เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ภาษามาซิโดเนีย

ดัชนี ภาษามาซิโดเนีย

ภาษามาซิโดเนีย เป็นภาษาราชการของประเทศมาซิโดเนีย จัดอยู่ในภาษากลุ่มสลาวิก หมวดหมู่:ภาษาในประเทศมาซิโดเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศแอลเบเนีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศกรีซ หมวดหมู่:ภาษาในประเทศเซอร์เบีย.

สารบัญ

  1. 30 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาสลาวิกกองทัพมาซิโดเนียกูเกิล แปลภาษาภาษาบัลแกเรียมาซิโดเนียรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1วิกิพีเดียภาษามาซิโดเนียสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียสาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนียอักษรกรีกอักษรซีริลลิกธงชาติมาซิโดเนียง้องแง้งกับเงอะงะประเทศมาซิโดเนียเดเนส นาด มาเคดอนียาЊЏАТЌЃЈЖЂГЕЅЉЙ

กลุ่มภาษาสลาวิก

ประเทศที่มกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาประจำชาติ กลุ่มภาษาสลาวิก เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มภาษาบัลโต-สลาวิก ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาสลาวิกเป็นภาษาแม่ของชาวสลาฟ ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปตะวันออกและคาบสมุทรบอลข่าน แก้ไข กลุ่มภาษาสลาวิก.

ดู ภาษามาซิโดเนียและกลุ่มภาษาสลาวิก

กองทัพมาซิโดเนีย

กองทัพแห่งสาธารณรัฐมาซิโดเนีย (Армија на Република Македонија) เป็นชื่อของกองกำลังติดอาวุธของสาธารณรัฐมาซิโดเนีย ความรับผิดชอบในการปกป้องอธิปไตยและความสมบูรณ์ของดินแดนมาซิโดเนียจากต่างชาติที่เป็นศัตรูกองทัพมาซิโดเนียเป็นหน่วยป้องกันที่ประกอบด้วยกองทัพ MIB (Армија) และกองทัพอากาศ (ВоеноВоздухопловство) ตั้งแต่ปีพ.ศ.

ดู ภาษามาซิโดเนียและกองทัพมาซิโดเนีย

กูเกิล แปลภาษา

กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.

ดู ภาษามาซิโดเนียและกูเกิล แปลภาษา

ภาษาบัลแกเรีย

ษาบัลแกเรียเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยเป็นสมาชิกของแขนงใต้ของภาษากลุ่มสลาวิก.

ดู ภาษามาซิโดเนียและภาษาบัลแกเรีย

มาซิโดเนีย

มาซิโดเนีย อาจหมายถึง.

ดู ภาษามาซิโดเนียและมาซิโดเนีย

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ดู ภาษามาซิโดเนียและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ดู ภาษามาซิโดเนียและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

วิกิพีเดียภาษามาซิโดเนีย

ลโก้วิกิพีเดียภาษามาซิโดเนีย วิกิพีเดียภาษามาซิโดเนีย เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษามาซิโดเนีย เริ่มสร้างเมื่อ ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษามาซิโดเนียมีบทความมากกว่า 12,000 บทความ (กันยายน 2550).

ดู ภาษามาซิโดเนียและวิกิพีเดียภาษามาซิโดเนีย

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (Socialist Federal Republic of Yugoslavia, SFR Yugoslavia, SFRY) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมในคาบสมุทรบอลข่านและล่มสลายหลังจากสงครามยูโกสลาเวีย ในปี..

ดู ภาษามาซิโดเนียและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย

สาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย

รณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย (มาซิโดเนีย: Социјалистичка Република Македонија, Socijalistička Republika Makedonija) เป็นสาธารณรัฐหนึ่งในหกของรัฐที่ถูกปกครองโดยสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และเป็นรัฐชาติสังคมนิยมของชาวมาซิโดเนีย หลังจากการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองมาเป็นระบบประชาธิปไตยในปี..

ดู ภาษามาซิโดเนียและสาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย

อักษรกรีก

อักษรกรีก เป็นอักษรที่ใช้สำหรับเขียนภาษากรีก โดยมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคคลาสสิก ประมาณ 357 ปีก่อนพุทธศักราช (ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสต์ศักราช) และยังคงใช้สืบต่อเรื่อยมา นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดแบบหนึ่งที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในสมัยกรีกโบราณนั้น อักษรกรีกยังใช้เขียนแทนจำนวนอีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าเลขกรีก ในทำนองเดียวกับเลขโรมัน ทุกวันนี้เราใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ เป็นชื่อดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มภราดรและกลุ่มภคินี และใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ อีกมาก.

ดู ภาษามาซิโดเนียและอักษรกรีก

อักษรซีริลลิก

ประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิก อักษรซีริลลิก หรือ อักษรซิริลลิก (Cyrillic script) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกนอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในอีกหลายประเทศ แต่ไม่มีอักษรซีริลลิกทุกตัวกับภาษาใด ขึ้นอยู่กับการเขียนในภาษานั้น ในกลุ่มประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิกด้วยกันเอง จะไม่เรียก ซีริล แต่จะออกเสียงว่า คีริล แทน เช่น ในภาษารัสเซียเรียกอักษรซีริลลิกว่า Кириллица คีริลลิซ.

ดู ภาษามาซิโดเนียและอักษรซีริลลิก

ธงชาติมาซิโดเนีย

20px ธงชาติมาซิโดเนีย สัดส่วนธง 1:2 ธงชาติสาธารณรัฐมาซิโดเนีย เป็นธงพื้นสีแดง กลางธงเป็นรูปพระอาทิตย์เปล่งรัศมีแปดทิศจดขอบธงชาติ รูปเหล่านี้เป็นสีเหลือง สัญลักษณ์ในธงดังที่กล่าวมามีความหมายว่า "ดวงตะวันดวงใหม่แห่งเสรีภาพ" ดังปรากฏวลีนี้ในบทแรกของเพลงชาติมาซีโดเนียในปัจจุบัน ซึ่งมีชื่อว่า "Denes nad Makedonija" (แปลว่า "วันนี้ทั่วแผ่นดินมาซีโดเนีย") ดังนี้.

ดู ภาษามาซิโดเนียและธงชาติมาซิโดเนีย

ง้องแง้งกับเงอะงะ

ง้องแง้งกับเงอะงะ (ภาษาอังกฤษ: Cow and Chicken) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของสหรัฐอเมริกา สร้างโดย Devid Feiss ออกอากาศครั้งแรกทางช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์ก ตั้งแต่ปี..

ดู ภาษามาซิโดเนียและง้องแง้งกับเงอะงะ

ประเทศมาซิโดเนีย

รณรัฐมาซิโดเนีย (Republic of Macedonia; Република Македонија) ซึ่งรัฐและองค์กรนานาชาติส่วนใหญ่เรียกว่า อดีตสาธารณรัฐยูโกสลาฟมาซิโดเนีย (Former Yugoslav Republic of Macedonia: FYROM) เป็นรัฐอิสระบนคาบสมุทรบอลข่านในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศนี้มักจะเรียกเฉย ๆ ว่า "มาซิโดเนีย" ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความสับสนกับภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่กว้างขวาง และแคว้นมาซิโดเนียของกรีซ ประเทศมาซิโดเนียเป็นเพียงส่วนหนึ่งของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่ชื่อมาซิโดเนีย มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 38 และประชากรเกือบร้อยละ 44 ของพื้นที่ที่ใหญ่กว่าพื้นที่ที่ปกครองโดยสาธารณรัฐมาซิโดเนีย ก่อนหน้านี้เป็นส่วนทางใต้สุดของยูโกสลาเวีย พรมแดนปัจจุบันได้รับการกำหนดหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียก่อตั้ง "สาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย" (Socialist Republic of Macedonia) ซึ่งเป็นที่โต้แย้งว่า เป็นการยอมรับสลาฟมาซิโดเนีย เป็นชนชาติแยกต่างหากภายในยูโกสลาเวีย ต่อมาในปี พ.ศ.

ดู ภาษามาซิโดเนียและประเทศมาซิโดเนีย

เดเนส นาด มาเคดอนียา

นส นาด มาเคดอนียา (Denes nad Makedonija, (Денес Над Македонија, แปลว่า "วันนี้ทั่วมาซิโดเนีย") เป็นชื่อของเพลงชาติสาธารณรัฐมาซิโดเนีย ประพันธ์ขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.

ดู ภาษามาซิโดเนียและเดเนส นาด มาเคดอนียา

Њ

Nje (Њ, њ) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก แรกเริ่มเป็นอักษรรวมระหว่าง Н กับ Ь มีใช้เฉพาะภาษามาซิโดเนียและภาษาเซอร์เบีย ใช้แทนเสียง // ซึ่งออกเสียงคล้าย // อักษรตัวนี้ประดิษฐ์ขึ้นโดย วุก สเตฟาโนวิจ คารัดซิจ (Vuk Stefanović Karadžić).

ดู ภาษามาซิโดเนียและЊ

Џ

Dzhe (Џ, џ) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีใช้ในภาษาเซอร์เบียและภาษามาซิโดเนีย ใช้แทนเสียง เหมือนเสียงของ j ในภาษาอังกฤษ อักษรนี้เป็นอักษรที่ควบคู่ไปกับ ДЖ, ЧЖ, Ӂ, Җ หรือ Ӌ ในภาษาอื่นที่ใช้อักษรซีริลลิกเหล่านี้ สำหรับชื่อ Dzhe เป็นเพียงชื่อที่ตั้งขึ้นชั่วคราว เนื่องจากอักษรของภาษาเซอร์เบียไม่มีชื่อเรียกอยู่แล้ว เมื่อต้องการสะกดทีละตัว อักษรนี้จึงจะอ่านว่า และในบางครั้งก็ใช้ชื่อว่า Dzherv ตามแบบอย่างของชื่ออักษร Cherv (Ч) หรือ Djerv (Ћ) จุดเริ่มต้นของอักษร Dzhe มาจากอักษรซีริลลิกโรมาเนียในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และชาวเซอร์เบียเริ่มนำมาใช้ในภาษาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17.

ดู ภาษามาซิโดเนียและЏ

А

อา (А, а) เป็นอักษรตัวแรกในอักษรซีริลลิก มีพัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก แอลฟา ในอักษรซีริลลิกยุคเก่า อักษรตัวนี้มีชื่อว่า azǔ และมีค่าของตัวเลขเท่ากับ 1 ในหลายๆ ภาษาที่ใช้อักษรซีริลลิก เช่น ภาษารัสเซีย ภาษาเซอร์เบีย ภาษามาซิโดเนีย และภาษาบัลแกเรีย อ่านอักษรนี้ว่า // (อา) บางครั้งอาจจะอ่านเป็น // (อา ปากกว้าง) หรือ // (เออ) ในภาษาอย่างเช่น ภาษาอิงกุช หรือ ภาษาเชอเชน ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา อักษรนี้มีหลากหลายลักษณะ แต่ทุกวันนี้ถูกทำให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงดูเหมือนอักษรละติน A (รวมทั้งรูปแบบตัวเอนด้วย).

ดู ภาษามาซิโดเนียและА

Т

Te (Т, т) คืออักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือน t ในภาษาอังกฤษ หรือ ต หรือ ท ในภาษาไทย หรือเปลี่ยนเป็น // เมื่อสะกดด้วยสระที่เลื่อนเสียงไปทางเพดานแข็ง อักษรตัวนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก เทา ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ tvr̥do และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 300.

ดู ภาษามาซิโดเนียและТ

Ќ

Kje (Ќ, ќ) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีใช้เฉพาะภาษามาซิโดเนีย ใช้แทนเสียง หรือ เหมือนเสียง จ ในภาษาไทย สามารถถ่ายอักษรออกมาเป็น ć หรือ kj คำที่ใช้อักษรนี้ส่วนใหญ่จะเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาเซอร์เบียซึ่งใช้อักษร Tshe (Ћ, ћ) แทนเสียงดังกล่าว ตัวอย่างเช่นคำว่า น้ำตาล ในภาษามาซิโดเนียสะกดเป็น Шеќер (Šećer/Šekjer เช็จจอร์) ในภาษาเซอร์เบียจะสะกดเป็น Шећер ซึ่งอ่านออกเสียงเดียวกัน.

ดู ภาษามาซิโดเนียและЌ

Ѓ

Gje (Ѓ, ѓ) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้เฉพาะภาษามาซิโดเนียเพื่อออกเสียง หรือ คำต่างๆ ที่มีเสียงนี้มักจะมีรากศัพท์มาจากภาษาเซอร์เบียซึ่งเขียนแทนด้วยอักษร Dje (Ђ, ђ) ยกตัวอย่างคำว่า Раѓање ในภาษามาซิโดเนีย อ่านว่า Radjanje รัดยันเย แปลว่า การให้กำเนิด ซึ่งภาษาเซอร์เบียจะสะกดด้วยคำนี้ Рађање ซึ่งอ่านออกเสียงเดียวกัน.

ดู ภาษามาซิโดเนียและЃ

Ј

Je (Ј, ј) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิกมีใช้เฉพาะในภาษาเซอร์เบีย ภาษามาซิโดเนีย ภาษาอาเซอร์ไบจาน และภาษาอัลไต มีรูปร่างคล้ายอักษรละติน J ใช้แทนเสียงของอักษร Й แบบดั้งเดิมคือ // (ย).

ดู ภาษามาซิโดเนียและЈ

Ж

Zhe (Ж, ж) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก ที่ใช้แทนเสียง เหมือนเสียง s ในคำว่า treasure ของภาษาอังกฤษ หรือ ż ในภาษาโปแลนด์ Zhe เป็นอักษรตัวที่ 7 ของภาษาบัลแกเรีย เป็นอักษรตัวที่ 8 ของภาษาเบลารุส ภาษามาซิโดเนีย ภาษารัสเซีย และภาษาเซอร์เบีย และเป็นอักษรตัวที่ 9 ของภาษายูเครน อักษรตัวนี้ยังใช้ในกลุ่มภาษาอื่นที่ไม่ใช่สลาวิกเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งออกเสียงเป็น หรือ ในอักษรซีริลลิกโบราณ Ж เป็นอักษรตัวที่ 7 มีชื่อเดิมคือ živěte แต่ไม่มีค่าของเลขซีริลลิก กบที่มีลักษณะ คล้ายอักษร Ж ปัจจุบันยังไม่ทราบว่าอักษรนี้มีพัฒนาการมาอย่างไร เนื่องจากไม่มีอักษรกรีก หรืออักษรละติน หรืออักษรในภาษาอื่นที่คล้ายกันเลย แม้ว่าจะมีอักษรกลาโกลิต Zhivete ในสมัยก่อนที่ใช้แทนเสียง และมีรูปร่างคล้ายกันก็ตาม (รูปภาพ: 14px) อย่างไรก็ตาม จุดกำเนิดของ Zhivete นั้นยังคลุมเครือเหมือนอักษรกลาโกลิตอื่นๆ ความเป็นไปได้อย่างหนึ่งคือ อักษร Zhe อาจประกอบด้วยอักษรฮีบรู Shin (ש) สองอันต่อกันโดยที่ส่วนล่างกลับหัว ซึ่งอักษรฮีบรูตัวนี้เป็นต้นกำเนิดของ Sha (Ш, ш) อยู่แล้ว อักษร Zhe บ่อยครั้งมักจะถูกถ่ายอักษรเป็น zh หรือ zx ซึ่งพบได้ยากกว่า เว้นแต่ภาษาเซอร์เบีย ภาษามาซิโดเนีย และระบบการถ่ายทอดอักษรบางระบบของภาษาบัลแกเรีย จะใช้ ž หรือ z แทน อักษร Zhe ยังเป็นอักษรตัวแรกสำหรับเยาวชนที่ต้องการศึกษากลุ่มภาษาสลาวิก เนื่องจากอักษรตัวนี้มีลักษณะคล้ายลูกอ๊อดของกบในช่วงเปลี่ยนรูปร่าง อีกทั้งในกลุ่มภาษาเหล่านี้ คำที่มีความหมายว่า กบ หรือ ลูกอ๊อด จะเขียนเป็น жаба (zhaba จาบา) อีกด้ว.

ดู ภาษามาซิโดเนียและЖ

Ђ

Dje (Ђ, ђ) เป็นอักษรตัวหนึ่งของอักษรซีริลลิก มีใช้เฉพาะภาษาเซอร์เบียเป็นตัวอักษรลำดับที่ 6 อักษรนี้ใช้แทนเสียง ซึ่งดัดแปลงมาจาก Tshe (Ћ, ћ) โดย วุก สเตฟาโนวิจ คารัดซิจ (Vuk Stefanović Karadžić) เพื่อใช้แปลงศัพท์ที่สะกดด้วยอักษร Gje (Ѓ, ѓ) ของภาษามาซิโดเนีย สำหรับชื่อ Dje เป็นเพียงชื่อที่ตั้งขึ้นชั่วคราว เนื่องจากอักษรของภาษาเซอร์เบียไม่มีชื่อเรียกอยู่แล้ว เมื่อต้องการสะกดทีละตัว อักษรนี้จึงจะอ่านว่า Dje สามารถถ่ายอักษรให้คล้ายอักษรละตินได้เป็น Đ, đ หรือบ่อยครั้งก็แปลงเป็น dj ซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่ามันไม่ค่อยจะถูกต้องนัก.

ดู ภาษามาซิโดเนียและЂ

Г

Ge หรือ He (Г, г) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ออกเสียงเป็น // หรือ // ในภาษาที่แตกต่างกัน อักษรนี้มีพัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก แกมมา และ Г ทั้งตัวใหญ่และตัวเล็ก จะมีรูปร่างเหมือนแกมมาตัวใหญ่ ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ glagoli และมีค่าเท่ากับ 3 ในเลขซีริลลิก ในมาตรฐานของภาษาเซอร์เบีย ภาษาบัลแกเรีย และภาษามาซิโดเนีย อักษร Г จะออกเสียงเป็น // เหมือนกับ g ของคำว่า go ในภาษาอังกฤษ หรือ ก ในภาษาไทย ในภาษารัสเซียก็อ่านเป็น // เช่นกัน ยกเว้นเมื่อปรากฏท้ายคำจะเป็น // ที่ไร้เสียง (สะกดด้วย ก) หรือออกเสียงเป็น // ก่อนเสียงสระเพดานแข็ง มีอยู่น้อยคำที่อักษรนี้ปรากฏอยู่ตรงกลางแล้วออกเสียงเป็น // เช่น ураган urakan อูราคัน หมายถึง เฮอร์ริเคน ในภาษายูเครนและภาษาเบลารุส จะเรียกอักษรนี้ว่า He ใช้แทนเสียงเสียดแทรกในลำคอ // ไม่เหมือนเสียง h ของภาษาอังกฤษ สำหรับภาษายูเครนนั้น เสียง // นั้นหาที่ใช้ได้น้อย แต่เมื่อต้องการใช้จะเปลี่ยนรูปเขียนเป็น Ge with upturn (Ґ, ґ) แทน ส่วนภาษาเบลารุส แม้อักษร Г จะมีใช้บ่อย เพื่อแทนคำที่ยืมมาจากภาษาโปแลนด์และภาษารัสเซีย แต่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 การใช้เสียงนี้ในภาษาก็ได้หมดความสำคัญไป การเพิ่มตัวอักษร Г ลงในภาษาเบลารุสยังคงได้รับการยอมรับเฉพาะนักภาษาศาสตร์บางท่าน แต่ยังไม่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ.

ดู ภาษามาซิโดเนียและГ

Е

Ye หรือ E (Е, е) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีรูปร่างลักษณะเหมือนอักษรละติน E มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก เอปไซลอน ชื่อเดิมของตัวอักษรนี้คือ estǐ และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 5 ในภาษาบัลแกเรีย ภาษามาซิโดเนีย ภาษาเซอร์เบีย และภาษายูเครน จะเรียกอักษรนี้ว่า "E" และใช้แทนเสียง // หรือ // (เอ หรือ แอ) ส่วนภาษาเบลารุสและภาษารัสเซีย จะเรียกตัวอักษรนี้ว่า "Ye" และใช้แทนเสียงสระที่เลื่อนขึ้นไปทางเพดานแข็ง โดยอ่านเป็น /, / หรือ /, / (เย หรือ แย) ให้ควบเสียงเข้ากับพยัญชนะที่อยู่ข้างหน้า แต่เสียงที่เปล่งออกมานั้นไม่ค่อยมีความแตกต่างจาก "E" มากนัก สำหรับภาษายูเครน เมื่อต้องการอ่านเสียงให้เป็น "Ye" จะเปลี่ยนไปใช้ Є แทน.

ดู ภาษามาซิโดเนียและЕ

Ѕ

Dze (Ѕ, ѕ) คืออักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้เฉพาะในภาษามาซิโดเนียและภาษาเชิร์ชสลาโวนิก มีลักษณะคล้ายอักษรละติน S และออกเสียงเป็น เหมือนในคำว่า kids ของภาษาอังกฤษ อักษรตัวนี้เป็นเสียงโฆษะคู่กับ Tse (Ц, ц) เนื่องจากอักษร Dze มีพัฒนาการมาจากอักษรกลาโกลิต Dzelo (รูปภาพ: 14px) อักษรนี้จึงมีชื่อเดิมเป็น dzělo ตามอักษรกลาโกลิต แต่ก่อนหน้านั้นยังมีความคลุมเครือเกี่ยวกับที่มา อักษรนี้ยังใช้แทนค่า 6 ในระบบเลขซีริลลิกอีกด้วย อักษรนี้เดิมเคยมีใช้ในภาษารัสเซีย แต่ถูกตัดออกหลังจากการปฏิรูปอักขรวิธีของสหภาพโซเวียต.

ดู ภาษามาซิโดเนียและЅ

Љ

Lje (Љ, љ) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง แรกเริ่มนั้นเป็นอักษรรวมระหว่าง Л กับ Ь เพื่อใช้แทนเสียง // ที่รวมกัน อักษรนี้มีใช้ในภาษามาซิโดเนียและภาษาเซอร์เบีย ประดิษฐ์ขึ้นโดย วุก สเตฟาโนวิจ คารัดซิจ (Vuk Stefanović Karadžić) และยังสามารถถ่ายอักษรละตินออกมาเป็นทวิอักษร Lj สำหรับภาษาเซอร์เบียได้.

ดู ภาษามาซิโดเนียและЉ

Й

Short I (Й, й) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก อักษรตัวนี้ประดิษฐ์ขึ้นจากอักษร И และเครื่องหมายเสริมอักษร breve ใช้แทนเสียงพยัญชนะกึ่งสระ // เหมือน y ในคำว่า yellow ของภาษาอังกฤษหรือ ย ในภาษาไทย อักษร Short I เป็นอักษรตัวที่ 11 ในภาษารัสเซียเรียกว่า И краткое (I kratkoye อี ครัตโคเอีย), เป็นอักษรตัวที่ 10 ในภาษาบัลแกเรียเรียกว่า И кратко (I kratko อี ครัตโค), เป็นอักษรตัวที่ 14 ในภาษายูเครนเรียกว่า Йот (Yot ยอต) หรือ Ий (Yi อิย) และเป็นอักษรตัวที่ 11 ในภาษาเบลารุส แต่ถึงกระนั้นก็ไม่มีการใช้อักษร И ในภาษาเบลารุส อักษร Short I มักจะถูกถ่ายอักษรให้เป็น j หรือ y ส่วนมากจะใช้เป็นพยัญชนะสะกดตัวสุดท้ายของคำ อักษร Й (หรือในอีกแง่หนึ่งคือการเติม breve บนอักษร И) เริ่มมีการใช้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15–16 และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ความแตกต่างระหว่าง И กับ Й เริ่มปรากฏในอักขรวิธีของภาษาเชิร์ชสลาโวนิก (ซึ่งใช้เป็นภาษารัสเซียเช่นกัน) แต่หลังจากเกิดการปฏิรูปอักขรวิธีในสหภาพโซเวียต โดย จักรพรรดิปอเตอร์ที่ 1 (Peter I) เครื่องหมายเสริมอักษรของภาษารัสเซียถูกตัดออกไปทั้งหมด แต่หลังจากที่พระองค์เสด็จสวรรคตใน พ.ศ.

ดู ภาษามาซิโดเนียและЙ