สารบัญ
17 ความสัมพันธ์: ชาวกาตาลาภาษาสเปนภาษาอารันรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ราตาตูยวิกิพีเดียภาษาอ็อกซิตันอาลบีจังหวัดแยย์ดาซอนเน็ตซิดิลลาแคว้นกาตาลุญญาแคว้นโรนาลป์เฟรเดริก มิสทราลเกรฟแอกเซนต์เสียงพยัญชนะนาสิกเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง
ชาวกาตาลา
วกาตาลา (català) หรือ ชาวกาตาลัน (catalán) คือกลุ่มชาติพันธุ์โรมานซ์ (Romance) ซึ่งพูดภาษากาตาลา หรือมีเชื้อชาติกาตาลาผสมผสานอยู่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในกาตาลุญญา สเปน, กาตาลุญญาดัลนอร์ต (กาตาลุญญาเหนือ) ในฝรั่งเศส และประเทศอันดอร์รา โดยคนกาตาลาส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก.
ภาษาสเปน
ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.
ภาษาอารัน
ษาอารัน (อารัน: Aranés) เป็นรูปแบบมาตรฐานรูปแบบหนึ่งของภาษาอ็อกซิตันสำเนียงกัสกุงถิ่นพิเรนีส ใช้กันในหน่วยดินแดนพิเศษอารัน ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของแคว้นกาตาลุญญา ติดพรมแดนระหว่างประเทศสเปนกับประเทศฝรั่งเศส ภาษาอารันเป็นภาษาราชการของหน่วยดินแดนดังกล่าวร่วมกับภาษากาตาลาและภาษาสเปน และในปี..
รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1
ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.
ดู ภาษาอ็อกซิตันและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1
รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้
การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.
ดู ภาษาอ็อกซิตันและรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้
ราตาตูย
ราตาตูยในกระทะ Ratatouille niçoise ราตาตูย (Ratatouille, ออกเสียง:; ออกเสียงอังกฤษ: - แรททะทูอี, แรททะทฺวี) เป็นอาหารพื้นเมืองของทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส โดยมีลักษณะเป็นสตูผัก มีต้นกำเนิดมาจากเมืองนิส อาหารชนิดนี้มีชื่อเต็มว่า ราตาตูยนีซวซ (ratatouille niçoise).
วิกิพีเดียภาษาอ็อกซิตัน
ลโก้วิกิพีเดียภาษาอ็อกซิตัน วิกิพีเดียภาษาอ็อกซิตัน เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาอ็อกซิตัน ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาอ็อกซิตันมีบทความมากกว่า 10,000 บทความ (กันยายน 2550).
ดู ภาษาอ็อกซิตันและวิกิพีเดียภาษาอ็อกซิตัน
อาลบี
อาลบี (Albi) เป็นเมืองหลัก (Chef-lieu) ของเขตจังหวัดตาร์น แคว้นอ็อกซีตานี ทางภาคใต้ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บนแม่น้ำตาร์น ห่างจากเมืองตูลูซ ประมาณ 85 กิโลเมตร จากทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เมืองอาลบี เคยเป็นเมืองที่อยู่ภายใต้การปกครองของอัครมุขนายกแห่งอาลบี ซึ่งอยู่ในมุขมณฑลแห่งอาลบี (Diocese of Albi) เขตเมืองอาลบี ได้แก่ เมืองเก่า ซึ่งในปัจจุบันตั้งอยู่ตรงกลางใจเมือง และบริเวณรอบของมหาวิหารอาลบี ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก เมื่อปีค.ศ.
จังหวัดแยย์ดา
250px อารามเบ็ลย์ปุตช์ แยย์ดา (Lleida), แยย์ดอ (อารัน: Lhèida) หรือ เลริดา (Lérida) เป็นหนึ่งในสี่จังหวัดของแคว้นปกครองตนเองกาตาลุญญา ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปน มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฌิโรนา จังหวัดบาร์เซโลนา จังหวัดซาราโกซา จังหวัดอูเอสกา ประเทศฝรั่งเศส และประเทศอันดอร์รา บ่อยครั้งมีผู้เรียกจังหวัดนี้ว่า ปูเน็น (Ponent, "ตะวันตก") เนื่องจากตั้งอยู่ในส่วนตะวันตกของแคว้นกาตาลุญญา แยย์ดาเป็นจังหวัดเดียวของแคว้นที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ประมาณร้อยละ 30 ของประชากร 414,015 คนในจังหวัดแยย์ดา (ณ ปี ค.ศ.
ดู ภาษาอ็อกซิตันและจังหวัดแยย์ดา
ซอนเน็ต
ซอนเน็ต (Sonnet) เป็นรูปแบบฉันทลักษณ์งานกวีนิพนธ์ในภาษาอังกฤษแบบหนึ่ง พบมากในงานกวีนิพนธ์ของประเทศในยุโรป คำว่า "ซอนเน็ต" มาจากคำ sonet ในภาษาอ็อกซิตัน และ sonetto ในภาษาอิตาลี มีความหมายว่า "บทเพลงน้อย ๆ" ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เริ่มมีการใช้ซอนเน็ตกับบทกวี 14 บรรทัด ซึ่งมีรูปแบบสัมผัสที่เคร่งครัดและมีโครงสร้างพิเศษ ผู้เขียนโคลงซอนเน็ตมักมีคำเรียกเฉพาะว่า "sonneteer" งานกวีนิพนธ์แบบซอนเน็ตที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ ซอนเน็ตของเชกสเปียร์ ซึ่งได้ประพันธ์โคลงซอนเน็ตไว้ถึง 154 บท กวีมักนิยมเขียนโคลงซอนเน็ตโดยใช้มาตราแบบ iambic pentameterในงานประพันธ์ภาษาอังกฤษ ถ้าประพันธ์ด้วยภาษากลุ่มโรมานซ์ จะนิยมใช้มาตราแบบ hendecasyllable และ alexandrine.
ซิดิลลา
ซิดิลลา (cedilla) หรือ เซดีย์ (cédille) เป็นสัญลักษณ์รูปร่างคล้ายตะขอ (¸) อยู่ใต้พยัญชนะของอักษรละตินบางตัว เพื่อแสดงเสียงที่ต่างไปจากรูปปกติ เช่น ç ในภาษาฝรั่งเศสจะออกเสียงคล้ายเสียง ซ แต่ c จะออกเสียงคล้ายเสียง ค เป็นต้น.
แคว้นกาตาลุญญา
กาตาลุญญา (Catalunya; Cataluña), กาตาลุญญอ (อารัน: Catalonha) หรือ แคทาโลเนีย (Catalonia) เป็นภูมิภาคหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือสุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ปัจจุบัน สถานะทางรัฐธรรมนูญของภูมิภาคนี้เป็นประเด็นข้อพิพาทระหว่างราชอาณาจักรสเปนซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นแคว้นปกครองตนเองแห่งหนึ่งของตน กับฌานาราลิตัตดากาตาลุญญา (ทบวงการปกครองในท้องถิ่น) ซึ่งถือว่ากาตาลุญญาเป็นสาธารณรัฐเอกราชหลังจากที่สภานิติบัญญัติกาตาลุญญาประกาศเอกราชจากสเปนเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม..
ดู ภาษาอ็อกซิตันและแคว้นกาตาลุญญา
แคว้นโรนาลป์
รนาลป์ (Rhône-Alpes; ฟร็องโก-พรอว็องซาล: Rôno-Arpes; Ròse Aups) เป็นอดีตแคว้นในประเทศฝรั่งเศส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์) ตั้งอยู่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส ทิศเหนือติดกับแคว้นบูร์กอญและฟร็องช์-กงเต ทิศตะวันตกติดกับแคว้นโอแวร์ญ ทิศใต้ติดกับแคว้นล็องก์ด็อก-รูซียงและพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ส่วนทางทิศตะวันออกติดกับประเทศสวิตเซอร์แลนด์และอิตาลี แคว้นโรนาลป์ได้ชื่อมาจากแม่น้ำโรนและเทือกเขาแอลป์ มีเมืองหลวงคือลียง ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นลำดับที่สองของประเทศฝรั่งเศส รองลงมาจากกรุงปารีส แคว้นโรนาลป์นี้ยังเป็นสถานที่ตั้งของยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปยุโรปตะวันตกอีกด้วยซึ่งก็คือยอดเขามงบล็อง ภายในแคว้นมีแม่น้ำสองสายไหลผ่านคือแม่น้ำโรนและแม่น้ำโซน ซึ่งมาบรรจบกันที่เมืองหลวงลียง ทั้งยังมีแม่น้ำอาร์แด็ชอีกด้วย และยังพรมแดนติดต่อกับทะเลสาบเจนีวาและทะเลสาบอานซี ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการในแคว้นโรนาลป์ แต่มีภาษาท้องถิ่นที่พูดกันมากอยู่สองภาษาคือภาษาฟร็องโก-พรอว็องซาล ซึ่งถูกจัดว่าเป็นภาษาใกล้สูญพันธุ์และภาษาอ็อกซิตัน ประชาชนบางส่วนเป็นประชาชนอพยพมาจากประเทศโปแลนด์ อิตาลี โปรตุเกส และแอฟริกาเหนือ.
ดู ภาษาอ็อกซิตันและแคว้นโรนาลป์
เฟรเดริก มิสทราล
ฟรเดริก มิสทราล (Frédéric Mistral; Frederic Mistral; 8 กันยายน ค.ศ. 1830 - 25 มีนาคม ค.ศ. 1914) เป็นนักเขียนและนักทำพจนานุกรมชาวฝรั่งเศส บุตรของชาวนาผู้มีอันจะกินคนหนึ่งในภูมิภาคพรอว็องส์ เขาเป็นผู้ฟื้นฟูภาษาอ็อกซิตันและวรรณกรรมในภาษาอ็อกซิตันขึ้นใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..
ดู ภาษาอ็อกซิตันและเฟรเดริก มิสทราล
เกรฟแอกเซนต์
กรฟแอกเซนต์ (grave accent) เรียกย่อว่า เกรฟ (grave) เป็นเครื่องหมายเสริมสัทอักษรชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นขีดเล็ก ๆ เฉียงลงขวาอยู่เหนืออักษร (`) ใช้เขียนกำกับอักษรละตินเพื่อใช้ในภาษาต่าง ๆ อาทิ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส ภาษานอร์เวย์ ภาษาเวียดนาม ฯลฯ กำกับอักษรกรีกในภาษากรีก (ใช้จนถึง ค.ศ.
ดู ภาษาอ็อกซิตันและเกรฟแอกเซนต์
เสียงพยัญชนะนาสิก
ียงพยัญชนะนาสิก เป็นเสียงพยัญชนะที่เกิดจากการหย่อนเพดานอ่อนในปาก แล้วปล่อยอากาศอย่างอิสระออกทางจมูก อวัยวะในช่องปากรูปแบบต่าง ๆ ทำหน้าที่สั่นพ้องเสียงให้ก้อง แต่อากาศจะไม่ออกมาทางช่องปากเพราะถูกกักด้วยริมฝีปากหรือลิ้น นอกจากนี้ยังมีเสียงพยัญชนะอื่นที่ออกเสียงขึ้นจมูก (nasalized) ซึ่งพบได้ยาก.
ดู ภาษาอ็อกซิตันและเสียงพยัญชนะนาสิก
เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง
ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง (voiced velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา ยกเว้นภาษาไทย สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ ซึ่งเป็นรูปแปรหนึ่งของตัวอักษรกรีก γ (แกมมา) ที่ใช้เป็นพยัญชนะแทนเสียงนี้ในภาษากรีกสมัยใหม่ (เป็นสัทอักษรคนละตัวกับ ซึ่งแทนเสียงสระเออะ/เออของภาษาไทย) นอกจากนี้ บางครั้งมีการใช้สัญลักษณ์ แทนเสียงเปิด เพดานอ่อน (velar approximant) ซึ่งที่จริงหากเขียนโดยมีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรกำกับอยู่ด้วยเป็น หรือ ก็จะถูกต้องกว.
ดู ภาษาอ็อกซิตันและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ภาษาออกซิตัน