สารบัญ
14 ความสัมพันธ์: ชาลอมชาวยิวชาวยิวเซฟาร์ดีภาษามาลายาลัมภาษามาลายาลัมของชาวยิวภาษาสเปนภาษาฮีบรูภาษาฮีบรูเซฟาร์ดีภาษาของชาวยิวภาษาคาไรม์รายชื่อภาษาวิกิพีเดียภาษาลาดิโนอัลคามีอาโรดส์
ชาลอม
"ชาลอม" ในภาษาฮีบรู ชาลอม (ฮีบรู: שָׁלוֹם, ฮีบรูเซฟาร์ติก/ฮีบรูอิสราเอล: Shalom; ฮีบรูอาซเกนาซี/ยิดดิช: Sholem, Shoilem, Shulem) เป็นคำภาษาฮีบรูที่หมายถึง สันติภาพ ความสมบูรณ์ และสวัสดิภาพ และสามารถใช้เป็นสำนวนในความหมายทั้งสวัสดีและลาก่อน คำนี้สามารถหมายถึงสันติภาพระหว่างสิ่งที่มีอยู่จริงสองอย่าง (โดยเฉพาะระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าหรือระหว่างสองประเทศ) หรือความเป็นอยู่ที่ดี สวัสดิภาพหรือความปลอดภัยของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล คำคำนี้ยังพบในรูปแบบอื่นๆอีก โดยมีความหมายเช่นเดียวกับ salaam ในภาษาอาหรับ sliem ในภาษามอลตา Shlama (ܫܠܡܐ) ในภาษาซีเรียค และภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย และ sälam ในภาษากลุ่มเซมิติกในเอธิโอเปีย คำเหล่านี้มีที่มาจากรากศัพท์ S-L-M ในภาษาเซมิติกดั้งเดิม.
ชาวยิว
ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.
ชาวยิวเซฟาร์ดี
วยิวเซฟาร์ดี (Sephardi Jews; ספרדי; ฮิบรูมาตรฐาน: Səfardiไทบีเรีย Səp̄arədî; พหูพจน์ ספרדים, ฮิบรูใหม่: Səfaradim ไทบีเรีย: Səp̄arədîm; Sefardíes; Sefarditas, Σεφάρδοι, Sefarad, จูเดโอ-สเปน: Sefardies) เป็นชนกลุ่มย่อยของกลุ่มชนยิวที่มาจากคาบสมุทรไอบีเรีย และ แอฟริกาเหนือ ที่มักจะกล่าวว่าคู่กับชาวยิวอัชเคนาซิ (Ashkenazi Jews) หรือ ชาวยิวมิซราฮิ (Mizrahi Jews).
ดู ภาษาลาดิโนและชาวยิวเซฟาร์ดี
ภาษามาลายาลัม
ษามาลายาลัมเป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในภาษาตระกูลดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม ภาษามาลายาลัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว..
ภาษามาลายาลัมของชาวยิว
ษามาลายาลัมของชาวยิว (Judeo-Malayalam) เป็นภาษาท้องถิ่นของชาวยิวโคชินหรือชาวยิวมาลาบาร์จากรัฐเกรละ ภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูด 8,000 คนในอิสราเอลและประมาณ 100 คนในอินเดีย ภาษามาลายาลัมของชาวยิวเป็นภาษาของชาวยิวภาษาเดียวที่อยู่ในตระกูลภาษาดราวิเดียน อีกภาษาหนึ่งที่เคยมีชาวยิวพูดคือภาษาเตลูกูแต่มีเป็นจำนวนน้อยและเป็นชาวยิวกลุ่มใหม่ที่พบในรัฐอานธรประเทศ เนื่องจากภาษานี้ไม่มีความแตกต่างทางไวยากรณ์และการเรียงประโยคเมื่อเทียบกับภาษามาลายาลัมที่เป็นภาษาแม่ นักภาษาศาสตร์บางส่วนจึงจัดให้เป็นสำเนียง ไม่ใช่ภาษาเอกเทศ จุดที่แตกต่างจากภาษาของชาวยิวอื่นๆคือ ภาษามาลายาลัมของชาวยิวไม่เคยเขียนด้วยอักษรฮีบรูแม้จะมีคำยืมจากภาษาฮีบรูเป็นจำนวนมาก ภาษานี้เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม รากศัพท์และการออกเสียงของภาษานี้เป็นลักษณะที่พบในภาษามาลายาลัมก่อนจะแยกออกมาจากภาษาทมิฬอย่างสมบูรณ์ นอกจากจะได้รับอิทธิพลจากภาษามาลายาลัม ภาษาทมิฬ และภาษาฮีบรูแล้ว ภาษานี้ยังได้รับอิทธิพลจากภาษาของชาวยิวอื่นๆที่อพยพตามมาภายหลัง เช่น ภาษาลาดิโน และได้รับอิทธิพลจากภาษาสันสกฤตซึ่งเป็นผลมาจากการอยู่ร่วมกับวัฒนธรรมฮินดู.
ดู ภาษาลาดิโนและภาษามาลายาลัมของชาวยิว
ภาษาสเปน
ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.
ภาษาฮีบรู
ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..
ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี
ษาฮีบรูเซฟาร์ดี (Sephardi Hebrew)เป็นระบบการออกเสียงของภาษาฮีบรูไบเบิลที่มาจากการใช้งานของชาวยิวเซฟาร์ดี สัทวิทยาของภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาที่ติดต่อด้วยเช่น ภาษาลาดิโน ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาดัตช์ ภาษาอาหรั.
ดู ภาษาลาดิโนและภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี
ภาษาของชาวยิว
งานเขียนอายุราวพุทธศตวรรษที่ 21 ของ Elia Levita แสดงจากซ้ายไปขวา ภาษายิดดิช - ภาษาฮีบรู - ภาษาละติน - ภาษาเยอรมัน ภาษาของชาวยิว (Jewish languages) เป็นกลุ่มของภาษาและสำเนียงที่พัฒนาในชุมชนชาวยิวทั่วโลกทั้งในยุโรป เอเชียและแอฟริกาเหนือ พัฒนาการของภาษาเหล่านี้เกิดขึ้นโดยการเพิ่มศัพท์ภาษาฮีบรูเพื่อใช้อธิบายแนวคิดเฉพาะของชาวยิวเข้าสู่ภาษาท้องถิ่น ส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรฮีบรู การอยู่เป็นกลุ่มก้อนอย่างเป็นเอกเทศของชาวยิว ทำให้ภาษาเหล่านี้รักษาคำศัพท์และลักษณะดั้งเดิมของภาษาที่เป็นภาษาต้นกำเนิดได้ภาษาของชาวยิวที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษายิดดิช ซึ่งเคยมีผู้พูดมากที่สุดในอดีต ภาษาลาดิโนที่เป็นภาษาของชาวยิวเซฟาร์ดีมากว่า 5 ศตวรรษและภาษาอาหรับของชาวยิวที่ใช้พูดในบริเวณที่มีผู้พูดภาษาอาหรับมากว่าพันปี ภาษาฮีบรูเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนายูดาย และเคยใช้เป็นภาษาพูดมาก่อน จนราว..
ภาษาคาไรม์
ษาคาไรม์ (Karaim language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาฮีบรูในทำนองเดียวกับภาษายิดดิชหรือภาษาลาดิโน พูดโดยชาวคาไรต์ในไครเมียซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่นับถือศาสนายูดายในไครเมีย ลิธัวเนีย โปแลนด์และยูเครนตะวันตกเหลือผู้พูดอยู่เพียง 6 คน ภาษาคาไรม์สำเนียงลิธัวเนียเคยใช้พูดในกลุ่มชุมชนขนาดเล็กบริเวณเมืองตราไก ชาวคาไรต์เหล่านี้ถูกซื้อมาโดยแกรนด์ดุ๊กเวียเตาตัสแห่งลิธัวเนียเมื่อราว..
รายชื่อภาษา
รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.
วิกิพีเดียภาษาลาดิโน
ลโก้วิกิพีเดียภาษาลาดิโน วิกิพีเดียภาษาลาดิโน เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาลาดิโน เริ่มสร้างเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ.
ดู ภาษาลาดิโนและวิกิพีเดียภาษาลาดิโน
อัลคามีอา
อัลคามีอา เขียนโดยมันเซโบ เด อาเรบาโล ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 16 (พุทธศตวรรษที่ 21)The passage is an invitation directed to the Spanish Moriscos or Crypto-Muslims so that they continue fulfilling the Islamic prescriptions in spite of the legal prohibitions and so that they disguise and they are protected showing public adhesion the Christian faith.
โรดส์
รดส์ (Rhodes; Ρόδος, Ródos, IPA:ˈro̞ðo̞s; Rodi; ออตโตมันตุรกี:ردوس Rodos; ลาดิโน: Rodi หรือ Rodes) เป็นเกาะของประเทศกรีซที่ตั้งอยู่ราว 18 กิโลเมตรทางตะวันตกเฉียงใต้ของตุรกีทางตะวันออกของทะเลอีเจียน โรดส์เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะโดเดคานีส (Dodecanese) ทั้งทางเนื้อที่และทางจำนวนประชากร โดยมีประชากร 117,007 คน (ค.ศ.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Judaeo-SpanishLadino languageภาษาจูเดสโมภาษาจูเดโอ-สเปน