สารบัญ
41 ความสัมพันธ์: พ่าเกกลุ่มภาษาอินโด-อารยันกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านกลุ่มภาษาไทกวางบึงภาษามณีปุระพิษณุปุระภาษามคธภาษาราชพังสีภาษาราชการของอินเดียภาษาสิเลฏีภาษาอังคิกาภาษาอาหมภาษาฮรังโกลภาษาฮาชองภาษาคำยังภาษาตังซาภาษาโลทาภาษาโอริยาภาษาไทคำตี่ภาษาเบงกาลีรัฐอัสสัมรายชื่อภาษารายชื่อภาษาของอินเดียเรียงตามจำนวนคนพูดรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1วิกิพีเดียภาษาอัสสัมหน่อไม้อักษรโอริยาอักษรไทอาหมอักษรเบงกาลีอัสสัมอาหมอาณาจักรอาหมคำยังคำตี่ตระกูลภาษาไท-กะไดปรงเขาปลาช่อนเจ็ดสีปานีร์นกต้อยตีวิดเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง
พ่าเก
วไทพ่าเก เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่งที่อพยพมาอาศัยอยู่ที่ประเทศอินเดีย โดยอพยพเข้าทางทิวเขาปาดไก่ ทางตอนเหนือของประเทศพม่าปัจจุบัน ถิ่นเดิมของชาวไทพ่าเกอยู่ที่เมืองเมาหลวง ต่อมาได้ติมตามกษัตริย์อาหมมาอยู่ที่เมืองกอง (โมกอง) บริเวณถ้ำผาใหญ่ และผานั้นเป็นผาอันเก่าแก่มาก จึงได้ชื่อว่า ชาวไทพ่าเก ถึงปี พ.ศ.
กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน
ตที่มีผู้พูดกลุ่มภาษาอินโดอารยัน กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน เป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน จากรายงานใน..
ดู ภาษาอัสสัมและกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน
กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน
กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน หรืออินโด-อิราเนียนเป็นสาขาทางตะวันออกสุดของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนประกอยด้วย 3 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน กลุ่มภาษาอิราเนียน และกลุ่มภาษาดาร์ดิก มีการใช้คำว่า "อารยัน" ในการอ้างถีงกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านจากทฤษฎีส่วนใหญ่เกี่ยวกับการอพยพของชาวอารยัน คนที่พูดภาษาโปรโต-อินโด-อิราเนียนที่เรียกตัวเองว่าอารยัน ตั้งหลักแหล่งอยู่ทางใต้และตะวันออกของทะเลสาบแคสเปียนในอินเดียเหนือ ปากีสถาน อิหร่าน และอัฟกานิสถาน คาดว่าการแพร่กระจายเกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์รถม้.
ดู ภาษาอัสสัมและกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน
กลุ่มภาษาไท
กลุ่มภาษาไท หรือ᩵ กลุ่มภาษาไต (Tai languages; 台語支, พินอิน: tái yǔ zhī) เป็นกลุ่มภาษาย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได ประกอบด้วยภาษาไทยในประเทศไทย ภาษาลาวในประเทศลาว ภาษาไทใหญ่ในรัฐฉานของประเทศพม่า และภาษาจ้วง หนึ่งในภาษาหลักของประเทศจีนตอนใต้.
กวางบึง
กวางบึง หรือ บาราซิงก้าGrubb, Peter (16 November 2005).
ภาษามณีปุระพิษณุปุระ
ษามณีปุระพิษณุปุระ (ইমার ঠার/বিষ্ণুপ্রিয়া মণিপুরী) เป็นภาษาในกลุ่มอินโด-อารยัน พูดในบางส่วนของแคว้นอัสสัม, ตรีปุระ, มณีปุระในประเทศอินเดีย และบางส่วนของบังกลาเทศ และพม่าต่างจากภาษามณีปุระหรือภาษาไมไตที่เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม.
ดู ภาษาอัสสัมและภาษามณีปุระพิษณุปุระ
ภาษามคธ
ษามคธ (อ่านว่า มะ-คด บางครั้งเรียก มาคธี, มคธี หรือ มคฮี) เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาโภชปุรีและภาษาไมถิลีจัดอยู่ในกลุ่มของภาษาพิหาร ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน มีผู้พูด 13 ล้านคนในเขตมคธของรัฐพิหารและบริเวณใกล้เคียงอื่นๆรวมถึงบางบริเวณในรัฐเบงกอลตะวันตก เขียนด้วยอักษรเทวนาครี ระบบเสียงใกล้เคียงกับภาษาฮินดีและพอจะเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษาฮินดีหรือภาษาพิหารอื่นๆ มีนิทานและเพลงพื้นบ้านมาก เชื่อกันว่ารูปแบบโบราณของภาษามคธคือภาษาที่ใช้พูดในสมัยพุทธกาลและในราชอาณาจักรมคธ พุทธศาสนาเถรวาทใช้ภาษาบาลีซึ่งเป็นอีกชื่อหนึ่งของภาษามคธโบราณ ยังมีภาษาที่อยู่ระหว่างภาษาบาลีกับภาษามคธ เรียกว่า ภาษาอรธมาคธี (แปลว่า ภาษากึ่งมคธ) ซึ่งใช้ในคัมภีร์ของศาสนาเชน ความต่างของภาษามคธกับภาษาอรธมาคธี อยู่ในรูปแบบเดียวกับความต่างจากภาษาบาลี ภาษามคธยังเป็นชื่อของภาษาปรากฤตที่ใช้ในการแสดงละคร และเป็นภาษาที่ใช้พูดในรัฐพิหารในยุคกลาง เป็นต้นกำเนิดของภาษาเบงกาลี ภาษาโอริยาและภาษาพิหาร.
ภาษาราชพังสี
ษาราชพังสี หรือภาษารังปุรีเป็นภาษาทางตะวันออกของอินเดีย อยู่ในตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ใช้พูดโดยชาวราชพังสี 1 ล้านคนในบังกลาเทศและ 5 ล้านคนในอินเดีย ส่วนใหญ่จะพูดได้สองภาษาโดยพูดภาษาเบงกาลีหรือภาษาอัสสัมได้ด้วยมีขบวนการสนับสนุนการใช้ภาษานี้ในเบงกอลตะวันตก.
ภาษาราชการของอินเดีย
ประเทศอินเดียมีภาษาพูดที่แตกต่างกันมากมาย ในกลุ่มคนต่าง ๆ กัน มีภาษาอย่างน้อย 30 ภาษา รวมถึงภาษาย่อยอีก 2,000 ภาษาด้ว.
ดู ภาษาอัสสัมและภาษาราชการของอินเดีย
ภาษาสิเลฏี
ษาสิเลฏี (ชื่อในภาษาของตนเอง সিলটী Silôţi; ภาษาเบงกาลี সিলেটী Sileţi) เป็นภาษาที่ใช้พูดโดยชาวสิลเหตที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของบังกลาเทศ และทางใต้ของรัฐอัสสัม ใกล้เคียงกับภาษาเบงกาลีจนอาจจะถือเป็นสำเนียงได้ ชาวสิลเหตเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรกามรูปในสมัยโบราณ มีลักษณะของภาษาอัสสัม เช่น การคงอยู่ของเสียงเสียดแทรกมากกว่าภาษาในอินเดียตะวันออกอื่นๆ มีการเขียนด้วยอักษรเบงกาลีในปัจจุบัน ภาษาสิเลฏิเป็นภาษาที่เน้นเสียงท้ายคำ และมีคำยืมจากภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาเบงกาลีและภาษาอัสสัม ผู้พูดภาษาสิเลฏิในบังกลาเทศจะได้รับอิทธิพลจากภาษาเบงกาลีสำเนียงมาตรฐานมาก.
ภาษาอังคิกา
ษาอังคิกา เป็นภาษาของชาวอังหรืออังคาในรัฐพิหาร ฌารขัณฑ์ และเบงกอลตะวันตกในอินเดีย มีผู้พูดราว 30 ล้านคนในอินเดียและ 50 ล้านคนทั่วโลก มีผู้พูดภาษานีในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และส่วนอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ยังพบในอังกฤษและสหรัฐด้วย ภาษาอังคิกาใกล้เคียงกับภาษาเบงกาลี ภาษาโอริยาและภาษาอัสสัม จัดอยู่ในภาษาพิหารเช่นเดียวกับภาษาโภชปุรี ภาษามคธี ภาษาไมถิลีและภาษาวัชชิกะ ผู้พูดภาษาพิหารอื่นๆจะเข้าใจภาษาอังคิกาได้ง่าย สรหะ กวีคนแรกของภาษาฮินดีที่มีชีวิตเมื่อราว..
ภาษาอาหม
ษาอาหม (Ahom language) เป็นหนึ่งในกลุ่มภาษาย่อยไทพายัพ ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มกัม-ไท, เบ-ไท, ไท-แสก อยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได ภาษาอาหมนั้นมีอักษร และถ้อยคำของตนใช้สื่อสารทั้งพูดและเขียนมาอย่างต่อเนื่อง แต่ชาวอาหมในปัจจุบันนั้นหันไปใช้ภาษาอัสสัมซึ่งอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนแล้ว อย่างไรก็ตาม ถ้อยคำที่บันทึกจารึกไว้ในคัมภีร์ในบทสวดในพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ก็แสดงให้เห็นว่านักบวชชาวไทอาหมยังใช้ภาษาไทได้อย่างสมบูรณ.
ภาษาฮรังโกล
ษาฮรังโกล (Hrangkhol language) มีผู้พูดทั้งหมด 26,820 คน พบในพม่า 8,120 คน (พ.ศ. 2543) กำลังลดจำนวนลง พบในอินเดีย 18,700 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐอัสสัม รัฐตรีปุระ และบางส่วนในรัฐไมโซรัมและรัฐมณีปุระ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พูดภาษานี้กำลังลดลง โดยหันไปพูดภาษาไมโซ ภาษาฮินดี ภาษาอังกฤษ หรือภาษาอัสสัม.
ภาษาฮาชอง
ษาฮาชอง เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่มีอิทธิพลมาจากตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า พูดโดยชาวฮาชอง 19,000 คน ในรัฐอัสสัม รัฐเมฆาลัย รัฐอรุณาจัลประเทศและรัฐเบงกอลตะวันตกในอินเดีย และตำบลเมียเมนสิงห์ในบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกาลีแบบอัสสัม เป็นภาษาที่กำลังจะถูกแทนที่ด้วยภาษาอัสสัม เดิมภาษานี้เป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า แต่ได้ผสมลักษณะทางภาษาศาสตร์จากภาษาเบงกาลีและภาษาอัสสัม.
ภาษาคำยัง
ษาคำยัง (Shyam ศยามฺ) มีผู้พูดทั้งหมด 50 คน ในหมู่บ้านโป่อ่ายมุข (Pawaimukh) ในเขตทินซูเกีย (Tinsukia District) รัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย ภาษาคำยังนี้มีความคล้ายคลึงกับภาษาพ่าเกและภาษาไทใหญ่ในประเทศพม่า ผู้ใช้ภาษาคำยังในปัจจุบันหลายคนสามารถอ่านและเขียนภาษาอัสสัมได้ แต่กลายเป็นว่ามีผู้เฒ่าผู้แก่เท่านั้นที่สามารถอ่านและเขียนภาษาคำยังได้ ซึ่งส่วนมากใช้สำหรับพิธีกรรมทางศาสนาในปี ค.ศ.
ภาษาตังซา
ษาตาเซหรือภาษาตังซา (Tase language) มีผู้พูดทั้งหมด 100,400 คน พบในพม่า 55,400 คน (พ.ศ. 2543) พบทางตะวันตกเฉียงเหนือของพม่า พบในอินเดีย 45,000 คน (พ.ศ.
ภาษาโลทา
ภาษาโลทา มีผู้พูดราว 80,000 คนในรัฐนาคาแลนด์ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ส่วนใหญ่อยู่ทางตอนกลางของรัฐ อยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ใกล้เคียงกับภาษาเอา ที่ใช้พูดทางตอนเหนือ และภาษามณีปุรีในรัฐมณีปุระ เขียนด้วยอักษรละติน ที่ประดิษฐ์โดยมิชชันนารีชาวตะวันตก คำศัพท์ได้รับอิทธิพลจากภาษาอัสสัมและภาษาฮินดี มีการแปลคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษาโลทาด้วย ลโทา.
ภาษาโอริยา
ภาษาโอริยา (Oriya, ଓଡ଼ିଆ oṛiā) เป็นภาษาที่ใช้ในรัฐโอริศาของอินเดีย และเนื่องจากมีการอพยพของแรงงาน รัฐคุชราต ก็มีคนพูดภาษาโอริยาพอสมควรด้วย (เมืองสุรัตเป็นเมืองที่มีคนพูดภาษาโอริยามากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของอินเดีย) และเป็นภาษาราชการของอินเดียด้วย ภาษาโอริยาเป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน สาขาอินโด-อารยัน และคาดว่าน่าจะพัฒนามาจากภาษาปรากฤตที่ใช้พูดในอินเดียเมื่อ 1,500 ปีก่อน มีลักษณะคล้ายกับภาษาเบงกาลี ภาษาไมถิลี และภาษาอัสสัม เป็นภาษาที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียน้อยที่สุดในบรรดาภาษาในอินเดียเหนือด้วยกัน แต่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธและศาสนาเชนมาก เขียนด้วยอักษรโอริยา อโอริยา.
ภาษาไทคำตี่
ษาไทคำตี่ (Khamti language) มีผู้พูดทั้งหมด 13,120 คน พบในพม่า 4,240 คน (พ.ศ. 2543) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ พบในประเทศอินเดีย 8,880 คน (พ.ศ.
ภาษาเบงกาลี
ษาเบงกาลี (বাংলা, บังคลา) เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรของประเทศบังคลาเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดีย ที่ติดกับบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีชุมชนของคนที่พูดภาษาเบงกอลที่ใหญ่พอควรในรัฐอัสสัม (อีกรัฐในอินเดีย ติดกับทั้งรัฐเบงกอลตะวันตกและประเทศบังคลาเทศ) และในประชากรที่อพยพไปทางตะวันตกและตะวันออกกลาง รูปแบบมาตรฐานของภาษานี้เรียกว่า cholit bhaashaa: จลิตภาษา เป็นภาษาย่อยที่พูดกันมากที่สุด มีแบบมาจาก "Calcutta Bengali" (ภาษาเบงกอลที่พูดในเมืองกัลกัตตา) ในประเทศบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกาลี ในภาษาอังกฤษ Bengali ใช้เรียกทั้งภาษาและคนที่พูดภาษานี้ ในภาษาเบงกาลีเองเรียกภาษาว่า Bangla: บังคลา (বাঙলা), ซึ่งเป็นคำที่เริ่มใช้มากขึ้นในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาบังคลา ชาวเบงกอลเรียกว่า Bangali: บางกาลี (বাংলা) ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมเนียมของชาวเบงกาลีเรียกว่า Bengal: เบงกอล ในภาษาอังกฤษ และ Bongo: บองโก Banga: บางกา หรือ Bangla: บังคลา ในภาษาเบงกาลี "Bangadesh: บางกาเทศ" และ "Bangladesh: บังคลาเทศ" เป็นคำที่ใช้เรียกภูมิภาคของชาวเบงกอลก่อนที่จะมีการแยกเป็นสองส่วน คือ เบงกอลตะวันตก (West Bengal หรือ Poshchim Bongo: ปอจิม บองโก หรือ ประจิมบังกา) ซึ่งได้กลายเป็นรัฐของอินเดีย และส่วนตะวันออก (เบงกอลตะวันออก: East Bengal หรือ Purbo Bongo: ปูร์โบ บองโก หรือ บูรพาบังกา) กลายเป็นประเทศบังคลาเทศ เนื่องจากมีผู้ใช้ภาษาเบงกาลีมากกว่า250ล้านคนทั่วโลก ชีค ฮาซินา วาเจด นายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เสนอเมื่อ เดือนกันยายน..
รัฐอัสสัม
รัฐอัสสัม (อัสสัม: অসম Ôxôm) เดิมภาษาไทยเรียก อาสาม เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐอินเดีย โดยมีเมืองหลวงคือ ทิสปุระ อยู่ในเขตเมืองคูวาหตี อยู่ทางตอนใต้ของหิมาลัยตะวันออก รัฐอัสสัมมีลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร แม่น้ำพารัก และตำบลครรพี กับเขาจาชาร์เหนือ ปัจจุบันมีพื้นที่ 78,438 ตารางกิโลเมตร เกือบเท่ากับพื้นที่ของไอร์แลนด์ หรือออสเตรีย รัฐอัสสัมรายล้อมด้วยรัฐพี่น้องทั้งเจ็ด อันได้แก่ อรุณาจัลประเทศ, นาคาแลนด์, มณีปุระ, มิโซรัม, ตริปุระ และ เมฆาลัย รัฐเหล่านี้เชื่อมต่อกับส่วนอื่นๆ ของอินเดีย โดยผ่านพื้นที่แคบ ในเบงกอลตะวันตก ที่เรียกว่า "คอไก่" อัสสัมยังมีชายแดนร่วมประเทศภูฏาน และบังกลาเทศ มีวัฒนธรรม ประชากร และภูมิอากาศในลักษณะเดียวกันกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันเป็นส่วนสำคัญของนโยบายมองตะวันออก ของอินเดีย ชาอัสสัม รัฐอัสสัมมีชื่อเสียงด้านแหล่งใบชา ปิโตรเลียม ไหมอัสสัม และความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้ยังประสบความสำเร็จในการอนุรักษ์แรดนอเดียว จากสภาพสูญพันธุ์ในอุทยานแห่งชาติกาจิรังคา (Kaziranga National Park), เสือในอุทยานแห่งชาติมนัส (Manas National Park) และจัดหาแหล่งอาศัยสุดท้ายของสัตว์ป่าสำหรับช้างเอเชียด้วย อัสสัมเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นในฐานะแห่งท่องเที่ยวชมสัตว์ป่า และทั้งกาจิรังคาและมนัส ก็เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อัสสัมยังเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะป่าต้นสาละ และผลิตภัณฑ์จากป่าไม้ ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนลดลงมาก อัสสัมเป็นพื้นที่ซึ่งมีฝนตกชุก จึงมีพืชพรรณที่อุดมสมบูรณ์ มีแม่น้ำพรหมบุตร และลำน้ำสาขา กับทะเลสาบรูปเกือกม้า ที่ให้ความชุ่มชื้นและความสวยงามแก่ภูมิประเท.
รายชื่อภาษา
รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.
รายชื่อภาษาของอินเดียเรียงตามจำนวนคนพูด
รายชื่อของภาษาของประเทศอินเดียที่มีผู้พูดมากกว่า 10 ล้านคน มีอยู่ด้านล่าง ภาษาอังกฤษมีชาวอินเดียพูดเป็นภาษาที่สองระหว่าง 50 และ 250 ล้านคน ข้อมูลนี้มาจากฐานข้อมูลของ Ethnologue โดยคิดเฉพาะผู้พูดเป็นภาษาแม่ ภาษาที่พูดในอินเดียส่วนใหญ่จะอยู่ในตระกูลอินโด-อารยัน (ประมาณ 74%), ดราวิเดียน (ประมาณ 24%), ออสโตรเอเชียติก (มุนดา) (ประมาณ 1.2%) หรือทิเบโต-เบอร์แมน (ประมาณ 0.6%) โดยที่มีบางภาษาของเทือกเขาหิมาลัยที่ยังไม่ได้จัดประเภท ภาษาอังกฤษ ซึ่งได้นำมาใช้ภายใต้จักรพรรดิอังกฤษ มีบทบาทสำคัญเป็น ภาษากลางที่ไม่ยึดติดกับชนพื้นเมืองใด ๆ ของอินเดียโดยเฉพาะ ก่อนหน้ายุคอาณานิคม ภาษาเปอร์เซีย มีบทบาทสำคัญเป็นภาษาของรัฐบาล การศึกษาและการค้า เนื่องจากข้อบัญญัติของผู้นำมุสลิม และยังคงเป็นภาษาคลาสสิกที่ศึกษาในโรงเรียนอินเดียหลายแห่ง จำนวนอย่างเป็นทางการของ 'ภาษาแม่' ที่พูดในอินเดีย คือ 1,683 ซึ่งจำนวนนี้มีประมาณ 850 ภาษาที่ใช้ประจำวัน ส่วน SIL Ethnologue นับภาษาที่มีชีวิตได้ 387 ภาษาในอินเดี.
ดู ภาษาอัสสัมและรายชื่อภาษาของอินเดียเรียงตามจำนวนคนพูด
รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่
นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.
ดู ภาษาอัสสัมและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่
รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1
ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.
ดู ภาษาอัสสัมและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1
วิกิพีเดียภาษาอัสสัม
วิกิพีเดียภาษาอัสสัม เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาอัสสัม ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาอัสสัมมีบทความมากกว่า 180 บทความ (เมษายน 2551).
ดู ภาษาอัสสัมและวิกิพีเดียภาษาอัสสัม
หน่อไม้
หน่อไม้ เป็นคำที่ใช้เรียกหน่ออ่อนของไผ่ที่รับประทานได้ที่แตกจากเหง้าใต้ดิน โดยมาจากสปีชีส์ Bambusa vulgaris และ Phyllostachys edulis นิยมรับประทานในทวีปเอเชียหลายประเทศ และมีวิธีการปรุงที่หลากหล.
อักษรโอริยา
อักษรโอริยา (Oriya alphabet) พัฒนามาจากอักษรกลิงคะที่มาจากอักษรพราหมีอีกทอดหนึ่ง พบจารึกภาษาโอริยาครั้งแรกเมื่อ..
อักษรไทอาหม
อักษรไทอาหม (Ahom alphabet) ได้รับอิทธิพลจากอักษรพราหมี ใช้เขียนภาษาไทอาหมที่พูดโดยชาวไทอาหม ในเขตลุ่มน้ำพรหมบุตร รัฐอัสสัม ในช่วง..
อักษรเบงกาลี
อักษรเบงกาลี หรือ อักษรเบงกอล ใช้เขียนภาษาเบงกาลีและภาษาอัสสัม พัฒนามาจากอักษรพราหมีและจัดว่าใกล้เคียงกับอักษรเทวนาครี ปรากฏในคริสต์ศตวรรษที่ 11 รูปแบบที่ใช้ในการพิมพ์ เริ่มใช้ใน พ.ศ.
อัสสัม
อัสสัม สามารถหมายถึง.
อาหม
อาหม (আহোম; อาโหมะ) หรือ ไทอาหม กลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งซึ่งอาศัยในรัฐอัสสัมของประเทศอินเดีย เดิมใช้ภาษาอาหม ในกลุ่มภาษาย่อยไท-พายัพ ซึงเป็นภาษาในกลุ่มภาษากัม-ไท ตระกูลภาษาไท-กะได แต่ชาวอาหมในปัจจุบันนั้นหันไปใช้ภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียนแล้วhttp://www.ethnologue.com/show_language.asp?code.
อาณาจักรอาหม
อาณาจักรอาหม (আহোম ৰাজ্য; อาโหมะ ราชยะ; Ahom Kingdom) บ้างเรียก อาณาจักรอัสสัม (Kingdom of Assam) มีชื่อในภาษาอาหมว่า เมืองถ้วนสวนคำจิตร ภูมิศัก.
คำยัง
ำยัง หรือ ไทคำยัง เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทกลุ่มหนึ่ง ที่อพยพไปอาศัยอยู่ที่ประเทศอินเดีย และทางตอนเหนือของประเทศพม่า เดิมชาวไทคำยังอาศัยอยู่บริเวณเมืองกอง (โมกอง) ใกล้ทิวเขาปาดไก่ และอพยพไปอยู่ร่วมกับชาวไทอาหม เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 ดินแดนของชาวไทคำยัง มีอยู่ 2 ส่วน คือ บ้านน้ำ ได้แก่ หมู่บ้านทิสังปานี และหมู่บ้านโซราปัตเถิร แขวงศิวสาคร กับ บ้านดอย ได้แก่ หมู่บ้านตาติบาร์ แขวงโชรหัท และยังมีในแขวงตินสุก.
คำตี่
ำตี่ ขำติ หรือ ชาวไทคำตี่ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มหนึ่งในอัสสัม และทางภาคเหนือของประเทศพม่า ในรัฐกะฉิ่น เมืองปูตาโอ แบ่งได้ เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไทคำตี่หลวง (ในประเทศพม่า) และ กลุ่มสิงคะลิงคำตี่ (ในประเทศอินเดีย).
ตระกูลภาษาไท-กะได
ตระกูลภาษาไท-กะได (Tai–Kadai languages) หรือรู้จักกันในนาม กะได (Kadai), ขร้าไท (Kradai) หรือ ขร้า-ไท (Kra–Dai) เป็นตระกูลภาษาของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ที่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตอนใต้ของประเทศจีน ในช่วงแรก ตระกูลภาษาไท-กะไดเคยถูกกำหนดให้เป็นอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต แต่ปัจจุบันได้แยกมาเป็นอีกตระกูลภาษาหนึ่ง และยังมีผู้เห็นว่าตระกูลภาษาไท-กะไดนี้มีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน โดยอยู่ในกลุ่มภาษาที่เรียกว่า "ออสโตร-ไท" หรือจัดเป็นตระกูลภาษาใหญ่ออสตริก รอเจอร์ เบลนช์ (Roger Blench) ได้กล่าวว่า ถ้าข้อจำกัดของความเชื่อมต่อของตระกูลภาษาออสโตร-ไทมีความสำคัญมาก แสดงว่าความสัมพันธ์ทั้งสองตระกูลอาจไม่ใช่ภาษาที่เป็นพี่น้องกัน กลุ่มภาษากะไดอาจเป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนที่อพยพจากฟิลิปปินส์ไปสู่เกาะไหหลำ แล้วแพร่สู่จีนแผ่นดินใหญ่ ในขณะที่สาขาไดของภาษากลุ่มกะไดมีการปรับโครงสร้างใหม่โดยได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาม้ง-เมี่ยนและภาษาจีน โลร็อง ซาการ์ (Laurent Sagart) ได้เสนอว่า ภาษาไท-กะไดดั้งเดิมได้เกิดขึ้นในยุคต้นของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่อาจจะอพยพกลับจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของไต้หวันไปยังชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของจีน หรือจากจีนไปไต้หวันและเกิดการพัฒนาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนบนเกาะนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนและไท-กะไดอาจจะอธิบายได้จากคำศัพท์ที่ใกล้เคียงกัน คำยืมในยุคก่อนประวัติศาสตร์และอื่น ๆ ที่ยังไม่รู้ นอกจากนั้นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนอาจจะมีความสัมพันธ์กับตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ซึ่งมีจุดเริ่มต้นในบริเวณชายฝั่งของจีนภาคเหนือและภาคตะวันออก ความหลากหลายของตระกูลภาษาไท-กะไดในทางตอนใต้ของประเทศจีนบ่งบอกถึงมีความสัมพันธ์กับถิ่นกำเนิดของภาษา ผู้พูดภาษาสาขาไทอพยพจากตอนใต้ของจีนลงทางใต้เข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แต่ครั้งโบราณ เข้าสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยและลาวบริเวณนี้เป็นบริเวณที่พบผู้พูดภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ชื่อ "ไท-กะได" มาจากการจัดแบ่งตระกูลภาษาออกเป็นสองสาขาคือ "ไท" และ "กะได" ซึ่งเลิกใช้แล้ว เนื่องจากกะไดจะเป็นกลุ่มภาษาที่เป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีกลุ่มภาษาไทรวมอยู่ด้วย ในบางบริบทคำว่ากะไดจึงใช้เรียกตระกูลภาษาไท-กะไดทั้งตระกูล แต่บางบริบทก็จำกัดการใช้คำนี้ให้แคบลง โดยหมายถึงกลุ่มภาษาขร้าที่เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลภาษานี้.
ดู ภาษาอัสสัมและตระกูลภาษาไท-กะได
ปรงเขา
ปรงเขา หรือปรงอัสสัม (ชื่อสามัญ: Assam cycas; ภาษาอัสสัม:nagphal; ภาษามณีปุรี: yendang)เป็นพืชชนิดที่สี่ในสกุลปรงที่ได้รับการตั้งชื่อ ตั้งชื่อเมื่อ..
ปลาช่อนเจ็ดสี
ปลาช่อนเจ็ดสี หรือ ปลาช่อนสายรุ้ง (Rainbow snakehead) เป็นปลาช่อนชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa bleheri (โดยคำว่า bleheri เป็นชื่อที่ตั้งเพื่อให้เกียรติแก่ ไฮโค เบลียร์ นักสำรวจปลาชาวเยอรมัน) ในวงศ์ปลาช่อน (Channide) จัดเป็นปลาช่อนขนาดเล็กเช่นเดียวกับปลาก้าง (C.
ปานีร์
ปานีร์ (Paneer;ਪਨੀਰ; ภาษาฮินดี และภาษาเนปาลี पनीर panīr; Պանիր panir; پنير; پەنییر penîr; پنير panir; peynir) เป็นชีสสดชนิดหนึ่งที่เป็นที่นิยมแพร่หลายในอินเดียภาคเหนือและภาคตะวันออก โดยในอินเดียภาคเหนือเรียกเชนะ เป็นที่นิยมในหมู่ผู้รับประทานมังสวิรัตน์เพราะไม่ใช้เอนไซม์จากตับลูกวัวมาช่วยในการแข็งตัว แต่ใช้น้ำมะนาว น้ำส้มหรือหางนมจากการทำปานีร์ครั้งก่อนหน้าใส่ลงในนมที่ต้มจนเดือดแล้วคนไปในทางเดียวกัน นมจะตกตะกอนเป็นก้อน เมื่อบีบน้ำออกและกดทับให้แข็ง จะได้ปานีร์ ในอินเดียใช้ปานีร์ทำอาหารได้หลายอย่าง เช่น แกงใส่ถั่วลันเตา แกงใส่ผักปวยเล้ง รัสมาลัย ปานีร์ย่างหรือข้าวหมกปานีร์ เป็นต้น คำว่าปานีร์มีต้นกำเนิดมาจากภาษาเปอร์เซีย คำใน ภาษาดุรกี peynir คำใน ภาษาเปอร์เซีย panir คำใน ภาษาอาเซอร์ไบจาน panir, และคำใน ภาษาอาร์เมเนีย panir (պանիր) ล้วนมาจากคำว่า "paneer" ซึ่งหมายถึงเนยชนิดหนึ่ง จุดกำเนิดของปานีร์ยังเป็นที่โต้เถียง ทั้งอินเดียในยุคพระเวท ชาวอัฟกัน ชาวอิหร่าน ชาวเบงกอล และชาวอินเดียเชื้อสายโปรตุเก.
นกต้อยตีวิด
นกต้อยตีวิด หรือ นกกระต้อยตีวิด หรือ นกกระแตแต้แว้ด หรือ นกแต้แว้ด (red-wattled lapwing) เป็นนกที่สีสวยน่าดู พบได้ตามพื้นที่โล่งเกือบทุกสภาพทั่วประเทศ อยู่ในวงศ์นกหัวโต (Charadriidae) วงศ์ย่อย Vanellinae หรือ Charadriinae มีเสียงร้องเตือนภัยแหลมดังที่ไม่เหมือนใครว่า "แตแต้แวด" หรือตามคนพูดภาษาอังกฤษว่า did he do it หรือ pity to do it ทำให้มีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามเสียงร้องทั้งภาษาไทยและภาษาอื่น ๆ เป็นนกที่มักจะเห็นเป็นคู่ ๆ หรือเป็นฝูงเล็ก ๆ ไม่ไกลจากแหล่งน้ำ แต่อาจจะอยู่รวมเป็นฝูงใหญ่ในฤดูหนาวที่ไม่ใช่ฤดูผสมพันธุ์ ในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จึงห้ามล่า พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนำเข้าหรือส่งออก ห้ามครอบครอง ห้ามเพาะพันธุ์ ห้ามเก็บหรือทำอันตรายรัง การห้ามการครอบครองและการค้ามีผลไปถึงไข่และซาก.
เสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง
ียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง (voiceless velar fricative) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่น ภาษาเยอรมัน, ภาษาสเปน, ภาษาโปรตุเกส, ภาษารัสเซีย, ภาษาจีนกลาง ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /x/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ x เสียงนี้เป็นเสียงหนึ่งในบรรดาเสียงพยัญชนะในภาษาอังกฤษเก่า และยังคงปรากฏในบางภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษปัจจุบัน หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่างประเทศของราชบัณฑิตยสถานได้กำหนดให้เขียนทับศัพท์เสียง /x/ ในทุกภาษา (เท่าที่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ไว้) ด้วย ค ยกเว้นภาษาอังกฤษให้ใช้ ก เมื่อเป็นตัวสะกด ส่วนภาษาจีนและภาษารัสเซียให้ใช้ ฮ อย่างไรก็ตาม ในการทับศัพท์ภาษารัสเซียนั้น ปัจจุบันนิยมใช้ ค แทนเสียงนี้ แม้แต่ในสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ที่มาจากราชบัณฑิตยสถานเอง ส่วนภาษาสเปน (ซึ่งพบเสียงนี้เป็นตัวสะกดท้ายพยางค์ไม่บ่อยนัก) บางคนนิยมทับศัพท์เสียงนี้ด้ว.
ดู ภาษาอัสสัมและเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ไม่ก้อง