โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษามัลดีฟส์

ดัชนี ภาษามัลดีฟส์

ษามัลดีฟส์ (Maldivian language) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันและเป็นภาษาราชการของประเทศมัลดีฟส์ มีคนพูดประมาณ 300,000 คน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในมัลดีฟส์ รวมทั้งภาษามาห์ล (Mahl dialect) ที่ใช้ในลักษทวีป ซึ่งเป็นดินแดนสหภาพของอินเดีย เรียกชื่อต่างกันด้วยเหตุผลทางการเมือง ภาษาที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาของภาษามัลดีฟส์มีหลายภาษา โดยเฉพาะภาษาอาหรับ ที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลาม รวมทั้ง ภาษาสิงหล ภาษามาลายาลัม ภาษาฮินดี ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาโปรตุเกส และ ภาษาอังกฤษ คาดว่าภาษามัลดีฟส์และภาษาสิงหลสืบมาจากภาษาเดียวกัน ซึ่งได้สูญพันธุ์ไป เมื่อเกิดภาษาใหม่ 2 ภาษาในช่วงประมาณ..

18 ความสัมพันธ์: ชุมเห็ดเล็กกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านภาษามหาราษฏรีภาษามาห์ลภาษาสิงหลรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลามรายชื่อภาษารายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1อักษรสระประกอบอักษรทานะอักษรดิเวส อกุรุอัมพวา (ผลไม้)ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอสธงชาติมัลดีฟส์ประเทศมัลดีฟส์เพลงชาติมัลดีฟส์เอเชียใต้

ชุมเห็ดเล็ก

มเห็ดเล็ก หรือ ขี้เหล็กผี เป็นไม้พุ่มในวงศ์ถั่ว เดิมอยู่ในสกุล Cassia ต่อมาจึงย้ายมาอยู่ในสกุลขี้เหล็ก ลำต้นเรียบสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาล ลำต้นกลวงมีเยื่อสีขาว ลำต้นเหนียว มีกลิ่นเหม็น ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ด้านบนของโคนก้านใบโป่งพอง ดอกช่อ กลีบดอกสีเหลือง ผลเดี่ยวเป็นฝักแบนเล็กน้อย สีเขียวอมม่วง แก่แล้วแห้งเป็นสีน้ำตาล แตกตามตะเข็บ เมล็ดจำนวนมาก สีน้ำตาลกลมแบนเล็กน้อย ไม่พบต้นกำเนิดที่แน่นอนแต่ขึ้นกระจายทั่วไปในเขตร้อนและเขตกึ่งร้อน มีปลูกในอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และชุมเห็ดเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน

กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน หรืออินโด-อิราเนียนเป็นสาขาทางตะวันออกสุดของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนประกอยด้วย 3 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน กลุ่มภาษาอิราเนียน และกลุ่มภาษาดาร์ดิก มีการใช้คำว่า "อารยัน" ในการอ้างถีงกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านจากทฤษฎีส่วนใหญ่เกี่ยวกับการอพยพของชาวอารยัน คนที่พูดภาษาโปรโต-อินโด-อิราเนียนที่เรียกตัวเองว่าอารยัน ตั้งหลักแหล่งอยู่ทางใต้และตะวันออกของทะเลสาบแคสเปียนในอินเดียเหนือ ปากีสถาน อิหร่าน และอัฟกานิสถาน คาดว่าการแพร่กระจายเกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์รถม้.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามหาราษฏรี

ษามหาราษฏรี (Maharashtri; ภาษามราฐี: महाराष्ट्री प्राकृत) เป็นภาษาในอินเดียยุคกลางและยุคโบราณ พัฒนามาจากภาษาสันสกฤต เคยใช้พูดในบริเวณที่เป็นรัฐมหาราษฏระและส่วนอื่นๆของอินเดีย เป็นต้นกำเนิดของภาษามราฐี รวมทั้งภาษากอนกานี ภาษามัลดีฟส์และภาษาสิงหล จัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง และเป็นภาษาปรากฤตที่ใช้ในบทละครและแพร่หลายที่สุดด้วย โดยเฉพาะบทละครของกาลิทาสใช้พูดตั้งแต่ทางเหนือจากมัลวาและราชปุตนะไปจนถึงกฤษณะและบริเวณแม่น้ำตุงคภัทรทางใต้ ภาษามหาราษฏระเป็นหนึ่งในภาษาปรากฤตที่เข้ามามีบทบาทเมื่อเลิกใช้ภาษาสันสกฤตในการติดต่อสื่อสาร โดยแพร่หลายในช่วง..

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และภาษามหาราษฏรี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาห์ล

ภาษามาห์ล (މަހަލް) หรือภาษามลิกุ พัส เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรป มีผู้พูดในมลิกุ ประเทศอินเดีย ใกล้เคียงกับภาษามัลดีฟส์มาก แต่ใช้ชื่อต่างกันด้วยเหตุผลทางการเมือง นักภาษาศาสตร์จัดให้เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาสิงหล ภาษาฮินดีและภาษามราฐี มาห์ล fr:Mahal.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และภาษามาห์ล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสิงหล

ษาสิงหล (සිංහල) เป็นภาษาของชาวสิงหล ซึ่งเป็นกลุ่มชนพื้นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศศรีลังกา เป็นภาษาในสาขาอินโด-อารยันของตระกูลอินโด-ยูโรเปียน มีสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษามัลดีฟส์ของประเทศมัลดีฟส์ มีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 15 ล้านคน เจ้าชายวิชายาและพรรคพวกนำชาวสิงหลอพยพเข้าสู่เกาะลังกาเมื่อราว 500 ปีก่อนพุทธศักราช วรรณคดีจำนวนมากในศรีลังกาได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา และวรรณคดีอินเดีย การติดต่อกับชาวทมิฬทำให้มีศัพท์ภาษาทมิฬปนอยู่ นอกจากนี้ยังมีคำยืมจากภาษาดัตช์ ภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษ เป็นจำนวนมากเพราะเคยถูกปกครองโดยชาติเหล่านี้ เขียนด้วยอักษรสิงหลที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี รัฐบาลศรีลังกาประกาศให้ภาษาสิงหลเป็นภาษาราชการเมื่อปี พ.ศ. 2499 และบังคับให้โรงเรียนทุกโรงเรียนสอนหนังสือด้วยภาษาสิงหล ทำให้ชาวทมิฬ ไม่พอใ.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และภาษาสิงหล · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม

รัฐสมาชิกขององค์การฯ แสดงด้วยสีเขียว รัฐสังเกตการณ์แสดงด้วยสีแดง และรัฐที่ถูกคัดค้านแสดงด้วยสีน้ำเงิน องค์การความร่วมมืออิสลามที่ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และรัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

อ เป็นอักษรไทย จำพวกพยัญชนะ อยู่ในลำดับ ที่ 43 ถัดจาก ฬ และก่อนถึง ฮ มักจะเรียกกันว่า อ อ่าง ในการจัดหมู่อักษร นับเป็นอักษรกลาง ในไตรยางศ์ ผันได้ครบ 5 เสียง และเติม วรรณยุกต์ได้ทั้ง 4 รูป อักษร อ เป็นพยัญชนะต้น ให้เสียง /ʔ/ แต่ไม่ใช้เป็นพยัญชนะสะกด โดยทั่วไปเรามักจัดให้ อ เป็นเสียงนำสระ รูปสระ ตัวออ (อ) ยังสามารถใช้เป็นสระ ออ เมื่ออยู่หลังพยัญชนะต้น ใช้ถัดจากสระ อื เมื่อไม่มีพยัญชนะสะกด เช่น ถือ และใช้ประสมสระ เอือะ เอือ เออะ และ เออ.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และอ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสระประกอบ

อักษรเทวนาครีเป็นอักษรสระประกอบชนิดหนึ่ง อักษรสระประกอบ เป็นรูปแบบของระบบการเขียนรูปแบบหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยพยัญชนะและสระ แต่พยัญชนะจะมีความสำคัญมากกว่าสระ ซึ่งแตกต่างจากอักษรสระ-พยัญชนะ (alphabet) ที่เป็นระบบการเขียนทั้งสระและพยัญชนะจะมีความสำคัญเท่าเทียมกัน และแตกต่างจากอักษรไร้สระ (abjad) ซึ่งมักจะไม่มีรูปสระปรากฏอยู่เลย ในบรรดาระบบการเขียนทั้งหมดในโลกนี้ มีอยู่ประมาณครึ่งหนึ่งของระบบการเขียนทั้งหมดที่เป็นอักษรสระประกอบ ซึ่งอักษรไทยก็เป็นหนึ่งในนั้นเช่นกัน คำว่า "อักษรสระประกอบ" เป็นคำแปลจากคำว่า abugida ซึ่งเป็นคำที่ Peter T. Daniels นำมาใช้เรียกระบบการเขียนรูปแบบนี้ โดยคำนี้มาจากชื่อของอักษรเอธิโอเปีย (’ä bu gi da) ในภาษาเอธิโอเปีย โดยนำมาจากชื่ออักษรสี่ตัวของอักษรเอธิโอเปีย (ในทำนองเดียวกับคำว่า alphabet ที่มาจากชื่ออักษรกรีก แอลฟา และ บีตา) ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และอักษรสระประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทานะ

อักษรทานะ (ތާނަ) ใช้เขียนภาษามัลดีฟส์ เริ่มใช้ในเอกสารราชการของสาธารณรัฐมัลดีฟส์ตั้งแต่ พ.ศ. 2246 โดยใช้แทนอักษรเดิมคืออักษรดิเวส อกุร.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และอักษรทานะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรดิเวส อกุรุ

อักษรดิเวส อกุรุ หรือที่รู้จักในชื่อ มัลดีฟส์ หกุระ เคยใช้เขียนภาษามัลดีฟส์ในประเทศมัลดีฟส์ คาดว่าพัฒนามาจากอักษรสิงหลในราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 ใช้เขียนจารึกบนหลุมฝังศพหรือเอกสารทางประวัติศาสตร์ จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16-18 จึงเปลี่ยนมาใช้อักษรทานะ แต่เกาะทางใต้ของมัลดีฟส์ยังใช้อักษรนี้ต่อมาจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ปัจจุบันใช้ในวงการวิชาการเท่านั้น.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และอักษรดิเวส อกุรุ · ดูเพิ่มเติม »

อัมพวา (ผลไม้)

อัมพวา เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Leguminosae ภาคใต้เรียก นัมนัม เช่นเดียวกับภาษาอินโดนีเซียและภาษามัลดีฟส์ ชื่ออื่น ๆ คือมะเปรียง บูรานัม นางอาย ใบเดี่ยว รูปไข่ ใบห้อยลง ดอกออกเป็นช่อ กลีบเลี้ยงสีขาวปนชมพู กลีบดอกสีขาว ผลอ่อนสีน้ำตาลแกมเขียว แก่แล้วเป็นสีเหลือง ผลมีรูปร่างแบนคล้ายมะม่วง แต่ผลหยักเป็นลอนไม่เรียบ รสเปรี้ยวคล้ายมะม่วงดิบ ภายในผลมีเมล็ดเดียว ผลสุกรับประทานเป็นผลไม้ เนื้อไม้ใช้ในงานก่อสร้างได้ ผลอัมพว.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และอัมพวา (ผลไม้) · ดูเพิ่มเติม »

ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส

การเสียชีวิตของดอนฮิยาลา จากเรื่อง “ดอนฮิยาลา และอาลีฟูลฮู” ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส บอกว่า เรื่องราวของชาวมัลดีฟส์มาจากรามายณะ ศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์ แบบแปลนของวัดพุทธที่วาดโดย ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส ปลาของมัลดีฟส์ ระบายสีโดย ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟิแอส ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส (Xavier Romero-Frías, ชาบิเอ โรเมโร-ฟริอัส, เกิดปี พ.ศ. 2497) เป็นนักเขียนและนักวิชาการสัญชาติสเปน ผู้เชี่ยวชาญทางด้านมานุษยวิทยาและด้านภาษา เคยพำนักอยู่ที่มัลดีฟส์มาเป็นเวลามากกว่า 13 ปี ปัจจุบันพำนักอยู่ที่กรุงเทพมหานคร ฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส เริ่มต้นศึกษาเจาะลึกเรื่องคติชาวบ้านและประเพณีการพูดของชาวมัลดีฟส์ในปี..

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และฮาเวียร์ โรเมโร-ฟริแอส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมัลดีฟส์

แบบการสร้างธงชาติมัลดีฟส์ ธงชาติสาธารณรัฐมัลดีฟส์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีเขียว ขอบสีแดง กลางธงมีรูปพระจันทร์เสี้ยวสีขาวปลายหันหลังให้ด้านเสาธง ประกาศใช้อย่างเป็นทางการพร้อมกันกับตราแผ่นดินของมัลดีฟส์ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1965 (พ.ศ. 2508).

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และธงชาติมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมัลดีฟส์

มัลดีฟส์ (Maldives; ދިވެހިރާއްޖެ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมัลดีฟส์ (Republic of Maldives; ހިވެދި ގުޖޭއްރާ ޔާއްރިހޫމްޖު) เป็นประเทศที่มีพื้นที่ประกอบด้วยหมู่เกาะปะการังจำนวนมากในมหาสมุทรอินเดีย และตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดียและประเทศศรีลังก.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และประเทศมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติมัลดีฟส์

ลงชาติสาธารณรัฐมัลดีฟส์ เรียกชื่อในภาษาท้องถิ่นว่า "กวามี ซาลาม" (ޤައުމީ ސަލާމް, อักษรโรมัน: Qaumee Salaam, แปลตามตัวว่า เพลงคารวะชาติ) ประพันธ์เนื้อร้องโดย มูฮัมหมัด จาเมเอล ดีดี (Muhammad Jameel Didi) เมื่อ พ.ศ. 2491 ทำนองประพันธ์ขึ้นในปี พ.ศ. 2515 โดย บัณฑิต วัณณกุวัตตาวาดูเก ดอน อมระเทวา (Pandit Wannakuwattawaduge Don Amaradeva) มาเอสโตรชาวศรีลังกา เนื้อหาของเพลงนี้ กล่าวถึงการประกาศด้วยความภาคภูมิของชาวมัลดีฟส์ต่อเอกภาพของชาติ ความศรัทธาต่อศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจำชาติ ชัยชนะจากการต่อสู้ในอดีต และแสดงความคารวะต่อบรรดาวีรบุรุษของชาติ ในตอนท้ายเพลงเป็นการกล่าวอวยพรต่อความเจริญรุ่งเรืองของชาติและเหล่าผู้นำที่คอยรับใช้มาตุภูม.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และเพลงชาติมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียใต้

แผนที่เอเชียใต้ สีเขียวเข้มแสดงเอเชียใต้โดยทั่วไป และสีเขียวอ่อนคือเขตที่สหประชาชาติหมายถึงเอเชียใต้ เอเชียใต้เป็นภูมิภาคของทวีปเอเชีย และเป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน และมัลดีฟส์ มีพื้นที่กว้าง 4,480,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 12% ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า อนุทวีปอินเดีย ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกขององค์กรความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ (The South Asian Association for Regional Cooperation หรือ SAARC) ในบางครั้งพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของประเทศอัฟกานิสถาน ก็ถูกจำแนกให้เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ด้วย อนุภูมิภาคเอเชียใต้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ.

ใหม่!!: ภาษามัลดีฟส์และเอเชียใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ภาษาดิเวฮิ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »