โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาอิตาลี

ดัชนี ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

388 ความสัมพันธ์: AAGROVOCÎบ. บุญค้ำชากีราชาลอมชาวสวิสชาวอิตาลีชีมาบูเอชีวิตศิลปินช่างตัดผมแห่งเซวิลล์บ้านทะเลสาบ บ่มรักปาฏิหาริย์ชเปทซ์เลอฟือเรอร์ฟุตบอลทีมชาติอิตาลีฟูซีลีพระวรสารนักบุญบารนาบัสพระจันทร์เป็นใจพระแม่มารีแห่งพาร์โตพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปนพลังอักษะ เฮตาเลียพินอคคิโอ ฅนไม้ผจญภัยพุนต์แลนด์พูลชิเนลลากลุ่มภาษาอิตาลิกกลุ่มภาษาโรมานซ์กลุ่มเกาะกล้วยนากกัมบะโอซากะกันดั้มวิงการถอดเสียงการทับศัพท์ภาษาอิตาลีการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972...การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 2018การ์ตูนกาสิโนกาแฟกูเกิล แปลภาษาฝั่ม ถิ ฮหว่ายภาษาฝรั่งเศสภาษามอลตาภาษาละตินภาษาสเปนภาษาอาหรับภาษาอิดอภาษาอินโดนีเซียภาษาอูรดูภาษาคริสตังภาษาตุรกีภาษาซองคาภาษาซิซิลีภาษาประธานไร้รูปภาษาเอสเปรันโตภาษาเตลูกูมหาวิหารซันตามาเรียโนเวลลามหาวิหารซันตาโกรเชมหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิกมหาวิทยาลัยปาร์มามหาวิทยาลัยโบโลญญามหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์มัคคียาโตมาการงมารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มามารี อ็องตัวแน็ตมาร์ชาเรอาเลดอร์ดีนันซามิสเตอร์แสบร้ายเกินพิกัด (แฟรนไชส์)ยอดนักสืบจิ๋วโคนันยาฮู! รู้รอบยิ้มไว้โลกนี้ไม่มีสิ้นหวังยุทธการอัดวายุทธการเดือดเชือดนาซียูร์ก็อตอะเฟรนด์ยูลิสซิส มัวร์รอยขูดขีดเขียนรัก จี๊ด...จี๊ด... สวยเจ็บปวดรัฐกลารุสรัฐสมาชิกสหภาพยุโรปรัฐสันตะปาปารัฐของประเทศสวิตเซอร์แลนด์รัฐตีชีโนรัฐเกราบึนเดินราชรัฐมุขนายกบริกเซินราชรัฐแอนติออกราชอาณาจักรราโรตองการาชอาณาจักรอิทรูเรียราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรอิตาลี (นโปเลียน)ราชอาณาจักรตาโวลาราราชอาณาจักรซาร์ดิเนียราชอาณาจักรซิซิลีราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสองราชอาณาจักรแดลเมเชียรายชื่อภาษารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)รายชื่อนิยายปรัมปรารายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ร็อคกี้ ราชากำปั้น ทุบสังเวียน ภาค 2ลัมโบร์กีนี เซสโต เอเลเมนโตลัตเตมัคคียาโตลา ทราวิอาทาลาตเทลิขิตรัก ข้ามเวลาลิงกวาฟรังกาโนวาลีเออร์นาวันทาพระราชินีวาทยกรวิกิพีเดียภาษาอิตาลีวิทยาการคอมพิวเตอร์สกอร์โปนอคสภายุโรปสมาพันธรัฐเยอรมันสมาคมคาร์โบนารีสมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียมสวนปริศนาสหพันธรัฐหมู่เกาะคุกสหภาพยุโรปสหรัฐสัทอักษรสากลสาธารณรัฐกอสปายาสาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีสาธารณรัฐโรมัน (คริสต์ศตวรรษที่ 19)สาธารณรัฐโซมาลีสาธารณรัฐโนลีสาธารณรัฐเวนิสสาธารณรัฐเจนัวสาธารณรัฐเซนารีกาสตรีโกยสนธิสัญญานาวิกวอชิงตันสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)สโมสรฟุตบอลเฮลแลสเวโรนาสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดสเตลล่า มาลูกี้หมึก (อาหาร)หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภาหลุยส์ ดูว์ครุแอหอศิลป์อุฟฟีซีหอหลังคาโดมหอเอนเมืองปิซาหนีตามกาลิเลโอหน้ากากแก้วหน้าต่างหัวใจ สุดปลายทางรักห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ออมนิทริกซ์ออสการ์ พิสโตริอุสออสโซบูโกอะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์อัสคารีอันเดรีย กาสิรากีอาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรียอาร์แซน แวงแกร์อาหารค่ำมื้อสุดท้าย (เลโอนาร์โด)อาเรียอำมหิต มร.ริปลีย์อิล โตรวาโตเรอิตาลี (แก้ความกำกวม)อิตาเลียนลิเบียอีมาน (นางแบบ)อ็อกเทฟอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)ผู้หญิงบานฉ่ำจรวดจริตนิยมจอชโกรแบนจอห์นเรียล คาซิเมโรจักรวรรดิออสเตรียจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดิอิตาลีจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิเยอรมันจันนี อินฟันตีโนจิตรกรรมฝาผนังจูเซปเป รอสซีจีเมลธงชาติอิตาลีทอเลมี (ชื่อ)ทักซ์เพนท์ทางด่วนทูรินท่าอากาศยานโบโลญญาข้าคือวีเซิลดอยช์ เวเลย์ดอลลาร์ดัชชีมีลาโนดัชชีลุกกาดัชชีซาวอยดัชชีปาร์มาดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรียดัดดาริโอดันเต อาลีกีเอรีดิวโอลิงโกดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลียดินแดนเสรีตรีเยสเตดีวีนากอมเมเดียดีแวร์ตีเมนโตดีเบลชทรอมเมิลด็อกเตอร์ดูมด้านหน้าอาคารคริสต์ศตวรรษที่ 16คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสคะโอะริ อีดะคัฟแฟะมัคคียาโตคันตาตาคาวาซากิ ฟรอนตาเลคำกำกับนามคำปฏิญาณโอลิมปิกงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 86งานแต่งงานของฟิกาโรง้องแง้งกับเงอะงะฉากแท่นบูชาเบรราซอนเน็ตซัลซา (ซอส)ซังคท์โมริทซ์ซามูไรทรูปเปอร์ซาราห์ ไบรท์แมนซานตาลูชีอาซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน)ซินแบด พิชิตตำนาน 7 คาบสมุทรซูบารุ ลีออนซีรีประมวลกฎหมายแพ่งสวิสประเทศลิกเตนสไตน์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสโลวีเนียประเทศอิตาลีประเทศซานมารีโนประเทศโมนาโกประเทศโครเอเชียประเทศโคลอมเบียประเทศโปรตุเกสปรากฏการณ์แม็คเกอร์กปากานี ซอนดาปิน็อกกีโอปีอัซซาเดลโปโปโลปีเอตะนอสตราเดมัสนีโรนครรัฐวาติกันนโปเลียนที่ 2แบร์นแกรนด์ดัชชีทัสกานีแกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซียแมกซ์ ฟอน ซีโดวแมคโอเอสแม่ชีเทเรซาแม่พระมหาการุณย์แม่พระและพระกุมารแม่พระแห่งแกรนด์ดยุกแม่พระเปซาโรแม่น้ำดานูบแร็กคูนแล้วดวงตะวันก็ฉายแสงแอฟริกาเหนือของอิตาลีแอล. แอล. ซาเมนฮอฟแองกวิลลาแอโรเพลนเจลลีแท่นตั้งศพแคว้นลอมบาร์เดียแคว้นคาลาเบรียแคว้นปกครองตนเองวัลเลดาออสตาแคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจแคนทอนแคนเดลาใบสอโบสถ์น้อยซัสเซตตีโชนัน เบลมาเรโฟร์สแควร์โฟร์แชร์โฟล์กสวาเกน เจ็ตตาโฟโต้สเกปโมนาลิซาโรมโรมิโอ × จูเลียตโรงอุปรากรลา สกาลาโรโกโกโลก (ดาวเคราะห์)โฮเซ ซูไลมังโจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรียโจวันนี บาลยีโอเนโทกูชิมะ วอร์ติสโทมัส ยังโทะโยะดะโกเซย์ตเรฟวยร์ซาโคเพอร์โซนาตาโปเกมอน ซันและมูนไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนลไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)ไวโอลินไอ อีจิมะไอพอดชัฟเฟิลไผ่แดงไซยาโนเจนมอดเบลลาโจเบอร์เซิร์กเพกาซัสแฟนตาซีเกรฟแอกเซนต์เกลฟ์และกิเบลลิเนเลอมูเอล กัลลิเวอร์เวสป้าเวียเดลโกร์โซเสียงพยัญชนะนาสิกเอเอมิเลียโน อัลฟาโรเอวานเจลิสตา โตร์ริเชลลีเอสวอยซ์เอสเอ็มเอฟเอาโทบานเจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์เจ้าหญิงมารีอา กาเบรียลลาแห่งซาวอยเจ้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนียเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มาเจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์เทมโปเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเวนิสเดอะฟราเทลลิสเครื่องหมายเสริมสัทอักษรเคาน์ตีอิเดสซาเคาน์ตีตริโปลีเตอาโตรเซฟวิ่ง ไพรเวท ไรอัน ฝ่าสมรภูมินรกเซลีน ดิออนเซตีเนียเซเบิลเปียโนเปตรากเนยแข็งBCCh (ทวิอักษร)DEFGGeneralissimoHIITJKLLALa Dolce VitaLa stradaMNPPiazza telematicaQRSTUVWXYZ ขยายดัชนี (338 มากกว่า) »

A

A (ตัวใหญ่: A, ตัวเล็ก: a) คืออักษรและสระตัวแรกในอักษรละติน มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า เอ ในขณะที่หลายภาษาเช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี เรียกตามชื่อเดิมของอักษรนี้คือ อา รูปพหูพจน์เขียนเป็น A's, As, as, หรือ a's อักษร A มีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณโดยมีหลักฐานในอักษรภาพไฮโรกลิฟฟิก และมีการหยิบยืมไปใช้โดยวัฒนธรรมอื่นจนกระทั่งปัจจุบัน โดยยังคงไว้ซึ่งจุดเด่นนั่นคือ A เป็นตัวอักษรแรกของชุดตัวอักษรในภาษาเสมอ ใช้แทนเสียงสระ อา เอ หรือ แอ ที่ประกอบกับเสียงพยัญชนะ หรือใช้แทนเสียงสระอย่างเดียวก็ได้ นอกจากนั้นอักษร A ก็มีการเติมเครื่องหมายและถูกดัดแปลงไปหลายรูปแบบเพื่อการนำไปใช้เป็นอักขรวิธีในภาษาหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและA · ดูเพิ่มเติม »

AGROVOC

AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1980 โดยเป็นอรรถาภิธานศัพท์พหุภาษาแบบมีโครงสร้าง ในด้านการเกษตร วนศาสตร์ การประมง อาหาร โภชนาการ และสาขาที่เกี่ยวข้อง (เช่น สิ่งแวดล้อม) อรรถาภิธานนี้เป็นคำศัพท์มาตรฐานที่กำหนดคำดรรชนีให้ถูกต้องตรงกัน ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การสืบค้นสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และยังช่วยขยายผลการสืบค้นสารสนเทศให้มีความครอบคลุมและกว้างขวางยิ่งขึ้น ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา AGROVOC เป็นเครื่องมือที่ให้องค์กรต่างๆ ใส่องค์ความรู้ และพัฒนาออนโทโลยี เพื่อให้มีความสามารถในการสืบค้นได้ แต่ในปัจจุบัน AGROVOC ได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็นแม่ข่ายทางมโนทัศน์ (Concept Server) ซึ่งเปรียบเสมือนอรรถาภิธานคำศัพท์ (Term-based hesaurus) AGROVOC ได้ถูกใช้งานโดยกลุ่มคนทั่วโลก เช่นนักวิจัย บรรณารักษ์ ผู้จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และบุคคลอื่นๆ เพื่อใช้ในการทำดรรชนี การค้นคืน และการจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันในด้านสารสนเทศทางการเกษตร สิ่งสำคัญก็คือการทำให้การอธิบายเชิงความหมายมีมาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อทำให้ระบบต่างๆ สามารถทำงานประสานกันได้ และเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลให้กว้างขึ้น อรรถาภิธานศัพท์เกษตร AGROVOC ประกอบด้วยคำศัพท์ใน 6 ภาษาหลัก คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ภาษาอาหรับ ภาษาจีน ภาษารัสเซีย และได้ถูกแปลเป็นภาษาอื่น ๆ อีก ได้แก่ ภาษาเช็ก ภาษาเปอร์เซีย ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาฮังการี ภาษาอิตาลี ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษาลาว ภาษาโปแลนด์ ภาษาโปรตุเกส ภาษาสโลวัก และภาษาไทย สำหรับคำศัพท์ในภาษามลายู ภาษามอลโดวา ภาษาเตลูกู ภาษาตุรกี และภาษายูเครน อยู่ในระหว่างดำเนินการ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและAGROVOC · ดูเพิ่มเติม »

Î

ตัวอักษร Î (ตัวเล็ก: î) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรละติน I ที่มีเซอร์คัมเฟล็กซ์ (circumflex) อยู่ด้านบน ได้ถูกใช้ในบริบทที่หลากหลายในสัทอักษรสากลแสดงนี้เสียงเป็น.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและÎ · ดูเพิ่มเติม »

บ. บุญค้ำ

ญสิงห์ บุญค้ำ ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย จังหวัดลานช้างและสหรัฐไทยเดิม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและบ. บุญค้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ชากีรา

กีรา อีซาเบล เมบารัก รีโปล (Shakira Isabel Mebarak Ripoll, 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 —) หรือเป็นที่รู้จักว่า ชากีรา เป็นนักร้องชาวโคลอมเบี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและชากีรา · ดูเพิ่มเติม »

ชาลอม

"ชาลอม" ในภาษาฮีบรู ชาลอม (ฮีบรู: שָׁלוֹם, ฮีบรูเซฟาร์ติก/ฮีบรูอิสราเอล: Shalom; ฮีบรูอาซเกนาซี/ยิดดิช: Sholem, Shoilem, Shulem) เป็นคำภาษาฮีบรูที่หมายถึง สันติภาพ ความสมบูรณ์ และสวัสดิภาพ และสามารถใช้เป็นสำนวนในความหมายทั้งสวัสดีและลาก่อน คำนี้สามารถหมายถึงสันติภาพระหว่างสิ่งที่มีอยู่จริงสองอย่าง (โดยเฉพาะระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าหรือระหว่างสองประเทศ) หรือความเป็นอยู่ที่ดี สวัสดิภาพหรือความปลอดภัยของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล คำคำนี้ยังพบในรูปแบบอื่นๆอีก โดยมีความหมายเช่นเดียวกับ salaam ในภาษาอาหรับ sliem ในภาษามอลตา Shlama (ܫܠܡܐ) ในภาษาซีเรียค และภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย และ sälam ในภาษากลุ่มเซมิติกในเอธิโอเปีย คำเหล่านี้มีที่มาจากรากศัพท์ S-L-M ในภาษาเซมิติกดั้งเดิม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและชาลอม · ดูเพิ่มเติม »

ชาวสวิส

วสวิส (die Schweizer, les Suisses, gli Svizzeri, ils Svizzers, Swiss) คือประชาชนที่เกิดในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและชาวสวิส · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอิตาลี

วอิตาลี (italiani, Italians) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ (ethnic group) ที่มีวัฒนธรรม และ การสืบเชื้อสายร่วมกัน และพูดภาษาอิตาลีเป็นภาษาแม่ ภายในอิตาลีการเป็นชาวอิตาลีคือการถือสัญชาติอิตาลีไม่ว่าจะสืบเชื้อสายมาจากผู้ใดหรือมาจากประเทศใด ซึ่งแตกต่างจากผู้สืบเชื้อสายมาจากชาวอิตาลี และทางประวัติศาสตร์จากผู้มีเชื้อสายอิตาลีที่ไม่ได้อยู่ในดินแดนที่เป็นของอิตาลีบนคาบสมุทรอิตาลี เพราะการอพยพหลายครั้งออกจากอิตาลีที่เป็นชนพลัดถิ่น มีชาวอิตาลีสัญชาติอิตาลีที่อาศัยอยู่นอกอิตาลี 4 ล้านคน และมีมากกว่า 70 ล้านคนที่มีเชื้อสายเต็มหรือบางส่วน โดยมากแล้วอาศัยอยู่ในอเมริกาใต้ อเมริกาเหนือ และส่วนอื่นของยุโรป.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและชาวอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ชีมาบูเอ

“จิตรกรรมมาเอสตา” ค.ศ. 1280-ค.ศ. 1285 ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเรนซ์ “Crucifix” ค.ศ. 1287-ค.ศ. 1288 ที่ บาซิลิกาดิซานตาโครเช (Basilica di Santa Croce)ฟลอเรนซ์ เชนนี ดิ เป็บโป (จิโอวานนี) ชิมาบูเย (ภาษาอิตาลี: Cenni di Pepo (Giovanni) Cimabue) หรือที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า เบนชิเวียนี ดิ เป็บโป (Bencivieni Di Pepo) หรือในภาษาอิตาลีสมัยใหม่ว่า เบนเวนูโต ดิ จุยเซ็พปี (Benvenuto Di Giuseppe) (ประมาณ ค.ศ. 1240-ประมาณ ค.ศ. 1302) เป็นจิตรกรและช่างโมเสกชาวอิตาลีจากเมืองฟลอเรนซ์ (ผู้เป็นอาจารย์ของจอตโต ดี บอนโดเน) ชิมาบูเยมีบทบาทสำคัญต่องานจิตรกรรมในประเทศอิตาลี และถือว่าเป็นจิตรกรคนสำคัญคนสุดท้ายของสมัยศิลปะไบแซนไทน์ ศิลปะยุคนี้ประกอบด้วยโครงสร้างและทิวทัศน์ที่ยังเป็นสองมิติและเป็นสมัยที่เน้นการตกแต่ง (highly stylized) คล้ายจิตรกรรมฝาผนังในวัดไทย ชิมาบูเยเป็นผู้ริเริ่มการวาดแบบใกล้เคืยงธรรมชาติดังจะเห็นได้จากรูปคนที่ขนาดสัดส่วนเท่าคนจริงและการเริ่มใช้แสงเงาบ้างเล็กน้อ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและชีมาบูเอ · ดูเพิ่มเติม »

ชีวิตศิลปิน

ีวิตศิลปิน หรือ ชีวิตจิตรกร, ประติมากร, และสถาปนิกผู้ดีเด่น (Le Vite delle più eccellenti pittori, scultori, ed architettori; Lives of the Most Excellent Painters, Sculptors, and Architects) เป็นหนังสือชีวประวัติที่เขียนในคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดย จิตรกรและสถาปนิก จอร์โจ วาซารี ซึ่งถือกันว่าอาจจะเป็นหนังสือเกี่ยวกับศิลปะที่สำคัญที่สุดและยังใช้อ้างอิงกันมากที่สุดในวงการศิลปะ “เป็นงานเขียนเกี่ยวกับศิลปะที่สำคัญที่สุดในสมัยเรอเนซองส์” และ “เป็นรากฐานของการเขียนประวัติศาสตร์ศิลปะ” ชื่อหนังสือมักจะเรียกกันสั้นๆ ว่า “Vite” หรือ “Lives” หรือ “ชีวิตศิลปิน”.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและชีวิตศิลปิน · ดูเพิ่มเติม »

ช่างตัดผมแห่งเซวิลล์

ฟิกาโร มิคาอิล คาราคาช รับบทเป็น ฟีกาโร ช่วงทศวรรษ 1910 ช่างตัดผมแห่งเซวิลล์ (Il barbiere di Siviglia, ossia L'inutile precauzione; The Barber of Seville, or The Useless Precaution) เป็นอุปรากรภาษาอิตาลีความยาว 2 องก์ โดยโจอากีโน รอสซีนี (1792 – 1868) ดัดแปลงจากบทละครชวนหัวต้นฉบับภาษาฝรั่งเศส ชื่อ Le Barbier de Séville ou la Précaution inutile (1775) ของปีแยร์-โอกุสแต็ง การง เดอ โบมาร์แช ออกแสดงรอบปฐมทัศน์ที่โรงละคร Teatro Argentina กรุงโรม เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและช่างตัดผมแห่งเซวิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านทะเลสาบ บ่มรักปาฏิหาริย์

อะ เลคเฮาส์ บ้านทะเลสาบ บ่มรักปาฏิหาริย์ (ภาษาอังกฤษ:The Lake House) เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวโรแมนติค ดราม่า โดยฮอลลีวู้ดได้ซื้อลิขสิทธิ์มาจากภาพยนตร์เกาหลีปี ค.ศ. 2000 เรื่อง อิล มาเร ลิขิตรักข้ามเวลา (ภาษาอังกฤษ: Il Mare) ซึ่งเดอะ เลคเฮาส์ บ้านทะเลสาบ บ่มรักปาฏิหาริย์ ออกฉายในปี ค.ศ. 2006 บทภาพยนตร์โดย เดวิด ออร์เบิร์น กำกับภาพยนตร์โดย อเลจานโดร อักเกรสติ นำแสดงโดย คีอานู รีฟส์ รับบทเป็น อเล็กซ์ ไวท์เลอร์ และซานดรา บุลล็อก รับบทเป็น เคท ฟอร์สเตอร์ ซึ่ง อเล็กซ์ ไวท์เลอร์ เป็นสถาปนิกที่อาศัยอยู่ในปี ค.ศ. 2004 ส่วน เคท ฟอร์สเตอร์ เป็นแพทย์หญิงที่อาศัยอยู่ในปี ค.ศ. 2006 ทั้งสองคนพูดคุย สร้างความสัมพันธ์ระหว่างกัน ข้ามกาลเวลาผ่านทางจดหมายซึ่งส่งผ่านทางตู้จดหมายหน้าบ้านริมทะเลสาบ โดยที่ทั้งคู่เองก็อาศัยอยู่บ้านหลังเดียวกันแต่คนละปี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและบ้านทะเลสาบ บ่มรักปาฏิหาริย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชเปทซ์เลอ

นิบเฟลอ เส้นชเปทซ์เลอจากโรงงานผลิต ชเปทซ์เลอ (Spätzle) มาจากคำว่า Spatz (ชปัซ) ซึ่งเป็นการลดรูปคำจากคำว่า Wasserspatzen (วัสเซอร์ชปัซเซน) ซึ่งเป็นภาษาของแคว้นสวาเบีย (Swabia) ทางตอนใต้ของเยอรมนี จากหลักฐานในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยสันนิษฐานว่าน่าจะมีความหมายมาจากคำว่า นกกระจอก (Sperling) หรือจากคำกริยา ทำให้เป็นก้อน (Batzen) บางครั้งก็เรียกว่า Spatzen (ชปัซเซน) หรือ Spätzli (ชเปซลี) และ Chnöpfli (ชเนิบฟลี) ในสวิตเซอร์แลนด์ สำหรับที่มาของคำเรียกยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ อีกสมมติฐานหนึ่งอ้างว่าเป็นคำยืมที่ออกเสียงผิดมาจากคำภาษาอิตาลี Spezzato (สเป็ซซาโต) ซึ่งแปลว่า ถูกหั่นให้เป็นชิ้นๆ เส้นชเปทซ์เลอเป็นอาหารท้องถิ่นประเภทแป้งจากแคว้นสวาเบียทางตอนใต้ของประเทศเยอรมนีติดกับแถบประเทศฝรั่งเศส รับประทานเป็นเครื่องเคียงหรือปรุงร่วมกับส่วนผสมอื่นก็ได้ ในฮังการีและสโลเวเกียมีอาหารจากเส้นชเปทซ์เลอที่คล้ายกันชื่อ galuska หรือ halušky และในออสเตรียมีอาหารคล้ายกันที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างอาหารของฮังการีและสโลเวเกียเช่นกัน สเป็ซเล่อในแคว้นสวาเบียนิยมเรียกเป็นคำนามพหูพจน์ว่า Spätzlâ หรือ Spatzâ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและชเปทซ์เลอ · ดูเพิ่มเติม »

ฟือเรอร์

ฟือเรอร์ (Führer) ในภาษาเยอรมัน หมายถึง "ผู้นำ" โดยคำว่า "ฟือเรอร์" มักจะหมายถึง ฉายาของผู้นำนาซีเยอรมนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และเป็นตำแหน่งสำคัญในคณะรัฐบาลสมัยนาซีเยอรมนี และองค์กรกึ่งทหาร (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยเอ็สเอ็ส) โดยคำดังกล่าวเป็นการเอาอย่างจากคำว่า อิลดูเช ในภาษาอิตาลี ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกัน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและฟือเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอิตาลี

ฟุตบอลทีมชาติอิตาลี (Nazionale italiana di calcio) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศอิตาลี อยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลอิตาลี ทีมอิตาลีชนะการแข่งขันฟุตบอลโลก ทั้งหมด 4 ครั้ง ใน1934 1938 1982 และครั้งล่าสุด 2006 และชนะเลิศ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป หนึ่งครั้งในปี 1968 และยังได้เหรียญทองฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิก ในปี 1936 สีประจำทีมอิตาลีคือสีฟ้าอ่อน (และเป็นสีที่ใช้ประจำทีมชาติในหลายกีฬายกเว้นการแข่งขันรถ) ซึ่งในภาษาอิตาลีคือ อัซซูโร (azzurro) และเป็นสีประจำราชวงศ์ในอิตาลีในอดีต และเป็นที่มาของชื่อเล่นของทีมว่า "อัซซูร์รี" (Azzurri).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและฟุตบอลทีมชาติอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ฟูซีลี

ฟูซีลี ฟูซีลี (Fusilli) เป็นพาสตาชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นเส้นเกลียวสั้นที่มีหลากหลายสีเช่นเดียวกันกับพาสตาชนิดอื่น ๆ โดยคำว่า fusilli ในภาษาอิตาลีมีความหมายว่า "เกลียวเล็ก" ในไทยมักจะเรียกพาสตามักกะโรนีเป็นชื่อพาสตาฟูซิลี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและฟูซีลี · ดูเพิ่มเติม »

พระวรสารนักบุญบารนาบัส

ระวรสารนักบุญบารนาบัส (Gospel of Barnabas) เป็นพระวรสารนอกสารบบคัมภีร์ไบเบิล อ้างว่าบารนาบัสเป็นผู้เขียนขึ้น กล่าวถึงชีวประวัติของพระเยซูตั้งแต่ประสูติ จนถึงเวลาที่ขึ้นสวรรค์ เอกสารตัวเขียนฉบับเก่าที่สุดที่เคยพบมี 2 ฉบับ เป็นภาษาสเปนและภาษาอิตาลี มี 222 บท (ฉบับภาษาอิตาลี).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและพระวรสารนักบุญบารนาบัส · ดูเพิ่มเติม »

พระจันทร์เป็นใจ

Moonstruck เป็นภาพยนตร์อเมริกัน ปี ค.ศ. 1987 กำกับโดย นอร์แมน เจวิสัน แสดงโดย แชร์, นิโคลัส เคจ, แดนนี่ อายแอลโล, วินเซนต์ การ์เดเนีย, โอลิมเปีย ดูคากิส ภาพยนตร์เรื่องนี้ฉายเมื่อ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1987 ในนิวยอร์ก วันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1987 ได้รับความคิดเห็นด้านบวกเป็นอย่างมาก เป็นหนังทำเงินสูงสุดอันดับที่ห้าของปีที่แล้ว Moonstruck ถูกเสนอชื่อเข้าชิงงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 60 ได้เสนอเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, ได้รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม,ได้รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม, ได้เสนอเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม, ได้เสนอเข้าชิงรางวัลออสการ์ สาขาผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, ได้รางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยม หมวดหมู่:ภาพยนตร์ภาษาอังกฤษ หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2530 หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่มีฉากในนครนิวยอร์ก หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำในโทรอนโท หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำในนครนิวยอร์ก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและพระจันทร์เป็นใจ · ดูเพิ่มเติม »

พระแม่มารีแห่งพาร์โต

ระแม่มารีแห่งพาร์โต (ภาษาอิตาลี: Madonna del Parto) เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกา จิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์มาดอนนาเดลพาร์โตที่มอนเตร์ชิในประเทศอิตาลี “พระแม่มารีแห่งพาร์โต” เป็นงานที่เขียนหลังปี ค.ศ. 1457 เปียโรใช้เวลาเขียนเพียงเจ็ดวัน ใช้สีที่มีคุณภาพดีและส่วนใหญ่เป็นสี “blu oltremare” ซึ่งทำจากหินลาพิส ลาซูริ (lapis lazuli) ซึ่งเป็นหินสีน้ำเงินที่มีค่าที่ใช้กันในยุคกลางที่มาจาก ประเทศอัฟกานิสถานผ่านทางสาธารณรัฐเวนิส จิตรกรรมเดิมอยู่บนผนังของวัดซานตามาเรีย ดิ โมเมนตานาซึ่งเป็นวัดเล็กๆ ที่เมืองมอนเตร์ชิบนเขา แต่วัดมาถูกทำลายเมื่อเกิดแผ่นดินไหวในปี ค.ศ. 1785 ซึ่งทำให้ต้องเลาะงานเขียนออกจากผนังและนำไปตั้งเหนือแท่นบูชาเอกภายในชาเปลใหม่ในสุสาน ในปี ค.ศ. 1992 ภาพเขียนก็ถูกย้ายไปตั้งที่พิพิธภัณฑ์มาดอนนาเดลพาร์โตที่มอนเตร์ชิ งานนี้เพิ่งได้รับการยืนยันว่าเป็นงานของเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาในปี ค.ศ. 1889 แต่เวลาที่เขียนยังไม่เป็นที่ตกลงกันได้ซึ่งประมาณว่าอาจจะระหว่างปี ค.ศ. 1450 ถึงปี ค.ศ. 1475 จอร์โจ วาซารีจิตรกรและนักประพันธ์จากคริสต์ศตวรรษที่ 16 บ่งว่าเขียนเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 1459 เมื่อเปียโตรกลับไปซานเซพอลโครในโอกาสที่แม่เสียชีวิต ภาพเขียนนี้มีบทบาทสำคัญในนวนิยายของริชาร์ด เฮเยอร์ “Visus”, ในภาพยนตร์โดยอันเดร ทาร์คอฟสกี “Nostalghia” และโคลง “ซานเซพอลโคร” โดย โจรี แกรม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและพระแม่มารีแห่งพาร์โต · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์

ระเจ้าฟารูกที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فاروق الأول Fārūq al-Awwal) (11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1920-18 มีนาคม ค.ศ. 1965) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ พระราชบิดา ส่วนพระขนิษฐาของพระองค์ เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ ได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี เป็นราชินีแห่งอิหร่าน ก่อนเกิดการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ. 1952 ได้ทำการถอดพระองค์ออกจากราชสมบัติ แล้วยกพระราชโอรสของพระองค์เป็นกษัตริย์องค์ต่อมาพระนามว่า พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ แต่ปกครองได้เพียงปีเดียวรัฐบาลก็ได้ทำการล้มล้างราชวงศ์ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบสาธารณรั.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและพระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน

ระวังสับสนกับ จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้ปกครองสเปนในช่วงเวลาสั้นๆในช่วงสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน ในฐานะ ชาร์ลส์ที่ 3 พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน หรือสำเนียงภาษาอังกฤษ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3 (สเปน;การ์โลส, อิตาลี; การ์โล; 20 มกราคม ค.ศ. 1716 - 14 ธันวาคม ค.ศ. 1788 เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสเปนและชาวสเปนระหว่างปี 1759 - 1788 ทรงเป็นพระโอรสพระองค์ที่ห้าในพระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปน กับพระมเหสีพระองค์ที่สองเอลิซาเบธ ฟาร์เนเซ ในปี 1731 เจ้าชายการ์โลสพระชนมายุ 15 ชันษาได้กลายเป็นดยุคแห่งปาร์มาและปิอาเซนซา ในฐานะชาร์ลส์ที่ 1 หลังจากการสวรรคตของแอนโตนิโอ ฟาร์เนส ผู้เป็นพระปิตุลา ในปี 1734 ในฐานะดยุกแห่งปาร์มา ทรงได้รับชัยชนะในสงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์ ทรงได้รับการราชาภิเศกเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเนเปิลส์และซิซิลี ในปี 1735 ในฐานะ ชาร์ลส์ที่ 7 แห่งเนเปิลส์ และ ชาร์ลส์ที่ 5 แห่งซิซิลี ในปี 1738 ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมาเรีย อเมเลียแห่งแซกโซนี มีพระราชโอรสและธิดารวมทั้งสิ้น 13 พระองค์ พระเจ้าการ์โลสและมาเรีย อเมเลียทรงประทับอยู่ที่เนเปิลส์เป็นเวลา 19 ปี จนพระนางมาเรีย เมเลียสิ้นพระชนม์ในปี 1760 เมื่อเสด็จเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสเปนในวันที่ 10 สิงหาคม 1759 เป็นช่วงเวลาที่พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม โดยในวันที่ 6 ตุลาคม 1759 ทรงสละราชบัลลังก์เนเปิลส์และซิซิลีให้อินฟันเตเฟอร์ดินานด์ พระโอรสพระองค์ที่สามผู้ทรงโปรดปรานโดยได้เสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งซิซิลีทั้งสอง ในฐานะกษัตริย์แห่งสเปน พระเจ้าการ์โลสที่ 3 ทรงเป็นหนึ่งกษัตริย์ผู้ได้รับอิทธิพลจากยุคเรืองปัญญา โดยทรงมีความพยายามที่จะช่วยเหลืออาณาจักรของพระองค์ที่กำลังเสื่อมสลายถึงการปฏิรูปที่อ่อนตัวลง เช่น คริสตจักรและพระราชวงศ์ ในการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เพื่ออำนวยความสะดวกทางการค้า การพานิชย์ และการเกษตรที่ทันสมัยและการหลีกเลี่ยงสงคราม ทรงไม่ประสบความสำเร็จในระดับที่น่าพอใจกับการควบคุมเงินและถูกบังคับให้ยืมเงินเพื่อสนองค่าใช้จ่าย ทำให้การปฏิรูปของพระองค์ได้รับการพิสูจน์ในระยะสั้นว่าหลังการสวรรคตของพระองค์การเปลี่ยนแปลงของพระองค์เห็นผล แต่พระราชมรดกของพระองค์ยังคงหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน ประวัติศาสตร์สแตนเลย์แพนรัฐการ์โลสที่ 3 ได้กล่าวว่า "อาจจะเป็นผู้ปกครองในยุโรปที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในรัชสมัยของพระองค์ ทรงทำให้ความสอดคล้องความเป็นผู้นำที่ชาญฉลาด โดยทรงเลือกรัฐมนตรีที่มีความสามารถ...ชีวิตส่วนพระองค์ได้รับการยอมรับนับถือของประชาชน" หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สเปน หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง หมวดหมู่:เจ้าชายสเปน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและพระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

พลังอักษะ เฮตาเลีย

ลังอักษะ เฮตาเลีย เขียนโดย ฮิมะรุยะ ฮิเดคาสึ โดยเขียนเป็นการ์ตูนลงในเว็บไซต์ ก่อนที่จะได้ออกเป็นหนังสือการ์ตูน และกลายเป็นแอนิเมชันในที่สุด ลักษณะพิเศษของเรื่องนี้คือการสร้างตัวละครขึ้นมาเป็นตัวแทนของประเทศต่างๆในโลก และนำเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ยุคสงครามโลกและปัจจุบันมาเล่าอย่างน่ารัก โดยเลียนแบบลักษณะของคนในชาตินั้นๆ เช่น ให้อิตาลีชอบกินพาสต้า ให้รัสเซียไม่ชอบอากาศหนาว หรือให้อเมริกาชอบแฮมเบอเกอร์ ในเรื่องนี้การรวมประเทศเข้าด้วยกัน หมายถึง การแต่งงานของตัวละคร การทำสัมพันธมิตร หมายถึง การเป็นเพื่อนกัน และการแยกประเทศ หมายถึง การหย่าร้างของตัวละคร หรือเป็นการตัดขาดจากการเป็นเพื่อน ชื่อเรื่องเฮตาเลียเกิดจากการรวมสองคำเข้าด้วยกัน ได้แก่ Hetare (ในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่าใช้ไม่ได้) และ Italia (ชื่อของประเทศอิตาลีในภาษาอิตาลี) เมื่อนำมารวมกันแล้ว เฮตาเลียจึงมีความหมายว่า "อิตาลีผู้ไม่ได้เรื่อง" การตั้งชื่อดังกล่าวนี้เป็นการล้อเลียนถึงความอ่อนแอของอิตาลีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เดิมฮิมะรุยะเขียนเรื่องเฮตาเลียลงในเว็บไซต์ส่วนตัวในลักษณะเว็บคอมมิค ต่อมาจึงได้มีการรวบรวมตีพิมพ์เป็นรูปเล่มโดยสำนักพิมพ์เก็นโตฉะครั้งแรกเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2008 ปัจจุบันมีการตีพิมพ์รวมเล่มแล้ว 3 เล่ม ต่อมาจึงได้มีการดัดแปลงการตูนชุดนี้ในรูปแบบของดราม่าซีดีและภาพยนตร์แอนิเมชั่นโดยสตูดิโอดีน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและพลังอักษะ เฮตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

พินอคคิโอ ฅนไม้ผจญภัย

นอคคิโอ ฅนไม้ผจญภัย เคยออกฉายแล้วเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 กำกับโดย Roberto Benigni จำหน่ายโดย Miramax Films ความยาวทั้งสิ้น 108 นาที ตัดต่อโดย Simona Paggi.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและพินอคคิโอ ฅนไม้ผจญภัย · ดูเพิ่มเติม »

พุนต์แลนด์

นต์แลนด์ (Puntland) หรือ รัฐพุนต์แลนด์แห่งโซมาเลีย (Puntland State of Somalia) เป็นดินแดนปกครองตนเองภายใต้ประเทศโซมาเลีย โดยไม่ได้มีเป้าหมายเพื่อเป็นเอกราช แต่เพื่อต้องการปฏิรูประบบบริหารให้เกิดความชอบธรรม พุนต์แลนด์มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกติดกับโซมาลีแลนด์ ทิศใต้ติดกับโซมาเลีย มีพื้นที่ทางทิศเหนืออ่าวเอเดน ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและพุนต์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พูลชิเนลลา

thumb พูลชิเนลลา (Pulcinella; Polichinelle; Punchinello หรือ Punch) เป็นตัวละครตลกจากเรื่องชวนหัว Commedia dell'arte ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีลักษณะเด่นคือจมูกแหลมยาวเหมือนจะงอยปากนก ชื่อ พูลชิเนลลา มาจากลักษณะเด่นที่จมูกเหมือนจะงอยปาก ภาษาละตินเรียกว่า pullus gallinaceus ซึ่งแผลงเป็น "Pulliciniello" และ "Pulcinella" นอกจากนี้ยังมาจากศัพท์ภาษาอิตาลี pulcino แปลว่า ไก่ บางก็ว่าแผลงมาจากชื่อ Puccio d'Aniello เป็นชาวเมืองอะเซอรา (Acerra) ในแคว้นกัมปาเนีย ที่ปรากฏอยู่ในภาพเขียนของอันนิบาเล คารัคชี ตัวตลกพูลชิเนลลามักสวมเครื่องแต่งกายสีขาว และสวมหน้ากากสีดำ ตัวละครลักษณะคล้ายกันนี้มีชื่อเรียกต่างๆ กันในภาษาอื่นๆ เช่น Kasper ในเยอรมนี, Jan Klaassen ในเนเธอร์แลนด์, Mester Jakel ในเดนมาร์ก, Vasilache ในโรมาเนีย, Vitéz László ในฮังการี ตัวละครนี้ปรากฏในบทละครชวนหัวเป็นจำนวนมาก และถูกแปลงเป็นหุ่นกระบอก ในอังกฤษมีชื่อว่า มิสเตอร์พันช์ ในเรื่อง Punch and Judy และเป็นตัวเอกในบัลเลต์สองเรื่องของอิกอร์ สตราวินสกี คือเรื่อง พูลชิเนลลา และ เปทรูชก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและพูลชิเนลลา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอิตาลิก

ซินี ใต้ (S. Picene) กลุ่มภาษาอิตาลิก เป็นสมาชิกของสาขาเซนตุม (Centum) ของกลุ่มภาษาอินโด-ยุโรเปียน ซึ่งรวมถึงกลุ่มภาษาโรมานซ์ (มีภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี และภาษาสเปน กับภาษาอื่น ๆ) และภาษาที่สูญพันธุ์บางภาษา อิตาลิกมี 2 สาขา คือ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและกลุ่มภาษาอิตาลิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาโรมานซ์

ภาษาโรมาเนีย กลุ่มภาษาโรมานซ์ เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน และเป็นกลุ่มภาษาที่กลายพันธุ์มาจากภาษาละติน ประกอบด้วย ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส ภาษาโรมาเนีย และ ภาษากาตาลา เป็นต้น มีผู้พูดภาษาในกลุ่มนี้ทั่วโลกมากกว่า 700 ล้านคน รโมานซ์ หมวดหมู่:กลุ่มภาษาโรมานซ์.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและกลุ่มภาษาโรมานซ์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเกาะ

กลุ่มเกาะมะริด ในประเทศพม่า กลุ่มเกาะ (archipelago หรือ island group) เป็นหมู่เกาะที่โยงกันเป็นโซ่หรือเป็นกลุ่ม คำว่า archipelago มาจากภาษากรีก ἄρχι ("หลัก") และ πέλαγος ("ทะเล") ผ่านกลุ่มเกาะอิตาลี ในภาษาอิตาลี ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าหลักจากประเพณีความเก่าแก่ กลุ่มเกาะ (จากภาษากรีกสมัยกลาง ἀρχιπέλαγος) เป็นชื่อเฉพาะของทะเลอีเจียน และภายหลัง การใช้ได้เปลี่ยนเป็นหมายถึงหมู่เกาะอีเจียน (เพราะทะเลดังกล่าวมีชื่อเสียงกันว่ามีเกาะอยู่เป็นจำนวนมาก) ปัจจุบัน ใช้หมายถึงกลุ่มเกาะใด ๆ หรือ บางครั้ง ทะเลที่บรรจุเกาะกระจัดกระจายกันจำนวนมาก เช่น ทะเลอีเจียน กลุ่มเกาะอาจพบห่างไกลในแหล่งน้ำหรืออยู่ใกล้กับผืนดินขนาดใหญ่ก็ได้ ตัวอย่างเช่น สกอตแลนด์มีเกาะมากกว่า 700 เกาะล้อมแผ่นดินใหญ่ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นกลุ่มเกาะ กลุ่มเกาะนี้มักมีภูเขาไฟ ก่อตัวขึ้นตามหมู่เกาะโค้งที่เกิดจากเขตมุดตัวของเปลือกโลกหรือจุดศูนย์รวมความร้อน แต่ยังอาจเกิดจากการกัดเซาะ การทับถมและความสูงของพื้นที่ดิน ประเทศสมัยใหม่ขนาดใหญ่ที่สุดห้าประเทศที่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเกาะ ได้แก่ อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักร รัฐกลุ่มเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในโลกตามพื้นที่ คือ อินโดนีเซีย กลุ่มเกาะที่มีเกาะมากที่สุดอยู่ในทะเล Archipelago ในฟินแลน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและกลุ่มเกาะ · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยนาก

กล้วยนาก (Red bananas) เป็นสายพันธุ์ของกล้วยที่เปลือกสีแดงคล้ำ ลูกเล็กกว่ากล้วยหอมเขียว เนื้อเมื่อสุกเป็นสีเหลืองครีมหรือสีเหลืองอมชมพู นิ่มและหวานกว่ากล้วยพันธุ์อื่นในกลุ่มคาเวนดิช แหล่งปลูกอยู่ในแอฟริกาตะวันออก เอเชีย อเมริกาใต้ และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นที่นิยมในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและกล้วยนาก · ดูเพิ่มเติม »

กัมบะโอซากะ

กัมบะโอซากะ เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันเล่นอยู่ในเจลีก ดิวิชัน 1 โดยทีมกัมบะอยู่ที่เมืองซุยตะ จังหวัดโอซากะ ทีมกัมบะได้รับชัยชนะครั้งแรกในเจลีกในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและกัมบะโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

กันดั้มวิง

มบิลสูทกันดั้มวิง (Mobile Suit Gundam Wing) เป็นแอนิเมชันทางโทรทัศน์ความยาว 49 ตอน ออกอากาศ พ.ศ. 2538 ในประเทศไทยเคยแพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. และ ยูบีซีคิดส์ ช่อง 26 (ปัจจุบันคือ ยูบีซีสปาร์ค ช่อง 28) ของสถานีเคเบิลโทรทัศน์ ยูบีซี โดยในอดีตบริษัท ไทก้า เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์และจำหน่ายเฉพาะในรูปแบบของ วีซีดี โดยในปัจจุบันลิขสิทธิ์ได้อยู่กับทาง เด็กซ์ และจำหน่ายในรูปแบบของ วีซีดี และ ดีวีดี อีกรอบโดยยังคงใช้เสียงพากย์ของทาง ไทก้า เหมือนเดิม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและกันดั้มวิง · ดูเพิ่มเติม »

การถอดเสียง

การถอดเสียง หรือ การทับศัพท์แบบถ่ายเสียง (Transcription) เป็นระบบในการเขียนเสียงพูดของมนุษย์จากภาษาหนึ่ง เป็นเป็นระบบตัวอักษรในอีกภาษาหนึ่งตามกฎที่วางไว้ เพื่อให้คงเสียงของภาษาต้นฉบับ การถอดเสียงนี้จะแตกต่างกับการทับศัพท์แบบถอดอักษร ซึ่งเปลี่ยนระบบตัวอักษรจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่ง เพื่อให้คงรูปของตัวอักษรมากที่สุดที่เป็นไปได้ เช่นการถอดอักษรซีริลลิกเป็นอักษรละตินสำหรับภาษารัสเซีย (เช่นชื่อ "เลนิน" ในอักษรซีริลลิก Ленин และอักษรละติน Lenin) แม้กระนั้น การถอดเสียงและการถอดอักษรบางครั้งจะถูกใช้ผสมกันซึ่งพบได้ทั่วไปสำหรับการเขียนชื่อที่มาจากภาษาอื่น มาตรฐานที่ใช้ในการทับศัพท์ได้แก่ สัทอักษรสากล และ แซมปา ตารางด้านล่าง แสดงตัวอย่างของการทับศัพท์ โดยมี การทับศัพท์แบบถอดอักษร และสัทอักษรสากลกำกั.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการถอดเสียง · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาอิตาลี

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอิตาลีนี้ เป็นหลักการทั่วไปที่กำหนดตามราชบัณฑิตยสถาน สำหรับศัพท์บางคำที่มีการอ่านออกเสียงผิดไปจากปรกติ ให้ถือการทับศัพท์ตามการออกเสียงของคำนั้น.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการทับศัพท์ภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลูกาโน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 14 เพลง 7 ประเทศ(ประเทศละ 2 เพลง) โดยเพลงที่ชนะคือ Refrain ขับร้องโดย Lys Assia ตัวแทนจากสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1956 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์ ประเทศเยอรมนี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 10 เพลง 10 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Net als toen ขับร้องโดย Corry Brokken ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1957 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฮิลเวอร์ซัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 10 เพลง 10 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Dors, mon amour ขับร้องโดย André Claveau ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1958 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองกาน ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 11 เพลง 11 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Een beetje ขับร้องโดย Teddy Scholten ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1959 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 13 เพลง 13 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Tom Pillibi ขับร้องโดย Jacqueline Boyer ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองกาน ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Nous les amoureux ขับร้องโดย Jean-Claude Pascal ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Un premier amour ขับร้องโดย Isabelle Aubret ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Dansevise ขับร้องโดย Grethe Ingmann & Jørgen Ingmann ตัวแทนจากเดนมาร์ก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Non ho l'età ขับร้องโดย Gigliola Cinquetti ตัวแทนจากอิตาลี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเนเปิลส์ ประเทศอิตาลี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Poupée de cire, poupée de son ขับร้องโดย France Gall ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Merci, Chérie ขับร้องโดย Udo Jürgens ตัวแทนจากออสเตรี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเวียนนา ประเทศออสเตรีย จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Puppet on a String ขับร้องโดย Sandie Shaw ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ La, la, la ขับร้องโดย Massiel ตัวแทนจากสเปน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมาดริด ประเทศสเปน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะในปีนี้มีทั้งหมด 4 เพลง ได้แก่ Vivo cantando ขับร้องโดย Salomé ตัวแทนจากสเปน Boom Bang-a-Bang ขับร้องโดย Lulu ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร De troubadour ขับร้องโดย Lenny Kuhr ตัวแทนจากเนเธอร์แลนด์ และ Un jour, un enfant ขับร้องโดย Frida Boccara ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 12 เพลง 12 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ All Kinds of Everything ขับร้องโดย Dana ตัวแทนจากไอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Un banc, un arbre, une rue ขับร้องโดย Séverine ตัวแทนจากโมนาโก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเอดินบะระ ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Après toi ขับร้องโดย Vicky Leandros ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Tu te reconnaîtras ขับร้องโดย Anne-Marie David ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองไบรตัน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Waterloo ขับร้องโดย ABBA ตัวแทนจากสวีเดน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ding-a-dong ขับร้องโดย Teach-In ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Save Your Kisses for Me ขับร้องโดย Brotherhood of Man ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ L'oiseau et l'enfant ขับร้องโดย Marie Myriam ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ A-Ba-Ni-Bi ขับร้องโดย Izhar Cohen & the Alphabeta ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Hallelujah ขับร้องโดย Gali Atari & Milk and Honey ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ What's Another Year ขับร้องโดย Johnny Logan ตัวแทนจากไอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Making Your Mind Up ขับร้องโดย Bucks Fizz ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Si la vie est cadeau ขับร้องโดย Corinne Hermès ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 2018

การประกวดเพลงยูโรวิชั่น 2018 เป็นการประกวดครั้งที่ 63 ของรายการประกวดเพลงยูโรวิชั่น ซึ่งเป็นการจัดการแข่งขันครั้งแรกในฐานะเจ้าภาพของประเทศโปรตุเกส หลังจากที่ชนะเลิศการแข่งขันครั้งแรกเมื่อปีที่ผ่านมา (2017) ที่กรุงเคียฟ ประเทศยูเครน ด้วยเพลง "Amar Pelos Dois" ขับร้องโดย Salvador Sobral การแข่งขันจะจัดขึ้นที่ อัลทีส อารีนา ในกรุงลิสบอนของโปรตุเกส โดยมีรอบการแข่งขันสามรอบ แบ่งเป็นรอบรองชนะเลิศสองรอบ ในวันที่ 8 และ 10 พฤษภาคม และรอบชิงชนะเลิศในวันที่ 12 พฤษภาคม ในการถ่ายทอดสดการแข่งขันทั้งสามรอบ มีพิธีกรทั้งหมด 4 คน ได้แก่ Filomena Cautela, Sílvia Alberto, Daniela Ruah และ Catarina Furtado มีประเทศที่ส่งเพลงเข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 43 ประเทศ โดยที่รัสเซียได้กลับเข้าร่วมการแข่งขันอีกครั้ง หลังจากที่ถอนตัวไปเมื่อปีที่ผ่านมา และเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี 2011 ที่ไม่มีประเทศใด ถอนตัวหรือไม่มาร่วมการแข่งขัน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 2018 · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูน

ตัวอย่างการ์ตูน ตัวอย่างแอนิเมชัน การ์ตูน (cartoon) คือทัศนศิลป์สองมิติรูปแบบหนึ่ง ซึ่งความหมายที่เฉพาะเจาะจงแปรเปลี่ยนไปตามเวลา ความหมายในสมัยใหม่โดยทั่วไปหมายถึง การวาดเส้นหรือจิตรกรรมแบบกึ่งสัจนิยมหรืออสัจนิยม (กึ่งเหมือนจริงหรือไม่เหมือนจริง) เพื่อการเสียดสี การล้อเลียน ความขบขัน หรือการแสดงออกซึ่งกระบวนแบบเชิงศิลปะ ศิลปินผู้วาดการ์ตูนเรียกว่านักเขียนการ์ตูน (cartoonist) ในยุคอดีต การ์ตูนหมายถึงภาพร่างหรือภาพวาดที่ใช้การเรียนการศึกษาแทนการใช้ภาพจริง ในปัจจุบันการ์ตูนมักจะหมายถึงแอนิเมชัน ซึ่งเป็นเทคนิคในการสร้างการ์ตูนในยุคปัจจุบัน ที่มีการฉายทางโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์ ในความหมายอื่น การ์ตูนใช้แทนรายการสำหรับเด็กที่มีการใช้สัตว์หรือสิ่งมีชีวิตอย่างอื่นเคลื่อนไหวในลักษณะเหมือนมนุษย์ การ์ตูนปัจจุบันจะพบได้จากหนังสือ, หนังสือพิมพ์ (ซึ่งมักเป็นเรื่องเกี่ยวกับข่าว การเมือง บันเทิง), โปสเตอร์, ภาพยนตร์ เป็นต้น นายแพทย์ ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เคยกล่าวถึงการ์ตูนว่า "หน้าที่หนึ่งของการ์ตูน คือกระตุกความคิดของเยาวชน ไม่ต้องสอน".

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและการ์ตูน · ดูเพิ่มเติม »

กาสิโน

ลาสเวกัส เมืองที่มีชื่อเสียงในด้านกาสิโน ตู้สล็อตภายในกาสิโนแห่งหนึ่งในลาสเวกัส กาสิโน (casino) เป็นสถานบันเทิงที่มีกิจกรรมการพนันเป็นกิจกรรมหลัก โดยปกติแล้วกาสิโนมักจะสร้างร่วมกับโรงแรม, ร้านอาหาร, แหล่งชอปปิง หรือบางครั้งกาสิโนจะสร้างอยู่บนเรือนำเที่ยว ปัจจุบันมีกาสิโนมากกว่า 4,750 แห่งทั่วโลก คำว่า casino มาจากภาษาอิตาลี อ่านว่า "กาซีโน" แปลว่าบ้านพักหลังเล็กใช้สำหรับพักผ่อนหย่อนใจ (casa.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและกาสิโน · ดูเพิ่มเติม »

กาแฟ

กาแฟดำ ซึ่งบรรจุในถ้วย กาแฟ เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากเมล็ดซึ่งได้จาก ต้นกาแฟ หรือมักเรียกว่า เมล็ดกาแฟ คั่ว มีการปลูกต้นกาแฟในมากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก กาแฟเขียว (กาแฟซึ่งยังไม่ผ่านการคั่ว) เป็นหนึ่งในสินค้าทางการเกษตรซึ่งมีการซื้อขายกันมากที่สุดในโลก กาแฟมีส่วนประกอบของคาเฟอีน ทำให้มีสรรพคุณชูกำลังในมนุษย์ ปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่มซึ่งได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เป็นที่เชื่อกันว่าสรรพคุณชูกำลังจากเมล็ดของต้นกาแฟนั้นถูกพบเป็นครั้งแรกใน เยเมน แถบอาระเบีย และทางตะวันออกเฉียงเหนือของ เอธิโอเปีย และการปลูกต้นกาแฟในสมัยแรกได้แพร่ขยายในโลกอาหรับ หลักฐานบันทึกว่าการดื่มกาแฟได้ปรากฏขึ้นราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 อันเป็นหลักฐานซึ่งเชื่อถือได้และเก่าแก่ที่สุด ถูกพบในวิหาร ซูฟี ในเยเมน แถบอาระเบีย จาก โลกมุสลิม กาแฟได้แพร่ขยายไปยังทวีปยุโรป อินโดนีเซีย และทวีปอเมริกา ในระหว่างที่กาแฟเริ่มเดินทางจากทวีปอเมริกาเหนือและตะวันออกกลางสู่ทวีปยุโรป กาแฟได้ถูกส่งผ่านไปยังซิซิลีและอิตาลีในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากนั้นผ่านตุรกีไปยังกรีซ ฮังการี และออสเตรียในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากอิตาลีและออสเตรีย กาแฟได้แพร่ขยายไปยังส่วนที่เหลือของทวีปยุโรป กาแฟได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในสังคมหลายแห่งตลอดประวัติศาสตร์ ในแอฟริกาและเยเมน มันถูกใช้ร่วมกับพิธีกรรมทางศาสนา ผลที่ตามมาคือ ศาสนจักรเอธิโอเปีย ได้สั่งห้ามการบริโภคกาแฟตลอดกาล จนกระทั่งถึงรัชสมัยของ จักรพรรดิเมเนลิกที่ 2 มันยังได้ถูกห้ามใน จักรวรรดิออตโตมันระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 เนื่องจากสาเหตุทางการเมือง และมีส่วนเกี่ยวพันกับกิจกรรมทางการเมืองหัวรุนแรงในทวีปยุโรป ผลกาแฟ ซึ่งบรรจุเมล็ดกาแฟ เป็นผลผลิตจากไม้พุ่มไม่ผลัดใบขนาดเล็กใน จีนัส Coffea หลายสปีชีส์ โดยสายพันธุ์ที่มีการปลูกโดยทั่วไปมากที่สุด ได้แก่ Coffea arabica และกาแฟ "โรบัสต้า" ที่ได้จากชนิด Coffea canephora ซึ่งมีรสเข้มกว่า สายพันธุ์ดังกล่าวมีความทนทานต่อราสนิมใบกาแฟ (Hemileia vastatrix) ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง สายพันธุ์กาแฟทั้งคู่มีการปลูกในละตินอเมริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปแอฟริกา เมื่อสุกแล้ว ผลดังกล่าวจะถูกเก็บรวบรวม นำไปผ่านกรรมวิธีและทำให้แห้ง หลังจากนั้น เมล็ดจะถูกคั่วในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรสชาติที่ต้องการ และจะถูกบดและบ่มเพื่อผลิตกาแฟ กาแฟสามารถตระเตรียมและนำเสนอได้ในหลายวิธี กาแฟเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของโลก โดยในปี คริสต์ศักราช 2004 กาแฟเป็นสินค้าการเกษตรส่งออกที่ทำรายได้เป็นอันดับหนึ่งในจำนวน 12 ประเทศ และเป็นพืชที่มีการส่งออกอย่างถูกต้องตามกฎหมายซึ่งมีมูลค่าสูงที่สุดเป็นอันดับ 7 ของโลก ในปี คริสต์ศักราช 2005 กาแฟได้รับการโต้เถียงบางส่วนในด้านการเพาะปลูกต้นกาแฟและผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม และมีการศึกษาจำนวนมากที่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคกาแฟกับข้อจำกัดทางยาอย่างแน่นอน อย่างไรก็ตาม ก็ยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัดว่ากาแฟให้คุณหรือให้โทษกันแน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและกาแฟ · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล แปลภาษา

กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและกูเกิล แปลภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ฝั่ม ถิ ฮหว่าย

ฝั่ม ถิ ฮหว่าย (Phạm Thị Hoài) เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและฝั่ม ถิ ฮหว่าย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามอลตา

ษามอลตา (Maltese; มอลตา: Malti) เป็นภาษาประจำชาติของประเทศมอลตา และเป็นภาษาราชการของประเทศนี้ร่วมกับภาษาอังกฤษ ภาษามอลตามีต้นกำเนิดจากภาษาซิคูโล-อาหรับ (ภาษาถิ่นของภาษาอาหรับที่มีวิวัฒนาการขึ้นในเกาะซิซิลี เกาะมอลตา และภาคใต้ของประเทศอิตาลี) แต่ก็มีคำยืมจากภาษาอิตาลี ภาษาซิซิลี และภาษาอังกฤษในสัดส่วนสูงเช่นกัน ปัจจุบันภาษามอลตายังเป็นภาษาในกลุ่มเซมิติกเพียงภาษาเดียวที่เป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรปและใช้อักษรละตินในภาษาเขียนมาตรฐาน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษามอลตา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาละติน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิดอ

ษาอิดอ (Ido) เป็นภาษาประดิษฐ์ สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นภาษาสากลในการช่วยสื่อสารระหว่างผู้คนเชื้อชาติต่าง ๆ โดยได้สร้างให้มีรูปแบบไวยากรณ์ที่ง่ายและเป็นไปตามกฎโดยไม่มีข้อยกเว้น ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่น ๆ และไม่ให้คล้ายกับภาษาธรรมชาติภาษาใดมากเกินไปเพื่อไม่ให้เกิดความได้เปรียบในการเรียนรู้ภาษาอิดอ ภาษาอิดอได้เริ่มมีการพัฒนาในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 ดัดแปลงมาจากภาษาเอสเปรันโต โดยมีการปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ ของภาษาเอสเปรันโตให้ดีขึ้น และได้นำออกมาใช้งานใน พ.ศ. 2450 โดยองค์การภาษาช่วยสื่อสารนานาชาติ และได้รับการสนับสนุนจากผู้พูดภาษาเอสเปรันโตราว 20% ภาษาอิดอใช้อักษรละติน 26 ตัวเช่นเดียวกับภาษาอังกฤษ ให้สังเกตว่าตัวอักษร q จะต้องตามหลังด้วยตัวอักษร u เสมอ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาอิดอ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอูรดู

ษาอูรดู (اردو) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งพัฒนามาจากหลายภาษารวมกันคือ ภาษาเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับ ฮินดี และ สันสกฤต นิยมใช้กันมากในช่วงสมัยรัฐสุลต่านเดลฮี และจักรวรรดิโมกุล (ค.ศ.๑๒๐๐ - ๑๘๐๐) ภาษาอูรดู อยู่ในอันดับที่ ๒๐ ของภาษาที่มีคนใช้เป็นภาษาแม่ และเป็นภาษาราชการของประเทศปากีสถาน นอกจากนี้ยังเป็นภาษาหนึ่งในภาษาราชการ ๒๓ ภาษา ของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาอูรดู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคริสตัง

ษาคริสตัง (Kristang language) หรือ ภาษาโปรตุเกสลูกผสมมะละกา (Malaccan Creole Portuguese) หรือภาษามะละกา หรือภาษาเกอราเกา พูดโดยชาวคริสตังซึ่งเป็นลูกหลานระหว่างชาวโปรตุเกสกับชาวเอเชียที่อยู่ในมะละกาและสิงคโปร์ มีผู้พูดภาษานี้ราว 1,000 คน ในมะละกา มีความเกี่ยวข้องกับสำเนียงที่พบในกัวลาลัมเปอร์และสิงคโปร์ เป็นภาษาทางการค้า ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่เป็นผู้ใหญ่ ผู้พูดภาษานี้จะพูดภาษามลายูซาบา ผู้หญิงบางคนพูดภาษาอังกฤษได้ บางครั้งเรียกว่าภาษาคริสเตาหรืออย่างง่ายๆว่าภาษาปาปีอา ประมาณ 80% ของผู้พูดภาษานี้ที่เป็นผู้สูงอายุจะพูดภาษานี้ในชีวิตประจำวัน มีผู้พูดจำนวนน้อยในกัวลาลัมเปอร์ซึ่งเกิดจากการอพยพ มีผู้พูดภาษาครัสตังที่ย้ายถิ่นไปยังอังกฤษ ออสเตรเลี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาคริสตัง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซองคา

ษาซองคาเป็นภาษาประจำชาติของภูฏาน อยู่ในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า ใกล้เคียงกับภาษาสิกขิมและภาษาอื่นๆของชาวภูฏาน ระบบเสียงใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสมัยใหม่ เทียบได้กับความแตกต่างระหว่างภาษาสเปนกับภาษาอิตาลี พระในทิเบตและภูฏาน เรียนภาษาทิเบตโบราณเพื่อการอ่านคัมภีร์พุทธศาสนา คำว่าซองคาหมายถึง ภาษา (คา) ที่พูดในวัดที่มีลักษณะเป็นป้อมปราการ (ซอง) ภาษานี้แพร่เข้ามาในภูฏานเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาซองคา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซิซิลี

ภาษาซิซิลี (Sicilian language; ภาษาซิซิลี: lu sicilianu; ภาษาอิตาลี:lingua siciliana) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์ ส่วนมากใช้พูดในเกาะซิซิลี และบางส่วนบนแผ่นดินใหญ่ในประเทศอิตาลี เช่น คาลาบรีอาตอนกลางและตอนใต้ ซาเลนโตที่อยู่ทางใต้ของอาปูลิอา เป็นสำเนียงที่อยู่ทางตอนใต้สุดของภาษากลุ่มอิตาลี มีความแตกต่างจากภาษาอิตาลีจนนับเป็นภาษาใหม่ได้ แต่ชาวซิซิลีมักคิดว่าภาษาของพวกเขาเป็นสำเนียงของภาษาอิตาลี ซิซิลี ซิซิลี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาซิซิลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาประธานไร้รูป

ภาษาประธานไร้รูป (ภาษาอังกฤษ: null/empty subject language) เป็นภาษาที่ยอมรับไวยากรณ์ของการมีอนุประโยคอิสระที่ไม่ปรากฏประธานในอนุประโยค อนุประโยคที่ไม่มีประธานโดยชัดแจ้ง กล่าวได้ว่าอนุประโยคนั้นมี ประธานไร้รูป ยกตัวอย่างเช่นในภาษาอิตาลี ประธาน "เธอ" ของประโยคที่สองสามารถทราบได้โดยนัยในภาษาอิตาลี ในทางตรงข้าม ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษจำเป็นต้องมีประธานในประโยค ภาษาประธานไร้รูปบางภาษาเป็นภาษาต่างตระกูลกัน เช่น ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส ภาษาฮินดี ภาษาอาหรับ ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น แม้จะต่างตระกูลกันแต่ก็ล้วนเป็นภาษาประธานไร้รูป หมวดหมู่:ภาษา.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาประธานไร้รูป · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเอสเปรันโต

ษาเอสเปรันโต (Esperanto) เป็นภาษาประดิษฐ์ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก คิดค้นโดย แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ (L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ (ในช่วงที่รัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ เอสเปรันโต มาจากนามปากกา ดร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาเอสเปรันโต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตลูกู

ษาเตลูกู (Telugu తెలుగు) อยู่ในตระกูลภาษาดราวิเดียน แต่มีอิทธิพลพอสมควรจากภาษากลุ่มอินโด-อารยันภายใต้ตระกูล อินโด-ยุโรเปียนและเป็นภาษาราชการของรัฐอานธรประเทศ (Andhra Pradesh) ของอินเดีย ภาษาเตลูกูเป็นตระกูลภาษาดราวิเดียนที่มีผู้พูดมากที่สุด เป็นภาษาที่พูดเป็นอันดับ 2 รองจากภาษาฮินดี และเป็นหนึ่งใน 22 ภาษาราชการของอินเดีย เขียนด้วยอักษรเตลูกู ชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เรียกภาษาเตลูกูว่า ภาษาอิตาลีของโลกตะวันออก (Italian of the East) เนื่องจากทุกคำในภาษาเตลูกูลงท้ายด้วยเสียงสระ แต่เชื่อว่านักสำรวจชาวอิตาลี นิกโกเลาะ ดา กอนตี (Niccolò Da Conti) ได้คิดวลีนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและภาษาเตลูกู · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซันตามาเรียโนเวลลา

มหาวิหารซานตามาเรียโนเวลลา (ภาษาอังกฤษ: Basilica of Santa Maria Novella; ภาษาอิตาลี: Santa Maria Novella) เป็นวัดคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอธิคและเรอเนซองส์ตอนต้น มหาวิหารซานตามาเรียโนเวลลามีงานจิตรกรรมฝาผนังสำคัญๆ ของจิตรกรผู้มีชื่อเสียงหลายคนของฟลอเรนซ์ เช่นงานในชาเปลทอร์นาบุโอนิ โดย โดเมนนิโค เกอร์ลันเดา, ในชาเปลสปาโยลิ หรืองานในระเบียงคดโดย เปาโล อูเชลโล และงานศิลปะชนิดอื่นๆ เช่นกางเขนของ ฟีลิปโป บรูเนลเลสกี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมหาวิหารซันตามาเรียโนเวลลา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซันตาโกรเช

้านหน้าบาซิลิกา ภายใน บาซิลิกาซานตาโครเช (ภาษาอิตาลี: Basilica di Santa Croce; ภาษาอังกฤษ: Basilica of the Holy Cross) เป็นวัดบาซิลิกาชั้นรองของนิกายโรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ที่ตั้งแต่เดิมเป็นที่ลุ่มนอกกำแพงเมืองฟลอเรนซ์ ภายในวัดเป็นที่เก็บศพคนสำคัญๆ ของอิตาลีเช่นไมเคิล แอนเจโล, กาลิเลโอ กาลิเลอี, และคนอื่นจึงเป็นที่รู้จักกันว่าเป็น “Pantheon of the Italian Glories” (จุดยอดของความเลิศของอิตาลี).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมหาวิหารซันตาโกรเช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก

ลานมหาวิทยาลัย Cattolica '''มหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก''' หรือ มหาวิทยาลัยคาทอลิกแห่งมิลาน (Università Cattolica del Sacro Cuore หรือ Università Cattolica di Milano; Catholic University of the Sacred Heart หรือ Catholic University of Milan; ชื่อย่อ: Cattolica หรือ UNICATT หรือ UCSC) โดยทั่วไปถูกเรียกสั้นๆว่า Cattolica (การออกเสียง อังกฤษ: katˈtɔlika; ไทย: กัตโตลีกา) วิทยาเขตหลักตั้งอยู่ในเมืองมิลาน แคว้นลอมบาร์เดีย ประเทศอิตาลี ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมหาวิทยาลัยพระหฤทัยคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปาร์มา

มหาวิทยาลัยปาร์มา (Università degli Studi di Parma; University of Parma) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ตั้งอยู่ที่เมืองปาร์มา ประเทศอิตาลี ปัจจุบันมีนักศึกษาประมาณ 30,000 คน มหาวิทยาลัยปาร์มา ประกอบด้วย 12 คณะ ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมหาวิทยาลัยปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยโบโลญญา

มหาวิทยาลัยโบโลญญา (Alma Mater Studiorum Università di Bologna, UNIBO;University of Bologna) เป็นมหาวิทยาลัยที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ที่โบโลญญา ประเทศอิตาลี สำหรับวันก่อตั้งที่แท้จริงยังไม่แน่ชัด แต่เชื่อว่าก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมหาวิทยาลัยโบโลญญา · ดูเพิ่มเติม »

มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์

มหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ หรือ เฟท/สเตย์ ไนท์ เป็นเอโรเกะ สร้างโดยไทป์-มูน วางจำหน่ายครั้งแรกในปี 2547 ต่อมา สตูดิโอดีน ได้นำไปทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนฉายทางโทรทัศน์ โดยมีเจเนออนเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 6 มกราคม 2549 ถึงวันที่ 16 มิถุนายน 2549 นอกจากนี้ในปี 2550 ไทป์-มูน ได้นำมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์มาสร้างใหม่สำหรับเครื่อง เพลย์สเตชัน 2 ภายใต้ชื่อ "เฟท/สเตย์ ไนท์ " โดยตัดเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสำหรับผู้เยาว์ออกทั้งหมด เฟท/สเตย์ ไนท์ ยังถูกดัดแปลงเป็นมังงะ ซึ่งในขณะนี้กำลังตีพิมพ์ลงในนิตยสารโชเน็นเอซ ฉบับรายเดือน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมหาสงครามจอกศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

มัคคียาโต

มัคคียาโต (macchiato) เป็นคำคุณศัพท์ในภาษาอิตาลี แปลว่า "ซึ่งมีรอยด่าง", "ซึ่งมีรอยเปื้อน", "ซึ่งถูกทำเครื่องหมายไว้" หรือ "ซึ่งถูกทำสัญลักษณ์ไว้" มักนำไปใช้เรียกเครื่องดื่มสองชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมัคคียาโต · ดูเพิ่มเติม »

มาการง

มาการง (macaron) เป็นขนมหวานที่ได้จากการผสมเมอแร็งก์กับไข่ขาว, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทรายขาว, ผงแอลมอนด์หรือแอลมอนด์ป่น และสีผสมอาหาร มาการงรูปร่างเหมือนแซนด์วิช เป็นขนมปังสองชิ้นประกบกัน มีสอดไส้ตรงกลาง ส่วนไส้มักจะเป็นกานัช, บัตเตอร์ครีม (ครีมเนยที่ใช้แต่งหน้าเค้ก) หรือแยม คำว่า มาการง แผลงมาจากคำในภาษาอิตาลีว่า macarone, maccarone หรือ maccherone, เมอแร็งก์แบบอิตาลี มาการง มีลักษณะคล้ายคุกกี้ ลักษณะเด่นของมาการงคือ ผิวด้านบนของขนมจะเรียบ ขอบรอบ ๆ เป็นรอยหยัก (มักจะเรียกว่า "ขา" หรือ "เท้า") และมีฐานเรียบแบน ขนมจะนุ่มชุ่มเล็กน้อยและละลายง่ายในปาก มาการงมีหลากหลายรสชาติ ตั้งแต่รสดั้งเดิม (ราสป์เบอร์รี, ช็อกโกแลต) ไปจนถึงรสใหม่ ๆ (ฟัวกรา, ชาเขียว) คนส่วนใหญ่มักจะสับสนระหว่างมาการงกับแมคารูน (macaroon) จึงมีการใช้ชื่อภาษาฝรั่งเศสมาแทนภาษาอังกฤษเพื่อให้ดูต่างกัน แต่ก็ยิ่งทำให้สะกดชื่อกันผิดมากขึ้น บางตำราอาหารแยกชื่อ แมคารูน ไว้ใช้กับมาการงที่ไม่ใช่แบบของฝรั่งเศสดั้งเดิม แต่หลาย ๆ คนมีความเห็นว่า ขนมทั้งสองอย่างนี้มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งความจริงแล้ว คำว่า แมคารูน เป็นคำภาษาอังกฤษที่แปลมาจากคำว่า มาการง ในภาษาฝรั่งเศส เพราะฉะนั้นชื่อทั้งสองชื่อนี้มีความหมายเรียกขนมแบบเดียวกัน ทั้งนี้การใช้แต่ละชื่อก็อาจขึ้นอยู่กับการตีความของแต่ละบุคคล เคยมีศาสตราจารย์ภาควิชาวัฒนธรรมอาหารที่สแตนฟอร์ด, แดน จูราฟสกี้ ชี้แจงว่า 'มาการง' (รวมถึง "มาการงปารีส", หรือ "มาการงแฌร์แบ") คือชื่อเรียกที่ถูกต้อง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมาการง · ดูเพิ่มเติม »

มารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา

อาร์ชดัชเชสมารี หลุยส์แห่งออสเตรีย (Erzherzogin Maria Lucia von Österreich., Archduchess Maria Lucia of Austria, Marie Louise d'Autriche, Maria Luisa d'Austria) (พระนามเต็ม: มาเรีย ลูโดวิก้า ลีโอโพลดีน่า ฟรานซิสก้า เธเรเซีย โยเซฟา ลูเซีย, (Maria Ludovika Leopoldina Francisca Theresia Josepha Lucia von Habsburg-Lorraine (Bonaparte)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย ก่อนที่จะทรงอภิเษกสมรสกับจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของจักรวรรดิฝรั่งเศส และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์เป็นพระมเหสีองค์ที่ 2 ของนโปเลียน จึงทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศส (impératrice Marie Louise des Français) และเมื่อปีพ.ศ. 2360 พระองค์ทรงเป็น ดัชเชสแห่งปาร์มา ปิอาเซนซ่า และกูแอสตาลล่า (Maria Luigia, Duchessa di Parma, Piacenza, e Guastalla) นอกจากนี้ พระองค์ยังเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีมารี อังตัวเนตแห่งฝรั่งเศสอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

มารี อ็องตัวแน็ต

มารี อ็องตัวแน็ต (Marie Antoinette) หรือนามประสูติคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย อันโทเนีย โยเซฟา โยอันนา (Maria Antonia Josepha Johanna) เป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์ฝรั่งเศสและขึ้นเป็นพระราชินีแห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) พระนางถูกประหารด้วยกิโยตีนระหว่างการปฏิวัติฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมารี อ็องตัวแน็ต · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชาเรอาเลดอร์ดีนันซา

มาร์ชาเรอาเลดอร์ดีนันซา หรือ Fanfara Reale (Marcia Reale d'Ordinanza) เพลงมาร์ชหลวงตามพระราชโองการ เป็นเพลงชาติ และ เพลงสรรเสริญพระบารมีของราชอาณาจักรอิตาลี ระหว่างปี ค.ศ. 1861 ถึง ค.ศ. 1946.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมาร์ชาเรอาเลดอร์ดีนันซา · ดูเพิ่มเติม »

มิสเตอร์แสบร้ายเกินพิกัด (แฟรนไชส์)

right มิสเตอร์แสบร้ายเกินพิกัด (Despicable Me) เป็นภาพยนตร์ชุดแนวตลกอเมริกัน อำนวยการสร้างโดย อิลลูมิเนชั่น เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จัดจำหน่ายโดย ยูนิเวอร์แซลสตูดิโอส์ มิสเตอร์แสบร้ายเกินพิกัด ประกอบด้วย ภาพยนตร์ยาว 4 เรื่อง และภาพยนตร์สั้น 6 เรื่อง ตัวละครหลักได้แก่ เฟลูเนียส กรู, มินเนียน และลูกเลี้ยง 3 คน ได้แก่ มาร์โก, แอ็กเนส และ เอดิธ มีสถานที่จำลอง ชื่อว่า มิสเตอร์แสบร้ายเกินพิกัด: มินเนียนเมย์เฮม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและมิสเตอร์แสบร้ายเกินพิกัด (แฟรนไชส์) · ดูเพิ่มเติม »

ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน

อดนักสืบจิ๋วโคนัน เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น เรื่องยาวแนวสืบสวนสอบสวน เรื่องและภาพโดย อาโอยาม่า โกโช ซึ่งตีพิมพ์บน นิตยสารรายสัปดาห์โชเน็งซันเดย์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 โดยถูกตีพิมพ์ในหลายภาษาด้วยกัน นอกจาก ภาษาญี่ปุ่น แล้วยังมี ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน, ภาษาอินโดนีเซีย, ภาษาฟินแลนด์, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาดัตช์, ภาษาเยอรมัน, ภาษาอิตาลี, ภาษามาเลเซีย, ภาษาเกาหลี, ภาษาสเปน, ภาษากาตาลา, ภาษาสวีเดน, ภาษานอร์เวย์, ภาษาเดนมาร์ก, ภาษาเวียดนาม, ภาษาฟิลิปปินส์ และภาษาไทย นอกจากยอดนักสืบจิ๋มโคนันจะได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือการ์ตูนแล้ว ยังได้มีการนำมาดัดแปลงทำเป็นการ์ตูนซีรีส์โทรทัศน์โดยแอนิเมชันสตูดิโอโตเกียวมูฟวี่ชินชะ (โดยปัจจุบันรู้จักกันในชื่อของทีเอมเอส เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด) โดยมีผู้กำกับอย่างโคดะมะ เคนจิ และยามาโมโตะ ยาซุยจิโร่ซึ่งนำออกอากาศผ่าน สถานีโทรทัศน์นิปปอน, สถานีโทรทัศน์โยมิอุริ, และ สถานีโทรทัศน์แอนิแมกซ์ ตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2539 ด้วยกระแสตอบรับที่ดีของยอดนักสืบจิ๋วโคนันจึงได้มีการจัดทำการตูนภาพยนตร์ซึ่งออกฉายช่วงสัปดาห์หยุดยาวตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน ถึงวันที่ 5 พฤษภาคม ของญี่ปุ่น (หรือโกลเด้นวีค) ของทุกๆ ปี อีกทั้งยังมีการจัดทำซีรีส์คนแสดงอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและยอดนักสืบจิ๋วโคนัน · ดูเพิ่มเติม »

ยาฮู! รู้รอบ

ู! รู้รอบ (Yahoo! Answers) เป็นชุมชนออนไลน์ของยาฮู!เปิดให้ใช้งานในการถามและตอบคำถามในลักษณะคล้ายเว็บบอร์ด แต่มีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างไปจากเว็บบอร์ดคือ เว็บบอร์ดจะเปิดให้โพสต์ข้อความอะไรก็ได้ แต่ยาฮู! รู้รอบจะเปิดให้ผู้ใช้งานโพสต์เฉพาะคำถามหรือคำตอบเท่านั้น โดยท้ายสุดจะมีการเลือกคำตอบที่ดีที่สุด พร้อมขอเหตุผลว่าทำไมถึงดีที่สุด พร้อมกับมีระบบสะสมแต้มและระดับความเก่งกาจของผู้ใช้งาน เปิดใช้งานเมื่อ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2548 โดยมีลักษณะพิเศษคือมีการให้แต้มต่อผู้ร่วมตอบคำถาม ซึ่งผลักดันให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม เว็บเปิดให้ถามคำถามและตอบคำถามในทุกลักษณะ โดยมีการจัดแบ่งหมวดหมู่ของคำถามย่อยลงไปตามหมวดหมู่ การถามตอบคำถามจำเป็นต้องเป็นสมาชิก และเมื่อคำถามหรือคำตอบได้ถาม จะมีรูปอวตารซึ่งมีลักษณะคล้ายการ์ตูนแสดงตัวคู่กับข้อความ โดยระหว่างที่ถามคำถาม ทางระบบจะทำการค้นหาข้อมูลเก่าในฐานข้อมูลจากข้อความที่ผู้ถามได้พิมพ์ไป แสดงคำถามก่อนหน้าที่เกี่ยวข้องขึ้น เผื่อคำถามนั้นได้มีการถามก่อนหน้า ในปัจจุบันยาฮู! รู้รอบรองรับชุมชนใน 12 ภาษา ได้แก่ อังกฤษ จีน ฝรั่งเศส เยอรมัน อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น เกาหลี โปรตุเกส สเปน ไทย เวียดนาม โดยมีเว็บไซต์ตั้งอยู่ 24 ประเทศได้แก่ เกาหลีใต้ แคนาดา จีน บราซิล ฝรั่งเศส เยอรมนี ฮ่องกง อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ สเปน ไต้หวัน ไทย สหราชอาณาจักร ควิเบก สหรัฐอเมริกา เวียดนาม ออสเตรเลีย และ อาร์เจนติน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและยาฮู! รู้รอบ · ดูเพิ่มเติม »

ยิ้มไว้โลกนี้ไม่มีสิ้นหวัง

้มไว้โลกนี้ไม่มีสิ้นหวัง (Life Is Beautiful, La vita è bella) เป็นภาพยนตร์สัญชาติอิตาเลียนที่พูดถึงชาวยิวในอิตาลีที่ชื่อ กุยโด (แสดงโดย โรแบร์โต เบนิญี่ ที่ทั้งกำกับเองและร่วมเขียนบทในภาพยนตร์) ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 7 สาขา ในปี ค.ศ. 1998 คือ รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, รางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, รางวัลภาพยนตร์ต่างประเทศยอดเยี่ยม, รางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม, รางวัลดนตรีประกอบยอดเยี่ยม, รางวัลบทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยม, รางวัลตัดต่อยอดเยี่ยม และได้รับรางวัล 3 สาขา คือ รางวัลภาพยนตร์ต่างประเทศยอดเยี่ยม, รางวัลดนตรีประกอบยอดเยี่ยม และรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยมโดย โรแบร์โต เบนิญี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและยิ้มไว้โลกนี้ไม่มีสิ้นหวัง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการอัดวา

ทธการแอดวา (Battle of Adwa) เป็นการระหว่างจักรวรรดิเอธิโอเปียกับอิตาลีซึ่งเกิดขึ้นในวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1896 ในบริเวณใกล้เมืองอัดวา ประเทศเอธิโอเปีย (เมืองนี้รู้จักโดยทั่วไปในชื่อ "อาโดวา" ในภาษาอิตาลีเรียกว่าเมือง "อาดูอา") ในการรบดังกล่าวอิตาลีเป็นฝ่ายได้รับความพ่ายแพ้ และเป็นจุดสำคัญที่ชี้ขาดถึงผลของสงครามอิตาลี-เอธิโอเปียครั้งที่หนึ่งทั้งหม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและยุทธการอัดวา · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการเดือดเชือดนาซี

ทธการเดือดเชือดนาซี (Inglourious Basterds) เป็นภาพยนตร์สงคราม กำกับและเขียนบทโดยเควนติน แทแรนติโน นำแสดงโดยแบรด พิตต์และคริสตอฟ วอลซ์ ออกฉายในสหรัฐอเมริกาในวันที่ 21 สิงหาคม 2009 ชื่อเรื่องดัดแปลงจากชื่อภาษาอังกฤษ The Inglorious Bastards ของภาพยนตร์สงครามปี 1978 Quel maledetto treno blindato โดยผู้กำกับชาวอิตาลี เอนโซ จี. คาสเตลลารี เนื้อหาหลักๆจะเกี่ยวกับการเข่นฆ่าชาวยิวของพวกนาซีที่นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ชาวยิวแค้นใจจึงรวมกลุ่มกันเพื่อกำจัดพวกนาซี โดยภาพยนตร์เรื่องนี้สมมติเหตุการณ์และตัวละครขึ้นมาใหม่ แต่ก็มีตัวละครที่มีอยู่จริงด้วย เช่น ฮิตเลอร์, เกิบเบลส์ เป็นต้น ภาพยนตร์จะแบ่งเหตุการณ์ออกเป็น 3กลุ่มใหญ่ๆคือ กลุ่มนาซี กลุ่มแก๊งโคตรแสบ และฝ่ายโชแชนนา ภาพยนตร์เรื่องนี้ประสบความสำเร็จทั้งในเรื่องรายได้และคำวิจารณ์ โดยทำรายได้จากการฉายทั่วโลกไปถึง 320ล้านดอลลาร์สหรัฐ นอกจากนี้ยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ถึง 8สาขาด้วยกันรวมถึงสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยมด้วย และได้รับรางวัลมา 1สาขาคือ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมซึ่งมอบให้แก่คริสตอฟ วอลซ์ ในภาพยนตร์เรื่องนี้ เอนโซ จี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและยุทธการเดือดเชือดนาซี · ดูเพิ่มเติม »

ยูร์ก็อตอะเฟรนด์

"ยูร์ก็อตอะเฟรนด์" (You've Got a Friend.) คือเพลงจากต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 เป็นผลงานการประพันธ์ของคาโรล์ คิง ในอัลบั้ม Tapestry ในปี พ.ศ. 2514 เพลงนี้ถูกขนานนามว่าเป็นหนึ่งในเพลงยอดนิยมร็อกแอนด์โรล 500 เพลง เจมส์ เทย์เลอร์ ร้องเพลง "ยูร์ก็อตอะเฟรนด์" ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและยูร์ก็อตอะเฟรนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูลิสซิส มัวร์

ูลิสซิส มัวร์ (Ulysses Moore) เป็นชุดวรรณกรรมเยาวชนของอิตาลีเขียนโดย ปิเอร์โดเมนิโก บัคคาลาริโอ ผู้เขียน เดอะ เซนจูรี่ ตีพิมพ์เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและยูลิสซิส มัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

รอยขูดขีดเขียน

การพ่นสีรอยขูดขีดเขียนบนกำแพง รอยขูดขีดเขียน เป็นภาพวาดที่เกิดจากการขีดเขียนไปบนผนัง คำ "graffiti" เป็นคำศัพท์ที่มาจากภาษากรีก grafito ซึ่งแปลว่าการเขียนภาพลงบนผนังหรือกำแพงในสมัยโบราณ โดยที่รู้จักกันทั่วไปจะมีลักษณะของการพ่น (bombing) เซ็นชื่อ หรือเป็นการเซ็นลายเซ็น โดยเริ่มต้นจากเมืองฟิลาเดลเฟียในรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา จากนั้นจึงแพร่หลายในนิวยอร์กช่วงยุคคริสต์ทศวรรษที่ 60.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรอยขูดขีดเขียน · ดูเพิ่มเติม »

รัก จี๊ด...จี๊ด... สวยเจ็บปวด

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรัก จี๊ด...จี๊ด... สวยเจ็บปวด · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกลารุส

รัฐกลารุส (Glarus) เป็นรัฐทางตะวันออก ตอนกลางของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมืองหลวงคือ กลารุส รัฐมีประชากร 39,217 คน (ข้อมูล 31 ธันวาคม ค.ศ. 2011) จากข้อมูลประชากรปี ค.ศ. 2007 มีประชากรชาวต่างชาติ 7,314 คน หรือคิดเป็น 19.13% ของประชากรทั้งหมด ส่วนข้อมูลประชากรปี ค.ศ. 2000 ประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ (44%) และโรมันคาทอลิก (37%) ประชากรพูดภาษาเยอรมัน 83.6% และพูดภาษาอิตาลี 6.8%.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรัฐกลารุส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป (Member State of the European Union) คือประเทศใดประเทศหนึ่งใน 28 ประเทศที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ตั้งแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) เป็นต้นมา เดิมทีประเทศก่อตั้งมีเพียง 6 ประเทศ ซึ่งได้มีการขยายสมาชิกทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดเกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่มีรัฐสมาชิกเข้าร่วมกว่า 10 ประเทศ ปัจจุบันสหภาพยุโรปประกอบด้วยประเทศ 21 สาธารณรัฐ, 6 ราชอาณาจักร และ 1 ราชรัฐ การเพิ่มโรมาเนียและบัลแกเรียเข้าเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2550 รวมทั้งโครเอเชียในปีพ.ศ. 2556 ทำให้ปัจจุบันสหภาพยุโรปมีรัฐสมาชิกทั้งสิ้น 28 ประเทศ การต่อรองและเจรจาให้ประเทศอื่นๆ เข้าเป็นสมาชิกยังคงดำเนินการอยู่เรื่อยๆ ขั้นตอนการขยายสหภาพยุโรปนี้บางครั้งเรียกว่าการรวมกลุ่มยุโรป ก่อนที่จะเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้นั้น ประเทศนั้นจะต้องผ่านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและการเมืองที่รู้จักกันดีในชื่อ "เกณฑ์โคเปนเฮเกน" ซึ่งกำหนดไว้ว่าประเทศที่มีสิทธิเข้าเป็นสมาชิกจะต้องเป็นรัฏฐาธิปัตย์ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย มีองค์กรที่ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและเคารพต่อกฎหมาย ภายใต้สนธิสัญญาสหภาพยุโรป การขยายสหภาพยุโรปต้องขึ้นอยู่กับข้อตกลงของแต่ละรัฐสมาชิกและผ่านการรับรองจากสภายุโรปอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสันตะปาปา

รัฐสันตะปาปา (Papal States; Pontifical States; Stati Pontificii) หรือ รัฐคริสตจักร (State(s) of the Church; Stato Ecclesiastico; Stato della Chiesa; Stati della Chiesa') “รัฐสันตะปาปา” เป็นหนึ่งในรัฐทางประวัติศาสตร์ของอิตาลีตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 จนกระทั่งอิตาลีรวมตัวกันเป็นประเทศเดียวกันในปี ค.ศ. 1861 โดยการนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย (หลังจากนั้นรัฐพระสันตะปาปาก็ยังมีอยู่จนปี ค.ศ. 1870) รัฐสันตะปาปาเป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองโดยตรงของพระสันตะปาปา ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดมีอาณาบริเวณที่ครอบคลุมบริเวณประเทศอิตาลีสมัยใหม่ที่รวมทั้งโรมันยา, มาร์เก, อุมเบรีย และลาซีโอ อำนาจในการปกครองนี้เรียกว่า อำนาจการปกครองของพระสันตะปาปา (Temporal power) ที่ตรงข้ามกับอำนาจทางศาสนา “Papal States” มักจะเป็นคำที่นิยมมากกว่า ส่วน “Papal State” มักจะใช้กับนครรัฐวาติกันซึ่งเป็นอาณาบริเวณภายในตัวกรุงโรม นครรัฐวาติกันก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรัฐสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐของประเทศสวิตเซอร์แลนด์

มาพันธรัฐสวิสประกอบด้วย 26 รัฐ (Kanton หรือ Canton) ซึ่งในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึง 18 ต่างเคยเป็นรัฐเอกราช มีเขตแดน, กองทัพ และสกุลเงินเป็นของตนเอง จนกระทั่งมีการสถาปนาสมาพันธรัฐสวิสขึ้นใน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรัฐของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐตีชีโน

ตีชีโน (Ticino,; Tessin) เป็นรัฐทางใต้สุดของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ รัฐตีชีโนติดกับรัฐอูรีทางทิศเหนือ ติดกับรัฐวาเลทางทิศตะวันตก (ผ่านทางช่องเขาโนเวนา) ติดกับรัฐเกราบึนเดินทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับแคว้นปีเอมอนเตและแคว้นลอมบาร์เดียของอิตาลีทางทิศใต้ รัฐตั้งชื่อตามแม่น้ำตีชีโน เป็นรัฐเดียวของสวิตเซอร์แลนด์ที่ใช้ภาษาทางการเป็นภาษาอิตาลี ตีชีโน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรัฐตีชีโน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเกราบึนเดิน

รัฐเกราบึนเดิน (Graubünden; Grigioni; Grischun) เป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุด ตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อยู่ติดกับรัฐทีชีโน รัฐอูรี รัฐกลารุส รัฐซังคท์กัลเลิน มีเมืองหลวงชื่อ คูร์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นรีเชียแห่งจักรวรรดิโรมันโบราณ พวกแฟรงก์เข้ายึดครองในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 6 ต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศเยอรมนี เข้าร่วมอยู่ในสมาพันธรัฐสวิสใน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรัฐเกราบึนเดิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐมุขนายกบริกเซิน

ตมุขนายกบริกเซิน (Bishopric of Brixen) เป็นอดีตมุขมณฑลโรมันคาทอลิกที่ปกครองโดยบิชอปแห่งบริกเซินและเจ้าชายบิชอปแห่งบริกเซินเมื่อได้เลื่อนฐานะเป็นราชรัฐมุขนายก นอกจากนั้นเขตมุขนายกบริกเซินก็ยังเป็นอดีตรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ตั้งอยู่ในมณฑลโบลซาโน-โบเซนในอิตาลีปัจจุบันอีกด้วย เดิมเขตมุขนายกที่ก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 6 ตั้งอยู่ในหุบเขาไอซัค/อิซาโค ต่อมาย้ายมาตั้งอยู่ที่บริกเซินราว..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและราชรัฐมุขนายกบริกเซิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐแอนติออก

ราชรัฐแอนติออก (Principality of Antioch) ที่มีอาณาบริเวณบางส่วนที่อยู่ในตุรกีและซีเรียปัจจุบันเป็นนครรัฐครูเสด ที่ก่อตั้งระหว่างสงครามครูเสดครั้งที่ 1 ที่รุ่งเรืองระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและราชรัฐแอนติออก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรราโรตองกา

ราชอาณาจักรราโรตองกา (ภาษามาวรีหมู่เกาะคุก: Mātāmuatanga Rarotonga) ซึ่งตั้งชื่อตามเกาะราโรตองกา เป็นราชอาณาจักรเอกราชที่ตั้งอยู่ในหมู่เกาะคุกในปัจจุบัน ซึ่งสถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2401 อาณาจักรนี้ได้กลายเป็นรัฐในอารักขาของสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2432 โดยความประสงค์ของประเทศนั้นเอง และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นสหพันธรัฐหมู่เกาะคุกในปี พ.ศ. 2436.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและราชอาณาจักรราโรตองกา · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิทรูเรีย

ราชอาณาจักรอิทรูเรีย (Kingdom of Etruria; Regno di Etruria) เป็นราชอาณาจักรที่ประกอบด้วยดินแดนส่วนใหญ่ของทัสกานี ที่รุ่งเรืองระหว่างปี ค.ศ. 1801 และมาสลายตัวลงในปี ค.ศ. 1807 ชื่อของราชอาณาจักรมาจากอิทรูเรียซึ่งเป็นชื่อโรมันโบราณที่ใช้เรียกดินแดนของอีทรัสคัน ราชอาณาจักรอิทรูเรียเกิดจากข้อตกลงในสนธิสัญญาอารังคูเอซ (ค.ศ. 1752) ที่ลงนามกันเมื่อวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและราชอาณาจักรอิทรูเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี (นโปเลียน)

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia หรือ Regno Italico, Kingdom of Italy) เป็นราชอาณาจักรของจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ก่อตั้งขึ้นโดยนโปเลียนทางตอนเหนือของอิตาลีในปี ค.ศ. 1805 และสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1814 เมื่อนโปเลียนได้รับความพ่ายแพ้ ราชอาณาจักรอิตาลีเกิดขึ้นจากสาธารณรัฐอิตาลีที่มีนโปเลียนเป็นประธานาธิบดีได้รับการประกาศให้เป็นราชอาณาจักรโดยมีนโปเลียนเป็นพระมหากษัตริย์และ เออแฌน เดอ โบอาร์เนส์ (Eugène de Beauharnais) เป็นอุปราช นโปเลียนทรงได้รับการสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์ที่มหาวิหารมิลานด้วยมงกุฎเหล็กแห่งลอมบาร์ดี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและราชอาณาจักรอิตาลี (นโปเลียน) · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรตาโวลารา

อาณาจักรตาโวลารา (Regno di Tavolara; ซาร์ดิเนีย: Taulara) เป็นประเทศจำลองที่อ้างเอกราชช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 บนเกาะตาโวลารา ซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะซาร์ดิเนีย ปกครองโดยตระกูลแบร์โตเลโอนี (Bertoleoni) ที่ครั้งหนึ่งเคยอ้างว่าเป็นอาณาจักรที่เล็กที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและราชอาณาจักรตาโวลารา · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย

ราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย หรือ ราชอาณาจักรพีดมอนต์-ซาร์ดิเนีย หรือ ราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย-พีดมอนต์ (Kingdom of Sardinia หรือ Piedmont-Sardinia หรือ Sardinia-Piedmont) เป็นดินแดนที่เป็นของตระกูลซาวอย (House of Savoy) ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรซิซิลี

ราชอาณาจักรซิซิลี (Regnu di Sicilia; Kingdom of Sicily) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศอิตาลีและบนเกาะซิซิลี ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและราชอาณาจักรซิซิลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง

ราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง (Regno delle Due Sicilie; Kingdom of the Two Sicilies) เป็นชื่อใหม่ที่สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง หรือสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 4 แห่งเนเปิลส์แห่งราชวงศ์บูร์บงทรงประทานให้แก่บริเวณทางใต้ของอิตาลีและซิซิลีหลังจากสมัยนโปเลียนและการฟื้นฟูอำนาจเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและราชอาณาจักรซิซิลีทั้งสอง · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรแดลเมเชีย

ราชอาณาจักรแดลเมเชีย (Königreich Dalmatien; Kraljevina Dalmacija; Kingdom of Dalmatia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรียระหว่าง ค.ศ. 1815 จนถึง ค.ศ. 1918 โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ซาดาร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและราชอาณาจักรแดลเมเชีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (List of fields of doctoral studies) นี้จัดทำขึ้นโดย "ศูนย์วิจัยความเห็นแห่งชาติ" (Opinion Research Center หรือ NORC) ที่ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกาจากการสำรวจปริญญาเอกที่มีผู้จบการศึกษารายปี โดยจัดทำให้กับมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐบาลกลางอีกหลายหน่วยงานในสหรัฐฯ ทั้งหมดนี้คือสายวิชาการศึกษาระดับปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยที่มุ่งสู่ปริญญาดุษฎีบัณฑิตปรัชญา (Doctor of Philosophy หรือ Ph.D.) และการศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Education Ed.D 1หรือ D.Ed) ที่เปิดสอนในสหรัฐฯ ซึ่งในปีการศึกษา 2547-2548 พบว่าร้อยละ 90.3 ของปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยจำนวน 43,354 ปริญญาในสหรัฐฯ ปริญญาเป็น Ph.D. และร้อยละ 7.0 เป็น Ed.D. การศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาชีพ (professional doctorates) เช่น แพทยศาสตร์ (Doctor of Medicine - M.D.) และปริญญาเอกด้านกฎหมาย (Juris Doctor - J.D.) ไม่นับรวมในรายชื่อนี้.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนิยายปรัมปรา

รายชื่อเทพนิยาย เทพนิยาย.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรายชื่อนิยายปรัมปรา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ · ดูเพิ่มเติม »

ร็อคกี้ ราชากำปั้น ทุบสังเวียน ภาค 2

ร็อคกี้ ราชากำปั้น ทุบสังเวียน ภาค 2 (Rocky II) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นสัญชาติอเมริกันที่ออกฉายในปี ค.ศ. 1979 กำกับและนำแสดงโดย ซิลเวสเตอร์ สตอลโลน ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาคต่อจากภาพยนตร์เรื่อง ร็อคกี้ ราชากำปั้น ทุบสังเวียน เป็นภาพยนตร์ลำดับที่ 2 ในภาพยนตร์ชุด ร็อคกี้ จัดจำหน่ายโดย ยูไนเต็ด อาร์ตติสส์ ซึ่งภาพยนตร์เรื่องนี้มีภาคต่อคือ ร็อคกี้ 3 ตอน กระชากมงกุฏ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและร็อคกี้ ราชากำปั้น ทุบสังเวียน ภาค 2 · ดูเพิ่มเติม »

ลัมโบร์กีนี เซสโต เอเลเมนโต

ลัมโบร์กีนี เซสโต เอเลเมนโต (Lamborghini Sesto Elemento) เป็นรถยนต์นั่งสมรรถนะสูง เครื่องยนตร์กลางลำหลัง ขับเคลื่อนสี่ล้อหลัง (AWD) 2 ประตู 2 ที่นั่ง ผลิตโดยบริษัทรถยนต์สัญชาติอิตาลี ลัมโบร์กีนี เปิดตัวครั้งแรกที่งาน ปารีส มอเตอร์ โชว์ ปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและลัมโบร์กีนี เซสโต เอเลเมนโต · ดูเพิ่มเติม »

ลัตเตมัคคียาโต

ลัตเตมัคคียาโตที่กรุงอาดดิสอาบาบา ประเทศเอธิโอเปีย ลัตเตมัคคียาโต ลัตเตมัคคียาโต (latte macchiato) เป็นเครื่องดื่มกาแฟชนิดหนึ่ง ชื่อมีความหมายตรงตัวว่า "น้ำนมที่มีรอยด่าง", "น้ำนมที่มีรอยเปื้อน" หรือ "น้ำนมที่ทำสัญลักษณ์ไว้" สื่อถึงวิธีการเตรียมซึ่งนมจะ "ถูกทำให้เปื้อน" ด้วยการเติมกาแฟเอสเปรสโซลงไป ลัตเตมัคคียาโตแตกต่างกับกาแฟลาตเท ("คัฟเฟลลัตเต" ในภาษาอิตาลี) อย่างมีนัยสำคัญหลายประการ ประการแรก ในการชงลัตเตมัคคียาโต จะเทเอสเปรสโซตามหลังนม แทนที่จะเทนมตามหลังเอสเปรสโซอย่างในลาตเท ประการที่สอง ลัตเตมัคคียาโตมีฟองนมปิดด้านบนมากกว่าลาตเท และนิยมใช้เอสเปรสโซเพียงครึ่งช็อตหรือน้อยกว่านั้น ประการสุดท้าย ลัตเตมัคคียาโตเป็นเครื่องดื่มที่จัดเสิร์ฟโดยแยกส่วนนมออกจากส่วนกาแฟเป็นชั้น ๆ แทนที่จะผสมกันอย่างในลาตเท บ่อยครั้ง ผู้ชงกาแฟจะหยดครีมกาแฟหรือเครมา (crema) ลงไปที่ฟองนมด้านบนสุดของกาแฟชนิดนี้อีกเพื่อแยกให้เห็นชัดเจนว่าเป็นลัตเตมัคคียาโต ไม่ใช่ลาตเทซึ่งตามธรรมเนียมจะเทเอสเปรสโซลงไปก่อนแล้วตามด้วยนม ดังนั้นจึงไม่มีการ "ทำสัญลักษณ์" บนลาตเทให้ซ้ำซ้อนกับลัตเตมัคคียาโต ในทางกลับกัน คัฟแฟะมัคคียาโต (เครื่องดื่มอีกชนิดหนึ่งซึ่งมีชื่อคล้ายกัน) ก็คือเอสเปรสโซที่ "ถูกทำให้เปื้อน" ด้วยนมปริมาณเล็กน้อ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและลัตเตมัคคียาโต · ดูเพิ่มเติม »

ลา ทราวิอาทา

ลาทราวิอาทา (La traviata) เป็นอุปรากรภาษาอิตาลีที่เขียนโดยจูเซปเป แวร์ดีผู้เป็นคีตกวีอุปรากรคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 19 “ลาทราวิอาทา” เขียนขึ้นจากเนื้อร้องที่เขียนโดยฟรานเชสโค มาเรีย พิอาเว ที่มีพื้นฐานมาจากบทละคร “La dame aux Camélias” ที่แปลงมาจากนวนิยายที่เขียนโดยอเล็กซองเดรอ ดูมาส์ผู้เยาว์ ชื่ออุปรากร “La traviata” แปลตรงตัวว่า “สตรีนอกลู่นอกทาง” ที่เดิมตั้งใจจะเป็นชื่อ “Violetta” ตามชื่อตัวละครเอก “ลาทราวิอาทา” เปิดแสดงเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1853ที่เวนิสในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและลา ทราวิอาทา · ดูเพิ่มเติม »

ลาตเท

ลาตเท ฟองนมที่วาดเป็นลวดลายบนลาตเท ลาตเท หรือ แลตเท (latte) คือเครื่องดื่มกาแฟที่เตรียมด้วยนมร้อน โดยเทเอสเปรสโซ 1/3 ส่วน และนมร้อนที่ตีด้วยไอน้ำจากเครื่องชง 2/3 ส่วน ลงในถ้วยพร้อม ๆ กัน และจะหยอดฟองนมหนาประมาณ 1 เซนติเมตร ทับข้างบน กาแฟชนิดนี้มีหน้าตาคล้ายกับกาเฟโอแลของฝรั่งเศสมาก แต่กาเฟโอแลมักเตรียมจากกาแฟดำที่ชงแบบหยด ผสมกับนมที่อุ่นให้ร้อนในอัตราส่วนเท่ากัน "ลาตเท" ในภาษาอังกฤษเป็นรูปคำที่ตัดย่อมาจากชื่อกาแฟชนิดเดียวกันในภาษาอิตาลีว่า คัฟเฟลลัตเต (caffellatte, caffelatte) หรือ คัฟแฟะลัตเต (caffè latte) แปลว่า "กาแฟนม" ดังนั้น หากไปสั่ง "ลัตเต" (latte) ตามร้านเครื่องดื่มในประเทศอิตาลี ก็จะได้เพียงนมเท่านั้น ลาตเทเริ่มเป็นที่นิยมนอกประเทศอิตาลีในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 ในการชงลาตเท ผู้ชงกาแฟที่ชำนาญงานจะใช้วิธีขยับข้อมือเล็กน้อยขณะที่รินนมและฟองนมลงบนกาแฟ ทำให้เกิดลวดลายต่าง ๆ เรียกว่า ศิลปะลาตเท (latte art) หรือศิลปะฟองนมในถ้วยกาแฟ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและลาตเท · ดูเพิ่มเติม »

ลิขิตรัก ข้ามเวลา

ระวังสับสนกับซีรีส์: ลิขิตรักข้ามเวลา ลิขิตรัก ข้ามเวลา (Il Mare; ฮันกึล: 시월애; ฮันจา: 時越愛; อาร์อาร์: Siworae; คำแปล: "ความรักอยู่เหนือกาลเวลา") ภาพยนตร์เกาหลีในแนวรักโรแมนติกแฟนตาซี ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและลิขิตรัก ข้ามเวลา · ดูเพิ่มเติม »

ลิงกวาฟรังกาโนวา

งลิงกวาฟรังกาโนวา ลิงกวาฟรังกาโนวา (Lingua Franca Nova) หรือ เอเลเฟน (Elefen) เป็นภาษาประดิษฐ์ช่วยในการสื่อสาร โดย ดร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและลิงกวาฟรังกาโนวา · ดูเพิ่มเติม »

ลีเออร์นา

ลีเออร์นา (อิตาลี: Lierna) เป็นเทศบาลในแคว้นลอมบาร์เดีย อยู่ทางเหนือของประเทศอิตาลี หมวดหมู่:เมืองในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและลีเออร์นา · ดูเพิ่มเติม »

วันทาพระราชินี

“วันทาพระราชินี” (Hail Holy Queen, Salve Regina) เป็นบทภาวนาอ้อนวอนถึงพระนางมารีย์พรหมจารี พระมารดาของพระเยซู สามารถใช้ได้ตั้งแต่ตั้งแต่ช่วงทำวัตรเย็นของวันสมโภชพระตรีเอกภาพจนถึงทำวัตรบ่ายของวันเสาร์ก่อนวันอาทิตย์สัปดาห์แรกของเทศกาลเตรียมรับเสด็จ (en:Advent) และยังเป็นบทภาวนาที่ใช้สวดปิดการสวดสายประคำอีกด้วย บุญราศีแฮร์มันน์แห่งไรเชเนา นักพรตคณะเบเนดิกตินท่านหนึ่งในสมัยกลางได้แต่งบทภาวนานี้ขึ้นเพื่อขอความช่วยเหลือจากพระนางในช่วงวิกฤตของชีวิต บทภาวนา วันทาพระราชินี ในตอนแรกได้ถูกประพันธ์เป็นภาษาละตินเพื่อบรรยายสภาพมนุษย์ที่ต้องการความช่วยเหลือ มนุษย์ทั้งชายและหญิงกำลัง “ถอนใจคร่ำครวญ ร่ำไห้ในเหวน้ำตานี้” เขาทั้งหลายจึงร้องตะโกนเช่นเดียวกับประชากรอิสราเอล ร้องหาพระยาห์เวห์เมื่อถูกชาวอียิปต์กดขี่ข่มเหง และพระองค์ทรงตอบสนอง โดยเสด็จมาช่วยเขาให้พ้นความทุกข์ทรมาน (เทียบ อพย3:7-8) หลังจากที่ได้บรรยายสภาพมนุษย์ผู้ต้องการความช่วยเหลือแล้ว บท “วันทาพระราชินี” ไม่วอนขอพระแม่ให้ทรงฟังเสียงร้องแสดงความทุกข์ทรมานของ “ผู้เป็นลูกหลานที่ถูกเนรเทศของเอวา” แต่วอนขอว่า “โปรดเถิดพระแม่ผู้ทรงช่วยเหลือเกื้อกูลลูก โปรดทอดพระเนตร..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและวันทาพระราชินี · ดูเพิ่มเติม »

วาทยกร

วาทยกร (conductor) หรือผู้อำนวยเพลง คือคนที่ตีความหมายของบทเพลง โดยเห็นภาพรวมทั้งหมดของวงดนตรี มีหน้าที่ดึงความสัมพันธ์ของเครื่องดนตรีแต่ละชิ้นออกมาเพื่อสอดผสานรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน อาจกล่าวอีกนัยได้ว่า วาทยกรเป็นผู้ที่สื่อสารกับนักดนตรีด้วยภาษามือ เป็นเหมือนภาษาใบ้ที่ใช้กับดนตรี พร้อมกันนี้วาทยกรต้องมีความเป็นผู้นำที่สามารถให้ความเชื่อมั่นแก่นักดนตรีด้วย เสมือนผู้กำกับ วาทยกรควบคุมวงดนตรีโดยการใช้รหัสหรือสัญญาณมือ มักถือไม้บาตอง (Baton) ที่มือขวาสำหรับให้จังหวะ ส่วนมือซ้ายจะควบคุมในด้านอื่น เช่น ให้นักดนตรีเล่นเสียงดังหรือค่อย หรือเป็นการแสดงออกด้านอารมณ์อื่น ๆ ที่วาทยกรต้องการสื่อสารกับนักดนตรีในวง วาทยากรจะพบในการแสดงดนตรีที่ใช้นักดนตรีจำนวนมาก เช่นในวง ออร์เคสตร้า วงประสานเสียง ส่วนการบรรเลงดนตรีในวงดุริยางค์ของกองทัพ อาจเรียกว่า หัวหน้าวงดุริยางค์ วาทยกรผู้เป็นสมาชิกของวงออร์เคสตร้าจะเป็นคนที่กำหนดทิศทางของวง ซึ่งบางครั้งเรียกว่า ผู้กำกับดนตรี หรือเรียกว่า คาเปลไมสเตอร์ (Kapellmeister) ในภาษาเยอรมันซึ่งหมายความถึง หัวหน้าวาทยากรในวงออร์เคสตร้าเยอรมัน สำหรับวาทยกรของวงประสานเสียง จะเรียก ผู้ควบคุมวงประสานเสียง ส่วนวาทยากรอาวุโสจะเรียกว่า มาเอสโตร (maestro - นาย) ในภาษาอิตาเลียน แต่ความสำคัญของวาทยกรนั้น ไม่ได้อยู่แค่ที่การกำกับวงออกแสดงเท่านั้น กลับอยู่ที่การฝึกซ้อมนักดนตรีให้เล่นคีตนิพนธ์ต่าง ๆ ตามการตีความของวาทยกรแต่ละคน การนำวงดุริยางค์ออกแสดงเป็นแต่เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ของการเล่นและการตีความคีตนิพนธ์นั้น ๆ เพราะการฝึกซ้อมต้องใช้เวลาที่ยาวนานกว่าการออกแสดงแต่ละครั้ง ทั้งนี้วาทยกรยังต้องเป็นผู้ที่สามารถแนะนำหรือแก้ไขเทคนิคต่าง ๆ ให้แก่นักดนตรีได้ วาทยกรที่ดีจึงมักจะเป็นนักดนตรีที่ดีมาก่อนด้วย จึงจะสามารถเข้าใจปัญหาของวงได้เป็นอย่างดี และรู้ความสามารถและขีดจำกัดของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด วาทยกรที่ดีเป็นแบบใดนั้น เป็นเรื่องที่ให้คำจำกัดความได้ยาก เพราะวาทยกรบางคนให้จังหวะแก่นักดนตรีได้อย่างแม่นยำ แต่วาทยกรบางคนก็ดูประหนึ่งว่าไม่ค่อยให้จังหวะแก่นักดนตรี หรือที่นักดนตรีเรียกว่า "ให้คิว" แต่กลับสื่อสารกับนักดนตรีได้อย่างสมบูรณ์แบบ ดังนั้น คุณค่าของวาทยกรจึงไม่ได้อยู่ที่ลีลาการกำกับวงเมื่อออกแสดง แต่อยู่ที่การฝึกซ้อมและการสื่อสารกับนักดนตรีให้เข้าใจ วาทยกรใหญ่หลายต่อหลายคนออกท่าทางน้อยมาก เช่น อิกอร์ มาร์เควิช (Igor Markevitch) หรือบางคนอาจดูเหมือนให้จังหวะที่สับสน เช่น วิลเฮ็ล์ม ฟวร์ตแวงเลอร์ (Wilhelm Furtwangler) แต่บทเพลงภายใต้การกำกับวงของเขาเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าเต็มเปี่ยมไปด้วยความล้ำลึก คุณค่าของวาทยกรจึงมิได้วัดด้วยสายตา แต่ต้องวัดจากการฟังของผู้ฟัง หมวดหมู่:อาชีพ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและวาทยกร · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาอิตาลี

วิกิพีเดียภาษาอิตาลี (เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาอิตาลี เริ่มสร้างเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2544 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาอิตาลีมีบทความมากกว่า 1,200,000 บทความ (มกราคม 2559).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและวิกิพีเดียภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาการคอมพิวเตอร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer science) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือข่าย ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับนามธรรม หรือความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ไปจนถึงระดับรูปธรรม เช่น ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฎีเครือข่าย ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและวิทยาการคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สกอร์โปนอค

กอร์โปนอค เป็นชื่อตัวละครจากภาพยนตร์ซีรีส์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส เป็นหุ่นยนต์ฝ่ายของดีเซปติคอน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสกอร์โปนอค · ดูเพิ่มเติม »

สภายุโรป

รป (Council of Europe, ตัวย่อ CoE, Conseil de l'Europe) เป็นองค์การระหว่างรัฐบาลส่วนภูมิภาค (regional intergovernmental organisation) ที่ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสภายุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธรัฐเยอรมัน

มาพันธรัฐเยอรมัน (German Confederation; Deutscher Bund) เป็นสมาคม 39 รัฐเยอรมันในยุโรปกลางอย่างหลวม ตั้งขึ้นโดยการประชุมใหญ่แห่งเวียนน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสมาพันธรัฐเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมคาร์โบนารี

ร์โบนารี หรือคาร์โบนีเรีย (Carboneria) เป็นชื่อสมาคมลับของชาวอิตาลีซึ่งยึดหลักอุดมการณ์เสรีนิยมสนับสนุนระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐและเน้นความรักชาติ สมาคมนี้เริ่มต้นจากขบวนการต่อต้านการปกครองฝรั่งเศสในรัฐเนเปิลส์ระหว่างสงครามนโปเลียน (Napoleonic Wars ค.ศ.1803-1815) และต่อมาดำเนินกิจกรรมทางการเมืองเพื่อต่อต้านระบบอนุรักษนิยมตลอดจนอำนาจและอิทธิพลของจักรวรรดิออสเตรียในคาบสมุทรอิตาลี เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายในการรวมชาต.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสมาคมคาร์โบนารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียม (Fabiola, koningin der Belgen; Fabiola, Reine des Belges; พระราชสมภพ: 11 มิถุนายน ค.ศ. 1928 – สวรรคต: 5 ธันวาคม ค.ศ. 2014) หรือพระนามเดิมว่า ดอญญา ฟาเบียวลา เด โมรา อี อารากอน (Doña Fabiola de Mora y Aragón) สตรีชาวสเปนที่ต่อมาได้เป็นสมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม ครั้นเมื่อพระราชสวามีได้เสด็จสวรรคตลงในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม (Mathilde, Reine des Belges; Mathilde, koningin der Belgen; พระราชสมภพ: 20 มกราคม ค.ศ. 1973) หรือพระนามเดิมว่า มาตีลด์ มารี คริสตียาน กีแลน ดูว์เดอแกม ดาโก (Mathilde Marie Christiane Ghislaine d'Udekem d'Acoz) สมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม มีเชื้อสายสืบแต่สกุลขุนนางของโปแลนด์ พระองค์เป็นพระราชินีพระองค์แรกที่ถือสัญชาติเบลเยียม ภายหลังจากการขึ้นครองราชย์ของพระราชสวามี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสมเด็จพระราชินีมาตีลด์แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สวนปริศนา

วนปริศนา หรือ สวนลับ หรือ ในสวนศรี หรือ ในสวนลับ (The Secret Garden) เป็นวรรณกรรมเด็กของนางฟรานเซส ฮอดจ์สัน เบอร์เนทท์ ที่เดิมพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารเริ่มตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสวนปริศนา · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐหมู่เกาะคุก

หพันธรัฐหมู่เกาะคุกก่อตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1893 ในฐานะเขตการปกครองซึ่งตั้งขึ้นมาแทนที่ราชอาณาจักรราโรตองกา ต่อมาในปี ค.ศ. 1901 สหราชอาณาจักร จึงได้มอบอำนาจการดูแลดินแดนแห่งนี้ให้อยู่ภายใต้การบริหารของประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสหพันธรัฐหมู่เกาะคุก · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สัทอักษรสากล

ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2015 สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไท.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสัทอักษรสากล · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐกอสปายา

รณรัฐกอสปายา (Repubblica di Cospaia; อัลโตตีเบรีนี: Cošpèja) เป็นอดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็กแห่งหนึ่งของยุโรปคั่นกลางระหว่างรัฐสันตะปาปากับสาธารณรัฐฟลอเรนซ์ มีเอกราชช่วงปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสาธารณรัฐกอสปายา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี

รณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี (Jamhuuriyadda Dimuqraadiga Soomaaliya, الجمهورية الديمقراطية الصومالية al-Jumhūrīyah ad-Dīmuqrāṭīyah aṣ-Ṣūmālīyah, Repubblica Democratica Somala) เป็นชื่อรัฐคอมมิวนิสต์ ของอดีตประธานาธิบดีโซมาเลีย พลตรีโมฮัมเหม็ด ไซอัด บาร์รี ให้กับประเทศโซมาเลีย ในช่วงสมัยของตนหลังจากการรัฐประหารยึดอำนาจในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโรมัน (คริสต์ศตวรรษที่ 19)

รณรัฐโรมัน (Repubblica Romana, Roman Republic) สถาปนาสาธารณรัฐอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสาธารณรัฐโรมัน (คริสต์ศตวรรษที่ 19) · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโซมาลี

รณรัฐโซมาลี (Jamhuuriyadda Soomaaliyeed, Repubblica Somala, جمهورية الصومال) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศโซมาเลีย หลังจากได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสาธารณรัฐโซมาลี · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโนลี

รณรัฐโนลี (Repubblica di Noli; ลีกูรา: Nöi) เป็นสาธารณรัฐพาณิชยนาวี (Maritime republic) ขนาดเล็กแห่งหนึ่งในยุโรป มีเอกราชช่วงปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสาธารณรัฐโนลี · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเวนิส

รณรัฐอันสงบสุขเป็นที่สุดแห่งเวนิส หรือ สาธารณรัฐเวนิส (Republic of Venice หรือ Venetian Republic, Serenissima Repubblica di Venezia) เป็นรัฐที่เริ่มขึ้นในเมืองเวนิสที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี สาธารณรัฐเวนิสรุ่งเรืองอยู่กว่าหนึ่งพันปีตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 จนกระทั่งถึงปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสาธารณรัฐเวนิส · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเจนัว

รณรัฐอันสงบสุขเป็นที่สุดแห่งเจนัว หรือ สาธารณรัฐเจนัว (The Most Serene Republic of Genoa หรือ Republic of Genoa, Repubblica di Genova, ลิกูเรียน: Repúbrica de Zêna) เป็นรัฐอิสระที่ตั้งอยู่ที่ลิกูเรียทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของฝั่งทะเลอิตาลี ที่รุ่งเรืองตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11 มาจนถึง..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสาธารณรัฐเจนัว · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเซนารีกา

รณรัฐเซนารีกา (Repubblica di Senarica) เป็นอดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็กแห่งหนึ่งของยุโรป มีเอกราชช่วงปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสาธารณรัฐเซนารีกา · ดูเพิ่มเติม »

สตรีโกย

ตรีโกย จากสารคดีชุด ''Lost Tapes'' สตรีโกย (Strigoi; striga; หมายถึง โพลเทอร์ไกสท์) เป็นผีหรือปิศาจตามความเชื่อของชาวโรมาเนียประเภทแวมไพร์อย่างหนึ่ง สตรีโกยไม่เหมือนแวมไพร์อย่างอื่นตรงที่จะไม่ดูดเลือดจากมนุษย์โดยตรง แต่จะดูดวิญญาณหรือพลังชีวิตจากเหยื่อแทน สตรีโกยจะมีหางเล็ก ๆ งอกออกมาเหมือนกระดูกก้นกบที่ยาวผิดปกติ และยังเชื่ออีกว่าสตรีโกยมีพลังเหนือธรรมชาติสามารถเคลื่อนย้ายผลผลิตของชาวนาหรือรีดนมจากแม่วัวให้หมดไปได้ เพื่อให้ชาวนาและครอบครัวอดตาย สตรีโกย เป็นความเชื่อเรื่องแวมไพร์แบบพื้นบ้านของโรมาเนีย ผู้ที่เป็นสตรีโกยยังอาจหมายถึงแม่มด หรือผู้ที่เล่นเวทมนตร์ไสยศาสตร์ คำว่า สตรีโกย มาจากรากศัพท์ภาษาโรมาเนียคำกริยาที่หมายถึง "กรีดร้อง" ที่มาจากภาษาละตินคำว่า strix หรือ striga ซึ่งรากศัพท์หมายถึงนกฮูกหรือประเภทของนกฮูก หรือหมายถึงปรสิตดูดเลือด เช่น Strigeidida ซึ่งเป็นคำเดียวกันที่พบได้ทั่วทั้งภาษาโรมานซ์ เช่นภาษาอิตาลี strega หรือภาษาเวนิส คำว่า strěga แปลว่า "แม่มด" ในภาษาฝรั่งเศส stryge หมายถึง นกผู้หญิงที่ดูดเลือดเด็ก ฌูล แวร์น นักเขียนนิยายชาวฝรั่งเศสได้ใช้คำว่า "stryges" ในบทที่ 2 ในนิยายของตนเรื่อง The Carpathian Castle ตีพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสตรีโกย · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญานาวิกวอชิงตัน

นธิสัญญานาวิกวอชิงตัน (Washington Naval Treaty) หรือ สนธิสัญญาห้ามหาอำนาจ (Five-Power Treaty) เป็นสนธิสัญญาจำกัดอาวุธยุทธภัณฑ์ทางนาวีของประเทศที่ร่วมลงนาม 5 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา, จักรวรรดิบริติช, จักรวรรดิญี่ปุ่น, สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3, และราชอาณาจักรอิตาลี โดยเป็นผลพวงจากการประชุมนาวิกวอชิงตันที่วอชิงตัน ดี.ซี. ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสนธิสัญญานาวิกวอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)

นธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1919 โดยพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งผู้เป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะในสงคราม กับสาธารณรัฐออสเตรียอีกฝ่ายหนึ่ง สนธิสัญญานี้ก็เช่นเดียวกับสนธิสัญญาแวร์ซายกับจักรวรรดิเยอรมันที่เป็นสนธิสัญญาที่มีเนื้อหาที่ร่างโดยสันนิบาตชาติ และผลก็มิได้รับการรับรองจากสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาประกาศการยุบเลิกจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี สาธารณรัฐใหม่ของออสเตรียประกอบด้วยบริเวณแอลป์ที่พูดภาษาเยอรมันของอดีตจักรวรรดิออสเตรีย, ยอมรับอิสรภาพของฮังการี, เชโกสโลวาเกีย, โปแลนด์ และรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ สนธิสัญญารวมการจ่ายค่าปฏิกรรมหรือค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากสงครามเป็นจำนวนมหาศาลโดยตรงต่อฝ่ายพันธมิตร ดินแดนในครอบครองของออสเตรียถูกลดลงไปเป็นเชโกสโลวาเกีย โปแลนด์ และยูโกสลาเวีย และดินแดนส่วนอื่นให้แก่อิตาลี และโรมาเนีย แต่เบอร์เกนแลนด์ที่เดิมเป็นของฮังการีกลับมาเป็นของออสเตรีย ข้อสำคัญของสนธิสัญญาระบุยับยั้งออสเตรียจากการเปลี่ยนสถานะภาพของความเป็นอิสรภาพ ที่หมายถึงสาธารณรัฐใหม่เยอรมันออสเตรียที่เป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนี ออสเตรียไม่สามารถเข้าทำการรวมตัวไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจหรือทางการเมืองร่วมกับเยอรมนีโดยมิได้รับความเห็นชอบกับสันนิบาตชาติ กองทัพออสเตรียถูกจำกัดจำนวนลงเหลือเพียงกองทหารอาสาสมัคร 30,000 คน นอกจากนั้นก็ยังมีข้อปลีกย่อยที่เกี่ยวกับการเดินเรือบนลำแม่น้ำดานูบ, การเปลี่ยนมือของระบบการรถไฟ และการแบ่งแยกจักรวรรดิออกเป็นรัฐอิสระย่อย ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919) · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเฮลแลสเวโรนา

กราฟแสดงพัฒนาของเฮลแลสเวโรนาในระบบลีกฟุตบอลอิตาลี ตั้งแต่ฤดูกาล 1929/30 สโมสรฟุตบอลเฮลแลสเวโรนา หรือ เฮลแลสเวโรนา, เวโรนา, เฮลแลส เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพอิตาลี ตั้งอยู่ที่เมืองเวโรนา แคว้นเวเนโต ปัจจุบันกำลังเล่นในเซเรียอา ซึ่งเวโรนาเคยคว้าแชมป์เซเรียอาในฤดูกาล 1984–85 ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสโมสรฟุตบอลเฮลแลสเวโรนา · ดูเพิ่มเติม »

สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด

นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ต่อมาได้จัดจำหน่ายโดย RKO Radio Pictures เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 เรื่องราวของเรื่องปรับปรุงมาจากแผ่นป้ายเรียบเรียงฉาก ของ Ann Blank, Richard Creedon, Merrill De Maris, Otto Englander, Earl Hurd, Dick Rickard, Ted Sears และ Webb Smith จากนวนิยายเยอรมันเรื่อง สโนว์ไวต์ ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เดวิด แฮนด์เป็นผู้อำนวยการผลิต ส่วน William Cottrell, Wilfred Jackson, Larry Morey, Perce Pearce และ Ben Sharpsteen กำกับลำดับภาพ สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นหนึ่งใน 2 ภาพยนตร์การ์ตูนที่ติดอันดับภาพยนตร์อเมริกาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 เรื่อง จากสถาบันภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

สเตลล่า มาลูกี้

ตลล่า มาลูกี้ (Stella Malucchi) เป็นนักแสดงลูกครึ่งอิตาลี-โคลัมเบีย มีชื่อเสียงจากบท รำเพย ในภาพยนตร์เรื่อง ฟ้าทะลายโจร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและสเตลล่า มาลูกี้ · ดูเพิ่มเติม »

หมึก (อาหาร)

หมึก เป็นสัตว์ที่นิยมนำมาทำอาหารมากมายทั่วโลก คำว่า กาลามารี (calamari) ในภาษาอิตาลีซึ่งหมายถึงหมึกได้กลายเป็นคำสามัญในภาษาอังกฤษหมายถึงอาหารที่ทำจากหมึก โดยเฉพาะหมึกทอด ความหลากหลายของอาหารที่ทำจากหมึกในพื้นที่ต่าง ๆ มีดังนี้.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและหมึก (อาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เป็นระบบการทับศัพท์ที่นิยมใช้มากที่สุดระบบหนึ่งในประเทศไทย โดยคณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การทับศัพท์และคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (เดิมคือราชบัณฑิตยสถาน) เป็นผู้กำหนดและเสนอหลักเกณฑ์ต่อสำนักงานราชบัณฑิตยสภาเพื่อออกประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้หลักเกณฑ์ จากนั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะเป็นผู้เสนอหลักเกณฑ์ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แล้วลงประกาศเผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ ดูว์ครุแอ

หลุยส์ รอแบร์ ปอล ดูว์ครุแอ (Louis Robert Paul Ducruet, เกิด 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535) พระโอรสองค์ใหญ่ในเจ้าหญิงสเตฟานีแห่งโมนาโก กับนายดาเนียล ดูว์ครุแอ อดีตราชองครักษ์ส่วนพระอง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและหลุยส์ ดูว์ครุแอ · ดูเพิ่มเติม »

หอศิลป์อุฟฟีซี

หอศิลป์อุฟฟิซิ (ภาษาอิตาลี: Galleria degli Uffizi) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี “หอศิลป์อุฟฟิซิ” เป็นพิพิธภัณฑ์ที่เก่าที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดในบรรดาพิพิธภัณฑ์ศิลปะในโลก ตัวพิพิธภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของ “พาลัซโซ เดกลิ อุฟฟิซิ” ซึ่งเป็นพาลัซโซ (Palazzo) ในเมืองฟลอเรนซ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและหอศิลป์อุฟฟีซี · ดูเพิ่มเติม »

หอหลังคาโดม

หร่าอุคบา หรือ “the Great Mosque of Kairouan” ที่ตั้งอยู่ที่ตูนิเซีย หอหลังคาโดม (Cupola) ในทางสถาปัตยกรรมหมายถึงโครงสร้างขนาดเล็กที่มีลักษณะเหมือนโดมที่ตั้งอยู่ตอนบนของสิ่งก่อสร้าง ที่มักจะใช้สำหรับเป็นที่สังเกตการณ์หรือเป็นช่องระบายอากาศ ที่ตอนบนมักจะเป็นหลังคาหรือโดมที่ใหญ่กว่า “Cupola” มาจากภาษาอิตาลีที่แผลงมาจากภาษาละตินขั้นต่ำ “Cupula” (ภาษาละตินคลาสสิก “Cupella” ที่มาจากภาษากรีก “kypellon”) ที่แปลว่าถ้วยเล็ก (ภาษาละติน “Cupa”) ที่เป็นทรงของเพดานโค้งที่รูปร่างเหมือนถ้วยคว่ำ หอหลังคาโดมมักจะพบในสิ่งก่อสร้างที่มีขนาดเล็ก ที่อาจจะใช้เป็นหอระฆัง, หอโคม หรือ หอทัศนาเหนือหลังคาหลัก หรือในบางกรณีก็อาจจะใช้ตกแต่งประดับหอ, ยอดแหลม หรือ หอกลมยอดแหลม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและหอหลังคาโดม · ดูเพิ่มเติม »

หอเอนเมืองปิซา

300px หอเอนเมืองปิซา (อิตาลี: Torre pendente di Pisa หรือ La Torre di Pisa; อังกฤษ: Leaning Tower of Pisa) ตั้งอยู่ที่เมืองปิซา ในจัตุรัสเปียซซา เดล ดูโอโม (Piazza Del Duomo) หอระฆังของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เป็นหอทรงกระบอก 8 ชั้น สร้างด้วยหินอ่อนสีขาว สูง 183.3 ฟุต (55.86 เมตร) น้ำหนักรวม 14,500 ตันโดยประมาณ มีบันได 293 ขั้น เอียง 3.97 องศา ยอดของหอห่างจากแนวตั้งฉาก 3.9 เมตร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและหอเอนเมืองปิซา · ดูเพิ่มเติม »

หนีตามกาลิเลโอ

หนีตามกาลิเลโอ (Dear Galileo) (เดิมชื่อ กาลิเลโอ เพราะโลกมีแรงดึงดูด) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก/ดราม่า มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ไปถ่ายทำไกลถึง 3 ประเทศ 3 เมือง คือ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ, ปารีส ประเทศฝรั่งเศส และ เวนิส ประเทศอิตาลี ภาพยนตร์ทำรายได้ 30.34 ล้านบาท.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและหนีตามกาลิเลโอ · ดูเพิ่มเติม »

หน้ากากแก้ว

หน้ากากแก้ว หรือ นักรักโลกมายา เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของ ซุสุเอะ มิอุจิ ที่ได้รับความนิยมอย่างสูง ทั้งในประเทศญี่ปุ่นและต่างประเทศ รวมถึงประเทศไทย ซึ่งนอกจากหนังสือการ์ตูนแล้ว หน้ากากแก้วยังโด่งดังจนถูกสร้างเป็นละครวิทยุ ภาพยนตร์การ์ตูน OVA ละครโทรทัศน์ ละครเวที และละครโนด้วย การ์ตูนเรื่องนี้โด่งดัง ด้วยคาแร็กเตอร์ที่โดดเด่นของนางเอก "มายะ" ที่มีพรสวรรค์ในการแสดงเป็นอย่างมาก เธอต้องผ่านบททดสอบและพิสูจน์ความสามารถในการแสดงต่างๆมากมาย เห็นได้จากฉากนึง ที่เธอต้องรับมือกับการแสดงท่าทาง โดยห้ามพูดอะไรใดๆ นอกจากคำว่า "ค่ะ" "ใช่ค่ะ" "ขอบคุณค่ะ" "ขอโทษค่ะ" และตัวละครรอบข้างก็ได้เล่นบทส่งที่มีความท้าทายเพื่อบีบให้เธอไม่สามารถแสดงบทโต้ตอบได้ แต่เธอก็ใช้วิธีสมมติเหตุการณ์และสิ่งต่างๆที่มองไม่เห็น แต่สื่อให้ทุกคนเข้าใจได้ว่าเธอสื่อถึงอะไร พร้อมพูดคำสั้นๆตามโจทย์ได้อย่างไหลลื่นไม่มีติดขัด ทำเอาทุกคนตะลึงกันไปเลย เอกลักษณ์ของเธอคือการแสดงละครอย่างเป็นธรรมชาติ สามารถสวมรอยเป็นตัวละครต่างๆได้ทุกบทบาท จนลืมความเป็นตัวตนของตัวเองไปขณะแสดง และต้องพบกับคู่ต่อสู้ที่ดูเหนือกว่าเธอทุกด้านอย่าง "อายูมิ" โดยมี "นายกุหลาบสีม่วง" บุคคลลึกลับ ผู้ให้การสนับสนุนอยู่เบื้องหลัง เธอจะรับมือกับอายูมิอย่างไร เพื่อก้าวเข้าสู่เวทีที่เต็มไปด้วยการแข่งขัน และเพื่อแย่งชิงบท นางฟ้าสีแดง น่าติดตามมากๆ หน้ากากแก้ว ได้ถูกตีพิมพ์ออกจำหน่ายในหลายๆ ประเทศ โดยใช้ชื่อเรื่องที่แตกต่างกันไปตามภาษาของประเทศนั้นๆ เช่น ฉบับภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า Mask of Glass (มาสก์ออฟกลาส) หรือ Glass Mask (กลาสมาสก์) ฉบับภาษาอิตาลีใช้ชื่อว่า Il grande sogno di Maya และฉบับภาษาฝรั่งเศสใช้ชื่อว่า Laura ou la passion du théâtre สำหรับการจัดพิมพ์ในประเทศไทยช่วงแรกๆ ไม่ค่อยแน่ชัดนักในเรื่องของลิขสิทธิ์ ครั้งแรกจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์มิตรไมตรีใช้ชื่อว่า "หน้ากากแก้ว" ตีพิมพ์เล่ม 1-4 เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2523-2524 หลังจากนั้นเปลี่ยนมาจัดพิมพ์โดย วิบูลย์กิจ ใช้ชื่อว่า "นักรักโลกมายา" มีประมาณ 56 เล่ม (ยังไม่จบ) และต่อมาก็เป็น สยามอินเตอร์คอมิกส์ ที่ได้รับลิขสิทธิ์ตีพิมพ์อย่างถูกต้องตามกฎหมาย โดยได้มีการตีพิมพ์มาแล้วถึง 3 ครั้ง ซึ่งในครั้งที่ 2 นี่เอง ที่ได้เปลี่ยนชื่อ "นักรักโลกมายา" มาเป็น "หน้ากากแก้ว" เพื่อให้ตรงกับความหมายในภาษาญี่ปุ่นมากขึ้น ซึ่งล่าสุดตีพิมพ์ถึงฉบับที่ 49 ส่วนฉบับที่ 50 ที่มีกำหนดการจะวางขายที่ญี่ปุ่น ในวันที่ 27 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและหน้ากากแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

หน้าต่างหัวใจ สุดปลายทางรัก

หน้าต่างหัวใจ สุดปลายทางรัก เป็นภาพยนตร์อิตาลี ออกฉายเมื่อปี ค.ศ. 2003 กำกับโดย Ferzan Özpetek จำหน่ายโดย Sony Pictures Classics.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและหน้าต่างหัวใจ สุดปลายทางรัก · ดูเพิ่มเติม »

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์

ห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ (Dexter's Laboratory) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Gendy Tatakovsky โดยค่าย Hanna-Barbera Cartoons ในปี 1996-1998 และเปลี่ยนมือมาเป็น Cartoon Network Studios ในปี 2001-2003 ฉายทั่วโลกผ่านทางช่อง Cartoon Network และทางยูบีซีช่อง 29 (ปัจจุบันทรูวิชั่นส์ ช่อง 44) สำหรับประเทศไทย ปัจจุบันออกอากาศที่ช่องบูมเมอแรง ช่อง 89 เรื่องราวของห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ เป็นเรื่องราวของเด็กซ์เตอร์ เด็กอัจฉริยะ ผู้ซึ่งมีสติปัญญาเหนือเด็กทั่วไป เขามีห้องทดลองลับอยู่ในห้องนอนของเขา โดยในแต่ละตอนเขามีหน้าที่ปกป้องห้องทดลองของเขาจากดีดี พี่สาวตัวร้าย และต้องไม่ให้พ่อกับแม่รู้เรื่องนี้อีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและห้องทดลองของเด็กซ์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ออมนิทริกซ์

ออมนิทริกซ์ (Omnitrix) เป็นอุปกรณ์ของมนุษย์ต่างดาว จากการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกาเรื่องเบ็นเท็น มีลักษณะคล้ายๆกับกำไลข้อมือ ซึ่งเบ็น ตัวเอกของเรื่องหรือตัวละครอื่นๆในเรื่อง ใช้มันเปลี่ยนร่างเป็นเอเลี่ยนที่ถูกเก็บอยู่ข้างใน ซึ่งนิสัยมักจะนึกคิดของตัวเองอยู่เสมอ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและออมนิทริกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ออสการ์ พิสโตริอุส

ออสการ์ เลนเนิร์ด คาร์ล พิสโตริอุส (Oscar Leonard Carl Pistorius; 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1986 —) เป็นนักวิ่งในกีฬาพาราลิมปิกชาวแอฟริกาใต้ ซึ่งรู้จักกันในฐานะ "เบลดรันเนอร์" และ "ชายไร้ขาที่วิ่งได้เร็วที่สุด" พิสโตริอุสซึ่งถูกตัดขาทั้งสองเป็นเจ้าของสถิติโลกในรายการ 100, 200 และ 400 เมตร (สปอร์ทคลาส T44) โดยด้านรายการแข่งขันและการวิ่งแข่งได้รับการช่วยเหลือจากชีต้าเฟล็กซ์-ฟุต (Cheetah Flex-Foot) ด้วยอุปกรณ์เสริมชนิดคาร์บอนไฟเบอร์จากบริษัทออสเซอร์ (Ossur) ใน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและออสการ์ พิสโตริอุส · ดูเพิ่มเติม »

ออสโซบูโก

นื้อที่ใช้ทำออสโซบูโก ออสโซบูโก (ossobuco) เป็นอาหารอิตาลีที่มีต้นกำเนิดในเมืองมิลาน ปรุงจากเนื้อวัวส่วนน่องหรือเนื้อน่องลายตัดตามขวาง นำมาคลุกแป้งแล้วทอดให้พอสุกWaverley Root, The Food of Italy, 1971, p. 272 จากนั้นนำไปอบพร้อมน้ำซุปที่ทำจากหอมหัวใหญ่ แคร์รอต ใบไทม์ กระเทียม โรสแมรี มะเขือเทศ และไวน์แดง กินกับรีซอตโต ชนิด Risotto alla milanese ออสโซบูโกมีสองแบบ แบบสมัยใหม่ใส่มะเขือเทศ แต่แบบดั้งเดิมไม่ใส่ แบบที่เก่ากว่า เรียก ossobuco in bianco จะแต่งกลิ่นด้วยอบเชย ใบเบย์ แบบสมัยใหม่เป็นที่นิยมที่สุด ออสโซบูโกเป็นภาษาอิตาลี แปลว่ากระดูกที่มีช่อง (osso กระดูก, buco ช่อง) ซึ่งเป็นการอ้างถึงรูปร่างของน่องวัวเมื่อตัดตามขวาง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและออสโซบูโก · ดูเพิ่มเติม »

อะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์

อะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์ เป็นซอฟต์แวร์สำหรับรังสรรค์ และทัศนาสื่อภาพเครื่องไหว ภาพยนตร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ บนเว็บเบราว์เซอร์ ในเว็บไซต์ทั่วไปจะสามารถเห็นแฟลซเพลย์เยอร์แสดงภาพเคลื่อนไหวหรือภาพยนตร์ต่างๆ แฟลซเพลย์เยอร์เป็นซอร์ฟแวร์มัลติมีเดีย และ โปรแกรมประยุกต์ที่มีกรรมสิทธิ์ ที่แพร่หลายในวงกว้าง เริ่มต้นพัฒนาโดย แมโครมีเดีย แต่ปัจจุบัน พัฒนาและเผยแพร่โดย อะโดบี หลังจากการควบรวมกิจการ แฟลซ์ เพลย์เยอร์ ทำงานโดยการอ่านไฟล์ SWF ที่เขียนขึ้นโดยโปรแกรม อะโดบี แฟลช, อะโดบี แฟล็ก เครื่องมืออื่นๆ ของแมโครมีเดีย หรือ เครื่องมือที่ผู้ร่วมพัฒนาจัดทำขึ้น อะโดบี แฟลช หรือ เรียกย่อว่า แฟลช มักใช้อ้างถึงทั้ง อะโดบี แฟลช ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม และ อะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์, ซึ่งเขียนและเผยแพร่โดย อะโดบี, สามารถทำงานกับภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ และภาพถ่ายทั่วไป มีภาษาสคริปต์เป็นของตนเองเรียกว่า ActionScript, สามารถเรียกข้อมูลวิดีโอและเสียงแบบสองทิศทาง (Bidirectional Streaming).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอะโดบี แฟลช เพลย์เยอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัสคารี

ฝ่ายสัมพันธมิตรที่วอเตอร์คลูฟ (Waterkloof), พริทอเรีย, ประเทศแอฟริกาใต้ใน ค.ศ. 1943 อัสคารี (Askari) เป็นคำในภาษาอาหรับแปลว่า "ทหาร" (عسكري ‘askarī) โดยทั่วไปแล้วใช้อธิบายถึงกองทหารพื้นเมืองในแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ และแอฟริกากลาง ที่สังกัดกองทัพของอาณานิคมมหาอำนาจยุโรป ชื่อนี้ยังหมายถึงตำรวจ, ตำรวจภูธร และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยอีกด้วย คำนี้ได้ถูกรับเข้าไปในภาษาแอมฮาริค (Amharic), บอสเนียน (Bosnian), อิตาลี, เปอร์เซีย, โปแลนด์, โซมาลี, สวาฮีลี, ตุรกี และ อูรดู ในช่วงระยะเวลาของจักรวรรดิอาณานิคมของยุโรปในทวีปแอฟริกา ทหารรับจ้างพื้นเมืองถูกว่าจ้างโดยกองทัพอาณานิคมของอิตาลี, อังกฤษ, โปรตุเกส, เยอรมัน และเบลเยี่ยม พวกเขามีบทบาทที่สำคัญในการพิชิตดินแดนอาณานิคมหลายพื้นที่ และภายหลังทำหน้าที่เป็นกองทหารรักษาการณ์ และกองกำลังรักษาความปลอดภัยในพื้นที่ ในระหว่างสงครามโลกทั้งสองครั้ง หน่วยอัสคารีได้ทำหน้าที่ภายนอกอาณานิคมของตนในส่วนต่างๆของทวีปแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอัสคารี · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรีย กาสิรากี

อันเดรีย อัลแบร์ ปิแยร์ กาสิรากี (Andrea Albert Pierre Casiraghi, 8 มิถุนายน พ.ศ. 2527) โอรสคนโตในเจ้าหญิงการอลีน เจ้าหญิงแห่งฮาโนเวอร์ กับสเตฟาโน กาสิรากี พระภัสดาคนที่สองชาวอิตาลีของเจ้าหญิงการอลีน ในปัจจุบันอันเดรีย กาสิรากี จัดอยู่ในลำดับที่สี่ของการสืบราชบัลลังก์โมนาโก ต่อจากพระมารดาคือเจ้าหญิงการอลีนVelde, Francois.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอันเดรีย กาสิรากี · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Maria Leopoldina of Austria, de.: Erzherzogin Maria Leopoldine von Österreich, pt.: Maria Leopoldina da Áustria) (พระนามเต็ม: มาเรีย ลีโอโพลดีน่า โจเซฟ่า แคโรไลน์, Maria Leopoldina Josepha Caroline von Habsburg-Lorraine (de Bragança)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย และนอกจากนี้ ยังทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งบราซิล และสมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกสอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอาร์ชดัชเชสมาเรีย ลีโอโพลดีนาแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์แซน แวงแกร์

อาร์แซน แวงแกร์, โอบีอี (Arsène Wenger, ออกเสียง) หรือ อาร์เซน เวงเกอร์ ตามการออกเสียงในภาษาอังกฤษ ในภาษาอังกฤษออกเสียง (สำเนียง Received Pronunciation ในสหราชอาณาจักร) หรือ (สำเนียง General American ในสหรัฐอเมริกา).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอาร์แซน แวงแกร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารค่ำมื้อสุดท้าย (เลโอนาร์โด)

อาหารค่ำมื้อสุดท้าย หรือ The Last Supper ในภาษาอังกฤษ และ Il cenacolo หรือ L'ultima cena ในภาษาอิตาลี เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เลโอนาร์โด ดา วินชี วาดให้แก่ดยุกลูโดวีโก สฟอร์ซา ผู้อุปถัมภ์เขา ภาพเป็นเหตุการณ์ตามพระวรสารภาพเกี่ยวกับอาหารค่ำมื้อสุดท้ายของพระเยซูกับอัครทูต ก่อนที่จะทรงถูกนำไปตรึงกางเขน ภาพวาดนี้ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เนื่องจากถูกวาดด้วยปูนเปียกบนผนัง ภาพวาดนี้ยังถือว่าเป็นภาพวาดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของเลโอนาร์โด ดา วินชี ที่ยังคงสภาพให้มองเห็นได้ในปัจจุบัน และยังถือได้ว่าเป็นหนึ่งในบรรดาจิตรกรรมที่รู้จักกันอยู่ทั่วโลก ภาพวาดนี้ยังเป็นแกนสำคัญของการเดินเรื่องราวของนวนิยายชื่อดังของโลก รหัสลับดาวินชี ที่มีเนื้อหาระบุว่า เลโอนาร์โด ดา วินชี ได้แฝงปริศนาความลับไว้ในภาพโดยแสดงถึงสาวกหญิงใกล้ชิดผู้หนึ่งซึ่งมีสัมพันธ์กับพระเยซู ซึ่งเนื้อหาดังกล่าวได้รับการคัดค้านจากศาสนาจักรคาทอลิกอย่างรุนแรง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอาหารค่ำมื้อสุดท้าย (เลโอนาร์โด) · ดูเพิ่มเติม »

อาเรีย

อาเรีย (Aria) เป็นบทร้องเดี่ยว สำหรับให้ตัวละครเพียงตัวเดียวร้องในการแสดงอุปรากร โดยมีดนตรีจากวงออร์เคสตราเป็นส่วนประกอบ เป็นบทร้องที่เต็มไปด้วยลีลาของดนตรีที่งดงาม เน้นการร้องและดนตรีเป็นหลัก ต่างจากรีซิเททีฟ (Recitative) ที่ใช้แทนการสนทนา อาเรีย มีรากศัพท์มาจากภาษาอิตาลี แปลว่า "air" คำพหูพจน์ใช้คำว่า arie หรือ arias ปรากฏครั้งแรกในการแสดงอุปรากรในคริสต์ศตวรรษที่ 14.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

อำมหิต มร.ริปลีย์

อำมหิต มร.ริปลีย์ ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดเรื่อง The Talented Mr.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอำมหิต มร.ริปลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อิล โตรวาโตเร

ปสเตอร์การแสดงในสหรัฐอเมริกา อิลโตรวาโตเร (Il trovatore; The Troubadour) เป็นอุปรากรภาษาอิตาลีความยาว 4 องก์ ที่เขียนโดยจูเซปเป แวร์ดี จากบทละครภาษาสเปนเรื่อง El Trovador ของอันโตนิโอ การ์เซีย กูเทียเรซ (1813 - 1884) เรื่องราวเกี่ยวกับพวกยิปซี เกิดขึ้นในแคว้นบิสเคย์ และแคว้นอารากองในประเทศสเปนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 อิลโตรวาโตเรแสดงรอบปฐมทัศน์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 19 มกราคม..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอิล โตรวาโตเร · ดูเพิ่มเติม »

อิตาลี (แก้ความกำกวม)

อิตาลี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอิตาลี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

อิตาเลียนลิเบีย

อิตาเลียนลิเบีย หรือ ลิเบียของอิตาลี (Italian Libya, Libia Italiana) เป็นอาณานิคมรวม (unified colony) ของดินแดนแอฟริกาเหนือของอิตาลี ก่อตั้งขึนในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอิตาเลียนลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

อีมาน (นางแบบ)

อีมาน มุฮัมมัด อับดุลมะญีด (Iimaan Maxamed Cabdulmajiid, ايمان محمد عبد المجيد, เกิด: 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1955) หรือที่รู้จักกันในชื่อ อีมาน (มาจากภาษาอาหรับมีความหมายว่า "ศรัทธา") เป็น นางแบบ, นักแสดง และผู้ประกอบการชาวอเมริกันเชื้อสายโซมาเลีย เธอเป็นภรรยาคนปัจจุบันของเดวิด โบอี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอีมาน (นางแบบ) · ดูเพิ่มเติม »

อ็อกเทฟ

อ็อกเทฟ (octave) หรือ ขั้นคู่แปดเพอร์เฟกต์ (perfect eighth) มักเขียนย่อเป็น 8ve หรือ P8 คือขั้นคู่เสียง (interval) ที่เทียบจากโน้ตดนตรีตัวหนึ่งไปสู่โน้ตตัวหนึ่งในระดับเสียงที่ต่างกัน ซึ่งโน้ตตัวนั้นมีความถี่เป็นครึ่งหนึ่งหรือเป็นสองเท่าจากโน้ตตัวเดิม และเหตุที่เรียกว่าขั้นคู่แปด เนื่องจากตัวโน้ตสองตัวที่อยู่ห่างกัน 8 ขั้นบนบันไดเสียง (หรือ 12 ครึ่งเสียง) จะเกิดสมบัติดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นบันไดเสียงเมเจอร์หรือบันไดเสียงไมเนอร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอ็อกเทฟ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ (ชื่อ)

อเล็กซานเดอร์ (Alexander) เป็นชื่อต้นของผู้ชาย มีที่มาจากคำในภาษาละติน "Alexander" ซึ่งเป็นการถอดคำมาจากภาษากรีกจากคำว่า "Αλέξανδρος".

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและอเล็กซานเดอร์ (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

ผู้หญิงบานฉ่ำ

ผู้หญิงบานฉ่ำ (Pretty Woman) เป็นภาพยนตร์อเมริกันในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและผู้หญิงบานฉ่ำ · ดูเพิ่มเติม »

จรวด

รวดโซยุซ-ยู (Soyuz-U) ณ ฐานปล่อยที่ 1/5 ไบโคนูร์ ไซต์1/5 (Baikonur's Site 1/5) ในคาซัคสถาน (Kazakhstan) การปล่อยจรวดแซทเทิร์น 5 อะพอลโล 15: เวลาเริ่มปล่อย T - 30 วินาที เวลาเสร็จสิ้น T + 40 วินาที จรวด หมายถึงขีปนาวุธ, ยานอวกาศ, เครื่องบิน หรือพาหนะอื่นใดที่อาศัยแรงผลักดันของไอเสียที่มีต่อตัวจรวดในการพุ่งไปข้างหน้า โดยใช้การเผาผลาญเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์จรวด ในจรวดทุกชนิดไอเสียจะเกิดขึ้นทั้งหมดจากเชื้อเพลิงขับดันที่บรรทุกไปด้วยภายในจรวดก่อนที่จะถูกใช้งาน chapter 1 จรวดเคมีสร้างพลังงานจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงจรวด ผลจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงและตัวอ๊อกซิไดซ์ภายในห้องเผาไหม้จะทำให้เกิดก๊าซร้อนที่มีอุณหภูมิสูงมากและขยายตัวออกไปทางหัวฉีดทำให้ก๊าซเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในระดับไฮเปอร์โซนิก ซึ่งทำให้เกิดแรงผลักมหาศาลต่อตัวจรวดตามกฎข้อที่สามของนิวตัน (แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา)โดยในทางทหารและสันทนาการมีประวัติของการใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือในช่วงเวลานั้น จรวดได้ถูกใช้สำหรับงานทางทหารและสันทนาการ ย้อนกลับไปอย่างน้อยศตวรรษที่ 13 ในประเทศจีน (China) "Rockets in Ancient Times (100 B.C. to 17th Century)" ในทางทหาร, วิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมได้ใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือแต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายจนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 20, เมื่อวิทยาการที่เกี่ยวกับจรวดได้ถือกำเนิดขึ้น เป็นการเปิดประตูสู่ยุคอวกาศ,กับการที่มนุษย์กำลังจะไปเหยียบดวงจันทร์ จรวดได้ถูกใช้สำหรับทำดอกไม้ไฟและอาวุธ, เก้าอี้ดีดตัวสำหรับนักบินและพาหนะสำหรับนำส่งดาวเทียม, นักบินอวกาศ และการสำรวจดาวเคราะห์ต่าง ๆ ในขณะที่จรวดที่ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพนั้นจะใช้สำหรับการขับเคลื่อนด้วยอัตราเร็วที่ต่ำ ๆ, นักวิทยาศาสตร์จะเปรียบเทียบหาจรวดที่มีแรงขับเคลื่อนในระบบอื่น ๆ, ที่มีน้ำหนักเบากว่าและมีประสิทธิภาพสูงกว่า, ทำให้สามารถสร้างความเร่งในการเคลื่อนที่ของจรวดได้มากขึ้น และสามารถทำให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วที่สูงอย่างยิ่งด้วยประสิทธิภาพที่เหมาะสม จรวดเคมีเป็นชนิดของจรวดที่พบมากที่สุดและพวกมันมักจะสร้างไอเสียโดยการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจรวด จรวดเคมีต้องการที่เก็บพลังงานเชื้อเพลิงที่มีขนาดใหญ่โตมากในรูปแบบที่พร้อมจะปลดปล่อยตัวเองออกมาได้อย่างง่ายดาย และมีอันตรายมาก อย่างไรก็ตาม, จะต้องทำด้วยการออกแบบอย่างรอบคอบ, การทดสอบ, การก่อสร้าง, และใช้ความเสี่ยงอันตรายให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจรวด · ดูเพิ่มเติม »

จริตนิยม

ในภาพเขียน “แม่พระพระศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดยปาร์มีจานีโน แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือนทัศนมิติไม่กระจ่างแจ้ง จริตนิยม (Mannerism) คือยุคของศิลปะของจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และการตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจริตนิยม · ดูเพิ่มเติม »

จอชโกรแบน

อชโกรแบน (Josh Groban) คือผลงานอัลบั้มเพลงชุดแรกของจอช โกรแบน นักร้องชาวอเมริกัน เป็นอัลบั้มสหภาษาอันประกอบไปด้วยภาษาอังกฤษ ภาษาอิตาลี และภาษาฝรั่งเศส อัลบั้มนี้ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ทั่วโลก มีเพลงเด่นจากอัลบั้มนี้ได้แก่เพลง "ยูร์สติลล์ยู" ขึ้นชาร์ต บิลบอร์ด เพลงร่วมสมัยของผู้ใหญ่ในอันดับที่ 10 และเพลง "ทูแวร์ยูอาร์" เพลงจากละครชุดเรื่อง แอลลีแม็กเบลล์ (Ally McBeal) ขึ้นชาร์ตสูงสุดในอับดับที่ 1.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจอชโกรแบน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์นเรียล คาซิเมโร

อห์นเรียล คาซิเมโร (Jhonreil Casimero) มีชื่อเต็มว่า จอห์น ริเอล รีพอนเต คาชิเมโร (John Riel Reponte Casimero) นักมวยสากลอาชีพชาวฟิลิปปินส์ เกิดเมื่อวันที่ 13 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจอห์นเรียล คาซิเมโร · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย

ักรวรรดิออสเตรีย (Austrian Empire; Kaisertum Österreich) เป็นจักรวรรดิที่ก่อตั้งจากอาณาบริเวณที่เหลือจากจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งอยู่ที่ประเทศออสเตรียในปัจจุบัน รุ่งเรืองในช่วง..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจักรวรรดิออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิอิตาลี

ักรวรรดิอิตาลี (Italian Empire) ก่อตั้งขึ้นโดยราชอาณาจักรอิตาลี (อิตาลีสมัยใหม่ที่เกิดขึ้นจากการรวมชาติอิตาลี (Italian unification) ที่เพิ่งเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1861) โดยอิตาลีได้ร่วมมือกับมหาอำนาจอื่นๆ ในยุโรปใน “การล่าอาณานิคมในแอฟริกา” ในช่วงนี้จักรวรรดิโปรตุเกส, สเปน, เนเธอร์แลนด์, อังกฤษ และ ฝรั่งเศส ต่างก็เป็นเจ้าของอาณานิคมกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้ว ดินแดนสุดท้ายที่ยังคงเหลือสำหรับยึดเป็นอาณานิคมคือทวีปแอฟริกาเท่านั้น เมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจักรวรรดิอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จันนี อินฟันตีโน

ันนี อินฟันตีโน (Gianni Infantino) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจันนี อินฟันตีโน · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมฝาผนัง

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ. 1968 (470 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จิตรกรรมฝาผนังจากอจันตา (Ajanta) คริสต์ศตวรรษที่ 6 จิตรกรรมฝาผนังโคลาของนักรำที่ Brihadisvara Temple ประมาณ ค.ศ. 1100 จิตรกรรมฝาผนัง (ภาษาอังกฤษ: Mural painting) คือภาพเขียนหลายชนิดที่เขียนบนปูนบนผนังหรือเพดาน เทคนิคที่นิยมกัน คือ การวาดภาพบนผนังปูนปลาสเตอร์เปียก (fresco) โดยที่คำว่า “fresco” มาจากภาษาอิตาลี “affresco” ซึ่งมาจากคำว่า “fresco” หรือ “สด” รากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจิตรกรรมฝาผนัง · ดูเพิ่มเติม »

จูเซปเป รอสซี

ูเซปเป รอสซี (Giuseppe Rossi; เกิด 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987) เป็นนักฟุตบอลตำแหน่งกองหน้าสังกัดสโมสรฟิออเรนตินาแห่งเซเรียอา อิตาลี เกิดที่เมืองทีเน็ค, นิวเจอร์ซีย์, สหรัฐอเมริกา และถือสองสัญชาติ ทั้งอเมริกันและอิตาเลียน รอสซีประเดิมสนามให้กับทีมชาติอิตาลีในเดือนตุลาคม 2008 ก่อนจะทำประตูแรกได้ในเดือนมิถุนายน 2009.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจูเซปเป รอสซี · ดูเพิ่มเติม »

จีเมล

ีเมล (Gmail) เป็นบริการอีเมลฟรีของกูเกิลผ่านทางระบบเว็บเมล POP และ IMAP โดยในขณะที่โปรแกรมยังอยู่ในระยะพัฒนา (บีตา) จีเมลเปิดให้ผู้ที่ได้รับคำเชิญทดลองใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 และให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 หลังจากนั้นจึงออกจากระยะพัฒนาพร้อมกับบริการอื่น ๆ ของกูเกิล แอปส์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ปัจจุบันจีเมลรับรองการใช้งาน 54 ภาษารวมถึงภาษาไทย จีเมลเป็นผู้บุกเบิกการใช้ AJAX ที่ใช้งานจาวาสคริปต์และการใช้งานผ่านทางคีย์บอร์ด ทำให้สะดวกต่อการใช้งาน ปัจจุบัน จีเมลเป็นบริการอีเมล์บนเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก กล่าวคือมากกว่า 425 ล้านคน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและจีเมล · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอิตาลี

งชาติสาธารณรัฐอิตาลี (Il Tricolore) มีลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็นสามแถบตามแนวตั้ง เป็นสีต่างๆ เรียงจากด้านคันธงตามลำดับ คือ สีเขียว สีขาว และสีแดง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและธงชาติอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ทอเลมี (ชื่อ)

ทอเลมี หรือ ทอเลเมียส (ภาษาอังกฤษ: Ptolemy หรือ Ptolemaeus) มาจากภาษากรีก Ptolemaios ซึ่งหมายความว่า “เช่นสงคราม” “เหมือนสงคราม” หรือ “เหมือนนักรบ” ชื่อ “ทอเลมี” หรือ “ทอเลเมียส” เป็นชื่อที่นิยมใช้กันมาก ผู้ที่ใช้ชื่อนี้ที่สำคัญที่สุดก็ได้แก่นักดาราศาสตร์ชาวกรีก-อียิปต์ คลอเดียส ทอเลเมอุส ที่รู้จักกันในนาม “ทอเลมี” และ ทอเลมีที่ 1 โซเตอร์นายทหารคนสนิทของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชผู้ก่อตั้งราชอาณาจักรทอเลมีและราชวงศ์ทอเลมีในอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและทอเลมี (ชื่อ) · ดูเพิ่มเติม »

ทักซ์เพนท์

ทักซ์เพนท์ เป็นซอฟต์แวร์เสรีสำหรับตกแต่งภาพแบบแรสเตอร์ สามารถทำงานได้บนหลายระบบปฏิบัติการ เช่น วินโดวส์ แมคโอเอสเท็น และ ลินุกซ์ ภายใต้สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและทักซ์เพนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วน

ทางหลวงรัฐออนแทรีโอหมายเลข 401 ในทางตอนใต้ของรัฐออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา เป็นฟรีเวย์สายสำคัญของประเทศ ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึง (controlled-access highway) หรือ ทางด่วน เป็นทางหลวงประเภทหนึ่งของที่มีความสามารถที่จะรองรับปริมาณการจราจรได้จำนวนหนึ่ง ออกแบบมาเพื่อรองรับการจราจรที่รวดเร็วอย่างปลอดภัย โดยอาจจะเปิดให้ใช้ในลักษณะถนนที่เก็บค่าผ่านทางหรือไม่ก็ได้ แต่ส่วนมากมักจะเก็บค่าผ่านทาง ซึ่งในแคนาดาและทวีปเอเชียเรียก เอกซ์เพรสเวย์ (expressway) ในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์เรียก มอเตอร์เวย์ (motorway) และในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียเรียก ฟรีเวย์ (freeway) ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึงจะไม่มีการขัดขวางของการจราจรด้วยไฟจราจร ทางแยก และไม่มีการเข้าถึงสถานที่ที่อยู่ติดถนน เป็นอิสระจากจุดตัดที่ผ่านถนน ทางรถไฟ หรือทางเท้าที่ระดับดิน โดยอาจออกแบบเป็นทางยกระดับหรือทางลอดก็ได้ สามารถเข้าและออกจากทางหลวงนี้ได้โดยทางลาดและทางแยกต่างระดับ และมีการแบ่งทิศทางการจราจรด้วยเกาะกลาง อาจเป็นแบบราว กำแพงกั้น หรือเป็นที่ว่างปลูกหญ้า การกำจัดจุดตัดในทิศทางต่าง ๆ ช่วยเพิ่มความปลอดภัยของนักเดินทาง รวมทั้งช่วยเพิ่มความสามารถในการรองรับปริมาณจราจร ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึงมีการพัฒนาขึ้นในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 ประเทศอิตาลีได้เปิดใช้ เอาโตสตราดา (autostrada) เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและทางด่วน · ดูเพิ่มเติม »

ทูริน

ทูริน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและทูริน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานโบโลญญา

ท่าอากาศยานโบโลญญา (อิตาลี: Aeroporto di Bologna) หรือ ท่าอากาศยานโบโลญญา กูกลีเอลโม มาร์โคนี (อิตาลี: Aeroporto Guglielmo Marconi di Bologna) ตั้งอยู่ห่างจากเมืองโบโลญญา ในแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา ประเทศอิตาลี ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 6 กิโลเมตร (3.75 ไมล์) โดยท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งชื่อตามวิศวกรไฟฟ้าชาวอิตาลี กูกลีเอลโม มาร์โคนี ผู้ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและท่าอากาศยานโบโลญญา · ดูเพิ่มเติม »

ข้าคือวีเซิล

้าคือวีเซิล (I Am Weasel) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย David Feiss สังกัด Cartoon Network Studios ข้าคือวีเซิล เป็นการ์ตูนย่อยของง้องแง้งกับเงอะงะโดยจะฉาย 1 ตอนย่อยในทุกๆตอนของง้องแง้งกับเงอะงะ จากนั้นก็ได้โอกาสมาแยกเป็นการ์ตูนของตัวเอง โดยใช้เพลงเปิดที่ดัดแปลงมาจากเพลงคลาสสิก Pop on the Weasel เรื่องราวหลักๆของข้าคือวีเซิล จะเป็นเรื่องราวของ วีเซิล และ ไอ.อาร.บาบูน ซึ่งทั้งสองโดยส่วนมากจะเป็นเพื่อนกัน มักจะเผชิญหน้าเหตุการณ์ต่างๆ ในแต่ละตอน โดยส่วนมาวีเซิลมักจะได้รับบทที่สูงกว่าไอ.อาร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและข้าคือวีเซิล · ดูเพิ่มเติม »

ดอยช์ เวเลย์

อยเช่อ เวลเล่อ (Deutsche Welle ชื่อย่อ: DW คำอ่าน: ดอยเช่อ เวลเล่อ) เป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์เยอรมนี จะนำเสนอข้อมูลข่าวสารและความรู้ผ่านโทรทัศน์ในระบบ VHF อินเทอร์เน็ต และวิทยุผ่านดาวเทียม ทีมีภาษาที่ใช้ในการออกอากาศทางวิทยุทั้งหมด 29 ภาษา ภายใต้ชื่อ สถานีวิทยุดอยช์ เวเลย์ (DW Radio) และการให้บริการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ช่อง DWTV ภาษาที่ใช้ในการออกอากาศทั้งหมด 4 ภาษา และมีเว็บไซต์ข้อมูลข่าวจากทางสถานีฯ รวมอยู่ด้วย ดอยช์ เวเลย์ จึงได้มีช่องทางในการรับการรับชมภาคภาษาอังกฤษ เรียกว่า "German Wave" มีความคล้ายคลึงกับสถานีวิทยุโทรทัศน์นานาชาติ อย่าง BBC World Service,Radio Canada, Radio Free Europe, และ Radio France Internationale โดยปกติ ดอยเช่อ เวลเล่อได้ก่อตั้ง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953 จนกระทั่งปี ค.ศ. 2003 ซึ่งเป็นรากฐานของเมืองโคโลญ หลังจากนั้นก็ได้มีการย้ายที่ทำการใหม่อยู่ที่เมืองบอร์น ก่อนหน้านั้นพื้นที่นี้เคยเป็นรัฐสภามาก่อน สาถานีวิทยุโทรทัศน์ และ ผู้ผลิดรายการในกรุงเบอร์ลิน ดอยเช่อ เวลเล่อ จึงได้มีการผลิดเว็บไซต์นี้ขึ้น ทั้งกรุงเบอร์ลิน และ เมืองบอนน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดอยช์ เวเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอลลาร์

อลลาร์ (Dollar; $) เป็นชื่อของสกุลเงินที่ใช้เหมือนกันในหลายประเทศทั่วโลก เช่น ดอลลาร์สหรัฐ สกุลเงินของสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นเงินสกุลสำคัญสกุลหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดอลลาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีมีลาโน

ัชชีมีลาโล (Ducato di Milano) เป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ในบริเวณทางตอนเหนือของประเทศอิตาลีระหว่างปี ค.ศ. 1394 ถึงปี ค.ศ. 1797 และเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ขณะนั้นเป็นระบบการปกครองที่กระจายจากศูนย์กลางและปกครองโดยราชวงศ์ต่าง ๆ ที่ส่วนใหญ่มาจากอาณาจักรนอกอิตาลี แม้ว่าอาณาบริเวณจะเปลี่ยนไปมาระหว่างที่เป็นอาณาจักรแต่โดยทั่วไปแล้วก็ตั้งอยู่ในบริเวณส่วนใหญ่ของลอมบาร์ดีที่รวมทั้งมิลานและปาเวียซึ่งเป็นศูนย์กลางของราชอาณาจักรอิตาลี ปาร์มา เดิมเป็นส่วนหนึ่งของรัฐนี้ด้วยแต่ต่อมาแยกตัวไปเป็นดัชชีปาร์มาในคริสต์ศตวรรษที่ 16.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดัชชีมีลาโน · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีลุกกา

ัชชีลุกกา (Duchy of Lucca) เป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ตอนกลางคาบสมุทรอิตาลีที่ปกครองโดยดยุกแห่งลุกกา ดัชชีลุกกาก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1815 จากข้อตกลงในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาจากสาธารณรัฐลุกกา และราชรัฐลุกกาที่ปกครองโดยอีไลซา โบนาปาร์ต สาเหตุของการก่อตั้งก็เพื่อเป็นการตอบแทนการสูญเสียดัชชีปาร์มาของราชวงศ์บูร์บง-ปาร์มาที่ถูกยกให้แก่มารี หลุยส์แห่งออสเตรีย หลังจากการก่อตั้งแล้วในปี ค.ศ. 1817 มาเรีย ลุยซาแห่งสเปนอดีตพระราชินีแห่งอีทรูเรียก็มาปกครองดัชชีลุกกา มาเรีย หลุยซาเป็นพระราชมารดาของชาร์ลส์ หลุยส์ ทายาทของราชวงศ์บูร์บง-ปาร์มาของปาร์มา ซึ่งตรงกับสนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1817) ที่ระบุถึงอำนาจของมาเรีย ลุยซาในการปกครองลุกกา และฐานะของชาร์ลส์ หลุยส์ในการเป็นทายาทของปาร์มาต่อจากมารี หลุยส์ หลังจากมาเรีย ลุยซาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1824 แล้วชาร์ลส์ หลุยส์ก็ครองลุกกา ในฐานะดยุกชาร์ลส์ที่ 1 แห่งลุกกาสืบต่อมาจนกระทั่งชาร์ลส์ หลุยส์ไปเป็นดยุกแห่งปาร์มาหลังจากการเสียชีวิตของมารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา ดัชชีลุกกาจึงถูกผนวกเข้ากับแกรนด์ดัชชีทัสกานีในปี ค.ศ. 1847.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดัชชีลุกกา · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีซาวอย

ัชชีแห่งซาวอย (Duchy of Savoy, Savoie, Savoia) ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดัชชีซาวอย · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีปาร์มา

ัชชีปาร์มาและปีอาเชนซา (Ducato di Parma e Piacenza) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลีที่ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดัชชีปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

ดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย

ัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย, โดฟินแห่งฝรั่งเศส (ประสูติ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1660 — สิ้นพระชนม์ 20 เมษายน ค.ศ. 1690) พระชายาในเจ้าชายหลุยส์ เลอกร็องโดฟิน รัชทายาทของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดัชเชสมาเรีย อันนา วิกตอเรียแห่งบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ดัดดาริโอ

ดัดดาริโอ ตามสำเนียงอิตาลี หรือ แดเดริโอ ตามสำเนียงอเมริกัน (D'Addario) เป็นบริษัทผู้ผลิตสายดนตรี โดยเฉพาะสายกีตาร์ ปัจจุบัน มีสำนักงานใหญ่อยู่ ณ หมู่บ้านฟาร์มิงเดล เกาะลองไอแลนด์ รัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา บริษัทดัดดาริโอเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือนขนานแท้ และเป็นองค์กรผลิตสายดนตรีองค์กรใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลก ผลิตสินค้าขายทั้งในนามของตัว และผลิตให้บริษัทอื่นขาย อนึ่ง นอกจากผลิตภัณฑ์หลักอันเป็นสายดนตรีดังว่ามาแล้ว ดัดดาริโอยังเปิดบริษัทลูกเพื่อทำและขายสินค้าอื่น ๆ อีก เป็นต้นว่า บริษัทลูกที่ชื่อ "แพลเน็ตเวฟส์" (Planet Waves) ขายสายกีตาร์, อุปกรณ์ปรับเสียง (tuner), เครื่องกันความชื้น, พิก (pick) และอื่น ๆ หมวดหมู่:บริษัทผู้ผลิตเครื่องดนตรี หมวดหมู่:บริษัทของสหรัฐอเมริกา.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดัดดาริโอ · ดูเพิ่มเติม »

ดันเต อาลีกีเอรี

ูรันเต เดกลี อาลีกีเอรี หรือดันเต อาลีกีเอรี หรือเรียกสั้น ๆ ว่าดันเต (Durante degli Alighieri; Dante Alighieri) (ราวกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1265 - 14 กันยายน ค.ศ. 1321) ดันเต อาลีกีเอรีเป็นรัฐบุรุษ กวี และนักภาษาศาสตร์คนสำคัญของฟลอเรนซ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 ในยุคกลาง งานชิ้นที่สำคัญที่สุดคือ “ดีวีนากอมเมเดีย” (Divina Commedia) ที่เดิมชื่อ “Commedia” แต่ต่อมาเรียก “Divina” โดยโจวันนี บอกกัชโช และในที่สุดก็กลายเป็น “Divina Commedia” ซึ่งถือว่าเป็นกวีนิพนธ์ชิ้นเอกของภาษาอิตาลีและของโลก ดันเตได้รับการขนานนามในอิตาลีว่า “il Sommo Poeta” หรือ “มหากวี” และได้ชื่อว่าเป็น “บิดาแห่งภาษาอิตาลี” ดานเต เปตราก และโจวันนี บอกกัชโช รู้จักรวมกันว่า “สามมงกุฏ” (the three fountains หรือ the three crowns) บอกกัชโชเป็นคนแรกที่เขียนชีวประวัติของดันเตใน “ศาสตรนิพนธ์ในการสรรเสริญดันเต” (Trattatello in laude di Dante).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดันเต อาลีกีเอรี · ดูเพิ่มเติม »

ดิวโอลิงโก

วโอลิงโก (Duolingo) เป็นโปรแกรมเรียนภาษาฟรีที่ใช้ปัญหาเป็นการหาคำตอบเป็นหลัก การให้บริการของโปรแกรมนี้ถูกออกแบบมาให้ผู้ใช้ทำแบบฝึกหัดในแต่ละบทสำเร็จ ในขณะเดียวกันก็ช่วยแปลเว็บไซต์และเอกสารอื่น ๆ ไปด้วย ในวันที่ 13 ธันวาคม 2557 ดิวโอลิงโกได้ให้บริการการเรียนภาษาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาสเปน, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาเยอรมัน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษาอิตาลี, ภาษาดัตช์, ภาษาไอริช, ภาษาเดนมาร์ก และภาษาสวีเดนสำหรับผู้ใช้ที่พูดภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษสำหรับผู้ใช้ภาษาสเปน, ฝรั่งเศส, เยอรมัน, โปรตุเกส, อิตาลี, กรีก, ดัตช์, รัสเซีย, โปแลนด์, ตุรกี, ฮังการี, โรมาเนีย, ญี่ปุ่น, ฮินดี, อินโดนีเซีย, เกาหลี และเช็ก และยังมีคู่ภาษาอื่น ๆ อีกมากมาย สามารถใช้ได้บนเว็บ, ไอโอเอส, แอนดรอยด์ และวินโดวส์โฟน 8.1 ดิวโอลิงโกได้เริ่มต้นทดสอบระบบครั้งแรกเฉพาะเจ้าหน้าที่ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 และมียอดผู้ใช้ที่รอคอยมากกว่า 300,000 คน ในวันที่ 19 มิถุนายน 2556 ดิวโอลิงโกได้เปิดตัวสู่สาธารณะเป็นครั้งแรก ในปี 2557 แอปเปิลได้เลือกให้ดิวโอลิงโกเป็นแอปพลิเคชันประจำปี เป็นครั้งแรกที่รางวัลนี้ได้ถูกมอบแก่แอปพลิเคชันทางการศึกษา ดิวโอลิงโกชนะการประกวดแอปพลิเคชันใหม่ที่ดีที่สุดในงาน 2014 Crunchies, และเป็นแอปพลิเคชันทางการศึกษาที่มียอดดาวน์โหลดสูงที่สุดในกูเกิลเพลย์ ปี 2556 และ 2557 ในเดือนมกราคม 2557 ดิวโอลิงโกมียอดผู้ใช้งานรวม 60 ล้านคน ซึ่งมี 20 ล้านคนที่ยังคงใช้งานอยู.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดิวโอลิงโก · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลีย

นแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลีย (หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลียภายใต้การบริหารของอิตาลี) เป็นดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในปัจจุบันคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ของประเทศโซมาเลีย ซึ่งได้รับการบริหารโดยอิตาลี ตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนเสรีตรีเยสเต

นแดนเสรีตรีเยสเต (Territorio libero di Trieste, Svobodno tržaško ozemlje; Slobodni teritorij Trsta) เป็นดินแดนเสรีในยุโรปกลางอยู่ระหว่างทางตอนเหนือของอิตาลีกับยูโกสลาเวีย ดินแดนติดกับทะเลเอเดรียติกโดยอยู่ใต้อาณัติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดินแดนเสรีตรีเยสเต · ดูเพิ่มเติม »

ดีวีนากอมเมเดีย

ีวีนากอมเมเดีย (Divina Commedia; Divine Comedy) หรือไตรภูมิดันเต เป็นวรรณกรรมอุปมานิทัศน์ที่ดันเต อาลีกีเอรี เขียนขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดีวีนากอมเมเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ดีแวร์ตีเมนโต

ีแวร์ตีเมนโต (Divertimento) ในภาษาอิตาลีหมายถึง เพลงขนาดเบาที่ผู้ประพันธ์ หรือผู้เรียบเรียงจัดทำขึ้นเพื่อฟังกันเล่นๆ ให้เพลิดเพลินบันเทิงใจมากกว่าทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ เป็นบทเพลงที่ฟังสบาย ๆ เบา ๆ ใช้บรรเลงหลังอาหารค่ำ หรือสำหรับกิจกรรมกลางแจ้งเป็นส่วนใหญ่ พหูพจน์เรียก ดีแวร์ตีเมนตี โมซาร์ท เป็นคีตกวีที่ได้ประพันธ์ดีแวร์ตีเมนโตไว้มาก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดีแวร์ตีเมนโต · ดูเพิ่มเติม »

ดีเบลชทรอมเมิล

ีเบลชทรอมเมิล (Die Blechtrommel; The Tin Drum) เป็นภาพยนตร์ภาษาเยอรมันที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและดีเบลชทรอมเมิล · ดูเพิ่มเติม »

ด็อกเตอร์ดูม

'''ด็อกเตอร์ดูม''' บนปกหนังสือแฟนแทสติกโฟร์ ฉบับภาษาอิตาลี วิคเตอร์ วอน ดูม (Victor von Doom) เป็นตัวละครที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูนที่จัดพิมพ์โดยมาร์เวลคอมิกส์ ได้รับการสร้างสรรค์โดยสแตน ลี กับแจ็ค เคอร์บี้ ซึ่งตัวละครดังกล่าวปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือ แฟนแทสติกโฟร์ #5 (กรกฎาคม ค.ศ. 1962) ซึ่งเป็นสุดยอดดาวร้ายและเป็นศัตรูหลักของแฟนแทสติกโฟร์ และเป็นผู้นำประเทศแลทเวอร์เรียแห่งมาร์เวลยูนิเวิร์ส ดูมเป็นทั้งนักประดิษฐ์อัจฉริยะ และเป็นทั้งผู้วิเศษ เขาได้ทำการต่อสู้กับซูเปอร์ฮีโร่รายอื่นเป็นจำนวนมากในหลายเหตุการณ์เพื่อสร้างอำนาจ และบางครั้งอาจเป็นไปเพื่อการล้างแค้นมาเป็นเวลาหลายปี เหตุการณ์ที่มีการเปิดเผยท้ายเรื่องบ่อยครั้งมักเป็นการต่อสู้ของเหล่าฮีโร่ที่เผชิญหน้ากับหุ่นยนต์ของดูมซึ่งปฏิบัติหน้าที่แทน หรือแม้กระทั่ง ดูมบอท ที่ได้มีการแอบอ้างว่าเป็นตัวเขาเอง ตัวละครด็อกเตอร์ดูมได้รับการรับรองการผลิตจากมาร์เวล ทั้งในรูปแบบของภาพยนตร์, วิดีโอเกม, รายการโทรทัศน์ และสินค้าต่างๆ เช่น แอ็กชันฟิกเกอร์และการ์ดสะสม ด็อกเตอร์ดูมได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับที่ 4 ของวายร้ายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของ นิตยสารวิซาร์ด จาก 100 รายชื่อวายร้ายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล ส่วนเว็บไซต์ไอจีเอ็นได้จัดเสนอ 100 รายชื่อวายร้ายจากหนังสือการ์ตูนตลอดกาลแก่ด็อกเตอร์ดูมในอันดับที่ 3.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและด็อกเตอร์ดูม · ดูเพิ่มเติม »

ด้านหน้าอาคาร

อนุสรณ์ด้านหน้าอาคารของมหาวิหารนักบุญเปโตรในนครรัฐวาติกัน โดยการ์โล มาแดร์โน ด้านหน้าอาคารสถานีดับเพลิงกลางของสำนักงานควบคุมเพลิงฮูสตันราวปี พ.ศ. 2457 โดยทั่วไปแล้ว ด้านหน้าอาคาร หรือ ฟะซาด (facade; façade) คือส่วนด้านนอกอาคารด้านใดด้านหนึ่ง ซึ่งมักจะอยู่ทางด้านหน้า คำว่า ฟะซาด มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศสที่แปลว่า "ส่วนหน้า" หรือ "ใบหน้า" ในทางสถาปัตยกรรม ด้านหน้าอาคารคือมุมมองที่สำคัญที่สุดในการออกแบบเนื่องจากเป็นส่วนที่กำหนดรูปแบบลักษณะส่วนที่เหลือของอาคาร และในทางวิศวกรรมศาสตร์แล้ว ด้านหน้าของอาคารก็ยังมีความสำคัญอย่างมากต่อการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งนี้ระเบียบและกฎหมายท้องถิ่นเกี่ยวกับผังเมืองในอดีตจำกัดหรือแม้กระทั่งไม่อนุญาตให้มีการออกแบบด้านหน้าอาคารแตกต่างไปจากที่กำหนดไว้.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและด้านหน้าอาคาร · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศตวรรษที่ 16

ริสต์ศตวรรษที่ 16 อยู่ระหว่างปี ค.ศ. 1501 ถึง ค.ศ. 1600 ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 นี้ สเปนและโปรตุเกสได้มีการเดินเรือเพื่อออกไปสำรวจสถานที่ต่างๆ หลังจากที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสได้ค้นพบโลกใหม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและคริสต์ศตวรรษที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส

ริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus), กริสโตบัล โกลอน (Cristóbal Colón), คริสโตโฟรุส โกลุมบุส (Christophorus Columbus) หรือ กริสตอโฟโร โกลอมโบ (Cristoforo Colombo; เกิด ค.ศ. 1451 เสียชีวิตวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1506) เป็นนักทำแผนที่ นักสำรวจ นักเดินเรือ และพ่อค้า เชื่อกันว่าน่าจะเป็นชาวสาธารณรัฐเจนัว "Christopher Columbus." Encyclopædia Britannica.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส · ดูเพิ่มเติม »

คะโอะริ อีดะ

อริ อีดะ (Kaori Iida) (เกิดวันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2524) คือ นักร้องและนักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น ของสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ ที่รู้จักกันดีในฐานะสมาชิกรุ่นก่อตั้งของกลุ่มนักร้องหญิง "มอร์นิงมุซุเมะ" และอดีตสมาชิกกลุ่มนักร้องย่อย "ทัมโปโปะ" ปัจจุบัน เธอทำหน้าที่เป็นศิลปินเดี่ยวให้กับสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ แต่ต้องพักงานชั่วคราวเนื่องจากกำลังตั้งครร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและคะโอะริ อีดะ · ดูเพิ่มเติม »

คัฟแฟะมัคคียาโต

ัฟแฟะมัคคียาโตที่กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ คัฟแฟะมัคคียาโตที่จังหวัดเชียงใหม่ คัฟแฟะมัคคียาโต (caffè macchiato) หรือบางครั้งเรียกว่า เอสเปรสโซมัคคียาโต (espresso macchiato) คือกาแฟเอสเปรสโซที่ปิดหน้าด้วยนมเพียงเล็กน้อย โดยทั่วไปจะใช้ฟองนม คำ มัคคียาโต เป็นคำคุณศัพท์ในภาษาอิตาลี แปลว่า "ซึ่งมีรอยด่าง" หรือ "ซึ่งถูกทำสัญลักษณ์ไว้" ดังนั้น คัฟแฟะมัคคียาโต จึงแปลแบบตรงตัวได้ว่า "กาแฟที่มีรอยด่าง" หรือ "กาแฟที่ทำสัญลักษณ์ไว้" แต่เดิมนิยมใช้คำ มัคคียาโต กับการเทนมร้อนธรรมดาลงไปในกาแฟ ซึ่งทำให้เกิดรอยด่างหรือรอยเปื้อนในกาแฟนั้น ภายหลังเปลี่ยนมาใช้สื่อความถึงฟองนมซึ่งผู้ชงกาแฟหยอดลงไปเพื่อให้พนักงานเสิร์ฟเห็นความแตกต่างระหว่างเอสเปรสโซธรรมดากับเอสเปรสโซที่เติมนมลงไปเล็กน้อย กาแฟประเภทหลังจึง "ถูกทำสัญลักษณ์ไว้" ไว้ด้วยนมร้อนนั่นเอง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและคัฟแฟะมัคคียาโต · ดูเพิ่มเติม »

คันตาตา

คันตาต้า (Cantata) ในภาษาอิตาเลียน แปลว่า "เพลงร้อง" ในสมัยของบาคได้มีการแต่งเพลงประเภทนี้ขึ้นเพื่อสองจุดประสงค์ คือ หนึ่งใช้ในประกอบกิจกรรมทางศาสนา สองใช้ในกิจกรรมนอกศาสนา บาคได้เรียบเรียงบทเพลงเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าว โดยประกอบไปด้วยส่วนที่บรรเลงและส่วนการขับร้อง ซึ่งจะใช้ทั้งเครื่องดนตรีประเภทเดี่ยวและวงดุริยางค์ นักร้องเดี่ยวและวงประสานเสียง ผสมกับอย่างมีชีวิตชีวาคล้ายคลึงกับบทเพลงประเภท ออราทอริโอ (Oratorio) หรือ อุปรากร (Opera) แต่จะไม่มีการสร้างฉากประกอบการแสดง การเรียกชื่อคันตาต้าแต่ละบทนั้น จะนิยมใช้เนื้อร้องตอนแรกมาตั้งเป็นชื่อของบทเพลง หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ดนตรี หมวดหมู่:คันตาตา.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและคันตาตา · ดูเพิ่มเติม »

คาวาซากิ ฟรอนตาเล

มสรฟุตบอล คะวะซะกิ ฟรอนตาเล (ญี่ปุ่น: 川崎フロンターレ, อังกฤษ: Kawasaki Frontale) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในเจลีก ดิวิชัน 1 ของประเทศญี่ปุ่น มีถิ่นฐานอยู่ที่เมืองคะวะซะกิ จังหวัดคะนะงะวะ ทางตอนใต้ของกรุงโตเกียว มีสนามเหย้าคือสนามกีฬาโทะโดะโระคิ ใจกลางคะวะซะกิ สโมสรแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 1995 ในชื่อสโมสรฟุตบอลฟูจิตสึ เข้าร่วมลีกสมัครเล่น JSL ดิวิชัน 1 ครั้งแรกในปี 1977 แต่ตกชั้นไปในลีกล่างมาตลอด เมือ่ปี 1997 สโมสรยกระดับมาเป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพ และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "ฟรอนตาเล" ซึ่งมีความหมายว่า ด้านหน้า (frontal) ในภาษาอิตาลี และในที่สุด ได้ขึ้นมาลีกสูงสุดอีกครั้งในปี 2000 ที่ได้สัมผัสเกมเจลีกเป็นครั้งแรก สโมสรเข้าใกล้ความสำเร็จมากที่สุดในปี 2006 ที่รองแชมป์ในเจลีก ดิวิชัน 1 และได้เข้าร่วมการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกในปี 2007 และผ่านเข้ารอบแบ่งกลุ่มไปได้ ฟรอนตาเลทำผลงานได้ดีขึ้นเรื่อยๆ และมีนักฟุตบอลทีมชาติญี่ปุ่นเกิดขึ้นในทีมมากมาย ปี 2017 “อัซซูร่า เนโร่” คาวาซากิ ฟรอนตาเล่ สร้างประวัติศาสตร์ คว้าแชมป์เจลีก สมัยแรกมาครองได้สำเร็จ หลังเปิดบ้านไล่ถล่ม โอมิยะ อาร์ดิย่า 5-0 ขณะที่ “กวางเขาหล็ก” คาชิม่า แอนท์เลอร์ส ทำได้แค่บุกเสมอ จูบิโล่ อิวาตะ 0-0 ทำให้ทั้งสองทีมมีแต้มเท่ากันที่ 72 คะแนน หลังแข่งครบ 34 เกม แต่ คาวาซากิ ฟรอนตาเล่ มีลูกได้เสียที่ดีกว่า จึงเป็นฝ่ายคว้าแชมป์ไปครอง ตารางคะแนน เจลีก 2017 (3 อันดับแรก) 1.คาวาซากิ ฟรอนตาเล่ 72 คะแนน (+39) 2.คาชิม่า แอนท์เลอร์ส 72 คะแนน (+22) 3.เซเรโซ่ โอซาก้า 63 คะแนน (+22).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและคาวาซากิ ฟรอนตาเล · ดูเพิ่มเติม »

คำกำกับนาม

ำกำกับนาม คือคำชนิดหนึ่งใช้ประกอบเข้ากับคำนาม เพื่อแสดงชนิดของการอ้างถึงซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยคำนามนั้น คำกำกับนามเป็นตัวระบุความชี้เฉพาะทางไวยากรณ์ของคำนาม ในบางภาษาขยายขอบเขตไปถึงปริมาณและจำนวนด้วย คำกำกับนามไม่มีใช้ในภาษาไทย แต่พบได้บ่อยในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน เช่นภาษาอังกฤษมีคำว่า a, an, the ภาษาฝรั่งเศสมีคำว่า le, la, l’, les เป็นต้น ในการวิเคราะห์ชนิดของคำ (part of speech) คำกำกับนามอาจจัดว่าเป็นคำคุณศัพท์ชนิดพิเศษ นักภาษาศาสตร์สมัยใหม่นิยมจัดแบ่งภายในโครงสร้างแยกส่วนเป็นตัวกำหนด (determiner).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและคำกำกับนาม · ดูเพิ่มเติม »

คำปฏิญาณโอลิมปิก

การกล่าวคำปฏิญาณตนในพิธีเปิดกีฬาโอลิมปิก เป็นการปฏิญาณตนในพิธีเปิดโอลิมปิกโดยนักกีฬา, ผู้ตัดสิน, เจ้าหน้าที่จำนวนหนึ่งคน พร้อมกับผู้ฝึกสอนอีกจำนวนหนึ่งคนยืนอยู่ข้างตัว ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะเป็นคนจากประเทศเจ้าภาพในปีนั้น ผู้กล่าวคำปฏิญาณตนจะปฏิญาณตนในนามของนักกีฬา, เจ้าหน้าที่ หรือผู้ฝึกสอนในพิธีเปิดโอลิมปิกทั้งหมดโดยจะมีผู้ช่วยถือธงโอลิมปิกอยู่ตรงหัวมุมเสมอ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและคำปฏิญาณโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 86

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 86 เป็นงานที่จะมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 86 · ดูเพิ่มเติม »

งานแต่งงานของฟิกาโร

งานแต่งงานของฟิกาโร (Le nozze di Figaro, ossia la folle giornata, The Marriage of Figaro หรือ the Day of Madness) เป็นอุปรากรชวนขันสี่องก์ที่เขียนเป็นภาษาอิตาลีโดยโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทผู้เป็นคีตกวีอุปรากรคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 18 โมซาร์ทเขียน “งานแต่งงานของฟิกาโร” จากเนื้อร้องภาษาอิตาลีที่เขียนโดยลอเรนโซ ดา พอนเตที่มาจากละครเวทีชวนขันโดยชาวฝรั่งเศสปิแยร์ โบมาร์เชส์ชื่อ “La folle journée, ou le Mariage de Figaro” (ค.ศ. 1784) แม้ว่าบทละครของโบมาร์เชส์จะถูกห้ามเล่นในกรุงเวียนนา เพราะมีเนื้อหาเสียดสีชนชั้นเจ้านาย ซึ่งถือว่าเป็นสร้างความไม่มั่นคงให้แก่รัฐบาลในช่วงสิบปีก่อนที่จะเกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส แต่อุปรากรที่โมซาร์ทเขียนกลายเป็นงานชิ้นที่เป็นที่นิยมที่สุดของโมซาร์ท โดยเฉพาะโอเวอร์เชอร์ที่มีชื่อเสียงที่มักจะนำมาเล่นเป็นดนตรีคอนเสิร์ต เนื้อหาของโอเวอร์เชอร์มิได้นำมาใช้ในการสร้างงานต่อมา นอกไปจากวลีสั้นสองวลีในบทของเคานท์ Cosa sento! ในองก์ที่ 1 “งานแต่งงานของฟิกาโร” เปิดแสดงเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1786 ที่กรุงเวียนนา ออสเตรี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและงานแต่งงานของฟิกาโร · ดูเพิ่มเติม »

ง้องแง้งกับเงอะงะ

ง้องแง้งกับเงอะงะ (ภาษาอังกฤษ: Cow and Chicken) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา สร้างโดย Devid Feiss ออกอากาศครั้งแรกทางช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์ก ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและง้องแง้งกับเงอะงะ · ดูเพิ่มเติม »

ฉากแท่นบูชาเบรรา

ฉากแท่นบูชาเบรรา หรือ พระแม่มารีเบรรา หรือ พระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญ (ภาษาอังกฤษ: Holy Conversation; ภาษาอิตาลี: Pala di Brera หรือ Brera Madonna หรือ Brera Altarpiece หรือ Montefeltro Altarpiece) เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกา จิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เบรราที่เมืองมิลานในประเทศอิตาลี “แท่นบูชาเบรรา” เป็นภาพที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1472 ถึงปี ค.ศ. 1474 ที่เขียนให้เฟเดอริโกที่ 2 แห่งมอนเตเฟลโตร (Federico II da Montefeltro) ดยุกแห่งเออร์บิโนเพื่อฉลองวันเกิดของลูกชาย กุยโดบาลโดแห่งมอนเตเฟลโตร บางหลักฐานกล่าวว่าเป็นการฉลองการได้รับชัยชนะต่อปราสาทในบริเวณมาเร็มม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและฉากแท่นบูชาเบรรา · ดูเพิ่มเติม »

ซอนเน็ต

ซอนเน็ต (Sonnet) เป็นรูปแบบฉันทลักษณ์งานกวีนิพนธ์ในภาษาอังกฤษแบบหนึ่ง พบมากในงานกวีนิพนธ์ของประเทศในยุโรป คำว่า "ซอนเน็ต" มาจากคำ sonet ในภาษาอ็อกซิตัน และ sonetto ในภาษาอิตาลี มีความหมายว่า "บทเพลงน้อย ๆ" ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เริ่มมีการใช้ซอนเน็ตกับบทกวี 14 บรรทัด ซึ่งมีรูปแบบสัมผัสที่เคร่งครัดและมีโครงสร้างพิเศษ ผู้เขียนโคลงซอนเน็ตมักมีคำเรียกเฉพาะว่า "sonneteer" งานกวีนิพนธ์แบบซอนเน็ตที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ ซอนเน็ตของเชกสเปียร์ ซึ่งได้ประพันธ์โคลงซอนเน็ตไว้ถึง 154 บท กวีมักนิยมเขียนโคลงซอนเน็ตโดยใช้มาตราแบบ iambic pentameterในงานประพันธ์ภาษาอังกฤษ ถ้าประพันธ์ด้วยภาษากลุ่มโรมานซ์ จะนิยมใช้มาตราแบบ hendecasyllable และ alexandrine.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและซอนเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

ซัลซา (ซอส)

ซัลซา เป็นอาหารประเภทซอสชนิดหนึ่งในอาหารยุโรปและลาตินอเมริกา คำว่าซัลซาเองนั้นหมายถึงซอสในภาษาสเปน ภาษาอิตาลี ภาษากรีก และภาษาตุรกี (salça) ส่วนในภาษาอังกฤษ ซัลซาหมายถึงซอสชนิดหนึ่งในอาหารเม็กซิโก (salsas picantes) ซึ่งใช้เป็นเครื่องจิ้ม ลักษณะของซัลซาเป็นซอสที่ทำจากผักและผลไม้หั่นเป็นชิ้น เช้น มะเขือเทศ แตงกวา มะม่วง ใส่พริก หอมแดง ถั่ว ข้าวโพด และเครื่องเทศอื่น ๆ คลุกกับน้ำมันมะกอกและน้ำส้มสายชู กินกับอาหารทะเล รสชาติมีตั้งแต่ปานกลางจนถึงเผ็.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและซัลซา (ซอส) · ดูเพิ่มเติม »

ซังคท์โมริทซ์

ซังคท์โมริทซ์ (Sankt Moritz) หรือ ซันเมารีซิโอ (San Maurizio) เป็นเมืองสกีรีสอร์ทในเทือกเขาแอลป์ ตั้งอยู่ในรัฐเกราบึนเดินทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไม่ไกลจากพรมแดนประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ ณ ระดับความสูง 1,800 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ถือเป็นหนึ่งในแหล่งสกีรีสอร์ทที่หรูหราที่สุดในสวิตเซอร์แลนด์ ในแต่ละปีมีผู้มาเยือนเมืองนี้นับล้านคน ซังคท์โมริทซ์เคยใช้เป็นสถานที่จัดโอลิมปิกฤดูหนาวในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและซังคท์โมริทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไรทรูปเปอร์

ซามูไรทรูปเปอร์ (Ronin Warriors) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวโชเน็น แต่งโดยยาทาเตะ ฮาจิเมะ ผลิตโดยบริษัทซันไรส์ ออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ทางสถานีนาโงยะ ทีวีและทีวีอาซาฮี ทุกวันเสาร์ เวลา 17.30-18.00 น. ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2531 ถึง 4 มีนาคม พ.ศ. 2532 มีความยาวทั้งสิ้น 39 ตอน และต่อมาสร้างเป็นโอวีเออีก 3 ภาคด้วยกัน ในปี พ.ศ. 2532 ถึง พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและซามูไรทรูปเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซาราห์ ไบรท์แมน

ซาราห์ ไบรท์แมน เป็นนักร้องเสียงโซปราโน นักแสดง นักแต่งเพลง และนักเต้นชาวอังกฤษ มีความสามารถในการร้องเพลงหลายภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ สเปน ฝรั่งเศส ละติน เยอรมัน อิตาลี รัสเซีย ฮินดี และแมนดาริน เป็นนักร้องเสียงโซปราโนที่มียอดขายผลงานมากที่สุด ถึง 30 ล้านอัลบัม และ2 ล้านแผ่นดีวีดี ไบรท์แมนมีชื่อเสียงจากบทบาท "คริสทีน" จากละครเพลง เดอะแฟนธ่อมออฟดิโอเปร่า ฉบับปี 1984 ของแอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ ที่เขาเขียนบทบาทนี้เป็นพิเศษสำหรับเธอ เวบเบอร์ถึงกับปฏิเสธไม่ยินยอมให้ละครเพลงเรื่องนี้ไปจัดแสดงที่โรงละครบรอดเวย์ หากไบร์ทแมนไม่ได้รับบทคริสทีน ไบร์ทแมนพบกับแอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและซาราห์ ไบรท์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ซานตาลูชีอา

ซานตาลูชีอา (Santa Lucia) เป็นเพลงพื้นเมืองภาษานาโปลี ซึ่งได้รับการแปลงเนื้อร้องเป็นภาษาอิตาลี โดยเตโอโดโร กอตตราอู (Teodoro Cottrau; 1827–1879) ในปี ค.ศ. 1849 ที่เมืองเนเปิลส์ เนื้อร้องบรรยายถึงทัศนียภาพอันงดงามในอ่าวเนเปิลส์ ด้านหน้าย่านชุมชนบอร์โกซานตาลูชีอา คนเรือเชื้อเชิญให้ผู้คนลงเรือเพื่อชมความงามของท้องทะเลยามพระอาทิตย์ตก เพลงนี้ถูกนำไปขับร้องในภาษาต่าง ๆ มากมาย เช่นที่ขับร้องโดยเอนริโก คารูโซ, มาริโอ แลนซา และเอลวิส เพรสลีย์ ในสหรัฐอเมริกา เป็นเพลงขับร้องสรรเสริญในเทศกาลนักบุญลูซีอา (Saint Lucy) ในสวีเดน เดนมาร์ก และนอร์เว.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและซานตาลูชีอา · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน)

หน้าปก ''Eroica'' Symphony มีร่องรอยจากการที่เบโทเฟินขูดชื่อนโปเลียนออกไป ซิมโฟนีหมายเลข 3 ในบันไดเสียง อี แฟลต เมเจอร์ (Symphony No.) ของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน รู้จักกันในชื่อ อีรอยกา ซิมโฟนี (Eroica Symphony; Eroica มาจากภาษาอิตาลี หมายถึง "heroic", วีรบุรุษ) เป็นผลงานซิมโฟนีของเบโทเฟินที่บางครั้งถูกอ้างถึงว่าเป็นจุดสิ้นสุดของดนตรียุคคลาสสิก และเป็นจุดเริ่มต้นของดนตรียุคโรแมนติก เบโทเฟินเริ่มแต่งซิมโฟนีบทนี้ด้วยความเลื่อมใสในตัวนโปเลียน โบนาปาร์ต (1769-1821) ในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เดิมเมื่อเริ่มแต่ง เขาอุทิศผลงานชิ้นนี้ให้กับนโปเลียน พร้อมกับตั้งชื่อให้ว่า Bonaparte เริ่มตั้งแต่ช่วงปลายปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและซิมโฟนีหมายเลข 3 (เบโทเฟน) · ดูเพิ่มเติม »

ซินแบด พิชิตตำนาน 7 คาบสมุทร

ซินแบด พิชิตตำนาน 7 คาบสมุทร (ภาษาอังกฤษ Sinbad: Legend of the Seven Seas) เป็นภาพยนตร์ออกในปี 2003 ดรีมเวิร์กแอนิเมชั่น โดยจะใช้แอนิเมชั่น 2 มิติ และ 3 มิติเข้าด้วยกันในบางเรื่อง นี่คือเรื่องภาพยนตร์แอนิเมชั่น 2 มิติ เรื่องสุดท้ายที่ทำ โดยดรีมเวิร์คส์แอนิเมชั่เนื่องจากไม่สามารถตอบสนองความต้องการบ็อกซ์ออฟฟิศ และการตัดสินใจดรีมเวิร์คส์'ที่ประชาชนอเมริกันจะเป็นที่สนใจมากขึ้นในภาพ เคลื่อนไหวคอมพิวเตอร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและซินแบด พิชิตตำนาน 7 คาบสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ซูบารุ ลีออน

Subaru Leone เป็น คอมแพ็คคาร์ ที่ขึ้นสายการผลิตช่วงปี 1971 ถึง 1994.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและซูบารุ ลีออน · ดูเพิ่มเติม »

ซีรี

ซีรี (Siri) เป็นซอฟต์แวร์ผู้ช่วยอัจฉริยะ (intelligent software assistant) และผู้นำร่องความรู้ (knowledge navigator) ซึ่งทำหน้าที่เสมือนแอปพลิเคชันช่วยส่วนบุคคลสำหรับอุปกรณ์iOS แอปพลิเคชันนี้ใช้อินเตอร์เฟซผู้ใช้ภาษาธรรมชาติในการตอบคำถาม เสนอคำแนะนำ และดำเนินการปฏิบัติตามคำขอซึ่งได้รับมอบหมายไปยังชุดบริการเว็บ แอปเปิลอ้างว่าซอฟต์แวร์นี้ปรับให้เข้ากับความพึงใจส่วนตัวของผู้ใช้เมื่อเวลาผ่านไป และให้ผลเป็นของตัว เช่นเดียวกับการบรรลุภารกิจ เช่น การหาคำแนะนำร้านอาหารละแวกใกล้เคียง หรือถามทาง ซีรีเดิมเริ่มแรกเป็นแอปพลิเคชัน iOS ที่สามารถหาได้ใน App Store ซีรีตกเป็นกรรมสิทธิของบริษัทแอปเปิลเมื่อวันที่ 28 เมษายน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและซีรี · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายแพ่งสวิส

ประมวลกฎหมายแพ่งสวิส (Zivilgesetzbuch; Civil Code; Code civil; Codice civile) เป็นประมวลกฎหมายแพ่งแห่งประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1907 (พ.ศ. 2450) และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1912 (พ.ศ. 2455) มาจวบจนปัจจุบันนี้ ประมวลกฎหมายนี้ได้อีกชื่อว่า "ประมวลกฎหมายแพ่งสวิส ฉบับวันที่ 10 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและประมวลกฎหมายแพ่งสวิส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิกเตนสไตน์

ลิกเตนสไตน์ (Liechtenstein) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ ราชรัฐลิกเตนสไตน์ (Fürstentum Liechtenstein) เป็นประเทศเล็กๆที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในทวีปยุโรปกลาง มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศออสเตรีย และด้านตะวันตกติดกับสวิตเซอร์แลนด์ ถึงแม้ประเทศนี้จะมีขนาดเล็ก และเต็มไปด้วยภูเขาสูง แต่ก็มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย นอกจากนี้ลิกเตนสไตน์ยังเป็นที่นิยมของนักเล่นกีฬาฤดูหนาว และยังมีชื่อเสียงในฐานะเป็นประเทศที่เก็บภาษีต่ำมากประเทศหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและประเทศลิกเตนสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวีเนีย

ประเทศสโลวีเนีย (Slovenia; Slovenija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย (Slovene:, abbr.: RS) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในยุโรปกลาง ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าและแหล่งวัฒนธรรมหลักของทวีปยุโรป มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดอิตาลี ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลเอเดรียติก ทางใต้และตะวันออกจรดโครเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดฮังการีและทางเหนือจรดออสเตรีย มีพื้นที่ประมาณ 20,273 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 2.06 ล้านคน สโลวีเนียเป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาและเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ สหภาพยุโรปและเนโท เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดคือลูบลิยานา พื้นที่ส่วนใหญ่ของสโลวีเนียเป็นภูเขาและมีลักษณะอากาศแบบภูมิอากาศภาคพื้นทวีปหลัก ยกเว้นภูมิภาคชายฝั่งจะมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนและภูมิภาคตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งมีภูมิอากาศแบบเทือกเขาแอลป์ นอกจากนี้ไดนาริกแอลป์และที่ราบพันโนเนียก็พอได้ในสโลวีเนียเช่นกัน สโลวีเนียเป็นหนึ่งประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นหนึ่งในพื้นที่ ๆ มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์มากในยุโรป ทั้งแม่น้ำจำนวนมาก ชั้นหินอุ้มน้ำและแหล่งธารน้ำใต้ดิน สโลวีเรียมีป่าปกคลุมมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ส่วนการตั้งถิ่นฐานของประชากรก็จะกระจักกระจายกันไป ประวัติศาสตร์สโลวีเนียได้รับทั้งวัฒนธรรมและภาษาจากสลาวิกตะวันตก สลาวิกใต้ เจอร์แมนิก โรมานซ์และฮังกาเรียน ถึงแม้ประชากรในประเทศจะไม่ได้เป็นเอกพันธุ์เดียวกันแต่ส่วนใหญ่เป็นชาวสโลวีน ภาษาสโลวีเนียซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาราชการของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไม่นับถือศาสนาอย่างแท้จริง แต่วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของประเทศได้รับอิทธิพลจากโรมันคาทอลิกและลูเทอแรน เศรษฐกิจของประเทศสโลเวเนียเป็นแบบเปิดขนาดเล็กและเป็นอุตสาหกรรมมุ่งการส่งออก ที่ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ และได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปที่เริ่มช่วงปลายยุค 2000 เศรษฐกิจหลักคืออุตสาหกรรมบริการตามด้วยอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ในอดีตพื้นที่ของสโลเวเนียเป็นส่วนหนึ่งของรัฐที่แตกต่างกันหลายแห่งทั้งจักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิการอแล็งเฌียง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค สาธารณรัฐเวนิส จังหวัดอิลลิเรียของนโปเลียนที่ 1ที่ปกครองโดยฝรั่งเศส จักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและประเทศสโลวีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซานมารีโน

ซานมารีโน หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซานมารีโน และอีกชื่อหนึ่งคือ "'สาธารณรัฐอันสงบสุขยิ่งซานมารีโน"' เป็นประเทศในยุโรปใต้บนเทือกเขาแอเพนไนน์ ล้อมรอบโดยประเทศอิตาลี เป็นหนึ่งในจุลรัฐยุโรป.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและประเทศซานมารีโน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมนาโก

ราชรัฐโมนาโก (Principauté de Monaco) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า โมนาโก (Monaco มอนาโก) เป็นนครรัฐในยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศเอกราชที่เล็กที่สุดเป็นอันดับสองของโลก แต่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและประเทศโมนาโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโครเอเชีย

รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและประเทศโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโคลอมเบีย

ลอมเบีย (โกลมเบีย) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโคลอมเบีย เป็นประเทศในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันออกติดต่อกับเวเนซุเอลาและบราซิล ทางทิศใต้ติดต่อกับเอกวาดอร์และเปรู ทางทิศเหนือจรดทะเลแคริบเบียน ส่วนทางทิศตะวันตกติดต่อกับปานามาและมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและประเทศโคลอมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์แม็คเกอร์ก

ปรากฏการณ์แม็คเกอร์ก (McGurk effect) เป็นปรากฏการณ์หลอกการรับรู้คำพูด ที่แสดง (คือเกิดจาก) การทำงานร่วมกันระหว่างการได้ยินและการเห็นในการรับรู้คำพูด การรับรู้คำพูดที่ผิดไปจากเสียงที่ได้ยินเกิดขึ้นเมื่อมีการจับคู่เสียงของคำพูดพยางค์หนึ่ง กับการเห็นการออกเสียงคำพูดอีกพยางค์หนึ่ง ซึ่งก่อให้เกิดการรับรู้เสียงเป็นพยางค์ที่สามNath, A.R. & Beauchamp, M.S. (2011).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและปรากฏการณ์แม็คเกอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ปากานี ซอนดา

ปากานี ซอนดา (Pagani Zonda) เป็นรถยนต์นั่งสมรรถนะสูง เครื่องยนตร์กลางลำท้าย ขับเคลื่อนสองล้อท้าย (RMR) 2 ประตู 2 ที่นั่ง ผลิตโดยบริษัท ปากานีจากอิตาลี เปิดตัวครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและปากานี ซอนดา · ดูเพิ่มเติม »

ปิน็อกกีโอ

วาด ''ปิน็อกกีโอ'' โดยเอนริโก มัซซานติ ปี ค.ศ. 1883 ปิน็อกกีโอ (Pinocchio) เป็นวรรณกรรมเยาวชนภาษาอิตาเลียน ผลงานของ การ์โล กอลโลดี (Carlo Collodi) นักประพันธ์ชาวอิตาเลียน ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1880 เรื่องปิน็อกกีโอนี้ ได้กลายมาเป็นเรื่องอ่านเล่นคลาสสิกสำหรับเด็ก และแพร่หลายอย่างกว้างขวาง โดยมีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ เผยแพร่ไปทั่วโลก ทั้งยังมีการนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์มากกว่า 20 ครั้ง โดยที่มีชื่อเสียงมากที่สุดนั้น เป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวของ วอลต์ ดิสนีย์ (Walt Disney) ส่วนที่ไม่ค่อยประสบความสำเร็จ ได้แก่ภาพยนตร์ที่ใช้คนแสดงในปี ค.ศ. 2002 กำกับและแสดงโดย Roberto Benigni ในชื่อเรื่อง พินอคคิโอ ฅนไม้ผจญภัย ปิน็อกกีโอ เป็นเรื่องราวการผจญภัยของหุ่นไม้ที่มีชีวิต กับพ่อผู้ยากจนของเขา เจปเปตโต ซึ่งเป็นช่างไม้ ปิน็อกกีโอมีลักษณะเด่นที่รู้จักกันดี คือ เมื่อพูดโกหก จมูกของเขาจะยาวขึ้น กอลโลดีนั้นไม่ได้ตั้งใจที่จะเขียนเรื่องนี้ให้เป็นเรื่องสำหรับเด็กตั้งแต่แรก ในเนื้อเรื่องดั้งเดิมนั้น ปิน็อกกีโอถูกแขวนคอตาย เนื่องจากทำความผิดนับครั้งไม่ถ้วน แต่ก็ได้แก้ไขในฉบับถัดมา ซึ่งตอนจบนั้น ได้แก้ให้หุ่นกระบอกนั้นกลายเป็นเด็กที่มีชีวิตจริง ๆ ซึ่งก็เป็นตอนจบที่เรารู้จักกันดี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและปิน็อกกีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ปีอัซซาเดลโปโปโล

ปีอัซซาเดลโปโปโล มองจากปินโช บันไดทอดจากเปียซซาเดลโปโปโลไปยัง Pincio ทางทิศตะวันออก Fontana del Nettuno ด้านหนึ่งของ Fontana dell'Obelisco พิธีสถาปนาสาธารณรัฐโรมัน ค.ศ. 1849. ปีอัซซาเดลโปโปโล (Piazza del Popolo) เป็นจัตุรัสแห่งหนึ่งในกรุงโรม ประเทศอิตาลี ตามภาษาอิตาลีสมัยใหม่แล้ว ชื่อจัตุรัสมีความหมายว่า "จัตุรัสแห่งประชาชน" แต่ในทางประวัติศาสตร์ กล่าวกันว่าชื่อนี้มีที่มาจากต้นสน (Poplar) เช่นเดียวกับชื่อของโบสถ์ซานตามาเรียเดลโปโปโลที่ตั้งอยู่ที่มุมตะวันออกเฉียงเหนือของจัตุรั.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและปีอัซซาเดลโปโปโล · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอตะ

ปีเอตะ" โดย มีเกลันเจโล ปีเอตะโดยลุยส์ จิเมเนซ ปีเอตะ (Pietà; pietas) มาจากภาษาอิตาลี ที่แปลว่า ความสงสาร คือหัวเรื่องของศิลปะในศาสนาคริสต์ที่เป็นรูปพระแม่มารีย์ประคองร่างพระเยซูที่เพิ่งอัญเชิญลงจากกางเขน ส่วนใหญ่จะพบในงานประติมากรรม Pietà เป็นหัวเรื่องหนึ่งในชุด “แม่พระระทมทุกข์” (Our Lady of Sorrows) และเป็นฉากหนึ่งใน “พระทรมานของพระเยซู” ซึ่งเป็นฉากที่มีพระแม่มารีย์ นางมารีย์ชาวมักดาลา และบุคคลอื่นล้อมพระศพพระเยซู (หลังจากที่อัญเชิญลงจากกางเขน) ด้วยความความโศกเศร้า ฉากนี้ตามความเป็นจริงแล้วควรจะเรียกว่า “Lamentation” แต่บางที่ก็จะใช้คำว่า “Pietà” แทน คำว่า “pietas” สืบมาจากประเพณีของชาวโรมันราวคริสต์ศตวรรษที่ 7 ที่มีการตึอกชกหัวและ "แสดงอารมณ...ความรักอันใหญ่หลวงและความกลัวอำนาจของเทพเจ้าโรมัน" ปีเอตะเริ่มขึ้นที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ปีเอตะแบบเยอรมันและโปแลนด์จะเน้นรอยแผลของพระเยซู.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและปีเอตะ · ดูเพิ่มเติม »

นอสตราเดมัส

นอสตราเดมัส ไทยมักเรียก นอสตราดามุส (Nostradamus) ชื่อจริงว่า มีแชล เดอ นอสทร์ดาม (Michel de Nostredame; เกิด 14 หรือ 21 ธันวาคม 1503 แล้วแต่แหล่งข้อมูล;Most eyewitnesses to his original epitaph (including his son Caesar and historian Honoré Bouche) indicate 21 December, but a few (including his secretary Chavigny) suggest 14th. The inscription on his present tombstone evidently follows Chavigny. No conclusive explanation for the discrepancy has so far been discovered. See Guinard, Patrice, ตาย 2 กรกฎาคม 1566) เป็นชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นเภสัชกร (apothecary) และหมอดูที่มีชื่อเสียง เพราะเผยแพร่ชุดคำทำนายซึ่งเลื่องชื่อที่สุดในโลกหลายชุด โดยเฉพาะ เลพรอเฟซี (Les Propheties) ที่พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 1555 เมื่อเผยแพร่หนังสือชุดดังกล่าวแล้ว นอสตราเดมัสก็ได้รับความสนใจจากสำนักพิมพ์ใหญ่หลายแห่ง พร้อมกิตติศัพท์ว่า สามารถทำนายทายทักเหตุการณ์สำคัญหลายเรื่องในโลก แหล่งข้อมูลทางวิชาการส่วนใหญ่ถือกันว่า การอ้างว่า เหตุการณ์ในโลกสัมพันธ์กับโคลงทำนายของนอสตราเดมัสนั้น เป็นผลมาจากการตีความหรือแปลความที่ผิดพลาด ซึ่งบางครั้งปรากฏว่า ตั้งใจให้ผิดพลาด มิฉะนั้น ก็เป็นเรื่องมโนสาเร่ถึงขนาดที่ไม่อาจถือเอาโคลงเหล่านั้นเป็นพยานหลักฐานว่า นอสตราเดมัสมีอำนาจพยากรณ์อย่างแท้จริง อย่างไรก็ดี นักวิจารณ์จำนวนหนึ่งก็ประสบความสำเร็จในการตีความอย่างเสรีโดยใช้วิธี "พลิกแพลง" ถ้อยคำในโคลงเพื่อระบุเหตุการณ์อันเห็นได้ชัดว่า ใกล้จะมาถึงอยู่แล้ว เช่น ในปี 1867 หลุยส์-มีแชล เลอ เปอเลอตีเย (Louis-Michel le Peletier) ใช้กลวิธีดังกล่าวทำนายล่วงหน้า 3 ปีว่าจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 จะทรงมีชัยหรือปราชัยในสงครามฝรั่งเศส–ปรัสเซีย แม้เลอ เปอเลอตีเย จะยอมรับว่า ตนไม่สามารถบอกได้จริงว่า จะทรงมีชัยหรือปราชัย และเหตุการณ์จะเกิดขึ้นเมื่อใดก็ตาม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและนอสตราเดมัส · ดูเพิ่มเติม »

นีโร

นีโร หรือ เนียโร (Nero) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและนีโร · ดูเพิ่มเติม »

นครรัฐวาติกัน

นครรัฐวาติกัน (State of the Vatican City; Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ ปัจจุบัน สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและนครรัฐวาติกัน · ดูเพิ่มเติม »

นโปเลียนที่ 2

นโปเลียน ฟร็องซัว ชาร์ล โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต (Napoléon François Charles Joseph Bonaparte; 20 มีนาคม พ.ศ. 235422 กรกฎาคม พ.ศ. 2365) ดำรงพระอิสริยยศเป็นพระราชกุมาร (Prince Imperial) กษัตริย์แห่งโรม และเจ้าชายแห่งปาร์มา ปลาเซนตีอา และกัสตัลลา นอกจากนี้ยังทรงเป็นที่รู้จักในราชสำนักออสเตรียตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและนโปเลียนที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

แบร์น

แบร์น (Bern; Berne) หรือ แบร์นา (อิตาลีและBerna) เป็นเมืองหลวงโดยพฤตินัยของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีประชากรประมาณ 130,000 คน มีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ ภาษาราชการที่ใช้ในกรุงแบร์นคือ ภาษาเยอรมัน แต่คนในเมืองส่วนใหญ่นิยมพูดภาษาเยอรมันแบร์นเป็นภาษาถิ่น ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแบร์น · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชชีทัสกานี

แกรนด์ดัชชีทัสกานี (Grand Duchy of Tuscany, Granducato di Toscana) เป็นดินแดนที่เคยมีอยู่ในประวัติศาสตร์อิตาลี ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแกรนด์ดัชชีทัสกานี · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แมกซ์ ฟอน ซีโดว

ร์ล อดอล์ฟ "แมกซ์" ฟอน ซีโดว นักแสดงอาวุโสชาวสวีเดน มีผลงานการแสดงภาพยนตร์หลายสิบเรื่อง สามารถพูดได้หลายภาษาทั้งภาษาสวีเดน นอร์เวย์ อังกฤษ อิตาลี เยอรมัน เดนมาร์ก และสเปน ฟอน ซีโดว ได้ถือสัญชาติฝรั่งเศสเพิ่มเติมจากสัญชาติสวีเดน ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแมกซ์ ฟอน ซีโดว · ดูเพิ่มเติม »

แมคโอเอส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแมคโอเอส · ดูเพิ่มเติม »

แม่ชีเทเรซา

แม่ชีเทเรซา หรือ คุณแม่เทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ท่านมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ช่วยเหลือและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ท่านจึงได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ และหลังจากมรณกรรมก็ได้รับการประกาศเป็นบุญราศีโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 มีนามว่า "บุญราศีเทเรซาแห่งกัลกัตตา" ต่อมาในวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแม่ชีเทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระมหาการุณย์

“พระแม่มารีปางกรุณา” โดย ซาโน ดิ เปียโตร ราวคริสต์ทศวรรษ 1440 พระแม่มารีทรงพิทักษ์แม่ชีและผู้ฝึกใหม่ พระแม่มารีปางกรุณา (ภาษาอังกฤษ: Virgin of Mercy; ภาษาอิตาลี: Madonna della Misericordia; ภาษาเยอรมัน: Schutzmantelmadonna; ภาษาฝรั่งเศส: Vièrge au Manteau หรือ Vierge de Miséricorde) เป็นหัวเรื่องของศิลปะคริสต์ศาสนา ที่เป็นภาพพระแม่มารีกางฉลองพระองค์คลุมกว้างออกไปเหนือกลุ่มคนที่เข้ามารับการพิทักษ์ หัวเรื่องการเขียนภาพนี้นิยมกันมากในอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 และมักจะเป็นลักษณะเขียนย่อยจากภาพเหมือนผู้อุทิศ (Donor portrait) ภาพเขียนลักษณะนี้พบในประเทศอื่นและศิลปะยุคต่อมาด้วย โดยเฉพาะในแคว้นคาเทโลเนีย และละตินอเมริก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแม่พระมหาการุณย์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระและพระกุมาร

แม่พระและพระกุมาร (Madonna and Child; Madonna col Bambino) เป็นรูปเคารพที่สำคัญที่สุดรูปหนึ่งในศาสนาคริสต์ เป็นรูปของพระนางมารีย์พรหมจารี (ซึ่งชาวคาทอลิกเรียกว่าแม่พระ) และพระกุมารเยซู (พระเยซูเมื่อทรงพระเยาว์) “แม่พระและพระกุมาร” โดย ฟิลลิปโป ลิปปี (Filippo Lippi).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแม่พระและพระกุมาร · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระแห่งแกรนด์ดยุก

ูบทความหลักที่ พระแม่มารีและพระบุตร แม่พระแห่งแกรนด์ดยุก (ภาษาอิตาลี: Madonna del Granduca) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่วังพิตติที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ราฟาเอลอาจจะเขียนภาพ “แม่พระแห่งแกรนด์ดยุก” ราวปี ค.ศ. 1505 หลังจากที่มาถึงฟลอเรนซ์ อิทธิพลที่ได้รับจากเลโอนาร์โด ดา วินชีเห็นได้ชัดในภาพนี้ในการใช้เทคนิคการเขียนแบบสีม่านหมอก (sfumato) ภาพเขียนเป็นของเฟอร์ดินานด์ที่ 3, แกรนด์ดยุกแห่งทัสเคนี (Ferdinand III, Grand Duke of Tuscany) ที่ภาพตั้งชื่อตาม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแม่พระแห่งแกรนด์ดยุก · ดูเพิ่มเติม »

แม่พระเปซาโร

ระแม่มารีเปซาโร (ภาษาอิตาลี: Pala Pesaro หรือ Madonna di Ca' Pesaro; ภาษาอังกฤษ: Pesaro Madonna) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันอยู่ที่บาซิลิกาซานตามาเรีย กลอริโอซา เดอิ ฟราริที่เมืองเวนิสในประเทศอิตาลี ทิเชียนเขียนภาพ “พระแม่มารีเปซาโร” ระหว่างปี ค.ศ. 1519 ถึงปี ค.ศ. 1526 สำหรับชาเปลของตระกูลเปซาโรที่ซื้อจากบาซิลิกาซานตามาเรีย กลอริโอซา เดอิ ฟราริ (Santa Maria Gloriosa dei Frari) ในปี ค.ศ. 1518 โดยได้รับจ้างจากจาโคโป เปซาโร (Jacopo Pesaro) จาโคโปเป็นบาทหลวงของพาฟอส (Paphos) ในไซปรัส และได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการกองเรือของพระสันตะปาปาโดยสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแม่พระเปซาโร · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำดานูบ

แม่น้ำดานูบ (Danube River) เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในสหภาพยุโรป และยาวเป็นอันดับสองของทวีปยุโรป (รองจากแม่น้ำวอลกา) มีต้นกำเนิดที่แถบป่าดำ (Black Forest; Schwarzwald) ในประเทศเยอรมนี เกิดจากแม่น้ำเล็กๆ สองสาย คือ Brigach และ Breg ซึ่งไหลมารวมกันเป็นแม่น้ำดานูบที่เมือง Donaueschingen แม่น้ำดานูบไหลจากป่าดำไปทางทิศตะวันออกผ่านเมืองหลวงและเมืองสำคัญๆ ของประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตกและยุโรปตะวันออก ก่อนที่จะไหลผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำดานูบ (Danube Delta) และแยกลงสู่ทะเลดำที่ประเทศโรมาเนียและยูเครน มีความยาวประมาณ 2,845 กม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแม่น้ำดานูบ · ดูเพิ่มเติม »

แร็กคูน

แร็กคูน (raccoon, common raccoon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Procyon lotor อยู่ในวงศ์แร็กคูน (Procyonidae) มีความยาวลำตัวราว 2 ฟุต มีหางเป็นพวงมีแถบสีดำคาดเป็นปล้อง ๆ ยาวราว 10 นิ้ว ขนตามลำตัวสีน้ำตาลปนเทา ใบหน้าสีขาวมีแถบสีดำคาดจากตาไปเป็นแถบตลอดแก้ม แลดูคล้ายเหมือนโจรสวมหน้ากาก เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ไปทั่วในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกากลางในหลายพื้นที่ ทั้งในป่า หรือแม้แต่ชุมชนของมนุษย์ เป็นสัตว์ที่สามารถปรับตัวได้เป็นอย่างดี กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งเนื้อสัตว์และพืช อีกทั้งยังชอบที่จะอยู่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำด้วยการจับสัตว์น้ำกินเป็นอาหาร เช่น กบ, ปลา, กุ้ง และปู หรือเต่าขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งนกหรือแมลงปีกแข็งขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ด้วย แต่ไม่สามารถที่จะว่ายน้ำได้ จะใช้วิธีการจับในน้ำตื้น ๆ ที่ขาหยั่งถึงแทน ในช่วงฤดูแล้งที่อาหารขนาดแคลนก็จะกินลูกไม้, ผลไม้ และดอกข้าวโพด เป็นอาหาร หรืออาจจะบุกเข้าไปในบ้านเรือนของมนุษย์ ขุดคุ้ยหาขยะหรือเศษอาหาร หรือแม้กระทั่งเปิดตู้เย็นหากิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ใช้เท้าหน้าได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนมือสำหรับหยิบจับอาหาร ซึ่งสามารถกระทำได้ถึงขนาดคลายปมเชือก และยังเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมพิเศษ คือ ก่อนจะกินอาหาร มักจะนำไปล้างน้ำเสียก่อน จนมีความเชื่อว่าเป็นสัตว์รักสะอาด แต่ความจริงแล้ว เป็นพฤติกรรมที่จะนวดอาหารให้นิ่มซะก่อน ก่อนที่จะกิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ปีนต้นไม้เก่ง ทำรังอยู่บนยอดไม้และใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ ในเวลากลางวันจะนอนขดอยู่ตามพงไม้ หรือซอกหิน หรือนอนผึ่งแดดอยู่ในรัง ในตอนกลางคืนจะออกหากิน โดยใช้เส้นทางเดิม และมักจะใช้เส้นทางที่เป็นพื้นแข็ง เพื่อไม่ให้เกิดรอยเท้า ตัวเมียออกลูกครั้งละ 4-6 ตัว ในโพรงไม้ ในช่วงฤดูหนาวที่หิมะตกและอาหารขาดแคลน แร็กคูนจะใช้เวลาช่วงนี้ในการจำศีลตลอดฤดูกาล แร็กคูน เป็นสัตว์ที่มีความน่ารัก จึงมีผู้นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง อีกทั้งขนและหนังมีความหนานุ่มและสีสวย จึงมีการล่าเพื่อทำเป็นเสื้อขนสัตว์ด้วย ปัจจุบันกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรปกลาง โดยแร็กคูนถูกนำเข้าไปในเยอรมนีครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแร็กคูน · ดูเพิ่มเติม »

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง (The Sun Also Rises) เป็นนวนิยายเรื่องเอกเรื่องแรกของเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2504) ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2469 มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้อพยพชาวอเมริกันและชาวอังกฤษที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรป ในยุค ค.ศ. 1920 ชื่อเรื่องของหนังสือเล่มนี้ซึ่งตั้งโดยเฮมิงเวย์ตามคำแนะนำของสำนักพิมพ์ นำมาจากพระธรรมปัญญาจารย์ 1:5 ที่มีเนื้อความว่าThe sun also ariseth, and the sun goeth down, and hasteth to his place where he arose. คำแปลพระธรรมปัญญาจารย์ในวิกิซอร์ซ ให้คำแปลของเนื้อความดังกล่าวว่า "ดวงอาทิตย์ขึ้น และดวงอาทิตย์ตก แล้วรีบไปถึงที่ซึ่งขึ้นมานั้น"ซึ่งเป็นคัมภีร์ลำดับที่ 25นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโรมันคาทอลิก หรือ 21นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโปรเตสแตนต์ของพระคริสตธรรมคัมภีร์ โดยก่อนหน้านี้เฮมิงเวย์ตั้งชื่อให้กับนวนิยายเรื่องนี้ว่า เฟียสตา (Fiesta) ซึ่งชื่อดังกล่าวได้นำไปใช้ในการจัดพิมพ์ในฉบับสหราชอาณาจักร และฉบับภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ภาษาอิตาลี และภาษาสเปนของนวนิยายเรื่องนี้.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแล้วดวงตะวันก็ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาเหนือของอิตาลี

แอฟริกาเหนือของอิตาลี (Africa Settentrionale Italiana) เป็นพื้นที่ซึ่งรวมเอาอาณานิคมและดินแดนในความปกครองของราชอาณาจักรอิตาลีในทวีปแอฟริกาเหนือ ตั้งแต่ ค.ศ. 1912 จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยดินแดนสองส่วนหลักคือตริโปลิเตเนียและไซเรไนกาตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

แอล. แอล. ซาเมนฮอฟ

แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ, 2451 แอล.แอล.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแอล. แอล. ซาเมนฮอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แองกวิลลา

แองกวิลลา (Anguilla) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในทะเลแคริบเบียน หนึ่งในกลุ่มเกาะที่อยู่ทางเหนือสุดของหมู่เกาะลีเวิร์ดในภูมิภาคเลสเซอร์แอนทิลลิส แองกวิลลาประกอบด้วยเกาะหลักแองกวิลลายาว 26 กิโลเมตร (16 ไมล์) กว้าง 5 กิโลเมตร (3 ไมล์) และกลุ่มเกาะเล็ก ๆ ซึ่งไม่มีคนอาศัยอย่างถาวร เมืองหลักของดินแดนแห่งนี้คือเดอะแวลลีย์ (The Valley) มีเนื้อที่รวมทั้งหมด 102 ตารางกิโลเมตร (39.4 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 13,500 คน (พ.ศ. 2549).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

แอโรเพลนเจลลี

แอโรเพลนเจลลี เป็นยี่ห้อเยลลีในออสเตรเลียซึ่งคิดค้นโดยเบิร์ท แอปเปิลรอธ (Bert Appleroth) ในปี พ.ศ. 2548 บริษัทเทรเดอร์ส จำกัด ของแอปเปิลรอธที่เริ่มจากการประกอบธุรกิจหลังบ้าน และต่อมากลายเป็นหนึ่งในธุรกิจครอบครัวผู้ผลิตอาหารรายใหญ่รายหนึ่งของออสเตรเลีย ได้ขายธุรกิจให้กับแม็คคอมิค ฟูดส์ ออสเตรเลีย (McCormick Foods Australia) บริษัทในเครือแม็คคอมิคแอนด์คัมพานี (McCormick & Company) ของสหรัฐอเมริกา แอโรเพลนเจลลีเป็นผู้นำทางการตลาดในธุรกิจเยลลี่ของประเทศออสเตรเลีย โดยมียอดขายมากกว่า 18 ล้านห่อต่อปี มีรสแรสเบอร์รีเป็นรสชาติที่ขายดีที่สุด แอโรเพลนเจลลีได้ออกโฆษณาที่ประสบความสำเร็จ และมีเพลงโฆษณาที่ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมชาวออสเตรเลีย เพลงโฆษณาดังกล่าวเป็นหนึ่งในเพลงโฆษณาที่ออกอากาศยาวนานที่สุดในออมเตรเลีย โดยเฉพาะในทศวรรษที่ 1940 ซึ่งมีการเล่นเพลงโฆษณาผ่านสื่อวิทยุมากกว่า 100 ครั้งต่อวัน เพลงโฆษณาดังกล่าวได้รับการบันทึกไว้ยังหอภาพยนตร์และเสียงของออสเตรเลีย ในหมวดหมู่เสียงแห่งออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแอโรเพลนเจลลี · ดูเพิ่มเติม »

แท่นตั้งศพ

ริสตอฟ โอพาลินสกี, คริสต์ศตวรรษที่ 17 แท่นตั้งศพ (Catafalque) คือแท่นที่มักจะเคลื่อนที่ได้ที่ใช้ในการตั้งหีบศพ หรือร่างของผู้ตายระหว่างพิธีศพหรือพิธีรำลึกผู้ตาย หลังจากพิธีมาสเรควีเอ็มของโรมันคาทอลิกแล้วแท่นตั้งศพก็อาจจะใช้ตั้งร่างของผู้ตายในการทำพิธีพิธียกบาปให้แก่ผู้ตาย (Absolution of the dead) “Catafalque” มาจากภาษาอิตาลี “Catafalco” ที่แปลว่า “นั่งร้าน” “แท่นตั้งศพ” ที่มีชื่อเสียงที่สุดออกแบบโดยไมเคิล แอนเจโลสำหรับเพื่อนศิลปินด้วยกันในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแท่นตั้งศพ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นลอมบาร์เดีย

ทิวทัศน์ของแคว้นลอมบาร์เดีย ลอมบาร์เดีย (Lombardia), ลุมบาร์ดีอา (ลุมบาร์ตตะวันตก: Lombardia) หรือ ลอมบาร์ดี (Lombardy) เป็นแคว้นหนึ่งในยี่สิบแคว้นของประเทศอิตาลี มีเมืองหลักคือมิลาน (มีลาโน) ประชากร 1 ใน 6 ของอิตาลีอาศัยอยู่ในแคว้นนี้ และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 1 ใน 5 ของอิตาลีผลิตขึ้นในแคว้นนี้ ลอมบาร์เดียใช้ภาษาอิตาลีเป็นภาษาราชการ ถึงแม้ว่าจะมีภาษาท้องถิ่นอันเก่าแก่ต่าง ๆ มากมาย (ภาษาลุมบาร์ตตะวันออกและลุมบาร์ตตะวันตก) และยังมีผู้พูดภาษาเอมีเลียในจังหวัดมันโตวา, ปาวีอา และเครโมนา จุดหมายปลายทางสำคัญที่นักท่องเที่ยวนิยมประกอบด้วยเมืองทางประวัติศาสตร์ เช่น มิลาน, เบรชชา, มันโตวา, ปาวีอา, เครโมนา, แบร์กาโม และมีทะเลสาบการ์ดา, โคโม, มัจโจเร และอีเซโอ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแคว้นลอมบาร์เดีย · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นคาลาเบรีย

ลาเบรีย (Calabria) เป็นแคว้นหนึ่งใน 20 แคว้นของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางภาคใต้หรือส่วนล่างของคาบสมุทรอิตาลี ถ้าเปรียบอิตาลีเป็นรองเท้าบูต แคว้นคาลาเบรียจะเป็นส่วนปลายด้านหน้ารองเท้า แคว้นคาลาเบรียมีอาณาเขตทางทิศเหนือติดต่อกับแคว้นบาซีลีคาตา ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้อยู่ใกล้กับแคว้นปกครองตนเองซิซิลี ทางตะวันตกติดกับทะเลติร์เรเนียน และทางทิศตะวันออกติดต่อกับทะเลไอโอเนียน ครอบคลุมพื้นที่ 15,080 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 2 ล้านคน มีเมืองหลักชื่อเมืองคาตันซาโร และมีเมืองใหญ่อีกสองเมืองคือเมืองเรจโจคาลาเบรียและเมืองโคเซนซ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแคว้นคาลาเบรีย · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นปกครองตนเองวัลเลดาออสตา

วัลเลดาออสตา, วัลดาออสตา (Valle d'Aosta, Val d'Aosta), วาเลด็อสต์, วาลด็อสต์ (Vallée d'Aoste, Val d'Aoste) หรือ วาลดูตา (อาร์ปีต็อง: Val d'Outa) เป็นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ มีอาณาเขตจรดประเทศฝรั่งเศสทางทิศตะวันตก จรดประเทศสวิตเซอร์แลนด์ทางทิศเหนือ และจรดแคว้นปีเยมอนเตทางทิศตะวันออกและทิศใต้ แคว้นนี้ครอบคลุมพื้นที่ 3,263 ตารางกิโลเมตร (1,260 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 120,000 คน เป็นแคว้นที่มีขนาดเล็กที่สุด มีประชากรน้อยที่สุด และมีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุดในบรรดาแคว้นทั้งหมดของอิตาลี และเป็นเพียงแคว้นเดียวที่ไม่มีจังหวัด (จังหวัดอาออสตาถูกยุบเลิกเมื่อปี พ.ศ. 2488) โดยคณะผู้บริหารแคว้นเป็นผู้ดำเนินกิจการตามหน้าที่ของจังหวัดแทน แคว้นประกอบด้วยเทศบาล 74 เทศบาล มีเมืองหลักคือเมืองอาออสต.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแคว้นปกครองตนเองวัลเลดาออสตา · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ

ตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ (Trentino-Alto Adige) หรือ เตรนตีโน-ซืททีโรล (Trentino-Südtirol) เป็นแคว้นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ประกอบด้วย 2 จังหวัด ได้แก่ เตรนโตและบอลซาโน พื้นที่นี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (รวมถึงก่อนหน้านี้ ซึ่งคือจักรวรรดิออสเตรีย) เมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจ · ดูเพิ่มเติม »

แคนทอน

แคนทอน (canton) เป็นหน่วยการปกครองของประเทศหนึ่ง ๆ โดยทั่วไปแล้ว แคนทอนจะค่อนข้างเล็กทั้งโดยขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรเมื่อเทียบกับหน่วยการปกครองอื่น ๆ เช่น เทศมณฑล/เคาน์ตี เขต (department) และจังหวัด และโดยสากลแล้ว แคนทอนที่รู้จักดีที่สุด ที่สำคัญทางการเมืองมากที่สุด ก็คือของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพราะแม้จะเป็นส่วนหนึ่งของสมาพันธรัฐสวิสทั้งโดยทฤษฎีและโดยประวัติ แต่แคนทอนในสวิตเซอร์แลนด์ก็ยังจัดได้ว่าเป็นรัฐกึ่งเอกราช (semi-sovereign) คำว่าแคนทอนมาจากคำภาษาฝรั่งเศสสมัยกลาง/ภาษาอิตาลี/ภาษาละติน ว่า canton / cantone / canto / canthus ซึ่งแปลว่า "เมือง" "เขต" หรือ "มุม".

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแคนทอน · ดูเพิ่มเติม »

แคนเดลา

ฟังก์ชันความเข้มการส่องสว่างของการเห็นในเวลากลางวัน (เส้นสีดำ) และการเห็นในเวลากลางคืนhttp://www.cvrl.org/database/text/lum/scvl.htm CIE Scotopic luminosity curve (1951) (เส้นสีเขียว) แกนนอนเป็นความยาวคลื่นในหน่วยนาโนเมตร แคนเดลา (สัญลักษณ์: cd) หรือที่เรียกทั่วไปว่าแรงเทียน เป็นหน่วยฐานเอสไอของความเข้มของการส่องสว่างหมายถึง กำลังแสงที่ปล่อยออกมาจากแหล่งกำเนิดแสงในทิศทางเฉพาะ และถ่วงน้ำหนักโดยฟังก์ชันการส่องสว่างซึ่งเป็นแบบจำลองมาตรฐานของความไวแสงของตามนุษย์ในแต่ละความยาวคลื่น คำว่า Candela ในภาษาละติน ภาษาสเปน และภาษาอิตาเลียนแปลว่าเทียน หนึ่งแคนเดลามีขนาดประมาณหนึ่งแรงเทียน (Candle Power) ซึ่งใช้ประมาณความสว่างของเทียนหนึ่งเล่ม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและแคนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

ใบสอ

แสดงใบสอจากหนังสือ “พจนานุกรมศัพท์สถาปัตยกรรมของฝรั่งเศสระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึง 16”http://fr.wikisource.org/wiki/Dictionnaire_raisonn%C3%A9_de_l%27architecture_fran%C3%A7aise_du_XIe_au_XVIe_si%C3%A8cle ''Dictionnaire raisonné de l’architecture française du XIe au XVIe siècle''. โดยเออแชน วียอเลต์-เลอ-ดุค ใบสอ (Merlon) เป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างที่เป็นส่วนหนึ่งของกำแพงบัง (parapet) ของเชิงเทิน ที่บางครั้งสลับกับ “ช่องกำแพง” (Embrasure) คำว่า “Merlon” ในภาษาอังกฤษมาจากภาษาฝรั่งเศสที่มาจากภาษาอิตาลี “merlone” ที่อาจจะย่อมาจากคำว่า “mergola” ที่แผลงมาจากภาษาละติน “mergae” ที่แปลว่าคราด หรือแผลงมาจาก “moerulus” ที่มาจากคำว่า “murus” หรือ “merulus” ที่แปลว่ากำแพง อีกทฤษฎีหนึ่งกล่าวว่ามาจากภาษาละติน “merulus” (กล่าวถึงในคริสต์ศตวรรษที่ 10) ที่ย่อเป็น “merle” ที่ทำให้เห็นภาพพจน์ของนกดำเกาะบนกำแพง ใบสอเป็นส่วนสำคัญของเชิงเทินและใช้กันมาเป็นเวลานาน ตัวอย่างที่พบคือในสิ่งก่อสร้างจากยุคกลางที่ใช้ประโยชน์ทั้งทางการป้องกันทางยุทธการและในการตกแต่ง ลักษณะของใบสอถ้าเป็นสี่เหลี่ยมธรรมดาก็เรียกว่า “ใบสอเกล์พ” ถ้ามีที่คลุมตอนบนเป็นปมรูปตัววีของอิตาลีเรียกว่า “ใบสอเกล์พและกิเบลลิเน” หรือ “ใบสอสวอลโลว์เทล” ทรงอื่นที่ใช้ก็มีใบสอสามเหลี่ยม, สี่เหลี่ยม, โล่, ดอกไม้, กลม (มุสลิมและแอฟริกา), ปิรามิด หรืออื่นๆ ขึ้นอยู่กับการใช้สอยหรือการตกแต่งที่ต้องการ ในสมัยโรมันใบสอมีความกว้างพอที่จะให้ทหารคนหนึ่งใช้บังตัวได้ เมื่อมีการวิวัฒนาการทางอาวุธมากขึ้นในยุคกลางรวมทั้งหน้าไม้และอาวุธปืน ใบสอก็ได้รับการขยายให้กว้างขึ้นและบางครั้งก็จะมีช่องธนู (arrow-loop) ที่มีขนาดและรูปร่างหลายแบบที่อาจจะกลมหรือเป็นกางเขนขึ้นอยู่กับอาวุธที่ใช้ ใบสอสมัยต่อมาสามารถใช้ในการยิงด้วยปืนได้ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 ใบสอก็อาจจะมีหน้าต่างไม้ที่เปิดปิดได้เพื่อใช้ในการป้องกันเมื่อปิด หลังจากใบสอหมดความสำคัญลงเพราะการใช้ปืนใหญ่การใช้ใบสอจึงเป็นการใช้สำหรับในการตกแต่งเท่านั้น และกลับมาเป็นที่นิยมใช้กันอีกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและใบสอ · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยซัสเซตตี

ปลซาสเซ็ตติ (ภาษาอังกฤษ: Sassetti Chapel; ภาษาอิตาลี: Cappella Sassetti) เป็นชาเปลที่ตั้งอยู่ภายในวัดซานตาทรินิตาที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังชิ้นเอกโดยโดเมนนิโค เกอร์ลันเดาที่เป็นภาพชุดชีวิตของนักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโบสถ์น้อยซัสเซตตี · ดูเพิ่มเติม »

โชนัน เบลมาเร

นัน เบลมาเร (Shonan Bellmare) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพญี่ปุ่น ปัจจุบันเล่นในเจลีก ดิวิชัน 1 สโมสรตั้งอยู่ที่เมืองฮิระสึกะ จังหวัดคะนะงะวะ สนามเหย้าคือ สนามกีฬาโชนัน บีเอ็มดับเบิลยู ฮิระสึกะ คำว่า โชนัน หมายถึงพื้นที่ชายฝั่งบริเวณอ่าวซะงะมิ ส่วนคำว่า เบลมาเร เป็นคำภาษาอิตาลี มาจากคำว่า เบลโล และ มาเร แปลว่า "ทะเลที่สวยงาม".

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโชนัน เบลมาเร · ดูเพิ่มเติม »

โฟร์สแควร์

ฟร์สแควร์ (Foursquare แต่ใช้ว่า foursquare) เป็นบริการเครือข่ายสังคมที่มีลักษณะคือการอ้างอิงสถานที่ โฟร์สแควร์สร้างโดย เดนนิส โครว์ลีย์ (ซึ่งเดิมเคยร่วมกับอเล็กซ์ เรเนิร์ตสร้าง Dodgeball บริการอ้างอิงสถานที่ที่ในปี 2000 ต่อมาถูกซื้อไปโดยกูเกิลในปี 2005 แล้วกลายมาเป็น Google Latitude ในปี 2009) และ นาวีน เซลวาดูราย บริษัทโฟร์สแควร์สำนักงานใหญ่อยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา การใช้งานโฟร์สแควร์สามารถเล่นได้ผ่านโทรศัพท์มือถือ (ผ่านทาง mobile web), สมาร์ตโฟน (ผ่านทาง foursquare app) และแอปพลิเคชันต่างๆ ที่สามารถเชื่อมต่อกับโฟร์สแควร์ได้ (เช่น Instagram, Path, Yotomo, GetGlue, Waze, FootFeed, HootSuite เป็นต้น) โดยเมื่อผู้เล่นเปิดตำแหน่งของตัวผู้เล่นจะทำการเรียกสถานที่ที่อยู่ใกล้เคียง ไม่ว่าโรงเรียน ร้านอาหาร โรงแรม โรงพยาบาล ฯลฯ ขึ้นมา และผู้เล่นจะทำการเลือก "เช็กอิน" สถานที่นั้นเพื่อแสดงให้เห็นว่าตนอยู่ที่นี่หรือได้มาที่นี่แล้ว ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโฟร์สแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

โฟร์แชร์

4shared 4shared คือบริษัทผู้ให้ บริการเก็บรักษาและแบ่งปันไฟล์ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโฟร์แชร์ · ดูเพิ่มเติม »

โฟล์กสวาเกน เจ็ตตา

ฟล์กสวาเกน เจ็ตตา (Volkswagen Jetta) เป็นรถยนต์นั่งขนาดเล็กรุ่นหนึ่งที่ผลิตโดยโฟล์กสวาเกน บริษัทรถยนต์สัญชาติเยอรมนี เริ่มผลิตครั้งแรกใน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโฟล์กสวาเกน เจ็ตตา · ดูเพิ่มเติม »

โฟโต้สเกป

ฟโต้สเกป (PhotoScape) เป็นโปรแกรมตัดต่อกราฟิกส์ พัฒนาโดย MOOII Tech,ประเทศเกาหลีใต้ แนวคิดพื้นฐานของโฟโต้สเกป คือ 'ง่ายและสนุก' เพื่อที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขภาพที่ถ่ายจากกล้องดิจิทัลของพวกเขาหรือแม้กระทั่งโทรศัพท์มือถือ โฟโต้สเกป มีผู้ใช้อินเตอร์เฟซง่ายที่ดำเนินการปรับปรุงภาพร่วมกันรวมทั้ง การปรับสี,ตัด,การปรับขนาด,การพิมพ์ และการภาพเคลื่อนไหวในไฟล์ GIF โฟโต้สเกป ทำงานได้เฉพาะในระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และไม่สามารถใช้ได้ในระบบ Mac หรือLinux ได้ ภาษาเริ่มต้นของมันเป็นภาษาอังกฤษและภาษาเกาหลี พร้อมด้วยแพ็กเกจภาษาเพิ่มเติมสามารถดาวน์โหลดได้.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโฟโต้สเกป · ดูเพิ่มเติม »

โมนาลิซา

มนาลิซา (Mona Lisa) หรือ ลาโจกอนดา (La Gioconda) หรือ ลาโชกงด์ (La Joconde) คือภาพวาดสีน้ำมัน สูง 77 เซนติเมตร กว้าง 53 เซนติเมตร วาดโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ระหว่าง พ.ศ. 2046 (ค.ศ. 1503) ถึงปี พ.ศ. 2050 (ค.ศ. 1507) เป็นภาพที่มีชื่อเสียงทั่วโลกภาพหนึ่ง เป็นที่รู้จักในฐานะภาพของสุภาพสตรีที่มีรอยยิ้มอันเป็นปริศนา ที่ไม่รู้ว่าเธอจะยิ้ม หัวเราะ หรือร้องไห้กันแน่ ปัจจุบันอยู่ในความครอบครองของรัฐบาลฝรั่งเศส และเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ (Musée du Louvre) กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโมนาลิซา · ดูเพิ่มเติม »

โรม

ลอสเซียม สัญลักษณ์ที่สำคัญของโรม โรม (Rome; Roma) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของแคว้นลัตซีโยและประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ในเขตตัวเมืองมีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 2.5 ล้านคน ถ้ารวมเมืองโดยรอบจะมีประมาณ 4.3 ล้านคน โดยมีจำนวนประชากรใกล้เคียงกับมิลานและเนเปิลส์ นอกจากนี้ โรมยังเป็นที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน ซึ่งเป็นดินแดนที่ประทับของพระสันตะปาปาแห่งศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกอีกด้วย หลังสิ้นสุดยุคกลาง โรมได้อยู่ภายใต้การปกครองของพระสันตะปาปา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 10 ผู้ซึ่งสร้างสรรค์ให้โรมกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีเช่นเดียวกับฟลอเรนซ์ ซึ่งในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แบบที่เห็นในปัจจุบัน และมีเกลันเจโลได้วาดภาพปูนเปียกประดับภายในโบสถ์น้อยซิสทีน ศิลปินและสถาปนิกที่มีชื่อเสียงอย่างบรามันเต แบร์นินี และราฟาเอล ซึ่งพำนักอยู่ในโรมเป็นครั้งคราว ได้มีส่วนช่วยสรางสรรค์สถาปัตยกรรมแบบสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและแบบบารอกในโรมด้วยเช่นกัน ใน พ.ศ. 2550 โรมเป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากเป็นอันดับที่ 11 ของโลก มากเป็นอันดับสามในสหภาพยุโรป และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในอิตาลี ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ใจกลางเมืองได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์อย่างพิพิธภัณฑ์วาติกันและโคลอสเซียมยังจัดอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมมากที่สุด 50 อันดับแรกของโลก (พิพิธภัณฑ์วาติกันมีนักท่องเที่ยว 4.2 ล้านคนต่อปี และโคลอสเซียมมี 4 ล้านคนต่อปี).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโรม · ดูเพิ่มเติม »

โรมิโอ × จูเลียต

รมิโอ × จูเลียต เป็นอะนิเมะฉายทางโทรทัศน์ โดยอาศัยเค้าโครงจากบทละครเรื่องโรมีโอและจูเลียต ของวิลเลียม เชกสเปียร์ เริ่มฉายตอนแรกวันที่ 4 เมษายน 2550 และฉายจบวันที่ 26 กันยายน 2550 มีทั้งหมด 24 ตอน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโรมิโอ × จูเลียต · ดูเพิ่มเติม »

โรงอุปรากรลา สกาลา

รงอุปรากรลา สกาลา (ภาษาอิตาลี: Teatro alla Scala หรือ La Scala) เป็นโรงละครสำหรับอุปรากรที่มีชื่อเสียงโรงละครในโลกตั้งอยู่ที่ มิลานในประเทศอิตาลี ที่สร้างเมื่อปี ค.ศ. 1776 เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก โดยมีจูเซปปี พิแอร์มารินิ (Giuseppe Piermarini) เป็นสถาปนิก โรงอุปรากรเปิดการแสดงเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม ค.ศ. 1778 ภายใต้ชื่อใหม่ว่า Nuovo Regio Ducal Teatro alla Scala ด้วยอุปรากรเรื่อง “Europa riconosciuta” โดย อันโตนิโอ ซาลิเอรี (Antonio Salieri).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโรงอุปรากรลา สกาลา · ดูเพิ่มเติม »

โรโกโก

้านเหนือของวังแคทเธอรีนที่ Tsarskoye Selo - ลานราชรถ: เป็นลวดลายปูนปั้นปิดทองมาจนสมัยพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ทรงสั่งให้ติดช่อมะกอกแทน ท้องพระโรงของวังแคทเธอรีนที่ Tsarskoye Selo ศิลปะโรโกโก (Rococo) หรือบางครั้งก็เรียกกันว่า "ศิลปะแบบหลุยส์ที่ 14" (Louis XIV Style) ศิลปะโรโกโกเริ่มพัฒนามาจากศิลปะฝรั่งเศส และการตกแต่งภายในเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 ห้องที่ออกแบบแบบโรโกโกจะเป็น เอกภาพ คือทุกสิ่งทุกอย่างในห้อง ไม่ว่าจะเป็นผนัง เครื่องเรือน หรือเครื่องประดับ จะออกแบบเพื่อให้กลมกลืนกันอันหนึ่งอันเดียวกันมิใช่จะอิสระต่อกัน คือไม่มีสิ่งใดในห้องนั้นที่นอกแบบออกมา ภายในห้องจะมีเครื่องเรือนที่หรูหราและอลังการ รูปปั้นเล็ก ๆ แบบประดิดประดอย ภาพเขียนหรือกระจกก็จะเป็นกรอบลวดลาย และพรมแขวนผนัง ที่ถ้าแยกอะไรออกมาก็จะทำให้ห้องนั้นไม่สมบูรณ์แบบ ศิลปะโรโกโกมาแทนด้วยสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก คำว่าโรโกโกมาจากคำสองคำผสมกัน คำว่า rocaille จากภาษาฝรั่งเศส ซึ่งหมายถึงศิลปะการตกแต่งที่ใช้ลวดลายคล้ายหอยหรือใบไม้ และคำว่า barocco จากภาษาอิตาลี หรือที่เรียกว่า ศิลปะบาโรก ศิลปินโรโกโกจะนิยมเล่นเส้นโค้งตัวซีและตัวเอส (S และ C curves) แบบเปลือกหอย หรือการม้วนตัวของใบไม้เป็นหลัก และจะเน้นการตกแต่งประดิดประดอย จนทำให้นักวิจารณ์ศิลปะค่อนว่าเป็นศิลปะของความฟุ้งเฟ้อและเป็นเพียงศิลปะสมัยนิยมเท่านั้น คำว่าโรโกโกเมื่อเริ่มใช้เป็นครั้งแรกที่ประเทศอังกฤษเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโรโกโก · ดูเพิ่มเติม »

โลก (ดาวเคราะห์)

ลก (Earth) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สามจากดวงอาทิตย์ และเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์เพียงหนึ่งเดียวที่ทราบว่ามีสิ่งมีชีวิต จากการวัดอายุด้วยกัมมันตรังสีและแหล่งหลักฐานอื่นได้ความว่าโลกกำเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีก่อน โลกมีอันตรกิริยะเชิงโน้มถ่วงกับวัตถุอื่นในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ซึ่งเป็นดาวบริวารถาวรหนึ่งเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซึ่งระหว่างนั้นโลกโคจรรอบแกนตัวเองประมาณ 366.26 รอบ แกนหมุนของโลกเอียงทำให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผิวโลก อันตรกิริยาความโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ทำให้การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกได้เป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกว่าแผ่นธรณีภาค ซึ่งย้ายที่ตัดผ่านพื้นผิวตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซึ่งมีะเลสาบ แม่น้ำและแลห่งน้ำอื่นจำนวนมากกอปรเป็นอุทกภาค บริเวณขั้วโลกทั้งสองปกคลุมด้วยน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่แผ่นน้ำแข็งแอนตาร์กติก และน้ำแข็งทะเลของแพน้ำแข็งขั้วโลก บริเวณภายในของโลกยังคงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นชั้นในซึ่งเป็นเหล็กในสถานะของแข็ง มีแก่นเหลวชั้นนอกซึ่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก และชั้นแมนเทิลพาความร้อนที่ขับเคลื่อนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค ภายในพันล้านปีแรก สิ่งมีชีวิตปรากฏขึ้นในมหาสมุทรและเริ่มส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศและผิวดาว เกื้อหนุนให้เกิดการแพร่ขยายของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ออกซิเจนเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช้ออกซิเจน หลักฐานธรณีวิทยาบางส่วนชี้ว่าชีวิตอาจกำเนิดขึ้นเร็วสุด 4.1 พันล้านปีก่อน นับแต่นั้นตำแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกันทำให้สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการและแพร่พันธุ์ได้ Early edition, published online before print.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโลก (ดาวเคราะห์) · ดูเพิ่มเติม »

โฮเซ ซูไลมัง

ซ่ สุไลมาน โฮเซ่ สุไลมาน (José Sulaimán) อดีตประธานสภามวยโลก (WBC) ชาวเม็กซิกัน สุไลมานเกิดเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1931 ที่เมืองซิวดัดวิกโตเรีย รัฐตาเมาลีปัส ประเทศเม็กซิโก มีชื่อเต็มว่า โฮเซ่ สุไลมาน ชาง่อน (José Sulaimán Chagnón) มีเชื้อสายเลบานอน เนื่องจากบิดาเป็นชาวเลบานอนที่อพยพมาอยู่ที่เม็กซิโก ในปี ค.ศ. 1920 ในวัยเด็ก สุไลมานชื่นชอบการชกมวยสากลมาก รวมทั้งเป็นนักมวยเองด้วยในวัยรุ่น และได้คลุกคลีอยู่กับวงการมวยมาโดยตลอด จนกระทั่งได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสภามวยโลก และได้รับเลือกจากเสียงข้างมากให้เป็นประธานสภามวยโลกมาตั้งแต่วันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1975 และได้รับเลือกอีกหลายสมัยต่อเนื่องมายาวนานกว่า 30 ปี โฮเซ่ สุไลมาน ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ทำให้สถาบันสภามวยโลกได้รับการยอมรับและประสบความสำเร็จในแวดวงมวยสากลระดับโลก โดยติดต่อกับโปรโมเตอร์ที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ อาทิ ดอน คิง, บ๊อบ อารัม นำนักมวยในสังกัดขึ้นชกในสังกัดสถาบันจนได้เป็นแชมป์โลกหลายคน อาทิ มูฮัมหมัด อาลี, ไมค์ ไทสัน, ซัลวาดอร์ ซันเชซ, อาเลกซิส อาร์กูเอโย, ฮูลิโอ ซีซาร์ ชาเวซ, ริคาร์โด โลเปซ เป็นต้น ซึ่งนักเหล่านี้เป็นนักมวยระดับชั้นแนวหน้าของแต่ละพิกัดและนับได้ว่าเป็นซูเปอร์สตาร์ของวงการมวยระดับโลก นอกจากนี้แล้ว สุไลมานยังเป็นบุคคลที่ริเริ่มแนวคิดใหม่ ๆ ให้แก่วงการมวยระดับโลก เช่น การให้มีการชิงแชมป์เฉพาะกาล ในกรณีที่แชมป์โลกตัวจริงไม่อาจชกเคลื่อนไหวได้, การให้มีสถาบันมวยสำหรับนักมวยหญิง, การชิงแชมป์เข็มขัดเงิน, การสนับสนุนมวยไทยในสถาบัน WBC และการให้เปิดเผยคะแนนเมื่อครบ 4 ยก เพื่อความโปร่งใสในการแข่งขัน เป็นต้น ชีวิตส่วนตัว นอกจากในแวดวงมวยสากลแล้ว โฮเซ่ สุไลมาน ยังมีธุรกิจเกี่ยวกับยารักษาโรคที่ประเทศเม็กซิโกอีกด้วย เป็นบุคคลที่สามารถใช้ภาษาสเปน, อังกฤษ, อาหรับ, ฝรั่งเศส, อิตาเลียน และโปรตุเกส ได้เป็นอย่างดี และได้รับการบรรจุชื่อลงในหอเกียรติยศของ WBC ในกลางปี ค.ศ. 2010 สำหรับประเทศไทยแล้ว โฮเซ่ สุไลมาน มีความสัมพันธ์เป็นอย่างดี โดยได้เคยเดินมายังประเทศไทยหลายครั้ง รวมทั้งได้เคยเข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เพื่อทูลเกล้าฯถวายเหรียญรางวัลเกียรติยศของสถาบัน ในฐานะที่ทรงสนับสนุนวงการมวยมาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเคยได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในฐานะบุคคลที่ประสบความสำเร็จในวงการกีฬา ซึ่งสุไลมานมีแนวความคิดที่จะผลิตหลักสูตรมวยไทยลงในหลักสูตรทางการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นศาสตร์การต่อสู้ป้องกันตัวในสถาบันอุดมศึกษาทั้งของไทยและในประเทศเม็กซิโก อีกด้วย โฮเซ่ สุไลมาน เสียชีวิตด้วยวัย 82 ปี ที่ศูนย์การแพทย์โรนัลด์ เรแกน ยูซีแอลเอ ในลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา ด้วยโรคหัวใจที่ป่วยมานาน เมื่อวันที่ 16 มกราคม..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโฮเซ ซูไลมัง · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย

้าหญิงโจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย (ภาษาบัลแกเรีย: Йоанна Савойска; ภาษาอิตาลี: Giovanna Elisabetta Antonia Romana Maria) (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2450 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย (ซารินา) พระองค์สุดท้าย โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย เป็นพระราชวงศ์อิตาลี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโจวันนาแห่งอิตาลี สมเด็จพระราชินีแห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนี บาลยีโอเน

อวานนิ บากลิโอเน (ภาษาอิตาลี: Giovanni Baglione หรือ Il Sordo del Barozzo) (ค.ศ. 1566 - 30 ธันวาคม ค.ศ. 1643) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกสมัยต้นและนักประวัติศาสตร์ศิลปะชาวอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโจวันนี บาลยีโอเน · ดูเพิ่มเติม »

โทกูชิมะ วอร์ติส

ทกูชิมะ วอร์ติส เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันกำลังแข่งขันในเจลีก ดิวิชัน 2 สโมสรตั้งอยู่ที่เมืองโทกูชิมะ จังหวัดโทกูชิมะ สนามเหย้าคือนารูโตะแอทเลติกสเตเดียมในเมืองนารูโตะ ชื่อ "วอร์ติส" ถูกตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโทกูชิมะ วอร์ติส · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส ยัง

ทมัส ยัง โทมัส ยัง (Thomas Young; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2316 – 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2372) เป็นนักวิทยาศาสตร์และแพทย์ ชาวอังกฤษ มีความเฉลียวฉลาดถึงขนาดที่พูดได้กว่า 12 ภาษา เมื่ออายุได้ 14 ปี ผลงานที่เด่นที่สุดของเขาในด้านวัสดุศาสตร์ก็คือ มอดุลัสของยัง นอกจากนี้เขาได้ช่วยเขียนหนังสือสารานุกรม เอ็นไซโคลพีเดีย บริตเตนิกา (Encyclopedia Britannica) ในหลาย ๆ บทความ และยังศึกษาอักษรอียิปต์โบราณเช่นเดียวกับชอง-ฟรองซัว ชองโปลิยง นักภาษาศาสตร์ชาวฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโทมัส ยัง · ดูเพิ่มเติม »

โทะโยะดะโกเซย์ตเรฟวยร์ซา

ทะโยะดะโกเซย์ตเรฟวยร์ซา (Toyoda Gosei Trefuerza) เป็นทีมวอลเลย์บอลชาย ซึ่งตั้งอยู่ ณ นิชิกะซุไก, จังหวัดไอชิ ประเทศญี่ปุ่น ทีมนี้เข้าแข่งขันในวี.พรีเมียร์ลีก ทั้งนี้ความหมายของคำว่า ตเรฟวยร์ซา ตเร (หมายถึงสาม) ในภาษาอิตาลี และ ฟวยร์ซา (หมายถึงกำลัง) ในภาษาสเปน นี้เป็นคำขวัญของบริษัท "พลังสมอง ความแข็งแรงทางร่างกายและความแข็งแรงทางจิตใจ" โดยมีเจ้าของทีมคือบริษัทโตะโยะดะโกเซ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโทะโยะดะโกเซย์ตเรฟวยร์ซา · ดูเพิ่มเติม »

โคเพอร์

อร์ (Koper) หรือ กาโปดิสเตรีย (Capodistria) เป็นเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสโลวีเนีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลเอเดรียติกและเป็นเมืองท่าการค้าของประเทศสโลวีเนีย ภาษาราชการคือภาษาอิตาลีและภาษาสโลวีน มีประชากรทั้งหมด 24,996 คน และมีเนื้อที่ 13 ตร.กม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโคเพอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โซนาตา

ซนาตา (Sonata; Sonare) เป็นประเภทของบทเพลงที่ใช้สำหรับเดี่ยวเครื่องดนตรี เช่น Piano sonata ก็คือบทเพลงที่ใช้สำหรับเดี่ยวเปียโน หรือ Violin Sonata ก็เป็นบทเพลงที่ใช้สำหรับเดี่ยวไวโอลิน อนึ่ง เพลงเดี่ยวสำหรับเครื่องดนตรีที่ไม่ใช่เปียโนมักจะมีเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ (Accompaniment) ซึ่งมักจะเป็นเปียโน โซนาตา เป็นภาษาอิตาลีและมาจากคำละตินว่า "โซนาเร" (Sonare) ที่หมายความว่าเสียง (Sound) ในความหมายว่าบรรเลง เพลงประเภทโซนาตามักประกอบด้วย 3 หรือ 4 ท่อน ท่อนแรกมักอยู่ในอัตราเร็ว ท่อนที่ 2 อยู่ในอัตราช้า ท่อนที่ 3 มักอยู่ในบรรยากาศที่ร่าเริง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโซนาตา · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน ซันและมูน

ปเกมอนภาคซัน และ โปเกมอนภาคมูน (Pokémon Sun and Pokémon Moon) เป็นวิดีโอเกมสวมบทบาทพัฒนาโดยบริษัทเกมฟรีก และจำหน่ายโดยนินเท็นโด ออกจำหน่ายทั่วโลกในวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและโปเกมอน ซันและมูน · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล

China Radio International (CRI), (ก่อนหน้านี้เรียกว่า Radio Beijing และชื่อแรกก่อตั้งคือ Radio Peking) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 3 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์)

ลน์ (LINE) เป็นโปรแกรมเมสเซนเจอร์ ที่ญี่ปุ่นซื้อมาจาก Naver Corporation ของเกาหลีhttp://www.cnbc.com/2016/07/13/japanese-messaging-app-line-will-keep-close-ties-to-korean-internet-giant-naver.html ที่มีความสามารถใช้งานได้ทั้งโทรศัพท์มือถือที่มีระบบปฏิบัติการไอโอเอส, แอนดรอยด์, วินโดวส์โฟน ล่าสุดสามารถใช้งานได้บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และแมคโอเอสได้แล้ว ด้วยความที่มีลูกเล่นมากมาย สามารถคุย ส่งรูป ส่งไอคอน ส่งสติกเกอร์ ตั้งค่าคุยกันเป็นกลุ่ม ฯลฯ ทำให้มีผู้ใช้งานโปรแกรมนี้เป็นจำนวนมาก ชาวไทยนิยมใช้เป็นอันดับสองรองจากญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) · ดูเพิ่มเติม »

ไวโอลิน

วโอลิน เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงระดับเสียงสูงในกลุ่มเครื่องดนตรีคลาสสิกประเภทเครื่องสาย (String instruments) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลินที่เล็กที่สุด อันประกอบไปด้วย ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส เมื่อนำทั้งหมดมาเล่นร่วมกันแล้วจะเรียกว่า วงเครื่องสาย(string) ซึ่งเป็นตระกูลเครื่องดนตรีหลักของ วงออร์เคสตร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและไวโอลิน · ดูเพิ่มเติม »

ไอ อีจิมะ

อ อีจิมะ (31 ตุลาคม พ.ศ. 2515 — 24 ธันวาคม พ.ศ. 2551) มีชื่อจริงว่า มะสึเอะ โอกุโบะ บางแห่งว่า มิสึโกะ อิชิอิ เป็นนักแสดงภาพยนตร์เอวีชาวญี่ปุ่น เกิดที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีชีวิตยากลำบากตั้งแต่วัยเด็ก ถูกข่มขืนตั้งแต่เป็นวัยรุ่น จนต้องทำแท้ง จึงหนีออกจากบ้านไปทำงานในร้านคาราโอเกะ เป็นนักเต้นเปลือย เป็นนางแบบถ่ายรูปในนิตยสาร และแสดงในรายการโทรทัศน์สำหรับผู้ใหญ่ อีจิมะ เริ่มแสดงภาพยนตร์เอวีในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและไอ อีจิมะ · ดูเพิ่มเติม »

ไอพอดชัฟเฟิล

อพอดชัฟเฟิล (iPod shuffle) เป็นเครื่องเล่นดนตรีแบบพกพาในสายการผลิตไอพอด ผลิตโดยบริษัทแอปเปิล โดยเปิดตัวในงาน Macworld ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2548 และวางจำหน่ายในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ด้วยสโลแกนที่ว่า "Life is random" (ชีวิตคือการสุ่ม) ไอพอดชัฟเฟิลเป็นของที่ระลึกแก่ทีมงานที่ร่วมกันสร้างเรือวีนัส โดยไอพอดชัฟเฟิลนี้สลักชื่อเรือวีนัสที่หลังตัวเครื่องพร้อมกับการ์ดขอบคุณที่ระบุข้อความว่า "Thank you for your hard work and craftsmanship".

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและไอพอดชัฟเฟิล · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่แดง

ผ่แดง เป็นนวนิยายแนวเสียดสีสังคม บทประพันธ์ดัดแปลงหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ในปี พ.ศ. 2497 โดยได้รับการตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ เป็นตอน ๆ จนจบ และต่อมาได้นำมาตีพิมพ์รวมเล่มอีกมากกว่า 18 ครั้ง และได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศมากกว่า 9 ภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น เวียดนาม พม่า เป็นต้น ไผ่แดงดัดแปลงจากหนังสือชื่อ โลกใบเล็กของหลวงพ่อดอน คามิลโล (The Little World of Don Camillo) แต่งโดย โจวานนี กวาเรสกิ ตีพิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษาอิตาลีเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและไผ่แดง · ดูเพิ่มเติม »

ไซยาโนเจนมอด

ซยาโนเจนมอด (CyanogenMod) เป็นระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์ซสำหรับแทนที่เฟิร์มแวร์ดั้งเดิมของสมาร์ตโฟนและแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ พัฒนาจากระบบปฏิบัติการแอนดรอย์ โดยปรับแต่งให้มีความสามารถและฟังชั่นเพิ่มเติม ผู้ใช้จะได้รับการอัปเดต อิงจากเวอร์ชั่นทางการของแอนดรอ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและไซยาโนเจนมอด · ดูเพิ่มเติม »

เบลลาโจ

เบลลาโจ (Bellagio) คือเทศบาลในจังหวัดโกโม แคว้นลอมบาร์เดีย ประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ริมทะเลสาบโกโม เป็นสถานที่ที่ทะเลสาบแห่งมาบรรจบกันเป็นรูปตัววาย เบลลาโจตั้งอยู่ปลายบนของคาบสมุทร โดยถูกแบ่งออกโดยแขนสองข้างทิศใต้ของทะเลสาบ เมืองสามารถเห็นเทือกเขาแอลป์ ทางทิศเหนือ หมวดหมู่:เมืองในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเบลลาโจ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์เซิร์ก

อร์เซิร์ก (Berserk) เป็นชื่อมังงะ แนวดาร์ค แฟนตาซี ของญี่ปุ่น วาดโดยเคนทาโร่ มิอุระ มีการดำเนินเรื่องเกิดขึ้นในยุคกลางของยุโรป โดยได้รับอิทธิพลมาจากโลกแห่งจินตนิมิตด้านมืด มีตัวละครเอกของเรื่องคือ กัทส์ ทหารรับจ้างผู้โดดเดี่ยวและ กริฟฟิท หัวหน้าของกลุ่มทหารรับจ้างที่รวมตัวกันภายใต้ชื่อ กองพันเหยี่ยว เนื้อเรื่องมีสาระสำคัญเกี่ยวกับความโดดเดี่ยวของมนุษย์, ความสัมพันธ์ในเชิงของมิตรภาพ และเต็มไปด้วยการตั้งคำถามเกี่ยวกับมนุษยธรรม รวมถึงประเด็นเรื่องปีศาจและการต่อต้านพระเจ้า นอกจากนี้ยังสื่อให้เห็นถึงธรรมชาติของความเป็นมนุษย์ทั้งในด้านที่ดีที่สุดและเลวร้ายที่สุด เบอร์เซิร์กได้ชื่อว่าเป็นหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นที่เนื้อหาและภาพมีความรุนแรงสูง รวมถึงมีลายเส้นของภาพที่มีความละเอียดเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็ได้รับความนิยมและมียอดขายมากอันดับต้นๆเช่นกัน ในประเทศญี่ปุ่นลงตีพิมพ์ในนิตยสารยัง แอนิมอล โดยสำนักพิมพ์ฮะคุเซนชะ ส่วนในประเทศไทยมีการตีพิมพ์ฉบับลิขสิทธิ์จัดจำหน่ายครั้งแรกโดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ ซึ่งได้ตีพิมพ์จนถึงฉบับรวมเล่มที่ 37 ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเบอร์เซิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เพกาซัสแฟนตาซี

กาซัสแฟนตาซี (ペガサス幻想; Pegasus Fantasy) เป็นเพลงโอเพนนิ่งประกอบแอนิเมชันชุดแรกของ เซนต์เซย์ย่า ซึ่งขับร้องโดยศิลปินกลุ่ม เมคอัพ ของญี่ปุ่น และเพลงนี้ได้ถูกนำไปใช้ในเกม Pop'n Music 10 (ซึ่งจำหน่ายในปี ค.ศ. 2003) โดยให้ชื่อเพลงนี้ว่า "Pegasus Fantasy (Mokai's Edit)" นอกจากนี้ ใน ลัคกี้ สตาร์ ได้มีการล้อเลียนชื่อเพลงนี้ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ เพกาซัสแฟนตาซี ยังได้รับเลือกเป็นเพลงเปิดตัวอีกครั้งในแอนิเมชันซีรีส์ เซนต์เซย์ย่า โอเมก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเพกาซัสแฟนตาซี · ดูเพิ่มเติม »

เกรฟแอกเซนต์

กรฟแอกเซนต์ (grave accent) เรียกย่อว่า เกรฟ (grave) เป็นเครื่องหมายเสริมสัทอักษรชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นขีดเล็ก ๆ เฉียงลงขวาอยู่เหนืออักษร (`) ใช้เขียนกำกับอักษรละตินเพื่อใช้ในภาษาต่าง ๆ อาทิ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส ภาษานอร์เวย์ ภาษาเวียดนาม ฯลฯ กำกับอักษรกรีกในภาษากรีก (ใช้จนถึง ค.ศ. 1982) หรือใช้กำกับอักษรอื่น ๆ ด้วยจุดประสงค์ที่แตกต่างกันไป ทั้งการเปลี่ยนระดับเสียง การแปรเสียง การเน้นเสียง หรือการแยกแยะคำ เป็นต้น คำว่า grave มาจากภาษาละติน gravis แปลว่า หนัก ในภาษาอังกฤษมีการอ่านว่า กราฟ เพิ่มเข้ามาเพื่อให้แตกต่างจากคำว่า grave เกรฟ ที่แปลว่า ร้ายแรง หรือหลุมศพ ซึ่งเลียนแบบมาจากภาษาฝรั่งเศส accent grave อักซอง กราฟ แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์มีแป้นเกรฟอยู่บริเวณมุมบนซ้ายของผัง บางภูมิภาคใช้ร่วมกับแป้นตาย (dead key) เพื่อประสมกับอักษร บางภูมิภาคใช้เพื่อสลับภาษาป้อนเข้า (คนไทยเรียก "ปุ่มตัวหนอน" ซึ่งเป็นปุ่มเดียวกับทิลเดอ) วงการโปรแกรมเมอร์เรียกเครื่องหมายนี้ว่า แบ็กโควต (back quote) หรือแบ็กทิก (backtick) ในยูนิโคดมีทั้งรูปแบบเดี่ยว (U+0060 `) และตัวผสาน (U+0300 ◌̀).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเกรฟแอกเซนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกลฟ์และกิเบลลิเน

ทธการเลญาโนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเกลฟ์และกิเบลลิเน เกลฟ์ และ กิเบลลิเน (Guelphs and Ghibellines) เป็นฝักฝ่ายทางการเมืองทางตอนกลางและตอนเหนือของอิตาลีผู้หนุนหลังฝ่ายพระสันตะปาปาและสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตามลำดับระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ความขัดแย้งกันทางอำนาจระหว่างสถาบันพระสันตะปาปาและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก่อตัวขึ้นจากปัญหาข้อขัดแย้งในอำนาจการแต่งตั้งสงฆ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 11.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเกลฟ์และกิเบลลิเน · ดูเพิ่มเติม »

เลอมูเอล กัลลิเวอร์

ลอมูเอล กัลลิเวอร์ เป็นตัวละครหลักของกัลลิเวอร์ผจญภัย วรรณกรรมที่เขียนโดย โจนาธาน สวิฟท์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1726.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเลอมูเอล กัลลิเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เวสป้า

Vespa Rally 180 ปี 1969 เวสป้า เป็นรถมอเตอร์สกู๊ตเตอร์ เริ่มผลิตที่เมืองปอนเตเดรา ในแคว้นทัสกานี ประเทศอิตาลี ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเวสป้า · ดูเพิ่มเติม »

เวียเดลโกร์โซ

Via del Corso มองจาก Altare della Patria Galleria Alberto Sordi เวียเดลโกร์โซ (อิตาลี: Via del Corso) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อว่า โกร์โซ (Corso) เป็นถนนสายหลักที่ตัดผ่านศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ของกรุงโรม อิตาลี มีชื่อเสียงในฐานะที่เป็นถนนเส้นตรงในย่านที่เต็มไปด้วยตรอกคดเคี้ยวแคบๆและ จัตุรัส เล็กๆ นอกจากนี้ยังกว้างมากกว่าถนนส่วนใหญ่ในใจกลางกรุงโรม แต่ก็มีพื้นที่เพียงสำหรับช่องทางเดินรถสองช่องและทางเท้าแคบๆสองฝั่งเท่านั้น พื้นที่ถนนทางด้านทิศเหนือเป็นพื้นที่ถนนคนเดิน ความยาวของถนนอยู่ที่ประมาณ 1.5 กิโลเมตร โกร์โซ ทอดตัวในแนวทิศเหนือ-ใต้ ทางทิศเหนือบรรจบกับ ปีอัซซาเดลโปโปโล ตรงระหว่างโบสถ์ซานตามาเรียเดมิราโกลีกับซานตามาเรียอินมอนเตซาโน ทางทิศใต้บรรจบกับ ปีอัซซาเวเนเซีย แม้ตามถนนจะไม่มีสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ แต่ในบริเวณใกล้เคียงก็มีสถานที่ท่องเที่ยวอยู่มากมาย ตัวอย่างเช่น Ara Pacis, แพนธีออน, บันไดสเปน, น้ำพุเทรวี, Il Vittoriano และ จัตุรัสโรมัน หมวดหมู่:ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเวียเดลโกร์โซ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงพยัญชนะนาสิก

ียงพยัญชนะนาสิก เป็นเสียงพยัญชนะที่เกิดจากการหย่อนเพดานอ่อนในปาก แล้วปล่อยอากาศอย่างอิสระออกทางจมูก อวัยวะในช่องปากรูปแบบต่าง ๆ ทำหน้าที่สั่นพ้องเสียงให้ก้อง แต่อากาศจะไม่ออกมาทางช่องปากเพราะถูกกักด้วยริมฝีปากหรือลิ้น นอกจากนี้ยังมีเสียงพยัญชนะอื่นที่ออกเสียงขึ้นจมูก (nasalized) ซึ่งพบได้ยาก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเสียงพยัญชนะนาสิก · ดูเพิ่มเติม »

เอ

อ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเอ · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเลียโน อัลฟาโร

อมิเลียโน อัลฟาโร โตสคาโน (เกิดวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 1988) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวอุรุกวัย ปัจจุบันลงเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลปูเนซิตีจากประเทศอินเดีย เขามีฉายาว่า El Picaro ซึ่งแปลว่า โจร ในภาษาอิตาลี (cf. Picaresque novel) อัลฟาโรเคยย้ายมาอยู่กับบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ระยะสั้น ๆ ในช่วงต้นปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเอมิเลียโน อัลฟาโร · ดูเพิ่มเติม »

เอวานเจลิสตา โตร์ริเชลลี

อวานเจลิสตา โตร์ริเชลลี (อิตาลี: Evangelista Torricelli, บางตำราออกเสียงภาษาอังกฤษว่า ตอร์ริเชลลี หรือ ทอร์ริเชลลี, 15 ตุลาคม พ.ศ. 2151 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2190) เป็นนักฟิสิกส์ และนักคณิตศาสตร์ ชาวอิตาลี ผู้ประดิษฐ์คิดค้น บารอมิเตอร์ และภายหลังได้ถูกนำชื่อของเขาได้นำไปตั้งเป็น หน่วยของความดันในระบบ หน่วยเอสไอ บางตำรายกย่องให้เขาเป็น บิดาแห่งอุทกพลศาสตร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเอวานเจลิสตา โตร์ริเชลลี · ดูเพิ่มเติม »

เอสวอยซ์

อสวอยซ์ (S Voice) เป็นซอฟต์แวร์ผู้ช่วยปัญญา (Intelligent personal assistant) และ ผู้นำร่องความรู้ (knowledge navigator) โดยถูกติดตั้งอยู่บนซัมซุง กาแลคซีเอส 3, ซัมซุง กาแลคซี โน้ต 2, ซัมซุง กาแลคซี โน้ต 10.1, ซัมซุง กาแลคซีเอส 3 มินิ, ซัมซุง กาแลคซีเอส 4, ซัมซุง กาแลคซี โน้ต 8.0, ซัมซุง กาแลคซี สเตลลาร์, ซัมซุง กาแลคซีเอส 2พลัส, ซัมซุง กาแลคซี แกรนด์, ซัมซุง กาแลคซี คาเมรา และ ซัมซุง กาแลคซี เอ็กซ์เพรส ซึ่งจะช่วยตอบคำถามจากผู้ใช้, ให้คำแนะนำต่างๆ รวมไปถึงการเข้าถึงเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต โดยซอฟต์แวร์นี้มีฐานข้อมูลบนวลิงโก (Vlingo).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเอสวอยซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอสเอ็มเอฟ

อสเอ็มเอฟ (SMF ย่อมาจาก Simple Machines Forum) เป็นโปรแกรมระบบกระดานสนทนาหรือที่นิยมเรียกกันว่าเว็บบอร์ดบนอินเทอร์เน็ตแบบโอเพนซอร์ส ทำงานด้วยภาษาพีเอชพี ควบคู่กับระบบฐานข้อมูล โดยรับรองการทำงานของฐานข้อมูลหลากหลายชนิด ได้แก่ MySQL, SQLite หรือ PostgreSQL ด้วยความที่ใช้ภาษาพีเอชพีในการพัฒนา รวมถึงการแพร่หลายของระบบฐานข้อมูล MySQL รวมถึงมีตัวช่วยการติดตั้งที่ง่าย (Wizard installer) มีรูปแบบของธีม (Themes) และส่วนเสริมฟังก์ชันการใช้งาน (Modifications) ให้เลือกใช้มากมาย ทำให้ SMF ได้รับความนิยมอย่างแพร่หล.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเอสเอ็มเอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เอาโทบาน

อาโทบานสาย 3 ตัดกับสาย 5 บริเวณแฟรงเฟิร์ต เอาโทบาน (Autobahn ออกเสียง: เอาโทบาน) เป็นศัพท์ภาษาเยอรมันหมายถึง ทางด่วนระหว่างเมือง ซึ่งเป็นทางคู่และมีทางยกระดับข้ามทางแยก ศัพท์คำนี้ใช้เรียกทางด่วนในเยอรมนี ออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ แต่เมื่อกล่าวโดยทั่วไปมักหมายถึงทางหลวงในเยอรมนี เอาโทบานในเยอรมนีเป็นทางด่วนที่ไม่มีการเรียกเก็บค่าผ่านทาง ส่วนในออสเตรียและสวิตเซอร์แลนด์มีด่านเก็บค่าผ่านทาง ในเยอรมนีและออสเตรีย กำหนดให้พาหนะที่ใช้งานเอาโทบานได้ จะต้องเป็นพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์และมีความเร็วไม่ต่ำกว่า 60 กม/ชม (37 mph) ส่วนในสวิตเซอร์แลนด์ต้องมีความเร็วไม่ต่ำกว่า 80 กม/ชม (50 mph) ส่วนขีดจำกัดความเร็วนั้น กำหนดไว้ที่ไม่เกิน 130 กม/ชม (80 mph) สำหรับออสเตรีย, ไม่เกิน 120 กม/ชม (75 mph) สำหรับสวิตเซอร์แลนด์ ส่วนในเยอรมนีนั้น ส่วนใหญ่ไม่มีจำกัดความเร็วสูงสุด แต่มีการกำหนดความเร็วแนะนำที่ 130 กม/ชม (80 mph) ยกเว้นในบางรัฐเช่น เบรเมิน ที่เริ่มจำกัดความเร็วเพื่อควบคุมระดับเสียงและลดมลภาวะ เอาโทบานในสมัยนาซีเยอรมนี ค.ศ. 1939 ทางหลวงในลักษณะเดียวกับเอาโทบานนี้ เริ่มสร้างขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเอาโทบาน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فادية Fādiya, ประสูติ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1943-26 ธันวาคม ค.ศ. 2002) พระราชธิดาองค์เล็กในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ พระมเหสีพระองค์แรก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีอา กาเบรียลลาแห่งซาวอย

้าหญิงมารีอา กาเบรียลลาแห่งซาวอย (อิตาลี:Maria Gabriella di Savoia) (24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1940-) พระราชธิดาพระองค์กลางในสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลีกับเจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม กษัตริย์และราชินีองค์สุดท้ายแห่งราชบัลลังก์อิตาลี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเจ้าหญิงมารีอา กาเบรียลลาแห่งซาวอย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนีย

้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนี.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเจ้าหญิงอีเลีย มกุฎราชกุมารีแห่งแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา

้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา (อังกฤษ: Princess Zita of Bourbon-Parma) (ซีตา มาเรีย เดลเล กราซี อาเดลกอนด้า มิคาเอล่า ราฟาเอลล่า กาเบรียลล่า จูเซปปิน่า อันโตเนีย หลุยซ่า แอ็กเนเซ; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2435 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์บูร์บง-ปาร์มา และพระมเหสีในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย ดังนั้นจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินีแห่งออสเตรีย (Empress of Austria) สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี (Queen of Hungary) และสมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย (Queen of Bohemia) โดยทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตกับราชวงศ์ฝรั่งเศส โปรตุเกส และสเปน เจ้าหญิงซีตา ซึ่งเป็นพระธิดาพระองค์ที่สิบเจ็ดในดยุกโรเบิร์ตที่ 1 แห่งปาร์มา ได้อภิเษกสมรสกับอาร์ชดยุกคาร์ลแห่งออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ (อาหรับ: فوزية Fawziya, ประสูติ 7 เมษายน ค.ศ. 1940 - สิ้นพระชนม์ 27 มกราคม ค.ศ. 2005) พระราชธิดาพระองค์กลางของพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เทมโป

200x200px ในอภิธานศัพท์ดนตรี เทมโป (tempo แปลว่า time) หรือ ลีลา หมายถึงความเร็วในการเล่นเครื่องดนตรี เป็นองค์ประกอบสำคัญของการประพันธ์งานดนตรี ซึ่งมีผลต่ออารมณ์ และความยากง่ายในการเล่นผลงานชิ้นนั้นๆ งานประพันธ์ดนตรีแต่ละชิ้น จะระบุเทมโปไว้ที่ตอนต้น ในปัจจุบันจะระบุเป็นค่า ครั้งต่อนาที (beats per minute ใช้ตัวย่อ BPM) หมายความว่าโน้ตแต่ละตัว จะต้องถูกเล่นด้วยเป็นจำนวนกี่ครั้งต่อนาที หากงานประพันธ์ชิ้นใดมีค่าเทมโปสูง โน้ตตัวนั้นก็จะต้องเล่นด้วยความเร็วสูงขึ้น ด้วยจำนวนครั้งมากขึ้นในหนึ่งนาที ในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 ดีทริช นีโกลาส วิงเกล (1780 - 1826) นักประดิษฐ์ชาวดัตช์ได้สร้างเครื่องจับจังหวะ (metronome) ขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเทมโป · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเวนิส

ทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเวนิส ถือเป็นเทศกาลภาพยนตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1932 ในนาม "Esposizione Internazionale d'Arte Cinematografica" เทศกาลนี้จะจัดขึ้นทุกปีประมาณช่วงปลายเดือนสิงหาคม หรือต้นเดือนกันยายน บนเกาะลิโด เวนิส ประเทศอิตาลี โดยจัดงานที่ Palazzo del Cinema ที่ Lungomare Marconi เทศกาลนี้มีการมอบรางวัลสิงโตทองคำ (Golden Lion) ที่มอบให้ภาพยนตร์ที่ดีที่สุดในเทศกาล และรางวัล Coppa Volpi (Volpi Cup) ที่มอบให้ดารา นักแสดง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเวนิส · ดูเพิ่มเติม »

เดอะฟราเทลลิส

อะ ฟราเทลลิส (The Fratellis) เป็นวงอัลเทอร์เนทีฟร็อกจากเมืองกลาสโกว สก็อตแลนด์ประกอบด้วยสมาชิก จอน ฟราเทลลิ (Jon Fratelli) (ร้องนำ กีต้าร์) แบร์รี่ ฟราเทลลิ (Barry Fratelli) (เบส) และผู้ก่อตั้งวง มินซ์ ฟราเทลลิ (Mince Fratelli) (กลอง ร้องประสาน กีต้าร์ แบนโจ) คำว่า fratelli ในภาษาอิตาเลียน แต่ทั้ง 3 คนไม่ได้เป็นพี่น้องกัน โดยมีชื่อจริงว่า จอห์น ลอว์เลอร์ (John Lawler) แบร์รี่ มีชื่อจริงๆ ว่า แบร์รี่ วอลเลซ (Barry Wallace) ส่วน มินซ์ มีชื่อว่า กอร์ดอน แมกรอรี่ (Gordon McRory) ส่วน Fratelli เป็นนามสกุลเดิมของแม่ของ แบร์รี่ ก่อนแต่งงาน พวกเขาออกอัลบั้มชุดแรก Costello Music ในปี 2006 มีเพลง Chelsea Dagger ซึ่งเคยถูกนำไปร้องระหว่างการแข่งขันของทีมฟุตบอล เชลซี ซึ่งทั้งสามคนเป็นแฟนตัวยง รวมถึงถูกนำไปใช้เป็นเพลงประกอบตัวอย่างของภาพยนตร์เรื่อง Run, Fat Boy, Run และ Shrek 3 อีกด้วย พวกเขาได้รับรางวัลบริทอวอร์ดสสาขา Best British Breakthrough ต่อมาในปี 2008 ออกอัลบั้มที่ 2 ชุด Here We Stand.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเดอะฟราเทลลิส · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องหมายเสริมสัทอักษร

รื่องหมายเสริมสัทอักษร เป็นเครื่องหมายที่ใช้กำกับอักษรโรมัน ซึ่งมีอยู่ในแป้นพิมพ์ ซึ่งได้แก่ เกรฟ และดับเบิลเกรฟ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเครื่องหมายเสริมสัทอักษร · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีอิเดสซา

น์ตีอิเดสซา (County of Edessa) เป็นหนึ่งในนครรัฐครูเสด (crusader states) ของคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่มีอาณาบริเวณอยู่รอบตัวเมืองอิเดสซา เคาน์ตีอิเดสซาแตกต่างจากนครรัฐครูเสดอื่น ๆ ตรงที่ไม่มีส่วนใดที่ติดทะเลและไกลจากรัฐอื่น ๆ และไม่ใคร่มีความสัมพันธ์อันดีนักกับนครรัฐอันติโอคที่อยู่ติดกัน ครึ่งหนึ่งของเคาน์ตีรวมทั้งเมืองหลวงตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำยูเฟรทีสทีไกลไปทางตะวันออกจากรัฐอื่น ๆ ซึ่งทำให้เป็นจุดอ่อน ทางตะวันตกของแม่น้ำยูเฟรทีสควบคุมจากป้อมเทอร์เบสเซล (Turbessel).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเคาน์ตีอิเดสซา · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีตริโปลี

อาณาจักรเคานต์แห่งตริโปลี (County of Tripoli) คือนครรัฐครูเสด (crusader states) แห่งสุดท้ายที่ก่อตั้งขึ้นในบริเวณเลแวนต์ (Levant) ที่ตั้งอยู่บริเวณที่ปัจจุบันคือทางตอนเหนือของเลบานอนที่ในปัจจุบันคือเมืองตริโปลี นักรบครูเสดยึดตริโปลีและสร้างอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเคาน์ตีตริโปลี · ดูเพิ่มเติม »

เตอาโตร

Teatro เป็นภาษาอิตาลี แปลว่า "โรงละคร" คือวงดนตรีที่ตั้งขึ้น สังกัดโซนี บีเอ็มจี สมาชิกวง Teatro ได้แก่ Jeremiah James, Andrew Alexander, Simon Bailey และ Stephen Rahman-Hughes.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเตอาโตร · ดูเพิ่มเติม »

เซฟวิ่ง ไพรเวท ไรอัน ฝ่าสมรภูมินรก

ซฟวิ่ง ไพรเวท ไรอัน ฝ่าสมรภูมินรก (Saving Private Ryan) เป็นภาพยนตร์สัญชาติอเมริกันออกฉายในกลางปี ค.ศ. 1998 นำแสดงโดย ทอม แฮงค์, เอ็ดเวิร์ด เบิร์นส์, ทอม ไซส์มอร์, แบร์รี่ เป็ปเปอร์, วิน ดีเซล, จิโอวานนี่ ริบิซี่, อดัม โกลด์เบิร์ก, แมตต์ เดม่อน และ เจเรมี เดวีส์ กำกับการแสดงโดย สตีเวน สปีลเบิร์ก.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเซฟวิ่ง ไพรเวท ไรอัน ฝ่าสมรภูมินรก · ดูเพิ่มเติม »

เซลีน ดิออน

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ เซลีนดิออน (อัลบั้ม) เซลีน มารี โกลแด็ต ดียง (Céline Marie Claudette Dion) หรือ เซลีน ดียง (Céline Dion; IPA) หรือ เซลีน ดิออน ตามสำเนียงภาษาอังกฤษ (สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งแคนาดา ชั้นจตุรถาภรณ์ (OC), สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งควิเบก ชั้นจตุรถาภรณ์ (OQ) และสมาชิกเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์แห่งฝรั่งเศส ชั้นเบญจมาภรณ์CelineDion.com. (2008, 18 May). Celine To Receive the French Legion of Honor Medal.. Available:. (22 May 2008).) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2511 เป็นนักร้อง นักประพันธ์ดนตรี และนักแสดงชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศส เซลีนเกิดในครอบครัวใหญ่ เริ่มต้นการเป็นนักร้องโดยใช้ภาษาฝรั่งเศส หลังจากที่เรอเน อองเชลีล ผู้จัดการส่วนตัวของเธอ (ต่อมาคือสามี) จำนองบ้านของเขาเพื่อเป็นทุนในการออกอัลบั้ม ลาวัวดูบองดีเยอ อัลบั้มภาษาฝรั่งเศสชุดแรก "Canoe Jam!" สืบค้นวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเซลีน ดิออน · ดูเพิ่มเติม »

เซตีเนีย

ซตีเนีย (มอนเตเนโกร / เซอร์เบีย: Цетинѣ / Cetině (archaic), Цетиње / Cetinje (modern), อิตาลี: Cettigne, กรีก: Κετίγνη, Ketígni, Çetince) เป็นเมืองในประเทศมอนเตเนโกร เคยเป็นเมืองหลวงเก่าของแคว้นมอนเตเนโกร จากข้อมูลปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเซตีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เซเบิล

ซเบิล (sable) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเซเบิล · ดูเพิ่มเติม »

เปียโน

ปียโน (ย่อมาจาก เปียโนฟอร์เต) เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงโดยการกดลิ่มนิ้ว (คีย์บอร์ด) มักใช้นิยมบรรเลงเพลงแนว คลาสสิก และ แจ๊ส แม้ว่าเปียโนจะมีขนาดใหญ่และหนักทำให้ไม่สามารถพกพาได้ และมีราคาค่อนข้างแพง แต่เปียโนก็เป็นเครื่องดนตรีที่ได้เปรียบเครื่องดนตรีมากมาย เสียงของเปียโนสามารถเข้ากับเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด ดังนั้นเปียโนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแบบบรรเลงเดี่ยว, แชมเบอร์, คลอเสียง หรือแม้กระทั่งร่วมกับวง ออร์เคสตรา ฝาครอบและแผ่นครอบของเปียโนอะคูสติกจะทำมาจากไม้ ในขณะที่กระดานเสียง (soundboard) จะถูกทำจากเหล็กกล้า และขึงด้วยสายโลหะ ลิ่มนิ้วของเปียโนมาตรฐานมีอยู่ทั้งหมด 88 คีย์ (คีย์ขาว 52, คีย์ดำ 36) ช่วงคีย์ปกติจะมีสายโลหะอยู่ 3 เส้นในหนึ่งคีย์ และคีย์เบสจะมีสายโลหะเส้นใหญ่อยู่ 1–2 เส้นในหนึ่งคีย์ เมื่อกดคีย์ จะเกิดเป็นเสียงโน้ตดนตรีที่มีความถี่การสั่นพ้องแตกต่างกันออกไป และเมื่อปล่อยคีย์ เสียงก็จะถูกตัด หากต้องการให้เสียงกังวานและลากยาวก็สามารถทำให้ โดยการเหยียบเพดัลขวา (คันเหยียบ) ที่อยู่บริเวณด้านล่างของเปียโนค้างไว้ กลไกการเกิดเสียงในเปียโนอะคูสติกนั้น เริ่มจากแรงจากการกดคีย์จะถูกส่งผ่านโดยกลไกที่ซับซ้อนไปยังหัวค้อน และหัวค้อนจะตีกระทบกับสายโลหะที่ขึงอยู่บนกระดานเสียงเกิดเป็นเสียงดนตรี ในระหว่างที่คีย์ถูกกดอยู่นั้น กลไกที่เรียกว่า แดมเปอร์ (damper) ของแต่ละคีย์ ซึ่งเดิมจะคอยดันสายโลหะไว้จะถูกยกออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องได้ เมื่อใดก็ตามที่ปล่อยคีย์ แดมเปอร์จะกลับมาดันสายโลหะ ทำให้เสียงถูกตัดไป ดังนั้นการเหยียบเพดัลขวา จะเป็นการยกเพดัลของทุกคีย์ออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องและกังวานมากขึ้นซึ่งทำให้เพลงมีความไพเราะ อย่างไรก็ตาม การเหยียบเพดัลขวาแช่ไว้ จะทำให้เสียงโน้ตดนตรีกังวานจนตีกับโน้ตดนตรีที่ตามมาทีหลัง ดังนั้นผู้บรรเลงจึงต้องทำการยกเท้าจากเพดัลเป็นจังหวะ ๆ เพื่อเป็นการตัดโน้ตดนตรีไม่ให้ข้ามห้องหรือตีกัน คำว่า เปียโน นั้น เป็นคำย่อจากคำว่า เปียโนฟอร์เต, ซึ่งเป็นภาษาอิตาลี ซึ่งเป็นการประสมคำระหว่างคำว่า เปียโน ที่แปลว่า "นุ่มนวล" กับ ฟอร์เต ที่แปลว่า "แข็งแกร่ง" ซึ่งมีที่มาจากการที่เป็ยโนนั้นมีคุณภาพเสียงที่หลากหลาย คีย์เบสที่ให้เสียงกังวานและทรงพลัง คีย์ปกติที่ให้เสียงนุ่มนวล และคีย์สูงที่ให้เสียงเล็กแหลม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเปียโน · ดูเพิ่มเติม »

เปตราก

วาดเปตรากในจินตนาการ ฟรานเชสโก เปตรากา (Francesco Petrarca; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1304 - 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1374) หรือที่รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า เปตราก เป็นกวีและนักวิชาการชาวอิตาลี หนึ่งในบรรดานักวิชาการในช่วงแรกๆ ของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เขาเป็นที่รู้จักยกย่องในฐานะ "บิดาแห่งมนุษยนิยม" จากงานของเปตรากและส่วนประกอบอื่นๆ Pietro Bembo ได้สร้างรูปแบบของภาษาอิตาลีในปัจจุบันขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 เปตรากได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดประดิษฐ์ซอนเน็ต งานกวีนิพนธ์ซอนเน็ตของเขาได้รับยกย่องและเป็นที่รู้จักทั่วไปในยุโรปตลอดยุคเรอเนซองส์ ซึ่งได้กลายเป็นแบบมาตรฐานสำหรับงานกวีนิพนธ์ในยุคต่อม.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเปตราก · ดูเพิ่มเติม »

เนยแข็ง

วิสชีส จะมีลักษณะเด่นคือมีรูกระจายตามเนื้อชีส เนยแข็งพร้อมเสิร์ฟ เนยแข็ง หรือ ชีส (cheese) คือ ผลิตภัณฑ์จากนมซึ่งสามารถผลิตได้จากนมวัวหรือแพะ เป็นต้น ที่ผ่านกระบวนการคัดแยกโปรตีน แล้วนำโปรตีนของนมมาทำการผสมเชื้อรา หรือแบคทีเรีย หรือสารอื่นๆ แตกต่างกันไปตามแต่ละประเภทของเนยแข็ง ซึ่งแตกต่างจากเนยที่ทำมาจากไขมันของนม เนยแข็งเป็นอาหารที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมายาวนาน โดยมีปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนที่สุดในคัมภีร์ไบเบิล กลุ่มนักรบทหารโรมันเป็นบุคคลผู้มีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ให้คนทั่วโลกได้รู้จักเนยแข็ง เพราะไม่ว่าจะยกทัพไปที่ใดก็มักจะนำเนยแข็งไปด้วยเสมอและมักจะแบ่งปันเนยแข็งที่มีให้กับคนท้องถิ่นนั้นๆ โบสถ์จัดว่าเป็นสถานที่เก็บรวบรวมข้อมูลความรู้เกี่ยวกับเนยแข็งที่เด่นชัดที่สุดในสมัยกลาง การจำหน่ายเนยแข็งเพื่อหารายได้เข้าโบสถ์ของบาทหลวงในศาสนาคริสต์ส่งผลให้เกิดเนยแข็งแบบดั้งเดิมที่มีเฉพาะในแต่ละท้องถิ่น และในเวลาต่อมาเนยแข็งท้องถิ่นนี้ได้ถูกพัฒนาปรับปรุงรสชาติให้มีความหลากหลาย จนในปัจจุบันมีเนยแข็งมากกว่า 3,000 ชนิด หลายคนมีความเข้าใจผิดว่าเนยแข็งและเนยเหลวเป็นอาหารประเภทไขมันเช่นเดียวกัน อันที่จริงแล้วเนยแข็งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโปรตีนในน้ำนมวัว ในขณะที่เนยเหลวเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากไขมันในน้ำนมวัว ดังนั้นเนยแข็งจึงจัดเป็นอาหารจำพวกโปรตีนเหมือนเนื้อสัตว์ และมีคุณค่าทางโภชนาการไม่แพ้น้ำนมวัว เนยแข็งให้สารอาหารจำพวก แคลเซียม โปรตีน ฟอสฟอรัส วิตามินบี 12 สังกะสี และไขมัน แต่ให้น้ำตาลแล็กโทสในปริมาณที่น้อยกว่าในน้ำนม ผู้ที่มีปัญหาในการดื่มนมจึงสามารถหันมารับประทานเนยแข็งแทนเป็นทางออกแทนได้.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและเนยแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

B

B (ตัวใหญ่:B ตัวเล็ก:b ออกเสียง บี) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 2 ใช้แทนเสียงพยัญชนะจากริมฝีปาก (ขึ้นกับแต่ละภาษา) มักจะเป็นเสียงกัก ริมฝีปาก ก้อง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและB · ดูเพิ่มเติม »

C

C (ตัวใหญ่:C ตัวเล็ก:c) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 3.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและC · ดูเพิ่มเติม »

Ch (ทวิอักษร)

Ch Ch เป็นทวิอักษรที่พบได้ในหลาย ๆ ภาษา ในบางภาษาจะจัดใช้ ch เป็นอักษรเดี่ยว โดยในพจนานุกรมก็จะไม่ได้รวมอยู่ในหมวดเดียวกับอักษร c แต่จะแยกออกไปต่างหาก อักษร ch ใช้แทนเสียงที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและCh (ทวิอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

D

D (ตัวใหญ่:D ตัวเล็ก:d) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 4.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและD · ดูเพิ่มเติม »

E

E (ตัวใหญ่:E ตัวเล็ก:e) เป็นอักษรละตินตัวที่ 5.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและE · ดูเพิ่มเติม »

F

F (ตัวใหญ่:F ตัวเล็ก:f) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 6.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและF · ดูเพิ่มเติม »

G

G เป็นอักษรลำดับที่ 7 ในอักษรละติน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและG · ดูเพิ่มเติม »

Generalissimo

Generalissimo เป็นคำในภาษาอิตาลี มาจากคำว่า generale ประสมกับส่วนต่อท้ายคำ -issimo ซึ่งมาจากภาษาละติน -issimus ซึ่งหมายถึง "อย่างที่สุด, ไปจนถึงขั้นสูงสุด" เป็นยศทางทหารที่สูงกว่าจอมพล Generalissimo เป็นผู้คุมอำนาจทางทหารอย่างเบ็ดเสร็จ ในบางครั้ง "Generalissimo" ถูกใช้ในภาษาอังกฤษใหม่ โดยมีความหมายถึง นายทหารผู้ซึ่งได้รับอำนาจทางการเมืองจากการก่อรัฐประหาร หรือในบางกรณีที่หมายถึงผู้ที่สั่งระงับรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า เพื่อที่จะครอบครองอำนาจด้วยวิธีทางทหาร.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและGeneralissimo · ดูเพิ่มเติม »

H

H (ออกเสียงว่า เอช หรือเฮช"H" Oxford English Dictionary, 2nd edition (1989); Merriam-Webster's Third New International Dictionary of the English Language, Unabridged (1993); "aitch", op. cit.) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 8 ในการออกเสียงตามสัทอักษรสากลแสดงด้วยเสียง 2 เสียง คือ แสดงเสียงในลักษณะเสียงเสียดแทรก เส้นเสียง ไม่ก้อง และ แสดงเสียงในลักษณะเสียงเสียดแทรก ลิ้นปิดกล่องเสียง ไม่ก้อง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและH · ดูเพิ่มเติม »

I

I เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 9.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและI · ดูเพิ่มเติม »

IT

IT สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและIT · ดูเพิ่มเติม »

J

J (เจ) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 10 เป็นตัวอักษรตัวสุดท้ายที่ถูกเพิ่มเข้ามาในอักษรละติน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและJ · ดูเพิ่มเติม »

K

K (ตัวใหญ่:k ตัวเล็ก:k) เป็นอักษรละติน นับเป็นอักษรตัวที่ 11 ของอักษรในภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและK · ดูเพิ่มเติม »

L

L (ตัวใหญ่:L ตัวเล็ก:l) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 12.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและL · ดูเพิ่มเติม »

LA

LA, La, หรือ la มีความหมายหลายอย่าง.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและLA · ดูเพิ่มเติม »

La Dolce Vita

La dolce vita (ภาษาอิตาลี แปลว่า "ชีวิตอันแสนหวาน") เป็นภาพยนตร์อิตาลีที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและLa Dolce Vita · ดูเพิ่มเติม »

La strada

La strada (อ่านว่า ลา สตราดา แปลว่า "ถนน") ภาพยนตร์ภาษาอิตาเลียนแนวนีโอเรียลลิสต์ ที่เขียนบทและกำกับโดยเฟเดอริโก เฟลลินี ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและLa strada · ดูเพิ่มเติม »

M

M (ตัวใหญ่:M ตัวเล็ก:m) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 13.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและM · ดูเพิ่มเติม »

N

N (ตัวใหญ่:N ตัวเล็ก:n) เป็นอักษรละตินในลำดับที่ 14.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและN · ดูเพิ่มเติม »

P

P (ตัวใหญ่: P ตัวเล็ก: p) เป็นอักษรละติyyน ลำดับที่ 16.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและP · ดูเพิ่มเติม »

Piazza telematica

ปีอัซซา เทเลมาตีกา (Piazza Telematica) ในภาษาอิตาลีมีความหมายว่า จัตุรัสแห่งการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Telematic Square) มีการจัดตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกในการแข่งขันฟุตบอลโลก Italia 90 เพื่อใช้เป็นศูนย์รับส่งข้อมูลข่าวสารสำหรับผู้สื่อข่าวที่อยู่ในจำนวน 12 เมืองที่จัดการแข่งขันสำหรับฟุตบอลโลกในครั้งนั้น ในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและPiazza telematica · ดูเพิ่มเติม »

Q

Q (ตัวใหญ่:Q ตัวเล็ก:q) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 17.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและQ · ดูเพิ่มเติม »

R

R (อาร์) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 18 ในอักษรละติน.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและR · ดูเพิ่มเติม »

S

S (ตัวใหญ่: S ตัวเล็ก: s) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 19.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและS · ดูเพิ่มเติม »

T

T (ตัวใหญ่:T ตัวเล็ก:t) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 20.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและT · ดูเพิ่มเติม »

U

U (ตัวใหญ่:U ตัวเล็ก:u) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 21 ซึ่งในภาษาอังกฤษอ่านว่า "ยู" ในขณะที่เยอรมัน อิตาลี สเปน และฝรั่งเศส เรียกว่า "อู" ในขณะเดียวกันในประเทศไทยนิยมเรียกว่า "ยู" เช่นเดียวกับใน ภาษาญี่ปุ่น เรียกว่า "ยู" (ユー).

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและU · ดูเพิ่มเติม »

V

V (ตัวใหญ่:V ตัวเล็ก:v) เป็นอักษรละติน ตัวที่ 22.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและV · ดูเพิ่มเติม »

W

W (ตัวใหญ่:W ตัวเล็ก:w) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 23.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและW · ดูเพิ่มเติม »

X

X เป็นอักษรละตินลำดับที่ 24 ซึ่งในภาษากรีกตัวอักษร X อ่านว่า "ไค" ตัวอักษร X เป็นตัวอักษรที่ไม่มีในภาษาอิตาลียกเว้นคำยืมจากภาษาอื่น และไม่มีคำศัพท์ภาษาอังกฤษดั้งเดิมขึ้นต้นด้วยตัวอักษร X ในภาษาอังกฤษบางครั้งจะอ่านเหมือนคำว่า ไค ใช้แทนคำว่า คริสต์ ซึ่งเห็นได้ใน X'mas (คริสต์มาส) และมีการใช้ซึ่งอ่านว่า "ครอส" แทนเครื่องหมายไขว้ เช่นในคำว่า Xing.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและX · ดูเพิ่มเติม »

Y

Y (ตัวใหญ่:Y ตัวเล็ก:y) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 25.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและY · ดูเพิ่มเติม »

Z

Z (ตัวใหญ่:Z ตัวเล็ก:z) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 26 และเป็นลำดับสุดท้.

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและZ · ดูเพิ่มเติม »

8½ (ออกเสียง Otto e mezzo, ออตโต เอ เมซโซ) ภาพยนตร์ภาษาอิตาเลียนที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: ภาษาอิตาลีและ8½ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Italian languageภาษาอิตาเลียนภาษาอิตาเลี่ยน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »