและพระราชาธิบดีพระองค์แรกในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีตั้งแต่ปีพ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย
จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย
ักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย หรือ ปีเตอร์มหาราช (Пётр I Великий, 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2215 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2268) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ 7 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย
จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา
ักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา (Maria Theresia von Österreich, Maria Theresa of Austria; พระนามเต็ม: มาเรีย เทเรเซีย วาร์ลบูก้า อมาเลีย คริสติน่า ฟอน ฮับส์บูร์ก) หรือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรีย เทเรซา แห่งฮังการีและโบฮีเมีย เป็นจักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากอภิเษกสมรส แต่พระราชอำนาจทั้งหมดอยู่ที่พระองค์เพียงผู้เดียว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นประมุขแห่งออสเตรีย ฮังการี โบฮีเมีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ถือว่า พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระประมุขผู้ทรงอำนาจที่สุดในทวีปยุโรปเลยทีเดียว.
ดู ภาษาเยอรมันและจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา
จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย
ักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Александра Фёдоровна) พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าหญิงอลิกซ์แห่งเฮสส์และไรน์ (วิกตอเรีย อลิกซ์ เฮเลนา หลุยส์ เบียทริซ; 6 มิถุนายน พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย
จักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล
ักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล (Pedro I, Peter I; 12 ตุลาคม พ.ศ. 2341 – 24 กันยายน พ.ศ. 2377) มีพระราชสมัญญาว่า "ผู้ปลดปล่อย" (the Liberator) ทรงเป็นผู้สถาปนาและผู้ปกครองจักรวรรดิบราซิลพระองค์แรก ทรงดำรงเป็น พระเจ้าเปดรูที่ 4 แห่งโปรตุเกส (Dom Pedro IV) จากการครองราชบัลลังก์เหนือราชอาณาจักรโปรตุเกสเพียงระยะเวลาสั้น ๆ ที่ซึ่งทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า "ผู้ปลดปล่อย" และ "กษัตริย์นักรบ" (the Soldier King) ประสูติในกรุงลิสบอน พระองค์เป็นพระราชบุตรพระองค์ที่ 4 ในบรรดาพระราชบุตรทั้งหมดของพระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสกับเจ้าหญิงคาร์ลอตา โจวควินาแห่งสเปน สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส ดังนั้นพระองค์ทรงเป็นพระบรมวงศานุวงศ์แห่งราชวงศ์บราแกนซา เมื่อประเทศโปรตุเกสถูกกองทัพฝรั่งเศสโจมตีในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและจักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิล
จักรวรรดิสวีเดน
ักรวรรดิสวีเดน หรือ ราชอาณาจักรสวีเดน ในช่วงระหว่างปีค.ศ. 1561 (หลังจากสวีเดนยึดเอสโตเนีย) และในปีค.ศ. 1721 (เมื่อสวีเดนยกพื้นที่ขนาดใหญ่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ต่อมหาอำนาจรัสเซีย) ระหว่างนั้น สวีเดนเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของยุโรป ในสวีเดน สมัยก่อนจะเรียกว่า stormaktstiden ซึ่งหมายถึง มหาอำนาจที่ยิ่งใหญ่ โดยเริ่มต้นในปี 1611 (เมื่อ กุสตาวัส อาดอลฟัส ขึ้นเป็นกษัตริย์) และจบลงในปีค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและจักรวรรดิสวีเดน
จักรวรรดิออสเตรีย
ักรวรรดิออสเตรีย (Austrian Empire; Kaisertum Österreich) เป็นจักรวรรดิที่ก่อตั้งจากอาณาบริเวณที่เหลือจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งอยู่ที่ประเทศออสเตรียในปัจจุบัน รุ่งเรืองในช่วง..
ดู ภาษาเยอรมันและจักรวรรดิออสเตรีย
จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จักรวรรดิเยอรมัน
ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..
ดู ภาษาเยอรมันและจักรวรรดิเยอรมัน
จันนี อินฟันตีโน
ันนี อินฟันตีโน (Gianni Infantino) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม..
ดู ภาษาเยอรมันและจันนี อินฟันตีโน
จำนวนเต็ม
ำนวนเต็ม คือจำนวนที่สามารถเขียนได้โดยปราศจากองค์ประกอบทางเศษส่วนหรือทศนิยม ตัวอย่างเช่น 21, 4, −2048 เหล่านี้คือจำนวนเต็ม แต่ 9.75, 5, √2 เหล่านี้ไม่ใช่จำนวนเต็ม เศษของจำนวนเต็มเป็นเศษย่อยของจำนวนจริง และประกอบด้วยจำนวนธรรมชาติ (1, 2, 3,...) ศูนย์ (0) และตัวผกผันการบวกของจำนวนธรรมชาติ (−1, −2, −3,...) เซตของจำนวนเต็มทั้งหมดมักแสดงด้วย Z ตัวหนา (หรือ \mathbb ตัวหนาบนกระดานดำ, U+2124) มาจากคำในภาษาเยอรมันว่า Zahlen แปลว่าจำนวน จำนวนเต็ม (พร้อมด้วยการดำเนินการการบวก) ก่อร่างเป็นกรุปเล็กที่สุดอันประกอบด้วยโมนอยด์เชิงการบวกของจำนวนธรรมชาติ จำนวนเต็มก่อให้เกิดเซตอนันต์นับได้เช่นเดียวกับจำนวนธรรมชาติ สิ่งเหล่านี้ในทฤษฎีจำนวนเชิงพีชคณิตทำให้เข้าใจได้โดยสามัญว่า จำนวนเต็มซึ่งฝังตัวอยู่ในฟีลด์ของจำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนเต็มตรรกยะ เพื่อแยกแยะออกจากจำนวนเต็มเชิงพีชคณิตที่ได้นิยามไว้กว้างกว.
จิตรกรรมฝาผนัง
วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและจิตรกรรมฝาผนัง
จิน คาริยะ
น คาริยะ ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องเทพมรณะ เป็นหัวหน้ากลุ่มเบาท.
จีเมล
ีเมล (Gmail) เป็นบริการอีเมลฟรีของกูเกิลผ่านทางระบบเว็บเมล POP และ IMAP โดยในขณะที่โปรแกรมยังอยู่ในระยะพัฒนา (บีตา) จีเมลเปิดให้ผู้ที่ได้รับคำเชิญทดลองใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
ธงชาติเยอรมนี
งชาติเยอรมนี มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน แบ่งเป็นแถบสี 3 แถบ ตามแนวนอน คือ สีดำ สีแดง และสีทอง มีชื่อเรียกในภาษาเยอรมันว่า "Schwarz-Rot-Gold" แปลว่า ธงดำ-แดง-ทอง ตามสีของธง.
ดู ภาษาเยอรมันและธงชาติเยอรมนี
ทรีเซินแบร์ก
ทรีเซินแบร์ก (พ.ศ. 2530) ชุมชนแห่งหนึ่งในเทศบาลทรีเซินแบร์ก มองลงไปยังหุบเขาซึ่งเป็นพื้นราบ (แม่น้ำไรน์) ทรีเซินแบร์ก (Triesenberg, ท้องถิ่น: Trisabäärg) เป็นเทศบาล (Gemeinde) หนึ่งใน 11 แห่งของประเทศลิกเตนสไตน์ อยู่ในเขตเลือกตั้งตอนบน (Oberland) มีพื้นที่ 29.77 ตารางกิโลเมตร จาก, สืบค้นเมื่อ 24 กันยายน 2559 ถือเป็นเทศบาลที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศ และยังตั้งอยู่สูงที่สุดในประเทศ ความสูงของพื้นที่ในเทศบาลอยู่ระหว่าง 700–2,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล ส่วนศูนย์กลางเทศบาลตั้งอยู่ที่ความสูง 884 เมตรจากระดับน้ำทะเล ทรีเซินแบร์กประกอบด้วยพื้นที่สองส่วนซึ่งไม่ติดต่อกัน ส่วนหนึ่งอยู่ตรงกลางประเทศ มีพื้นที่ใหญ่กว่าอีกส่วน มีอาณาเขตติดต่อกับเทศบาลอื่นหลายแห่ง และอีกส่วนอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดต่อกับเทศบาลวาดุซ ชาน และประเทศออสเตรีย ทรีเซินแบร์กมีประชากรทั้งสิ้น 2,596 คน (พ.ศ.
ทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดล
ทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดล (Gödel's incompleteness theorems) เป็นทฤษฎีตรรกะทางคณิตศาสตร์ ที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1931 โดย เคิร์ท เกอเดล (Kurt Gödel) เคิร์ท เกอเดล ซึ่งในขณะนั้นเป็นนักคณิตศาสตร์อยู่ที่มหาวิทยาลัยเวียนนา ได้ตีพิมพ์เปเปอร์ชื่อ Über formal unentscheidbare Sätze der Principia Mathematica und verwandter Systeme (ต้นฉบับเป็นภาษาเยอรมัน หรือมีชื่อในภาษาอังกฤษว่า On Formally Undecidable Propositions in Principia Mathematica and Related Systems หรือ ว่าด้วยประพจน์ที่ตัดสินไม่ได้อย่างเป็นรูปนัยใน พรินซิเพีย แมเทเมทิกา และระบบอื่นที่เกี่ยวข้อง) ในเปเปอร์นี้ เกอเดลทำการพิสูจน์จนที่สุดแล้วได้ผลลัพธ์เป็นสองทฤษฎีบทที่น่าตื่นตะลึง ซึ่งในภายหลังทฤษฎีบททั้งสองถูกเรียกรวมกันว่าทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดล ทฤษฎีบทนี้นับว่าเป็นเป็นทฤษฎีบทสำคัญที่เข้าขั้นปฏิวัติวงการ ทั้งในด้านตรรกศาสตร์ ด้านคณิตศาสตร์ ด้านปรัชญา และด้านการแสวงหาความรู้ของมนุษยชาติ รวมทั้งทำให้เกิดบทวิเคราะห์ การตีความ และคำถามต่างๆ ตามมาขึ้นอีกมากม.
ดู ภาษาเยอรมันและทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดล
ทะมะ (แมว)
ทะมะสวมหมวกนายสถานี ทะมะแต่งตัวเป็น "อัศวินแห่งวะกะยะมะ" ซึ่งได้รับแต่งตั้งจากผู้ว่าราชการจังหวัดวะกะยะมะ สถานีคิชิ ในเมืองคิโนะกะวะ ตู้รถไฟ 2270 series EMU ที่ตกแต่งลวดลายเป็น "ทะมะเดนฉะ" เดือนเมษายน ค.ศ.
ทาลลินน์
ทาลลินน์ (Tallinn; เยอรมัน; สวีเดน: Reval เรวัล เป็นชื่อประวัติศาสตร์ในภาษาเยอรมัน และ ภาษาสวีเดน) เป็นเมืองหลวงและเมืองท่าหลักของประเทศเอสโตเนีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลบอลติกทางด้านเหนือของประเทศ อยู่ห่างจากกรุงเฮลซิงกิ (เมืองหลวงของประเทศฟินแลนด์) 80 กิโลเมตร.
ทาเกสเชา
ทาเกสเชา (Tagesschau) เป็นรายการข่าวของสถานีโทรทัศน์แห่งเยอรมนี (ARD) ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 1952 เวลา 20.00 น. ตามเวลาในประเทศเยอรมนี ตรงกับเวลา 01.00 น.
ทิลล์ ออยเลนชปีเกล
แกะไม้รูปตัวตลกทิลล์ ออยเลนชปีเกล ในมือถือนกฮูกและกระจก จากหนังสือของ Straßburg ฉบับปี 1515 แก้ไข ทิลล์ ออยเลนชปีเกล (Mölln) ตัวตลกแต่งชุดทิลล์ ออยเลนชปีเกลในปัจจุบัน แก้ไข ทิลล์ ออยเลนชปีเกล (Mölln) ทิลล์ ออยเลนชปีเกล (Till Eulenspiegel) เป็นตัวละครในตำนานพื้นบ้านเยอรมันยุคกลาง ว่ากันว่าเป็นชายชาวชนบทจากเมืองเบราน์ชไวก์ที่ออกตระเวนท่องไปในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ โบฮีเมีย และอิตาลี ชอบทำอะไรตลกขบขัน เป็นที่พอใจของบุคคลทั่วไปที่ได้รู้จัก มีชีวิตอยู่ราว..
ดู ภาษาเยอรมันและทิลล์ ออยเลนชปีเกล
ท่าอากาศยานชตุทท์การ์ท
ท่าอากาศยานชตุทท์การ์ท (Stuttgart Airport,เยอรมัน: Flughafen Stuttgart, หรือเรียกอีกอย่างว่า Flughafen Stuttgart-Echterdingen) รหัสสนามบินเป็นสนามบินนานาชาติของเมืองสตุทท์การ์ทซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์คของเยอรมัน เป็นสนามบินที่ใหญ่เป็นอันดับ6ของประเทศเยอรมนีและมีผู้โดยสารกว่า 10.5 ล้านคนที่เดินทางป่านเข้ามาในปี.
ดู ภาษาเยอรมันและท่าอากาศยานชตุทท์การ์ท
ท่าอากาศยานฮัมบวร์ค
ท่าอากาศยานฮัมบวร์ค (เยอรมัน: Flughafen Hamburg-Fuhlsbüttel) ตั้งอยู่ที่เมืองฮัมบวร์ค ประเทศเยอรมนี ห่างจากตัวเมืองออกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 8.5 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 5 ของเยอรมนี.
ดู ภาษาเยอรมันและท่าอากาศยานฮัมบวร์ค
ท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ต
ท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ต (เยอรมัน: Rhein-Main-Flughafen หรือ Flughafen Frankfurt am Main, อังกฤษ: Frankfurt Airport) ตั้งอยู่ที่แฟรงก์เฟิร์ต เยอรมนี เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของเยอรมนี และใหญ่เป็นอันดับ 3 ของยุโรป แฟรงก์เฟิร์ตเป็นท่าอากาศยานหลักของลุฟต์ฮันซา สายการบินแห่งชาติเยอรมนี แต่ลุฟต์ฮันซาต้องแบ่งการให้บริการไปยังท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิกบางส่วน เนื่องจากความสามารถในการรองรับที่จำกัดของแฟรงก์เฟิร์ต.
ดู ภาษาเยอรมันและท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ต
ท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา
ท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา (เยอรมัน: Flughafen Wien-Schwechat) ตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร (11 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของออสเตรียนแอร์ไลน์ และนิกิแอร์ไลน.
ดู ภาษาเยอรมันและท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนา
ท่าอากาศยานโคโลญบอนน์
ท่าอากาศยานโคโลญบอนน์ (อังกฤษ:Cologne Bonn Airport,เยอรมัน:Flughafen Köln/Bonn, หรือที่เรียกว่า Flughafen Köln-Wahn) รหัสสนามบิน เป็นสนามบินนานาชาติของเมืองโคโลญและใหญ่เป็นอันดับสี่ของประเทศเยอรมนี อยู่ในนครบอนน์ซึ่งเคยเป็ยเมืองหลวงของเยอรมนีตะวันตกมีผู้โดยสารประมาณ 10.3 ล้านคนที่เดินมาที่นี้ในปี 2015 เป็น1ใน7สนามบินที่ใหญ่ที่สุดในเยอรมัน.
ดู ภาษาเยอรมันและท่าอากาศยานโคโลญบอนน์
ข้าคือวีเซิล
้าคือวีเซิล (I Am Weasel) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย David Feiss สังกัด Cartoon Network Studios ข้าคือวีเซิล เป็นการ์ตูนย่อยของง้องแง้งกับเงอะงะโดยจะฉาย 1 ตอนย่อยในทุกๆตอนของง้องแง้งกับเงอะงะ จากนั้นก็ได้โอกาสมาแยกเป็นการ์ตูนของตัวเอง โดยใช้เพลงเปิดที่ดัดแปลงมาจากเพลงคลาสสิก Pop on the Weasel เรื่องราวหลักๆของข้าคือวีเซิล จะเป็นเรื่องราวของ วีเซิล และ ไอ.อาร.บาบูน ซึ่งทั้งสองโดยส่วนมากจะเป็นเพื่อนกัน มักจะเผชิญหน้าเหตุการณ์ต่างๆ ในแต่ละตอน โดยส่วนมาวีเซิลมักจะได้รับบทที่สูงกว่าไอ.อาร.
ณัฐพิมล นาฏยลักษณ์
ฟาริด้า วัลเลอร์ (Farida Waller; 24 ตุลาคม พ.ศ. 2536) หรือ ณัฐพิมล นาฏยลักษณ์ ได้รับตำแหน่ง มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ ปี 2012 และเป็นตัวแทนของประเทศไทยในการประกวดมิสยูนิเวิร์ส 2012 ณ ลาสเวกัส รัฐเนวาดา สหรั.
ดู ภาษาเยอรมันและณัฐพิมล นาฏยลักษณ์
ดมีตรี ชอสตโกวิช
องชอสตาโกวิช เมื่อปี ค.ศ. 1950 ดมีตรี ดมีตรีเยวิช ชอสตโกวิช (Dmitri Dmitrievich Shostakovich; Дмитрий Дмитриевич Шостакович; เกิดเมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและดมีตรี ชอสตโกวิช
ดอม
อม หรือ โดม หรือ โดหมุ (ญี่ปุ่น:ドム; อังกฤษ:Dom) เป็นรุ่นของโมบิลสูทซึ่งเป็นมีบทบาทสำคัญในการ์ตูนญี่ปุ่นกันดั้มซีรีส์ โดยปรากฏตัวครั้งแรกในโมบิลสูทกันดั้ม ดอมได้รับการออกแบบให้มีรูปแบบต่างๆมากมายนับสิบแบบ รูปแบบดั้งเดิมของดอมได้รับการออกแบบโดยคุนิโอะ โอคาวาร.
ดอคูเมนทา
กงาน documenta 6 งานศิลปะ ''Die Fremden'' (คนแปลกหน้า) โดย Thomas Schütte ใน DOCUMENTA IX ค.ศ. 1992 ดอคูเมนทา (documenta) เป็นงานแสดงศิลปะสมัยใหม่และศิลปะร่วมสมัยที่สำคัญที่สุดงานหนึ่งของโลก ซึ่งในปัจจุบันจัดขึ้นทุก ๆ ห้าปี ที่เมืองคัสเซิล ประเทศเยอรมนี งานแสดงนี้ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
ดัชชี
ัชชี (duchy) เป็นอาณาเขตการปกครองหรือบริเวณที่ปกครองโดยดยุกหรือดัชเชส ดัชชีที่สำคัญบางแห่งในสมัยก่อนจะมีอธิปไตยปกครองบริเวณหนึ่ง ๆ ต่อมารวมกันเป็นที่มาของรัฐสมัยใหม่ในปัจจุบัน เช่น ประเทศเยอรมนี ประเทศอิตาลี ในทางตรงกันข้ามดัชชีอื่น ๆ ก็อาจจะเป็นเขตปกครองภายในราชอาณาจักรมาตั้งแต่สมัยกลาง เช่น ในประเทศอังกฤษ ประเทศฝรั่งเศส และประเทศสเปน ประวัติของแต่ละดัชชีแต่ละอาณาจักรก็จะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับความแข็งแกร่งและประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องของแต่ละรั.
ดัชชีลิมบูร์ก
ัชชีแห่งลิมบวร์ก (Herzogtum Limburg, Duchy of Limburg) เป็นดัชชีที่เป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ที่ปกครองโดยดยุกแห่งลิมบวร์ก ดัชชีแห่งลิมบวร์กตั้งอยู่ในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในบริเวณที่เป็นส่วนหนึ่งของเบลเยียม และ เนเธอร์แลนด์ และบางส่วนในเยอรมนีปัจจุบัน ในสมัยโรมันลิมบวร์กตั้งอยู่ในจังหวัดเจอร์มาเนียใต้ที่เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของเคลท์จนกระทั่งมาแทนด้วยชนเจอร์มานิคเมื่ออำนาจของจักรวรรดิโรมันเริ่มเสื่อมโทรมลง ดัชชีแห่งลิมบวร์กก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและดัชชีลิมบูร์ก
ดัชชีวอร์ซอ
ัชชีวอร์ซอ (Księstwo Warszawskie; Duché de Varsovie; Herzogtum Warschau) เป็นรัฐโปแลนด์ที่สถานปนาโดยนโปเลียน โบนาปาร์ตเมื่อ..
ดัชชีสติเรีย
ัชชีสติเรีย (Duchy of Styria; Herzogtum Steiermark; Vojvodina Štajerska; Stájerország) เป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของออสเตรียและทางเหนืของสโลวีเนียปัจจุบัน ดัชชีสติเรียเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จนกระทั่งถูกยุบในปี..
ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย
ัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย (Ducatus Curlandiæ et Semigalliæ, Księstwo Kurlandii i Semigalii, Herzogtum Kurland und Semgallen, Kurzemes un Zemgales hercogiste) เป็นดัชชีในภูมิภาคบอลติก โดยก่อตั้งขึ้นในปี 1561 จนในปี 1569 ดัชชีนี้ได้กลายเป็นเครือรัฐของแกรนด์ดัชชีลิทัวเนีย และ เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย ตั้งแต่ปี 1569 ถึงปี 1726 ดัชชีได้เข้าร่วมกับ เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย โดย Sejm ในปี 1726 จนในวันที่ 28 มีนาคม 1795 ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้ถูกผนวกกับจักรวรรดิรัสเซียในการแบ่งโปแลนด์ครั้งที่สาม ต่อมาดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้จัดตั้งรัฐอายุสั้นขึ้นในวันที่ 8 มีนาคม ถึงวันที่ 22 กันยายน 1918 โดยใช้ชื่อเดียวกัน โดยเป็นแผนที่จะจัดตั้งสหดัชชีบอลติก (United Baltic Duchy) โดย จักรวรรดิเยอรมัน จนเยอรมนียอมจำนนในภูมิภาคบอลติกในช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง พื้นที่ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศลัตเวีย หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจบลง; ดูเพิ่มที่ ดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย (ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลีย
ดัชชีซาวอย
ัชชีแห่งซาวอย (Duchy of Savoy, Savoie, Savoia) ระหว่างปี..
ดัชชีปรัสเซีย
ัชชีปรัสเซีย หรือ ดัชชีพรอยเซิน (Herzogtum Preußen; Prusy Książęce; Prūsijos kunigaikštystė; Duchy of Prussia) เป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกของแคว้นปรัสเซีย รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและดัชชีปรัสเซีย
ดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย
ัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย, โดฟินแห่งฝรั่งเศส (ประสูติ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1660 — สิ้นพระชนม์ 20 เมษายน ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย
ดัชเชสไอลีคาแห่งโอลเดินบูร์ก
ัชเชสไอลีคาแห่งโอลเดินบูร์ก ชื่อเต็มในภาษาเยอรมันว่า Eilika Helene Jutta Clementine Herzogin von Habsburg-Lothringen สกุลเดิม von Oldenburg เป็นภริยาของเกออร์ก ฟอน ฮับส์บูร์ก ประสูติเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและดัชเชสไอลีคาแห่งโอลเดินบูร์ก
ดัชเชสเอลีซาเบทแห่งเวือร์ทเทมแบร์ก
ัชเชสเอลิซาเบธแห่งวืร์ทเต็มเบิร์ก ดัชเชสเอลิซาเบธแห่งวืร์ทเต็มเบิร์ก (ภาษาเยอรมัน: Herzogin Elisabeth von Württemberg, Duchess Elisabeth of Württemberg) (พระนามเต็ม: เอลิซาเบธ วิลเฮล์มมีน หลุยส์, Elisabeth Wilhelmine Louise von Württemberg) ทรงเป็นดัชเชสแห่งวืร์ทเต็มเบิร์ก และเป็นพระชายาพระองค์แรกในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งขณะนั้นทรงดำรงตำแหน่งอาร์คดยุคแห่งออสเตรียอยู่ หลังจากอภิเษกสมรสแล้ว พระองค์ก็ทรงได้รับการสถาปนาเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรีย (Her Royal Highness Archduchess Elisabeth of Austria) ดัชเชสเอลิซาเบธทรงประสูติเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและดัชเชสเอลีซาเบทแห่งเวือร์ทเทมแบร์ก
ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ซูเปอร์สตาร์
HDset used from April 16, 2009 - present WWE Superstars เป็นรายการโทรทัศน์ที่เกี่ยวกับมวยปล้ำอาชีพ ของ World Wrestling Entertainment (WWE) โดยออกอากาศทุกวันพฤหัสบดี ทาง WGN America ซึ่งเริ่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ 16 เมษายน..
ดู ภาษาเยอรมันและดับเบิลยูดับเบิลยูอี ซูเปอร์สตาร์
ดาส โบท
ูท (Das Boot; The Boat; ฉายในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2525 ใช้ชื่อว่า อู 96 นรกใต้สมุทร) เป็นภาพยนตร์ภาษาเยอรมันที่ออกฉายในปี..
ดิวโอลิงโก
วโอลิงโก (Duolingo) เป็นโปรแกรมเรียนภาษาฟรีที่ใช้ปัญหาเป็นการหาคำตอบเป็นหลัก การให้บริการของโปรแกรมนี้ถูกออกแบบมาให้ผู้ใช้ทำแบบฝึกหัดในแต่ละบทสำเร็จ ในขณะเดียวกันก็ช่วยแปลเว็บไซต์และเอกสารอื่น ๆ ไปด้วย ในวันที่ 13 ธันวาคม 2557 ดิวโอลิงโกได้ให้บริการการเรียนภาษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาสเปน, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาเยอรมัน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษาอิตาลี, ภาษาดัตช์, ภาษาไอริช, ภาษาเดนมาร์ก และภาษาสวีเดนสำหรับผู้ใช้ที่พูดภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษสำหรับผู้ใช้ภาษาสเปน, ฝรั่งเศส, เยอรมัน, โปรตุเกส, อิตาลี, กรีก, ดัตช์, รัสเซีย, โปแลนด์, ตุรกี, ฮังการี, โรมาเนีย, ญี่ปุ่น, ฮินดี, อินโดนีเซีย, เกาหลี และเช็ก และยังมีคู่ภาษาอื่น ๆ อีกมากมาย สามารถใช้ได้บนเว็บ, ไอโอเอส, แอนดรอยด์ และวินโดวส์โฟน 8.1 ดิวโอลิงโกได้เริ่มต้นทดสอบระบบครั้งแรกเฉพาะเจ้าหน้าที่ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 และมียอดผู้ใช้ที่รอคอยมากกว่า 300,000 คน ในวันที่ 19 มิถุนายน 2556 ดิวโอลิงโกได้เปิดตัวสู่สาธารณะเป็นครั้งแรก ในปี 2557 แอปเปิลได้เลือกให้ดิวโอลิงโกเป็นแอปพลิเคชันประจำปี เป็นครั้งแรกที่รางวัลนี้ได้ถูกมอบแก่แอปพลิเคชันทางการศึกษา ดิวโอลิงโกชนะการประกวดแอปพลิเคชันใหม่ที่ดีที่สุดในงาน 2014 Crunchies, และเป็นแอปพลิเคชันทางการศึกษาที่มียอดดาวน์โหลดสูงที่สุดในกูเกิลเพลย์ ปี 2556 และ 2557 ในเดือนมกราคม 2557 ดิวโอลิงโกมียอดผู้ใช้งานรวม 60 ล้านคน ซึ่งมี 20 ล้านคนที่ยังคงใช้งานอยู.
ดินแดนใต้การปกครองร่วมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
นแดนใต้การปกครองร่วมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (Condominium of Bosnia and Herzegovina) อยู่ในการควบคุมของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในปี 1908 และ ก่อนหน้านั้นตั้งแต่ปี 1878 ก็เป็นดินแดนในการอารักขารักษาความสงบแทนจักรวรรดิออตโตมัน ราชอาณาจักรบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ถูกสถาปนาเพื่อเป็นตำแหน่งพระราชาธิบดีของจักรพรรดิออสเตรียอีกตำแหน่งหนึง โดยจัดตั้งรัฐบาลที่ปกครองโดยชาวบอสนีแอก ชาวโครแอตและชาวสโลวีน และในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ก็เกิดการลอบปลงพระชนม์มงกุฎราชกุฎมารของออสเตรียในดินแดนแห่งนี้ เนื่องจากชาวเซิร์บและชาวมุสลิมบอสเนียบางกลุ่มต้องการแยกบอสเนียไปรวมกับเซอร์เบียเป็น ราชอาณาจักรยูโกสลาเวี.
ดู ภาษาเยอรมันและดินแดนใต้การปกครองร่วมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ดิเอดจ์ออฟกลอรี
อดจ์ออฟกลอรี (The Edge Of Glory) เป็นซิงเกิ้ลเพลงที่ 3 โดยศิลปินและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า จากสตูดิโออัลบั้ม ที่สามของเธอบอร์นดิสเวย์ (2011) เขียนและผลิตโดยเลดี้ กาก้า, Fernando Garibay และ DJ White Shadow ดิเอดจ์ออฟกลอรี ถูกปล่อยทั่วโลกวันที่ 9 พฤษภาคม 2011 โดยมีคลาเรนซ์ เคลมอนส์เป็นนักแซ็กโซโฟนมาร่วมเล่นดนตรีประกอบเพลง มิวสิกวิดีโอถูกปล่อยในวันที่16 มิถุนายน พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและดิเอดจ์ออฟกลอรี
ดีเบลชทรอมเมิล
ีเบลชทรอมเมิล (Die Blechtrommel; The Tin Drum) เป็นภาพยนตร์ภาษาเยอรมันที่ออกฉายในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและดีเบลชทรอมเมิล
คริสตอฟ ดินเซนฮอฟเฟอร์
วัดเซ็นต์นิโคลัส (ปราก) คริสตอฟ ดินเซนฮอฟเฟอร์ (ภาษาเยอรมนี: Christoph Dientzenhofer; ภาษาเช็ก: Kryštof Dientzenhofer) เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและคริสตอฟ ดินเซนฮอฟเฟอร์
คริสต์มาส
ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.
คริสต์ศตวรรษที่ 16
ริสต์ศตวรรษที่ 16 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1501 ถึง ค.ศ. 1600 ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 นี้ สเปนและโปรตุเกสได้มีการเดินเรือเพื่อออกไปสำรวจสถานที่ต่างๆ หลังจากที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสได้ค้นพบโลกใหม.
ดู ภาษาเยอรมันและคริสต์ศตวรรษที่ 16
ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ
วามผิดปกติทางบุคลิกภาพ (personality disorders, ตัวย่อ PD) เป็นหมวดหมู่ของความผิดปกติทางจิตต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นรูปแบบพฤติกรรม รูปแบบทางประชาน และรูปแบบประสบการณ์ทางใจที่ปรับตัวอย่างไม่เหมาะสม (maladaptive) ที่ยั่งยืน โดยปรากฏในสถานการณ์ต่าง ๆ หลายอย่าง และออกนอกลู่นอกทางอย่างสำคัญจากที่ยอมรับได้ในสังคมและวัฒนธรรมของบุคคลนั้น รูปแบบเหล่านี้จะพัฒนาขึ้นตั้งแต่เบื้องต้นของชีวิต ยืดหยุ่นไม่ได้ และสัมพันธ์กับความทุกข์กับความพิการในระดับสำคัญ แต่ว่านิยามที่จำเพาะอาจจะต่างกันได้แล้วแต่ที่มา เกณฑ์วินิจฉัยความผิดปกติทางบุคลิกภาพอยู่ในคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (DSM) ที่จัดพิมพ์โดยสมาคมจิตเวชอเมริกัน (American Psychiatric Association ตัวย่อ APA) และในหัวข้อ "ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม (mental and behavioral disorders)" ในบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (ตัวย่อ ICD) ที่เผยแพร่โดยองค์การอนามัยโลก DSM-5 รุ่นที่พิมพ์ในปี 2556 กำหนดความผิดปกติทางบุคลิกภาพเช่นเดียวกับความผิดปกติทางจิต (mental disorders) อื่น ๆ แทนที่จะอยู่ใน "axis" ที่ต่างกันตามที่เคยทำมาก่อน ๆ บุคลิกภาพตามนิยามของจิตวิทยา เป็นเซตของลักษณะทางพฤติกรรมและทางจิตที่คงทน ที่ทำให้มนุษย์แต่ละคนต่างกัน ดังนั้น ความผิดปกติทางบุคลิกภาพจึงกำหนดโดยประสบการณ์ (ทางใจ) และพฤติกรรม ที่ต่างจากมาตรฐานและความคาดหวังของสังคม คนผิดปกติเช่นนี้ อาจประสบความยากลำบากทางประชาน (cognition) ความไวอารมณ์ (emotiveness) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (interpersonal functioning) และการควบคุมความหุนหันพลันแล่น (impulse control) โดยทั่วไปแล้ว คนไข้จิตเวชร้อยละ 40-60 จะได้รับวินิจฉัยว่ามีความผิดปกติเช่นนี้ จึงเป็นกลุ่มโรคที่วินิจฉัยบ่อยครั้งที่สุดในบรรดาโรคจิตเวช ความผิดปกติทางบุคลิกภาพกำหนดโดยรูปแบบพฤติกรรมที่คงทน บ่อยครั้งสัมพันธ์กับความขัดข้องในชีวิตส่วนตัว ชีวิตทางสังคม หรือทางอาชีพ นอกจากนั้นแล้ว ความผิดปกติเช่นนี้ยืดหยุ่นไม่ได้ และแพร่กระจายไปในสถานการณ์มากมาย ซึ่งส่วนใหญ่อาจจะมาจากเหตุที่ว่า พฤติกรรมเช่นนี้เข้ากับทัศนคติเกี่ยวกับตน (ego-syntonic) ของบุคคลนั้นได้ ดังนั้น บุคคลนั้นจึงพิจารณาว่าเป็นพฤติกรรมที่เหมาะสม แต่เป็นพฤติกรรมที่อาจมีผลเป็นทักษะจัดการปัญหาและความเครียด (coping skill) ที่ปรับตัวได้อย่างไม่เหมาะสม และนำไปสู่ปัญหาส่วนตัวที่สร้างความวิตกกังวล ความทุกข์ และความเศร้าซึมอย่างรุนแรง รูปแบบพฤติกรรมเช่นนี้จะกำหนดได้ตั้งแต่ช่วงวัยรุ่นและต้นวัยผู้ใหญ่ และในบางกรณีที่พิเศษ ในช่วงวัยเด็ก มีประเด็นปัญหาหลายอย่างในการจัดหมวดหมู่ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ คือมีนิยามต่าง ๆ หลายแบบ และเพราะว่าทฤษฎีและการวินิจฉัยเกี่ยวกับความผิดปกติจะต้องเกิดภายในความคาดหวังปกติของสังคม นักวิชาการบางท่านจึงคัดค้านความสมเหตุสมผลของทฤษฎีและการวินิจฉัย เพราะว่าเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องอาศัยมูลฐานบางอย่างที่เป็นอัตวิสัย (subjective) คือพวกเขาอ้างว่า ทฤษฎีและการวินิจฉัยมีมูลฐานอยู่ที่พิจารณาญาณทางสังคม หรือทางสังคม-การเมืองและทางเศรษฐกิจ (ดังนั้น จึงอาจจะไม่ใช่ปัญหาทางการแพทย์).
ดู ภาษาเยอรมันและความผิดปกติทางบุคลิกภาพ
ความถี่วิทยุ
วามถี่วิทยุ หรือ ย่านความถี่วิทยุ หรือที่นิยมเรียกย่อ ๆ ว่า RF (Radio frequency) นั้นใช้หมายถึง ช่วงสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า หรือย่านความถี่แม่เหล็กไฟฟ้านั่นเอง ซึ่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นสามารถถูกสร้างออกมา โดยการจ่ายกระแสไฟฟ้าสลับให้แก่สายอากาศ ความถี่วิทยุถูกแบ่งออกเป็นหลายย่านดังแสดงในตารางต่อไปนี้.
ความตลกขบขัน
การยิ้มอาจจะแสดงอารมณ์ขำ ดังที่เห็นในจิตรกรรมตัวละคร Falstaff ของวิลเลียม เชกสเปียร์ โดย Eduard von Grützner ความตลกขบขัน (humour, humor) เป็นประสบการณ์ทางการรู้คิดที่มักทำให้หัวเราะและสร้างความบันเทิงสนุกสนาน คำจากภาษาอังกฤษมาจากศัพท์ทางการแพทย์ของชาวกรีกโบราณ ซึ่งสอนว่า ความสมดุลของธาตุน้ำต่าง ๆ ในร่างกายที่เรียกในภาษาละติน ว่า humor (แปลว่า ของเหลวในร่างกาย) เป็นตัวควบคุมสุขภาพและอารมณ์ของมนุษย์ มนุษย์ทุกยุคสมัยและทุกวัฒนธรรมตอบสนองต่อเรื่องขบขัน มนุษย์โดยมากประสบความขำขัน คือรู้สึกบันเทิงใจ ยิ้ม หรือหัวเราะต่ออะไรที่ขำ ๆ และดังนั้น จึงเรียกได้ว่าเป็นคนมีอารมณ์ขำ (คือมี sense of humour) คนสมมุติที่ไม่มีอารมณ์ขำน่าจะพบเหตุการณ์ที่ทำให้ขำว่า อธิบายไม่ได้ แปลก หรือว่าไม่สมเหตุผล แม้ว่าปกติความขำขันจะขึ้นอยู่กับรสนิยมส่วนตัว ขอบเขตที่บุคคลพบว่าอะไรน่าขำจะขึ้นอยู่กับตัวแปรหลายอย่าง รวมทั้งอยู่ในภูมิประเทศไหน ในวัฒนธรรมอะไร อายุ ระดับการศึกษา ความเฉลียวฉลาด และพื้นเพหรือบริบท ยกตัวอย่างเช่น เด็กเล็ก ๆ อาจชอบเรื่องตลกที่มีการตีกัน (ภาษาอังกฤษเรียกว่า slapstick) ดังที่พบในการ์ตูน เช่นรายการ ทอมกับเจอร์รี่ ที่การกระทบกระทั่งทางกายทำให้เด็กเข้าใจได้ เทียบกับเรื่องตลกที่ซับซ้อนกว่า เช่น แบบที่ใช้การล้อเลียนเสียดสี (satire) ซึ่งจำเป็นต้องเข้าใจสถานะทางสังคมและดังนั้น ผู้ใหญ่จะชอบใจมากกว.
คอมมานด์ & คองเคอร์
อมมานด์ & คอนเคอร์ (Command & Conquer หรือ C&C) คือชื่อของเกมคอมพิวเตอร์แนวเกมวางแผนการรบเรียลไทม์ และ เฟิร์ตเพอร์เซินชูตเตอร์ พัฒนาครั้งแรกโดยบริษัท เวสท์วูด สตูดิโอ ระหว่างปี 1985 จนถึง 2003 ร่วมพัฒนากับบริษัท อิเลคโทรนิค อาร์ต โดยเกมแรกได้วางแผงทั่วโลกใน วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและคอมมานด์ & คองเคอร์
คอสมาส ดาเมียน อาซาม
ในวัดอาซาม หน้าต่างเหนือแท่นบูชา ชัยชนะของอพอลโลบนเพดานปราสาทใกล้เรเก็นสเบิร์ก (ค.ศ. 1730) ภาพเขียนบนเพดาน ชัยชนะของนักบุญเบ็นเนดิคแห่งเนอร์เซียที่สำนักสงฆ์ไวน์การ์เต็น คอสมาส ดาเมียน อาซาม (ภาษาเยอรมนี: Cosmas Damian Asam) เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน..
ดู ภาษาเยอรมันและคอสมาส ดาเมียน อาซาม
คองเกรสโปแลนด์
ราชอาณาจักรคองเกรสโปแลนด์, ค.ศ. 1815-1830 แผนที่คองเกรสดปแลนด์ (จักรวรรดิรัสเซีย) ค.ศ. 1902 ราชอาณาจักรโปแลนด์ (Królestwo Polskie; Королевство Польское, Царство Польское, Korolevstvo Polskoye, Tsarstvo Polskoye,, Carstwo Polskie, translation: อาณาจักรซาร์โปแลนด์) มีชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า คองเกรสโปแลนด์ (Królestwo Kongresowe หรือ รัสเซียโปแลนด์) สถาปนาเมื่อ..
ดู ภาษาเยอรมันและคองเกรสโปแลนด์
คอปเปเลีย
Giuseppina Bozzachi รับบทเป็นสวอนฮิลด์ เป็นคนแรก เมื่อปี 1870 คอปเปเลีย (Coppélia) เป็นบัลเลต์ชวนหัวความยาว 3 องก์ ออกแบบท่าเต้นโดยอาร์เทอร์ แซงต์-ลีออง (Arthur Saint-Léon, 1821-1870) ประกอบดนตรีที่แต่งโดยลีโอ ดีลิบีส ประพันธ์คำร้องโดยแซงต์-ลีออง กับชาลส์ นุตตีเยร์ (Charles-Louis-Étienne Nuitter, 1828-1899) ดัดแปลงจากเรื่องสั้นภาษาเยอรมันสองเรื่องของอี.
คาบสมุทรจัตแลนด์
คาบสมุทรจัตแลนด์ คาบสมุทรจัตแลนด์ (ภาษาเดนมาร์ก: Jylland; ภาษาเยอรมัน: Jütland) เป็นคาบสมุทรในทวีปยุโรป เป็นที่ตั้งของประเทศเดนมาร์ก (ภาคตะวันตกในส่วนที่ไม่ใช่เกาะ) และประเทศเยอรมนี (บริเวณจุดเหนือสุด) โดยมีทะเลบอลติกทางด้านตะวันออก และทะเลเหนือทางด้านตะวันตก จัตแลนด์ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ยุโรป.
ดู ภาษาเยอรมันและคาบสมุทรจัตแลนด์
คำกริยาวิเศษณ์
ำกริยาวิเศษณ์ เป็นคำชนิดหนึ่งมีใช้ในหลายภาษา ตัวอย่างที่เห็นชัดคือภาษาอังกฤษ คำกริยาวิเศษณ์หมายถึงคำที่ทำหน้าที่ขยายความคำกริยาหรือคำอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากคำนาม เช่นคำคุณศัพท์ (รวมทั้งจำนวน) อนุประโยค ประโยค และคำกริยาวิเศษณ์อื่น คำกริยาวิเศษณ์ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของคำวิเศษณ์ในภาษาไท.
ดู ภาษาเยอรมันและคำกริยาวิเศษณ์
คำปฏิญาณโอลิมปิก
การกล่าวคำปฏิญาณตนในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิก เป็นการปฏิญาณตนในพิธีเปิดโอลิมปิกโดยนักกีฬา, ผู้ตัดสิน, เจ้าหน้าที่จำนวนหนึ่งคน พร้อมกับผู้ฝึกสอนอีกจำนวนหนึ่งคนยืนอยู่ข้างตัว ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะเป็นคนจากประเทศเจ้าภาพในปีนั้น ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะปฏิญาณตนในนามของนักกีฬา, เจ้าหน้าที่ หรือผู้ฝึกสอนในพิธีเปิดโอลิมปิกทั้งหมดโดยจะมีผู้ช่วยถือธงโอลิมปิกอยู่ตรงหัวมุมเสมอ.
ดู ภาษาเยอรมันและคำปฏิญาณโอลิมปิก
คำนำหน้าชื่อ
ำนำหน้าชื่อ หรือ คำนำหน้านาม คือคำที่ใส่เพิ่มไปในชื่อของบุคคลเพื่อบ่งบอกถึงสถานภาพ เช่น การศึกษา ยศตำแหน่ง หรือบรรดาศักดิ์ อาทิ นาย นาง นางสาว ศาสตราจารย์ พันเอก เจ้าชาย กษัตริย์ จักรพรรดิ ฯลฯ ในบางวัฒนธรรมอาจใช้คำแทรกระหว่างชื่อตัวกับนามสกุล เช่น Graf ในชุมชนภาษาเยอรมัน หรือ พระคาร์ดินัลในตำแหน่งบาทหลวงโรมันคาทอลิก แต่เดิมประเทศไทย ไม่มีการใช้คำนำหน้าชื่อเป็นกิจลักษณะ ต่อมาเมื่อมีการประกาศพระบรมราชโองการให้ใช้ พระราชบัญญัติให้ใช้คำนำหน้าชื่อชนต่าง ๆ (ณ วันพุธ เดือน 10 ขึ้น 7 ค่ำ ปีระกาตรีศก) ซึ่งกำหนดคำนำหน้าชื่อ อยู่สำหรับ หญิงและชาย ซึ่งเป็นสามัญชนไว้เพียง 3 คำ ได้แก่ นาย อ้าย และ อี.
คิลเลียน อิกนาซ ดินเซนฮอฟเฟอร์
วัดเซ็นต์นิโคลัส (ปราก) คิลเลียน อิกนาซ ดินเซนฮอฟเฟอร์ (ภาษาเยอรมัน: Kilian Ignaz Dientzenhofer; ภาษาเช็ก: Kilián Ignác Dientzenhofer) เกิดเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและคิลเลียน อิกนาซ ดินเซนฮอฟเฟอร์
คิดดี้เกรด
ี้เกรด เป็นภาพยนตร์การ์ตูนญี่ปุ่นแนวแฟนตาซีวิทยาศาสตร์ ผลิตโดย gimik และบริษัทกอนโซ ออกฉายเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.
คินเดอร์โทเทนลีเดอร์
นเดอร์โทเทนลีเดอร์ (Kindertotenlieder) (แปลว่า เพลงกล่อมเด็กเกี่ยวกับความตาย แต่ในที่นี้หมายความว่า เพลงแห่งความตายของลูก) เป็นชุดเพลงร้อง (Liedercyclus) สำหรับขับร้องประกอบดนตรีออร์เคสตรา ผลงานของกุสตาฟ มาห์เลอร์ โดยนำคำร้องมาจากโคลงภาษาเยอรมัน 428 บทของฟรีดิช รูเคิร์ต รูเคิร์ตประพันธ์บทกวีต้นฉบับขึ้นมาระหว่างปี..
ดู ภาษาเยอรมันและคินเดอร์โทเทนลีเดอร์
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
"ดอกแก้ว" สัญลักษณ์ประจำคณะมนุษยศาสตร์ "อาคารมนุษยศาสตร์ 1" อาคารเรียนหลังแรกของคณะมนุษยศาสตร์ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จมาทรงเป็นประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2531 และทรงเป็นประธานในพิธีเปิดอาคารพร้อมทั้งทรงปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์เพื่อเป็นสิริมงคลแก่คณะมนุษยศาสตร์ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2534 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะลำดับที่ 11 ของมหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร โดยมีภารกิจในการมุ่งสู่ความเป็นเลิศด้านภาษา ศิลปวัฒนธรรม อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ตลอดจนนิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ มีส่วนร่วมในการนำความรู้ไปพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน.
ดู ภาษาเยอรมันและคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา
ณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนาในเครื่องแบบ "ชุดเดินทาง" ในงานคอนเสิร์ตปี พ.ศ. 2546 ที่ห้องโถง Wiener Musikverein ในนครเวียนนา ซิมโฟนีของคนนับพัน'' ของกุสตาฟ มาห์เลอร์ ร่วมกับคณะประสานเสียง Wiener Singverein แห่งเวียนนา, วงศ์ดุริยางค์ Slovenský filharmonický zbor และ Staatskapelle Berlin, มีผู้ควบคุม คือ Pierre Boulez ในเดือนเมษายน พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและคณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา
ค่ายกักกันเอาชวิทซ์
ทางเข้าค่ายกักกันเอาชวิทซ์ ค่ายกักกันเอาชวิทซ์ หรือ ค่ายกักกันเอาชวิทซ์-เบียร์เคเนา (Auschwitz concentration camp หรือ Auschwitz-Birkenau) เป็นค่ายกักกันและค่ายมรณะที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาค่ายกักกันของนาซีของนาซีเยอรมนีที่ทำการระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ชื่อของค่ายกักกันมาจากชื่อของเมือง "ออชเฟียนชิม" (Oświęcim) หลังจากการบุกครองโปแลนด์ ในเดือนกันยายน..
ดู ภาษาเยอรมันและค่ายกักกันเอาชวิทซ์
งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 89
งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 89 เป็นงานประกาศมอบรางวัลที่จัดขึ้นโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์สำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 89
งูปล้องฉนวน
งูปล้องฉนวน (Wolf snakes) เป็นงูในสกุล Lycodon (/ไล-โค-ดอน/) จัดอยู่ในวงศ์งูพิษเขี้ยวหลัง (Colubrida) มีลักษณะโดยรวมเป็นงูลำตัวเรียว มีความยาวประมาณ 40-60 เซนติเมตร มักมีลายเป็นปล้องสีนํ้าตาลหรือดําสลับขาว ไม่มีพิษ โดยคำว่า Lycodon มาจากภาษากรีกคำว่า "λύκος" (lykos) หมายถึง "หมาป่า" และ "οδόν" (odon) หมายถึง "ฟัน" อันหมายถึง ลักษณะของฟันที่ขากรรไกรและฟันคู่หน้าล่าง.
ง้องแง้งกับเงอะงะ
ง้องแง้งกับเงอะงะ (ภาษาอังกฤษ: Cow and Chicken) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา สร้างโดย Devid Feiss ออกอากาศครั้งแรกทางช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์ก ตั้งแต่ปี..
ดู ภาษาเยอรมันและง้องแง้งกับเงอะงะ
ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน
ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป ประกอบด้วยภาษาและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ที่พูดโดยคนประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลใหญ่ ภาษาปัจจุบันที่อยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซีย และ ภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน).
ดู ภาษาเยอรมันและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน
ตราแห่งความอัปยศ
ตราดาวเหลืองที่นาซีเยอรมันบังคับให้ผู้มีเชื้อสาวยยิวต้องติดเพื่อเป็นแสดงความอดสู ตราแห่งความอัปยศ หรือ สัญลักษณ์แห่งความอัปยศ (Badge of shame หรือ symbol of shame หรือ mark of shame หรือ stigma) มักจะเป็นสัญลักษณ์ที่มีลักษณะเด่นที่กลุ่มชนใดกลุ่มชนหนึ่งถูกบังคับให้ใช้หรือติดเพื่อให้เป็นการเหยียดหยามในที่สาธารณะ (public humiliation) หรือเป็นการทำร้ายจิตใจ เช่นเมื่อชาวยิวต้องติดตราดาวเหลือง (yellow badge) ในบางส่วนของยุโรประหว่างยุคกลาง และต่อมาในนาซีเยอรมนีและในบริเวณที่ยึดครองโดยเยอรมนี โดยมีจุดประสงค์ให้เป็น “ตราแห่งความอัปยศ” ในการประณามและสร้างความเหยียดหยามว่าเป็นชาติพันธุ์ที่ต่ำกว่าชาติพันธุ์อื่น วลีนี้อาจจะหมายถึงสิ่งที่นำมาซึ่งความอดสู เช่นในคัมภีร์ไบเบิลเรื่อง “เครื่องหมายของเคน” ที่มีความหมายเช่นเดียวกับ “ตราแห่งความอัปยศ” นอกจากนั้นก็ยังใช้เป็นอุปมาโดยเฉพาะในทางเหยียดหยามในการบ่งถึงสิ่งหรือสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่นำมาซึ่งความไม่มีศักดิ์ศรีหรือความน่าละอ.
ดู ภาษาเยอรมันและตราแห่งความอัปยศ
ตลาดหลักทรัพย์แฟรงก์เฟิร์ต
ที่ทำการตลาดหลักทรัพย์แฟรงก์เฟิร์ต ตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิร์ต (เยอรมัน: FWB® Frankfurter Wertpapierbörse; อังกฤษ: Frankfurt Stock Exchange) เป็นตลาดหลักทรัพย์ในเมืองแฟรงค์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี มี Deutsche Börse เป็นเจ้าของและดำเนินการ โดยบริษัทนี้เป็นเจ้าของบริษัทเคลียริ่ง Clearstream ด้วย ตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิร์ตเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดในแปดแห่งของประเทศเยอรมนี และเป็นหนึ่งในตลาดที่ใหญ่ที่สุดในโลกด้ว.
ดู ภาษาเยอรมันและตลาดหลักทรัพย์แฟรงก์เฟิร์ต
ตั้ว ลพานุกรม
รองอำมาตย์เอก ตั้ว ลพานุกรม (21 ตุลาคม พ.ศ. 2441- 27 สิงหาคม พ.ศ. 2484)น้าชาด สำนักพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 5 ตุลาคม..
ดู ภาษาเยอรมันและตั้ว ลพานุกรม
ตารยา ฮาโลเนน
ตารยา การินา ฮาโลเนน (Tarja Kaarina Halonen) เป็นประธานาธิบดีของประเทศฟินแลนด์คนที่ 11 ฮาโลเนนเข้ารับตำแหน่งสมัยแรกในปีพ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและตารยา ฮาโลเนน
ตุ๊ดตู่
ตุ๊ดตู่ (Dumeril's monitor) เป็นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่งในวงศ์เหี้ย (Varanidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายเหี้ย (V. salvator) ซึ่งเป็นสัตว์ในวงศ์เดียวกัน เมื่อเล็กตั้งแต่ปลายปากถึงคอจะมีสีส้มหรือสีแดงเข้ม เมื่อโตสีจะจางลง มีขีดสีดำตั้งแต่ขอบตาถึงคอ ลำตัวมีขวั้นสีเหลืองตั้งแต่คอถึงปลายหาง เป็นสัตว์ที่มีความเชื่องช้า ไม่ค่อยออกไปหากินไกลจากที่อาศัย เมื่อหิวจึงจะออกหากิน แล้วก็กลับเข้าหลับนอนตามเดิม การวางไข่ วางไข่ครั้งละ 23 ฟอง ระยะฟักไข่ 203–230 วัน ถือได้ว่าเป็นสัตว์ที่เล็กที่สุดในวงศ์นี้ที่พบในประเทศไทย เป็นสัตว์ไม่มีพิษ โดยเต็มที่จะมีขนาด 50–125 เซนติเมตรเท่านั้น โดยชื่อสามัญในภาษาอังกฤษและชื่อวิทยาศาสตร์ตั้งขึ้นเป็นเกียรติแก่ อองเดรย์ มารี คอนสแตนต์ ดูเมรีล นักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกชาวฝรั่งเศส เป็นสัตว์ขี้อาย มักอาศัยอยู่ในโพรงไม้ จนมีเอ่ยถึงในบทสร้อยสุภาษิตว่า ในประเทศไทยจะพบตั้งแต่จังหวัดกาญจนบุรีไปจนถึงคอคอดกระในภาคใต้ และพบไปจนถึงมาเลเซียและอินโดนีเซียCota, M.; Chan-ard, T.; Mekchai, S.; Laoteaw, S.
ซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก
ัชชีซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก (Herzogtum Sachsen-Altenburg, Saxe-Altenburg) เป็นอดีตดัชชีซัคเซินที่เป็นส่วนหนึ่งของดัชชีเอิร์นเนสทีนสาขาของราชวงศ์เวททินที่ในปัจจุบันอยู่ในทือริงเงิน.
ดู ภาษาเยอรมันและซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก
ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา
ซัคเซิน-ไวมาร์
ัชชีแห่งซัคเซิน-ไวมาร์ หรือ ซัคเซิน-ไวมาร์ (Herzogtum Sachsen-Weimar, Saxe-Weimar) เป็นอดีตดัชชีในทือริงเงินที่เดิมเป็นรัฐในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซัคเซิน-ไวมาร์ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและซัคเซิน-ไวมาร์
ซังคท์โมริทซ์
ซังคท์โมริทซ์ (Sankt Moritz) หรือ ซันเมารีซิโอ (San Maurizio) เป็นเมืองสกีรีสอร์ทในเทือกเขาแอลป์ ตั้งอยู่ในรัฐเกราบึนเดินทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไม่ไกลจากพรมแดนประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ ณ ระดับความสูง 1,800 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ถือเป็นหนึ่งในแหล่งสกีรีสอร์ทที่หรูหราที่สุดในสวิตเซอร์แลนด์ ในแต่ละปีมีผู้มาเยือนเมืองนี้นับล้านคน ซังคท์โมริทซ์เคยใช้เป็นสถานที่จัดโอลิมปิกฤดูหนาวในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและซังคท์โมริทซ์
ซาราห์ ไบรท์แมน
ซาราห์ ไบรท์แมน เป็นนักร้องเสียงโซปราโน นักแสดง นักแต่งเพลง และนักเต้นชาวอังกฤษ มีความสามารถในการร้องเพลงหลายภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ สเปน ฝรั่งเศส ละติน เยอรมัน อิตาลี รัสเซีย ฮินดี และแมนดาริน เป็นนักร้องเสียงโซปราโนที่มียอดขายผลงานมากที่สุด ถึง 30 ล้านอัลบัม และ2 ล้านแผ่นดีวีดี ไบรท์แมนมีชื่อเสียงจากบทบาท "คริสทีน" จากละครเพลง เดอะแฟนธ่อมออฟดิโอเปร่า ฉบับปี 1984 ของแอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ ที่เขาเขียนบทบาทนี้เป็นพิเศษสำหรับเธอ เวบเบอร์ถึงกับปฏิเสธไม่ยินยอมให้ละครเพลงเรื่องนี้ไปจัดแสดงที่โรงละครบรอดเวย์ หากไบร์ทแมนไม่ได้รับบทคริสทีน ไบร์ทแมนพบกับแอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและซาราห์ ไบรท์แมน
ซาลซ์บูร์ก
ซาลซ์บูร์ก (Salzburg) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดลำดับที่ 4 ในประเทศออสเตรีย และเป็นเมืองหลวงของรัฐซาลซ์บูร์ก เมืองเก่าของซาลซ์บูร์กและสถาปัตยกรรมบาโรกเป็นหนึ่งในใจกลางเมืองที่ถูกดูแลรักษาอย่างดีที่สุดในกลุ่มประเทศที่พูดภาษาเยอรมันด้วยกัน และได้รับการยูเนสโกขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก ในปี พ.ศ.
ซานเตียโก รามอน อี กาฮาล
ซานเตียโก รามอน อี กาฮาล (Santiago Ramón y Cajal) ForMemRS (1 พฤษภาคม 2395 – 18 ตุลาคม 2477) เป็นแพทย์ อาจารย์ พยาธิแพทย์ นักมิญชวิทยาและนักประสาทวิทยาศาสตร์ชาวสเปน ได้รับรางวัลรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปี..1906 (พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและซานเตียโก รามอน อี กาฮาล
ซิกฟรีด
ซิกฟรีด (Siegfried) เป็นชื่อภาษาเยอรมันที่นิยมตั้งให้กับผู้ชาย อาจหมายถึง.
ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)
รงละคร Neue Musik-Festhalle สถานที่แสดงรอบปฐมทัศน์ ภาพนี้ถ่ายขึ้นในวันซ้อมใหญ่ก่อนการแสดงจริง กระท่อมที่มาห์เลอร์ใช้เป็นสถานที่ประพันธ์แต่งซิมโฟนีหมายเลข 8 ในปี 1906 ซิมโฟนีหมายเลข 8 ในบันไดเสียง อี แฟลต เมเจอร์ ผลงานของกุสตาฟ มาห์เลอร์ เป็นงานประพันธ์ดนตรีสำหรับการร้องประสานเสียงประกอบดนตรีจากวงออร์เคสตรา เป็นหนึ่งในงานดนตรีคลาสสิกระดับใหญ่ที่ต้องใช้กลุ่มเครื่องดนตรี และนักร้องประสานเสียงจำนวนมากที่สุด จนบางครั้งมีผู้เรียกซิมโฟนีบทนี้ว่า "ซิมโฟนีของคนนับพัน" (Symphony of a Thousand, หมายความว่า ต้องใช้นักดนตรีและนักร้องประสานเสียงถึงหนึ่งพันคนในการแสดง) โดยตัวมาห์เลอร์เองก็ไม่ได้โต้แย้งใดๆ ที่มีคนเรียกซิมโฟนีบทนี้เช่นนั้น มาห์เลอร์ประพันธ์ซิมโฟนีบทนี้ในช่วงฤดูร้อนของปี..
ดู ภาษาเยอรมันและซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)
ซิมโฟนีหมายเลข 9 (เบโทเฟน)
น้ตดนตรีต้นฉบับของเบโทเฟิน ซิมโฟนีหมายเลข 9 ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์ (Symphony No. 9 in D minor) ของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน รู้จักกันในชื่อ คอรัล ซิมโฟนี (Choral Symphony) เป็นผลงานซิมโฟนีชิ้นสุดท้ายที่เบโทเฟินแต่งได้เสร็จสิ้นสมบูรณ์ เริ่มแต่งเมื่อราว..
ดู ภาษาเยอรมันและซิมโฟนีหมายเลข 9 (เบโทเฟน)
ซิมโฟนีหมายเลข 94 (ไฮเดิน)
ซิมโฟนีหมายเลข 94 ในบันไดเสียง จี เมเจอร์ (Symphony No.) เป็นผลงานของฟรานซ์ โจเซฟ ไฮเดินที่แต่งขึ้นในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและซิมโฟนีหมายเลข 94 (ไฮเดิน)
ซูสีไทเฮา
ฉือสี่ไท่โฮ่ว ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ซูสีไทเฮา ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908) เป็นสตรีชาวแมนจูจากตระกูลเย่เฮ่อน่าลา (葉赫那拉氏) ดำรงตำแหน่งไท่โฮ่ว (พระราชชนนีพันปีหลวง) และสำเร็จราชการแทนจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ในช่วงปลายราชวงศ์ชิง พระนางจึงควบคุมการปกครองจักรวรรดิจีนโดยพฤตินัยเป็นเวลา 47 ปีตั้งแต..
ซูเดเทินลันด์
ซูเดเทินลันด์ (Sudetenland; เช็กและSudety; Kraj Sudetów) คือชื่อดินแดนในภาษาเยอรมัน (และถูกใช้ในภาษาอังกฤษในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20) ที่ใช้หมายถึงอาณาเขตทางตอนเหนือ ใต้ และตะวันตก ของเชโกสโลวาเกีย อันเป็นบริเวณที่ประชากรเชื้อสายเยอรมันและใช้ภาษาเยอรมันเป็นภาษาแม่อาศัยอยู่จำนวนมาก โดยเฉพาะเขตปกครองที่ติดชายแดนอย่าง โบฮีเมีย โมราเวีย และส่วนของไซลีเซียซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของเชโกสโลวาเกีย ซึ่งในขณะนั้นเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของออสเตรียไปจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง ซูเดเทินลันด์ เป็นการสมาสคำในภาษาเยอรมันระหว่าง ลันด์ ซึ่งหมายถึงประเทศหรือดินแดน กับคำว่า ซูเดเทิน ซึ่งเป็นชื่อภาษาเยอรมันของเทือกเขาซูเดเทส (Sudetes) ที่ทอดตัวยาวตามแนวเขตแดนทางตอนเหนือของสาธารณรัฐเช็กและไซลีเซียล่าง (Lower Silesia; ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของโปแลนด์) อย่างไรก็ตามซูเดเทินลันด์เป็นคำที่ใช้หมายถึงดินแดนส่วนที่เลยไปจากแนวเทือกเขาดังกล่าวไปมากพอสมควร ในประวัติศาสตร์ไม่ปรากฎคำว่า ซูเดเทินลันด์ ไปจนกระทั่งช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และไม่เป็นที่รู้จักหรือใช้กันอย่างแพร่หลายไปจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง เมื่อจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีของชาวเยอรมันล่มสลาย ส่งผลให้เกิดการแตกกระจายออกเป็นรัฐต่าง ๆ มากมาย ชาวเยอรมันซูเดเทินที่อาศัยอยู่แต่ดั้งเดิมจึงกลายเป็นชาวเยอรมันผลัดถิ่นในประเทศใหม่อย่างเชโกสโลวาเกียไปโดยปริยาย ต่อมาคำนี้มีความสำคัญมากขึ้นจากวิกฤตการณ์ซูเดเทิน (Sudeten crisis) ปี..
ดู ภาษาเยอรมันและซูเดเทินลันด์
ซียูไรเตอร์
ซียูไรเตอร์ (CU Writer) หรือเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า จุฬาเวิร์ด, เวิร์ดจุฬา หรือ CW เป็นโปรแกรมประมวลคำภาษาไทย ทำงานบนระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส สร้างขึ้นโดยความร่วมมือจาก สถาบันบริการคอมพิวเตอร์ กับภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำโดยนายสำนวน หิรัญวงษ์ เมื่อต้นปี พ.ศ.
ซีรี
ซีรี (Siri) เป็นซอฟต์แวร์ผู้ช่วยอัจฉริยะ (intelligent software assistant) และผู้นำร่องความรู้ (knowledge navigator) ซึ่งทำหน้าที่เสมือนแอปพลิเคชันช่วยส่วนบุคคลสำหรับอุปกรณ์iOS แอปพลิเคชันนี้ใช้อินเตอร์เฟซผู้ใช้ภาษาธรรมชาติในการตอบคำถาม เสนอคำแนะนำ และดำเนินการปฏิบัติตามคำขอซึ่งได้รับมอบหมายไปยังชุดบริการเว็บ แอปเปิลอ้างว่าซอฟต์แวร์นี้ปรับให้เข้ากับความพึงใจส่วนตัวของผู้ใช้เมื่อเวลาผ่านไป และให้ผลเป็นของตัว เช่นเดียวกับการบรรลุภารกิจ เช่น การหาคำแนะนำร้านอาหารละแวกใกล้เคียง หรือถามทาง ซีรีเดิมเริ่มแรกเป็นแอปพลิเคชัน iOS ที่สามารถหาได้ใน App Store ซีรีตกเป็นกรรมสิทธิของบริษัทแอปเปิลเมื่อวันที่ 28 เมษายน..
ปมฆ่าปริศนาพันล้าน
ปสเตอร์ภาพยนตร์ โปสเตอร์ในแบบภาษาเยอรมัน ปมฆ่าปริศนาพันล้าน ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์เรื่อง The Million Dollar Hotel นำแสดงโดย เจเรมี่ เดวี่ส์, มิลล่า โจโววิช, เมล กิ๊บสัน กำกับโดย วิม แวนเดอร์ส ความยาว 122 นาที ฉายเมื่อปี พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและปมฆ่าปริศนาพันล้าน
ประชากรศาสตร์กัมพูชา
รวมของประชากรในประเทศกัมพูชาในด้านความหนาแน่นของประชากร กลุ่มชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา ภาพรวมด้านสาธารณสุข สถานะทางเศรษฐกิจ ศาสนา และอื่นๆ เป็นดังนี้.
ดู ภาษาเยอรมันและประชากรศาสตร์กัมพูชา
ประชาธิปไตยเสรีนิยม
รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและประชาธิปไตยเสรีนิยม
ประมวลกฎหมายแพ่งสวิส
ประมวลกฎหมายแพ่งสวิส (Zivilgesetzbuch; Civil Code; Code civil; Codice civile) เป็นประมวลกฎหมายแพ่งแห่งประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและประมวลกฎหมายแพ่งสวิส
ประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้า (The Life of Buddha) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชัน 2 มิติ ที่เล่าเรื่องราวประวัติของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดำเนินการผลิตโดย ดร.
ดู ภาษาเยอรมันและประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติศาสตร์ออสเตรีย
ตราแผ่นดินของออสเตรียปัจจุบัน ประวัติศาสตร์ออสเตรีย ในช่วงก่อนปลายศตวรรษที่ 8 ประเทศออสเตรียมีชนชาติอพยพต่าง ๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ได้แก่ ชนเผ่าเยอรมันที่ข้ามแม่น้ำดานูบลงมาทางตอนใต้ และชาวสลาฟที่อาศัยอยู่ทางตอนใต้ออสเตรีย จนสิ้นสุดศตวรรษที่ 8 ชาร์เลอมาญ (Charlemagne) ได้ก่อตั้งเขตชายแดนระหว่างแม่น้ำอินส์ แรบและดราวา เพื่อเป็นป้อมปราการ ป้องกันการรุกราน ของชาวเอวาร์ และภายหลังจากที่ชาวโรมันได้อพยพออกไป นักบวชชาวไอริชและสก็อตจึงได้เข้ามาเผยแพร่คริสต์ศาสนา ในดินแดนบริเวณเทือกเขาอัลไพน์แห่งนี้ ราชวงศ์บาเบนแบร์ก (Babenberg) ของชาวบาวาเรียนได้เข้าปกครองออสเตรียในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและประวัติศาสตร์ออสเตรีย
ประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990)
กความพ่ายแพ้ของนาซีเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีก็ได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก และเยอรมนีต้องเสียค่าปฏิกรรมสงครามโดยการเสียดินแดนทางตะวันออกของประเทศให้แก่โปแลนด์และสหภาพโซเวียต ในช่วงท้ายของสงครามมีชาวเยอรมนีพลัดถิ่นถึง 8,000,000 คน ส่วนใหญ่ถูกใช้แรงงานและเป็นนักโทษ มีประมาณ 400,000 คนรอบค่ายกักกันอันเข้มงวด ที่รอดชีวิตจากประชาชนจำนวนมากที่เสียชีวิตจากความอดอยาก สภาวะอันโหดเหี้ยม ฆาตกรรม หรือการทำงานที่หนักเกินไปจนมีอันตรายถึงแก่ชีวิต กว่า 10 ล้านผู้ลี้ภัยที่พูดภาษาเยอรมันได้เข้ามาในเยอรมนีจากประเทศอื่น ๆ ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ส่วนชาวเยอรมัน 9,000,000 คนถูกจับเป็นเชลยศึก และถูกใช้แรงงานเป็นเวลาหลายปีเพื่อให้ชดใช้ความเสียหายให้กับเยอรมนีที่แพ้สงคราม และอุปกรณ์อุตสาหกรรมบางชิ้นก็ถูกใช้เป็นค่าปฏิกรรมสงคราม ในช่วงสงครามเย็น เยอรมนีถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วนของฝ่ายสัมพันธมิตรทางฝั่งตะวันตก และส่วนของสหภาพโซเวียตทางฝั่งตะวันออก ส่วนรัฐบาลเยอรมนีได้เสียงเพียงเล็กๆ น้อยๆ เท่านั้น จนกระทั่ง ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990)
ประเทศลักเซมเบิร์ก
ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Lëtzebuerg; Luxembourg; Luxemburg) หรือชื่อทางการคือ ราชรัฐลักเซมเบิร์ก (Grand Duchy of Luxembourg; ลักเซมเบิร์ก: Groussherzogtum Lëtzebuerg; Grand-Duché de Luxembourg; Großherzogtum Luxemburg) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศเยอรมนี ด้านใต้ติดกับฝรั่งเศส และด้านตะวันตกติดกับเบลเยียม.
ดู ภาษาเยอรมันและประเทศลักเซมเบิร์ก
ประเทศลิกเตนสไตน์
ลิกเตนสไตน์ (Liechtenstein) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ ราชรัฐลิกเตนสไตน์ (Fürstentum Liechtenstein) เป็นประเทศเล็กๆที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในทวีปยุโรปกลาง มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศออสเตรีย และด้านตะวันตกติดกับสวิตเซอร์แลนด์ ถึงแม้ประเทศนี้จะมีขนาดเล็ก และเต็มไปด้วยภูเขาสูง แต่ก็มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย นอกจากนี้ลิกเตนสไตน์ยังเป็นที่นิยมของนักเล่นกีฬาฤดูหนาว และยังมีชื่อเสียงในฐานะเป็นประเทศที่เก็บภาษีต่ำมากประเทศหนึ่ง.
ดู ภาษาเยอรมันและประเทศลิกเตนสไตน์
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.
ดู ภาษาเยอรมันและประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ประเทศออสเตรีย
ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.
ดู ภาษาเยอรมันและประเทศออสเตรีย
ประเทศอิตาลี
อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.
ประเทศนามิเบีย
นามิเบีย (Namibia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนามิเบีย (Republic of Namibia) เป็นประเทศในทวีปแอฟริกาตอนใต้ ริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มีพรมแดนติดด้านเหนือกับประเทศแองโกลา และแซมเบีย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับซิมบับเว ทางตะวันออกติดกับบอตสวานา และทางใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ นามิเนียได้รับเอกราชคืนจากประเทศแอฟริกาใต้เมื่อ..
ดู ภาษาเยอรมันและประเทศนามิเบีย
ประเทศโรมาเนีย
รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.
ดู ภาษาเยอรมันและประเทศโรมาเนีย
ประเทศเบลเยียม
ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.
ดู ภาษาเยอรมันและประเทศเบลเยียม
ประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.
ดู ภาษาเยอรมันและประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนีตะวันออก
อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.
ดู ภาษาเยอรมันและประเทศเยอรมนีตะวันออก
ประเทศเยอรมนีตะวันตก
ประเทศเยอรมนีตะวันตก (West Germany) เป็นคำเรียกอย่างไม่เป็นทางการของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในช่วงปี..
ดู ภาษาเยอรมันและประเทศเยอรมนีตะวันตก
ประเทศเดนมาร์ก
นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.
ดู ภาษาเยอรมันและประเทศเดนมาร์ก
ปรัสเซีย
ปรัสเซีย (Prussia) หรือ พร็อยเซิน (Preußen) หรือ โบรุสเซีย (ละติน: Borussia) เป็นรัฐที่รุ่งเรืองที่สุดในบรรดารัฐทั้งหลายของชนชาติเยอรมัน มีจุดกำเนิดจากดัชชีปรัสเซียและรัฐมาร์เกรฟบรันเดินบวร์ค อันเป็นรัฐหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลางของภูมิภาคที่ชื่อว่าพร็อยเซิน รัฐแห่งนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นเป็นเวลาหลายศตวรรษ การมีกองทัพที่เข็มแข็งทำให้ปรัสเซียประสบความสำเร็จในการแผ่ขยายดินแดน ปรัสเซียมีเมืองหลวงเดิมอยู่ที่เคอนิจส์แบร์กก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปยังเบอร์ลินในปี 1701 ในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา (ปี 1814–15) ซึ่งจัดระเบียบทวีปยุโรปเสียใหม่ภายหลังถูกทำให้ปั่นป่วนจากสงครามนโปเลียน ปรัสเซียได้รับดินแดนส่วนใหญ่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยอรมนีซึ่งรวมถึงรัฐร่ำรวยถ่านหินอย่างรัฐรูร์ (Ruhr) อิทธิพลทางเศรษฐกิจและทางการเมืองของปรัสเซียได้เติบโตอย่างรวดเร็ว ปรัสเซีบกลายเป็นหัวใจของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือในปี 1867 และของจักรวรรดิเยอรมันในปี 1871 ปรัสเซียในยุคจักรวรรดิเยอรมนี้มีอาณาเขตไพศาลมากกว่ารัฐเยอรมันที่เหลือรวมกันเสียอีก ชนชั้นนำของปรัสเซียมักจะระบุว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวเยอรมัน" มากกว่าบอกว่าตัวเองนั้นเป็น "ชาวปรัสเซีย".
ปราก
รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ.
ปรากฏการณ์แม็คเกอร์ก
ปรากฏการณ์แม็คเกอร์ก (McGurk effect) เป็นปรากฏการณ์หลอกการรับรู้คำพูด ที่แสดง (คือเกิดจาก) การทำงานร่วมกันระหว่างการได้ยินและการเห็นในการรับรู้คำพูด การรับรู้คำพูดที่ผิดไปจากเสียงที่ได้ยินเกิดขึ้นเมื่อมีการจับคู่เสียงของคำพูดพยางค์หนึ่ง กับการเห็นการออกเสียงคำพูดอีกพยางค์หนึ่ง ซึ่งก่อให้เกิดการรับรู้เสียงเป็นพยางค์ที่สามNath, A.R.
ดู ภาษาเยอรมันและปรากฏการณ์แม็คเกอร์ก
ปลาแสงอาทิตย์
ำหรับปลาแสงอาทิตย์ที่เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ดูที่: ปลาซันฟิช ปลาแสงอาทิตย์ หรือ ปลาโมลา โมลา (Ocean sunfish, Pacific sunfish, Sunfish, Mola mola) เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแสงอาทิตย์ (Molidae) ในอันดับปลาปักเป้า (Tetraodontiformes).
ดู ภาษาเยอรมันและปลาแสงอาทิตย์
ปวดร้าวแห่งสงคราม
ปวดร้าวแห่งสงคราม (The Sorrow of War) เป็นนวนิยายเวียดนามที่ได้รับรางวัล The Award Winning Novel from North Vietnam ประพันธ์โดย เบ๋านินห์ นวนิยายเรื่องนี้แปลเป็นภาษาอื่นหลายภาษาทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน และภาษาในยุโรปอื่นๆ แปลเป็นภาษาไทยโดย วรวดี วงศ์สง.
ดู ภาษาเยอรมันและปวดร้าวแห่งสงคราม
ปิดตำนานบุรุษล้างโลก
Der Untergang (Downfall, ดีวีดีในประเทศไทย ใช้ชื่อว่า ปิดตำนานบุรุษล้างโลก) เป็นภาพยนตร์เยอรมันที่ออกฉายในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและปิดตำนานบุรุษล้างโลก
ปืนเล็กยาวจู่โจม
ปืนเอ็ม16 ประจำการครั้งแรกในกองทัพอากาศสหรัฐ เมื่อปี ค.ศ. 1965 ใช้กระสุนขนาด 5.56x45 มม. นาโต เป็นอาวุธปืนที่ประจำการยาวนานที่สุดในกองทัพสหรัฐ ปืนเล็กยาวจู่โจม หรือ ปืนไรเฟิลจู่โจม (Assault rifle) เป็นปืนเล็กยาว ยิงด้วยระบบอัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติไปตามวงรอบจนกว่ากระสุนจะหมด ด้วยอัตราการยิงสูง ปืนเล็กยาวจู่โจมจัดเป็นอาวุธประจำกายของทหารในราชการกองทัพ ตามหลักนิยมในการจัดกำลัง 1 หมู่ (Squad) จะมีพลปืนเล็กจำนวน 5 นายและอีก 1 นายใช้ปืนเล็กกลหรือปืนกลเบา เพื่อเพิ่มศักยภาพในการรบ เช่น เอ็ม1 กาแรนด์และเอสวีที-40 ในสงครามโลกครั้งที่สอง ตัวอย่างปืนเล็กยาวจู่โจม เช่น เอเค 47 เอ็ม16 ฟามาส สไตเออร์ เอยูจี ปืนเล็กยาวกึ่งอัตโนมัติ ได้แก่ เออาร์-15.
ดู ภาษาเยอรมันและปืนเล็กยาวจู่โจม
ปูมะพร้าว
ปูมะพร้าวขณะอยู่บนพื้น ปูมะพร้าว (Coconut crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Birgus latro) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมอาร์โธรพอด เป็นสัตว์ที่วิวัฒนาการมาจากปูเสฉวน และเป็นสัตว์ขาปล้องขนาดใหญ่ที่สุดที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน กิตติศัพท์ที่ว่าปูมะพร้าวสามารถเจาะลูกมะพร้าวด้วยก้ามอันทรงพลังนั้นเป็นที่รู้จักกันดี ในบางครั้งปูมะพร้าวถูกเรียกว่า ปูปล้น หรือ ปาล์มขโมย (เยอรมัน: Palmendieb) ทั้งนี้เนื่องจากปูมะพร้าวมักจะขโมยข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่ส่องประกาย อย่างเช่น หม้อ หรือถ้วยสแตนเลส บางคนเรียกปูมะพร้าวว่า ปูเสฉวนบก แต่อันที่จริงนอกจากปูมะพร้าวแล้ว ยังมีปูชนิดอื่นอีกที่จัดได้ว่าเป็นปูเสฉวนบกเช่นกัน นอกจากนี้ ปูมะพร้าวอาจมีชื่อเรียกต่างกันไปอีกในแต่ละที่ เช่น ที่เกาะกวม เรียกปูมะพร้าวว่า อายูยู.
ปีเตอร์ สกิลลิง
ร.
ดู ภาษาเยอรมันและปีเตอร์ สกิลลิง
ปีเตอร์หัวกระเซิง
ปีเตอร์หัวกระเซิง (Der Struwwelpeter) เป็นหนังสือสำหรับเด็กในปี..1845 ที่แต่งโดยไฮน์ริช ฮอฟฟ์แมน เรื่องส่วนใหญ่เกี่ยวกับเด็ก โดยบอกเล่าผ่านบทกวีและภาพประกอบ แต่ละเรื่องให้คติสอนใจซึ่งแสดงถึงหายนะของการประพฤติตัวไม่เหมาะสมในแบบที่เกินจริง.
ดู ภาษาเยอรมันและปีเตอร์หัวกระเซิง
ป้อมปืนนาวาโรน
ป้อมปืนนาวาโรน (The Guns of Navarone) เป็นภาพยนตร์สงครามที่ออกฉายในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและป้อมปืนนาวาโรน
นกกระจอกบ้าน
นกกระจอกบ้าน (Eurasian Tree Sparrow) เป็นนกเกาะคอนในวงศ์นกกระจอก มีสีน้ำตาลเข้มที่กระหม่อนและหลังคอ แก้มสีขาวมีจุดดำบนแก้มแต่ละข้าง นกกระจอกทั้งสองเพศมีชุดขนคล้ายกัน นกวัยอ่อนมีสีขนจืดกว่านกที่โตเต็มที่ นกชนิดนี้มีการกระจายพันธุ์เกือบทั้งทวีปยูเรเชียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้) และมันถูกนำไปสู่ที่อื่นๆ รวมถึง สหรัฐอเมริกา ซึ่งรู้จักกันในชื่อ Eurasian Tree Sparrow (นกกระจอกต้นไม้ยูเรเชีย) หรือ German Sparrow (นกกระจอกเยอรมัน) ต่างไปจากนกพื้นเมือง นกกระจอกต้นไม้อเมริกา (American Tree Sparrow) แม้ว่าจะมีหลายชนิดย่อยที่ได้รับการยอมรับ แต่ลักษณะที่ปรากฏของนกแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยตลอดแนวการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง นกกระจอกบ้านทำรังไม่เป็นระเบียบในโพรงธรรมชาติ รูในอาคาร หรือรังขนาดใหญ่ของนกสาลิกาปากดำหรือนกกระสาขาว นกจะวางไข่คราวหนึ่งห้าถึงหกฟอง ไข่จะฟักเป็นตัวภายในสองอาทิตย์ นกกินเมล็ดพืชเป็นอาหารหลัก แต่บางครั้งจะกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นอาหาร โดยเฉพาะช่วงฤดูผสมพันธุ์ นกกระจอกบ้านเหมือนกับนกขนาดเล็กทั่วไปซึ่งอาจเสียชีวิตจากการติดเชื้อจากปรสิต โรคภัยไข้เจ็บ และถูกล่าโดยนกล่าเหยื่อ ทำให้โดยทั่วไปมีช่วงชีวิตประมาณสองปี.
นอสเฟอราตู
นอสเฟอราตู อะ ซิมโฟนี ออฟ ฮอร์เรอร์ หรือ ที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า นอสเฟอราตู (อังกฤษ: Nosferatu: A Symphony of Horror, Nosferatu; เยอรมัน: Nosferatu, eine Symphonie des Grauens) ภาพยนตร์สยองขวัญสัญชาติเยอรมนี ออกฉายในปี ค.ศ.
นักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์
นักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์ (ภาษาอังกฤษ: Fourteen Holy Helpers; ภาษาเยอรมัน: Vierzehn Nothelfer) เป็นกลุ่มนักบุญทางคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกผู้เชื่อกันว่ามีอำนาจในการป้องกันภัยพิบัติโดยเฉพาะโรคร้าย กลุ่ม “Nothelfer” หรือ “ผู้ช่วยยามยาก” ก่อตั้งเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในบริเวณไรน์แลนด์ในประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน โดยมีสาเหตมาจากโรคระบาดซึ่งอาจจะเป็นกาฬโรคก็เป็นได้ ในจำนวนนักบุญ 14 องค์ 3 องค์เป็นพรหมจารี: นักบุญมาร์กาเร็ตแห่งอันติโอก, นักบุญบาร์บารา และ นักบุญแคทเธอรีนแห่งอเล็กซานเดรีย จากนักบุญ 3 องค์ก็เพิ่มเป็น 14 ที่จะเห็นในงานศิลปะ ลัทธินิยมนี้เริ่มในสำนักสงฆ์ที่เป็นที่เก็บวัตถุมงคลของนักบุญ นักบุญทุกคนในกลุ่มยกเว้นนักบุญไจลส์ล้วนแต่เป็นมรณสักขีหรือผู้พลีชีพเพื่อศาสนา นักบุญคริสโตเฟอร์ และ นักบุญไจลส์เป็นนักบุญเพื่อป้องกันเชื้อโรคโดยตรง นักบุญเด็นนิสเป็นนักบุญเพื่อผ่อนคลายการปวดหัว, นักบุญเบลสเป็นนักบุญสำหรับเมื่อเจ็บคอ, นักบุญอิราสมัสแห่งฟอร์เมียเป็นนักบุญสำหรับเวลาเจ็บท้อง, นักบุญบาร์บาราเมื่อเป็นไข้, นักบุญไวทัสเมื่อชัก, นักบุญแพนทาลิออนเป็นผู้พิทักษ์แพทย์, นักบุญไซริอาคัสเมื่อนอนเจ็บ, นักบุญคริสโตเฟอร์, บาร์บารา และ แคทเธอรีนป้องกันการตายโดยไม่รู้ตัว นักบุญไจลส์ไว้สวดเพื่อสารภาพบาป นักบุญยูสตัสเป็นผู้พิทักษ์เมื่อมีปัญหาในครอบครัว สำหรับสัตว์เลี้ยงที่ติดโรคก็ต้องสวดมนต์ต่อนักบุญจอร์จ, นักบุญเอลโม และนักบุญแพนทาลิออน นักบุญมาร์กาเร็ตป้องกันหญิงมีครรภ์ เมื่อลัทธินิยมนักบุญสิบสี่องค์เป็นที่แพร่หลายในคริสต์ศตวรรษที่ 16 สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5 ก็ให้ฎีกาไถ่บาป (indulgence) ให้แก้ผู้สักการะในลัทธิ แม้ว่านักบุญแต่ละองค์จะมึวันสมโภชของตนเองแต่การฉลองสำหรับ 14 องค์รวมกันทำกันในวันที่ 8 สิงหาคม แต่มิได้อยู่ในปฏิทินฉลองทางการของนิกายโรมันคาทอลิก เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปฏิทินเมื่อปี..
ดู ภาษาเยอรมันและนักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์
นาซีเยอรมนี
นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.
นิม
นิม (Nim) คือ เกมวางแผนทางคณิตศาสตร์เกมหนึ่ง ซึ่งมีผู้เล่น 2 คน และมีกติกาในการเล่นดังนี้.
นีโค รอสแบร์ก
นิโค เอริค รอสเบิร์ก (Nico Erik Rosberg) เกิดเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1985 ที่เมืองวีสบาเดน (Wiesbaden) ประเทศเยอรมนี เป็นนักแข่งรถสูตรหนึ่ง (Formula1) ชาวเยอรมัน สังกัดทีมเมอร์เซเดส กรังด์ปรีซ์ (Mercedes) นิโคเป็นลูกชายของเคเค รอสเบิร์ก (KeKe Rosberg) อดีตแชมป์โลกรถสูตรหนึ่งปี..
ดู ภาษาเยอรมันและนีโค รอสแบร์ก
นครรัฐวาติกัน
นครรัฐวาติกัน (State of the Vatican City; Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ ปัจจุบัน สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและนครรัฐวาติกัน
นโปเลียนที่ 2
นโปเลียน ฟร็องซัว ชาร์ล โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต (Napoléon François Charles Joseph Bonaparte; 20 มีนาคม พ.ศ. 235422 กรกฎาคม พ.ศ. 2365) ดำรงพระอิสริยยศเป็นพระราชกุมาร (Prince Imperial) กษัตริย์แห่งโรม และเจ้าชายแห่งปาร์มา ปลาเซนตีอา และกัสตัลลา นอกจากนี้ยังทรงเป็นที่รู้จักในราชสำนักออสเตรียตั้งแต่ปี..
ดู ภาษาเยอรมันและนโปเลียนที่ 2
แบร์น
แบร์น (Bern; Berne) หรือ แบร์นา (อิตาลีและBerna) เป็นเมืองหลวงโดยพฤตินัยของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีประชากรประมาณ 130,000 คน มีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ ภาษาราชการที่ใช้ในกรุงแบร์นคือ ภาษาเยอรมัน แต่คนในเมืองส่วนใหญ่นิยมพูดภาษาเยอรมันแบร์นเป็นภาษาถิ่น ในปี..
แกรนด์ดัชชีออลเดนบูร์ก
แกรนด์ดัชชีออลเดนบูร์ก (Groß Herzogtum Oldenburg หรือ เยอรมันใต้ 'Ollnborg', Oldenburg) เป็นอดีตรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ออลเดนบูร์กก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและแกรนด์ดัชชีออลเดนบูร์ก
แกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน
แกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน (Großherzogtum Hessen) เคยเป็นแกรนด์ดัชชีหรือของจักรวรรดิเยอรมัน ได้รับการสถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1806 หลังจากที่จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ล่มสลายจากการบุกโจมตีของนโปเลียน นโปเลียนยกฐานะจากรัฐลันด์กราฟแห่งเฮ็สเซิน-ดาร์มชตัดท์ (Landgraviate of Hesse-Darmstadt) ซึ่งเป็นรัฐหนึ่งในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ให้กลายเป็นแกรนด์ดัชชีอย่างเต็มตัว จากเหตุผลนี้ในบางครั้งผู้คนจึงเรียกอาณาจักรดยุกนี้ว่า แกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน - ดาร์มชตัดท์ (Hesse-Darmstadt).
ดู ภาษาเยอรมันและแกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน
แกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย
แกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซี.
ดู ภาษาเยอรมันและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย
แกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย
แกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Елизавета Фëдоровна; เยลิซาเวียตา เฟโยโดรอฟนา; 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2407 - 18 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและแกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย
แมกซ์ ฟอน ซีโดว
ร์ล อดอล์ฟ "แมกซ์" ฟอน ซีโดว นักแสดงอาวุโสชาวสวีเดน มีผลงานการแสดงภาพยนตร์หลายสิบเรื่อง สามารถพูดได้หลายภาษาทั้งภาษาสวีเดน นอร์เวย์ อังกฤษ อิตาลี เยอรมัน เดนมาร์ก และสเปน ฟอน ซีโดว ได้ถือสัญชาติฝรั่งเศสเพิ่มเติมจากสัญชาติสวีเดน ตั้งแต่ ปี..
ดู ภาษาเยอรมันและแมกซ์ ฟอน ซีโดว
แมรี เคแซต
แมรี สตีเวนสัน เคแซต (Mary Stevenson Cassatt; 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1844 - 14 มิถุนายน ค.ศ. 1926) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการทำภาพพิมพ์ มักจะวาดภาพชีวิตทั้งทางการสังคมและการส่วนตัวของผู้หญิงโดยเน้นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งระหว่างแม่และลูก แมรี เคแซตใช้เวลาส่วนใหญ่ในประเทศฝรั่งเศส และเมื่อย้ายไปอยู่ปารีสแมรีก็ทำความรู้จักกับแอดการ์ เดอกา ผู้มีอิทธิพลต่องานเขียนของเคแซต ต่อมาแมรีก็ได้แสดงผลงานร่วมกับจิตรกรอิมเพรสชันนิสม์คนอื่น.
แม่
แม่ หรือ มารดา เป็นคำที่เรียกผู้ให้กำเนิด และโดยทั่วไป คือ แม่ที่เป็นบุคคลสำคัญของครอบครัวแบบ พ่อ แม่ ลูก เป็นผู้มีพระคุณต่อลูกเพราะเป็นผู้ให้กำเนิด แม่ทั่วไปมีหน้าที่ให้ครอบครัวคือ เลี้ยงลูก ดูแลบ้าน สำหรับผู้หญิงที่จะเป็นแม่คน หรือจะมีบุตรได้นั้น ควรจะมีอายุระหว่าง 20-30 ปี เนื่องจากในช่วงนี้จะเป็นช่วงที่ผู้หญิงมีการเจริญเติบโตทางร่างกาย สมบูรณ์เต็มที่ ไม่เด็ก หรือว่าแก่เกินไป คนไทยบางคนมักเรียก แม่ ของตัวเองว่า "คุณแม่" ซึ่งถือเป็นคำที่สุภาพกว่าการเรียกว่า "แม่" ห้วน ๆ ในภาษาไทยบางครั้งคำว่า แม่ ถูกใช้เรียก ผู้หญิง ทั่ว ๆ ไป หรือ จำเพาะเป็นกลุ่ม ๆ เช่น แม่บ้าน แม่นม หรือบางครั้งก็ใช้เรียกสิ่งที่เป็นตัวหลักของสิ่งอื่น เช่น แม่ทัพ แม่งาน และบางครั้งก็เรียกสิ่งที่ให้กำเนิดสิ่งอื่น ๆ ในธรรมชาติ เช่น แม่น้ำ มีบทประพันธ์แปลเกี่ยวกับความรักของแม่ของพระราชธรรมนิเทศ ไว้ดังนี้.
แม่ชีเทเรซา
แม่ชีเทเรซา หรือ คุณแม่เทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ท่านมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ช่วยเหลือและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ.
แม่พระมหาการุณย์
“พระแม่มารีปางกรุณา” โดย ซาโน ดิ เปียโตร ราวคริสต์ทศวรรษ 1440 พระแม่มารีทรงพิทักษ์แม่ชีและผู้ฝึกใหม่ พระแม่มารีปางกรุณา (ภาษาอังกฤษ: Virgin of Mercy; ภาษาอิตาลี: Madonna della Misericordia; ภาษาเยอรมัน: Schutzmantelmadonna; ภาษาฝรั่งเศส: Vièrge au Manteau หรือ Vierge de Miséricorde) เป็นหัวเรื่องของศิลปะคริสต์ศาสนา ที่เป็นภาพพระแม่มารีกางฉลองพระองค์คลุมกว้างออกไปเหนือกลุ่มคนที่เข้ามารับการพิทักษ์ หัวเรื่องการเขียนภาพนี้นิยมกันมากในอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 และมักจะเป็นลักษณะเขียนย่อยจากภาพเหมือนผู้อุทิศ (Donor portrait) ภาพเขียนลักษณะนี้พบในประเทศอื่นและศิลปะยุคต่อมาด้วย โดยเฉพาะในแคว้นคาเทโลเนีย และละตินอเมริก.
ดู ภาษาเยอรมันและแม่พระมหาการุณย์
แม่น้ำดานูบ
แม่น้ำดานูบ (Danube River) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในสหภาพยุโรป และยาวเป็นอันดับสองของทวีปยุโรป (รองจากแม่น้ำวอลกา) มีต้นกำเนิดที่แถบป่าดำ (Black Forest; Schwarzwald) ในประเทศเยอรมนี เกิดจากแม่น้ำเล็กๆ สองสาย คือ Brigach และ Breg ซึ่งไหลมารวมกันเป็นแม่น้ำดานูบที่เมือง Donaueschingen แม่น้ำดานูบไหลจากป่าดำไปทางทิศตะวันออกผ่านเมืองหลวงและเมืองสำคัญๆ ของประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก ก่อนที่จะไหลผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำดานูบ (Danube Delta) และแยกลงสู่ทะเลดำที่ประเทศโรมาเนียและยูเครน มีความยาวประมาณ 2,845 กม.
แร็กคูน
แร็กคูน (raccoon, common raccoon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Procyon lotor อยู่ในวงศ์แร็กคูน (Procyonidae) มีความยาวลำตัวราว 2 ฟุต มีหางเป็นพวงมีแถบสีดำคาดเป็นปล้อง ๆ ยาวราว 10 นิ้ว ขนตามลำตัวสีน้ำตาลปนเทา ใบหน้าสีขาวมีแถบสีดำคาดจากตาไปเป็นแถบตลอดแก้ม แลดูคล้ายเหมือนโจรสวมหน้ากาก เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ไปทั่วในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกากลางในหลายพื้นที่ ทั้งในป่า หรือแม้แต่ชุมชนของมนุษย์ เป็นสัตว์ที่สามารถปรับตัวได้เป็นอย่างดี กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งเนื้อสัตว์และพืช อีกทั้งยังชอบที่จะอยู่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำด้วยการจับสัตว์น้ำกินเป็นอาหาร เช่น กบ, ปลา, กุ้ง และปู หรือเต่าขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งนกหรือแมลงปีกแข็งขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ด้วย แต่ไม่สามารถที่จะว่ายน้ำได้ จะใช้วิธีการจับในน้ำตื้น ๆ ที่ขาหยั่งถึงแทน ในช่วงฤดูแล้งที่อาหารขนาดแคลนก็จะกินลูกไม้, ผลไม้ และดอกข้าวโพด เป็นอาหาร หรืออาจจะบุกเข้าไปในบ้านเรือนของมนุษย์ ขุดคุ้ยหาขยะหรือเศษอาหาร หรือแม้กระทั่งเปิดตู้เย็นหากิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ใช้เท้าหน้าได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนมือสำหรับหยิบจับอาหาร ซึ่งสามารถกระทำได้ถึงขนาดคลายปมเชือก และยังเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมพิเศษ คือ ก่อนจะกินอาหาร มักจะนำไปล้างน้ำเสียก่อน จนมีความเชื่อว่าเป็นสัตว์รักสะอาด แต่ความจริงแล้ว เป็นพฤติกรรมที่จะนวดอาหารให้นิ่มซะก่อน ก่อนที่จะกิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ปีนต้นไม้เก่ง ทำรังอยู่บนยอดไม้และใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ ในเวลากลางวันจะนอนขดอยู่ตามพงไม้ หรือซอกหิน หรือนอนผึ่งแดดอยู่ในรัง ในตอนกลางคืนจะออกหากิน โดยใช้เส้นทางเดิม และมักจะใช้เส้นทางที่เป็นพื้นแข็ง เพื่อไม่ให้เกิดรอยเท้า ตัวเมียออกลูกครั้งละ 4-6 ตัว ในโพรงไม้ ในช่วงฤดูหนาวที่หิมะตกและอาหารขาดแคลน แร็กคูนจะใช้เวลาช่วงนี้ในการจำศีลตลอดฤดูกาล แร็กคูน เป็นสัตว์ที่มีความน่ารัก จึงมีผู้นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง อีกทั้งขนและหนังมีความหนานุ่มและสีสวย จึงมีการล่าเพื่อทำเป็นเสื้อขนสัตว์ด้วย ปัจจุบันกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรปกลาง โดยแร็กคูนถูกนำเข้าไปในเยอรมนีครั้งแรกเมื่อปี..
แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง
แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง (The Sun Also Rises) เป็นนวนิยายเรื่องเอกเรื่องแรกของเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 2 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและแล้วดวงตะวันก็ฉายแสง
แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี
แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี (German East Africa; Deutsch-Ostafrika) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันมาตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี
แอกุกกา (จักรวรรดิเกาหลี)
"เพลงชาติจักรวรรดิเกาหลี" (literally "Korean Empire Aegukga") เป็นเพลงชาติเกาหลีฉบับแรกในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 มีสถานะเป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีสำหรับบรรเลงในงานพระราชพิธี รัฐพิธีของราชวงศ์โชซอน.
ดู ภาษาเยอรมันและแอกุกกา (จักรวรรดิเกาหลี)
แอล. แอล. ซาเมนฮอฟ
แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ, 2451 แอล.แอล.
ดู ภาษาเยอรมันและแอล. แอล. ซาเมนฮอฟ
แอสกี
ตัวอย่างอักขระแอสกี จากรหัส 32 ถึง 126 แอสกี้(ASCII) หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ (ASCII: American Standard Code for Information Interchange) เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น.
แองเตอร์นาซิอองนาล
เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ผู้ประพันธ์คำร้องของเพลงแล็งแตร์นาซียอนาล แองเตอร์นาซิอองนาล (L'Internationale; แล็งแตร์นาซียอนาล, The Internationale; ดิอินเตอร์แนชนาล, Die Internationale; "ดี อินเทอร์นาโชนาล") เป็นเพลงปลุกใจที่ใช้ในการต่อสู้ของชนชั้นกรรมาชีพ มีที่มาจากบทกวีต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสของ เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและแองเตอร์นาซิอองนาล
แฮมสเตอร์
แฮมสเตอร์ (Hamster) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กจำพวกหนึ่ง ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Cricetinae ในวงศ์ Cricetidae มีหลากหลายสกุล หลายชน.
แท่นทดสอบที่ 6
แท่นทดสอบที่ 6 (ภาษาเยอรมัน: Prüfstand VII, P-7) เป็นแท่นทดสอบปล่อยจรวด V-2 ในสนามบินพีเนมุนด์ มีความสามารถในการผลักจรวดที่หนักมากกว่า 200 ตัน ที่สำคัญยังเป็นสถานที่แรกที่ทดสอบปล่อยจรวด V-2 ในวันที่ 3 ตุลาคม..1942 โดยมีผู้นำทางการทหารของเยอรมันเป็นผู้เข้าร่วมสังเกตแท่นทดสอบที่ 6 ถูกกองบินของฝ่ายสัมพันธมิตรตรวจพบและถูกทิ้งระเบิดในที.
ดู ภาษาเยอรมันและแท่นทดสอบที่ 6
แดรกคูลา
แดรกคูลา (อังกฤษ: Dracula) นวนิยายภาษาอังกฤษแนวสยองขวัญที่มีชื่อเสียงที่สุดของ บราม สโตกเกอร์ เป็นเรื่องราวของแวมไพร์หรือผีดิบดูดเลือดในโรมาเนีย ที่เดินทางมาอังกฤษเพื่อเผยแพร่เผ่าพันธุ์ โดยมีฉากหลังเป็นอังกฤษที่ปกคลุมด้วยบรรยายกาศอึมครึมในยุควิกตอเรี.
แด็กซันด์
แด็กซันด์ แด็กซันด์ (ด้านข้าง) แด็กซันด์ (Dachshund) หรือที่ชาวไทยนิยมเรียกว่า "ดัชชุน" เป็นสายพันธุ์สุนัขที่มีต้นกำเนิดจากประเทศเยอรมนี เอกลักษณ์ของสุนัขสายพันธุ์นี้คือลักษณะลำตัวที่ยาวเพี่อให้สะดวกในการมุดรูหนู (ถูกเพาะพันธุ์มาเพื่อใช้จับหนู) เพราะลำตัวยาวนี้เองจึงถูกเรียกอีกชื่อว่าสุนัขไส้กรอก แด็กซันด์เป็นคำยืมจากภาษาเยอรมันซึ่งออกเสียงว่า "ดัคส์ฮุนท์" แต่ปัจจุบันชาวเยอรมันนิยมเรียกสุนัขพันธุ์นี้ว่า "ดัคเคิล" (Dackel) มากกว่า หมวดหมู่:พันธุ์สุนัข.
แคว้นอาลซัส
อาลซัส (Alsace) หรือ แอลซ็อส (อัลเซเชียน: Elsàss) เป็นอดีตแคว้นในประเทศฝรั่งเศส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นกร็องแต็สต์) ตั้งอยู่บริเวณพรมแดนทางทิศตะวันออกของประเทศฝรั่งเศส และทางทิศตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ติดกับประเทศเยอรมนีและสวิตเซอร์แลนด์ มีเมืองหลักและเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือเมืองสทราซบูร์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาประเทศฝรั่งเศสกับเยอรมนีผลัดกันครอบครองแคว้นอาลซัสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 20 เดิมอาลซัสเคยเป็นของเยอรมนี แต่หลังจากสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ฝรั่งเศสแย่งแคว้นอาลซัสและลอแรนไปจากเยอรมนีทำให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนไม่พอใจฝรั่งเศส จึงเกิดสงครามฝรั่งเศส-อาลซัสและสงครามฝรั่งเศส-ลอแรน โดยฝรั่งเศสต้องสู้กับชาวอาลซัสและชาวลอแรน แต่ในที่สุดฝรั่งเศสก็สามารถปราบชาวอาลซัสและลอแรนลงได้ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 แคว้นอาลซัสค่อย ๆ ถูกปรับปรุงในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และกลายเป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศฝรั่งเศส บ่อยครั้งที่แคว้นอาลซัสได้ถูกกล่าวรวมกับแคว้นลอแรน เนื่องจากการครอบครองดินแดนของแคว้นทั้งสอง (อาลซัส-ลอแรน) เป็นที่เลื่องชื่อในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเยอรมนีรวมกับปรัสเซียและไซลีเซียเข้าโจมตีฝรั่งเศสและสามารถยึดอาลซัสและลอแรนคืนมาได้ระยะหนึ่ง พอเยอรมนีแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฝรั่งเศสซึ่งชนะสงครามจึงเอาอาลซัสและลอแรนคืนมา หลังจากนั้นในสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมันได้เข้ายึดปารีสและขู่ให้ฝรั่งเศสยกอาลซัสและลอแรนคืนให้เยอรมนี อาลซัสและลอแรนจึงกลับเป็นของเยอรมนีอีกครั้ง เมื่อเยอรมนีนาซีแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีก็คืนอาลซัส-ลอแรนแก่ฝรั่งเศส ในช่วงสงครามเย็นชาวเยอรมันในอาลซัสและลอแรนก็ประท้วงกันอีกครั้ง รัฐบาลฝรั่งเศสต้องคอยปราบปรามเลยยอมให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนใช้ภาษาเยอรมันได้ในที่สุด แต่ชาวเยอรมันบางกลุ่มไม่พอใจยังก่อการร้ายในอาลซัสอยู่เรื่อยมาจนเป็นปัญหาถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันอาลซัสเป็นของฝรั่งเศสอย่างสมบรูณ์ แม้ว่าแคว้นอาลซัสจะเป็นแคว้นที่มีคนพูดภาษาเยอรมันอยู่มากทางประวัติศาสตร์ แต่ปัจจุบันชาวอาลซัสก็สามารถพูดภาษาฝรั่งเศสประมาณร้อยละ 25 ของประชากรพื้นเมืองสามารถพูดภาษาอัลเซเชียน (Alsatian) โดยเป็นภาษาแม่หรือภาษาเยอรมัน (เป็นภาษาที่ 2).
แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ
ตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ (Trentino-Alto Adige) หรือ เตรนตีโน-ซืททีโรล (Trentino-Südtirol) เป็นแคว้นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ประกอบด้วย 2 จังหวัด ได้แก่ เตรนโตและบอลซาโน พื้นที่นี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (รวมถึงก่อนหน้านี้ ซึ่งคือจักรวรรดิออสเตรีย) เมื่อปี..
ดู ภาษาเยอรมันและแคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ
แคโรไลน์ อเมลีแห่งออกัสเตนเบิร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก
้าหญิงแคโรไลน์ อเมลีแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-ออกัสเตนเบิร์ก (ภาษาเยอรมัน:Caroline Amalie von Schleswig-Holstein-Sonderburg-Augustenburg)(28 มิถุนายน พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและแคโรไลน์ อเมลีแห่งออกัสเตนเบิร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก
แนวร่วมดำ
ันนิบาติการต่อสู้แห่งการปฏิวัติชาติสังคงนิยม (German: Kampfgemeinschaft Revolutionärer Nationalsozialisten, KGRNS), หรือเป็นที่รู้จักกันคือ แนวร่วมดำ (German: Schwarze Front),เป็นกลุ่มทางการเมืองที่ถูกจัดตั้งโดยออทโท สตรัสเซอร์ หลังจากที่เขาถูกขับไล่ออกจากพรรคนาซี (NSDAP) ในปี..
โฟร์สแควร์
ฟร์สแควร์ (Foursquare แต่ใช้ว่า foursquare) เป็นบริการเครือข่ายสังคมที่มีลักษณะคือการอ้างอิงสถานที่ โฟร์สแควร์สร้างโดย เดนนิส โครว์ลีย์ (ซึ่งเดิมเคยร่วมกับอเล็กซ์ เรเนิร์ตสร้าง Dodgeball บริการอ้างอิงสถานที่ที่ในปี 2000 ต่อมาถูกซื้อไปโดยกูเกิลในปี 2005 แล้วกลายมาเป็น Google Latitude ในปี 2009) และ นาวีน เซลวาดูราย บริษัทโฟร์สแควร์สำนักงานใหญ่อยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา การใช้งานโฟร์สแควร์สามารถเล่นได้ผ่านโทรศัพท์มือถือ (ผ่านทาง mobile web), สมาร์ตโฟน (ผ่านทาง foursquare app) และแอปพลิเคชันต่างๆ ที่สามารถเชื่อมต่อกับโฟร์สแควร์ได้ (เช่น Instagram, Path, Yotomo, GetGlue, Waze, FootFeed, HootSuite เป็นต้น) โดยเมื่อผู้เล่นเปิดตำแหน่งของตัวผู้เล่นจะทำการเรียกสถานที่ที่อยู่ใกล้เคียง ไม่ว่าโรงเรียน ร้านอาหาร โรงแรม โรงพยาบาล ฯลฯ ขึ้นมา และผู้เล่นจะทำการเลือก "เช็กอิน" สถานที่นั้นเพื่อแสดงให้เห็นว่าตนอยู่ที่นี่หรือได้มาที่นี่แล้ว ในปี..
โฟล์กสวาเกน เจ็ตตา
ฟล์กสวาเกน เจ็ตตา (Volkswagen Jetta) เป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็กรุ่นหนึ่งที่ผลิตโดยโฟล์กสวาเกน บริษัทรถยนต์สัญชาติเยอรมนี เริ่มผลิตครั้งแรกใน..
ดู ภาษาเยอรมันและโฟล์กสวาเกน เจ็ตตา
โฟโต้สเกป
ฟโต้สเกป (PhotoScape) เป็นโปรแกรมตัดต่อกราฟิกส์ พัฒนาโดย MOOII Tech,ประเทศเกาหลีใต้ แนวคิดพื้นฐานของโฟโต้สเกป คือ 'ง่ายและสนุก' เพื่อที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขภาพที่ถ่ายจากกล้องดิจิทัลของพวกเขาหรือแม้กระทั่งโทรศัพท์มือถือ โฟโต้สเกป มีผู้ใช้อินเตอร์เฟซง่ายที่ดำเนินการปรับปรุงภาพร่วมกันรวมทั้ง การปรับสี,ตัด,การปรับขนาด,การพิมพ์ และการภาพเคลื่อนไหวในไฟล์ GIF โฟโต้สเกป ทำงานได้เฉพาะในระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และไม่สามารถใช้ได้ในระบบ Mac หรือLinux ได้ ภาษาเริ่มต้นของมันเป็นภาษาอังกฤษและภาษาเกาหลี พร้อมด้วยแพ็กเกจภาษาเพิ่มเติมสามารถดาวน์โหลดได้.
โมโม
มโม (Momo) เป็นนวนิยายแฟนตาซีและวรรณกรรมเยาวชน ภาษาเยอรมัน ของมิชาเอล เอ็นเด ตีพิมพ์เมื่อ ค.ศ. 1973 เนื้อหาเป็นแนวคิดเกี่ยวกับเวลา และการใช้เวลาของมนุษย์ในสังคมสมัยใหม่ มีตัวละครเอกคือ "โมโม".
โยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง
ันน์ ชเตราสส์ ที่สอง รูปปั้นราชาแห่งเพลงวอลซ์เหมือนมีชีวิต ที่สแตดพาร์ก ในกรุงเวียนนา โยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง (เยอรมัน: Johann Strauß (Sohn) - หรือ โยฮันน์ ชเตราสส์ บุตร หรือ โยฮันน์ ชเตราสส์ จูเนียร์) เกิดเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง
โยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง
ันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง โยฮันน์ สเตร๊าสส์ ที่หนึ่ง (เยอรมัน: Johann Strauß - หรือที่รู้จักกันในนามของ โยฮันน์ สเตร๊าสส์ ซีเนียร์ เกิดเมื่อวันที่14 มีนาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง
โยฮันน์ มิเคล ฟ็อยค์เมเยอร์ (ผู้ลูก)
ในสำนักสงฆ์อ็อตโตบิวเรน แสดงให้เห็นงานปูนปั้นที่ออกแบบโดยฟ็อยค์เมเยอร์ โยฮันน์ มิเคล ฟ็อยค์เมเยอร์ (ผู้ลูก) (ภาษาเยอรมนี: Johann Michael Feuchtmayer (the Younger) หรือบางครั้งสะกด Johann Michael Feuchtmayr) เกิดเมื่อ..
ดู ภาษาเยอรมันและโยฮันน์ มิเคล ฟ็อยค์เมเยอร์ (ผู้ลูก)
โยฮันน์ ดินเซนฮอฟเฟอร์
Schloss Weissenstein โยฮันน์ ดินเซนฮอฟเฟอร์ (ภาษาเยอรมนี: Johann Dientzenhofer) เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1663 ที่เมืองเซ็นต์มากาเร็ตเธ็น (St.
ดู ภาษาเยอรมันและโยฮันน์ ดินเซนฮอฟเฟอร์
โยเซฟ อันทอน ฟอยช์ทมาเยอร์
"Honigschlecker" putto ภายในวัดเบอร์เนา (Birnau) ที่อือเบอร์ลิงเก็น (Überlingen) ประเทศเยอรมนี เซ็นต์แอนนา (ค.ศ. 1750) ปัจจุบันอยู่ในพิพิธภัณฑ์ ที่อือเบอร์ลิงเก็น แท่นบูชาภายในวัดฟรานซิสกัน (Franziskanerkirche) ที่อือเบอร์ลิงเก็น โจเซฟ อันทวน ฟ็อยค์เมเยอร์ (ภาษาเยอรมนี: Joseph Anton Feuchtmayer) ทำพิธีศีลจุ่มเมื่อวันที่ 6 มีนาคม..
ดู ภาษาเยอรมันและโยเซฟ อันทอน ฟอยช์ทมาเยอร์
โรครินเดอร์เปสต์
รครินเดอร์เปสต์ (Rinderpest) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากไวรัสในปศุสัตว์ กระบือบ้าน และสัตว์ป่าบางสปีชีส์ อาการของโรคจะมีไข้ กัดกร่อนในปาก ท้องเสีย และลิมฟอยด์ตายเฉพาะส่วน มีอัตราการตายสูง หลังจากการรณรงค์เพื่อกำจัดไวรัสทั่วโลก กรณียืนยันสุดท้ายได้รับการวินิจฉัยพบในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและโรครินเดอร์เปสต์
โรคใคร่เด็ก
รคใคร่เด็ก หรือ ความใคร่เด็ก (Pedophilia, paedophilia) เป็นความผิดปกติทางจิตที่ผู้ใหญ่หรือวัยรุ่นตอนปลายมีความต้องการทางเพศเป็นหลักหรืออย่างจำกัดเฉพาะ ต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพัน.
โรงเรียนกัลยาณวัตร
รงเรียนกัลยาณวัตร (อักษรย่อ: ก.ว., K.W.) หรือ Kanlayanawat School มีเนื้อที่ทั้งหมด 19 ไร่ 1 งาน 99.6 ตารางวา ตั้งขึ้นเมื่อ 9 สิงหาคม ปี..
ดู ภาษาเยอรมันและโรงเรียนกัลยาณวัตร
โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม)
รงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม) เป็นหนึ่งใน ๙ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในวโรกาส งานฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน..
ดู ภาษาเยอรมันและโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม)
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
รงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย มีฐานะเป็นองค์การมหาชน ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี
รงเรียนสุรศักดิ์มนตรี เป็นโรงเรียนของรัฐเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษาในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี เดิมคือ “โรงเรียนบุตรข้าราชการกองทัพบก” ระดมทุนเพื่อก่อตั้งตั้งแต่ 25 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี
โรงเรียนทวีธาภิเศก
รงเรียนทวีธาภิเศก (Taweethapisek School) (อักษรย่อ: ท.ภ. / T.P.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 505/5 ซอยอิสรภาพ 42 ถนนอิสรภาพ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 มีพื้นที่ 13 ไร่ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ดู ภาษาเยอรมันและโรงเรียนทวีธาภิเศก
โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร
รงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร (อักษรย่อ: ป.ท.ค.) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดหนองคายและเป็นโรงเรียนประเภทโรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่พิเศษ ปัจจุบันจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษารูปแบบสหศึกษา โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคารในปัจจุบันยังได้รับการปรับปรุงจนเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากลสู่อาเซียน.
ดู ภาษาเยอรมันและโรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร
โรงเรียนไชยาวิทยา
รงเรียนไชยาวิทยา (อังกฤษ:Chaiyawitthaya School) (อักษรย่อ: ช.ว., C.Y.) เป็นโรงเรียนประจำเภอไชยา จังหวัดจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานีเขต2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 (ชุมพร สุราษฎร์ธานี) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนที่มีอัตราแข่งขันสูงในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ที่ ถนนสันติมิตร บ้านเวียง ตำบลตลาดไชยา อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ดู ภาษาเยอรมันและโรงเรียนไชยาวิทยา
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (Triam Udom Suksa School) เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
โลก (ดาวเคราะห์)
ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.
ดู ภาษาเยอรมันและโลก (ดาวเคราะห์)
โออิตะมิโยะชิไวส์เซออัดเลอร์
ออิตะมิโยะชิไวส์เซออัดเลอร์ (大分三好ヴァイセアドラー; Oita Miyoshi Weisse Adler) เป็นทีมวอลเลย์บอลชายซึ่งตั้งอยู่ที่เมืองโออิตะ จังหวัดโออิตะ ประเทศญี่ปุ่น ทีมนี้เข้าแข่งขันรายการวี.ลีก ซึ่งเป็นลีกระดับสูงสุดของประเทศญี่ปุ่น ทั้งนี้ คำว่า ไวส์เซออัดเลอร์ มีความหมายถึง "อินทรีขาว" ในภาษาเยอรมัน.
ดู ภาษาเยอรมันและโออิตะมิโยะชิไวส์เซออัดเลอร์
โอเอส/2
อเอส/2 (OS/2 อ่านว่า โอเอสทู) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ที่เริ่มแรกพัฒนาโดยไมโครซอฟท์และไอบีเอ็ม แต่ต่อมาทางไอบีเอ็มได้พัฒนาต่อเพียงผู้เดียว ชื่อของโอเอส/2ย่อมาจาก "Operating System/2" การพัฒนาโอเอส/2เริ่มต้นเมื่อสิงหาคม..
โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน
ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน (Fürstentum Hohenzollern-Sigmaringen, Hohenzollern-Sigmaringen) ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงินเป็นสาขาอาวุโสของสาขาชวาเบินของราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น ที่ไม่เป็นที่รู้จักกันมากเท่ากับสาขาฟรังโคเนียที่กลายมาเป็นเบอร์กราฟแห่งเนิร์นแบร์กและต่อมาปกครองบรันเดนบูร์ก-ปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงินปกครอง" รัฐเคานต์แห่งโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน" (Grafschaft Hohenzollern-Sigmaringen) ที่ต่อมาได้รับเลื่อนฐานะขึ้นเป็น "ราชรัฐ" (Fürstentum Hohenzollern-Sigmaringen).
ดู ภาษาเยอรมันและโฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน
โฮเซ รีซัล
ซ รีซัล (José Rizal) หรือชื่อเต็มคือ โฮเซ โปรตาซีโอ รีซัล เมร์กาโด อี อาลอนโซ เรอาลอนดา (José Protacio Rizal Mercado y Alonzo Realonda) เป็นนักเขียนและวีรบุรษคนสำคัญของฟิลิปปินส์ในการต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชจากสเปน เขาถูกจับและถูกตัดสินประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าเมื่อ 30 ธันวาคม พ.ศ.
โจเซฟ พูลิตเซอร์
ซพ พูลิตเซอร์ โจเซฟ พูลิตเซอร์ (Joseph Pulitzer; 10 เมษายน พ.ศ. 2390 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2454) ผู้พิมพ์โฆษณาชาวฮังการี-อเมริกันผู้ได้รับการยกย่องหลังการเสียชีวิตว่าเป็นผู้ก่อตั้ง "รางวัลพูลิตเซอร์" (Pulitzer Prize) ร่วมกับวิลเลียม แรนดอฟ เฮิร์ส สำหรับการเป็นต้นตอของหนังสือพิมพ์แบบเยลโลว์ หรือ หนังสือพิมพ์ที่ตีข่าวตื่นเต้นเกินจริง.
ดู ภาษาเยอรมันและโจเซฟ พูลิตเซอร์
โคจิมะ เก็นตะ
มะ เก็นตะ (อังกฤษ: George Kaminski) เป็นตัวละครหนึ่งจากยอดนักสืบจิ๋วโคนัน เรียนอยู่ที่โรงเรียนประถมเทย์ตัน มีเพื่อนร่วมชั้นได้แก่ โยชิดะ อายูมิ, เอโดงาวะ โคนัน, ซึบุรายะ มิซึฮิโกะ และ ไฮบาระ ไอ เก็นตะเป็นหัวหน้าของขบวนการนักสืบเยาวชน และชอบกินข้าวหน้าปลาไหล ถึงแม้ว่าเก็นตะจะเป็นหัวหน้า แต่ความฉลาดก็สู้โคนันไม่ได้เลย เก็นตะเป็นคนตัวอ้วน เขาชอบกินอาหารมากมายโดยเฉพาะข้าวหน้าปลาไหล ถึงแม้ว่าเขาจะใจร้อน ปากกล้า และชอบคุกคาม แต่เขาก็ใจดีและพึ่งพาได้ เขาเป็นเพื่อนที่ดีของอายูมิและมิซึฮิโกะ ชื่อของเก็นตะ (小嶋 元太) มีที่มาจากนักเขียนที่ชื่อว่า โคมิเนะ ฮาจิเมะ (小峰 元,Komine Hajime).
ดู ภาษาเยอรมันและโคจิมะ เก็นตะ
โซลเลิร์น
ซลเลิร์น หรือ โฮเฮนโซลเลิร์น (Grafschaft Zollern, Zollern หรือ Hohenzollern) เป็นอาณาจักรเคานท์ในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์น โดยมีทาสซิโล ฟอน โลโรริน (Tassilo von Zolorin) เป็นผู้ก่อตั้ง ชื่อของอาณาจักรมาจากชื่อปราสาทโฮเฮนโซลเลิร์น โซลเลิร์นมีเมืองหลวงอยู่ที่เฮ็คคิงเง็น ในปี ค.ศ.
โปเกมอน ซันและมูน
ปเกมอนภาคซัน และ โปเกมอนภาคมูน (Pokémon Sun and Pokémon Moon) เป็นวิดีโอเกมสวมบทบาทพัฒนาโดยบริษัทเกมฟรีก และจำหน่ายโดยนินเท็นโด ออกจำหน่ายทั่วโลกในวันที่ 18 พฤศจิกายน..
ดู ภาษาเยอรมันและโปเกมอน ซันและมูน
ไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล
China Radio International (CRI), (ก่อนหน้านี้เรียกว่า Radio Beijing และชื่อแรกก่อตั้งคือ Radio Peking) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 3 ธันวาคม..
ดู ภาษาเยอรมันและไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล
ไฟลท์แพลน เที่ยวบินระทึกท้านรก
ฟลท์แพลน เที่ยวบินระทึกท้านรก (Flightplan) ภาพยนตร์แนวตลกเกี่ยวกับการโดยสารเครื่องบิน ออกฉายในปี ค.ศ. 2005 สร้างโดยได้รับแรงบันดาลมาจากภาพยนตร์ในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและไฟลท์แพลน เที่ยวบินระทึกท้านรก
ไกลบ้าน
กลบ้าน เป็นพระราชนิพนธ์ลายพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ.
ไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์
รชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์ (Reichskommissariat Ostland, RKO) เป็นหน่วยการปกครองของนาซีเยอรมนีในรัฐบอลติก บางส่วนของเบลารุสและโปแลนด์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ดินแดนนี้ยังมีอีกชื่อว่า Reichskommissariat Baltenland ("ไรชส์คอมมิสซาเรียทแห่งรัฐบอลติก").
ดู ภาษาเยอรมันและไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์
ไวโอลิน
วโอลิน เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงระดับเสียงสูงในกลุ่มเครื่องดนตรีคลาสสิกประเภทเครื่องสาย (String instruments) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลินที่เล็กที่สุด อันประกอบไปด้วย ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส เมื่อนำทั้งหมดมาเล่นร่วมกันแล้วจะเรียกว่า วงเครื่องสาย(string) ซึ่งเป็นตระกูลเครื่องดนตรีหลักของ วงออร์เคสตร.
ไส้กรอก
้กรอกชนิดต่าง ๆ ไส้กรอกสวีเดน ขนาดใหญ่ ไส้กรอก (Sausage) มาจากคำภาษาลาตินว่า Salsus หมายถึง "การเก็บรักษาเนื้อสัตว์โดยใช้เกลือ" หรือมาจากคำว่า Wurst ในภาษาเยอรมัน ซึ่งหมายถึง "เนื้อสัตว์บดละเอียดผสมกับเกลือและเครื่องเทศ บรรจุลงในไส้" ดังนั้นกรรมวิธีในการผลิตไส้กรอกนั้นจึงถือได้ว่าเป็นกรรมวิธีในการถนอมอาหารแบบหนึ่ง ไส้กรอก มีความเป็นมานานถึง 3,500 ปีแล้ว ในยุคบาบิโลเนีย ลักษณะเป็นเนื้อหมักเครื่องเทศ ยัดไว้ในไส้สัตว์ ในยุคกลาง เมืองต่าง ๆ ในยุโรปได้พัฒนาสูตร รสชาติ และรูปร่างของไส้กรอกของตนเอง และตั้งชื่อไส้กรอกตามชื่อเมืองที่เป็นถิ่นกำเนิด เช่น ไส้กรอกเวียนนา เป็นต้น ไส้กรอกของประเทศแถบเมดิเตอเรเนียนจะมีลักษณะแข็งและแห้งเพื่อไม่ให้ไส้กรอกบูดเสียได้ง่ายในอากาศร้อนแถบนั้น ส่วนไส้กรอกของสก็อตแลนด์นิยมยัดไส้ด้วยข้าวโอ๊ต มากกว่าจะใช้เนื้อหมูหรือเนื้อวัว ไส้กรอกที่เป็นที่นิยมกันมากที่สุดประเภทหนึ่งในเยอรมนี คิดค้นขึ้นโดยชาวเมืองแฟรงเฟิร์ต จึงมีชื่อเรียกว่าแฟรงเฟอเตอร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แฟรงค์ มีขนาดหนา นุ่ม ใส่เครื่องเทศและรมควันอย่างดีมีรูปร่างโค้งเล็กน้อย คล้ายรูปร่างของสุนัขดัชชุน จนบางคนเรียกไส้กรอกประเภทนี้ว่า ไส้กรอกดัชชุน เล่ากันว่าผู้คิดไส้กรอกประเภทนี้เลี้ยงสุนัขดัชชุนไว้หนึ่งตัว จึงเกิดความคิคว่าไส้กรอกที่มีรูปร่างเหมือนสุนัขตัวโปรดนี้จะเป็นที่นิยมของตลาดด้วย ในยุคปัจจุบันการผลิตไส้กรอกเป็นการประยุกต์ใช้กระบวนการถนอมอาหารหลายอย่างรวมกัน เช่น การใช้สารเคมี การใช้ความร้อน การอบแห้ง การแช่แข็ง และการแช่เย็น จึงทำให้ผลิตภัณฑ์ไส้กรอกในปัจจุบันนั้นมาให้เลือกบริโภคอย่างหลากหลาย ซึ่งจะแตกต่างกันตามลักษณะของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ชนิดของเครื่องเทศและเครื่องปรุงรส ชนิดของเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อไก่ เนื้อวัว เนื้อปลา เป็นต้น อัตราส่วนระหว่างเนื้อสัตว์และไขมันของเนื้อสัตว์ ความละเอียดของการบดเนื้อสัตว์และเครื่องเทศ วิธีการผสม ขั้นตอนการผลิต วิธีการอัดไส้ ขนาดและความยาวของไส้ที่นำมาใช้ และ ชนิดของไส้ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ 1.ไส้ธรรมชาติ เช่น ไส้แกะ ไส้หมู หรือหลอดลมวัว 2.ไส้สังเคราะห์หรือไส้เทียม เช่น ไส้จากคอลลาเจน ไส้สังเคราะห์จากใยฝ้าย หรือไส้พลาสติก วัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตไส้กรอก ได้แก่ เนื้อสัตว์ เกลือแกง ไขมัน เกลือไนเตรต เครื่องเทศ และเครื่องปรุงรส โดยเนื้อสัตว์ที่นำมาใช้ในการผลิตไส้กรอกจะต้องมีความสามารถในการรวมตัวกับน้ำได้สูง โดยมีแอคติน และไมโอซิน ทำหน้าที่ให้น้ำและไขมันในเนื้อสัตว์สามารถรวมตัวกันได้ เกลือนอกจากจะทำหน้าที่ให้รสชาติแล้วยังทำหน้าที่สกัดโปรตีนจำพวก แอคตินและไมโอซิน ออกจากกล้ามเนื้อของสัตว์ ทำให้ไส้กรอกที่ได้มีเนื้อสัมผัสที่นุ่มและชุ่มฉ่ำและให้กลิ่น และรสชาติที่คงตัว เกลือไนเตรต (KNO3, NaNO3) ทำให้ไส้กรอกเกิดสีและกลิ่นที่คงตัว และป้องกันไม่ให้ไส้กรอกเกิดการเน่าเสียจาก แบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการหายใจ โดยในประเทศไทยได้กำหนดปริมาณสูงสุดในการใช้สารประกอบไนเตรต (KNO3, NaNO3) ที่สามารถใช้ได้ไว้ที่ 500 มิลลิกรัม ต่อผลิตภัณฑ์เนื้อหมัก 1 กิโลกรัม (ซึ่งหากคำนวณน้ำหนักของไนเตรตจริงๆแล้วจะมีไนเตรตน้ำหนักเพียง 125 มิลลิกรัมเท่านั้น) เพราะถ้าหากบริโภคไนเตรตมากเกินไปจะทำให้เป็นพิษต่อร่างกาย เนื่องจากไนเตรตหรือสารประกอบไนเตรต (KNO3, NaNO3) เมื่อเข้าสู่กระแสเลือดจะไปทำปฏิกิริยาออกซิไดซ์กับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือด ทำให้เม็ดเลือดแดงนั้นหมดสภาพ ไม่สามารถทำหน้าที่ลำเลียงออกซิเจนได้ นอกจากนั้นแล้ว ไนเตรตหรือสารประกอบไนเตรต (KNO3, NaNO3) ยังทำให้เกิดสารประกอบไนโตรซามีนซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งอีกด้ว.
ไอพอดชัฟเฟิล
อพอดชัฟเฟิล (iPod shuffle) เป็นเครื่องเล่นดนตรีแบบพกพาในสายการผลิตไอพอด ผลิตโดยบริษัทแอปเปิล โดยเปิดตัวในงาน Macworld ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ.
ไอน์แฮนเดอร์
อน์แฮนเดอร์ (アインハンダー; Einhänder) เป็นวิดีโอเกมยานยิงแบบมุมมองด้านข้าง ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัทสแควร์ สำหรับเล่นบนเครื่องเพลย์สเตชัน เกมไอน์แฮนเดอร์ ถูกวางจำหน่ายครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน..
ไฮน์ริค ฮาร์เรอร์
น์ริค ฮาร์เรอร์ (เยอรมัน: Heinrich Harrer) ชาวออสเตรียที่ถูกจับเป็นเชลยในสงครามโลกครั้งที่สอง แล้วหนีออกจากค่ายในประเทศอินเดียเข้าไปทิเบตเป็นเวลา 7 ปี และได้ช่วยเป็นครูสอนองค์ทะไลลามะเกี่ยวกับเรื่องราวของโลกภายนอก เมื่อประเทศจีนเข้ายึดทิเบตเขาจึงกลับบ้านเกิด เรื่องราวของเขาถูกเขียนเป็นหนังสือ Seven Years in Tibet และถ่ายทอดเป็นภาพยนตร์ด้วยเช่นกันในชื่อ 7 ปี โลกไม่มีวันลืม ซึ่งได้นักแสดงชายอย่าง แบรด พิตต์มารับบทของตัวเขาในเรื่อง.
ดู ภาษาเยอรมันและไฮน์ริค ฮาร์เรอร์
ไซยาโนเจนมอด
ซยาโนเจนมอด (CyanogenMod) เป็นระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์ซสำหรับแทนที่เฟิร์มแวร์ดั้งเดิมของสมาร์ตโฟนและแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ พัฒนาจากระบบปฏิบัติการแอนดรอย์ โดยปรับแต่งให้มีความสามารถและฟังชั่นเพิ่มเติม ผู้ใช้จะได้รับการอัปเดต อิงจากเวอร์ชั่นทางการของแอนดรอ.
ไซลีเซีย
ูมิภาคในประวัติศาสตร์ (ในวงสีฟ้าและเหลือง) และเขตแดนประเทศต่าง ๆ ในปัจจุบัน ไซลีเซีย (Silesia; ไซลีเซีย: Ślůnsk; Śląsk; Slezsko; Schlesien) เป็นภูมิภาคในประวัติศาสตร์ของยุโรปกลาง ปัจจุบันตั้งอยู่ในประเทศโปแลนด์ สาธารณรัฐเช็ก และเยอรมนี ไซลีเซียเป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติและมีบริเวณสำคัญทางอุตสาหกรรมหลายแห่ง เมืองที่ใหญ่ที่สุดในบริเวณนี้ได้แก่วรอตสวัฟ (Wrocław) ซึ่งเป็นเมืองหลวงในประวัติศาสตร์ คาโตวีตเซในโปแลนด์ และออสตราวา (Ostrava) ในสาธารณรัฐเช็ก แม่น้ำสำคัญคือแม่น้ำโอเดอร์ เขตแดนของไซลีเซียเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างมากตลอดมาในประวัติศาสตร์ทั้งตั้งแต่ยังเป็นของขุนนางในสมัยศักดินา มาจนถึงหลังจากการรุ่งเรืองของรัฐชาติสมัยใหม่ รัฐแรกที่เป็นที่ทราบว่ามีอำนาจในบริเวณนี้คือเกรตเตอร์โมราเวีย (Greater Moravia) และโบฮีเมีย ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐโปแลนด์สมัยแรก แต่ต่อมาก็แยกตัวออกไปเป็นดัชชีอิสระแต่ตกเข้ามาอยู่ภายใต้อิทธิพลของเยอรมนีมากขึ้นทุกขณะ ในที่สุดไซลีเซียก็ตกมาเป็นของราชบัลลังก์โบฮีเมีย ที่ผ่านต่อไปยังออสเตรียในปี..
เบอร์ลิน
อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.
เบอร์เซิร์ก
อร์เซิร์ก (Berserk) เป็นชื่อมังงะ แนวดาร์ค แฟนตาซี ของญี่ปุ่น วาดโดยเคนทาโร่ มิอุระ มีการดำเนินเรื่องเกิดขึ้นในยุคกลางของยุโรป โดยได้รับอิทธิพลมาจากโลกแห่งจินตนิมิตด้านมืด มีตัวละครเอกของเรื่องคือ กัทส์ ทหารรับจ้างผู้โดดเดี่ยวและ กริฟฟิท หัวหน้าของกลุ่มทหารรับจ้างที่รวมตัวกันภายใต้ชื่อ กองพันเหยี่ยว เนื้อเรื่องมีสาระสำคัญเกี่ยวกับความโดดเดี่ยวของมนุษย์, ความสัมพันธ์ในเชิงของมิตรภาพ และเต็มไปด้วยการตั้งคำถามเกี่ยวกับมนุษยธรรม รวมถึงประเด็นเรื่องปีศาจและการต่อต้านพระเจ้า นอกจากนี้ยังสื่อให้เห็นถึงธรรมชาติของความเป็นมนุษย์ทั้งในด้านที่ดีที่สุดและเลวร้ายที่สุด เบอร์เซิร์กได้ชื่อว่าเป็นหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นที่เนื้อหาและภาพมีความรุนแรงสูง รวมถึงมีลายเส้นของภาพที่มีความละเอียดเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็ได้รับความนิยมและมียอดขายมากอันดับต้นๆเช่นกัน ในประเทศญี่ปุ่นลงตีพิมพ์ในนิตยสารยัง แอนิมอล โดยสำนักพิมพ์ฮะคุเซนชะ ส่วนในประเทศไทยมีการตีพิมพ์ฉบับลิขสิทธิ์จัดจำหน่ายครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ ซึ่งได้ตีพิมพ์จนถึงฉบับรวมเล่มที่ 37 ต่อมาในปี..
เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค
ือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค หรือ ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน เป็นประมวลกฎหมายแพ่งของประเทศเยอรมนีซึ่งเริ่มร่างเมื่อ ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและเบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค
เบเกิล
กิลกับครีมชีส และ ปลาแซลมอนรมควัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของครัวอเมริกัน-ยิว เบเกิล (bagel, beigel) กำเนิดในประเทศโปแลนด์ มีลักษณะเป็นรูปวงแหวน ทำจากแป้งสาลี ขนาดประมาณ 1 กำมือ นำไปต้มในน้ำเดือดสักพักหนึ่ง แล้วนำไปอบต่อ จะได้เนื้อภายในที่แน่นและนิ่ม กับเนื้อภายนอกสีอมน้ำตาล มักโรยหน้าด้วยงาดำ บ้างอาจโรยเกลือบนเบเกิล ทั้งยังมีแป้งประเภทต่าง ๆ ที่ใช้เป็นวัตถุดิบ เช่น ข้าวไรย์ หรือแป้งจากธัญพืชไม่ขัดสีEncyclopædia Britannica (2009), retrieved February 24, 2009 from Encyclopædia Britannica Online เบเกิลเป็นที่นิยมในประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในเมืองที่มีประชากรชาวยิวอาศัยจำนวนมาก วิธีการทำเบเกิลนั้นมีหลากหลาย เช่น เบเกิลที่ทำในเบเกอรี หรือเบเกิลประเภทแช่แข็งที่หาซื้อได้ตามซูเปอร์มาร์เก็ตในประเทศเหล่านั้น เบเกิลชนิดที่เป็นวงกลมและมีรูตรงกลางออกแบบมาเมื่อหลายร้อยปีก่อน ซึ่งมีข้อดีหลาย ๆ อย่าง นอกจากการอบ ยังสามารถหยิบจับง่ายและยังเป็นจุดเด่นทำให้น่าสนใจอีกด้ว.
เฟือสท์
องค์อธิปัตย์ (Sovereign Prince) เรียกเป็นภาษาเยอรมันสำหรับบุรุษว่า เฟือสท์ (Fürst) และสำหรับสตรีว่า เฟือร์สทีน (Fürstin) เป็นตำแหน่งที่ปรากฏตั้งแต่ยุคกลางเป็นต้นมา เป็นสมาชิกระดับสูงสุดของชนชั้นขุนนางซึ่งมีอำนาจปกครองรัฐหรือแว่นแคว้นภายในขอบขัณฑสีมาของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ โดยอยู่ต่ำกว่า ไกเซอร์ (Kaiser จักรพรรดิ) และ เคอนิจ (König กษัตริย์) จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในอดีตมักจะส่งพระราชโอรสไปปกครองรัฐบริวารต่างๆ โดยรัฐเหล่านั้นมีอำนาจอธิปไตยอันขึ้นตรงต่อจักรพรรดิ โดยรัฐเหล่านั้นจะมีชื่อเรียกในภาษาเยอรมันว่า เฟือร์สเทนทุม (Fürstentum ราชรัฐ) โดยองค์อธิปัตย์เหล่านี้ จะมีคำนำหน้าว่า "เจ้าชาย" บุคคลที่มีฐานันดรเป็นองค์อธิปัตย์ ปัจจุบันมีอยู่สองพระองค์ คือ เจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 แห่งโมนาโก และ เจ้าชายฮันส์-อาดัมที่ 2 แห่งลิกเตนสไตน.
เพลงชาติเชโกสโลวาเกีย
ลงชาติเชโกสโลวาเกีย (Československá hymna ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2461 ภายหลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศเชโกสโลวาเกียได้รับการสถาปนา โดยได้นำเนื้อร้องบทแรกของเพลงคเด โดโมฟ มูย? และ นาดทาโทรซาบลีซกา (สาธารณรัฐสโลวัก) รวมเป็นเพลงเดียวกัน ในดินแดนเช็กนั้น มีกลุ่มชาติพันธุ์เยอรมัน และ ฮังการี โดยได้แปลเนื้อร้องเป็น ภาษาฮังการี และ เยอรมัน.
ดู ภาษาเยอรมันและเพลงชาติเชโกสโลวาเกีย
เกมลูกแก้ว
กมลูกแก้ว (Das Glasperlenspiel; The Glass Bead Game) เป็นผลงานชิ้นเอกและผลงานชุดสุดท้ายของแฮร์มัน เฮสเส ซึ่งเป็นนักประพันธ์ชาวเยอรมัน โดยเริ่มเขียนใน..
เกรกอร์ เมนเดล
กรเกอร์ โยฮันน์ เมนเดล (Gregor Johann Mendel; 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 - 6 มกราคม พ.ศ. 2427) เป็นนักวิทยาศาสตร์และภราดาคณะออกัสติเนียนชาวโมราเวียที่พูดภาษาเยอรมัน ผู้ซึ่งมีชื่อเสียงจากการก่อตั้งวิทยาศาสตร์ยุคใหม่สาขาพันธุศาสตร์ แม้ว่าชาวสวนทั่วไปจะทราบถึงลักษณะปรากฏที่แตกต่างกันของพืชชนิดต่าง ๆ อยู่แล้ว โดยเมนเดลได้เริ่มศึกษาจากต้นถั่ว จนสามารถตั้งเป็นกฎทางพันธุกรรมมากมาย และภายหลังรู้จักกันในชื่อว่า พันธุศาสตร์ของเมนเดล เมนเดลเสียชีวิตด้วยโรคไตในวันที่ 6 มกราคม..
ดู ภาษาเยอรมันและเกรกอร์ เมนเดล
เกลกุ๊ก
กลกุ๊ก หรือ เกรุกุกุ (ญี่ปุ่น:ゲルググ; อังกฤษ:Gelgoog) เป็นรุ่นของโมบิลสูทซึ่งเป็นมีบทบาทสำคัญในการ์ตูนญี่ปุ่นกันดั้มซีรีส์ โดยปรากฏตัวครั้งแรกในโมบิลสูทกันดั้ม เกลกุ๊กได้รับการออกแบบให้มีรูปแบบต่างๆมากมาย รูปแบบดั้งเดิมของเกลกุ๊กได้รับการออกแบบโดยคุนิโอะ โอคาวาร.
เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์
เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ (Mecklenburg-Strelitz) เป็นดัชชีและแกรนด์ดัชชีต่อมาในทางตอนเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งประกอบไปด้วยเขตเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ในปัจจุบัน (เมืองชตาร์การ์เดอร์ลันด์ในประวัติศาสตร์) อันมีพรมแดนติดต่อกับบริเวณเมืองเฟือร์ชเตนแบร์กในแคว้นบรันเดนบูร์กปัจจุบันและพื้นที่รอบเมืองรัทเซบูร์กในแคว้นชเลสวิก-โฮลชไตน์ในปัจจุบัน หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศเยอรมนี หมวดหมู่:รัฐในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 18 หมวดหมู่:รัฐในสมาพันธรัฐเยอรมัน หมวดหมู่:รัฐในจักรวรรดิเยอรมัน หมวดหมู่:ก่อตั้งในปี พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์
เยอรมัน
อรมัน หรือ เยอรมนี อาจหมายถึง.
เยื่อบุผิวรับกลิ่น
ื่อบุผิวรับกลิ่น (olfactory epithelium).
ดู ภาษาเยอรมันและเยื่อบุผิวรับกลิ่น
เยนส์ คือห์เน
นส์ คือห์เน (เยอรมัน: Jens Kühne) เป็นนักมีนวิทยาและนักสำรวจธรรมชาติชาวเยอรมัน เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1970 จบการศึกษาด้านสูทกรรม และทำงานเป็นเชฟมากว่า 25 ปี ทั้งในเยอรมนีและสวิสเซอร์แลนด์ โดยมีตำแหน่งสุดท้ายเป็นหัวหน้าที่ปรึกษาอาวุโสให้กับโรงแรมดอยช์ในเยอรมนี คือห์เน เริ่มต้นทำงานด้านมีนวิทยาจากความชอบที่จะเลี้ยงปลาในวัยเด็ก โดยปลาชนิดแรกที่เลี้ยง คือ ปลาพาราไดซ์ (Macropodus opercularis) เริ่มต้นจากการรวบรวมเงินที่สะสมมาตลอดการทำงาน 25 ปี เดินทางมาที่กลุ่มประเทศเอเชียอาคเนย์ เพื่อสำรวจปลาในแหล่งธรรมชาติ โดยเริ่มจากอินโดนีเซีย ในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและเยนส์ คือห์เน
เรือของธีเซียส
ำเภาของธีเซียส หรือที่รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่าปฏิทรรศน์ธีเซียส (Theseus' paradox) เป็น การทดลองทางความคิด (Thought experiment) ที่ตั้งคำถามว่า หากวัตถุหนึ่งค่อยๆ ถูกแทนที่ด้วยส่วนประกอบใหม่ วัตถุดังกล่าวนั้นยังคงเป็นวัตถุเดิมโดยสภาพพื้นฐานหรือไม่ โดยปฎิทรรศน์นี้ได้รับการบันทึกอย่างมีชื่อเสียงโดยนักปรัชญา พลูทาร์ก (Plutarch) ใน ไลฟ์ ออฟ ธีเซียส (Life of Theseus) ในปลายศตวรรษที่ 1 โดยพลูทาร์กได้ถามว่า หากสำเภาลำหนึ่งได้รับการซ่อมแซมโดยการแทนที่ไม้เก่าด้วยไม้ใหม่ทั้งหมด สำเภาลำนี้ยังคงเป็นสำเภาลำเดิมหรือไม่ ปฎิทรรศน์นี้ผ่านการถกเถียงมากมายในหมู่นักปรัชญาสมัยโบราณ เช่น เฮราคลิตุส (Heraclitus) โสกราตีส (Socrates) และ เพลโต (Plato) ก่อนหน้าข้อเขียนของพลูทาร์ก และยังคงมีการถกเถียงในหมู่นักปรัชญาสมัยใหม่ เช่น โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) และ จอห์น ล็อก (John Locke) นอกจากนี้ ยังมีปฎิทรรศน์นี้ในรูปแบบอื่นๆ เช่น ขวานคุณปู่ (Grandfather's axe) โดยหลายคนกล่าวว่าการทดลองทางความคิดนี้เป็น "แบบจำลองสำหรับนักปรัชญา" บ้างตอบว่า "วัตถุนั้นยังคงเป็นวัตถุเดิม" ในขณะที่บ้างก็ว่า "วัตถุนั้นได้เปลี่ยนไปแล้ว".
ดู ภาษาเยอรมันและเรือของธีเซียส
เลินฮาร์ด ดินเซนฮอฟเฟอร์
้านหน้าอารามเซ็นต์ไมเคิล (Monastery Church St. Michael) (แบมเบิร์ก) เลินฮาร์ด ดินเซนฮอฟเฟอร์ (ภาษาเยอรมนี: Leonhard Dientzenhofer หรือ Johann Leonhard Dientzenhofer) เกิดเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและเลินฮาร์ด ดินเซนฮอฟเฟอร์
เลนเนิร์ด
ลนเนิร์ด, เลนนาร์ด (Leonard) เป็นชื่อสามัญ หรือชื่อสกุลในภาษาอังกฤษ มีที่มาจากภาษาเยอรมัน Leonhard มาจากคำว่า levon ("lion" - สิงโต) กับคำว่า hardu ("brave" - กล้าหาญ หรือ "hardy" - หัวใจ) มีความหมายว่า เข็มแข็ง, แข็งแรง หรือห้าวหาญเหมือนสิงโต นอกจากนี้ยังอาจมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า Leo ("lion") เลนเนิร์ด ยังเป็นนามสกุลไอริช มาจากภาษาแกลิก คำนำหน้า O (สืบสายมาจาก) กับคำว่า Leannan ("lover") เลนเนิร์ด ยังเป็นชื่อสามัญในภาษาอื่นๆ ดังนี้.
เล่ห์กลกับความรัก
ล่ห์กลกับความรัก (Kabale und Liebe) อ่านว่า(คาบาเล อูน ลีเบ) เป็นนาฏกรรมเยอรมันที่มีชื่อเสียงระดับประเทศ ซึ่งประพันธ์โดยนักเขียนเยอรมัน นามว่า ฟริดริค ชิลเลอร์ (Friedrich Schiller)เนื้อเรื่องเกี่ยวกับความรักระหว่างลูกขุนนางแฟรดินาน ฟอน วาลเทอร์ (Ferdinand von Walter)และลูกนักดนตรี ลูอีเส มิลเลอร์ (Luise Miller) ที่ถูกเล่ห์กลของพ่อแม่ทำลาย นาฏกรรมชิ้นนี้เป็นวรรณกรรมแบบอย่าง ซึ่งมักจะเป็นนาฏกรรมที่นำมาศึกษาตามโรงเรียนเยอรมันKabale und Liebe.
ดู ภาษาเยอรมันและเล่ห์กลกับความรัก
เวอร์วูล์ฟ (ปฏิบัติการทางทหาร)
วอร์วูล์ฟ(เยอรมัน จาก "แวร์วูล์ฟ")เป็นแผนการของนาซี ซึ่งได้เริ่มพัฒนาขึ้นในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและเวอร์วูล์ฟ (ปฏิบัติการทางทหาร)
เสรีนครลือเบ็ค
รีนครลือเบ็ค หรือ เสรีนครฮันเซอแห่งลือเบ็ค (Freie und Hansestadt Lübeck) เป็นนครรัฐที่รุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 1226 ถึงปี ค.ศ. 1937 ที่ตั้งอยู่ในรัฐชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์และรัฐเมคเลินบวร์ค-ฟอร์พ็อมเมิร์นในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน.
ดู ภาษาเยอรมันและเสรีนครลือเบ็ค
เสรีนครดันท์ซิช
รีนครดันท์ซิช (Freie Stadt Danzig; Wolne Miasto Gdańsk) เป็นเมืองของรัฐกึ่งอิสระที่มีอยู่ระหว่างปี 1920 และ 1939 ประกอบด้วยท่าเรือบนทะเลบอลติกของเมืองดันท์ซิชและเมืองเกือบ 200 เมืองในพื้นที่โดยรอ.ถูกสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 1920 ตามเงื่อนไขของมาตรา 100 (มาตรา 10 ของหน้า 3) ของสนธิสัญญาแวร์ซาย หลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นครเสรีรวมเมืองดันท์ซิชและเมือง หมู่บ้าน และถิ่นฐานใกล้เคียงอื่น ๆ ที่ได้ตั้งที่อยู่อาศัยเป็นหลักโดยชาวเยอรมัน ตามสนธิสัญญาได้ระบุเอาไว้ ภูมิภาคจะยังคงแยกออกมาจากหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (สาธารณรัฐไวมาร์) และประเทศที่ได้รับเอกราชใหม่ของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง ("โปแลนด์ในช่วงสมัยระหว่างสงคราม") แต่ก็ไม่ได้เป็นรัฐเอกราช เมืองเสรีนครอยู่ภายใต้การคุ้มครองของสันนิบาตชาติและถูกบรรจุลงในความผูกผันทางด้านสหภาพศุลกากรกับโปแแลนด์ ประเทศโปแลนด์ได้รับสิทธิในการพัฒนาและดูแลในด้านการขนส่ง การสื่อสาร และความอำนวยความสะดวกบนท่าเรือในเมือง เสรีนครได้รับการจัดตั้งขึ้นเพื่อให้โปแลนด์สามารถเข้าถึงท่าเรือขนาดพอดี ในขณะที่ประชากรของเมืองส่วนใหญ่เป็นชาวเยอรมัน มีชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์โปแลนด์อย่างมีนัยสำคัญเช่นกัน ประชาชนชาวเยอรมันไม่พอใจอย่างมากที่ถูกแยกออกจากเยอรมนี ถูกรังแกข่มเหงจากชนกลุ่มน้อยชาวโปแลนด์ นี่คือความจริงโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากที่พรรคนาซีได้เข้ามาควบคุมทางการเมืองในปี 1935-1936.
ดู ภาษาเยอรมันและเสรีนครดันท์ซิช
เสอ ซือม่าน
อ ซือม่าน หรือ หวี ซือมั่น (Charmaine Sheh (Sze-man)) นักแสดงหญิงชาวฮ่องกงที่มีชื่อเสียง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแบบละครโทรทัศน์หรือซีรีส์ เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม..
เสียงพยัญชนะนาสิก
ียงพยัญชนะนาสิก เป็นเสียงพยัญชนะที่เกิดจากการหย่อนเพดานอ่อนในปาก แล้วปล่อยอากาศอย่างอิสระออกทางจมูก อวัยวะในช่องปากรูปแบบต่าง ๆ ทำหน้าที่สั่นพ้องเสียงให้ก้อง แต่อากาศจะไม่ออกมาทางช่องปากเพราะถูกกักด้วยริมฝีปากหรือลิ้น นอกจากนี้ยังมีเสียงพยัญชนะอื่นที่ออกเสียงขึ้นจมูก (nasalized) ซึ่งพบได้ยาก.
ดู ภาษาเยอรมันและเสียงพยัญชนะนาสิก
เสียงกัก เพดานอ่อน ก้อง
เสียงกัก เพดานอ่อน ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาเยอรมัน, ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย แต่คล้ายเสียง ก ในไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ (สัทอักษรกำหนดให้ใช้ 8px แบบหางเปิด) และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ g การทับศัพท์เสียงนี้มันใช้ ก หรือ ง หมวดหมู่:เสียงพยัญชนะ.
ดู ภาษาเยอรมันและเสียงกัก เพดานอ่อน ก้อง
เสียงเสียดแทรก ปุ่มเหงือก ก้อง
เสียงเสียดแทรก ปุ่มเหงือก ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /z/ หมวดหมู่:เสียงพยัญชนะ.
ดู ภาษาเยอรมันและเสียงเสียดแทรก ปุ่มเหงือก ก้อง
เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง
ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง (voiceless velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาเยอรมัน, ภาษาสเปน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษารัสเซีย, ภาษาจีนกลาง ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /x/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ x เสียงนี้เป็นเสียงหนึ่งในบรรดาเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษเก่า และยังคงปรากฏในบางภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษปัจจุบัน หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่างประเทศของราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดให้เขียนทับศัพท์เสียง /x/ ในทุกภาษา (เท่าที่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้) ด้วย ค ยกเว้นภาษาอังกฤษให้ใช้ ก เมื่อเป็นตัวสะกด ส่วนภาษาจีนและภาษารัสเซียให้ใช้ ฮ อย่างไรก็ตาม ในการทับศัพท์ภาษารัสเซียนั้น ปัจจุบันนิยมใช้ ค แทนเสียงนี้ แม้แต่ในสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่มาจากราชบัณฑิตยสถานเอง ส่วนภาษาสเปน (ซึ่งพบเสียงนี้เป็นตัวสะกดท้ายพยางค์ไม่บ่อยนัก) บางคนนิยมทับศัพท์เสียงนี้ด้ว.
ดู ภาษาเยอรมันและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง
เอ
อ อาจหมายถึง.
เอชเอ็มเอส พินนาฟอร์
อชเอ็มเอส พินนาฟอร์ (H.M.S. Pinafore) หรือ The Lass that Loved a Sailor เป็นอุปรากรหรรษาความยาว 2 องก์โดยอาร์เทอร์ ซัลลิแวน เป็นผู้แต่งดนตรี และวิลเลียม กิลเบิร์ต เป็นผู้แต่งคำร้องภาษาอังกฤษ เป็นผลงานชิ้นที่สี่ที่ทั้งคู่ร่วมงานกัน โดยเป็นเรื่องขบขันล้อเลียนการเมืองและการทหารของอังกฤษในทศวรรษ 1870 เอชเอ็มเอส พินนาฟอร์ ออกแสดงครั้งแรกที่ลอนดอนเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..
ดู ภาษาเยอรมันและเอชเอ็มเอส พินนาฟอร์
เอมิล ยอดนักสืบ
อมิล ยอดนักสืบ (Emil und die Detektive; Emil and the Detectives) เป็นผลงานวรรณกรรมเยาวชนที่มีชื่อเสียงโด่งดังของนักเขียนชาวเยอรมัน "เอริช เคสท์เนอร์" เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ "เอมิล ทิชบายน์" ที่ต้องเดินทางจากเมืองนอยชสตัดท์ไปยังกรุงเบอร์ลินเพื่อเยี่ยมคุณยาย ขณะเอมิลอยู่บนบนรถไฟได้เผลอหลับและเมื่อตื่นขึ้นมาซองเงินในกระเป๋าหายของเขาไป เขามั่นใจว่าชายคนหนึ่งที่นั่งอยู่รถไฟตู้เดียวกับเขาคือ "ขโมย" ปฏิบัติการไล่ล่าหัวโขมยจึงเกิดขึ้น.
ดู ภาษาเยอรมันและเอมิล ยอดนักสืบ
เอมิล เคร็บส์
อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.
ดู ภาษาเยอรมันและเอมิล เคร็บส์
เอลฟ์
''Ängsälvor'' "เอลฟ์แห่งท้องทุ่ง" ภาพวาดของนิลส์ บลอมเมอร์ ในปี ค.ศ. 1850 เอลฟ์ (elf) คือสิ่งมีชีวิตอมนุษย์ในตำนานนอร์สและตำนานปรัมปราในกลุ่มประเทศเจอร์แมนิก (สแกนดิเนเวียและเยอรมัน) เมื่อแรกเริ่ม แนวคิดเกี่ยวกับพวกเอลฟ์คือ ชนเผ่าที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติและเทพแห่งความอุดมสมบูรณ์ ภาพวาดของชนเหล่านี้มักเป็นมนุษย์ทั้งชายและหญิงที่แลดูอ่อนเยาว์และงดงาม อาศัยอยู่ในป่า ในถ้ำ ใต้พื้นดิน หรือตามบ่อน้ำและตาน้ำพุ มักเชื่อกันว่าพวกเขามีชีวิตยืนยาวมากหรืออาจเป็นอมตะ รวมทั้งมีพลังเวทมนตร์วิเศษ แต่หลังจาก ลอร์ดออฟเดอะริงส์ ผลงานอันโด่งดังของ เจ.
เอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย
้าหญิงเอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย(29 ธันวาคม พ.ศ. 2386 - 3 มีนาคม/2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459) พระนามเดิมคือ เจ้าหญิงพอลีน เอลิซาเบธ ออตติลี หลุยส์ ซู วีด ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียโดยเป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย พระนางทรงเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในด้านวรรณกรรมโดยทรงมีนามปากกาว่า "คาร์เมน ซิลวา"(Carmen Sylva) ทรงก่อตั้งองค์กรการกุศลขึ้นมากมาย ชาวโรมาเนียจึงให้พระสมัญญาว่า "Mama răniților" และชาวโรมาเนียมักจะเรียกพระนางว่า "พระราชินีคาร์เมน ซิลวา" ตามนามปากกาของพระนางมากกว่าเรียกพระนามจริง.
ดู ภาษาเยอรมันและเอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย
เอลเลนส์ดริทเทอร์เกซัง
อลเลน ดักลาส "The Lady of the Lake" กับลันซล็อต จากผลงานของอัลเฟรด เทนนีสัน บารอนเทนนีสันที่ 1 เอลเลนส์ดริทเทอร์เกซัง (Ellens dritter Gesang) หรือ เอลเลนส์เทิร์ดซอง (Ellen's third song, D839, Op.) เป็นงานประพันธ์ชิ้นหนึ่งที่เป็นที่นิยมของฟรันซ์ ชูแบร์ท แต่งขึ้นในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและเอลเลนส์ดริทเทอร์เกซัง
เอสวอยซ์
อสวอยซ์ (S Voice) เป็นซอฟต์แวร์ผู้ช่วยปัญญา (Intelligent personal assistant) และ ผู้นำร่องความรู้ (knowledge navigator) โดยถูกติดตั้งอยู่บนซัมซุง กาแลคซีเอส 3, ซัมซุง กาแลคซี โน้ต 2, ซัมซุง กาแลคซี โน้ต 10.1, ซัมซุง กาแลคซีเอส 3 มินิ, ซัมซุง กาแลคซีเอส 4, ซัมซุง กาแลคซี โน้ต 8.0, ซัมซุง กาแลคซี สเตลลาร์, ซัมซุง กาแลคซีเอส 2พลัส, ซัมซุง กาแลคซี แกรนด์, ซัมซุง กาแลคซี คาเมรา และ ซัมซุง กาแลคซี เอ็กซ์เพรส ซึ่งจะช่วยตอบคำถามจากผู้ใช้, ให้คำแนะนำต่างๆ รวมไปถึงการเข้าถึงเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต โดยซอฟต์แวร์นี้มีฐานข้อมูลบนวลิงโก (Vlingo).
เอสอาร์เอฟ 1
อสอาร์เอฟ 1 เป็นสถานีโทรทัศน์สวิตเซอร์แลนด์ ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 มีนาคม..
เอสเอ็มเอฟ
อสเอ็มเอฟ (SMF ย่อมาจาก Simple Machines Forum) เป็นโปรแกรมระบบกระดานสนทนาหรือที่นิยมเรียกกันว่าเว็บบอร์ดบนอินเทอร์เน็ตแบบโอเพนซอร์ส ทำงานด้วยภาษาพีเอชพี ควบคู่กับระบบฐานข้อมูล โดยรับรองการทำงานของฐานข้อมูลหลากหลายชนิด ได้แก่ MySQL, SQLite หรือ PostgreSQL ด้วยความที่ใช้ภาษาพีเอชพีในการพัฒนา รวมถึงการแพร่หลายของระบบฐานข้อมูล MySQL รวมถึงมีตัวช่วยการติดตั้งที่ง่าย (Wizard installer) มีรูปแบบของธีม (Themes) และส่วนเสริมฟังก์ชันการใช้งาน (Modifications) ให้เลือกใช้มากมาย ทำให้ SMF ได้รับความนิยมอย่างแพร่หล.
เอสเซทท์
เอสเซทท์ในแบบอักษรต่าง ๆ เอสเซทท์ (Eszett: ß) หรือเรียกอีกชื่อว่า ชาร์เฟิสเอส (scharfes S) เป็นอักษรละตินชนิดพยัญชนะที่ใช้ในภาษาเยอรมัน ออกเสียง เหมือนดอพเพิลเอส (ss) พัฒนามาจากอักษรรวม เอสขนาดยาวกับเซท (ſz) และ เอสขนาดยาวกับเอส (ſs) ชื่อของมันก็มาจากการออกเสียง เอส-เซท (s-z) นั่นเอง เอสเซทท์ (ß) ใช้สะกดหลังสระเสียงยาวและสระประสมสองเสียงเท่านั้น ส่วนดอพเพิลเอส (ss) ใช้สะกดหลังสระเสียงสั้น ถึงแม้ว่าเอสเซทท์เคยใช้ในภาษาอื่นมาก่อนก็ตาม แต่ปัจจุบันก็มีใช้ในภาษาเยอรมันเพียงภาษาเดียว หมวดหมู่:อักษรละติน หมวดหมู่:ภาษาเยอรมัน.
เฮลเวติกา
ลเวติกา (Helvetica) เป็นชื่อไทป์เฟซหรือแบบตัวอักษรในตระกูล Sans Serif ที่มีใช้มาตั้งแต..
เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน
. อาร.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน
เจงกีส ข่าน (วงดนตรี)
งกีส ข่าน (Dschinghis Khan) กลุ่มดนตรีป็อป/ดิสโก สัญชาติเยอรมนี ก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและเจงกีส ข่าน (วงดนตรี)
เจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดยุกกีโยม ฌ็อง โฌเซฟ มารี รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524-) รัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก ตั้งแต่พระบิดาทรงครองราชสมบัติในปีพ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย
ฟรีดริช วิลเฮล์ม วิคเตอร์ ออกุสต์ แอร์นส์ (ภาษาเยอรมัน:Friedrich Wilhelm Victor August Ernst; ประสูติ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2425 - 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) ทรงเป็นมกุฎราชกุมารพระองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรปรัสเซีย และจักรวรรดิเยอรมัน เจ้าชายวิลเฮล์มประสูติ ณ เมืองพอทสดัม รัฐบรานเดนบวร์ก พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์โตในสมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี และพระมเหสีพระองค์แรกเจ้าหญิงออกัสตา วิคตอเรียแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติลง สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี พระราชบิดาทรงสละราชสมบัติ เจ้าชายวิลเฮล์มทรงถูกเนรเทศไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ และเสด็จกลับมายังเยอรมันในปี พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซีย
เจ้าชายโยคิมแห่งเดนมาร์ก
้าชายโยคิมแห่งเดนมาร์ก เคานต์แห่งมงเปอซา (Prins Joachim Holger Waldemar Christian til Danmark, greve af Monpezat; 7 มิถุนายน 2512) เป็นพระราชโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ทรงมีพระเชษฐา1พระองค์คือ เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าชายโยคิมแห่งเดนมาร์ก
เจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก
้าชายโยคิมแห่งเดนมาร์ก เคานต์แห่งมงเปอซา (Prins Joachim Holger Waldemar Christian til Danmark, greve af Monpezat; 7 มิถุนายน 2512) เป็นพระราชโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ทรงมีพระเชษฐา1พระองค์คือ เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก
เจ้าชายไมเคิลแห่งปรัสเซีย
้าชายไมเคิลแห่งปรัสเซี.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าชายไมเคิลแห่งปรัสเซีย
เจ้าหญิงชาร์ลอตแห่งเบลเยียม
้าหญิงชาร์ลอตแห่งเบลเยียม (ภาษาอังกฤษ: Princess Charlotte of Belgium, ภาษาเยอรมัน: Prinzessin Charlotte von Belgien) (พระนามเต็ม: มารี ชาร์ลอต อเมลี่ ออกัสตีน วิคโตร์ คลีเมนตีน ลีโอโพลดีน, Marie Charlotte Amélie Augustine Victoire Clémentine Léopoldine von Habsburg-Lorraine (de Saxe-Coburg and Gotha)) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งเบลเยียม และสมเด็จพระจักรพรรดินีมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโกอีกด้ว.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าหญิงชาร์ลอตแห่งเบลเยียม
เจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น
้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น (ประสูติ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระชายาในเจ้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะและสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ โดยสมาชิกราชวงศ์ราชวงศ์ญี่ปุ่นหลังจากการอภิเษกสมร.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น
เจ้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟูมิฮิโตะ
้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ (11 กันยายน พ.ศ. 2509) พระนามเดิม คิโกะ คะวะชิมะ เป็นพระชายาในเจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าชายอะกิชิโนะ และเป็นพระสุณิสาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโก.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟูมิฮิโตะ
เจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา
้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา (อังกฤษ: Princess Zita of Bourbon-Parma) (ซีตา มาเรีย เดลเล กราซี อาเดลกอนด้า มิคาเอล่า ราฟาเอลล่า กาเบรียลล่า จูเซปปิน่า อันโตเนีย หลุยซ่า แอ็กเนเซ; 9 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา
เจ้าหญิงนอราแห่งลิกเตนสไตน์
้าหญิงนอราแห่งลิกเตนสไตน.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าหญิงนอราแห่งลิกเตนสไตน์
เจ้าหญิงแคโรไลน์แห่งบาเดิน
้าหญิงแคโรไลน์แห่งบาเดิน เจ้าหญิงแคโรไลน์แห่งบาเดิน (ภาษาเยอรมัน: Friederike Karoline Wilhelmine) เป็นพระราชธิดาใน มาร์เกรฟคาร์ล หลุยส์แห่งบาเดิน และแลนด์เกรวีนอมาลี่แห่งเฮสส์-ดาร์มสตัดท์ ประสูติเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าหญิงแคโรไลน์แห่งบาเดิน
เจ้าหญิงโซฟีแห่งบาวาเรีย
้าหญิงโซฟีแห่งบาวาเรีย เจ้าหญิงโซฟีแห่งบาวาเรีย (ภาษาอังกฤษ: Princess Sophie of Bavaria, ภาษาเยอรมัน: Prinzessin Sophie von Bayern) (พระนามเต็ม: โซฟี ฟรีเดริเก้ โดโรธี วิลเฮล์มมีน, Sophie Friederike Dorothee Wilhelmine von Habsburg-Lorraine (ราชสกุลเดิม von Wittelsbach)) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งบาวาเรีย และเป็นพระชายาในอาร์ชดยุกฟรันซ์ คาร์ลแห่งออสเตรียด้ว.
ดู ภาษาเยอรมันและเจ้าหญิงโซฟีแห่งบาวาเรีย
เทคก้าแมนเบลด II
ทคก้าแมนเบลด II เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวแฟนตาซีวิทยาศาสตร์ ที่เป็นภาคต่อของเทคก้าแมนเบลด เนื้อเรื่องกล่าวถึงเหตุการณ์ในอีก 10 ปีต่อมา เขียนบทโดย ฮิโรยูกิ คาวาซากิ ออกแบบตัวละครโดย ฮิโรโตชิ ซาโนะ และกำกับโดย ฮิเดกิ โทโนคัตสึ ออกวางจำหน่ายในรูปแบบโอวีเอ เมื่อปี พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและเทคก้าแมนเบลด II
เขายุงเฟรา
right ยอดเขายุงเฟรา (Jungfrau) ตั้งอยู่ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ใกล้กับเมืองเวงเงินส์ เป็นหนึ่งในยอดเขาที่สุดที่สุดบนเทือกเขาแอลป์ ในระดับที่มากกว่า 4000 เมตร ยอดเขายุงเฟรา มีความสูงถึง 4,158 เมตร.
เขตการปกครองของประเทศเบลเยียม
การแบ่งเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม นั้นมีลักษณะการปกครองโดยรัฐบาลกลาง (แบบสหพันธรัฐ) อันประกอบด้วย 3 ชุมชน (Community), 3 เขต (Region) และ 4 เขตภาษา (Language area) ซึ่งทั้งสามแบบนี้ประกอบรวมกันเป็นประเทศเบลเยียม ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรเบลเยียมปี..
ดู ภาษาเยอรมันและเขตการปกครองของประเทศเบลเยียม
เขตวัลลูน
ตวัลลูน (Région wallonne; Wallonische Region; Wallonië) เรียกอีกอย่างว่า "วาโลเนีย" เป็นเขตการปกครองตามรัฐธรรมนูญของประเทศเบลเยียม ร่วมกับเขตฟลามส์และเขตเมืองหลวงบรัสเซลส์ มีเนื้อที่ 55% ของเนื้อที่ประเทศ แต่มีประชากรเป็นอันดับที่ 3 แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส แต่เขตวัลลูนก็มิได้รวมเข้ากับชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียมเหมือนในกรณีของเขตฟลามส์ซึ่งรวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับชุมชนฟลามส์ นอกจากนี้ในเขตวัลลูนยังมีประชาคมผู้ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งอยู่ในทิศตะวันออกที่มีสภาแยกดูแลในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมโดยเฉพาะ เช่นเดียวกับเขตอื่น ๆ เขตวัลลูนมีสภาและรัฐบาลดูแลกิจการภายในเขต ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เมืองหลวงของเขตคือนามูร์ มีภาษาราชการคือภาษาฝรั่งเศสและภาษาเยอรมัน ในช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม วาโลเนียนั้นเป็นเพียงอันดับสองรองจากสหราชอาณาจักรในด้านอุตสาหกรรมหนัก โดยเฉพาะการถลุงเหล็กและถ่านหิน ซึ่งนำมาซึ่งความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของเขตภูมิภาควัลลูน ตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 วัลลูนถือเป็นครึ่งหนึ่งของเบลเยียมที่ร่ำรวยที่สุด แต่ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ความสำคัญของอุตสาหกรรมหนักลดลงอย่างมาก ทำให้เขตฟลามส์นั้นก้าวหน้าขึ้นกว่าเขตวัลลูนในด้านเศรษฐกิจ ในปัจจุบันเขตวัลลูนนั้นมีปัญหาด้านอัตราผู้ไม่มีงานทำค่อนข้างสูง และยังมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อหัวประชากร (GDP per Capita) ต่ำกว่าเขตฟลามส์อย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและภาษาของทั้งสองภูมิภาคหลักของเบลเยียมนั้นได้นำพามาซึ่งปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในระดับประเทศในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เมืองหลวงของวาโลเนียตั้งอยู่ที่นามูร์ แต่เขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดนั้นคือลีแยฌ ส่วนเขตเทศบาลเดียวที่มีประชากรมากที่สุดคือ ชาร์เลอรัว เมืองใหญ่ต่างๆในวาโลเนียนั้นตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำซอมบร์ และแม่น้ำเมิส อันประกอบด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดกว่าสองในสามของเขต อันเป็นเขตอุตสาหกรรมในอดีตของเบลเยียม ด้านทิศเหนือนั้นเป็นที่ราบลุ่มภาคกลางของเบลเยียม ซึ่งเหมือนกับเขตฟลามส์ อันมีความอุดมสมบูรณ์และเหมาะสมต่อการทำเกษตรกรรม ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้นั้นเป็นเขตอาร์เดนน์ ซึ่งประกอบด้วยภูเขาสลับอย่างหนาแน่น พรมแดนของเขตวัลลูนทางด้านเหนือนั้นติดกับเขตฟลามส์ และประเทศเนเธอร์แลนด์ ด้านใต้และตะวันตกจรดกับประเทศฝรั่งเศส ส่วนทิศตะวันออกนั้นติดกับประเทศเยอรมนี และประเทศลักเซมเบิร์ก.
เขตปกครองสามัญ
ตปกครองสามัญ(Generalgouvernement, Generalne Gubernatorstwo, Генеральна губернія),เรียกอีกอย่างว่า เจอเนอรัลโกเวอร์โนเรนท์ เป็นเขตยึดครองของเยอรมันที่ได้ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการร่วมมือบุกเข้ายึดครองโปแลนด์โดยนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียตในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและเขตปกครองสามัญ
เดวิด แฮสเซลฮอฟ
วิด ไมเคิล แฮสเซลฮอฟ (David Michael Hasselhoff) หรือฉายา เดอะฮอฟ (The Hoff) เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..
ดู ภาษาเยอรมันและเดวิด แฮสเซลฮอฟ
เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์
"เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์" (The Star-Spangled Banner แปลว่า ธงอันแพรวพราวด้วยดารา) เป็นเพลงชาติประจำสหรัฐ โดยเนื้อเพลงมาจากกวีนิพนธ์ชื่อว่า "การต่อสู้พิทักษ์ป้อมแม็กเฮ็นรี่ (Defence of Fort M'Henry)" ซึ่งประพันธ์ขึ้นในวันที่ 14 กันยายน..
ดู ภาษาเยอรมันและเดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์
เดอะซิมป์สันส์
อะซิมป์สันส์ (The Simpsons) เป็นรายการการ์ตูนซิตคอมในสหรัฐอเมริกา สร้างโดย แม็ตต์ เกรนิง สำหรับ บริษัทฟ็อกซ์บรอดแคสติง มีเนื้อเรื่องตลกเสียดสีวิถีชีวิตชนชั้นกลางของชาวอเมริกัน โดยผ่านตัวละครในครอบครัวคือ โฮเมอร์, มาร์จ, บาร์ต, ลิซา และ แม็กกี โดยมีเนื้อหาเกิดที่เมืองที่ชื่อ สปริงฟิลด์ ที่ถากถางมุมมองของสังคมมนุษย์ วัฒนธรรมอเมริกัน สังคมทั้งหมดและวงการโทรทัศน์ แนวความคิดเรื่องตัวละครเกิดจากเกรนิง ก่อนที่เขาจะนำไปสร้างขึ้นเป็นตอนสั้น ๆ โดยผู้สร้าง เจมส์ แอล.
ดู ภาษาเยอรมันและเดอะซิมป์สันส์
เดนมาร์ก–นอร์เวย์
นมาร์ก-นอร์เวย์ (Dänemark-Norwegen, Danmark-Norge, Denmark-Norway) เป็นรัฐร่วมประมุขที่เกิดจากการรวมตัวระหว่างประเทศเดนมาร์กและนอร์เวย์ และรวมทั้งดินแดนอิสระไอซ์แลนด์ของนอร์เวย์ หลังจากการล่มสลายของสหภาพคาลมาร์แล้ว สองราชอาณาจักรก็ทำการตกลงรวมกันเป็นราชอาณาจักรร่วมประมุขใหม่ในปี ค.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและเดนมาร์ก–นอร์เวย์
เดเมียน
มียน (Demian) เป็นนวนิยายที่มุ่งเน้นไปยังการเจริญเติบโตทางจิตใจและคุณธรรมของตัวเอก ที่เขียนโดยแฮร์มัน เฮสเส ตีพิมพ์ครั้งแรกใน ค.ศ.
เครื่องบินขับไล่
รื่องบินจู่โจมหนึ่งลำ (เอ-10) เครื่องบินขับไล่ เป็นอากาศยานทางทหารที่ถูกออกแบบมาเพื่อการต่อสู้ทางอากาศกับอากาศยานลำอื่นเป็นหลัก มันตรงกันข้ามกับเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ถูกออกแบบมาเพื่อโจมตีภาคพื้นดินโดยการทิ้งระเบิดเป็นหลัก เครื่องบินขับไล่นั้นมีขนาดเล็ก รวดเร็ว และคล่องแคล่ว เครื่องบินขับไล่มากมายจะมีความสามารถรองในการโจมตีภาคพื้นดิน และบ้างก็มีสองบทบาทโดยเรียกว่าเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด บางครั้งคำว่าเครื่องบินขับไล่ก็ถูกใช้ร่วมกับเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดิน เครื่องบินขับไล่โดยหลักแล้วจะหมายถึงเครื่องบินติดอาวุธที่แย่งครองความเป็นจ้าวทางอากาศเหนือข้าศึกในสมรภูมิ ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง ความสำเร็จและความเหนือกว่าทางอากาศได้กลายมาเป็นปัจจัยสำคัญในชัยชนะของสงคราม โดยเฉพาะสงครามทั่วไประหว่างกองทัพปกติ (ไม่เหมือนกับสงครามกองโจร) การซื้อขาย การฝึก และการดูแลรักษากองบินเครื่องบินขับไล่จะแสดงถึงทุนที่มากมายของกองทัพนั้น.
ดู ภาษาเยอรมันและเครื่องบินขับไล่
เครื่องหมายเสริมสัทอักษร
รื่องหมายเสริมสัทอักษร เป็นเครื่องหมายที่ใช้กำกับอักษรโรมัน ซึ่งมีอยู่ในแป้นพิมพ์ ซึ่งได้แก่ เกรฟ และดับเบิลเกรฟ.
ดู ภาษาเยอรมันและเครื่องหมายเสริมสัทอักษร
เคลฟเวอร์แฮนส์
ลฟเวอร์แฮนส์แสดงความสามารถ เคลฟเวอร์แฮนส์ (Clever Hans) หรือ แดร์คลูเกอฮันส์ (der Kluge Hans)เป็นม้าพันธุ์รัสเซีย (Orlov Trotter) ตัวหนึ่ง ที่มีการอ้างว่า มันสามารถคิดเลขง่าย ๆ และแก้ปัญหาใช้สติปัญญาอื่น ๆ บางอย่างได้ แต่ว่าหลังจากได้ทำการตรวจสอบอย่างเต็มรูปแบบแล้วในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและเคลฟเวอร์แฮนส์
เคลาส์ เอบเนอร์
ลาส์ เอบเนอร์ (พ.ศ. 2550) เคลาส์ เอบเนอร์ (Klaus Ebner) (8 สิงหาคม พ.ศ. 2507, เวียนนา) เป็นนักเขียนและนักแปลชาวออสเตรีย ที่มีผลงานทั้งในภาษาเยอรมันและภาษากาตาล.
ดู ภาษาเยอรมันและเคลาส์ เอบเนอร์
เคาน์ตีแอโน
อาณาจักรเคานต์แห่งแอโน (County of Hainaut; Comté de Hainaut; Graafschap Henegouwen) เป็นดินแดนในประวัติศาสตร์ในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ปกครองโดยเคานต์แห่งแอโน อาณาจักรเคานต์แห่งแอโนประกอบด้วยจังหวัดแอโนในเบลเยียมปัจจุบันและทางตอนใต้ของจังหวัดนอร์ของฝรั่งเศส ในสมัยโรมันแอโนตั้งอยู่ในจังหวัดโรมันชื่อแกลเลียเบลจิกาและโลว์เออร์เจอร์เมเนีย และเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเคลต์จนกระทั่งมาแทนด้วยชนเจอร์มานิคที่เป็นการยุติอำนาจการปกครองของจักรวรรดิโรมัน ในปัจจุบันอาณาจักรเคานต์แห่งแอโนเดิมตั้งอยู่ในเบลเยียมและฝรั่ง.
เตเฌเว โปส
รถไฟความเร็วสูงเตเฌเว โปส หมายเลข 4401 ของฝรั่งเศส ขณะวิ่งทดสอบด้วยความเร็ว 330 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถไฟความเร็วสูงเตเฌเว โปส หมายเลข 4402 ในโครงการ V150 ในขณะกำลังวิ่งทดสอบในการทำลายสถิติโลก เตเฌเว โปส (TGV POS) หมายเลข 4401-4419 เป็นหนึ่งในรถไฟความเร็วสูงที่ให้บริการโดยบริษัททางรถไฟแห่งชาติฝรั่งเศส (SNCF) และสร้างขึ้นโดยบริษัทอาลสตอม (Alstom) ปัจจุบันเตเฌเว โปส หมายเลข 4402 (ใช้ชื่อว่า V150) สามารถทำลายสถิติความเร็วที่สุดในโลกที่รถไฟเตเฌเว อัตล็องติก (TGV Atlantique) หมายเลข 325 เคยทำไว้ โดยทำความเร็วได้สูงสุดถึง 574.8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในการวิ่งทดสอบเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.
เซฟวิ่ง ไพรเวท ไรอัน ฝ่าสมรภูมินรก
ซฟวิ่ง ไพรเวท ไรอัน ฝ่าสมรภูมินรก (Saving Private Ryan) เป็นภาพยนตร์สัญชาติอเมริกันออกฉายในกลางปี ค.ศ. 1998 นำแสดงโดย ทอม แฮงค์, เอ็ดเวิร์ด เบิร์นส์, ทอม ไซส์มอร์, แบร์รี่ เป็ปเปอร์, วิน ดีเซล, จิโอวานนี่ ริบิซี่, อดัม โกลด์เบิร์ก, แมตต์ เดม่อน และ เจเรมี เดวีส์ กำกับการแสดงโดย สตีเวน สปีลเบิร์ก.
ดู ภาษาเยอรมันและเซฟวิ่ง ไพรเวท ไรอัน ฝ่าสมรภูมินรก
เซลล์รับกลิ่น
แผนภาพของเซลล์ประสาทรับกลิ่น เซลล์ประสาทรับกลิ่น (olfactory receptor neuron ตัวย่อ ORN, olfactory sensory neuron ตัวย่อ OSN) เป็นเซลล์ที่ถ่ายโอนกลิ่นเป็นกระแสประสาทภายในระบบรับกลิ่น เป็นเซลล์ที่อยู่ภายในเยื่อรับกลิ่นที่บุบางส่วนของโพรงจมูก (ประมาณ 5 ซม2 ในมนุษย์) บริเวณยอดเซลล์จะมีเส้นขนเล็ก ๆ (olfactory cilia) ที่ทำหน้าที่จับโมเลกุลกลิ่นจากสิ่งแวดล้อมที่เข้ามาภายในรูจมูก เซลล์จะถ่ายโอนกลิ่นเป็นกระแสประสาทแล้วส่งผ่านเส้นประสาทรับกลิ่น (olfactory nerve) ซึ่งวิ่งผ่านรูในกระดูก cribriform plate เหนือโพรงจมูกขึ้นไปยังป่องรับกลิ่นในสมอง การรับกลิ่นของมนุษย์จะไม่พัฒนาเทียบเท่ากับสัตว์บางชนิดเช่นสุนัข ซึ่งมีประสาทรับกลิ่นที่ดีเยี่ยม.
ดู ภาษาเยอรมันและเซลล์รับกลิ่น
เซลีน ดิออน
ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ เซลีนดิออน (อัลบั้ม) เซลีน มารี โกลแด็ต ดียง (Céline Marie Claudette Dion) หรือ เซลีน ดียง (Céline Dion; IPA) หรือ เซลีน ดิออน ตามสำเนียงภาษาอังกฤษ (สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งแคนาดา ชั้นจตุรถาภรณ์ (OC), สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งควิเบก ชั้นจตุรถาภรณ์ (OQ) และสมาชิกเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์แห่งฝรั่งเศส ชั้นเบญจมาภรณ์CelineDion.com.
เซเบิล
ซเบิล (sable) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae).
B
B (ตัวใหญ่:B ตัวเล็ก:b ออกเสียง บี) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 2 ใช้แทนเสียงพยัญชนะจากริมฝีปาก (ขึ้นกับแต่ละภาษา) มักจะเป็นเสียงกัก ริมฝีปาก ก้อง.
C
C (ตัวใหญ่:C ตัวเล็ก:c) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 3.
Ch (ทวิอักษร)
Ch Ch เป็นทวิอักษรที่พบได้ในหลาย ๆ ภาษา ในบางภาษาจะจัดใช้ ch เป็นอักษรเดี่ยว โดยในพจนานุกรมก็จะไม่ได้รวมอยู่ในหมวดเดียวกับอักษร c แต่จะแยกออกไปต่างหาก อักษร ch ใช้แทนเสียงที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษ.
ดู ภาษาเยอรมันและCh (ทวิอักษร)
D
D (ตัวใหญ่:D ตัวเล็ก:d) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 4.
Deutsch
Deutsch เป็นคำศัพท์ภาษาเยอรมัน ซึ่งหมายถึง ตัวภาษาเยอรมันนั่นเอง.
E
E (ตัวใหญ่:E ตัวเล็ก:e) เป็นอักษรละตินตัวที่ 5.
F
F (ตัวใหญ่:F ตัวเล็ก:f) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 6.
G
G เป็นอักษรลำดับที่ 7 ในอักษรละติน.
H
H (ออกเสียงว่า เอช หรือเฮช"H" Oxford English Dictionary, 2nd edition (1989); Merriam-Webster's Third New International Dictionary of the English Language, Unabridged (1993); "aitch", op. cit.) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 8 ในการออกเสียงตามสัทอักษรสากลแสดงด้วยเสียง 2 เสียง คือ แสดงเสียงในลักษณะเสียงเสียดแทรก เส้นเสียง ไม่ก้อง และ แสดงเสียงในลักษณะเสียงเสียดแทรก ลิ้นปิดกล่องเสียง ไม่ก้อง.
I
I เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 9.
ISO 639-2
ISO 639-2 เป็นส่วนที่สองของมาตรฐาน ISO 639 ที่จะใช้รหัสตัวอักษรภาษาอังกฤษแทนภาษาต่างๆ ซึ่งมาตรฐานชุดนี้ประกอบด้วย กลุ่มของตัวอักษร 3 ตัว แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกใช้แทนชื่อของภาษาที่ใช้ใน งานบรรณาณุกรม (bibliographic applications) และกลุ่มที่สองใช้ใน งานที่ต้องเกี่ยวกับบัญญัติศัพท์ (terminology applications) รหัสที่ใช้แทนภาษาของทั้งสองกลุ่มเหมือนกันยกเว้นเพียง 23 ภาษา จากภาษาทั้งหมดมากกว่า 450 ภาษา ทั้งนี้เนื่องจากเงื่อนไขในการสร้างรหัสนั้น การใช้รหัสแทนภาษามาตรฐานนี้เริ่มต้นมาจากการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด การให้บริการข้อมูลต่างๆ ตลอดจนงานพิมพ์ ที่ต้องใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล รหัสเหล่านี้ได้มีการใช้แพร่หลายในกลุ่มงานห้องสมุด และต่อมาได้มีการปรับนำมาใช้โดยกลุ่มของนักภาษาศาสตร์ และในกลุ่มงานที่ต้องการคำนิยามเฉพาะ ซึ่งมาตรฐานส่วนนี้ได้มีการพัฒนาขึ้นโดยมีพื้นฐานจากความต้องการใช้ภาษานั้นๆที่มีการใช้อย่างแพร่หลายอยู่ทั่วโลก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ไม่รวมถึงโปรแกรมภาษาလိၵ်ႈတၢႆးလိၵ်ႈထ.
ISO 639-3
มาตรฐาน ISO 639-3 เป็นมาตรฐานกำหนดรหัสของภาษามนุษย์ทั้งหมดเท่าที่ทราบว่ามี โดยใช้ตัวอักษรละตินสามตัวเป็นรหัสแทนแต่ละภาษา ภาษาที่รวมใน ISO 639-3 นี้ รวมถึงภาษาที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน ภาษาโบราณ ภาษาที่ไม่มีการใช้แล้ว ตลอดทั้งภาษาที่ประดิษฐ์ขึ้น รวมถึงภาษาหลักและภาษารอง ทั้งที่มีตัวอักษรเขียนและที่ไม่มี.
J
J (เจ) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 10 เป็นตัวอักษรตัวสุดท้ายที่ถูกเพิ่มเข้ามาในอักษรละติน.
K
K (ตัวใหญ่:k ตัวเล็ก:k) เป็นอักษรละติน นับเป็นอักษรตัวที่ 11 ของอักษรในภาษาอังกฤษ.
L
L (ตัวใหญ่:L ตัวเล็ก:l) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 12.
Mac OS X Public Beta
Mac OS X Public Beta (รหัสโปรเจกต์: Kodiak) เป็นระบบปฏิบัติการรุ่นเบต้าแรก ๆ ของคอมพิวเตอร์แมคอินทอชจากบริษัทแอปเปิล ปล่อยตัวออกตลาดเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.
ดู ภาษาเยอรมันและMac OS X Public Beta
N
N (ตัวใหญ่:N ตัวเล็ก:n) เป็นอักษรละตินในลำดับที่ 14.
None but the lonely heart
None but the lonely heart โอปุสที่ 6 เพลงที่ 6 (Нет, только тот, кто знал, ''Net, tol'ko tot, kto znal''.) เป็นผลงานประพันธ์ดนตรีเพื่อขับร้องและบรรเลงด้วยเปียโน ผลงานของปีเตอร์ ไชคอฟสกีในปี..
ดู ภาษาเยอรมันและNone but the lonely heart
On War
thumb On War (Vom Kriege) เป็นตำราพิชัยสงครามแต่งโดย คาร์ล เคลาเซวิทซ์ (Carl von Clausewitz) ในปี..
P
P (ตัวใหญ่: P ตัวเล็ก: p) เป็นอักษรละติyyน ลำดับที่ 16.
Ph (ทวิอักษร)
Ph หรือ ph เป็นทวิอักษรที่พบได้ในภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน และภาษาอื่นโดยส่วนใหญ่ใช้แทนเสียง ฟ ซึ่งมีเสียง โดยคำศัพท์ในภาษาอังกฤษที่มีอักษร ph ส่วนใหญ่เป็นคำศัพท์ที่มาจากภาษากรีก ในการถอดจากอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน กำหนดให้ ph ใช้แทนอักษร พ ภ ผ ซึ่งมีเสียง ในขณะที่การทับศัพท์จากภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นมาเป็นภาษาไทย กำหนดให้ ph แทนด้วยอักษร ฟ.
ดู ภาษาเยอรมันและPh (ทวิอักษร)
Q
Q (ตัวใหญ่:Q ตัวเล็ก:q) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 17.
R
R (อาร์) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 18 ในอักษรละติน.
S
S (ตัวใหญ่: S ตัวเล็ก: s) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 19.
Salut d'Amour
หน้าปกชีทมิวสิก ฉบับพิมพ์ครั้งแรก Salut d'Amour, Op.
ดู ภาษาเยอรมันและSalut d'Amour
SIL
SIL International เป็นองค์กรทางวิทยาศาสตร์ที่ไม่หวังผลกำไร มีจุดประสงค์หลักคือ ศึกษา พัฒนา และบันทึกภาษาที่ไม่เป็นที่รู้จัก เพื่อขยายความรู้ด้านภาษาศาสตร์, ศึกษาภาษาต่าง ๆ บนโลก และช่วยพัฒนาภาษาของชนกลุ่มน้อย องค์กรนี้ให้บริการข้อมูลด้านภาษาผ่านทางเว็บไซต์ SIL ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาของยูเนสโก และสหประชาชาติ นอกจากนี้ยังได้รับฐานะเป็นองค์กรที่ไม่หวังผลกำไรในหลาย ๆ ประเท.
T
T (ตัวใหญ่:T ตัวเล็ก:t) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 20.
Th (ทวิอักษร)
Th ในอักษรละตินเป็นทวิอักษรหรืออักษรสองตัวที่ใช้แทนเสียงเดียว โดยพบได้ในระบบการเขียนหลายภาษาของยุโรป ที่ใช้อักษรโรมันและกรีกเป็นหลัก ในภาษาอังกฤษ อักษร th มักจะออกเสียงในแบบเสียงเสียดแทรกจากฟันได้สองลักษณะ คือ ลักษณะเสียงก้อง ออกเสียงเป็น (ในคำว่า this) และลักษณะเสียงไม่ก้อง ออกเสียงเป็น (ในคำว่า think) อย่างไรก็ตาม ในภาษาอังกฤษสมัยกลาง (Middle English) มีการใช้อักษรสำหรับแต่ละเสียงโดยเฉพาะ นั่นคือ อักษร และ สำหรับในภาษาอื่น เช่น ภาษาเยอรมัน th ออกเสียงเป็นเสียง ในภาษาแอลเบเนีย ออกเสียง และยังคงถือว่าตัวอักษร Th เป็นตัวอักษรที่ 29 ของตัวอักษรทั้งหมด โดยอยู่ระหว่าง T และ U ในภาษาไทย เนื่องจากไม่มีเสียงอักษรไทยที่ใกล้เคียงกับ และ ตามกฎของราชบัณฑิตยสถานที่ใช้ในเอกสารของทางราชการไทย กำหนดให้ การถอดเสียงภาษาอังกฤษ มาเป็นภาษาไทย ให้ถอดตัวอักษร th มาเป็นตัวอักษร ด หรือ ท ขึ้นอยู่กับการออกเสียง (ซึ่งออกเสียง และ ใกล้เคียงกับเสียง และ ตามลำดับ) ในบางครั้งจะเกิดปัญหาที่คำทับศัพท์มีการซ้ำซ้อน เช่นคำว่า "thank" และ "tank" เมื่อทับศัพท์ออกมาตามหลัก แล้วรูปจะเหมือนกัน คือ "แทงก์" แต่การออกเสียงแตกต่างกัน นอกจากนี้ยังมีบางกลุ่มที่ถอดเสียง เป็น.ธง เพื่อเปรียบต่างกับเสียง ที่เป็น ท.ทหาร เช่นในคำว่า มาราธอน (marathon).ธง สำหรับในคำทับศัพท์นี้แสดงถึงเสียง สำหรับการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง กำหนดให้ตัวอักษร ฐ ฒ ถ ธ ท ถอดเป็นตัวอักษร th ในภาษาอังกฤษ ซึ่งออกเสียง.
ดู ภาษาเยอรมันและTh (ทวิอักษร)
U
U (ตัวใหญ่:U ตัวเล็ก:u) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 21 ซึ่งในภาษาอังกฤษอ่านว่า "ยู" ในขณะที่เยอรมัน อิตาลี สเปน และฝรั่งเศส เรียกว่า "อู" ในขณะเดียวกันในประเทศไทยนิยมเรียกว่า "ยู" เช่นเดียวกับใน ภาษาญี่ปุ่น เรียกว่า "ยู" (ユー).
V
V (ตัวใหญ่:V ตัวเล็ก:v) เป็นอักษรละติน ตัวที่ 22.
W
W (ตัวใหญ่:W ตัวเล็ก:w) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 23.
WWWJDIC
WWWJDIC เป็นพจนานุกรมภาษาญี่ปุ่นออนไลน์ ซึ่งมีพื้นฐานมาจากพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ที่แปลและรวบรวมโดย จิม บรีน (Jim Breen) นักวิชาการชาวออสเตรเลีย แฟ้มพจนานุกรมหลักแปลจากภาษาญี่ปุ่นไปเป็นภาษาอังกฤษ และแปลจากภาษาอังกฤษไปเป็นภาษาญี่ปุ่น (EDICT) มีคำศัพท์ประมาณ 130,000 รายการ (และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ) มีพจนานุกรมการอ่านชื่อเฉพาะในภาษาญี่ปุ่น (ENAMDICT) กว่าแสนชื่อ และยังมีพจนานุกรมเฉพาะทางเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ นิติศาสตร์ คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมศาสตร์ ฯลฯ ให้เลือกแปล นอกจากจะสามารถแปลเป็นภาษาอังกฤษแล้ว ยังสามารถแปลเป็นภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย ภาษาฮังการี และภาษาสวีเดนได้ด้วย WWWJDIC เป็นการใช้ประโยชน์จากรุ่นปรับแต่งของ แฟ้มข้อความสาธารณสมบัติ เป็นการรวบรวมประโยคต่างๆ ในภาษาญี่ปุ่นแล้วแปลจับคู่กับภาษาอังกฤษ ซึ่งมีจำนวนมากกว่า 160,000 คู่ในรุ่นปัจจุบัน ส่วนข้อมูลแฟ้มพจนานุกรมสามารถดาวน์โหลด แก้ไข และคัดลอกได้อย่างเสรี เนื่องจากอยู่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ ประเภท Attribution-ShareAlike รุ่น 3.0 การเข้าถึงนอกจากจะสามารถเปิดเว็บไซต์โดยตรงได้แล้ว ยังสามารถใช้กับกล่องค้นหาในไฟร์ฟอกซ์ และมีแถบเครื่องมือสืบค้นที่สามารถเชื่อมโยงมายังเว็บไซต์ เว็บไซต์หลักของ WWWJDIC ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยโมนาช (Monash University) ประเทศออสเตรเลีย ปัจจุบันมีไซต์เสมือนอีก 5 แห่งได้แก่ กลุ่มวิจัยและพัฒนาพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ สหรัฐอเมริกา, ศูนย์วิจัยแห่งชาติ ประเทศแคนาดา, มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, ประเทศสวีเดน, และที่สหภาพยุโรป.
X
X เป็นอักษรละตินลำดับที่ 24 ซึ่งในภาษากรีกตัวอักษร X อ่านว่า "ไค" ตัวอักษร X เป็นตัวอักษรที่ไม่มีในภาษาอิตาลียกเว้นคำยืมจากภาษาอื่น และไม่มีคำศัพท์ภาษาอังกฤษดั้งเดิมขึ้นต้นด้วยตัวอักษร X ในภาษาอังกฤษบางครั้งจะอ่านเหมือนคำว่า ไค ใช้แทนคำว่า คริสต์ ซึ่งเห็นได้ใน X'mas (คริสต์มาส) และมีการใช้ซึ่งอ่านว่า "ครอส" แทนเครื่องหมายไขว้ เช่นในคำว่า Xing.
Y
Y (ตัวใหญ่:Y ตัวเล็ก:y) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 25.
Z
Z (ตัวใหญ่:Z ตัวเล็ก:z) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 26 และเป็นลำดับสุดท้.
Х
Kha หรือ Ha (Х, х) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือนเสียงของ ch ในคำว่า Bach ของภาษาเยอรมัน แต่เมื่ออักษรตัวนี้สะกดตามมาด้วยสระที่ออกเสียงเลื่อนไปทางเพดานแข็ง จะออกเสียงเป็น // ซึ่งมักจะออกเสียงรวมไปกับพยางค์อื่นแทนที่จะออกเสียงแยกกัน อักษรตัวนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ไค (Χ, χ) มีรูปร่างเหมือนอักษรละติน X ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ xěrǔ และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 600.
Ц
Tse (Ц, ц) คืออักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีลักษณะคล้ายอักษรละติน U ที่เป็นเหลี่ยมและมี "ติ่ง" ที่มุมล่างขวา ใช้แทนเสียง เหมือนในคำว่า cats ในภาษาอังกฤษ อักษร Tse เป็นอักษรตัวที่ 23 ในภาษารัสเซีย และถูกพิจารณาว่ามีพัฒนาการมาจากอักษรฮีบรู Tsadi ในลักษณะของอักษรท้ายคำ (ץ) และอักษรกลาโกลิต Tsi (รูปภาพ: 14px) อักษรนี้มีชื่อเดิมว่า ci หรือ tsi และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 900 อักษร Tse สามารถถ่ายอักษรได้เป็น ts แต่อย่างไรก็ดี ชื่อเฉพาะบางอย่างอาจถ่ายอักษรเป็น c, z, cz หรือ tz ก็มี สำหรับภาษารัสเซีย คำที่ใช้อักษรนี้ส่วนใหญ่เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น โดยเฉพาะคำในภาษาละตินที่มีอักษร C เช่น цирк (circus), центр (center) และภาษาเยอรมันที่มีอักษร Z เช่น плац (Platz), цинк (Zink) เป็นต้น ส่วนคำที่เป็นภาษารัสเซียแท้ก็พบได้น้อย อย่างเช่น царь (Tsar) และแทบจะไม่ปรากฏเลยในภาษาสลาวิกยุคเริ่มแรก ตามอักขรวิธีของภาษารัสเซีย อักษร Ц แทบจะไม่ถูกต่อท้ายด้วย Ы เว้นแต่จะเป็นจำนวนพหูพจน์ หรือคำคุณศัพท์บอกจำนวน.
Ш
Sha (Ш, ш) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียงพยัญชนะ // หรือ // ซึ่งออกเสียงคล้ายกับ sh ในภาษาอังกฤษ ch ในภาษาฝรั่งเศส sch ในภาษาเยอรมัน ş ในภาษาตุรกี หรือ sz ในภาษาโปแลนด์ ส่วนกลุ่มภาษาสลาวิกที่ใช้อักษรละตินจะเขียนอักษร š แทนเสียงดังกล่าว ซึ่งนักภาษาศาสตร์ก็ใช้อักษร š สำหรับถ่ายอักษร Ш ไปเป็นอักษรละตินเช่นกัน ลักษณะตัวพิมพ์ของอักษรนี้มีรูปร่างคล้ายอักษรละติน W หรือเหมือนยิ่งกว่าโดยนำอักษร E มาวางตะแคง อักษร Ш ถูกใช้ในทางที่หลากหลาย อย่างในทางคณิตศาสตร์ Tate-Shafarevich group จะใช้สัญลักษณ์เป็น Ш ซึ่งแนะนำให้ใช้เป็นครั้งแรกโดย เจ.
Щ
Shcha หรือ Shta (Щ, щ) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // หรือ // ในภาษารัสเซีย, // หรือ // ในภาษายูเครน และ // ในภาษาบัลแกเรีย เริ่มแรกอักษรตัวนี้เป็นอักษรรวมระหว่าง Ш กับ Т ที่มี descender อยู่ตรงกลาง และมีพัฒนาการมาจากอักษรกลาโกลิต Shta (รูปภาพ: 14px) อักษรตัวนี้ค่อนข้างมีความยุ่งยากในการทับศัพท์ ในทางภาษาศาสตร์จะถ่ายอักษรเป็น šč ในภาษาอังกฤษจะเปลี่ยนเป็น shch และในภาษาเยอรมันจะเปลี่ยนเป็น schtsch ซึ่งต้องใช้มากถึง 7 ตัวเพื่อแปลงอักษรเพียงตัวเดียว.
7 ปี โลกไม่มีวันลืม
ซเวนเยียร์สอินทิเบต (Seven Years in Tibet) เป็นภาพยนตร์ที่สร้างจากหนังสืออัตชีวประวัติของไฮน์ริค ฮาร์เรอร์ นักไต่เขาชาวออสเตรียที่ใช้ชีวิตอยู่ในทิเบตระหว่างปี..
ดู ภาษาเยอรมันและ7 ปี โลกไม่มีวันลืม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ German language
การถอดเสียงการทับศัพท์ภาษาเยอรมันการทดลองทางความคิดการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983การเดินทางของคิโนะกางเขนแพตตีกาเลวาลากุสตาฟ มาห์เลอร์กูดบาย เลนิน!กูเกิล แปลภาษากแดโดโมฟมูยญาบิรฐานข้อมูลโครงสร้างฝั่ม ถิ ฮหว่ายฝ่ายปกครองทหาร (นาซีเยอรมนี)ภาษาฟินแลนด์ภาษากอกบอรอกภาษาฝรั่งเศสภาษายักโนบีภาษายิดดิชภาษายูราร์เทียภาษาลาดิโนภาษาสเปนภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษแบบบริติชภาษาอิดอภาษาจีนฮกเกี้ยนสำเนียงไต้หวันภาษาของชาวยิวภาษานาอูรูภาษาโวลาปุกภาษาเชเชนภาษาเลปชาภาษาเอสเปรันโตมหาวิทยาลัยศิลปะเบอร์ลินมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกนมหาวิทยาลัยเกอเทอแห่งแฟรงก์เฟิร์ตมหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลินมหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเบอร์ลินมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์มาริโอ้ เมาเร่อมารี อ็องตัวแน็ตมารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กมารี เบิร์นเนอร์มาร์ลีส์ อัสคัมป์มาเรีย ลูโดวีกา แห่งออสเตรีย-เอสเตมิดเดิลเอิร์ธมูฮัมมัด อิกบาลมีป คีสมีไซอาห์ (แฮนเดิล)มณฑลลีแยฌมนตร์น้ำหมึกยอดนักสืบจิ๋วโคนันยาฮู! รู้รอบยาแก้ซึมเศร้ายิ้มไว้โลกนี้ไม่มีสิ้นหวังยึม กิจจแสยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กยุทธการเดือดเชือดนาซียุโรปตะวันตกยูฟ่าระบำมรณะรัฐชวีซรัฐบาเซิล-ชตัดท์รัฐบาเซิล-ลันท์ชัฟท์รัฐกลารุสรัฐวาเลรัฐสมาชิกสหภาพยุโรปรัฐอัศวินทิวทันรัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวียรัฐอาร์เการัฐผู้พิทักษ์แห่งเซอร์เบียรัฐผู้คัดเลือกพาลาทิเนตรัฐทัวร์เการัฐของประเทศสวิตเซอร์แลนด์รัฐของประเทศออสเตรียรัฐซือริชรัฐซูครัฐโซโลทวร์นรัฐเกราบึนเดินรัมสไตน์ราชรัฐมุขนายกบริกเซินราชรัฐมุขนายกลีแยฌราชรัฐลิพเพอราชอาณาจักรบาวาเรียราชอาณาจักรฮังการีราชอาณาจักรซัคเซินราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรโบฮีเมียราชอาณาจักรโรมาเนียเก่าราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1916–1918)ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ครายชื่อภาษารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)รายชื่อนิยายปรัมปรารายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรถไฟฟ้าปารีสฤดูหนาวลอสต์อินดิเอ็กโคลักษณะบุคลิกภาพใหญ่ 5 อย่างลาบราบ็องซอนลาพร็องตีซอร์ซีเยลาเกอร์ลิงค์ (ภาษาศาสตร์)ลูอีสแห่งเนเธอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ลูเซิร์นล็อยเคอร์บาทวลาดีมีร์ คลิทช์โกวันทาพระราชินีวาทยกรวิกฤติรักแดนเบอร์ลินวิกิพีเดียภาษาเยอรมันวิลนีอุสวิลเลียม เชกสเปียร์วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เกนวิทยาการคอมพิวเตอร์สภายุโรปสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจสมพล ปิยะพงศ์สิริสมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์สมาพันธรัฐเยอรมันสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือสมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีนาถเจดวิกาแห่งโปแลนด์สมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 6สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสหพันธรัฐออสเตรียสหภาพยุโรปสหรัฐสัทอักษรสากลสันนิบาตสตรีชาติสังคมนิยมสันนิบาตนักเรียนชาติสังคมนิยมเยอรมันสาวทรงเสน่ห์สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2สาธารณรัฐไวมาร์สาธารณรัฐเทกซัสสีขาวสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริกสงคราม ความหวัง บัลลังก์ เกียรติยศสงครามเกียรติยศ มิตรภาพเหนือพรมแดนสตัดเฮาเดอร์สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนีสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลียสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดสโนว์ไวต์หม่อมหลวงมานิจ ชุมสายหม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากรหลักระวังไว้ก่อนหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภาหลุยส์ ดูว์ครุแอหลุยส์แห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์หลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กหงส์หน่วยคำเติมห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ออร์เคสตราอะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์อะเวอักษรรูนอักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์อักษรฮีบรูอักขรวิธีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์อันฮัลท์-แบร์นบูร์กอันฮัลท์-เดสเซาอันฮัลท์-เคอเทินอันโตญีน ดโวชากอันเดรีย กาสิรากีอาการคันต่างที่อาร์ชดยุกฟรันซ์ คาร์ลแห่งออสเตรียอาร์ชดยุกลุดวิก วิกเตอร์แห่งออสเตรียอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิจ แห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสมาเรีย คลีเมนติน่าแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสมาเรีย คาโรลีเนอแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสมาเรีย เอลีซาเบทแห่งออสเตรีย (ค.ศ. 1743–1808)อาร์ชดัชเชสจิเซลาแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสเอลิซาเบธ มารีแห่งออสเตรียอาร์คีออปเทอริกซ์อาร์แซน แวงแกร์อาร์โน อัสส์มันน์อาคารแห่งหนังสืออาเราอาเคินอิสเตรียอินส์บรุคอุ๊ยส์! คันอะไรในกุงเกง (อีกแล้ว)อู-571 ดิ่งเด็ดขั้วมหาอำนาจอี ย็อง-แออีวานวาซีเลียวิชเมนยาเอตโปรเฟสซียูอีซาแบล อาจานีองค์การอวกาศยุโรปอเล็กซันดรา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์กอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)ฮอยเทอฮัมบวร์คฮีมาโทคริตฌูว์ลี แดลปีจอห์น ฟอน นอยมันน์จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซียจักรพรรดิเปดรูที่ 1 แห่งบราซิลจักรวรรดิสวีเดนจักรวรรดิออสเตรียจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิเยอรมันจันนี อินฟันตีโนจำนวนเต็มจิตรกรรมฝาผนังจิน คาริยะจีเมลธงชาติเยอรมนีทรีเซินแบร์กทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดลทะมะ (แมว)ทาลลินน์ทาเกสเชาทิลล์ ออยเลนชปีเกลท่าอากาศยานชตุทท์การ์ทท่าอากาศยานฮัมบวร์คท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงก์เฟิร์ตท่าอากาศยานนานาชาติเวียนนาท่าอากาศยานโคโลญบอนน์ข้าคือวีเซิลณัฐพิมล นาฏยลักษณ์ดมีตรี ชอสตโกวิชดอมดอคูเมนทาดัชชีดัชชีลิมบูร์กดัชชีวอร์ซอดัชชีสติเรียดัชชีคูร์ลันด์และเซมีกัลเลียดัชชีซาวอยดัชชีปรัสเซียดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรียดัชเชสไอลีคาแห่งโอลเดินบูร์กดัชเชสเอลีซาเบทแห่งเวือร์ทเทมแบร์กดับเบิลยูดับเบิลยูอี ซูเปอร์สตาร์ดาส โบทดิวโอลิงโกดินแดนใต้การปกครองร่วมบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาดิเอดจ์ออฟกลอรีดีเบลชทรอมเมิลคริสตอฟ ดินเซนฮอฟเฟอร์คริสต์มาสคริสต์ศตวรรษที่ 16ความผิดปกติทางบุคลิกภาพความถี่วิทยุความตลกขบขันคอมมานด์ & คองเคอร์คอสมาส ดาเมียน อาซามคองเกรสโปแลนด์คอปเปเลียคาบสมุทรจัตแลนด์คำกริยาวิเศษณ์คำปฏิญาณโอลิมปิกคำนำหน้าชื่อคิลเลียน อิกนาซ ดินเซนฮอฟเฟอร์คิดดี้เกรดคินเดอร์โทเทนลีเดอร์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนาค่ายกักกันเอาชวิทซ์งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 89งูปล้องฉนวนง้องแง้งกับเงอะงะตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนตราแห่งความอัปยศตลาดหลักทรัพย์แฟรงก์เฟิร์ตตั้ว ลพานุกรมตารยา ฮาโลเนนตุ๊ดตู่ซัคเซิน-อัลเทนบูร์กซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซัคเซิน-ไวมาร์ซังคท์โมริทซ์ซาราห์ ไบรท์แมนซาลซ์บูร์กซานเตียโก รามอน อี กาฮาลซิกฟรีดซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์)ซิมโฟนีหมายเลข 9 (เบโทเฟน)ซิมโฟนีหมายเลข 94 (ไฮเดิน)ซูสีไทเฮาซูเดเทินลันด์ซียูไรเตอร์ซีรีปมฆ่าปริศนาพันล้านประชากรศาสตร์กัมพูชาประชาธิปไตยเสรีนิยมประมวลกฎหมายแพ่งสวิสประวัติพระพุทธเจ้าประวัติศาสตร์ออสเตรียประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990)ประเทศลักเซมเบิร์กประเทศลิกเตนสไตน์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศออสเตรียประเทศอิตาลีประเทศนามิเบียประเทศโรมาเนียประเทศเบลเยียมประเทศเยอรมนีประเทศเยอรมนีตะวันออกประเทศเยอรมนีตะวันตกประเทศเดนมาร์กปรัสเซียปรากปรากฏการณ์แม็คเกอร์กปลาแสงอาทิตย์ปวดร้าวแห่งสงครามปิดตำนานบุรุษล้างโลกปืนเล็กยาวจู่โจมปูมะพร้าวปีเตอร์ สกิลลิงปีเตอร์หัวกระเซิงป้อมปืนนาวาโรนนกกระจอกบ้านนอสเฟอราตูนักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์นาซีเยอรมนีนิมนีโค รอสแบร์กนครรัฐวาติกันนโปเลียนที่ 2แบร์นแกรนด์ดัชชีออลเดนบูร์กแกรนด์ดัชชีเฮ็สเซินแกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซียแกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซียแมกซ์ ฟอน ซีโดวแมรี เคแซตแม่แม่ชีเทเรซาแม่พระมหาการุณย์แม่น้ำดานูบแร็กคูนแล้วดวงตะวันก็ฉายแสงแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนีแอกุกกา (จักรวรรดิเกาหลี)แอล. แอล. ซาเมนฮอฟแอสกีแองเตอร์นาซิอองนาลแฮมสเตอร์แท่นทดสอบที่ 6แดรกคูลาแด็กซันด์แคว้นอาลซัสแคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจแคโรไลน์ อเมลีแห่งออกัสเตนเบิร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กแนวร่วมดำโฟร์สแควร์โฟล์กสวาเกน เจ็ตตาโฟโต้สเกปโมโมโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สองโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่งโยฮันน์ มิเคล ฟ็อยค์เมเยอร์ (ผู้ลูก)โยฮันน์ ดินเซนฮอฟเฟอร์โยเซฟ อันทอน ฟอยช์ทมาเยอร์โรครินเดอร์เปสต์โรคใคร่เด็กโรงเรียนกัลยาณวัตรโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม)โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรีโรงเรียนทวีธาภิเศกโรงเรียนปทุมเทพวิทยาคารโรงเรียนไชยาวิทยาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโลก (ดาวเคราะห์)โออิตะมิโยะชิไวส์เซออัดเลอร์โอเอส/2โฮเอินโซลเลิร์น-ซิกมาริงเงินโฮเซ รีซัลโจเซฟ พูลิตเซอร์โคจิมะ เก็นตะโซลเลิร์นโปเกมอน ซันและมูนไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนลไฟลท์แพลน เที่ยวบินระทึกท้านรกไกลบ้านไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์ไวโอลินไส้กรอกไอพอดชัฟเฟิลไอน์แฮนเดอร์ไฮน์ริค ฮาร์เรอร์ไซยาโนเจนมอดไซลีเซียเบอร์ลินเบอร์เซิร์กเบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคเบเกิลเฟือสท์เพลงชาติเชโกสโลวาเกียเกมลูกแก้วเกรกอร์ เมนเดลเกลกุ๊กเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เยอรมันเยื่อบุผิวรับกลิ่นเยนส์ คือห์เนเรือของธีเซียสเลินฮาร์ด ดินเซนฮอฟเฟอร์เลนเนิร์ดเล่ห์กลกับความรักเวอร์วูล์ฟ (ปฏิบัติการทางทหาร)เสรีนครลือเบ็คเสรีนครดันท์ซิชเสอ ซือม่านเสียงพยัญชนะนาสิกเสียงกัก เพดานอ่อน ก้องเสียงเสียดแทรก ปุ่มเหงือก ก้องเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้องเอเอชเอ็มเอส พินนาฟอร์เอมิล ยอดนักสืบเอมิล เคร็บส์เอลฟ์เอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียเอลเลนส์ดริทเทอร์เกซังเอสวอยซ์เอสอาร์เอฟ 1เอสเอ็มเอฟเอสเซทท์เฮลเวติกาเจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจงกีส ข่าน (วงดนตรี)เจ้าชายกีโยม แกรนด์ดยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายวิลเฮล์ม มกุฎราชกุมารแห่งปรัสเซียเจ้าชายโยคิมแห่งเดนมาร์กเจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์กเจ้าชายไมเคิลแห่งปรัสเซียเจ้าหญิงชาร์ลอตแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่นเจ้าหญิงคิโกะ พระชายาในเจ้าชายฟูมิฮิโตะเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มาเจ้าหญิงนอราแห่งลิกเตนสไตน์เจ้าหญิงแคโรไลน์แห่งบาเดินเจ้าหญิงโซฟีแห่งบาวาเรียเทคก้าแมนเบลด IIเขายุงเฟราเขตการปกครองของประเทศเบลเยียมเขตวัลลูนเขตปกครองสามัญเดวิด แฮสเซลฮอฟเดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์เดอะซิมป์สันส์เดนมาร์ก–นอร์เวย์เดเมียนเครื่องบินขับไล่เครื่องหมายเสริมสัทอักษรเคลฟเวอร์แฮนส์เคลาส์ เอบเนอร์เคาน์ตีแอโนเตเฌเว โปสเซฟวิ่ง ไพรเวท ไรอัน ฝ่าสมรภูมินรกเซลล์รับกลิ่นเซลีน ดิออนเซเบิลBCCh (ทวิอักษร)DDeutschEFGHIISO 639-2ISO 639-3JKLMac OS X Public BetaNNone but the lonely heartOn WarPPh (ทวิอักษร)QRSSalut d'AmourSILTTh (ทวิอักษร)UVWWWWJDICXYZХЦШЩ7 ปี โลกไม่มีวันลืม