โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาฮีบรู

ดัชนี ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

203 ความสัมพันธ์: Ŧบัญญัติ 10 ประการชาลอมชาวยิวชาวยิวอัชเคนาซิชาวยิวอเมริกันชาวยิวเซฟาร์ดีชาวอาหรับชาวเบตาอิสราเอลบาอัลชื่อวันของสัปดาห์ฟรานซ์ คาฟคาฟาโรห์ทาฮาร์กาพยางค์พระเยซูพระเป็นเจ้าพันธสัญญาเดิมกลุ่มกัชกลุ่มภาษาคอเคซัสใต้กลุ่มภาษาเซมิติกกลุ่มภาษาเซมิติกกลางกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือกลุ่มภาษาเซมิติกใต้การมัดอิสอัคการถอดเป็นอักษรโรมันการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983กาเบรียลกิลกาเมชกูเกิล แปลภาษาญาบิรภาษาบูโครีภาษาฟิลิสไตน์ภาษาฟินิเชียภาษากรูซินิกภาษามัวไบต์ภาษามาลายาลัมภาษามาลายาลัมของชาวยิวภาษายิดดิชภาษายูการิติก...ภาษายูฮูรีภาษาลาดิโนภาษาลิซาน ดิดันภาษาลิซานา เดนีภาษาลิซานิด โนซานภาษาสเปนภาษาอราเมอิกพระเยซูภาษาอราเมอิกยิวบาบิโลเนียภาษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานีภาษาอราเมอิกไบเบิลภาษาอัมโมไนต์ภาษาอาหรับภาษาอาหรับยิวโมร็อกโกภาษาอาหรับคลาสสิกภาษาอินโดนีเซียภาษาอีโดไมต์ภาษาอโมไรต์ภาษาฮูลัวลาภาษาฮีบรูมิซราฮีภาษาฮีบรูมิซนะห์ภาษาฮีบรูอาซเกนาซีภาษาฮีบรูซามาริทันภาษาฮีบรูไบเบิลภาษาฮีบรูเซฟาร์ดีภาษาทาจิกภาษาของชาวยิวภาษาคาซาร์ภาษาคาไรม์ภาษาตาร์คุมภาษาแอกแคดภาษาเครียมชากภาษาเปอร์เซียของชาวยิวมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์มัทธิวผู้นิพนธ์พระวรสารมารา เจด สกายวอล์คเกอร์มาร์ก ซักเคอร์เบิร์กมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกีมดยอบม้วนหนังสือเดดซียอห์นผู้นิพนธ์พระวรสารย้อดรับบีรัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีนรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์รัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบารายชื่อภาษารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยลิลิธลูซิเฟอร์วิกิพีเดียภาษาฮีบรูสวนเอเดนสะบาโตสิงโตสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดหนังสืออิสยาห์หนังสือนางรูธหน้าลายพรมห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์อย่าแหย่โซฮานอัฟราม แกรนท์อักษรกรีกอักษรฮีบรูอัลเลลูยาอัครทูตสวรรค์มีคาเอลอาบัดโดนอายินอาณาจักรยูดาห์อิชมาเอลอุทยานแห่งชาติไซออนองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอลอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)ฮอโลคอสต์ฮาทิควาผู้รับใช้พระเป็นเจ้าผีฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียงจารกรรมจุดจอมดินจีเมลธรรมศาลาธงชาติอิสราเอลทศางค์ทอเลมี (ชื่อ)ท่าอากาศยานนานาชาติเบนกูเรียนข้าคือวีเซิลดอรอน ไซลเบอเกอร์ดาวิดดาเลทดิอะเมซิ่งเรซ: Ha'Merotz La'Millionครอบครัวสกายวอล์คเกอร์คราฟมากาคริสต์มาสคอฟคาบาลออนไลน์คาฟงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 84ง้องแง้งกับเงอะงะตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติกตราแผ่นดินของอิสราเอลตราแผ่นดินในทวีปเอเชียฉบับพระเจ้าเจมส์ซาดีซูเปอร์แมนปฏิทินฮิจเราะห์ประวัติศาสนาคริสต์ประเทศอิสราเอลปัญจตันตระปากนรกภูมิปาเลสไตน์ในอาณัตินักบุญอันดรูว์นักบุญอันนานักบุญเจอโรมนาตาลี พอร์ตแมนนาซาเรธนูนแม่น้ำจอร์แดนแวมไพร์แอล. แอล. ซาเมนฮอฟแซนดีบริดจ์โฟโต้สเกปโยดาโอเดด เฟหร์โฮเซ รีซัลโทมัส ยังโนแอม ดาร์ไชอา เลอบัฟไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนลไคม์เพ (ตัวอักษร)เพอร์โซนา 3เมอร์คาวาเม็มเม็นออฟอิสราเอลเยรูซาเลมเรชเส้นทางการค้าเอลี โคเฮนเอวาเอสเอ็มเอฟเอฮุด โอลเมิร์ตเฮดีสเทลอาวีฟเดอะพริ้นซ์ออฟอียิปต์เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์เครื่องหมายการออกเสียงอักษรอาหรับComplex Text LayoutS-L-M229 ขยายดัชนี (153 มากกว่า) »

Ŧ

Ŧ/ŧ เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน T ที่มีแถบเส้น (bar, stroke sign) อยู่ด้านหน้า โดยถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงเป็น ตัวอักษร Ŧ ที่ใช้ในซามิเหนือ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและŦ · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ 10 ประการ

ระบัญญัติ 10 ประการ หรือ บทบัญญัติ 10 ประการ (Ten Commandments; עשרת הדיברות; ܥܣܪܐ ܦܘܩܕܢܐ; Δέκα εντολές) คือรายการคำสอนและข้อปฏิบัติตามคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเชื่อว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานแก่วงศ์วานอิสราเอล ผ่านทางโมเสส ที่ภูเขาซีนาย บัญญัตินี้สลักไว้บนแผ่นหิน 2 แผ่น บัญญัติ 10 ประการใช้ในศาสนาคริสต์และศาสนายูดาห์ ในภาษายิดดิช ใช้คำว่า Aseret ha-Dvarîm עשרת הדברים ในภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูมิซนะห์ ใช้คำว่า Aseret ha-Dibrot עשרת הדברות ซึ่งทั้งสองคำหมายถึง บัญญัติ 10 ประการ และมีการใช้ในภาษากรีก ซึ่งแปลมาจากภาษาฮีบรูว่า δέκα λόγοι (dekalogoi) หมายถึง คำสิบคำ (the ten words) อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและบัญญัติ 10 ประการ · ดูเพิ่มเติม »

ชาลอม

"ชาลอม" ในภาษาฮีบรู ชาลอม (ฮีบรู: שָׁלוֹם, ฮีบรูเซฟาร์ติก/ฮีบรูอิสราเอล: Shalom; ฮีบรูอาซเกนาซี/ยิดดิช: Sholem, Shoilem, Shulem) เป็นคำภาษาฮีบรูที่หมายถึง สันติภาพ ความสมบูรณ์ และสวัสดิภาพ และสามารถใช้เป็นสำนวนในความหมายทั้งสวัสดีและลาก่อน คำนี้สามารถหมายถึงสันติภาพระหว่างสิ่งที่มีอยู่จริงสองอย่าง (โดยเฉพาะระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าหรือระหว่างสองประเทศ) หรือความเป็นอยู่ที่ดี สวัสดิภาพหรือความปลอดภัยของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล คำคำนี้ยังพบในรูปแบบอื่นๆอีก โดยมีความหมายเช่นเดียวกับ salaam ในภาษาอาหรับ sliem ในภาษามอลตา Shlama (ܫܠܡܐ) ในภาษาซีเรียค และภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย และ sälam ในภาษากลุ่มเซมิติกในเอธิโอเปีย คำเหล่านี้มีที่มาจากรากศัพท์ S-L-M ในภาษาเซมิติกดั้งเดิม.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและชาลอม · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิว

ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิวอัชเคนาซิ

วยิวอัชเคนาซิ หรือ ชาวยิวแห่งอัชเคนาซ (יְהוּדֵי אַשְׁכֲּנָז หรือ אַשְׁכֲּנָזִים, Ashkenazi Jews หรือ Ashkenazic Jews หรือ Ashkenazim) คือชาวยิวที่สืบเชื้อสายมาจากชาวยิวที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในลุ่มแม่น้ำไรน์แลนด์ทางตะวันตกของเยอรมนีและตอนเหนือของฝรั่งเศสในยุคกลาง คำว่า "Ashkenaz" เป็นชื่อภาษาฮิบรูสมัยกลางของภูมิภาคที่ในปัจจุบันครอบคลุมประเทศเยอรมนี และบริเวณที่มีชายแดนติดต่อที่พูดภาษาเยอรมัน นอกจากนั้นอัชเคนาซก็ยังเป็นประมุขจาเฟติคที่สืบเชื้อสายมาจากลูกหลานของโนอาห์ (Table of Nations) ฉะนั้น "อัชเคนาซิม" หรือ "อัชเคนาซิยิว" ก็คือ "ชาวยิวเยอรมัน" ต่อมาชาวยิวอัชเคนาซิก็อพยพไปทางตะวันออก ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณที่ไม่ได้พูดภาษาเยอรมันที่รวมทั้งฮังการี โปแลนด์ ลิทัวเนีย รัสเซีย ยุโรปตะวันออก และ ภูมิภาคอื่นๆ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึง 19 ภาษาที่นำติดตัวไปก็คือภาษายิดดิชซึ่งเป็นภาษาเยอรมันภาษายิว|ยิว ที่ตั้งแต่ยุคกลางมาเป็น "ภาษากลาง" ในหมู่ชาวยิวอัชเคนาซิ นอกจากนั้นก็มีบ้างที่พูดภาษายิว-ฝรั่งเศส หรือ ภาษาซาร์ฟาติค (Zarphatic) และ ภาษากลุ่มสลาฟ-ที่มีพื้นฐานมาจากภาษาคนานิค (ภาษายิว-เช็ก) ชาวยิวอัชเคนาซิวิวัฒนาการวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่ผสานเอาวัฒนธรรมของชนในท้องถิ่นที่ตั้งถิ่นฐานในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกเข้ามาด้วย แม้ว่าในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชาวยิวอัชเคนาซิจะเป็นจำนวนเพียง 3 เปอร์เซ็นต์ของประชากรชาวยิวทั้งโลก แต่เมื่อมาถึงปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและชาวยิวอัชเคนาซิ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิวอเมริกัน

วอเมริกันเชื้อสายยิว หรือ ชาวยิวเชื้อสายอเมริกัน (American Jews หรือ Jewish Americans คือประชาชนชาวอเมริกันที่สืบเชื้อสายมาจากชาวยิวหรือชาวยิวที่พำนักอยู่ในสหรัฐอเมริกาในฐานะคนต่างด้าว สหรัฐอเมริกาเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวยิวที่ใหญ่เป็นที่สองของโลกรองจากอิสราเอลขึ้นอยู่กับคำจำกัดคความทางศาสนา (ชาวยิวโดยเชื้อชาติ vs ชาวยิวโดยเชื้อชาติและศาสนา) และสถิติของจำนวนประชากรต่างๆ ประชากรชาวอเมริกันเชื้อสายยิวประมาณว่ามีด้วยกันทั้งหมดประมาณ 5,128,000 คน หรือ 1.7% ของประชากรอเมริกันทั้งหมด ในปี ค.ศ. 2007 (301,621,000 คน) แต่จำนวนอาจจะสูงถึง 6,444,000 คน หรือ 2.2% ในขณะที่สถิติของสำนักงานสถิติกลางของจำนวนประชากรอิสราเอลประมาณว่าเป็นจำนวน 5,435,800 คนในปี ค.ศ. 2007 (75.7% ของประชากรโดยทั่วไป) ชาวยิวในสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่เป็นชาวยิวอัชเคนาซิที่อพยพมาจากยุโรปกลาง และ ยุโรปตะวันออกและผู้สืบเชื้อสาย นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มชนชาวยิวสาขาต่างๆ (Jewish ethnic divisions) ที่รวมทั้งมิซราฮิ และ เซฟาร์ดี ฉะนั้นชาวยิวในสหรัฐอเมริกาจึงมีด้วยกันหลายวัฒนธรรมและสาขาของศาสนาตั้งแต่ออร์ธอด็อกซ์ฮาเรดีไปจนถึงผู้ใช้ชีวิตในสังคมที่ไม่เกี่ยวข้องกับศาสนา หรือชาวยิวที่เป็นยิวโดยเชื้อชาติเท่านั้นโดยไม่นับถือศาสนาใ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและชาวยิวอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิวเซฟาร์ดี

วยิวเซฟาร์ดี (Sephardi Jews; ספרדי; ฮิบรูมาตรฐาน: Səfardiไทบีเรีย Səp̄arədî; พหูพจน์ ספרדים, ฮิบรูใหม่: Səfaradim ไทบีเรีย: Səp̄arədîm; Sefardíes; Sefarditas, Σεφάρδοι, Sefarad, จูเดโอ-สเปน: Sefardies) เป็นชนกลุ่มย่อยของกลุ่มชนยิวที่มาจากคาบสมุทรไอบีเรีย และ แอฟริกาเหนือ ที่มักจะกล่าวว่าคู่กับชาวยิวอัชเคนาซิ (Ashkenazi Jews) หรือ ชาวยิวมิซราฮิ (Mizrahi Jews).

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและชาวยิวเซฟาร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอาหรับ

วอาหรับ (عرب) เป็นกลุ่มชนเซมิติกที่พูดภาษาอาหรับโดยมีประชากรอาศัยในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้และแอฟริกาเหนือ ซึ่งกลุ่มชาวอาหรับประกอบด้วยชาวเลบานอน, ชาวซีเรีย, ชาวเอมิเรตส์, ชาวกาตาร์, ชาวซาอุดี, ชาวบาห์เรน, ชาวคูเวต, ชาวอิรัก, ชาวโอมาน, ชาวจอร์แดน, ชาวปาเลสไตน์, ชาวเยเมน, ชาวซูดาน, ชาวแอลจีเรีย, ชาวโมร็อกโก, ชาวตูนีเซีย, ชาวลิเบีย และชาวอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและชาวอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเบตาอิสราเอล

วเบตาอิสราเอล (ภาษาฮีบรู: בֵּיתֶא יִשְׂרָאֵל‎‎ - Beyte (beyt) Israel, ภาษากีเอซ: ቤተ እስራኤል - Bēta 'Isrā'ēl, modern Bēte 'Isrā'ēl, EA: "Betä Əsraʾel", บ้านของอิสราเอล") หรือชาวยิวเอธิโอเปีย (ภาษาฮีบรู: יְהוּדֵי ‏אֶ‏תְיוֹ‏פְּ‏יָ‏ה‎‎: yehudei itiyopya, ภาษากีเอซ: "የኢትዮጵያ አይሁድዊ", ye-Ityoppya Ayhudi), เป็นชื่อของชุมชนชาวยิวที่อาศัย ในบริเวณของจักรวรรดิอัคซุมหรือจักรวรรดิเอธิโอเปีย (ฮาเบซหรืออบิสซิสเนีย) ซึ่งปัจจุบันถูกแบ่งเป็นเขตอัมฮาราและตึกรึญญา ชาวเบตาอิสราเอลอาศัยอยู่ทางเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือของเอธิโอเปีย มีหมู่บ้านอย่างน้อย 500 หมู่บ้าน กระจายในเขตปกครองของชาวคริสต์และมุสลิม ส่วนใหญ่อาศัยอยู่หนาแน่นบริเวณทะเลสาบทานา และทางเหนือของทะเลสาบในติเกร กอนเดอร์ และเวลโล มีส่วนน้อยอาศัยอยู่ในเมืองกอนเดอร์และแอดดิส อะบาบา เกือบทั้งหมดของชุมชนชาวเบตาอิสราเอลในเอธิโอเปียมากกว่า 120,000 คนอาศัยอยู่ในอิสราเอลภายใต้กฎหมายของการอพยพกลับซึ่งจะทำให้ชาวยิวและผู้ที่มีพ่อแม่หรือปู่ย่าตายายเป็นชาวยิวและคู่สมรสของพวกเขามีสิทธิที่จะตั้งถิ่นฐานในอิสราเอลและได้รับสัญชาติ รัฐบาลอิสราเอลได้ดำเนินการช่วยเหลือชาวเบตาอิสราเอลส่วนใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างปฏิบัติการโมเสส(พ.ศ. 2527) และปฏิบัติการโซโลมอน (พ.ศ. 2534) การย้ายถิ่นของพวกเขาเกิดขึ้นเมื่อเกิดสงครามกลางเมืองและความอดอยากคุกคามประชากรชาวยิวในประเทศเอธิโอเปีย การอพยพได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ทุกวันนี้ชาวเบตาอิสราเอล 81,000 คน เกิดในเอธิโอเปียในขณะที่ 38,500 คนหรือ 32% เกิดในอิสราเอล.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและชาวเบตาอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

บาอัล

รูปปั้นบาอัลในท่ายกแขนขึ้นอายุราว 1400 - 1200 ก่อนคริสตกาล พบในบริเวณ Ras Shamra (อาณาจักรยูการิต), Louvre ''Dictionnaire Infernal'' ของบาอัล บาอัล (Baal; ออกเสียง; ภาษาฮีบรู: בעל) เป็นเทพเจ้าแห่งสายฝนที่มีผู้นับถือในคานาอัน ตามตำนานกล่าวว่าเมื่อบาอัลชนะยัม เทพเจ้าแห่งท้องทะเลได้แล้วจึงสร้างเมืองของตนที่ภูเขาซาโฟน บาอัลพยายามหลบเลี่ยงมอต เทพเจ้าแห่งความตายตลอดแต่ก็หนีไม่พ้นและถูกเชิญให้ไปพบ อานัต ภรรยาของบาอัลได้พยายามขอให้มอตคืนบาอัลให้นางแต่ไม่สำเร็จ นางจึงชำแหละร่างของมอตและนำไปเผาไฟ ต่อมาทั้งบาอัลและมอตต่างฟื้นคืนชีพอีกครั้ง และเข้าต่อสู้กัน เทพเจ้าส่วนใหญ่เข้าข้างบาอัล ในที่สุดบาอัลจึงชนะได้ครองท้องทุ่งกว้าง.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและบาอัล · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อวันของสัปดาห์

วันในสัปดาห์ ถูกตั้งชื่อตามวัตถุบนท้องฟ้าที่สำคัญ ได้แก่ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร ดาวพุธ ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ และ ดาวเสาร์ ซึ่งเป็นวัตถุบนท้องฟ้าที่สามารถมองเห็นได้ตั้งแต่ในสมัยโบราณ ตั้งแต่มนุษย์เริ่มสนใจในเรื่องของฟากฟ้าแล้ว วันเสาร์และวันอาทิตย์ถูกเรียกกันโดยทั่วไปว่าเป็นวันหยุดประจำสัปดาห์ วันแห่งการพักผ่อนหรือนันทนาการในประเทศตะวันตก ส่วนวันศุกร์และวันเสาร์ เป็นวันแห่งการพักผ่อนในประเทศมุสลิมบางประเทศ ในอิสราเอล ถือว่าวันเสาร์และวันศุกร์หรือวันอาทิตย์เป็นวันพักผ่อนของสัปดาห์ตามโอกาส แต่ในบางประเทศ เช่น อิหร่าน มีวันหยุดของสัปดาห์เพียงแค่หนึ่งวัน คือ วันศุกร์เท่านั้น และสัปดาห์ใหม่จะเริ่มขึ้นในวันเสาร์ ประเทศมุสลิมอื่น ๆ มักจะมีวันหยุดเป็นวันพฤหัสบดีและวันศุกร์ วันอาทิตย์เป็นวันแรกของสัปดาห์ตามวิชาโหราศาสตร์ ในศาสนายูดาย และใน Ecclesiastical Latin รวมไปถึงในสหรัฐอเมริกา และในบางประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ รวมไปถึง ประเทศไทย ด้วย ส่วนประเทศจำนวนมากในยุโรป อเมริกาใต้ และบางส่วนของเอเชีย ถือว่าวันจันทร์เป็นวันแรกของสัปดาห์ ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างนานาชาติมาตรฐานสำหรับการใช้วันและเวลา ISO 8601 ซึ่งกำหนดให้วันจันทร์เป็นวันแรกของสัปดาห์ และวันอาทิตย์เป็นวันสุดท้ายของสัปดาห.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและชื่อวันของสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซ์ คาฟคา

ลายเซ็นของฟรานซ์ คาฟคา ฟรานซ์ คาฟคา (Franz Kafka) (3 กรกฎาคม ค.ศ. 1883 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1924) ฟรานซ์ คาฟคาเป็นนักเขียนชาวยิวคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาฟคาถือกำเนิดมาในครอบครัวที่พูดภาษาเยอรมัน ผู้มีฐานะปานกลางในกรุงปรากใน ราชอาณาจักรโบฮีเมีย ที่ขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันสาธารณรัฐเช็ก) ผลงานเขียนอันเป็นเอกลักษณ์ของคาฟคาที่ส่วนใหญ่เป็นงานที่เขียนค้างไว้ และส่วนใหญ่ตีพิมพ์หลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วถือว่าเป็นงานที่มีอิทธิต่องานวรรณกรรมตะวันตกมากที่สุดContijoch, Francesc Miralles (2000) "Franz Kafka".

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและฟรานซ์ คาฟคา · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์ทาฮาร์กา

ทาฮาร์กา, หรือเขียนอีกอย่างว่า ทาฮาร์คา หรือ ทาฮาร์โก (ฮีบรู: תִּרְהָקָה, ฮีบรูปัจจุบัน: Tirhaqa, ไทเบเรี่ยน: Tirehāqā, มาเนโธเรียกว่า ทาราคอส, สตราโบเรียกว่า ทีอาร์โค) เป็นฟาโรห์แห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณในช่วงราชวงศ์ที่ยี่สิบห้า และพระองค์ยังเป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักร.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและฟาโรห์ทาฮาร์กา · ดูเพิ่มเติม »

พยางค์

งค์ หมายถึงหน่วยหนึ่งขององค์ประกอบในลำดับของเสียงที่ใช้สื่อสารด้วยคำพูด พยางค์โดยทั่วไปเกิดขึ้นจากแกนพยางค์ (syllable nucleus) ซึ่งมักจะเป็นเสียงสระ และอาจมีเสียงขึ้นต้นและเสียงลงท้ายเป็นเสียงพยัญชนะในพยางค์ พยางค์ถูกจัดว่าเป็นส่วนประกอบของคำในการศึกษาระบบเสียงในภาษา (phonology) ซึ่งมีอิทธิพลต่อจังหวะในภาษา ฉันทลักษณ์ ลักษณะคำประพันธ์ รูปแบบการเน้นเสียง เป็นต้น คำหนึ่งคำอาจอบขึ้นจากพยางค์เพียงพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ การเขียนสัญลักษณ์แทนพยางค์เริ่มมีขึ้นเมื่อไม่กี่ร้อยปีก่อนที่จะมีการใช้ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรก สัญลักษณ์แทนพยางค์ในสมัยนั้นถูกบันทึกลงบนแผ่นจารึกเมื่อประมาณ 2,800 ปีก่อนคริสตกาลโดยชาวสุเมเรียน สิ่งนี้เป็นตัวผลักดันให้อักษรภาพที่เขียนกันมาแต่เดิมถูกเปลี่ยนเป็นการเขียนแทนพยางค์ ซึ่งเป็นก้าวหนึ่งที่สำคัญในประวัติศาสตร์ของระบบการเขียน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและพยางค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

พระเป็นเจ้า

ระนามพระยาห์เวห์ในภาษาฮีบรู พระเป็นเจ้า (God) หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ ถือเป็นเทวดาเพียงพระองค์เดียวตามความเชื่อแบบเอกเทวนิยม หรือเป็นเทวดาผู้เป็นสารัตถะเดียวของเอกภพตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยมSwinburne, R.G. "God" in Honderich, Ted.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและพระเป็นเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พันธสัญญาเดิม

ันธสัญญาเดิม (Old Testament) เป็นศัพท์ศาสนาคริสต์ใช้เรียกคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ของชาววงศ์วานอิสราเอลโบราณ ที่รวมกันเป็นส่วนแรกของคัมภีร์ไบเบิลในศาสนาคริสต์ จำนวนหนังสือในพันธสัญญาเดิมจะแตกต่างกันตามแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ยอมรับเฉพาะหนังสือ 24 เล่มในคัมภีร์ทานัคว่าเป็นพันธสัญญาเดิม แต่แบ่งใหม่เป็น 39 เล่ม ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คอปติกออร์ทอดอกซ์ และคริสตจักรแห่งเอธิโอเปีย มีจำนวนหนังสือที่รับเข้าในสารบบพันธสัญญาเดิมของตนมากกว.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและพันธสัญญาเดิม · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มกัช

กลุ่มกัช (Kach หมายถึงความภักดีเท่านั้นในภาษาฮีบรู) เป็นกลุ่มที่พัฒนามาจากสันนิบาตพิทักษ์ชาวยิวของนายร็อบบี้ แมร์ กาบาเนา ชาวสหรัฐหัวรุนแรง ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและกลุ่มกัช · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาคอเคซัสใต้

กลุ่มภาษาคอเคซัสใต้ (South Caucasian languages) เป็นภาษาที่มีผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในจอร์เจีย มีบางส่วนอยู่ในตุรกี อิหร่าน รัสเซีย และอิสราเอล ผู้พูดกลุ่มภาษานี้มีราว 5.2 ล้านคนทั่วโลก เป็นกลุ่มภาษาที่มีประวัติความเป็นมาเก่าแก่กลุ่มหนึ่ง มีจุดกำเนิดย้อนหลังไปถึง 5,457 ปีก่อนพุทธศักราช กลุ่มภาษานี้ไม่มีความสัมพันธ์อย่างชัดเจนกับกลุ่มภาษาใดๆ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรก (จารึกอับบา อันโตนี เขียนด้วยอักษรจอร์เจียโบราณในยุคราชวงศ์จอร์เจีย ใกล้เบธเลเฮ็ม) มีอายุราว..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและกลุ่มภาษาคอเคซัสใต้ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติก

หมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย กลุ่มภาษาเซมิติก (Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน) กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและกลุ่มภาษาเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกกลาง

กลุ่มภาษาเซมิติกกลาง เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติก ประกอบด้วยภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (รวม ภาษาคานาอันไนต์ ภาษาฮีบรู ภาษาอราเมอิก และภาษายูการิติก)ในบางครั้ง ในกลุ่มนี้ ยังแบ่งเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลางใต้ (รวมภาษาอาหรับและภาษาฮีบรู) กับภาษาอราเมอิก การแบ่งแยกระหว่างภาษาอาหรับกับกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือคือการสร้างรูปพหูพจน์ ภาษาอาหรับสร้างโดยการแทรกสระ ส่วนกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือสร้างด้วยปัจจัย เช่น.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก (West Semitic languages) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติกที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและได้รับการสนับสนุนจาก Robert Hetzron และ John Huehnergard ผู้เชี่ยวชาญด้านกลุ่มภาษาเซมิติก ซึ่งแบ่งกลุ่มภาษาเซมิติกออกเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออกและตะวันตก กลุ่มตะวันออกประกอบด้วยภาษาเอ็บลาไอต์ และภาษาอัคคาเดีย ส่วนกลุ่มตะวันตกเป็นกลุ่มใหญ่ของกลุ่มภาษาเซมิติก ประกอบด้วยกลุ่มย่อยได้แก่ กลุ่มเอธิโฮปิก กลุ่มอาระเบียใต้ ภาษาอาหรับ และกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (ภาษายูการิติก ภาษาฮีบรู ภาษาอราเมอิก) กลุ่มภาษาเอธิโอปิกและอาระเบียใต้ มีลักษณะใกล้เคียงกันมาก บางครั้งรวมกันเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ การจัดตำแหน่งของภาษาอาหรับภายในกลุ่มเซมิติกยังสับสน บางครั้งจัดให้อยู่ในกลุ่มเซมิติกใต้ บางครั้งรวมกับกลุ่มตะวันตกเฉียงเหนือเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (Northwest Semitic languages) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก มีผู้พูดประมาณ 8 ล้านคนในปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 3 สาขา คือ ภาษายูการิติก (ตายแล้ว) ภาษาคานาอันไนต์ (รวมภาษาฮีบรู) และภาษาอราเมอิก บางครั้งรวมกลุ่มภาษานี้เข้ากับภาษาอาหรับแล้วจัดเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง ภาษายูการิติกที่ตายแล้วเป็นหลักฐานรุ่นแรกสุดของกลุ่มภาษานี้ ภาษายูการิติกไม่มีเสียง /dˤ/ (ḍ) แต่แทนที่ด้วยเสียง /sˤ/ (ṣ) (ลักษณะเดียวกับที่ปรากฏในภาษาอัคคาเดีย) เสียงนี้กลายเป็นเสียง /ʕ/ ในภาษาอราเมอิก (ในภาษาอราเมอิกโบราณ เสียงนี้เขียนด้วยอักษรกอฟ) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าภาษายูการิติกไม่ได้เป็นภาษาต้นแบบของกลุ่มนี้ ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียงนี้พบได้ในคำว่า “โลก”: ภาษายูการิติก /ʔarsˤ/ (’arṣ), ภาษาฮีบรู /ʔɛrɛsˤ/ (’ereṣ) และภาษาอราเมอิก /ʔarʕaː/ (’ar‘ā’) ภาษายูการิติกต่างจากภาษาในกลุ่มเดียวกันตรงที่ว่ายังคงมีคำที่ขึ้นต้นด้วย /w/ ในขณะที่ภาษาที่เหลือแทนที่ด้วย /y/ แหล่งที่เป็นต้นกำเนิดของภาษานี้ได้แก่บริเวณที่ในปัจจุบันเป็นประเทศอิสราเอล ซีเรีย จอร์แดน เลบานอนและคาบสมุทรไซนาย การเลื่อนเสียงสระจาก /aː/ เป็น /oː/ เป็นการแยกภาษาคานาอันไนต์ออกจากภาษายูการิติก ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียง ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติกใต้

กลุ่มภาษาเซมิติกใต้ (South Semitic) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติก นอกเหนือจากกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออก (เช่นภาษาอัคคาเดีย) และกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก (เช่น ภาษาอาหรับ ภาษาอราเมอิก ภาษาฮีบรู) กลุ่มภาษาเซมิติกใต้แบ่งได้อีกเป็นสองสาขาหลัก คือกลุ่มภาษาอาระเบียใต้ที่ใช้พูดทางชายฝั่งตอนใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย และกลุ่มภาษาเอธิโอปิกที่พบตามฝั่งทะเลแดงด้านจะงอยของทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะในเอธิโอเปียและเอริเทรียในปัจจุบัน ภาษาหลักในเอริเทรียเช่น ภาษาทีกรินยา ภาษาติเกร เป็นกลุ่มภาษาเอธิโอปิกเหนือ ในขณะที่ภาษาอัมฮาราที่เป็นภาษาหลักในเอธิโอเปียเป็นกลุ่มภาษาเอธิโอปิกใต้ บ้านเกิดของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ส่วนใหญ่เชื่อว่าอยู่ทางตอนเหนือของของเอธิโอเปียและเอริเทรีย หรือทางตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ สาขาเอธิโอปิกในแอฟริกา เชื่อว่าเกิดจากการอพยพของผู้พูดภาษาอาระเบียใต้จากเยเมนเมื่อไม่กี่พันปีที่ผ่านมา บางกลุ่มเชื่อว่า การอพยพนี้เป็นการอพยพกลับของกลุ่มผู้พูดตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียติกที่มีต้นกำเนิดในแอฟริกา และอพยพเข้าสู่ตะวันออกกลางและคาบสมุทอาระเบีย โดยกลุ่มของผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิม แต่นักภาษาศาสตร์บางคน เช่น A. Murtonen (1967) เชื่อว่ากลุ่มภาษานี้มีต้นกำเนิดในเอธิโอเปีย หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ · ดูเพิ่มเติม »

การมัดอิสอัค

ียน “เอบราฮัมสังเวยไอแซ็ค” โดยแรมบรังด์ ค.ศ. 1635 เอบราฮัมสังเวยไอแซ็ค (ภาษาอังกฤษ: Sacrifice of Isaac หรือ Binding of Isaac) ในพระธรรมปฐมกาล เป็นเรื่องจากคัมภีร์ฮิบรูเมื่อพระเจ้าสั่งให้เอบราฮัมสังเวยไอแซ็คลูกชายบนภูเขาโมไรยาห์ (Mount Moriah) ในศาสนาอิสลามมุสลิมเชื่อว่าพระเจ้าสั่งให้เอบราฮัมสังเวยอิชมาเอลลูกชายคนโตแทนที่ไอแซ็คที่สนับสนุนในข้อเขียนของมุฮัมมัด แต่ลูกคนใดมิได้บ่งในคัมภีร์อัลกุรอาน เหตุการณ์นี้ตรงกับวันแรกของเดือนแรก (Tishrei) ของปฏิทินยิว และระหว่างวันที่ 10 ถึง 13 ของเดือนสิบสอง (Dhu al-Hijjah) ในปฏิทินมุสลิมในวันฉลองการสังเวย -- “Eid al-Adha” คำบรรยายเรียกว่า “Akedah” (עקדה) หรือ “Akedat Yitzchak” (עקידת יצחק) ในภาษาฮิบรูและ “Dhabih” (ذبح) ในภาษาอาหรับ การสังเวยเรียกว่า “Olah” ในภาษาฮิบรู—เพราะความสำคัญของการสังเวยโดยเฉพาะในสมัยก่อนคริสตกาล ตามคำบรรยายเมื่อพระเจ้าสั่งเช่นนั้น เอบราฮัมก็ตั้งใจที่จะเชื่อฟังพระเจ้าโดยไม่มีคำถาม หลังจากไอแซ็คถูกมัดที่แท่นบูชาพร้อมที่จะถูกสังเวย เทวดาก็ยั้งเอบราฮัมในนาทีสุดท้าย ในขณะเดียวเอบราฮัมพบแกะที่ติดอยู่ในพุ่มไม้ใกล้ๆ เอบราฮัมจึงสังเวยแกะแทนที่ เรามักจะนึกภาพว่าไอแซ็คยังเป็นเด็กเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้นแต่ความคิดนี้เป็นความคิดสมัยใหม่ เพราะหลักฐานในอดีตต่างกล่าวว่าไอแซ็คเป็นผู้ใหญ่แล้ว ตามบันทึกของนักประวัติศาสตร์ยิวโจซีฟัส ไอแซ็คอายุยี่สิบห้าปีเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้น คัมภีร์ทัลมุด (Talmud) กล่าวว่าไอแซ็คอายุ 37 ปี ซึ่งอาจจะคำนวณจากตำนานไบเบิลอีกเรื่องหนึ่งที่กล่าวถึงการเสียชีวิตของซาราห์เมื่ออายุ 127 ปี และซาราห์อายุ 90 เมื่อไอแซ็คเกิด ไม่ว่าจะอย่างไรไอแซ็คก็เป็นผู้ใหญ่แล้วเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้น โตพอที่จะหยุดยั้งเหตุการณ์ได้ถ้าต้องการที่จะทำเช่นนั้น พระธรรมปฐมกาล 22:14 กล่าวว่าเหตุการณ์เกิดขึ้นที่ “ภูเขาของพระเจ้า”: ใน 2 พงศาวดาร 3:1; เพลงสดุดี; อิสไซยาห์ และ และแซ็คคาริอาห์ แต่คัมภีร์ไบเบิลกล่าวว่าเกิดขึ้นที่เท็มเพิลเมานท์ (Temple Mount) ในกรุงเยรุซาเล็ม.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการมัดอิสอัค · ดูเพิ่มเติม »

การถอดเป็นอักษรโรมัน

ษาต่าง ๆ สามารถถอดเป็นอักษรโรมันโดยวิธีการต่าง ๆ ที่ไม่เหมือนกันก็ได้ เช่นภาษาจีนกลางที่แสดงอยู่นี้ ในทางภาษาศาสตร์ การถอดเป็นอักษรโรมัน (Romanisation) คือการถอดคำพูดหรือคำเขียนที่ใช้ระบบการเขียนต่าง ๆ เป็นอักษรโรมัน (ละติน) โดยสำหรับคำเขียนใช้การทับศัพท์ สำหรับคำพูดใช้การถอดเสียง ซึ่งสามารถแบ่งเป็นสองประเภทย่อยได้อีก คือการถอดเสียงตามหน่วยเสียง (phoneme) และ การถอดเสียงให้สอดคล้องกับการออกเสียง (phonetic).

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการถอดเป็นอักษรโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Tu te reconnaîtras ขับร้องโดย Anne-Marie David ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองไบรตัน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Waterloo ขับร้องโดย ABBA ตัวแทนจากสวีเดน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ding-a-dong ขับร้องโดย Teach-In ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Save Your Kisses for Me ขับร้องโดย Brotherhood of Man ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ L'oiseau et l'enfant ขับร้องโดย Marie Myriam ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ A-Ba-Ni-Bi ขับร้องโดย Izhar Cohen & the Alphabeta ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Hallelujah ขับร้องโดย Gali Atari & Milk and Honey ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ What's Another Year ขับร้องโดย Johnny Logan ตัวแทนจากไอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Making Your Mind Up ขับร้องโดย Bucks Fizz ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฮาร์โรเกต ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ein bißchen Frieden ขับร้องโดย Nicole ตัวแทนจากเยอรมนี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Si la vie est cadeau ขับร้องโดย Corinne Hermès ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 · ดูเพิ่มเติม »

กาเบรียล

กาเบรียล เป็นทูตสวรรค์ในศาสนาอับราฮัม โดยชาวยิวและชาวคริสต์เรียกว่ากาเบรียล ส่วนชาวมุสลิมเรียกว่าญิบรีล (גַּבְרִיאֵל, ภาษาฮีบรูมาตรฐาน: “Gavriʼel”, Gabrielus, Γαβριήλ, ภาษาฮิบรูไทบีเรียน: “Gaḇrîʼēl”, جبريل “Jibrīl” หรือ “Jibrail”) แปลตรงตัวว่า 'พละกำลังของพระเจ้า' เชื่อว่าเป็นอัครทูตสวรรค์ผู้นำสารมาจากพระเป็นเจ้.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและกาเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

กิลกาเมช

รูปปั้นกิลกาเมช ที่มหาวิทยาลัยซิดนีย์ กิลกาเมช เป็นกษัตริย์ในตำนาน แห่งนครอุรุค ในอาณาจักรบาบิโลน หรือบาบีโลเนีย ซึ่งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำยูเฟรติส ในประเทศอิรักปัจจุบัน เชื่อว่าเคยมีชีวิตอยู่เมื่อประมาณ 2,700 ปีก่อนคริสตกาล มีเรื่องเล่าและปกรณัมมากมายที่เขียนเกี่ยวกับกิลกาเมช บางเรื่องเขียนไว้ตั้งแต่เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยจารึกบนแผ่นดินเหนียวเป็นภาษาของพวกซูเมอร์ เรียกว่าภาษาซูเมเรียน ซึ่งยังหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน ภาษาดังกล่าวนี้นักโบราณคดีเชื่อว่าไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ กับภาษาอื่นๆ ที่เราเคยรู้จักเลย เรื่องกิลกาเมชของพวกซูเมอร์นั้น ถูกรวบรวมขึ้นเป็นบทกวีเรื่องยาว เรียกว่า มหากาพย์กิลกาเมช (Epic of Gilgamesh) หลงเหลืออยู่เป็นวรรณกรรมในหลายภาษา เช่น ของชาวอัคคาเดีย (ภาษาตระกูลเซมิติค ซึ่งมีความสัมพันธ์กับภาษาฮีบรู, เป็นภาษาที่พูดกันในอาณาจักรบาบิโลน) นอกจากนี้ยังมีปรากฏบนแผ่นจารึกดินเหนียว เป็นภาษาฮูร์เรียน และภาษาฮิตไตต์ (ภาษาหนึ่งในตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ซึ่งพูดกันในเขตรอยต่อยุโรปและเอเชีย นับเป็นหนึ่งในบรรดาภาษาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก) ภาษาทั้งหมดที่พูดมานี้ จารด้วยอักษรลิ่ม หรือที่เราคุ้นเคยกันด้วยชื่อ คูเนฟอร์ม ตำนานฉบับเต็มเกี่ยวกับกิลกาเมชนั้น ได้มาจากศิลาจารึก 12 แท่ง จารเป็นภาษาอัคคาเดียน พบในซากปรักหักพังของหอพระสมุด พระเจ้าอะชูรบานิปัล แห่งอัสสิเรีย เมื่อราว 669-633 ปีก่อนคริสตกาล ที่เมืองนีนะเวห์(Nineveh) หอสมุดแห่งนี้ถูกพวกเปอร์เซียทำลายเมื่อ 612 ปีก่อนคริสตกาล และจารึกทั้งหมดก็พินาศไปด้วย จารึกนี้ระบุชื่อผู้แต่งไว้ด้วย ซึ่งนับเป็นเรื่องที่แปลกมาก เนื่องจากในสมัยโบราณ แทบจะไม่มีการจารึกชื่อผู้แต่งเรื่องใด ๆ (จารึกไทยในสมัยสุโขทัยหรืออยุธยาก็ไม่มีการจารึกชื่อผู้แต่งเช่นกัน) ผู้แต่งจารึกนี้คือ ชิเนฆิอุนนินนิ (Shin-eqi-unninni) อาจกล่าวได้ว่า บุคคลผู้นี้เป็นนักเขียนที่เก่าแก่ที่สุดในโลกวรรณกรรม ที่เราสามารถระบุชื่อได้ ตำนานของกิลกาเมชนั้นกล่าวโดยย่อ คงเทียบได้กับเรื่องของโนอาห์ ในคัมภีร์ไบเบิ้ลหรือนูห์ ในคัมภีร์อัลกุรอาน นั่นเอง นับเป็นตำนานน้ำท่วมโลกที่เก่าแก่ที่สุดเรื่องหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและกิลกาเมช · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล แปลภาษา

กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและกูเกิล แปลภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ญาบิร

อะบูมูซา ญาบิร บินฮัยยาน ที่ชาวตะวันตกเรียกว่า เกเบอร์ (Geber) ขึ้นชื่อลือชาว่าเป็นบิดาแห่งเคมี ท่านเป็นนักเคมีที่ยิ่งใหญ่มากตำราชื่อ Kitab al-Kimya, Kitab al-Sab'een เป็นตำราถูกแปลเป็นภาษาของยุโรบหลายภาษา เช่น ภาษาลาติน ภาษาฮีบรู ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส มีอิทธิผลต่อนักเคมีชาวยุโรปต่อมาอีกหลาย ศตวรรษ ญาบิร บินฮัยยาน เกิดราวปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและญาบิร · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบูโครี

ภาษาบูโครี เป็นภาษาตระกูลอินโด-อิหร่าน ชื่ออื่นของภาษานี้คือภาษาทาจิก-เปอร์เซียของชาวยิว เป็นภาษาของชาวยิวในบูคาราน ภาษาบูโครีได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียคลาสสิก โดยมีคำยืมจากภาษาฮีบรูเป็นจำนวนมาก รวมทั้งคำยืมจากภาษาในบริเวณข้างเคียงเช่น ภาษารัสเซียและภาษาอุซเบก เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารกับชาวทาจิก ปัจจุบันมีชาวยิวที่พูดภาษานี้ 10,000 คนในอุซเบกิสถาน และมีอยู่ในอิสราเอลราว 50,000 คน เขียนด้วยอักษรฮีบรู สถานีวิทยุ Kol Israel (קול ישראל) กระจายเสียงด้วยภาษาบูโครี บูโครี บูโครี บูโครี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาบูโครี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟิลิสไตน์

ษาฟิลิสไตน์ เป็นภาษาที่เคยใช้พูดในฟิลิสไตน์ ซึ่งอยู่ที่ ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของคานาอัน สำเนียงหนึ่งของภาษานี้ มีอ้างถึงในไบเบิลว่า “Ashdodit” มาจากชื่อเมืองแอชดอด (Ashdod) ข้อมูลที่แสดงความเกี่ยวข้อง กับภาษาอื่นมีน้อย บางทฤษฎีกล่าวว่าภาษานี้ พัฒนามาจากสำเนียงหนึ่ง ในภาษาคานาอันไนต์ หรืออาจเกี่ยวข้องกับภาษากรีกสำเนียงไมซีเนีย ไม่มีข้อมูลเพียงพอสำหรับการเชื่อมโยงภาษาในฟิลิสไตน์กับภาษาอื่นๆ มีความสัมพันธ์ที่เป็นไปได้กับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน โดยเฉพาะภาษากรีกสำเนียงไมซีเนีย ซึ่งสนับสนุนทฤษฎีที่ว่าผู้อพยพเข้ามาในฟิลิสไตน์เป็นกลุ่มชนที่อาศัยตามชายทะเลมาก่อน หลักฐานจากจารึกสั้นๆในยุคเหล็ก แสดงให้เห็นว่าในบริเวณนั้นเมื่ออยู่ในยุคเหล็ก ใช้ภาษาและอักษรที่เป็นสาขาหนึ่งของภาษาคานาอันไนต์ ต่อมาจึงถูกแทนที่ด้วยภาษาทางการค้าที่แพร่มาจากบริเวณอื่นๆ จนกระทั่งสิ้นสุดยุคเหล็กเมื่อ 257 - 157 ปีก่อนพุทธศักราช ภาษาเขียนที่เป็นภาษาแรกในฟิลิสไตน์คือสำเนียงของภาษาคานาอันไนต์ที่เขียนด้วยอักษรอราเมอิกตะวันตกหรือที่เรียกว่าอักษรฟิลิสไตน์ใหม่ จนราว..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาฟิลิสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟินิเชีย

ษาฟินิเชีย เป็นภาษาที่มีจุดกำเนิดในชายฝั่งที่เรียก "Pūt" ในภาษาอียิปต์โบราณ "คานาอัน" ในภาษาฟินิเชีย ภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก และเรียก "ฟินิเชีย"ในภาษากรีกและภาษาละติน เป็นภาษากลุ่มเซมิติกสาขาคานาอัน ใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก บริเวณดังกล่าวปัจจุบันอยู่ในเลบานอนและซีเรีย และอิสราเอลทางตอนเหนือ เป็นที่รู้จักจากจารึกต่างๆในไบบลอสและหนังสือที่เขียนด้วยภาษาต่างๆ จารึกภาษาฟินิเชียเก่าสุดพบในไบบลอส อายุราว 457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งพบทั้งใน เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล ไซปรัส เกาะซิซิลี ตูนีเซีย โมร็อกโก แอลจีเรีย มอลตา และที่อื่นๆในคาบสมุทรไอบีเรีย การถอดความภาษาฟินิเชียใช้ความรู้ภาษาฮีบรูเป็นพื้นฐาน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากรูซินิก

ภาษากรูซินิก หรือภาษาคิฟรูลี ภาษาจอร์เจียของชาวยิว เป็นภาษาที่พูดโดยชาวยิวในจอร์เจียซึ่งเป็นชุมชนชาวยิวโบราณในเทือกเขาคอเคซัส จัดอยู่ในภาษากลุ่มคอเคซัสใต้ ต่างจากภาษาจอร์เจียอย่างชัดเจน แต่สามารถเข้าจกันได้กับภาษาจอร์เจียถ้าตัดคำยืมจากภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิกออกไป มีผู้พูดทั้งสิ้น 85,000 คนแบ่งเป็นในจอร์เจีย 20,000 คน (2538) และในอิสราเอล 59,800 คน (2543) นอกจากนั้นมีอีกราว 4,000 คนในนิวยอร์กและกระจายอยู่ในรัสเซีย เบลเยียม สหรัฐและแคนาดา ภาษากรูซินิกเป็นเช่นเดียวกับภาษาของชาวยิวอื่นๆคือมีการใช้น้อยลง จำนวนผู้พูดในจอร์เจียลดลงเนื่องจากการอพยพของชาวยิวเข้าสู่ประเทศใหม่คืออิสราเอล ราว 80% ของประชากรทั้งหมด กรูซินิก กรูซินิก กรูซินิก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษากรูซินิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามัวไบต์

ภาษามัวไบต์ เป็นสำเนียงของภาษาฮีบรู-คานาอันไนต์ที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในโมอาบ (ปัจจุบันอยู่ในจอร์แดน) ในช่วง 457 ปีก่อนพุทธศักราช หลักฐานจากจารึกแสดงให้เห็นว่าใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูในไบเบิล ความแตกต่างที่พบมักเป็นส่วนเล็กๆ เช่น ใช้รูปพหูพจน์ -în มากกว่า -îm (เช่น mlkn "กษัตริย์" ซึ่งฮีบรูในไบเบิลใช้ məlākîm) ลงท้ายเพศหญิงด้วย -at แบบเดียวกับภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก ในขณะที่ภาษาฮีบรูไบเบิลใช้ to -āh (เช่น qryt "เมือง", ฮีบรูไบเบิล qiryāh) เป็นต้น หมวดหมู่:ภาษาโบราณในทวีปเอเชีย en:Moab#Moabite language.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษามัวไบต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาลายาลัม

ษามาลายาลัมเป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในภาษาตระกูลดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม ภาษามาลายาลัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษามาลายาลัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาลายาลัมของชาวยิว

ษามาลายาลัมของชาวยิว (Judeo-Malayalam) เป็นภาษาท้องถิ่นของชาวยิวโคชินหรือชาวยิวมาลาบาร์จากรัฐเกรละ ภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูด 8,000 คนในอิสราเอลและประมาณ 100 คนในอินเดีย ภาษามาลายาลัมของชาวยิวเป็นภาษาของชาวยิวภาษาเดียวที่อยู่ในตระกูลภาษาดราวิเดียน อีกภาษาหนึ่งที่เคยมีชาวยิวพูดคือภาษาเตลูกูแต่มีเป็นจำนวนน้อยและเป็นชาวยิวกลุ่มใหม่ที่พบในรัฐอานธรประเทศ เนื่องจากภาษานี้ไม่มีความแตกต่างทางไวยากรณ์และการเรียงประโยคเมื่อเทียบกับภาษามาลายาลัมที่เป็นภาษาแม่ นักภาษาศาสตร์บางส่วนจึงจัดให้เป็นสำเนียง ไม่ใช่ภาษาเอกเทศ จุดที่แตกต่างจากภาษาของชาวยิวอื่นๆคือ ภาษามาลายาลัมของชาวยิวไม่เคยเขียนด้วยอักษรฮีบรูแม้จะมีคำยืมจากภาษาฮีบรูเป็นจำนวนมาก ภาษานี้เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม รากศัพท์และการออกเสียงของภาษานี้เป็นลักษณะที่พบในภาษามาลายาลัมก่อนจะแยกออกมาจากภาษาทมิฬอย่างสมบูรณ์ นอกจากจะได้รับอิทธิพลจากภาษามาลายาลัม ภาษาทมิฬ และภาษาฮีบรูแล้ว ภาษานี้ยังได้รับอิทธิพลจากภาษาของชาวยิวอื่นๆที่อพยพตามมาภายหลัง เช่น ภาษาลาดิโน และได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤตซึ่งเป็นผลมาจากการอยู่ร่วมกับวัฒนธรรมฮินดู.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษามาลายาลัมของชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายิดดิช

ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษายิดดิช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูการิติก

ษายูการิติก เป็นภาษาที่พบหลักฐานในจารึกที่พบในบริเวณนครรัฐยูการิต ที่ขุดค้นพบในประเทศซีเรีย เป็นภาษาที่มีความสัมพันธ์กับภาษาฮีบรู และมีความเกี่ยวข้องกับศาสนายูดายและศาสนาโบราณอื่นๆในบริเวณนั้น เป็นภาษากลุ่มเซมิติก เขียนด้วยอักษรรูปลิ่มที่ต่างจากอักษรรูปลิ่มอื่นเพราะใช้แทนเสียงพยัญชนะ โดยมีพยัญชนะ 22 ตัว พบจารึกอักษรนี้ในช่วง 857 – 657 ปีก่อนพุทธศักราช นครรัฐยูการิตถูกทำลายเมื่อราว 637 – 627 ปีก่อนพุทธศักร.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษายูการิติก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูฮูรี

ษายูฮูรี(Juhuri) หรือภาษาตัตของชาวยิว (Judæo-Tat) หรือ ภาษายูวูรี (Juwuri; çuhuri / жугьури / ז'אוּהאוּראִ) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตัต และเป็นภาษาพื้นเมืองในบริเวณตะวันออกของเทือกเขาคอเคซัสโดยเฉพาะอาเซอร์ไบจานและดาเกสถาน รวมทั้งในอิสราเอล ภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซีย อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้ ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาที่ใกล้เคียงกันคือภาษาตัตของชาวมุสลิมในอาเซอร์ไบจาน คำว่ายูฮูรีและยูฮูโรแปลตรงตัวหมายถึงของยิว และชาวยิว ภาษายูฮูรีนี้มีลักษณะของกลุ่มภาษาเซมิติกปนอยู่มาก มีเสียง "ayin" (ע) ซึ่งภาษาในบริเวณนั้นไม่มีเสียงนี้.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษายูฮูรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาดิโน

ษาลาดิโน (Ladino) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ ได้รับอิทธิพลจากภาษาสเปนมาก โดยเฉพาะภาษาสเปนโบราณ (คัสติลเลียน) ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาลาดิโนกับภาษาสเปน เทียบได้กับภาษายิดดิชกับภาษาเยอรมัน ผู้พูดส่วนใหญ่เป็นชาวยิวเซฟาร์ดิก ตัวอย่างเช่น ชาวยิวในเทสซาโลนิกี อิสตันบูล และอิสมีร์ โครงสร้างของภาษาใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีบางส่วนมาจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษาสลาฟใต้ ขึ้นกับว่าผู้พูดอาศัยอยู่ที่ใด ภาษาลาดิโนมีเสียงที่มาจากภาษาสเปนโบราณที่กลายเป็นเสียงจากเพดานอ่อน /x/ ในภาษาสเปนสมัยใหม่ ภาษาลาดิโนมีหน่วยเสียง /x/ ที่ได้จากภาษาฮีบรู ในบางบริเวณมีการสร้างคำที่มีลักษณะเฉพาะ เช่น muestro จาก nuestro (ของเรา) โครงสร้างทางไวยากรณ์ใกล้เคียงกับภาษาสเปน โดยมีการเพิ่มส่วนจากภาษาฮีบรู ภาษาโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศส ภาษาตุรกี ภาษากรีก และภาษากลุ่มสลาฟใต้ ขึ้นกับบริเวณที่ใช้พูด ภาษาลาดิโนเป็นภาษาที่ใกล้ตายเนื่องจากผู้พูดเป็นภาษาแม่มีอายุมากและไม่ถ่ายทอดภาษาให้รุ่นต่อไป ชุมชนชาวยิวเซฟาร์ดิกในประเทศต่างๆมีความพยายามฟื้นฟูภาษานี้โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับดนตรี สาเหตุที่ทำให้เป็นภาษาที่ใกล้ตายอีกอย่างหนึ่งคือการกลมกลืนไปกับภาษาสเปนสมัยใหม.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาลาดิโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิซาน ดิดัน

ษาลิซาน ดิดัน (Lishan Didan) เป็นภาษาอราเมอิกใหม่ จุดเริ่มต้นของภาษาอยู่ในอาเซอร์ไบจานของอิหร่าน บริเวณทะเลสาบอูร์เมีย ปัจจุบันผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในอิสราเอล คำว่าลิซาน ดิดันหมายถึงภาษาของเรา นักสัทศาสตร์ได้ตั้งชื่ออื่นให้ภาษานี้เพื่อลดความสับสนว่าภาษาอราเมอิกใหม่อาเซอร์ไบจานอิหร่านของชาวยิวหรือภาษาลาโคลคี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาลิซาน ดิดัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิซานา เดนี

ษาลิซานา เดนี (Lishana Deni) เป็นภาษาอราเมอิกสมัยใหม่ของชาวยิว จุดเริ่มต้นของภาษาอยู่ที่เมืองซาโคและบริเวณใกล้เคียงในอิรัก ปัจจุบันผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในเยรูซาเลม ภาษานี้เขียนด้วยอักษรฮีบรู ภาษานี้เข้าใจกันได้กับสำเนียงของชาวยิวอื่นๆได้น้อย แต่เข้าใจกันได้กับภาษาอราเมอิกใหม่สำเนียงของชาวคริสต์ในบริเวณนั้นๆโดยยเฉพาะภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดียแต่เข้าใจกันได้กับภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรียได้น้อย บางครั้งเรียกภาษานี้ว่าภาษาตาร์คุม เพราะใช้ในการแปลไบเบิลจากภาษาฮีบรูไปเป็นภาษาอราเมอิกซึ่งเรียกว่าคาร์คุม ความสับสนวุ่นวายช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 และการก่อตั้งรัฐอิสราเอลทำให้ชาวยิวในเคอร์ดิสถานอพยพไปสู่เยรูซาเลม ภาษาลิซานา เดนีในหมู่คนรุ่นใหม่ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรู เหลือผู้พูดภาษานี้อยู่ราว 8,000 คน ทั้งหมดอายุมากกว่า 50 ปี จัดเป็นภาษาที่ใกล้ต.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาลิซานา เดนี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิซานิด โนซาน

ษาลิซานิด โนซาน เป็นภาษาอราเมอิกใหม่ของชาวยิว เริ่มใช้พูดในทางใต้และทางตะวันออกของเคอร์ดิสถานในอิรัก อยู่ในบริเวณที่เรียกว่าอาร์บิล ผู้พูดส่วนใหญ่ปัจจุบันอยู่ในอิสราเอล คำว่าลิซานิก โนซานหมายถึง “ภาษาของพวกเราเอง” ชื่อเรียกอื่นๆของภาษานี้คือ ภาษาฮาลัวลา (หมายถึงภาษายิว) ภาษากาลิกาลู (หมายถึง “ของฉัน-ของคุณ” เรียกตามลักษณะเฉพาะของไวยากรณ์ และภาษาคูร์ดิต (หมายถึงภาษาเคิร์ด).

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาลิซานิด โนซาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกพระเยซู

ษาอราเมอิกพระเยซู (Aramaic of Jesus)เป็นภาษาอราเมอิกที่นักวิชาการเชื่อว่าพระเยซูเคยใช้พูด ควบคู่ไปกับภาษาฮีบรูและภาษากรีก เมืองนาซาเร็ธและคาร์เปอร์เนียมที่พระเยซูเคยอยู่ เป็นชุมชนที่เคยพูดภาษาอราเมอิก ส่วนภาษากรีกเป็นภาษาที่ใช้พูดอย่างกว้างขวางในจักรวรรดิโรมันตะวันออก เป็นที่ทราบกันดีว่าพระเยซูทรงรู้ภาษาฮีบรูและอภิปรายเกี่ยวกับไบเบิลภาษาฮีบรูได้ ภาษาอราเมอิกเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกที่ใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูที่เป็นภาษาในเขตเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกในช่วงเวลาระหว่างจักรวรรดิอัสซีเรียใหม่ บาบิโลเนียใหม่ และอาแคมินิดรวมทั้งช่วงเวลาหลังจากนั้น (179 ปีก่อนพุทธศักราช - พ.ศ. 213) หลังจากการรุกรานของกรีก..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิกพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกยิวบาบิโลเนีย

ษาอราเมอิกยิวบาบิโลเนีย เป็นภาษาอราเมอิกยุคกลางที่ใช้โดยนักเขียนชาวยิวระหว่างพุทธศตวรรษที่ 9-16 เป็นภาษาของทัลมุดในบาบิโลเนียและวรรณกรรมหลังยุคนั้น ภาษานี้ใกล้เคียงกับสำเนียงตะวันออกอื่นๆของภาษาอราเมอิก เช่น ภาษามันดาอิก และภาษาซีเรียคตะวันออกของนิกายอัสซีเรีย การออกเสียงเริ่มต้นยังไม่แน่นอน แต่ระบบการอ่านถูกจัดขึ้นโดยผู้พูดภาษาฮีบรูเยเมน ภาษาอราเมอิกในทัลมุดเป็นภาษาที่มีลักษณะพิเศษ และใช้เป็นภาษากฏหมายแบบเดียวกับภาษากฏหมายของฝรั่งเศส เมื่อภาษาอาหรับกลายเป็นภาษาในชีวิตประจำวัน ภาษาอราเมอิกสำเนียงนี้จึงกลายเป็นแหล่งของศัพท์เฉพาะเช่น tiyuvta และ teyku ซึ่งยังใช้ในการเขียนกฏหมายภาษาฮีบรู และมีอิทธิพลต่อภาษาฮีบรูสมัยใหม่ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิกยิวบาบิโลเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานี

ษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานี เป็นภาษาอราเมอิกของชาวยิวสมัยใหม่ เริ่มแรกใช้พูดในหมู่บ้านสามแห่งในเคอร์ดิสถานของอิรัก ชื่อเรียกในภาษาของตนคือ “ลิซานิด ญานัน” หมายถึง ภาษาของเร.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิกใหม่ยิวบาร์ซานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกไบเบิล

ษาอราเมอิกไบเบิล (Biblical Aramaic) เป็นรูปแบบของภาษาอราเมอิกที่พบในหนังสือของดาเนียล เอซรา และบางแห่งไบเบิลฉบัลภาษาฮีบรู.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิกไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอัมโมไนต์

ษาอัมโมไนต์ เป็นภาษากลุ่มคานาอันไนต์ ของชาวอัมโมไนต์ที่กล่าวถึงในคัมภีร์ไบเบิล ซึ่งเคยอาศัยอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศจอร์แดนในปัจจุบันและเป็นที่มาของชื่อ “อัมมัน” เมืองหลวงของจอร์แดน หลักฐานเกี่ยวกับภาษานี้เหลืออยู่น้อย เช่น จารึกที่มั่นสุดท้ายของชาวอัมมัน อายุ 357 ปีก่อนพุทธศักราช ขวดทองแดงอายุราว 157 – 57 ปีก่อนพุทธศักราช หลักฐานเท่าที่พบแสดงว่าภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูในคัมภีร์ไบเบิล โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาอราเมอิก เช่น การใช้ ‘bd แทน ‘śh ในภาษาฮีบรูไบเบิลสำหรับคำว่า “ทำงาน” สิ่งที่ต่างไปอีกอย่างหนึ่งคือ การใช้รูปสตรีลึงค์ เอกพจน์ -t (เช่น ’šħt "cistern").

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาอัมโมไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับยิวโมร็อกโก

ษาอาหรับยิวโมร็อกโก (Judeo-Moroccan Arabic) เป็นสำเนียงภาษาอาหรับที่พูดโดยชาวยิวที่เคยอยู่ในโมร็อกโก ปัจจุบันผู้พูด 99% อยู่ในอิสราเอล ผู้ที่อยู่ในโมร็อกโกมักเป็นผู้สูงอ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาอาหรับยิวโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับคลาสสิก

อกสารจากอัลกุรอ่าน เป็นลายมือเขียนของภาษาอาหรับคลาสสิก ภาษาอาหรับคลาสสิก (Classical Arabic; CA) หรือภาษาอาหรับโกหร่าน (Koranic Arabic) เป็นรูปแบบของภาษาอาหรับที่ใช้ในวรรณคดีจากสมัยอุมัยยัดและอับบาสิด (ประมาณพุทธศตวรรษ 12 – 14) มีพื้นฐานมาจากสำเนียงในยุคกลางของเผ่าอาหรับ ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ จะเป็นภาษาลูกหลานของภาษานี้ แม้ว่ารากศัพท์ และรูปแบบของภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่จะต่างจากภาษาอาหรับคลาสสิก แต่โครงสร้างประโยคยังไม่เปลี่ยนแปลง ในขณะที่สำเนียงที่ใช้พูดได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว ในโลกของชาวอาหรับ มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยระหว่างภาษาอาหรับคลาสสิกและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ และทั้งคู่ถูกเรียกว่าอัล-ฟุศฮาในภาษาอาหรับซึ่งหมายถึงภาษาพูดที่ชัดเจน เนื่องจากเป็นภาษาที่ใช้เขียนคัมภีร์อัลกุรอ่าน จึงถือเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ของมุสลิม และใช้ในพิธีทางศาสน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาอาหรับคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอีโดไมต์

ษาอีโดไมต์เป็นภาษากลุ่มฮีบรู-คานาอันไนต์ที่ตายแล้ว เคยใช้พูดทางตะวันตกเฉียงใต้ในจอร์แดน เมื่อ 457 ปีก่อนพุทธศักราช ในช่วงแรกเขียนด้วยอักษรคานาอันไนต์ ต่อมาช่วง 57 ปีก่อนพุทธศักราชเปลี่ยนมาเขียนด้วยอักษรอราเมอิก และเริ่มมีคำยืมจากภาษาอาหรับ ในคัมภีร์ไบเบิล “อีดอม” เป็นชื่อหนึ่งของเอซาว ซึ่งเป็นลูกหลานของอีเบอร์ผ่านทางอับราฮัม ชาวอีโดไมต์ได้รับการยอมรับว่าเป็นชาวยิวเช่นเดียวกับชาวมัวไบต์และชาวอัมโมไนต์ ภาษาของพวกเขาจึงอาจเรียกว่าภาษาฮีบรูได้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาอีโดไมต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอโมไรต์

ษาอโมไรต์ เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่พูดโดยเผ่าอโมไรต์ในประวัติศาสตร์ยุคต้นของตะวันออกกลาง เป็นที่รู้จักจากบันทึกของชาวอัคคาเดียระหว่างช่วงที่ชาวอโมไรต์เข้าปกครองบาบิโลเนีย (2,357 – 457 ก่อนพุทธศักราช) และพบในบันทึกของชาวอียิปต์ยุคต้น ชื่อสถานที่แห่งหนึ่งคือ "Snir" (שְׂנִיר) เป็นที่รู้จักจากคัมภีร์ไบเบิล ลักษณะทั่วไปของภาษานี้ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาอโมไรต์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮูลัวลา

ษาฮูลัวลา (Hulaulá) เป็นภาษาอราเมอิกของชาวยิวยุคใหม่ เริ่มแรกใช้พูดในเคอร์ดิสถานของอิหร่าน ปัจจุบันผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในอิสราเอล คำว่า Hulaulá หมายถึงความเป็นยิว บางครั้งผู้พูดภาษานี้เรียกภาษาของตนว่าลิซานา โนซาน หรือลิซานา อักนี ซึ่งหมายถึงภาษาของเรา บางครั้งเรียกภาษาฮูลัวลาว่าภาษากาลิกลู เพื่อให้แตกต่างจากสำเนียงอื่นๆของภาษาอราเมอิกโดยใช้ความแตกต่างของระบบบุพบทและปัจจัย บางครั้ง นักวิชาการเรียกภาษานี้ว่า ภาษาอราเมอิกใหม่ของชาวยิวในเคอร์ดิสถานเปอร์เซี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาฮูลัวลา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูมิซราฮี

ภาษาฮีบรูมิซราฮี หรือภาษาฮีบรูตะวันออก ใช้อ้างถึงระบบการออกเสียงภาษาฮีบรูในคัมภีร์ไบเบิลที่ใช้ในทางศาสนาของชาวยิวมิซราฮีซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศอาหรับหรือทางตะวันออก และโดยมากจะพูดภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาฮินดี ภาษาตุรกี หรือภาษาอื่นๆในตะวันออกกลางและเอเชีย คำนี้ใช้ครอบคลุมภาษาฮีบรูหลายสำเนียง แต่ไม่รวมชาวยิวเซฟาร์ดีที่อยู่ในตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ชาวยิวเซฟาร์ดีนี้เป็นชาวยิวที่เคยอยู่ในสเปนแล้วถูกขับออกมา หมวดหมู่:ภาษาในตะวันออกกลาง หมวดหมู่:ภาษาของชาวยิว.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูมิซราฮี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูมิซนะห์

ษาฮีบรูมิซนะห์ (Mishnaic Hebrew language) หรือภาษาฮีบรูแรบไบรุ่นแรก (Early Rabbinic Hebrew language) เป็นลูกหลานโดยตรงของภาษาฮีบรูไบเบิลภาษาหนึ่ง ที่รักษาไว้โดยชาวกรุงในบาบิโลน และได้รับการบันทึกโดยชาวยิวที่เขียนมิซนะห์ สำเนียงนี้ไม่ได้ถูกใช้โดยชาวซามาริทันที่รักษาสำเนียงของตนในรูปภาษาฮีบรูซามาริทัน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูมิซนะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูอาซเกนาซี

ษาฮีบรูอาซเกนาซี (Ashkenazi Hebrew) เป็นระบบการออกเสียงของภาษาฮีบรูไบเบิล และภาษาฮีบรูมิซนะห์ที่นิยมใช้ในหมู่ชาวยิวอาซเกนาซี ระบบการออกเสียงนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาใกล้เคียงที่มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เช่น ภาษายิดดิช และภาษากลุ่มสลาฟหลายภาษา ทุกวันนี้เหลือรอดในฐานะภาษาทางศาสนาควบคู่ไปกับภาษาฮีบรูสมัยใหม่ในอิสราเอล.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูอาซเกนาซี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูซามาริทัน

ษาฮีบรูซามาริทัน (Samaritan Hebrew language) เป็นลูกหลานของภาษาฮีบรูไบเบิลที่ออกเสียงโดยชาวซามาริทัน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูซามาริทัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูไบเบิล

ษาฮีบรูไบเบิล (Biblical Hebrew)หรือภาษาฮีบรูคลาสสิก (Classical Hebrew) เป็นรูปแบบโบราณของภาษาฮีบรูที่ใช้เขียนคัมภีร์ไบเบิลและจารึกในอิสราเอล เชื่อว่าเป็นรูปแบบที่เคยใช้พูดในอิสราเอลสมัยโบราณ ไม่มีการใช้เป็นภาษาพูดในปัจจุบัน แต่ยังมีการศึกษาในฐานะภาษาทางศาสนาของชาวยิว ทฤษฎีของศาสนาคริสต์ นักภาษาศาสตร์และนักโบราณคดีของอิสราเอลเพื่อให้เข้าใจไบเบิลภาษาฮีบรูและปรัชญาของชาวเซมิติกมากขึ้น มีการสอนในโรงเรียนในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรูไบเบิลสามารถอ่านได้บ้างโดยผู้ที่เข้าใจภาษาฮีบรูสมัยใหม่ ซึ่งมีความแตกต่างกันบ้างในด้านคำศัพท์ ไวยากรณ์ และการออกเสียง แม้ว่ากฎของไวยากรณ์ของภาษาฮีบรูไบเบิลและภาษาฮีบรูสมัยใหม่มักจะต่างกัน แต่ภาษาฮีบรูไบเบิลบางครั้งมีใช้ในวรรณคดีภาษาฮีบรูสมัยใหม่ หน่วยในภาษาฮีบรูไบเบิลมักจะใช้ในบทสนทนาและสื่อในอิสราเอล.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี

ษาฮีบรูเซฟาร์ดี (Sephardi Hebrew)เป็นระบบการออกเสียงของภาษาฮีบรูไบเบิลที่มาจากการใช้งานของชาวยิวเซฟาร์ดี สัทวิทยาของภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาที่ติดต่อด้วยเช่น ภาษาลาดิโน ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาดัตช์ ภาษาอาหรั.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทาจิก

ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาของชาวยิว

งานเขียนอายุราวพุทธศตวรรษที่ 21 ของ Elia Levita แสดงจากซ้ายไปขวา ภาษายิดดิช - ภาษาฮีบรู - ภาษาละติน - ภาษาเยอรมัน ภาษาของชาวยิว (Jewish languages) เป็นกลุ่มของภาษาและสำเนียงที่พัฒนาในชุมชนชาวยิวทั่วโลกทั้งในยุโรป เอเชียและแอฟริกาเหนือ พัฒนาการของภาษาเหล่านี้เกิดขึ้นโดยการเพิ่มศัพท์ภาษาฮีบรูเพื่อใช้อธิบายแนวคิดเฉพาะของชาวยิวเข้าสู่ภาษาท้องถิ่น ส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรฮีบรู การอยู่เป็นกลุ่มก้อนอย่างเป็นเอกเทศของชาวยิว ทำให้ภาษาเหล่านี้รักษาคำศัพท์และลักษณะดั้งเดิมของภาษาที่เป็นภาษาต้นกำเนิดได้ภาษาของชาวยิวที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษายิดดิช ซึ่งเคยมีผู้พูดมากที่สุดในอดีต ภาษาลาดิโนที่เป็นภาษาของชาวยิวเซฟาร์ดีมากว่า 5 ศตวรรษและภาษาอาหรับของชาวยิวที่ใช้พูดในบริเวณที่มีผู้พูดภาษาอาหรับมากว่าพันปี ภาษาฮีบรูเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนายูดาย และเคยใช้เป็นภาษาพูดมาก่อน จนราว..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาของชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาซาร์

ษาคาซาร์ เป็นภาษาที่พูดโดยเผ่าคาร์ซาร์ในเอเชียกลางในยุคกลาง อยู่ในภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาฮั่น มีข้อโต้แย้งกันมากว่าภาษาคาซาร์ควรอยู่ในสาขาใดของภาษากลุ่มเตอร์กิกถ้าจะจัดให้อยู่ในกลุ่มนี้ บางคนเสนอว่าน่าจะจัดให้อยู่ในภาษากลุ่มอิหร่านหรือภาษากลุ่มคอเคเซียน อาจได้รับอิทธิพลจากภาษาเตอร์กิกโบราณและภาษาอุยกูร์ นักวิชาการอาหรับในยุคกลางจำแนกให้ภาษาคาซาร์คล้ายกับภาษาของชาวเติร์กเช่น ภาษาโอคุซ นอกจากนั้นภาษาคาซาร์และภาษากลุ่มโอคุซมีความใกล้เคียงกับภาษาอื่น เพราะภาษาบัลการ์อาจได้รับอิทธิพลจากภาษาเตอร์กิกโบราณและภาษาอุยกูร์ นักวิชาการปัจจุบันได้ตั้งสมมติฐานโอคุซโดยสันนิษฐานว่าภาษาคาซาร์มีจุดกำเนิดจากยุคของกอกเติร์ก ซึ่งเป็นไปได้ว่าภาษาเตอร์กิกโบราณแบบของกอกเติร์กมีการใช้เป็นภาษาทางการในช่วงต้นของประวัติภาษาคาซาร์แต่ไม่มีหลักฐานเหลืออยู่ จารึกอักษรออร์คอน ที่ใช้เขียนภาษาคาซาร์ ตัวอย่างของภาษาคาซาร์ที่เหลืออยู่ในปัจจุบันมีน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นชื่อที่ยังเหลืออยู่ในเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่เหลืออยู่ในภาษาฮีบรู ภาษาคาซาร์ที่เหลืออยู่เป็นข้อความที่เขียนด้วยอักษรรูนส์แบบเตอร์กิก แต่ก็ยังพบภาษาคาซาร์ที่เขียนด้วยอักษรซีริลลิก อักษรกรีก อักษรฮีบรู อักษรละติน อักษรอาหรับหรืออักษรจอร์เจียในชุมชนที่ต่างกัน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาคาซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาไรม์

ษาคาไรม์ (Karaim language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาฮีบรูในทำนองเดียวกับภาษายิดดิชหรือภาษาลาดิโน พูดโดยชาวคาไรต์ในไครเมียซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่นับถือศาสนายูดายในไครเมีย ลิธัวเนีย โปแลนด์และยูเครนตะวันตกเหลือผู้พูดอยู่เพียง 6 คน ภาษาคาไรม์สำเนียงลิธัวเนียเคยใช้พูดในกลุ่มชุมชนขนาดเล็กบริเวณเมืองตราไก ชาวคาไรต์เหล่านี้ถูกซื้อมาโดยแกรนด์ดุ๊กเวียเตาตัสแห่งลิธัวเนียเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาคาไรม์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาร์คุม

ษาตาร์คุม (Targum) เป็นภาษาที่ใช้โดยชาวยิวในอิรักภาคเหนือ และเคอร์ดิสถาน ซึ่งเป็นสำเนียงของภาษาอราเมอิก คำว่า ตาร์คุม หมายถึง การแปลในภาษาฮีบรู และเริ่มแรกหมายถึงไบเบิลฉบับแปลเป็นภาษาอราเมอิก และในยุคกลาง ชาวยิวใช้คำว่าตาร์คุมเพื่อหมายถึงภาษาอราเมอิก เช่นเดียวกับการใช้คำว่าลาดิโนเพื่อหมายถึงภาษาสเปนของชาวยิวและใช้คำว่า sharħ เพื่อหมายถึงภาษาอาหรับของชาวยิว ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ภาษาอราเมอิกของชาวยิว.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาตาร์คุม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอกแคด

ษาแอกแคด (lišānum akkadītum; Akkadian language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติกใช้พูดในเมโสโปเตเมียโบราณ รวมทั้งชาวบาบิโลเนียและชาวอัสซีเรีย ชื่อของภาษานี้มาจากเมืองแอกแคดซึ่งเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมเมโสโปเตเมี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาแอกแคด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเครียมชาก

ษาเครียมชาก (Krymchak language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ใช้พูดในไครเมียโดยชาวเครียมชาก บางครั้งจัดเป็นสำเนียงของภาษาตาตาร์ไครเมียเรียกภาษาตาตาร์ไครเมียของชาวยิว ภาษานี้มีคำยืมจากภาษาฮีบรูมาก ก่อนยุคสหภาพโซเวียต เคยเขียนด้วยอักษรฮีบรู จนถึงยุคของสหภาพโซเวียตเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาเครียมชาก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซียของชาวยิว

ษาเปอร์เซียของชาวยิว (Judæo-Persian)หรือ ภาษายีดี (Jidi; IPA: /ʤiːdiː/) เป็นภาษาเปอร์เซียที่พูดโดยชาวยิวที่อาศัยอยู่ในอิหร่าน และเอกสารภาษาเปอร์เซียของชาวยิวที่เขียนด้วยอักษรฮีบรู ถ้ามองในมุมกว้าง ภาษานี้จะรวมสำเนียงทั้งหมดของภาษาเปอร์เซียที่ใช้โดยชาวยิวในจักรวรรดิเปอร์เซีย ในมุมที่แคบลง ภาษานี้หมายถึงสำเนียงที่พูดในเตหะราน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและภาษาเปอร์เซียของชาวยิว · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์

มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ หรือ เฟท/สเตย์ ไนท์ เป็นเอโรเกะ สร้างโดยไทป์-มูน วางจำหน่ายครั้งแรกในปี 2547 ต่อมา สตูดิโอดีน ได้นำไปทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนฉายทางโทรทัศน์ โดยมีเจเนออนเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 6 มกราคม 2549 ถึงวันที่ 16 มิถุนายน 2549 นอกจากนี้ในปี 2550 ไทป์-มูน ได้นำมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์มาสร้างใหม่สำหรับเครื่อง เพลย์สเตชัน 2 ภายใต้ชื่อ "เฟท/สเตย์ ไนท์ " โดยตัดเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสำหรับผู้เยาว์ออกทั้งหมด เฟท/สเตย์ ไนท์ ยังถูกดัดแปลงเป็นมังงะ ซึ่งในขณะนี้กำลังตีพิมพ์ลงในนิตยสารโชเน็นเอซ ฉบับรายเดือน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

มัทธิวผู้นิพนธ์พระวรสาร

มัทธิว (Matthew the Evangelist; מתי - ของขวัญของพระเจ้า; ภาษาฮีบรูมาตรฐาน และ ภาษาฮีบรูไทบีเรียน “Mattay”; Μαθθαίος, “Matthaios”) เป็นอัครทูตของพระเยซู และเป็นหนึ่งในผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่าน (อีกสามท่านคือ มาระโก ยอห์น และลูกา) เชื่อกันว่าท่านเป็นผู้ประพันธ์พระวรสารนักบุญมัทธิวซึ่งเป็นพระวรสารฉบับหนึ่งในพันธสัญญาใหม่ และเชื่อกันว่าเป็นคนเดียวกับ “เลวี” (Levi) ผู้เก็บภาษี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและมัทธิวผู้นิพนธ์พระวรสาร · ดูเพิ่มเติม »

มารา เจด สกายวอล์คเกอร์

มารา เจด สกายวอล์คเกอร์ (Mara Jade Skywalker) เป็นตัวละครสมมติในจักรวาลขยายของเรื่องแต่งชุด สตาร์ วอร์ส ปรากฏตัวครั้งแรกในนิยายไตรภาคธรอว์นของทิโมธี ซาห์น และเป็นตัวละครที่ได้รับความนิยมที่สุดจากเรื่องชุดในหนังสือนิยาย จากแบบสำรวจเกี่ยวกับความนิยมในตัวละคร สตาร์ วอร์ส นั้น มาราได้อยู่ในยี่สิบอันดับสูงสุด เอาชนะตัวละครในจักรวาลขยายทั้งหมดและตัวละครจากภาพยนตร์อีกจำนวนหนึ่ง เธอเป็นตัวละครลับในเกมต่อสู้ Star Wars: Master of Teräs Käsi ในเพลย์สเตชัน และเป็นตัวละครที่เลือกเล่นได้ในเกมคอมพิวเตอร์ Star Wars Jedi Knight: Mysteries of the Sith การปรากฏตัวครั้งล่าสุดของเธออยู่ในเกมแนววางแผนแบบเรียลไทม์ Star Wars: Empire at War ซึ่งเธอได้ต่อกรกับกองกำลังกบฏ (รวมทั้งไคล์ คาทาร์น และลุค สกายวอล์คเกอร์ด้วย) ในฐานะของหัตถ์จักรพรรดิ ในฐานะของหัตถ์จักรพรรดิ มารา เจด ปฏิบัติงานเป็นหนึ่งในมือสังหารส่วนตัวชั้นสูงสุดของจักรพรรดิพัลพาทีน หลังจากนั้นจึงเข้าเป็นรองผู้บังคับบัญชาหัวหน้างานลักลอบขนส่ง ทาลอน คารร์เด และได้แต่งงานกับลุค สกายวอล์คเกอร์ แล้วจึงได้รับตำแหน่งอาจารย์เจได มาราไม่มีบทบาทในภาพยนตร์ สตาร์ วอร์ส ภาคใดเลย แต่เธอถูกแสดงบทโดยนางแบบแชนนอน แมคแรนเดิล ในการ์ดเกม Star Wars Customizable Card Game นักฆ่าที่ทำงานให้กับจักรพรรดิ พัลพาทีน, ครั้งสุดท้ายของเธอที่จะฆ่า ลุค สกายวอล์คเกอร์ แต่หลังจากที่ต่อสู้กัน สุดท้ายก็ตกหลุมรักกันกับ ลุค สกายวอล์คเกอร์ ในช่วงไม่กี่ปีที่พวกเขาตกอยู่ในความรักและการแต่งงาน เธอใช้ชื่อท้าย ว่า สกายวอล์คเกอร์ และอุทิศตนให้แก่เจไดและท้ายในที่สุด เธอถูกฆ่าตายโดย เจสันหลานชายของเธอ หลังจากที่เธอพบว่าเขาได้หันเข้าไปหาทางด้านมืด Dark Side ในภาษาฮิบรู คำว่า มารา แปลว่า "bitter" (ขมขื่น รุนแรง ดุเดือด) ซึ่งอธิบายบุคลิกของมาราได้ค่อนข้างตรงตามหนังสือนิยายสตาร์ วอร์ส ในช่วงแรกๆ อย่างไรก็ดีมันยังมีความหมายว่า "myrrh" (ยางไม้หอมชนิดหนึ่ง) หรือ "fragrance" (กลิ่นหอม) ซึ่งบรรยายถึงบุคลิกตัวละครของเธอในหนังสือเล่มหลังๆ มาราเป็นหญิงแกร่งมากความสามารถ มีผมสีแดงเพลิง (fiery red) ดวงตาสีเขียวเข้ม (deep green) และทรวงทรงแบบนักเต้นรำ กล่าวกันว่าเธอค่อนข้างมีบุคลิกตัวละครคล้ายคลึงกับเจ้าหญิงเลอา ซึ่งเป็นน้องสาวฝาแฝดของสามีของเธอ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและมารา เจด สกายวอล์คเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก

มาร์ก เอลเลียต ซักเคอร์เบิร์ก (Mark Elliot Zuckerberg) เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1984 ที่ ประเทศอเมริกา เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกันเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ เฟซบุ๊ก เขาร่วมก่อตั้งเฟสบุ๊กร่วมกับเพื่อนอีก 4 คน ขณะกำลังศึกษาที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ต่อมา นิตยสารไทม์ ได้ให้เขาเป็นบุคคลแห่งปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและมาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

มดยอบ

มดยอบ พืชที่ให้มดยอบ (''Commiphora myrrha'') มดยอบ เป็นยางไม้ที่ได้จากพืชในสกุล Commiphora ส่วนใหญ่จะเป็นชนิด Commiphora myrrha ซึ่งเป็นพืชมีหนาม สูงประมาณ 4 เมตร ขึ้นตามพื้นที่ที่มีหินปูน เป็นพืชท้องถิ่นในแถบคาบสมุทรอาหรับและแอฟริกา เมื่อลำต้นของพืชชนิดนี้มีรอยแตกหรือถูกกรีด พืชจะสร้างยางไม้ซึ่งเมื่อแห้งจะมีลักษณะแข็ง มีสีเหลืองไปจนถึงน้ำตาล มนุษย์รู้จักใช้มดยอบเป็นยาและเครื่องหอมมานานนับพันปีแล้ว ดังที่มีตัวอย่างในการนมัสการของโหราจารย์ เมื่อโหราจารย์ทั้งสามเดินทางมาสักการะพระเยซู และมอบของสามสิ่งคือ ทองคำ, กำยาน และมดยอ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและมดยอบ · ดูเพิ่มเติม »

ม้วนหนังสือเดดซี

้นส่วนของม้วนหนังสือในพิพิธภัณฑ์ในเมืองอัมมาน หุบผาที่พบม้วนหนังสือ ม้วนหนังสือเดดซี (Dead Sea Scrolls) เป็นหนังสือม้วนที่พบในถ้ำ 11 แห่ง ระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและม้วนหนังสือเดดซี · ดูเพิ่มเติม »

ยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร

อห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร (John the Evangelist; “יוחנן” (The LORD); ภาษาฮีบรูมาตรฐาน: “Yoḥanan”, ภาษาฮีบรูไทบีเรียน: “Yôḥānān”) หรือที่เรียกว่า “สาวกผู้เป็นที่รัก” (Beloved Disciple)) (เสียชีวิตประมาณปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร · ดูเพิ่มเติม »

ย้อด

ย้อด (Yod อาจสะกดเป็น Yud หรือ Yodh) เป็นอักษรตัวที่สิบของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู י‎, อักษรซีเรียค และอักษรอาหรับ ﻱ‎ (ยาอ์) แทนด้วยสัทอักษร อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก (Ι), อักษรละติน I, อักษรซีริลลิกสำหรับภาษายูเครนและภาษาเบลารุส І, (Ⲓ) และอักษรกอทิก eis (̹) เชื่อว่ามาจากอักษรภาพรูปมือ (จากภาษาอาหรับและภาษาฮีบรูสมัยใหม่, yad) หรืออาจจะมาจากอักษรไฮโรกลิฟรูปแขน หมวดหมู่:อักษรอาหรับ fa:ی ja:ي.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและย้อด · ดูเพิ่มเติม »

รับบี

ราไบโมเช ไฟน์สไตน์ผู้นำคนสำคัญของศาสนายูดาห์ออร์ทอดอกซ์ของครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 รับบี (רב รับบี; Rabbi, แรบาย) เป็นภาษาฮิบรูแปลว่า “อาจารย์” เป็นคำที่ใช้ในศาสนายูดาห์ที่หมายถึงผู้สอนศาสนา คำว่า “rabbi” มีรากมาจากภาษาฮิบรูว่า “רַב” หรือ “rav” ที่ในคัมภีร์ฮีบรูหมายความว่า “ยิ่งใหญ่” หรือ “เป็นที่เคารพ” คำนี้มีรากมาจากรากภาษากลุ่มเซมิติก R-B-B เทียบเท่ากับภาษาอาหรับ “ربّ” หรือ “rabb” ที่แปลว่า “lord” (ที่โดยทั่วไปเป็นการเอ่ยถึงพระเจ้าทางโลกด้วย เพื่อเป็นการแสดงความนับถือบางครั้งรับบีผู้มีชื่อเสียงก็จะเรียกกันว่า “The Rav.” รับบีไม่ใช่งานอาชีพตามคัมภีร์โทราห์ ฉะนั้นจึงไม่มีการใช้ตำแหน่งที่เกี่ยวข้องเช่น “Rabban” “Ribbi” หรือ “Rab” เพื่อกล่าวถึงนักปราชญ์ในบาบิโลเนียหรือในอิสราเอล แม้แต่ศาสดาผู้มีความสำคัญในพระคัมภีร์ก็ยังไม่เรียกว่ารับบี แต่เรียกว่า “ฮักไก” ตำแหน่ง “รับบัน” หรือ “รับบี” เริ่มใช้กันเป็นครั้งแรกในคัมภีร์ฮีบรูในมิชนาห์ (ราว 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช) คำนี้ใช้เป็นครั้งแรกสำหรับรับบันกามาลิเอลผู้อาวุโส (Rabban Gamaliel the elder), ราบันซิเมอันลูกชาย และโยฮานัน เบน ซัคไค ซึ่งต่างก็เป็นประธานสภาซันเฮดริน คำนี้ในภาษากรีกพบในพระวรสารนักบุญมัทธิว พระวรสารนักบุญมาระโก และพระวรสารนักบุญยอห์นในพันธสัญญาใหม่เมื่อกล่าวถึงพระเยซู. การพัฒนาความคิดเกี่ยวกับรับบีเริ่มขึ้นในสมัยฟาริสีและทาลมุด เมื่อปรจารย์มาประชุมกันเพื่อร่างกฎเกี่ยวกับศาสนายูดาห์ทั้งทางภาษาเขียนและภาษาพูด ในคริสต์ศตวรรษที่ผ่านมา หน้าที่ของรับบีก็ยิ่งเพิ่มความมีอิทธิพลมากขึ้น ที่ทำให้เกิดคำใหม่ๆ เช่น “รับบีแท่นเทศน์” (pulpit rabbi) และในคริสต์ศตวรรษที่ 19 หน้าที่ของราไบก็รวมการเทศนา, การให้คำปรึกษา และ การเป็นผู้แทนชองประชาคมในโลกภายนอกก็เพิ่มความสำคัญขึ้นเป็นลำดับ ในนิกายต่างๆ ของศาสนายูดาห์ ข้อกำหนดเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ในการแต่งตั้งรับบีก็แตกต่างกันออกไป หรือกฎที่ใครควรจะเรียกว่าเป็นรับบี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและรับบี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน (الخلافة الراشدية, Rashidun Caliphate) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์รัฐแรกในสี่รัฐเคาะลีฟะฮ์ ก่อตั้งขึ้นหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมมัดในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและรัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์(الخلافة العباسية: al-Khilāfah al-‘Abbāsīyyah) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ราชวงศ์ที่สามของศาสนาอิสลาม ที่มีเมืองหลวงที่แบกแดดหลังจากที่โค่นราชวงศ์อุมัยยะฮ์ออกจากบริเวณต่าง ๆ ยกเว้นอัล-อันดะลุส (Al-Andalus) รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก่อตั้งโดยผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากอับบาส อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ (العباس بن عبد المطلب‎ – Abbas ibn Abd al-Muttalib) ลุงคนเล็กของมุฮัมมัด โดยก่อตั้งขึ้นในฮาร์รานในปี ค.ศ. 750 และย้ายเมืองหลวงจากฮาร์รานไปแบกแดดในปี ค.ศ. 762 รัฐเคาะลีฟะฮ์นี้รุ่งเรืองอยู่ราวสองร้อยปีแต่ก็มาเสื่อมโทรมลงเมื่ออำนาจของตุรกีแข็งแกร่งขึ้น ภายใน 150 ปีทีแผ่ขยายอำนาจไปทั่วเปอร์เชีย รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก็สูญเสียอำนาจให้แก่จักรวรรดิมองโกล ในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์

รัฐอุมัยยะห์ (بنو أمية‎) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งแรกที่ถูกสถาปนาโดยมุอาวียะห์ อิบนุ อบี สุฟยาน (Muahwiya Ibn Abi Sufyan I, ค.ศ. 661 - ค.ศ. 680) หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของอะลีย์ บุตรเขยของมุฮัมหมัด ราชวงศ์นี้แผ่ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางในช่วงต้น อีกทั้งราชวงศ์ยังรักษาธรรมเนียมปฏิบัติของศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัด แต่พอถึงปลายยุคเคาะลีฟะฮ์กลับเสวยแต่น้ำจัณฑ์ ล่าสัตว์ ใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยไม่ปฏิบัติตามหลักศาสนา จึงถูกลูกหลานของน้าของศาสนทูตมุฮัมหมัดโค่นล้มราชวงศ์ลงในสมัยมัรวานที่ 2 ในปี ค.ศ. 750 (พ.ศ. 1293) อุมัยยะห์เป็นหนึ่งในสี่รัฐเคาะลีฟะฮ์ของอิสลามที่ก่อตั้งหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมหมัด ศาสนทูตของศาสนาอิสลามที่ปกครองโดยราชวงศ์อุมัยยะห์ ที่ได้รับชื่อจาก Umayya ibn Abd Shams ผู้เป็นทวดของคอลีฟะฮ์อุมัยยะห์คนแรก แม้ว่าตระกูลอุมัยยะห์เดิมจะมาจากมักกะฮ์ แต่ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐ หลังจากอุมัยยะห์ถูกโค่นโดยรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะห์ก็ย้ายไปตั้งถิ่นฐานใหม่ที่อัล-อันดะลุส (Al-Andalus) และก่อตั้งเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา ภายหลังจากที่ท่านอะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ เคาะลีฟะฮ์รอชิดีนคนที่ 4 เสียชีวิต ท่านหะสัน อิบนุ อะลี บุตรของท่านอาลีได้รับเลือกตั้งเป็นเคาะลีฟะฮ์คนต่อไป แต่ดำรงตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ได้ไม่กี่เดือนก็ยอมสละตำแหน่งให้แก่ท่านมุอาวียะฮ์ อิบนุ อบี สุฟยาน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพในรัฐอิสลาม พร้อมกับหลีกเลี่ยงความแตกแยกและการสูญเสียเลือดระหว่างชาวมุสลิมด้วยกันมากกว่านี้ มุอาวิยะฮ์เป็นเคาะลีฟะฮ์ท่านแรกในราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ท่านสืบเชื้อสายจากตระกูลอุมัยยะห์ บุตรของอับดุซซัม ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า "ราชวงศ์อุมัยยะฮ์" ในสมัยการปกครองของราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ท่านมุอาวียะฮ์ได้เปลี่ยนรูปแบบการปกครองจากสาธารณรัฐเป็นราชอาณาจักร ท่านทำให้ตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์กลายเป็นตำแหน่งกษัตริย์โดยการสืบสันติวงศ์ ท่านได้ทรงแต่งตั้งยะซิด โอรสของท่านให้เป็นกษัตริย์ ต่อมาการแต่งตั้งแบบนี้ได้กลายเป็นตัวอย่างการแต่งตั้งเคาะลีฟะฮ์มาตลอดราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ทั้งรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์และอื่น ๆ อีกด้วย ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าท่านเป็นผู้สร้างตำแหน่งกษัตริย์โดยการสืบสันติวงศ์ขึ้นในประวัติศาสตร์ของศาสนาอิสลาม การปกครองแบบประชาธิปไตยระหว่างเผ่าของเคาะลีฟะฮ์ท่านก่อน ๆ ก็หมดสิ้นไป กลายเป็นการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา

รัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา (خلافة قرطبة, Khilāfat Qurṭuba) ปกครองคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาเหนือจากเมืองกอร์โดบา ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

ลิลิธ

ลิลิธ (Lilith) (לילית; lilit, or lilith) เป็นชื่อในภาษาฮิบรูสำหรับรูปลักษณ์ในเทพปกรณัมยิว มีการกล่าวถึงในหลายตำนาน โดยมีการบันทึกกล่าวถึงแรกสุดใน ทัลมุดบาบิโลเนียน ซึ่งกล่าวในลักษณะของปีศาจสาว Līlīṯu ในข้อความของชาวเมโสโปเตเมีย หลักฐานอื่นที่ปรากฏในเอกสารของชาวยิว ซึ่งเกี่ยวโยงกับปีศาจสาวลิลิธแห่งอาณาจักรอัคกาด ในขณะเดียวกันนักวิชาการได้ตั้งมีการแย้งว่าลิลิธที่ปรากฏในบาบิโลเนียน และลิลิธที่ปราฏในอัคกาเดียนเป็นคนละตนกัน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและลิลิธ · ดูเพิ่มเติม »

ลูซิเฟอร์

หนังสือเอเสเคียล คำว่า "ลูซิเฟอร์" หมายถึงทูตสวรรค์ที่ถูกพระเจ้าขับไล่ ลูซิเฟอร์ (Lucifer) เป็นคำ ๆ หนึ่งจากการถอดเสียงคำภาษาฮีบรู הֵילֵל ในหนังสืออิสยาห์ บทที่ 14 ข้อที่ 12 คำนี้สามารถถอดเสียงออกมาได้ว่า เฮเลล คำนี้ปรากฏเพียงครั้งเดียวในคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งมีความหมายว่า "ผู้ส่องแสง": "shining one, morning star, Lucifer; of the king of Babylon and Satan (fig.)" ส่วนคำว่าลูซิเฟอร์นั้นมาจากคัมภีร์ไบเบิลฉบับวัลเกต ซึ่งถอดเสียง הֵילֵל ว่า ลูซีแฟร์ หมายถึง "ดาวประกายพรึก" หรือ "ผู้ส่องแสง" คริสตชนโบราณยุคหลัง มักจะใช้คำในภาษาละตินว่า ลูซิเฟอร์ ในฐานะปีศาจก่อนตกจากสวรรค์ เพื่อแทนตัวตนของปีศาจ/ซาตาน ทำให้ลูซิเฟอร์ในภาพลักษณ์ปีศาจถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลายในวิหารและวรรณกรรมนิยมต่าง ๆ อย่างมากมาย ซึ่งแต่ก่อนคำว่าลูซิเฟอร์ในภาษาละตินนี้ไม่เคยถูกนำมาใช้อย่างเจาะจงในทางชั่วร้ายแบบนี้มาก่อน และความคิดนี้ก็แพร่หลายไปในคนทั่วไป โดยเฉพาะชาวคริสต์ ตัวตนของลูซิเฟอร์ในฐานะทูตสวรรค์นั้นเป็นสิ่งที่ถูกตีความขึ้นมา หากจะอ้างจากพระคัมภีร์แล้วตัวตนของทูตสวรรค์ลูซิเฟอร์ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่ามีอยู่จริงหรือไม่ ลูซิเฟอร์ที่เรารู้จักกันในฐานะปีศาจเป็นการตีความคำว่า הֵילֵל ของคริสตชน ซึ่งถูกนำไปเขียนในบทประพันธ์มากมายในฐานะปี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและลูซิเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาฮีบรู

ลโก้วิกิพีเดียภาษาฮีบรู วิกิพีเดียภาษาฮีบรู (ויקיפדיה העברית) เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาฮีบรู เริ่มสร้างเมื่อกรกฎาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาฮีบรูมีบทความมากกว่า 67,000 บทความ (ธันวาคม 2550).

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและวิกิพีเดียภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

สวนเอเดน

“อาดัมและอีฟในสวรรค์” (Adam and Eve in Paradise) โดย ลูคัส ครานาคผู้พ่อ คริสต์ศตวรรษที่ 16 สวนอีเด็น หรือ สวนเอเดน (Garden of Eden; ภาษาฮิบรู: גַּן עֵדֶן - Gan ‘Ēden) เป็นสถานที่บรรยายไว้ในพระธรรมปฐมกาลว่าเป็นสถานที่มนุษย์สองคนแรกที่พระเจ้าสร้าง -- อาดัม และ อีฟ -- อาศัย ความเชื่อนี้เป็นความเชื่อของศาสนาเอบราฮัม การสร้างโลกในพระธรรมปฐมกาลจะกล่าวถึงที่ตั้งของสวนอีเด็นว่าอยู่ในบริเวณแม่น้ำสำคัญสี่สาย: แม่น้ำพิชอน แม่น้ำกิฮอน แม่น้ำไทกริส และแม่น้ำยูเฟรทีสซึ่งอยู่ในบริเวณอาร์มีเนีย, ยอดเขาอารารัต, เยเรวาน หรือที่ราบสูงอาร์มีเนีย) (พระธรรมปฐมกาล บทที่ 2 ข้อที่ 10-14) ซึ่งอยู่ในบริเวณประเทศอิรักในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะเป็นบริเวณคอเคซัสโบราณโดยเฉพาะบริเวณใกล้กับอาร์มีเนีย แต่ที่ตั้งของแม่น้ำทั้งสี่ยังเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่มีหลักฐานเป็นที่แน่นอนที่สนับสนุนที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของแม่น้ำนอกจากที่กล่าวในพระธรรมปฐมกาลเอง และ วรรณกรรมยิว-คริสเตียนเช่น “จูบิลี” สมมุติฐานอื่นก็ว่าตั้งอยู่ที่เมโสโปเตเมีย ทวีปแอฟริกา หรือ อ่าวเปอร์เซีย สมมุติฐานหลังมาจากหลักฐานของลุ่มแม่น้ำสี่สายที่มาพบกันที่เป็นที่ผลิตทองคำ และยางไม้หอม Bdellium แต่ก็ยังต้องมีการตีความหมายของเนื้อหาของพระธรรมปฐมกาลเพิ่มเพื่อยึนยัน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและสวนเอเดน · ดูเพิ่มเติม »

สะบาโต

วันสะบาโต (Sabbath Day; שומרי השבת) เป็นวันสำคัญทางศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ สะบาโต มาจากภาษาฮีบรู "ซับบาธ" แปลว่า "พัก" พระเจ้าทรงสร้างโลก 6 วัน และทรงพักในวันที่ 7 เพื่อให้มนุษย์ได้ปฏิบัติเป็นแบบอย่าง ถือเป็นวันบริสุทธิ์ห้ามทำกิจกรรมใด ๆ ได้ถือว่าวันนี้เป็นวันพักผ่อน เป็นวันหยุดสุดสัปดาห์ ให้ทำกิจกรรมที่ถวายแด่พระเจ้า เช่น การอธิษฐาน การอ่านพระคัมภีร์ และการขอบคุณพระเจ้.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและสะบาโต · ดูเพิ่มเติม »

สิงโต

งโต (Lion) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว สิงโตมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera leo มีขนาดลำตัวใหญ่ ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่งทั่วไป (P. tigris) ซึ่งเป็นสัตว์ในสกุล Panthera เหมือนกัน จัดเป็นสัตว์ในวงศ์ Felidae ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดรองมาจากเสือโคร่งไซบีเรีย (P. t. altaica) พื้นลำตัวสีน้ำตาล ไม่มีลาย ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีขนสร้อยคอยาว ขนปลายหางเป็นพู่ ชอบอยู่เป็นฝูงตามทุ่งโล่ง มีน้ำหนักประมาณ 250 กิโลกรัม (550 ปอนด์) ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่า มักทำหน้าที่ล่าเหยื่อ มีน้ำหนักประมาณ 180 กิโลกรัม (400 ปอนด์) มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาและประเทศอินเดีย ในป่าธรรมชาติ สิงโตมีอายุขัยประมาณ 10-14 ปี ส่วนสิงโตที่อยู่ในกรงเลี้ยงมีอายุยืนถึง 20 ปี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและสิงโต · ดูเพิ่มเติม »

สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด

นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ต่อมาได้จัดจำหน่ายโดย RKO Radio Pictures เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 เรื่องราวของเรื่องปรับปรุงมาจากแผ่นป้ายเรียบเรียงฉาก ของ Ann Blank, Richard Creedon, Merrill De Maris, Otto Englander, Earl Hurd, Dick Rickard, Ted Sears และ Webb Smith จากนวนิยายเยอรมันเรื่อง สโนว์ไวต์ ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เดวิด แฮนด์เป็นผู้อำนวยการผลิต ส่วน William Cottrell, Wilfred Jackson, Larry Morey, Perce Pearce และ Ben Sharpsteen กำกับลำดับภาพ สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นหนึ่งใน 2 ภาพยนตร์การ์ตูนที่ติดอันดับภาพยนตร์อเมริกาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 เรื่อง จากสถาบันภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

หนังสืออิสยาห์

หนังสืออิสยาห์ (Book of Isaiah, ספר ישעיה) เป็นหนังสือลำดับที่ 5 ในหมวดผู้เผยพระวจนะ (Nevi'im) ของคัมภีร์ทานัค (Tanakh) และเป็นหนังสือเล่มที่ 1 ในหมวดประกาศกใหญ่ของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม หนังสืออิสยาห์เขียนด้วยภาษาฮีบรู เชื่อมาแต่โบราณตามคำกล่าวอ้างในหนังสือคัมภีร์ว่าเขียนโดย อิสยาห์ ผู้เผยพระวจนะชาวยูดาห์ เมื่อ 800 ปีก่อนคริสตกาล บทที่ 1 - 39 (39 บท) ทำนายเคราะห์กรรมและการลงโทษ แก่ชาวยูเดียและประชาชาติทั้งหมดของโลกที่มีใจบาปต่อต้านพระเจ้า บทที่ 40 - 66 (27 บท) เรียกกันว่า "คัมภีร์แห่งการปลอบประโลม" ทำนายการฟื้นฟูประชาชาติอิสราเอลโดยพระเจ้า (ชาวคริสต์เชื่อว่าบางบทมีนัยความหมายถึง การเสด็จมาไถ่บาปของพระเยซูคริสต์) ส่วนนี้ยังรวมถึง "บทเพลงของผู้รับใช้ที่ได้รับความทุกข์ทน".

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและหนังสืออิสยาห์ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือนางรูธ

หนังสือนางรูธ (Book of Ruth) เป็นหนังสือเล่มที่สั้นที่สุดเล่มหนึ่งทั้งในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมและในคัมภีร์ฮีบรู มาจากภาษาฮีบรูว่า מגילת רות โดยหนังสือนางรูธนี้ มีเพียง 4 บท เท่านั้น หนังสือเล่มนี้ไม่ระบุผู้เขียนที่ชัดเจน มีนักเทววิทยาบางกลุ่มเชื่อว่า ซามูเอล เป็นผู้เรียบเรียงขึ้น แต่ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกัน เนื่องจากนักประวัติศาสตร์ พบว่าเนื้อหาบางส่วนในหนังสือนางรูธได้ระบุช่วงเวลาซึ่งเชื่อได้ว่า น่าจะเกิดขึ้นภายหลังจากซามูเอลได้เสียชีวิตแล้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและหนังสือนางรูธ · ดูเพิ่มเติม »

หน้าลายพรม

หน้าลายพรม (Carpet page) เป็นลักษณะอย่างหนึ่งของหนังสือวิจิตรของศิลปะเกาะ ซึ่งเป็นหน้าหนังสือที่ส่วนใหญ่จะเป็นลวดลายตกแต่งที่เป็นลายเรขาคณิต ที่อาจจะรวมทั้งรูปสัตว์ที่วาดซ้ำกันเป็นลาย งานลักษณะนี้มักจะใช้เป็นหน้าเริ่มต้นของพระวรสารแต่ละตอนของพระวรสารสี่ฉบับ คำว่า “หน้าลายพรม” หมายถึงหน้าหนังสือวิจิตรของศาสนายูดาย, ศาสนาคริสต์ และ ศาสนาอิสลามที่ไม่ข้อคความ และจะมีก็แต่ลวดลายตกแต่งเท่านั้น หน้าลายพรมแตกต่างจากหน้าที่อุทิศให้กับหน้าที่มีอักษรตัวต้นประดิษฐ์ แม้ว่าการตกแต่งโดยทั่วไปแล้วจะคล้ายคลึงกันก็ตาม หน้าลายพรมเป็นหน้าที่มีวัตถุประสงค์เพียงเพื่อการตกแต่งด้วยสีสันอันสดใส, เส้นที่มีพลัง และลายสอดประสานอันซับซ้อน ลักษณะของการตกแต่งมักจะมีความสมมาตร หรือเกือบจะมีความสมมาตร ทั้งตามแนวนอนและตามแนวตั้ง นักประวัติศาสตร์ศิลป์บางท่านสันนิษฐานว่าเป็นงานศิลปะที่มีต้นรากมาจากการตกแต่งหน้าหนังสือของชาวค็อพท์ และที่แน่ที่สุดคือเป็นงานที่ยืมมาจากงานโลหะร่วมสมัย และพรมโอเรียนทัลหรือผ้าแบบอื่นๆ เองก็อาจจะมีอิทธิพลต่อหน้าลายพรมดังกล่าวด้วย ตราและหนังสือพระวรสารสโตนีเฮิร์สท์ก็เป็นสัญลักษณ์ของการเขียนหน้าลายพรมอย่างง่ายๆ และงานหน้าปกโลหะอีกสองสามชิ้นที่ยังคงหลงเหลืออยู่จากสมัยเดียวกันเช่น “พระวรสารลินเดา” ก็เป็นงานที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ที่มาอีกแห่งหนึ่งคือลวดลายของพื้นโมเสกของโรมันที่พบในบริเตนในสมัยหลังโรมัน “พระวรสารไคเรนซิส” ภาษาฮิบรูจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ก็มีหน้าหนังสือที่คล้ายกันกับหน้าลายพรม งานชิ้นแรกที่สุดที่มีหน้าลายพรมมาจากต้นคริสต์ศตวรรษที่ 7 “หนังสือบอบบิโอ โอโรซิอัส” และมีลักษณะที่ใกล้เคียงกับการตกแต่งของปลายยุคโบราณมากกว่า งานหน้าลายพรมที่สำคัญๆก็ได้แก่ “พระวรสารเคลล์ส”, “พระวรสารลินดิสฟาร์น”, “พระวรสารเดอร์โรว์” และหนังสือวิจิตรฉบับอื่น.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและหน้าลายพรม · ดูเพิ่มเติม »

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ (Dexter's Laboratory) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Gendy Tatakovsky โดยค่าย Hanna-Barbera Cartoons ในปี 1996-1998 และเปลี่ยนมือมาเป็น Cartoon Network Studios ในปี 2001-2003 ฉายทั่วโลกผ่านทางช่อง Cartoon Network และทางยูบีซีช่อง 29 (ปัจจุบันทรูวิชั่นส์ ช่อง 44) สำหรับประเทศไทย ปัจจุบันออกอากาศที่ช่องบูมเมอแรง ช่อง 89 เรื่องราวของห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ เป็นเรื่องราวของเด็กซ์เตอร์ เด็กอัจฉริยะ ผู้ซึ่งมีสติปัญญาเหนือเด็กทั่วไป เขามีห้องทดลองลับอยู่ในห้องนอนของเขา โดยในแต่ละตอนเขามีหน้าที่ปกป้องห้องทดลองของเขาจากดีดี พี่สาวตัวร้าย และต้องไม่ให้พ่อกับแม่รู้เรื่องนี้อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อย่าแหย่โซฮาน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอย่าแหย่โซฮาน · ดูเพิ่มเติม »

อัฟราม แกรนท์

อัฟราม แกรนท์ (Avram Grant) มีชื่อเต็มว่า อัฟราฮาม "อัฟราม" แกรนท์ (Avraham "Avram" Grant; ฮิบรู: אברהם "אברם" גרנט‎) เป็นอดีตผู้จัดการทีมเชลซี และเคยเป็นประธานฝ่ายเทคนิคของบีอีซีเทโรศาสน ในไทยพรีเมียร์ลีกช่วงสั้น ๆเกิดเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 ที่เพตาห์ ติควา ประเทศอิสราเอล ปัจจุบันเป็นผู้จัดการทีมชาติกาน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอัฟราม แกรนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรกรีก

อักษรกรีก เป็นอักษรที่ใช้สำหรับเขียนภาษากรีก โดยมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคคลาสสิก ประมาณ 357 ปีก่อนพุทธศักราช (ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสต์ศักราช) และยังคงใช้สืบต่อเรื่อยมา นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดแบบหนึ่งที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในสมัยกรีกโบราณนั้น อักษรกรีกยังใช้เขียนแทนจำนวนอีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าเลขกรีก ในทำนองเดียวกับเลขโรมัน ทุกวันนี้เราใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ เป็นชื่อดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มภราดรและกลุ่มภคินี และใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ อีกมาก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอักษรกรีก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮีบรู

อรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita อักษรฮีบรูเป็นอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรกๆอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากอักษรอราเมอิกรุ่นแรกๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ, เมม, นุน, ฟี และซาดดี มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ, วาว และโยด/ยุด ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาต.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอักษรฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

อัลเลลูยา

อัลเลลูยา (คาทอลิก) อาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) หรือ ฮาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) มาจาก Alleluia ในภาษากรีกและภาษาละติน ซึ่งเป็นคำทับศัพท์มาจาก הַלְּלוּיָהּ ในภาษาฮีบรู มีความหมายว่า สรรเสริญ (הַלְּלוּ) พระยาห์เวห์ (יָהּ) ตรงกับภาษาละตินว่า "Alleluia" อัลเลลูยาเป็นวลีที่ใช้สรรเสริญพระเจ้าในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ ใกล้เคียงกับคำว่า อัลฮัมดุลิลลาฮ์ (الحمد لله) ที่ใช้ในศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอัลเลลูยา · ดูเพิ่มเติม »

อัครทูตสวรรค์มีคาเอล

อัครทูตสวรรค์มีคาเอลพระคัมภีร์คาทอลิก ฉบับสมบูรณ์, หน้า 2428 (Αρχάγγελος Μιχαήλ) หรือ มีคาเอลหัวหน้าทูตสวรรค์ (Michael the archangel) เป็นอัครทูตสวรรค์องค์หนึ่งตามความเชื่อในศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม เชื่อกันว่าท่านเป็นผู้บัญชาการกองทัพของพระเป็นเจ้า ในหนังสือดาเนียล จดหมายของนักบุญยูดา และหนังสือวิวรณ์กล่าวว่าท่านเป็นผู้นำกองทัพพระเจ้าต่อสู้กับทัพของซาตานตอนที่ซาตานก่อกบฏ หนังสือดาเนียลระบุว่ามีคาเอลเป็นเจ้าผู้พิทักษ์ชั้นหัวหน้า ซึ่งปรากฏในนิมิตของดาเนียลผู้เผยพระวจนะว่าได้เข้าไปช่วยกาเบรียลต่อสู้กับทูตสวรรค์ผู้พิทักษ์จักรวรรดิเปอร์เซียที่มีนามว่าโดเบียล นอกจากนี้คัมภีร์ยังระบุว่าท่านเป็นองค์อุปถัมภ์วงศ์วานอิสราเอลและเจ้าผู้พิทักษ์ชั้นหัวหน้าผู้ปกป้องลูกหลานประชาชนของดาเนียล ในภาษาฮีบรู คำว่า มีคาเอล (Michael) แปลว่า "ผู้เหมือนพระเจ้า" (mi ผู้ใด, ke คือ/เป็น, El-พระเจ้า) ซึ่งมาจากสำนวนคำถามในคัมภีร์ทาลมุดที่ว่า “ผู้ใดจะเหมือนพระเจ้า?” (ตัวคำถามสื่อคำตอบในทางปฏิเสธว่าไม่มี) เพื่อที่จะบอกว่าไม่มีผู้ใดเสมอเหมือนพระเจ้า มีคาเอลจึงถือเป็นสัญลักษณ์ของความถ่อมตนต่อพระเจ้า ชาวโรมันคาทอลิก แองกลิคัน และลูเทอแรน เรียกท่านว่า”นักบุญมีคาเอลอัครทูตสวรรค์” หรือเรียกง่าย ๆ ว่านักบุญมีคาเอล ชาวออร์ทอดอกซ์เรียกท่านว่า “ทักสิอาร์คอัครทูตสวรรค์มีคาเอล” หรืออัครทูตสวรรค์มีคาเอล กลุ่มพยานพระยะโฮวา เซเวนเดย์แอดเวนทิสต์ และนิกายใหม่ ๆ บางนิกายในคริสต์ศาสนามองว่ามีคาเอลคือ “พระคริสต์มีคาเอล” ซึ่งหมายถึงพระคริสต์ในสภาพก่อนที่จะมาเกิดเป็นมนุษย์ ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุคสุดท้ายสอนว่ามีคาเอลที่จริงก็คืออาดัมตามหนังสือปฐมกาลนั่นเองที่ไปเกิดบนสวรรค์ และว่ามีคาเอลคือผู้ช่วยพระเยโฮวาห์ (ซึ่งอ้างว่าคือพระเยซูตอนอยู่บนสวรรค์) สร้างโลกตามการชี้นำของพระเจ้.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอัครทูตสวรรค์มีคาเอล · ดูเพิ่มเติม »

อาบัดโดน

thumb คำว่า อาบัดโดน (אֲבַדּוֹן) ในภาษาฮีบรูนั้น เทียบได้กับคำว่า อปอลลิโยน (Ἀπολλύων) ในภาษากรีก ซึ่งได้รับการกล่าวถึงในคัมภีร์ไบเบิลในฐานะทูตสวรรค์และผู้ทำลายล้าง โดยในคัมภีร์ฮีบรูนั้น อาบัดโดน สื่อถึงก้นบึ้งแห่งบาดาล ซึ่งมักปรากฎคู่กับคำว่า เชโอล (שְׁאוֹל) ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งความตาย ส่วนที่ปรากฎในหนังสือวิวรณ์ของภาคพันธสัญญาใหม่ ตอนเสียงแตรแห่งทูตสวรรค์ทั้งเจ็ด ทูตสวรรค์ผู้ถูกเรียกว่า อาบัดโดน ถูกระบุว่าเป็นพญาตั๊กแตนซึ่งรับบัญชาพระเจ้าในการเป่าแตรของทูตสวรรค์องค์ที่ห้.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอาบัดโดน · ดูเพิ่มเติม »

อายิน

อายิน (Ayin) เป็นอักษรตัวที่ 16 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ע‎ และอักษรอาหรับ ع (อัยน์)‎ เริ่มแรกใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากคอหอยและเป็นเสียงเสียดแทรก มักแทนด้วยอักษรละติน ʿ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์จากอักษรกรีก spiritus asper ʽ, อายินใช้แทนเสียงที่ต่างจาก /อ/ ซึ่งแทนด้วยอะลิฟ ในภาษาโซมาเลียแสดงอัยนฺด้วยอักษร c, และนักอียิปต์วิทยานิยมแทนเสียงนี้ด้วย c อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Omicron (Ο), และอักษรละติน O, รวมทั้งในอักษรซีริลลิกด้วย อักษรเหล่านี้ใช้แสดงเสียงสระทั้งหมด อักษรนี้มาจากภาษาเซมิติกตะวันตก ʿen "ตา" (ในภาษาอาหรับสมัยใหม่แปลตรงตัวว่า "ตาในภาษาฮีบรู: ayin), และอักษรคานาอันไนต์ รูปตาที่อาจจะมาจากไฮโรกลิฟ (ỉr) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอายิน · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรยูดาห์

อาณาจักรยูดาห์ในช่วงศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล ภาพแสดงถึงพระราชาและทหารในอาณาจักรยูดาห์โบราณ ราชอาณาจักรยูดาห์ (ฮีบรู: מַמְלֶכֶת יְהוּדָה; มัมเลกเฮต เยฮูดาห์) คืออดีตรัฐยิวที่ก่อตั้งขึ้นบริเวณตอนใต้ของเขตลิแวนต์ในช่วงยุคเหล็ก มักถูกเรียกขานโดยทั่วไปว่า ราชอาณาจักรใต้ เพื่อที่จะไม่ให้สับสนกับราชอาณาจักรอิสราเอลที่อยู่ทางเหนือ ซึ่งทั้งสองอาณาจักรเคยมีสถานะเป็นรัฐเดียวกันมาก่อนในนามว่า สหราชอาณาจักรอิสราเอล ยูดาห์ถูกสันนิษฐานว่าน่าจะพัฒนากลายมาเป็นรัฐในช่วงหลังศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล แต่ก็ไม่มีหลักฐานใดที่สามารถยืนยันข้อสันนิษฐานนี้ได้ ในศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล เยรูซาเลมซึ่งเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรมีประชากรเพิ่มมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ซึ่งมากกว่าประชากรของรัฐข้างเคียงมาก ต่อมาพวกอัสซีเรียเข้ารุกรานและควบคุมยูดาห์เนื่องจากต้องการทรัพยากรน้ำมันมะกอกอันล้ำค่าของยูดาห์ ยูดาห์จึงตกเป็นรัฐบริวารของอัสซีเรียThompson 1992, pp.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอาณาจักรยูดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

อิชมาเอล

อิชมาเอล (ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ อิสมาอีล (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Ishmael; إسماعيل /อิสมาอีล/; יִשְׁמָעֵאל /ยิชมาเอล/) เป็นบุคคลสำคัญในศาสนาอับราฮัม และเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ตามคติของศาสนาอิสลาม อิชมาเอลเป็นบุตรของอับราฮัม (อิบรอฮีม) และนางฮาการ์ (ฮาญัร).

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอิชมาเอล · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติไซออน

หุบเขาไซออน มองจากยอดของ Angels Landing ยามดวงอาทิตย์ตก อุทยานแห่งชาติไซออน (Zion National Park) เป็นอุทยานแห่งชาติทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ใกล้กับ Springdale รัฐยูทาห์ เมื่อ พ.ศ. 2452 ประธานาธิบดี William Howard Taft ได้ประกาศบริเวณนี้ให้เป็น National monument เพื่ออนุรักษ์พื้นที่หุบเขา ภายใต้ชื่อว่า Mukuntuweap National Monument ต่อมาใน พ.ศ. 2461 acting director จาก National Park Service ที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ได้เปลี่ยนชื่ออุทยานเป็น Zion เนื่องจากชื่อเดิมไม่เป็นที่ไม่เป็นที่นิยมในท้องถิ่น Zion เป็นคำในภาษาฮิบรูโบราณ หมายถึง สถานที่หลบลี้ภัย ซึ่งชื่อนี้ได้รับการต้อนรับเชิงบวกมากขึ้นจากสาธารณชน ต่อมาเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 United States Congress ได้ประกาศให้ monument แห่งนี้เป็นอุทยานแห่งชาติ จนกระทั่ง พ.ศ. 2480 Kolob section ได้ประกาศ Zion National Monument แยกต่างหากอย่างเป็นทางการ แต่ได้นำมาผนวกรวมเข้ากับอุทยานเมื่อ พ.ศ. 2499 อุทยานแห่งนี้มีพื้นที่ 593 ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอุทยานแห่งชาติไซออน · ดูเพิ่มเติม »

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอล

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอล (Israel Broadcasting Authority) (ฮีบรู:רָשׁוּת השׁידוּר‎, Rishút HaShidúr) หรืออักษรย่อ "ไอบีเอ" (IฺBA) เป็นองค์กรสื่อสารมวลชนภายใต้กำกับของรัฐบาลอิสราเอล เริ่มจัดตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)

อเล็กซานเดอร์ (Alexander) เป็นชื่อต้นของผู้ชาย มีที่มาจากคำในภาษาละติน "Alexander" ซึ่งเป็นการถอดคำมาจากภาษากรีกจากคำว่า "Αλέξανδρος".

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

ฮอโลคอสต์

"การเลือกสรร" ในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ พฤษภาคม/มิถุนายน 1944; ผู้ที่ถูกส่งไปอยู่ทางขวา คือ ไปใช้แรงงานทาส ส่วนผู้ที่ถูกส่งไปทางซ้าย คือ ไปห้องรมแก๊ส จากภาพ เป็นชาวยิวฮังการีที่เพิ่งมาถึงค่าย ผู้ถ่าย คือ แอร์นสท์ ฮอฟมันน์หรือเบอร์นาร์ด วอลเตอร์แห่งหน่วยเอสเอส ฮอโลคอสต์, โฮโลคอสต์ (The Holocaust) หรือรู้จักในอีกชื่อว่า haShoah (ภาษาฮีบรู: השואה), Churben (ภาษายิดดิช: חורבן) เป็นพันธุฆาตชาวยิวในยุโรปประมาณ 6 ล้านคนระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โครงการฆาตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐโดยเยอรมนี นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ทั่วทั้งดินแดนที่เยอรมนียึดครอง จากชาวยิว 9 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรปก่อนฮอโลคอสต์ ประมาณสองในสามถูกสังหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กชาวยิวกว่า 1 ล้านคนถูกสังหารในฮอโลคอสต์ เช่นเดียวกับหญิงชาวยิวประมาณ 2 ล้านคน และชายชาวยิว 3 ล้านคน นักวิชาการบางส่วนเสนอว่า นิยามของฮอโลคอสต์ยังควรรวมถึงพันธุฆาตประชากรกลุ่มอื่นอีกหลายล้านคนของนาซี รวมทั้งชาวโรมานี นักคอมมิวนิสต์ เชลยศึกโซเวียต พลเรือนโปแลนด์และโซเวียต พวกรักเพศเดียวกัน ผู้ทุพพลภาพ พยานพระยะโฮวา และคู่แข่งทางการเมืองและศาสนาอื่น ๆ ไม่ว่ากลุ่มชาติพันธุ์เยอรมันหรือไม่ก็ตาม นิยามนี้เป็นนิยามที่สามัญที่สุดนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1960 หากใช้นิยามนี้ จำนวนเหยื่อฮอโลคอสต์ทั้งสิ้นอยู่ระหว่าง 11 ถึง 17 ล้านคน เฮนรี ฟีแลนเดอร์นิยามฮอโลคอสต์ว่า "การสังหารหมู่มนุษย์ เพราะพวกเขาเป็นสมาชิกของกลุ่มที่นิยามทางชีวภาพ" หมายความว่า "พวกนาซีใช้นโยบายการกำจัดที่คงเส้นคงวาและครอบคลุมเฉพาะกับมนุษย์สามกลุ่ม ผู้พิการ ชาวยิวและพวกยิปซี" การเบียดเบียนและพันธุฆาตมีการดำเนินแบ่งเป็นขั้น มีกฎหมายหลายฉบับที่ดึงชาวยิวออกจากประชาสังคม ที่เห็นชัดที่สุดคือ กฎหมายเนือร์นแบร์ก ซึ่งใช้บังคับในเยอรมนีหลายปีก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้น มีการสร้างค่ายกักกันซึ่งผู้ถูกกักกันถูกบังคับให้ใช้แรงงานทาสกระทั่งเสียชีวิตด้วยการหมดแรงหรือโรค ที่ใดที่เยอรมนียึดครองดินแดนใหม่ในยุโรปตะวันออก หน่วยเฉพาะที่เรียกว่า ไอน์ซัทซกรุพเพน จะฆาตกรรมยิวและคู่แข่งทางการเมืองในการยิงหมู่ ผู้ยึดครองกำหนดให้ชาวยิวและโรมานีถูกจำกัดอยู่ในเกตโตที่แออัดยัดเยียดก่อนถูกขนส่งโดยรถสินค้าไปยังค่ายมรณะ ที่ซึ่ง หากพวกเขารอดชีวิตจากการเดินทาง จะถูกสังหารไปโดยมากในห้องรมแก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและฮอโลคอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาทิควา

ทิควา (הַתִּקְוָה, HaTiqvah,"ความหวัง") เป็นเพลงชาติของประเทศอิสราเอล เนื้อเพลงกล่าวถึงความหวังของชาวยิวทั่วโลกที่จะได้กลับมาสู่บ้านเกิดของพ่อของชาวยิว (อัฝราฮัม ยิทซ-คฮัก และยาโขฝ) ตามที่เขียนไว้ในคัมภีร์ทานัคของศาสนายูดาห์ โดยชาวยิวถูกเนรเทศจากดินแดนแห่งพันธสัญญาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 70 โดยกองทัพของโรมัน แม้ในทุกวันนี้บทสวดมนต์ประจำวันของชาวยิวก็ยังสวดมนต์ถึงการกลับมาสู่ดินแดนนี้ โดยการสวดจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออกซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองเยรูซาเลม.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและฮาทิควา · ดูเพิ่มเติม »

ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า

ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า หรือ ผู้รับใช้ของพระเจ้า เป็นสมัญญานามที่ใช้กับศาสนิกชนบางคนในศาสนาเทวนิยม ใช้เพื่อแสดงว่าบุคคลนั้นศรัทธาอย่างแรงกล้า ในคริสตจักรโรมันคาทอลิกใช้คำนี้ในความหมายเฉพาะลงไปอีก คือหมายถึงบุคคลที่อยู่ในกระบวนการชั้นแรกก่อนการประกาศเป็นนักบุญ ส่วนนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ใช้คำนี้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ในนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คำว่า "ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า" ใกล้เคียงกับคำว่า อับดุลลอฮ์ (عبد الله บ่าวของอัลลอฮ์) ในภาษาอาหรับ และ โอบาดีห์ ในภาษาฮีบรู.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและผู้รับใช้พระเป็นเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

ผี

ตรีสีน้ำตาลแห่งไรน์แฮมฮอลล์ ถ่ายโดยกัปตัน ฮูเบิร์ต ซี.โปรแวนด์ ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารคันทรี่ไลฟ์ ค.ศ. 1936 ตามความเชื่อและบันเทิงคดีแต่โบราณ ผี (ghost) เป็นวิญญาณ (soul) หรือสปิริต (spirit) ของคนหรือสัตว์ที่ตาย ซึ่งสามารถปรากฏให้คนเป็นเห็นได้ ไม่ว่าจะในรูปที่มองเห็นได้หรือสำแดงออกมาในรูปอื่น รายละเอียดการปรากฏตัวของผีมีหลากหลายมากตั้งแต่การแสดงตนแบบมองไม่เห็น ปรากฏเป็นรูปร่างบอบบางที่โปร่งแสงหรือแทบมองไม่เห็น ไปจนถึงการเห็นภาพสมจริงดุจมีชีวิต ความเชื่อในการแสดงตนของวิญญาณผู้ตายนั้นมีแพร่หลาย ย้อนไปตั้งแต่วิญญาณนิยมหรือการบูชาบรรพบุรุษในวัฒนธรรมก่อนรู้หนังสือ หลักในบางศาสนา เช่น พิธีกรรมงานศพ พิธีไล่ผี หลักเจตนิยมบางประการและเวทมนตร์ ได้รับการออกแบบมาเพื่อปลอบวิญญาณของผู้ตายให้สงบโดยเฉพาะ ผีมักได้รับการอธิบายว่า เป็นสิ่งที่อยู่โดดเดี่ยวซึ่งสิงสู่ในสถานที่ วัตถุหรือบุคคลหนึ่ง ๆ ที่ผีผูกพันยามมีชีวิตอยู.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและผี · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง

็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง ฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง (Jean-François Champollion) หรือ ช็องปอลียง เลอ เฌิน (Champollion le Jeune) เกิดที่เมืองฟีฌัก (Figeac) เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1790 มีความสนใจเกี่ยวกับเรื่องอียิปต์โบราณมาตั้งแต่อายุน้อย เรียนภาษาตะวันออกอย่างภาษาฮีบรู อาหรับ และคอปติก และเป็นคนแรกที่เขียนและอ่านออกเสียงอักษรไฮโรกลิฟฟิกได้ในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง · ดูเพิ่มเติม »

จารกรรม

รกรรม (espionage หรือ spying) คือ การล้วงความลับจากคู่แข่งหรือศัตรูเพื่อความได้เปรียบทางการทหาร การเมือง หรือเศรษฐกิจ จารชน (spy) คือ บุคคลที่รัฐส่งไปล้วงความลับจากศัตรูหรือฝ่ายที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นศัตรู โดยเฉพาะอย่างยิ่งความลับทางการทหาร แต่อาจรวมถึงการล้วงความลับจากต่างบริษัท เรียกว่า จารกรรมทางอุตสาหกรรม หลายประเทศส่งสายลับเข้าไปในประเทศอื่นทั้งประเทศที่เป็นมิตรและศัตรู แม้ว่าจะไม่เป็นที่เปิดเผย จารชนนี้อย่างอื่นก็เรียก เช่น สายลับ, คนสอดแนม, อุปนิกขิต หรือ อุปนิกษิต เรื่องราวเกี่ยวกับจารกรรมปรากฏในประวัติศาสตร์ตลอดมา ซุนวูกล่าวถึงการหลอกลวงและการบ่อนทำลาย อียิปต์โบราณพัฒนาระบบของการได้มาซึ่งข่าวกรอง โดยชาวฮิบรูก็ใช้ระบบนี้ โดยทั่วไป จารกรรมที่กระทำโดยพลเมืองของประเทศเป้าหมาย ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการกบฏ หลายประเทศถือว่าจารกรรมเป็นความผิดอาญา ต้องได้รับโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกากำหนดให้จารกรรมเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ อย่างไรก็ตาม ผู้ต้องหามักได้รับข้อเสนอลดหย่อนโทษโดยแลกกับข้อมูลข่าวสาร ในสหราชอาณาจักร จารชนต่างชาติจะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 14 ปี ภายใต้ พระราชบัญญัติความลับของทางราชการ ขณะที่จารชนชาวอังกฤษที่เป็นสายลับให้ต่างชาติ และพิสูจน์ได้ว่าช่วยเหลือศัตรู จะถูกพิพากษาในข้อหาการกบฏ รับโทษสูงสุดจำคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ จารชนที่ทำงานให้ผู้ก่อการร้ายยังถือว่ากระทำผิดพระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ. 2000 ในระหว่างสงครามเย็น มีความเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับจารกรรมบ่อยครั้ง ส่วนใหญ่เกี่ยวพันกับความลับด้านอาวุธนิวเคลียร์ ปัจจุบันใช้สายลับกับการค้ายาเสพติดโดยผิดกฎหมายและการก่อการร้.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและจารกรรม · ดูเพิ่มเติม »

จุดจอมดิน

แสดงตำแหน่งของจุดจอมดิน ในทางดาราศาสตร์ จุดจอมดิน (nadir, ﻧـدﻳﺭ nadeer نظير nathir) คือจุดที่อยู่ตรงข้ามกับจุดจอมฟ้า ซึ่งอยู่ในทิศทางลงตั้งฉากกับพื้นโลก คำว่าจุดจอมดินในภาษาอังกฤษ ใช้คำว่า nadir ซึ่งนำมาจากภาษาอาหรับ คำว่า nadeer, nathir (แปลว่า "ตรงข้าม") และคำว่า nadir ในภาษาอาหรับและฮีบรูยังสามารถแปลว่า "หายาก" หรือ "หนึ่งเดียว" ได้ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและจุดจอมดิน · ดูเพิ่มเติม »

จีเมล

ีเมล (Gmail) เป็นบริการอีเมลฟรีของกูเกิลผ่านทางระบบเว็บเมล POP และ IMAP โดยในขณะที่โปรแกรมยังอยู่ในระยะพัฒนา (บีตา) จีเมลเปิดให้ผู้ที่ได้รับคำเชิญทดลองใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 และให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 หลังจากนั้นจึงออกจากระยะพัฒนาพร้อมกับบริการอื่น ๆ ของกูเกิล แอปส์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ปัจจุบันจีเมลรับรองการใช้งาน 54 ภาษารวมถึงภาษาไทย จีเมลเป็นผู้บุกเบิกการใช้ AJAX ที่ใช้งานจาวาสคริปต์และการใช้งานผ่านทางคีย์บอร์ด ทำให้สะดวกต่อการใช้งาน ปัจจุบัน จีเมลเป็นบริการอีเมล์บนเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก กล่าวคือมากกว่า 425 ล้านคน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและจีเมล · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมศาลา

ลาธรรมยิวในเมืองทรานี ในศาสนายูดาห์ ธรรมศาลา (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ศาลาธรรม (ศัพท์โรมันคาทอลิก) (synagogue; συναγωγή; หมายถึง การชุมนุมหรือรวมตัว) เป็นศาสนสถานที่ใช้รวมกลุ่มกันทำการอธิษฐาน ทว่าสำหรับชาวยิวแล้ว พวกเขาไม่จำเป็นต้องไปธรรมศาลาเพื่อประกอบพิธี หากรวมตัวได้ครบองค์ประชุม (Quorum) ที่ประกอบด้วยผู้ชายที่บรรลุนิติภาวะแล้วจำนวนสิบคน เรียกว่า "องค์คณะสิบ" หรือ "มินยัน" (Minyan) ก็สามารถประกอบพิธีได้ เมื่อก่อนไม่อนุญาตให้สตรีเป็นหนึ่งในองค์คณะสิบ แต่เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2001, ยิวอนุรักษ์นิกายอนุญาตให้สตรีเป็นหนึ่งในคณะมินยันได้ ในชุมชนยิวปัจจุบัน ธรรมศาลาไม่ได้มีไว้สำหรับพิธีกรรมทางศาสนาเท่านั้น แต่ยังมีสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น เช่น สถานที่จัดเลี้ยง โรงเรียนสอนศาสนา ห้องสมุด ศูนย์รับเลี้ยงเด็กเวลากลางวัน และครัวโคเชอร์ (Kosher) ตามหลักมาตรฐานอาหารยิว.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและธรรมศาลา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอิสราเอล

งชาติอิสราเอล เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2491 หลังจากการประกาศสถาปนาประเทศได้ 5 เดือน ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีขาว กว้าง 8 ส่วน ยาว 11 ส่วน กลางธงมีรูปดาวหกแฉกสีฟ้า อยู่ระหว่างแถบสีฟ้า 2 แถบ ที่พาดผ่านตอนบนและตอนล่างของธง โดยสีฟ้าหรือสีน้ำเงินในธงชาติและธงต่างๆ ของอิสราเอลนั้น มีระดับความเข้มที่แตกต่างกันออกไป เฉพาะสีฟ้าในธงชาตินั้น เป็นชนิดที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า "dark sky-blue"Israel Ministry of Foreign Affairs publication by art historian Alec Mishory, wherein he quotes "The Provisional Council of State Proclamation of the Flag of the State of Israel" made on October 28, 1948 by Joseph Sprinzak, Speaker.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและธงชาติอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ทศางค์

ทศางค์ หรือ สิบลด (Tithe; מעשר มาเซอร์; δέκατο; عشر) ในภาษาฮีบรู หมายถึง "หนึ่งในสิบ" การถวายทศางค์ เป็นแนวความคิดที่มาจากศาสนายูดาห์ ซึ่งมีบันทึกในคัมภีร์ฮีบรูหมวดโทราห์ หรือคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมหมวดเบญจบรรณของศาสนาคริสต์ การถวายทศางค์เป็นกฎข้อบังคับสำหรับวงศ์วานอิสราเอลทุกคน คนอิสราเอลจะต้องถวาย 10% ของทุกสิ่งที่เขาหามาได้และเพาะปลูกได้ไว้ที่พลับพลาหรือพระวิหารของพระเจ้.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและทศางค์ · ดูเพิ่มเติม »

ทอเลมี (ชื่อ)

ทอเลมี หรือ ทอเลเมียส (ภาษาอังกฤษ: Ptolemy หรือ Ptolemaeus) มาจากภาษากรีก Ptolemaios ซึ่งหมายความว่า “เช่นสงคราม” “เหมือนสงคราม” หรือ “เหมือนนักรบ” ชื่อ “ทอเลมี” หรือ “ทอเลเมียส” เป็นชื่อที่นิยมใช้กันมาก ผู้ที่ใช้ชื่อนี้ที่สำคัญที่สุดก็ได้แก่นักดาราศาสตร์ชาวกรีก-อียิปต์ คลอเดียส ทอเลเมอุส ที่รู้จักกันในนาม “ทอเลมี” และ ทอเลมีที่ 1 โซเตอร์นายทหารคนสนิทของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชผู้ก่อตั้งราชอาณาจักรทอเลมีและราชวงศ์ทอเลมีในอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและทอเลมี (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเบนกูเรียน

ตปลอดภาษีอากรภายในท่าอากาศยาน ท่าอากาศยานนานาชาติเบนกูเรียน (ฮิบรู: נְמַל הַתְּעוּפָה בֵּן גּוּרְיוֹן; Ben Gurion International Airport) คือท่าอากาศยานนานาชาติหลักของประเทศอิสราเอล ตั้งชื่อตามนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศ เดวิด เบนกูเรียน เป็นศูนย์กลางของสายการบินแอลอัล, อิสแรร์ และอาร์เกียอิสราเอล โดยมีตัวเลขประมาณการผู้โดยสารในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและท่าอากาศยานนานาชาติเบนกูเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ข้าคือวีเซิล

้าคือวีเซิล (I Am Weasel) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย David Feiss สังกัด Cartoon Network Studios ข้าคือวีเซิล เป็นการ์ตูนย่อยของง้องแง้งกับเงอะงะโดยจะฉาย 1 ตอนย่อยในทุกๆตอนของง้องแง้งกับเงอะงะ จากนั้นก็ได้โอกาสมาแยกเป็นการ์ตูนของตัวเอง โดยใช้เพลงเปิดที่ดัดแปลงมาจากเพลงคลาสสิก Pop on the Weasel เรื่องราวหลักๆของข้าคือวีเซิล จะเป็นเรื่องราวของ วีเซิล และ ไอ.อาร.บาบูน ซึ่งทั้งสองโดยส่วนมากจะเป็นเพื่อนกัน มักจะเผชิญหน้าเหตุการณ์ต่างๆ ในแต่ละตอน โดยส่วนมาวีเซิลมักจะได้รับบทที่สูงกว่าไอ.อาร.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและข้าคือวีเซิล · ดูเพิ่มเติม »

ดอรอน ไซลเบอเกอร์

อรอน ไซลเบอเกอร์ (อังกฤษ: Doron Zeilberger; ฮีบรู: דורון ציילברגר, เกิดวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2493 ที่เมืองไฮฟา ประเทศอิสราเอล) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอิสราเอล, ได้รับความรู้จักจากงานด้านcombinatorics (คอมบินาโทริก).

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและดอรอน ไซลเบอเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวิด

กษัตริย์ดาวิด หรือ พระเจ้าดาวิด (David; דָּוִד ภาษาฮีบรูมาตรฐาน: Davíd; ภาษาฮีบรูไทบีเรียน: Dāwíð; داوود or داود, Dāwūd,; หมายถึง เป็นที่รัก) (1037 - 967 ก่อนคริสต์ศักราช; ปกครองราชอาณาจักรยูดาห์และราชอาณาจักรอิสราเอล 1005 - 967 ก่อนคริสต์ศักราช) ดาวิด เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่สองของราชอาณาจักรอิสราเอล กล่าวกันว่ามีคุณธรรมและเป็นนักการทหารที่มีความสามารถ นอกจากนี้ยังเป็นนักดนตรี กวี (เชื่อกันว่าเป็นผู้เขียนเพลงสดุดีหลายเพลง) ดาวิดในวัยเด็กเป็นเพียงเด็กเลี้ยงแกะธรรมดา แต่เป็นผู้ที่พระเจ้าทรงเลือกและมีอุปนิสัยกล้าหาญไม่เกรงกลัวใคร โดยอาสาเข้าต่อสู้ตัวต่อตัวกับ โกไลแอ็ธ นักรบร่างมหึมาผู้เป็นทหารเอกของชาวฟิลิสทีน และสามารถสังหารโกไลแอ็ธลงได้ จึงมีความดีความชอบได้มารับใช้พระเจ้าซาอูล (Saul) ในฐานะนายพลและที่ปรึกษาทางทหารคนสนิท และยังเป็นเพื่อนสนิทกับ โจนาธาน ราชบุตรของซาอูล ต่อมาพระเจ้าซาอูลเกิดระแวงว่าดาวิดจะแย่งชิงราชบัลลังก์ จึงพยายามกำจัดดาวิด แต่ซาอูลและโจนาธานพ่ายแพ้เสียชีวิตในการรบ ดาวิดจึงได้รับการเจิมขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ของอิสราเอล ต่อมาพระเจ้าดาวิดทรงพิชิตเยรูซาเลมได้ และนำหีบแห่งพันธสัญญาเข้ามาประดิษฐานในเมือง แต่เนื่องจากทรงประพฤติผิดทางเพศต่อนางแบธชีบา ทำให้พระองค์ถูกพระเจ้าตำหนิติเตียนและทำให้ทรงหมดความชอบธรรมที่จะสร้างวิหารศักดิ์สิทธิ์ขึ้นในเยรูซาเลม ชาวยิวถือว่าดาวิดและกษัตริย์โซโลมอน พระราชบุตรของพระองค์ เป็นผู้ก่อตั้งประเทศอิสราเอลขึ้น ดาวิดถือเป็นต้นแบบของกษัตริย์ในอุดมคติของชาวอิสราเอล นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่า พระเมสสิยาห์ หรือพระผู้ไถ่ ที่จะมาจุติในอนาคตจะเป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากพระองค์ ชีวิตของกษัตริย์ดาวิดที่บันทึกไว้ในหนังสือซามูเอล เล่มที่ 1 ในพันธสัญญาเดิมตั้งแต่บทที่ 16 เป็นต้นไปและหนังสือพงศาวดาร ดาวิดเป็นบุคคลสำคัญในศาสนาอับราฮัม.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและดาวิด · ดูเพิ่มเติม »

ดาเลท

ดาเลท (Daleth) เป็นอักษรตัวที่ 4 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู (ד‎) อักษรอาหรับ (ﺩ‎; ดาล) และอักษรซีเรียค (ܕ) ใช้แทนเสียงก้องไม่มีลม เกิดจากปุ่มเหงือก (voiced alveolar plosive; สัทอักษรสากล) อักษรนี้มาจากไฮโรกลิฟรูปประตู (dalt ภาษาฮีบรูสมัยใหม่เป็น delet) ส่วนอักษรคานาอันไนต์เรียกปลา (digg ภาษาฮีบรูสมัยใหม่เป็น dag) อักษรฟินิเชียที่ใช้แทนเสียงนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Δ ” อักษรละติน “D” และอักษรซีริลลิก “Д” หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและดาเลท · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ: Ha'Merotz La'Million

อะเมซิ่ง เรซ: Ha'Merotz La'Million (המירוץ למיליון‎; The Race to the Million; ดิ อะเมซิ่ง เรซ: การแข่งขันสู่เงินล้าน) เป็นเวอร์ชันอิสราเอลของรายการเรียลลิตี้โชว์ชื่อดังของสหรัฐอเมริกาที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นรายการแข่งขันเดินทางรอบโลกโดยมีผู้เข้าแข่งขันทั้งหมด 10 คู่ และทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านเชเกล รายการนี้มีการผลิตและออกอากาศทางช่อง Reshet Channel 2 ของเครือข่ายโทรทัศน์อิสราเอล Reshet โดยเริ่มออกอากาศในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และออกอากาศทุกวันพฤหัสบดี ในเวลา 21 นาฬิกา (เวลามาตรฐานอิสราเอลที่ใช้ DST ตรงกับเวลา 18 นาฬิกาของ GMT) และมีพิธีกรประจำรายการคือราซ เมอร์แมน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและดิอะเมซิ่งเรซ: Ha'Merotz La'Million · ดูเพิ่มเติม »

ครอบครัวสกายวอล์คเกอร์

รอบครัวสกายวอล์คเกอร์ เป็นครอบครัวในเรื่องแต่งชุดสตาร์ วอร์ส ครอบครัวสกายวอล์คเกอร์เป็นเชื้อสายมนุษย์ผู้มีสัมผัสในพลัง สมาชิกเก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักคือฉมี สกายวอล์คเกอร์ สมาชิกครอบครัวนี้มีส่วนร่วมทั้งในนิกายเจไดใหม่ เก่า และซิธลอร.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและครอบครัวสกายวอล์คเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คราฟมากา

ราฟมากา (Krav Maga, קְרַב מַגָּע แปลว่า "การต่อสู้แบบปะทะ") เป็นศิลปะการต่อสู้จากอิสราเอล คิดค้นโดยอีมี ลิกเตนเฟลด์ (Imi Lichtenfeld) ชาวฮังการี-อิสราเอล เพื่อป้องกันตัวจากกลุ่มฟาสซิสต์ในเชโกสโลวาเกียช่วงทศวรรษ 1930 และต่อมานำมาใช้ฝึกในกองทัพอิสราเอล คราฟมากาเป็นการผสมผสานศิลปะการต่อสู้หลายแขนง เช่น มวย, มวยปล้ำ, มวยไทย, page 68, ยิวยิตสู, ไอกิโดและยูโด รวมถึงการฝึกการต่อสู้ในสถานการณ์จริง โดยจะเน้นการป้องกันตัวที่มีประสิทธิภาพ และการโจมตีกลับที่รุนแรง.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและคราฟมากา · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

คอฟ

คอฟ (Qoph, Qop) เป็นอักษรตัวที่ 19 ของอักษรตะกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ק‎ และอักษรอาหรับ ق (ก๊อฟ)‎ ใช้แทนเสียงเน้นจากคอหอย เกิดที่เพดานอ่อน หรือจากลิ้นไก่ อักษรตัวนี้กลายเป็นอักษรละติน Q และอักษรกรีก มาจากอักษรภาพรูปลิงที่แสดงลำตัวและหาง (ในภาษาฮีบรู, Qoph, สะกดด้วยอักษรฮีบรูเป็น קוף, หมายถึง "ลิง" และ K'of ในภาษาอียิปต์โบราณหมายถึงลิงชนิดหนึ่ง) หรืออาจจะมาจากอักษรภาพรูปหัวและคอของคน (Qaph ในภาษาอาหรับหมายถึงลำคอ) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ en:Qoph#Arabic qāf.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

คาบาลออนไลน์

Cabal คาบาลออนไลน์ (Cabal Online เรียกอย่างย่อว่า คาบาล) คือเกมออนไลน์เล่นฟรี แบบ MMORPG สร้างโดยบริษัท ESTsoft, และเปิดโอเพ่นเบต้าในประเทศไทยในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและคาบาลออนไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

คาฟ

คาฟ (Kaph, Kap, Kaf) เป็นอักษรตัวที่ 11 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู כ‎ และอักษรอาหรับ ك (ก๊าฟ كَافْ) การออกเสียงในสัทอักษรเป็น อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Κ), อักษรละติน K, และเป็นอักษรซีริลลิก (К) คาดว่าอักษรกาฟมาจากอักษรภาพรูปมือ (ทั้งในภาษาฮีบรูสมัยใหม่และภาษาอาหรับสมัยใหม่ kaph หมายถึงฝ่ามือ) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและคาฟ · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 84

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 84 เป็นงานที่จะมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 84 · ดูเพิ่มเติม »

ง้องแง้งกับเงอะงะ

ง้องแง้งกับเงอะงะ (ภาษาอังกฤษ: Cow and Chicken) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา สร้างโดย Devid Feiss ออกอากาศครั้งแรกทางช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์ก ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและง้องแง้งกับเงอะงะ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก

แสดงการแพร่กระจายของภาษาตระกูลแอโฟรเอชีแอติกด้วยสีเหลือง ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afroasiatic languages) เป็นตระกูลภาษาที่มีสมาชิก 375 ภาษาและมีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคน แพร่กระจายในตะวันออกกลาง แอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันตก แอฟริกาตะวันออก แอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ (รวมผู้พูดภาษาอาหรับ 200 ล้านคน) ชื่อของภาษาตระกูลนี้ตั้งโดย Joseph Greenberg เพื่อใช้แทนชื่อเดิม ตระกูลภาษาฮามิโต-เซมิติก กลุ่มย่อยของภาษาตระกูลนี้ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของอิสราเอล

ตราแผ่นดินของอิสราเอล เริ่มใช้วันที่ 10 กุมภาพัน..2492 มีส่วนประกอบคือ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและตราแผ่นดินของอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศและดินแดนต่างๆในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ฉบับพระเจ้าเจมส์

ฉบับพระเจ้าเจมส์ (King James Version: KJV) หรือ ไบเบิลพระเจ้าเจมส์ (King James Bible: KJB) หรือ ฉบับอนุมัติ (Authorized Version: AV) เป็นฉบับแปลภาษาอังกฤษของคัมภีร์ไบเบิลในคริสต์ศาสนา จัดทำขึ้นสำหรับคริสตจักรอังกฤษ เริ่มดำเนินการใน..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและฉบับพระเจ้าเจมส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซาดี

ซาดี (Tsade) เป็นอักษรตัวที่ 18 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูצ‎ และอักษรอาหรับ ص (ศอด صَادْ)‎ เสียงเริ่มแรกของอักษรนี้น่าจะเป็น แต่ต่อมาเสียงนี้ต่างออกไปในภาษาตระกูลเซมิติกสมัยใหม่ มีที่มาจากอักษรคานาอันไนต์สามตัว ภาษาอาหรับยังคงแยกหน่วยเสียงเหล่านั้นเป็นอักษรสามตัวคือ ṣād และ ṭāʼ ใช้แสดงเสียงต่างกันสามเสียง (ḍād, ẓāʼ) ในภาษาอราเมอิก เสียงใกล้เคียงของอักษรนี้ถูกแทนที่ด้วย ʻayin และ ṭēt ดังนั้น ในภาษาฮีบรู ereẓ ארץ (โลก) เป็น arʻāʼ ארעא ในภาษาอราเมอิก.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและซาดี · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์แมน

ซูเปอร์แมน คือตัวละครจากหนังสือการ์ตูนซูเปอร์ฮีโร่ ผลงานของ ดีซีคอมิกส์ สำนักพิมพ์ยักษ์ใหญ่ของอเมริกาDaniels (1998), p. 11.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและซูเปอร์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินฮิจเราะห์

ปฏิทินฮิจเราะห์ หรือ ปฏิทินอิสลาม หรือ ปฏิทินมุสลิม (อังกฤษ: Islamic calendar) เป็นระบบปฏิทินจันทรคติ ซึ่งประกอบด้วย 12 เดือนทางจันทรคติ ซึ่งในหนึ่งปีจะมี 354 หรือ 355 วัน ใช้กำหนดวันเหตุการณ์ในหลายประเทศมุสลิม (ควบคู่ไปกับปฏิทินเกรโกเรียน) และใช้โดยมุสลิมทั่วโลกเพื่อกำหนดวันที่เหมาะสมในการเฉลิมฉลองวันสำคัญและเทศกาลในศาสนาอิสลาม ปฏิทินฮิจเราะห์เริ่มนับเมื่อศาสดาแห่งอิสลาม นบีมุฮัมมัดอพยพจากมักกะฮ์ไปยังมะดีนะฮ์ หรือที่รู้จักกันว่า hijra, hijrah ในภาษาอังกฤษ ฮิจเราะห์ศักราชจะถูกระบุโดยใช้ตัวย่อ H หรือ AH อันเป็นตัวย่อของวลีภาษาละติน anno Hegirae (ในปีแห่งฮิจเราะห์) ปัจจุบันอยู่ในฮิจเราะห์ศักราช เนื่องจากปฏิทินฮิจเราะห์เป็นปฏิทินจันทรคติ จึงไม่เกิดขึ้นพร้อมกับฤดูกาล โดยในแต่ละปีมีวันคาดเคลื่อนไปจากปฏิทินเกรโกเรียนอยู่ 11 หรือ 12 วัน ทำให้ฤดูกาลจะกลับมาซ้ำเดิมทุก 33 ปีอิสลาม.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและปฏิทินฮิจเราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาคริสต์

ระวิหารศักดิ์สิทธิ์ของศาสนายูดาห์ เป็นจุดเริ่มต้นของศาสนาคริสต์และเป็นศาสนสถานที่สำคัญในกลุ่มศาสนาอับราฮัม ซึ่งตั้งอยู่บนเขาพระวิหาร (Temple Mount) ในกรุงเยรูซาเลม (ภาพถ่ายจากฝั่งตะวันออกเฉียงใต้) ปี ค.ศ.600 ศาสนาคริสต์เกิดขึ้นบริเวณดินแดนเลแวนต์ ซึ่งปัจจุบันคือประเทศอิสราเอลและปาเลสไตน์ ในช่วงกลางคริสศตวรรษที่ 1 ศาสนาคริสต์ได้เริ่มเผยแผ่ครั้งแรกจากกรุงเยรูซาเลม ตลอดจนดินแดนตะวันออกกลาง เช่น ประเทศซีเรีย อัสซีเรีย เมโสโปเตเมีย ฟินิเชีย อานาโตเลีย ประเทศจอร์แดน และประเทศอียิปต์ ในช่วงคริสศตวรรษที่ 4 ศาสนาคริสต์ได้รับเลือกให้เป็นศาสนาประจำชาติโดยราชวงศ์อาร์เมเนียในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและประวัติศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและประเทศอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจตันตระ

หน้าจากหนังสือกาลิกา วา ดิมนา ภาคภาษาอาหรับอายุราว พ.ศ. 1753 แสดงรูปของราชาแห่งกากับที่ปรึกษา หน้าจากหนังสือ''Kelileh o Demneh'' อายุราว พ.ศ. 1972 จากเฮรัต ซึ่งเป็นปัญจตันตระที่แปลเป็นภาษาเปอร์เซีย โดยแปลมาจากฉบับภาษาอาหรับ ''Kalila wa Dimna'' อีกต่อหนึ่ง แสดงเรื่องตอนที่สุนัขจิ้งจอกชักนำสิงโตเข้าสู่สงคราม รูปสลักเกี่ยวกับปัญจตันตระที่วิหารเมนดุต ชวากลาง อินโดนีเซีย ปัญจตันตระ (Pancatantra; ภาษาสันสกฤต: पञ्चतन्त्र) เป็นนิทานโบราณของอินเดีย คาดว่ามีต้นกำเนิดที่แคชเมียร์เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและปัญจตันตระ · ดูเพิ่มเติม »

ปากนรกภูมิ

ปากนรกภูมิ (Hellmouth หรือ Mouth of Hell) คือทางเข้าสู่ขุมนรกที่เป็นภาพปากที่อ้ากว้างของยักษาตัวใหญ่ ซึ่งเป็นภาพพจน์ที่เริ่มเขียนกันขึ้นเป็นครั้งแรกในศิลปะแองโกล-แซ็กซอน และต่อมาก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรป และเป็นภาพที่นิยมวาดเป็นองค์ประกอบของภาพ “การตัดสินครั้งสุดท้าย” และ “ลงสู่ขุมนรก” (Harrowing of Hell) จนกระทั่งมาถึงปลายยุคกลาง และบางครั้งก็เลยมาจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและหลังจากนั้น การเขียน “ปากนรกภูมิ” มาฟื้นฟูกันอีกครั้งในภาพพิมพ์สมัยนิยม (Popular print) หลังการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ เมื่อรูปลักษณ์ของผู้ที่เป็นศัตรูจะเป็นผู้ที่กำลังจะถูกกลืนหายเข้าไปในปาก งานชิ้นสำคัญในสมัยหลังเป็นงานเขียนสองชิ้นของเอลเกรโกที่เขียนราวปี ค.ศ. 1578 หรือการ์ตูนล้อการเมืองที่เป็นภาพของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 นำหน้ากองทัพไปสู่ความหายนะในปากนรก การละครของยุคกลางมักจะใช้ปากนรกภูมิเป็นฉาก หรือ เครื่องชัก เพื่อที่จะสร้างความหวั่นกลัวให้แก่ผู้ชม ในการสร้างภาพพจน์อันสยดสยองของทางเข้าสู่ขุมนรก ลักษณะที่สร้างก็มักจะเป็นทางเข้าปราสาทโบราณที่มีเชิงเทิน โดยเพราะเมื่อต้องการที่จะเปรียบเทียบกับสวรรค์ งานชิ้นโบราณที่สุดของปากนรกภูมิที่เป็นปากสัตว์เท่าที่ทราบโดยนักประวัติศาสตร์ศิลป์ชาวอเมริกันเมเยอร์ ชาพิโรเป็นงานสลักงาช้างที่สลักขึ้นราว ค.ศ. 800 (พิพิธภัณฑ์วิคตอเรียและอัลเบิร์ต, ลอนดอน) ชาพิโรกล่าวว่างานส่วนใหญ่ที่สร้างก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 12 เป็นงานที่ทำในอังกฤษ ชาพิโรสันนิษฐานว่ารูปลักษณ์ดังกล่าวอาจจะมาจากตำนานปรัมปรา “แครคเดอะดูม” ของเพกัน ที่เป็นปากของหมาป่ายักษ์เฟนเรียร์ ผู้ถูกสังหารโดยวิดาร์ ผู้ใช้สัญลักษณ์ของไครสต์บนกางเขนกอสฟอร์ธ และจากงานศิลปะแองโกล-สแกนดิเนเวียชิ้นอื่นๆ ในการผสานกลืนเข้ากับไวกิงที่ถือคริสต์ศาสนาของประชาชนทางตอนเหนือของอังกฤษ สถาบันศาสนาก็ดูเหมือนพร้อมที่จะยอมรับรูปสัญลักษณ์ที่ใช้ในประเพณีนิยมของท้องถิ่นเข้ามาผสานกับรูปสัญลักษณ์ที่ใช้ในคริสต์ศาสนาโดยมิได้ทำการขัดขวาง เช่นในการใช้หินสลักสำหรับที่หมายหลุมศพแบบไวกิงเป็นต้น ที่กล่าวถึงในวรรณกรรม “เบวูล์ฟ” ในหนังสือแองโกล-แซ็กซอน “Vercelli Homilies” (4:46-8) กล่าวถึงความเกี่ยวข้องระหว่างซาตานกับมังกรที่กลืนผู้ที่ชั่วร้าย: “...

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและปากนรกภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ปาเลสไตน์ในอาณัติ

ปาเลสไตน์ในอาณัติ (Mandatory Palestine; فلسطين; פָּלֶשְׂתִּינָה (א"י), where "EY" indicates "Eretz Yisrael") เป็นหน่วยภูมิรัฐศาสตร์ ภายใต้การดูแลของสหราชอาณาจักร ในส่วนที่เป็นเขต จักรวรรดิออตโตมัน และ ซีเรียตอนใต้ ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว่าง พ.ศ. 2463 จนถึง พ.ศ. 2491.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและปาเลสไตน์ในอาณัติ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญอันดรูว์

อันดรูว์อัครทูต (Ανδρέας อันเดฺรอัส; Andrew แอนดฺรูว) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญอันดรูว์ เป็นนักบุญและมรณสักขีในคริสต์ศาสนา เกิดเมื่อราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 1 ที่เมืองเบ็ธไซดาบนฝั่งทะเลกาลิลี และเสียชีวิตโดยการถูกตรึงกางเขนบนกางเขนรูป “X” เมื่อราวกลางหรือปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 ที่เมืองเพ็ทราส์ ในประเทศกรีซปัจจุบัน นักบุญอันดรูว์ เป็นหนึ่งในอัครทูตสิบสององค์ของพระเยซู ในคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ เรียกนักบุญอันดรูว์ว่า “Protocletos” หรือ “ผู้ถูกเรียกคนแรก” ชื่อ “แอนดรูว” มาจากภาษากรีกที่แปลว่า “เกียรติ” เช่นเดียวกับชื่อภาษากรีกอื่น ๆ เป็นชื่อที่ชาวยิวใช้กันทั่วไปในระหว่างร้อยถึงสองร้อยปีก่อนคริสต์ศตวรรษ เท่าที่ทราบนักบุญอันดรูว์ไม่มีชื่อบ่งเป็นภาษาฮิบรูและภาษาอราเมอิก ตามพันธสัญญาใหม่นักบุญแอนดรูว์เป็นลูกของโยนาห์หรือยอห์น (มัทธิว; ยอห์น) เกิดที่เมืองเบ็ธไซดาบนฝั่งทะเลกาลิลี(ยอห์น) และเป็นน้องชายของซีโมนเปโตร เปโตรและอันดรูว์เดิมเป็นชาวประมงฉะนั้นเมื่อพระเยซูเรียกตัวมาเป็นอัครทูตโดยกล่าวว่าเจ้าจงเป็น “ชาวประมงหามนุษย์” (ภาษากรีก: ἁλιείς ἀνθρώπων “halieis anthropon”)Metzger & Coogan (1993) Oxford Companion to the Bible, p 27.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและนักบุญอันดรูว์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญอันนา

นักบุญอันนา (Anna อันนา; חַנָּה ฮันนาห์) สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าดาวิด และเป็นมารดาของมารีย์ (มารดาพระเยซู) ชื่ออันนาเป็นภาษาละตินมาจากภาษาฮีบรู “Hannah” พระวรสารนักบุญยากอบระบุว่านักบุญอันนาและนักบุญโยอาคิมผู้เป็นสามีไม่มีลูกจนเมื่ออายุมาก วันหนึ่งก็มีทูตสวรรค์มาปรากฏตัวแล้วบอกว่าอันนาและโยอาคิมจะมีลูก นักบุญอันนาก็สัญญาว่าจะยกลูกให้ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า กล่าวกันว่านักบุญอันนาและโยอาคิมยกมารีย์ให้พระเจ้าที่พระวิหารในกรุงเยรูซาเลมที่สองเมื่อมารีย์อายุได้สามขวบ นักบุญอันนาเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์รัฐควิเบก ประเทศแคนาดา แคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สตรีใกล้คลอด และคนทำเหมือง เรื่องนี้คล้ายคลึงกับการเกิดของซามูเอลซึ่งฮันนาห์แม่ของซามูเอลก็เป็นหมันมาก่อน แต่ลัทธิบูชานักบุญอันนามิได้เป็นที่นิยมเท่าใดในคริสตจักรโรมันคาทอลิกก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 12 แต่การกล่าวถึงนักบุญอันนาในคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์มึมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 ตามความเชื่อของออร์ทอดอกซ์นักบุญอันนาเป็นบรรพชนของพระเจ้า (“Forbear of God”) เพราะเป็นมารดาพระแม่มารีย์ผู้ให้กำเนิดพระเยซูต่อมา และเป็นผู้อุทิศมารีย์ให้กับพระเจ้า ทางตะวันตกรูปเคารพของนักบุญอันนาจะเป็นผู้แต่งกายด้วยเสื้อคลุมแดงและหมวกเสื้อคลุมสีเขียว หรือเป็นรูปร่วมกับแม่พระและพระกุมารเช่นรูป “พระนางพรหมจารีและพระกุมารกับนักบุญอันนา” ที่เขียนโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ราวปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและนักบุญอันนา · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเจอโรม

นักบุญเจอโรม หรือ นักบุญเยโรม (Jerome; Eusebius Sophronius Hieronymus; Ευσέβιος Σωφρόνιος Ιερώνυμος) เป็นบาทหลวงชาวโรมัน เกิดเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและนักบุญเจอโรม · ดูเพิ่มเติม »

นาตาลี พอร์ตแมน

นาตาลี พอร์ตแมน (Natalie Portman, ฮิบรู: נטלי פורטמן‎) เกิดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและนาตาลี พอร์ตแมน · ดูเพิ่มเติม »

นาซาเรธ

องเมืองนาซาเรธ นาซาเรธ (Nazareth; สัทอักษรสากล) (נָצְרַת, ฮีบรู Natz'rat หรือ Natzeret; الناصرة an-Nāṣira หรือ an-Naseriyye) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของเขตเหนือของอิสราเอล เป็นเสมือนเมืองหลวงของอาหรับสำหรับชาวอาหรับในประเทศอิสราเอล ผู้ที่เป็นประชากรส่วนใหญ่ในนาซาเรธ ในพันธสัญญาใหม่ นาซาเรธถูกอธิบายว่าเป็นบ้านเกิดของพระเยซูคริสต์ และ เป็นสถานที่ในการเดินทางแสวงบุญของชาวคริสต์ทั้งปวง.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและนาซาเรธ · ดูเพิ่มเติม »

นูน

นูน (Nun) เป็นอักษรตัวที่ 14 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูנ‎ และอักษรอาหรับ ﻥ‎ และเป็นอักษรตัวที่สามของอักษรทานะ (ނ)- มีชื่อว่านูนุ แทนด้วยสัทอักษร: อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Ν), อักษรอีทรัสคัน ̍, อักษรละติน N, และอักษรซีริลลิก Н คาดว่านุนมาจากอักษรภาพรูปงู (คำว่างูในภาษาฮีบรู, nachash เริ่มด้วยนุน และคำว่างูในภาษาอราเมอิกคือ nun) หรือปลาไหล แต่บางกลุ่มเชื่อว่ามาจากไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์รูปปลาในน้ำ (ในภาษาอาหรับ, nūn หมายถึงปลาหรือวาฬ).

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและนูน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำจอร์แดน

แม่น้ำจอร์แดน (ฮิบรู: נהר הירדן Nehar haYarden, نهر الأردن Nahr al-Urdun) เป็นแม่น้ำในภูมิภาคเอเชียตะวันตก มีความยาวทั้งสิ้น 251 กิโลเมตร ไหลลงสู่ทะเลเดดซี ปัจจุบันถือเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างอิสราเอลกับจอร์แดน ในความเชื่อของชาวคริสเตียนเชื่อว่าพระเยซูได้รับเข้าพิธีล้างจากนักบุญยอห์น แบปติสต์ ที่แม่น้ำแห่งนี้ อีกทั้งชื่อของราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดนก็มาจากชื่อแม่น้ำสายนี้เช่นกัน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและแม่น้ำจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

แวมไพร์

Nosferutu: A Symphony of Horror'' ที่ดัดแปลงมาจากนวนิยายเรื่อง เค้าท์แดร็กคูลา ภาพยนตร์เรื่องนี้ฉายในปี ค.ศ. 1922 แวมไพร์ (Vampire) ผีชนิดหนึ่งตามความเชื่อของชาวยุโรป ในยุคกลาง เชื่อว่าเป็นผีดิบ ที่มีรูปร่างหน้าตาเหมือนมนุษย์ทั่วไป แต่มีฟันแหลมคม ดื่มเลือดของมนุษย์ด้วยกันเป็นอาหารเพื่อหล่อเลี้ยง โดยที่แวมไพร์จะมีชีวิตเป็นอมตะ ไม่มีวันตาย จะปรากฏตัวได้แต่เฉพาะเวลากลางคืน เพราะกลางวันแพ้แสงแดด แวมไพร์จะหลบซ่อนอยู่ในโลงของตนหรือในหลุมในเวลากลางวัน สามารถแปลงร่างได้หลายแบบ เช่น ค้างคาว, นกฮูก, หมาป่า, หมาจิ้งจอก, กบ, คางคก, แมลงเม่า, งูพิษ เป็นต้น สามารถกำบังกายหายตัวได้ ไม่มีเงาเมื่อกระทบกับแสงหรือสะท้อนในกระจก มีแรงมากเหมือนผู้ชาย 20 คน รวมถึงสามารถบังคับสิ่งของให้เคลื่อนที่ด้วยอำนาจของตนได้ด้วย สิ่งที่จะกำราบแวมไพร์ได้คือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา เช่น ไม้กางเขน, น้ำมนตร์ หรือแม้กระทั่งสมุนไพรกลิ่นแรงบางชนิด เช่น กระเทียม วิธีฆ่าแวมไพร์มีมากมาย เช่น ตอกลิ่มให้ทะลุหัวใจ เผา หรือ ตัดหัวด้วยจอบของสัปเหร่อ บุคคลที่ตกเป็นเหยื่อของมัน จะกลายเป็นแวมไพร์ไปด้วย และกลายเป็นสาวกของแวมไพร์ตนที่ดูดเลือดตัวเอง ชาวยุโรปในยุคกลางนั้น หวาดกลัวแวมไพร์มาก ผู้ที่สงสัยว่าเป็นแวมไพร์ จะตกอยู่ในสถานะเดียวกับแม่มด หรือ มนุษย์หมาป่า คือ ถูกตัดสินลงโทษด้วยการเอาถึงชีวิต มีวิธีการป้องกันการรุกรานของแวมไพร์หลายวิธี เช่น บางหมู่บ้านจะโปรยเมล็ดข้าวไว้บนหลังคาบ้าน เพราะเชื่อว่าแวมไพร์จะง่วนกับการนับเมล็ดข้าวเป็นการถ่วงเวลาจนรุ่งเช้า หรือ โรยเศษขนมปังไว้ตั้งแต่สุสานให้แวมไพร์เดินเก็บเศษขนมนั้นวนเวียนไปมา หรือแม้แต่การวางไม้กางเขนหรือดอกกุหลาบที่มีหนามแหลมเพื่อเป็นการพันธนาการไว้ในโลง เรื่องราวของแวมไพร์ มีมากมาย ที่เป็นนิทานพื้นบ้านและวรรณกรรม โดยวรรณกรรมที่ว่าถึงแวมไพร์ที่เก่าแก่ที่สุด มีมาตั้งแต่สมัยโรมัน วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงที่สุดของแวมไพร์คือ เรื่องแดรกคูลา ของ บราม สโตกเกอร์ ที่โด่งดังจนมีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ ละคร ละครเวที หรือแม้แต่กระทั่งภาพยนตร์การ์ตูนมากมายตราบจนปัจจุบัน เช่น ภาพยนตร์เรื่อง Nosferatu: A Symphony of Horror ในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและแวมไพร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอล. แอล. ซาเมนฮอฟ

แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ, 2451 แอล.แอล.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและแอล. แอล. ซาเมนฮอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แซนดีบริดจ์

แซนดีบริดจ์ (Sandy Bridge) เป็นชื่อรหัสของซีพียูหรือหน่วยประมวลผลหลักของคอมพิวเตอร์ ของบริษัทอินเทล เป็นซีพียูที่พัฒนาต่อจากซีพียูรหัสเนเฮเลม เริ่มพัฒนาเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและแซนดีบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

โฟโต้สเกป

ฟโต้สเกป (PhotoScape) เป็นโปรแกรมตัดต่อกราฟิกส์ พัฒนาโดย MOOII Tech,ประเทศเกาหลีใต้ แนวคิดพื้นฐานของโฟโต้สเกป คือ 'ง่ายและสนุก' เพื่อที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขภาพที่ถ่ายจากกล้องดิจิทัลของพวกเขาหรือแม้กระทั่งโทรศัพท์มือถือ โฟโต้สเกป มีผู้ใช้อินเตอร์เฟซง่ายที่ดำเนินการปรับปรุงภาพร่วมกันรวมทั้ง การปรับสี,ตัด,การปรับขนาด,การพิมพ์ และการภาพเคลื่อนไหวในไฟล์ GIF โฟโต้สเกป ทำงานได้เฉพาะในระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และไม่สามารถใช้ได้ในระบบ Mac หรือLinux ได้ ภาษาเริ่มต้นของมันเป็นภาษาอังกฤษและภาษาเกาหลี พร้อมด้วยแพ็กเกจภาษาเพิ่มเติมสามารถดาวน์โหลดได้.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและโฟโต้สเกป · ดูเพิ่มเติม »

โยดา

ประมือกับซิธลอร์ด โยดา เป็นตัวละครในเรื่องแต่งชุดสตาร์วอร์สซึ่งปรากฏตัวในภาพยนตร์เกือบทุกภาคยกเว้น สตาร์ วอร์ส เอพพิโซด 4: ความหวังใหม่ เช่นเดียวกับชื่อหลายๆ ชื่อในสตาร์ วอร์ส ชื่อ "โยดา" อาจจะมาจากภาษาโบราณ ในกรณีนี้เช่นภาษาสันสกฤต จากคำว่า "โยธา" หรือภาษาฮิบรู คำว่า yodea โยดาเป็นหนึ่งในอาจารย์เจไดที่มีชื่อเสียงและทรงพลังที่สุดในกาแลกซี และเป็นหนึ่งในเจไดแห่งสาธารณรัฐกาแลกติกที่รอดชีวิตจากสงครามโคลนและการกวาดล้างเจไดครั้งใหญ่ปฏิบัติหน้าที่เป็นปรมาจารย์เจไดในช่วงสงครามโคลน โยดาได้เป็นนายพลเจไดของกองทัพสาธาธารณรัฐกาแลกติกตั้งแต่ยุทธการจีโอโนซิสและยุทธการคาชี้ค แต่ถูกโคลนทรูปเปอร์ได้เล็งยิงตามคำสั่งที่ 66 แต่ก็รอดมาได้ด้วยการฆ่าพวกเขาและหนีไปร่วมสบทบกับโอบีวันกับเบล ออร์กานา และสามารถช่วยเหลือเหล่าเจไดจากคำสั่งที่ 66 ให้พวกเขาหลบหนีไป ต่อมาโยดา ได้เข้าไปปะทะกับดาร์ธ ซีเดียสที่คอรัสซังแต่ก็พ่ายแพ้กลับมา หลังจากนั้นจึงลี้ภัยไปหลบซ่อนที่เดโกบาห์และแล้วโยดาได้มีชีวิตตั้งแต่การก่อตั้งจักรวรรดิกาแลกติกและสงครามกลางเมืองกาแลกติก โยดาได้พบกับลุค สกายวอล์คเกอร์ ตามคำแนะนำของสปิริตโอบีวันในช่วงปีที่ 3หลังยุทธการยาวินและหลังยุทธการฮอธ และช่วยสอนลุคให้เป็นเจได ต่อมาในช่วงปีที่ 4หลังยุทธการยาวิน โยดาได้เสียชีวิตลงก่อนสงครามกลางเมืองกาแลกติกจะจบลงด้วยกบฏได้รับชัยชนะ โยดาได้รับการยอมรับว่าเป็นเจไดที่ควรค่าแก่การเคารพและทรงภูมิที่สุดตลอดกาลและไม่มีใครเทียบได้ในความสามารถด้านสัมผัสแห่งพลัง.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและโยดา · ดูเพิ่มเติม »

โอเดด เฟหร์

อเดด เฟหร์ (Oded Fehr, ฮิบรู: עודד פהר) นักแสดงชาวอิสราเอล เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1970 เป็นนักแสดงประกอบในภาพยนตร์ฮอลลีวูดเรื่องใหญ่ ๆ หลายเรื่อง เช่น The Mummy และ Deuce Bigalow: Male Gigolo ในปี ค.ศ. 1999, The Mummy Return ในปี ค.ศ. 2001, Resident Evil: Apocalypse ในปี ค.ศ. 2004 และResident Evil: Extinction ในปี ค.ศ. 2007 เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและโอเดด เฟหร์ · ดูเพิ่มเติม »

โฮเซ รีซัล

ซ รีซัล (José Rizal) หรือชื่อเต็มคือ โฮเซ โปรตาซีโอ รีซัล เมร์กาโด อี อาลอนโซ เรอาลอนดา (José Protacio Rizal Mercado y Alonzo Realonda) เป็นนักเขียนและวีรบุรษคนสำคัญของฟิลิปปินส์ในการต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชจากสเปน เขาถูกจับและถูกตัดสินประหารชีวิตด้วยการยิงเป้าเมื่อ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2439 การเสียชีวิตของเขากลายเป็นแรงบันดาลใจให้ชาวฟิลิปปินส์ลุกขึ้นสู้จนขับไล่สเปนออกไปได้สำเร็จ แม้จะถูกยึดครองโดยสหรัฐอเมริกาในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและโฮเซ รีซัล · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส ยัง

ทมัส ยัง โทมัส ยัง (Thomas Young; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2316 – 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2372) เป็นนักวิทยาศาสตร์และแพทย์ ชาวอังกฤษ มีความเฉลียวฉลาดถึงขนาดที่พูดได้กว่า 12 ภาษา เมื่ออายุได้ 14 ปี ผลงานที่เด่นที่สุดของเขาในด้านวัสดุศาสตร์ก็คือ มอดุลัสของยัง นอกจากนี้เขาได้ช่วยเขียนหนังสือสารานุกรม เอ็นไซโคลพีเดีย บริตเตนิกา (Encyclopedia Britannica) ในหลาย ๆ บทความ และยังศึกษาอักษรอียิปต์โบราณเช่นเดียวกับชอง-ฟรองซัว ชองโปลิยง นักภาษาศาสตร์ชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและโทมัส ยัง · ดูเพิ่มเติม »

โนแอม ดาร์

นแอม ดาร์ (Noam Dar) (Hebrew: נועם דר; เกิด 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1993) นักมวยปล้ำอาชีพชาวอิสราเอลสกอต ปัจจุบันเซ็นสัญญาปล้ำในรุ่นครุยเซอร์เวทกับWWE เคยร่วมสมาคม TNA และซีรีส์ "British Boot Camp" รวมทั้งการเป็นแกนนำสมาคมที่โดดเด่นในสหราชอาณาจักรเช่น PROGRESS Wrestling, Preston City Wrestling (PCW), Insane Championship Wrestling (ICW), Whatculture Pro Wrestling (WCPW).

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและโนแอม ดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชอา เลอบัฟ

อา เลอบัฟ (เกิดเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1986) เจ้าของรางวัลเดย์ไทม์เอมมี และ รางวัลบาฟต้า เป็นนักแสดงชาวอเมริกันและดาราตลก หลังจากที่เติบโตในรัฐแคลิฟอร์เนีย เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักแสดงทางช่องดิสนีย์ ในรายการโทรทัศน์ Even Stevens หลังจากนั้นได้มีบทบาททางภาพยนตร์ ประสบความสำเร็จในบทบาทสมทบจากภาพยนตร์เรื่อง Constantine และ I, Robot หลังจากที่เขามีผลงานแสดงนำในเรื่อง The Greatest Game Ever Played ผู้กำกับและผู้สร้าง สตีเวน สปีลเบิร์ก ได้เลือกเขาแสดงในภาพยนตร์ในปี 2007 เรื่อง Disturbia และ Transformers เลอบัฟได้ร่วมงานกับสปีลเบิร์กอีกครั้งในภาพยนตร์ในปี 2008 เรื่อง ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า 4: อาณาจักรกะโหลกแก้ว และเรื่อง Eagle Eye มีสื่อมวลชนหลายแห่งได้คาดการณ์ไว้ว่า เลอบัฟ กับผลงานการแสดงของเขา เขาจะเป็นนักแสดงผู้นำในปี 2008.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและไชอา เลอบัฟ · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล

China Radio International (CRI), (ก่อนหน้านี้เรียกว่า Radio Beijing และชื่อแรกก่อตั้งคือ Radio Peking) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 3 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

ไคม์

ม์ในร่างนก ในปิศาจวิทยา ไคม์(Caim) หรือที่บางครั้งเรียกว่าคามิโอ (Camio) เป็นประธานแห่งนรกผู้มีอสูรใต้บังคับบัญชา 30 กองและเป็นปิศาจตนที่ 53 ในบท อาร์สโกเอเทีย จากหนังสือกุญแจย่อยของโซโลมอน เมื่อปรากฏกายนั้น ไคม์จะเป็นนกสีดำขนาดใหญ่ แต่จะแปลงร่างเป็นมนุษย์ถือดาบได้ บางครั้งไคม์จะปรากฏร่างเป็นมนุษย์ผู้แต่งกายหรูหราและมีปีกเหมือนนก ไคม์นั้นมีความสามารถในด้านโต้เถียงกับผู้อื่น และมีอำนาจที่ทำให้ผู้อัญเชิญสามารถเข้าใจความหมายของเสียงร้องของสัตว์ต่างๆและเสียงของน้ำได้ นอกจากนั้นยังสามารถตอบคำถามของสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างแม่นยำ เมื่อตอบคำถามนั้น ไคม์จะยืนอยู่บนขี้เถ้าของถ่านหิน ที่มาของชื่อของไคม์นั้นไม่แน่ชัดนัก เชื่อว่ามาจาก เคน(Cain) ฆาตกรคนแรกตามความเชื่อของศาสนาคริสต์ หรือ คามุส (Chamus) /คามอส (Chamos) ซึ่งหมายถึงบาอัลพีออร์ หรือ ไคอุม (Chium) ซึ่งเป็นภาษาฮิบรูที่ใช้เรียกเทพของชาวอัสซีเรียและบาบิโลน ตามความเชื่อของอารยธรรมเคลต์นั้น ไคม์เป็นชื่อของวิญญาณที่คุ้มครองมนุษย์ เมื่อรับศาสนาคริสต์เข้ามาแล้วจึงได้กลายเป็นชื่อของบทสวดขอความคุ้มครองแทน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและไคม์ · ดูเพิ่มเติม »

เพ (ตัวอักษร)

เพ (Pe) เป็นอักษรตัวที่ 17 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู פ‎ และอักษรอาหรับ ف (ฟาอ์) ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เกิดจากริมฝีปาก ไม่มีลม: IPA อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Pi (Π), อักษรละติน P, และอักษรซีริลลิก Pe จุดกำเนิดมาจากอักษรภาพรูปปาก (ภาษาฮีบรู pe; ภาษาอาหรับ, fem) พเพ en:Pe (letter)#Arabic fāʼ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเพ (ตัวอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์โซนา 3

ปกของเพอร์โซนา 3 ฉบับภาษาญี่ปุ่น เพอร์โซนา 3 เป็นเกมเล่นตามบทบาทสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 เพอร์โซนา 3 เป็นภาคหนึ่งในชุด เพอร์โซนา ซึ่งเป็นชุดย่อยของเมกามิเทนเซย์ พัฒนาโดยบริษัทแอตลัส ออกวางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 ก่อนจะจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2550 โดยใช้ชื่อว่า Shin Megami Tensei: Persona 3 (ชินเมกามิเทนเซย์ เพอร์โซนา3) และวันที่29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551ในภาคพื้นยุโรปและออสเตรเลีย ในเวลาต่อมา แอตลัสยังได้จำหน่ายภาคเสริม เพอร์โซนา 3 FES ซึ่งได้ปรับระบบการเล่นและเพิ่มเนื้อหาใหม่เข้าไป ซึ่งภาค FESนี้ วางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2550 ก่อนจะจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2551 และในภาคพื้นยุโรปเมื่อวันที่17 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ภาคภาษาอังกฤษซึ่งจำหน่ายในอเมริกาเหนือยังแถมอาร์ตบุคและซาวแทร็คซีดีของเกมพร้อมกับเกมด้วย ซึ่งเพอร์โซนา 3 ก็ได้รับคำวิจารณ์ในด้านบวกอย่างมากมาย นอกจากนั้นยังมีภาครีเมคสำหรับเครื่องเพลย์สเตชันพอร์เทเบิลซึ่งมีกำนหดการวางจำหน่ายในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเพอร์โซนา 3 · ดูเพิ่มเติม »

เมอร์คาวา

มอร์คาวา (ฮิบรู:, รถม้าศึก) เป็นรถถังประจัญบานหลักที่ใช้โดยกองกำลังป้องกันอิสราเอล รถถังนี้เริ่มการพัฒนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเมอร์คาวา · ดูเพิ่มเติม »

เม็ม

เม็ม (Mem บางครั้งสะกดเป็น Meem หรือ Mim) เป็นอักษรตัวที่ 13 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู מ‎ และอักษรอาหรับ ﻡ‎ สัทอักษรคือ: อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Mu (Μ), อักษรอีทรัสคัน ̌, อักษรละติน M, และอักษรซีริลลิก М คาดว่ามีมมาจากอักษรไฮโรกลิฟของอียิปต์รูปน้ำ ที่ทำให้ง่ายขึ้นในอักษรฟินิเชีย และตั้งชื่อด้วยคำว่าน้ำ, mem (mayim ในภาษาฮีบรูสมัยใหม่และ, mye ในภาษาอาหรับ) มเม็ม ar:م fa:م ja:م ko:م ur:م wuu:م.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเม็ม · ดูเพิ่มเติม »

เม็นออฟอิสราเอล

ม็นออฟอิสราเอล (Men of Israel) เป็นหนังโป๊เกย์ในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเม็นออฟอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

เยรูซาเลม

รูซาเลม (Jerusalem), เยรูชาลายิม (יְרוּשָׁלַיִם) หรือ อัลกุดส์ (القُدس) เป็นเมืองในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนที่ราบของภูเขายูดาห์ ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับทะเลเดดซี เยรูซาเลมเป็นเมืองที่พระยาห์เวห์ทรงเลือกสรรไว้ให้เป็นป้อมแห่งความเชื่อถึงพระเป็นเจ้าแต่เพียงองค์เดียว ประเทศอิสราเอลและรัฐปาเลสไตน์ต่างอ้างสิทธิเหนือเยรูซาเลมว่าเป็นเมืองหลวงของตน อย่างไรก็ตาม การกล่าวอ้างของทั้งสองฝ่ายไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เยรูซาเลมถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยได้รับการกล่าวถึงในชื่อ "อูรูซาลิมา" ในแผ่นศิลาจารึกของเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีความหมายว่า "นครแห่งชาลิม" อันเป็นนามของพระเจ้าในแผ่นดินคานาอันเมื่อราว 2,400 ปีก่อนคริสตกาล และเมื่อมาถึงยุคของวงศ์วานอิสราเอล การก่อร่างสร้างเมืองเยรูซาเลมอย่างจริงจังก็ได้เริ่มขึ้นในศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล (ยุคเหล็กช่วงปลาย) และในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล เยรูซาเลมก็ได้เป็นศูนย์กลางการปกครองและทางศาสนาของอาณาจักรยูดาห์ ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเยรูซาเลม นครแห่งนี้ได้ถูกทำลายไปอย่างน้อย 2 ครั้ง, ถูกปิดล้อม 23 ครั้ง, ถูกโจมตี 52 ครั้ง, ถูกยึดและเอาคืน 44 ครั้ง According to Eric H. Cline's tally in Jerusalem Besieged.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

เรช

เรช (Resh) เป็นอักษรตัวที่ 20 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู (ר) และอักษรอาหรับ (ﺭ‎; รออ์) ใช้แทนเสียงรัวลิ้น (rhotic consonants; สัทอักษรสากล หรือ) แต่ในภาษาฮีบรู จะใช้แทนเสียง และ ด้วย รูปร่างของอักษรนี้ในอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่จะคล้ายกับตัวดาล อักษรซีเรียคใช้ตัวเดียวกัน แยกจากกันโดยใช้จุด r มีจุดอยู่ข้างบน ส่วน d มีจุดอยู่ข้างล่าง อักษรอาหรับ ﺭ‎ มีหางยาวกว่า ﺩ‎ ส่วนในอักษรอราเมอิก และอักษรฮีบรู ที่เป็นอักษรทรงเหลี่ยม ר เป็นขีดทรงโค้งอันเดียว ส่วน ד เป็นขีด 2 ขีดทำมุมกัน อักษรนี้มาจากไฮโรกลิฟรูปหัว (ฮีบรู rosh; อาหรับ ra's) ตัวนี้ภาษาเซมิติกตะวันออกเรียก riš ซึ่งอาจเป็นคำอ่านของอักษรรูปลิ่มในภาษาอัคคาเดีย อักษรฟินิเชียที่ใช้แทนเสียงนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Ρ” อักษรละติน “R” และอักษรซีริลลิก “ Р” รเรช ar:ر fa:ر ms:Ra (huruf Arab).

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเรช · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางการค้า

้นทางการค้า (trade route) คือเส้นทางที่ในเครือข่ายที่บ่งว่าเป็นเส้นทางและจุดหยุดพักที่ใช้ในการขนส่งสินค้าไปยังตลาดที่อยู่ในดินแดนที่ไกลออกไปจากต้นแหล่งที่ผลิตสินค้ามาก เส้นทางการค้าแต่ละเส้นทางก็จะประกอบด้วยถนนสายหลัก (Arterial road) ที่อาจจะมีเครือข่ายย่อยๆ ที่ใช้เป็นเส้นทางการค้าและการคมนาคมมาบรรจบ ในประวัติศาสตร์ช่วงตั้งแต่ปี 1532 ก่อนคริสต์ศักราช จนถึง..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเส้นทางการค้า · ดูเพิ่มเติม »

เอลี โคเฮน

อลียาฮู เบน-ชาอูล โคเฮน (ฮีบรู: אֱלִיָּהוּ בֵּן שָׁאוּל כֹּהֵן‎‎,อาหรับ: إيلي كوهين‎‎‎; 26 ธันวาคม ค.ศ. 1924 - 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1965) หรือโดยทั่วไปรู้จักในชื่อ เอลี โคเฮน เป็นสายลับชาวอิสราเอล เขาเป็นที่รู้จักจากงานสืบราชการลับของเขาในซีเรียเมื่อปี..1961 - 1965 ซึ่งเขาพัฒนาความสัมพันธ์ทางการเมืองและทางการทหารกับซีเรียจนได้เป็นหัวหน้าที่ปรึกษาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของซีเรีย ต่อมาเขาถูกเจ้าหน้าที่ข่าวกรองของซีเรียจับได้ว่าเขาเป็นสายลับและถูกประหารชีวิตโดยการแขวนคอในปี..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเอลี โคเฮน · ดูเพิ่มเติม »

เอวา

อวา โดย Juan Antonio Vera Calvo เอวา (חַוָּה‎, Ḥawwāh; Eve อีฟ) เป็นผู้หญิงคนแรก ที่หนังสือปฐมกาลบันทึกไว้ โดยคำว่า เอวา เป็นคำมาจากภาษาฮีบรู แปลว่า มีชีวิตอยู่ ตามบันทึกพระคัมภีร์ มนุษย์ผู้หญิงถูกตั้งชื่อว่า เอวา หรือ อีฟ เพราะนางเป็นมารดาของปวงชนที่มีชีวิต ภาษาอาหรับเรียกว่า เฮาวาอ.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเอวา · ดูเพิ่มเติม »

เอสเอ็มเอฟ

อสเอ็มเอฟ (SMF ย่อมาจาก Simple Machines Forum) เป็นโปรแกรมระบบกระดานสนทนาหรือที่นิยมเรียกกันว่าเว็บบอร์ดบนอินเทอร์เน็ตแบบโอเพนซอร์ส ทำงานด้วยภาษาพีเอชพี ควบคู่กับระบบฐานข้อมูล โดยรับรองการทำงานของฐานข้อมูลหลากหลายชนิด ได้แก่ MySQL, SQLite หรือ PostgreSQL ด้วยความที่ใช้ภาษาพีเอชพีในการพัฒนา รวมถึงการแพร่หลายของระบบฐานข้อมูล MySQL รวมถึงมีตัวช่วยการติดตั้งที่ง่าย (Wizard installer) มีรูปแบบของธีม (Themes) และส่วนเสริมฟังก์ชันการใช้งาน (Modifications) ให้เลือกใช้มากมาย ทำให้ SMF ได้รับความนิยมอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเอสเอ็มเอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เอฮุด โอลเมิร์ต

อฮุด โอลเมิร์ต (อังกฤษ: Ehud Olmert ฮีบรู: אהוד אולמרט) เกิดเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2488 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอิสราเอล เป็นคนที่ 12 เมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2549 หลังจากที่ เขาได้รักษาการแทน นายอาเรียล ชารอน นายกรัฐมนตรีอิสราเอลคนก่อน ซึ่งเกิดอาการภาวะเลือดคั่งในสมอง เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2549 นายเอฮุด โอลเมิร์ต เป็นสมาชิกของ พรรคการเมืองที่ชื่อว่า คาดิมา พรรคคาดิมา ได้ชนะการเลือกตั้ง เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2549 โดยก่อนหน้านี้ นายเอฮุด โอลเมิร์ต ได้ดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง,รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน นายเอฮุด โอลเมิร์ต ได้สมรมกับ นางอลิซา โอลเมิร์ต มี บุตร-ธิดา ด้วยกันทั้งหมด 4 คน และ ธิดาบุญธรรมอีก 1คน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเอฮุด โอลเมิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

เฮดีส

(Hades,; Ἅιδης/ᾍδης, Hāidēs) เป็นพระเจ้าแห่งโลกบาดาลของกรีกโบราณ สุดท้าย พระนามฮาเดสได้กลายมาเป็นชื่อเรียกถิ่นของผู้ตาย ในเทพปกรณัมกรีก ฮาเดสเป็นพระโอรสองค์โตของโครนัสและเรีย หากพิจารณาจากลำดับที่ประสูติจากพระชนนี หรือองค์เล็กหากพิจารณาเมื่อพระชนกขย้อนออกมา มุมมองอย่างหลังนี้มีรับรองในสุนทรพจน์ของโพไซดอนในอีเลียด ตามตำนาน พระองค์กับพระอนุชา ซุสและโพไซดอน พิชิตเทพไททันและอ้างการปกครองจักรวาล แบ่งกันปกครองโลกบาดาล อากาศและทะเลตามลำดับ ปฐพีซึ่งเป็นอาณาเขตแห่งไกอามาแต่ช้านาน เป็นของทั้งสามพร้อมกัน ต่อมา ชาวกรีกเริ่มเรียกฮาเดสว่า พลูตอน ซึ่งชาวโรมันแผลงเป็นละตินว่า พลูโต ชาวโรมันโยงเฮดีส/พลูโตเข้ากับพระเจ้าคะเธาะนิคของพวกตน ดิสปาเตอร์ (Dis Pater) และออร์คัส พระเจ้าอีทรัสคันที่สอดคล้อง คือ ไอตา (Aita) มักวาดภาพพระองค์กับหมาสามหัว เซอร์เบอรัส ในประเพณีปรัมปราวิทยาสมัยหลัง แม้ไม่ใช่สมัยโบราณ พระองค์สัมผัสกับหมวกเกราะแห่งความมืดและสองง่าม คำว่า เฮดีส ในเทววิทยาคริสต์ (และพันธสัญญาใหม่ภาษากรีก) เปรียบได้กับชีโอ (sheol, שאול) ในภาษาฮีบรู ซึ่งหมายถึง ถิ่นพำนักของผู้ตาย มโนทัศน์นรกของศาสนาคริสต์คล้ายและได้รับมาจากมโนทัศน์ทาร์ทารัสของกรีก ซึ่งเป็นส่วนที่ลึกและมืดมิดซึ่งเฮดิสใช้เป็นคุกลงทัณฑ์และทรมาน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเฮดีส · ดูเพิ่มเติม »

เทลอาวีฟ

thumbtime.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเทลอาวีฟ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะพริ้นซ์ออฟอียิปต์

อะพริ้นซ์ออฟอียิปต์ (The Prince of Egypt) เป็นภาพยนตร์การ์ตูนแอนิเมชันในปี 1998 กำกับโดย เบรนด้า แชปแมน.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเดอะพริ้นซ์ออฟอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์

"เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์" (The Star-Spangled Banner แปลว่า ธงอันแพรวพราวด้วยดารา) เป็นเพลงชาติประจำสหรัฐ โดยเนื้อเพลงมาจากกวีนิพนธ์ชื่อว่า "การต่อสู้พิทักษ์ป้อมแม็กเฮ็นรี่ (Defence of Fort M'Henry)" ซึ่งประพันธ์ขึ้นในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายการออกเสียงอักษรอาหรับ

รื่องหมายการออกเสียง ในภาษาอาหรับเรียกว่า หะเราะกาต (حَرَكَاةْ แปลตรงตัว “ความเคลื่อนไหว”) เป็นเครื่องหมายที่ใช้แสดงเสียงสระในภาษาอาหรับ คำว่า"หะเราะกาต"ในที่นี้หมายถึงการเคลื่อนไหวในอากาศเมื่อมีการออกเสียงสระ ในภาษาฮีบรูคำว่าสระและความเคลื่อนไหวใช้คำเดียวกันเช่นกันคือ tnuá.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและเครื่องหมายการออกเสียงอักษรอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

Complex Text Layout

CTL เป็นอักษรย่อ จาก Complex Text Layout (แปลตามตัว: การออกแบบข้อความซับซ้อน) ในทางคอมพิวเตอร์ ใช้เรียกกลุ่มภาษา ที่ต้องการขั้นตอนที่ซับซ้อนในการแสดงผล บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือบนกระดาษพิมพ์ ตัวอย่างภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ภาษาอาหรับ ภาษาฮิบรู ภาษาฮินดี และ ภาษาไท.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและComplex Text Layout · ดูเพิ่มเติม »

S-L-M

S-L-M หรือ ซีน-ลาม-เม็ม (س ل م; שלם; ภาษาอราเมอิก: ܫܠܡܐ) เป็นรากศัพท์พยัญชนะสามตัวของคำในกลุ่มภาษาเซมิติก และคำเหล่านี้มีการใช้เป็นชื่อจำนวนมาก ตัวรากศัพท์เองนั้นหมายถึง "ทั้งหมด ปลอดภัย สัมผัส".

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและS-L-M · ดูเพิ่มเติม »

22

22 (ยี่สิบสอง) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 21 (ยี่สิบเอ็ด) และอยู่ก่อนหน้า 23 (ยี่สิบสาม).

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและ22 · ดูเพิ่มเติม »

9

9 (เก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 8 และอยู่ก่อนหน้า 10.

ใหม่!!: ภาษาฮีบรูและ9 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Hebrew languageภาษาฮิบรูฮิบรู

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »