โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาพม่า

ดัชนี ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

175 ความสัมพันธ์: บกเปี้ยนบายิงจีชาวชินชาวพม่าชาวกะเหรี่ยงชาวมอญบางระจัน (ภาพยนตร์)บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ชเว โอนฟุตบอลทีมชาติพม่าพม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรพม่าตอนบนพม่าตอนล่างพม่าเชื้อสายมลายูพม่าเชื้อสายอินเดียพม่าเชื้อสายจีนพรรคคอมมิวนิสต์ (พม่า)พรรคประชาธิปไตย (พม่า)พรรคประชาธิปไตยสหภาพพรรคประชาธิปไตยและสันติภาพพรรคประชาธิปไตยและเอกภาพโกก้างพรรคแห่งชาติยะไข่พรรคแห่งชาติฉิ่นพรรคโครงการสังคมนิยมพม่าพระนางวิสุทธิเทวีพระนางอเลนันดอพระเจ้ามังลอกพระเจ้าราชาธิราชพระเจ้าจิงกูจาพ่าเกกระท้อนกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชากลุ่มภาษาพม่า-โลโลกล้วยนากกองทัพกะฉิ่นอิสระกองทัพแห่งชาติพม่ากะปิการก่อการกำเริบ 8888การสังหารหมู่เดปายิน พ.ศ. 2546การทับศัพท์ภาษาพม่ากูเกิล แปลภาษาภาษาชวงทาภาษากะดูภาษามรูภาษามอญภาษายะไข่ภาษาราวางภาษาลีสู่ภาษาอาโซภาษาอินตา...ภาษาทวายภาษาคูมีภาษาตังซาภาษาตันกัตภาษาปยูภาษาปะหล่องรูไมภาษาในประเทศไทยภาษาโรฮีนจาภาษาไทคำตี่ภาษาเจียรงมหาราชวงศ์มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้วมังกะยอชวามิสยูนิเวิร์สเมียนมามิสเวิลด์เมียนมายศทหารพม่ายะไข่รัฐบาลผสมแห่งชาติแห่งสหภาพพม่ารัฐชานรัฐชินรัฐพม่ารัฐกะยารัฐกะฉิ่นรัฐกะเหรี่ยงรัฐมอญรัฐยะไข่รัฐนาคาแลนด์ราชวงศ์ตองอูราชวงศ์โกนบองราชาธิราชรายชื่อภาษารายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1รายชื่อสายการบินในประเทศพม่ารายชื่อสถานีโทรทัศน์ที่ออกอากาศไทยลีกราวางละองละมั่งลักษณะน้ำเสียงวัดม่อนปู่ยักษ์วันผู้เสียสละแห่งพม่าวากยสัมพันธ์วิกฤติอู ถั่นวิกิพีเดียภาษาพม่าสภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐสภาแห่งชาติแห่งสหภาพพม่าสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สยามสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่าสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (พ.ศ. 2491–2505)สุริโยไทสงกรานต์สโมสรฟุตบอลย่างกุ้งยูไนเต็ดหมายหม่อง ทินอ่องหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภาอองจีอองซานซูจี ผู้หญิงท้าอำนาจอักษรพม่าอักษรไทใหญ่อาณาจักรมยีนไซง์อาณาจักรหงสาวดีอาณาจักรอังวะอาณาจักรซะไกง์อาณาจักรปีนยะอาณาจักรแปรจังหวัดจันทบุรีจาตุมหาราชิกาทะขิ่นเมียะทิวเขาถนนธงชัยท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้งขุนรองปลัดชู (ภาพยนตร์)ขุนไกรพลพ่ายขนมเข่งความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยงคำตี่คำให้การชาวกรุงเก่าตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าตราแผ่นดินในทวีปเอเชียตองจีตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวีตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรงตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีประเทศพม่าปลาซิวซอ-บวาป่าโลกล้านปีนักรบนักศึกษาพม่าแกงฮังเลแม่น้ำกระบุรีโยธยานัยโมโกงโรงเรียนบางปะกอกวิทยาคมโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวรโรงเรียนสมุทรสาครบูรณะโอน-มองไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนลไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรีไทยโยเดียไทลื้อไทใหญ่ไทเขินเชียงตุงเสียงนาสิก ลิ้นไก่เสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้องเหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส พ.ศ. 2551เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เอเชียใต้เจดีย์ชเวซีโกนเจ้าฟ้าเจ้าฟ้า (เจ้าผู้ครอง)เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่เจ้าหญิงเมงอทเวเจ้าหลวงเสือก่าฟ้าเจ้าจ่ามทุนเขตพะโคเขตมะเกวเขตมัณฑะเลย์เขตย่างกุ้งเขตอิรวดีเขตตะนาวศรีเขตซะไกง์เนปยีดอBurma VJISO 639-2 ขยายดัชนี (125 มากกว่า) »

บกเปี้ยน

กเปี้ยน,ฐิรวุฒิ เสนาคำ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและบกเปี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

บายิงจี

วบายิงจี กลุ่มชาติพันธุ์ลูกผสมในพม่า ที่มีเชื้อสายมาจากโปรตุเกสและอินเดีย อีกทั้งยังมีลักษณะที่ใกล้เคียงกับชาวคริสตังในมะละกา ประเทศมาเลเซีย ภายหลังเมื่อชาวโปรตุเกสอพยพเข้ามาในดินแดนพม่า ก็ได้มีการสมรสข้ามเชื้อสายกัน ถึงกระนั้นมรดกทางด้านเชื้อสายของโปรตุเกสยังคงตกทอดอยู่ในวิถีชีวิต พฤติกรรม ศาสนา และอาหารการกิน รวมไปถึงรูปร่างลักษณะที่ยังมีให้เห็นอยู่จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและบายิงจี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวชิน

น (ခ္ယင္‌လူမ္ယုိး; MLCTS: hkyang lu. myui) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า โดยในชาวชินจำนวนนี้สามารถจำแยกได้เป็น 32 กลุ่ม ซึ่งแต่ละกลุ่มก็จะมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันไป และจะมีพิธีการสักบนใบหน้าของหญิงสาวซึ่งแต่ละกลุ่มจะใช้สีที่ต่างกัน เช่น สีดำ สีกรมท่า หรือรูปนกบนหน้าผาก จะเป็นลายเฉพาะกลุ่มซึ่งในกลุ่มเดียวกันก็จะมีลวดลายเดียวกัน โดยการสักบนใบหน้าของหญิงชาวชินจะสักบนใบหน้าเพื่ออำพรางความงามของตน เพราะคนโบราณเล่าต่อกันมาว่า ในอดีตหญิงสาวชาวชินมีความสวยต้องตาต้องใจคนต่างถิ่นเป็นอย่างมาก ไม่เว้นแม้กระทั่งเจ้าเมืองกษัตริย์พม่าที่มักจะจับตัวสาวชาวชินไปเป็นภรรยาและทาสรับใช้ ผู้นำชนเผ่าจึงสั่งให้หญิงสาวชินสักใบหน้าเพื่ออำพรางความงามตั้งแต่เริ่มเข้าสู่วัยรุ่นช่วงอายุประมาณ 12-13 ปี ซึ่งต้องให้ผู้ที่มีความชำนาญเป็นผู้สักให้ โดยจะสักต่อเนื่องไปเรื่อยจนเสร็จ ปกติแล้วใช้เวลาถึง 2 วัน จะพักแค่ตอนรับประทาน อาหารเท่านั้น เด็กสาวแทบทุกคนนอนร้องไห้ด้วยความเจ็บปวดตลอดการสัก กินอะไรไม่ได้และลืมตาไม่ได้เพราะมีอาการบวม บางคนที่รอยสักจางหรือลายไม่ขึ้นต้องมาสักซ้ำอีกครั้งสองครั้ง หรือจนกว่าสีจะเข้ม แต่ปัจจุบัน วัฒนธรรมการสักใบหน้าหลงเหลืออยู่แค่ในหมู่บ้านชนบทในป่าเขาห่างไกลเพียงไม่กี่แห่ง ส่วนพื้นที่อื่นไม่นิยมสักกันแล้ว เนื่องจากไม่มีใครมาจับตัวหญิงชาวชินไปเหมือนแต่ก่อน จึงไม่มีความจำเป็นอีกต่อไป โดยเฉพาะหมอสักใบหน้าที่มีฝีมือต่างล้มหายตายจากกันไปเกือบหมด อย่างในละแวกนี้ถ้าใครอยากสักก็ไม่มีคนสักให้ เพราะหมอสักเสียชีวิตกันไปหมดแล้ว นอกจากนี้ ครั้งหนึ่งรัฐบาลทหารพม่าได้สั่งห้ามหญิงชาวชินสักใบหน้าเพราะเห็นเป็นเรื่องป่าเถื่อน ชาวบ้านก็เลยไม่กล้าสัก แต่อย่างไรก็ตามรัฐบาลพม่าในปัจจุบันเองก็ต้องการให้หญิงชาวชินที่สักใบหน้ากลุ่มดังกล่าวเป็นตัวดึงดูดนักท่องเที่ยวมายังพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและชาวชิน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวพม่า

ม่า (บะหม่า หลุ มฺโย้, คำเมือง: ม่าน) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ส่วนใหญ่ในประเทศพม่า พบมากในประเทศพม่า ชาวพม่าส่วนใหญ่อาศัยอยู่แถบแม่น้ำอิรวดี ชาวพม่าส่วนใหญ่ใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและชาวพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ชาวกะเหรี่ยง

กะเหรี่ยง, กาเรน, กายิน, หรือคนยาง (ကရင်လူမျိုး,; กะเหรี่ยง) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง มีภาษาพูดเรียกว่าภาษากะเหรี่ยง จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต อาศัยอยู่มากในรัฐกะเหรี่ยง ภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของพม่า กะเหรี่ยงมีประชากรประมาณร้อยละ 7 ของประชากรชาวพม่าทั้งหมด หรือประมาณ 5 ล้านคน ชาวกะเหรี่ยงจำนวนมากอพยพไปอยู่ในประเทศไทย ส่วนใหญ่อาศัยตามแนวชายแดนไทยพม่า กลุ่มกะเหรี่ยงมักจะสับสนกับ กะยันชนเผ่าที่รู้จักกันดีสำหรับแหวนคอสวมใส่โดยผู้หญิงของพวกเขา แต่พวกเขาเป็นเพียงหนึ่งในกลุ่มย่อยของกะเหรี่ยงแดง (คะเรนนี) ซึ่งเป็นหนึ่งในชนเผ่าคะยาในรัฐกะยาของพม่า บางส่วนของชาวกะเหรี่ยงนำโดยสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) ได้เข้าร่วมสงครามต่อต้านรัฐบาลพม่าตั้งแต่ต้นปี 1949 จุดมุ่งหมายของเคเอ็นยูครั้งแรกเพื่อแยกเป็นอิสระ ตั้งแต่ปี 1976 กลุ่มติดอาวุธได้เรียกร้องรัฐบาลกลางในการปกครองตนเองมากกว่าการที่จะแยกเป็นอิสร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและชาวกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและชาวมอญ · ดูเพิ่มเติม »

บางระจัน (ภาพยนตร์)

งระจัน (Bang Rajan: The Legend of the Village's Warriors) ภาพยนตร์ไทยอิงประวัติศาสตร์ ผลงานลำดับที่ 10 ของ ธนิตย์ จิตนุกูล เข้าฉายเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ความยาว 127 นาที.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและบางระจัน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์

ัญลักษณ์เดิมของบีอีซี-เทโรฯ บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เป็นนิติบุคคลซึ่งเกิดจากบริษัท บีอีซีเวิลด์ จำกัด (มหาชน) เข้าร่วมทุนกับไบรอัน ลินด์เซย์ มาร์การ์ โดยประกอบกิจการ และรับจ้างบริการ ที่เกี่ยวเนื่องกับสื่อประสม, จัดการแสดงหรือกิจกรรมบันเทิง/กีฬาครบวงจร รวมถึงบริการจำหน่ายบัตรผ่านประตู ทั้งนี้บริษัทฯ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก จากความเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์ การประกวดนางงาม เวทีมิสไทยแลนด์เวิลด์ และเป็นเจ้าของสโมสรฟุตบอลบีอีซี-เทโรศาสน ปัจจุบันมีสำนักงานใหญ่ ตั้งอยู่ชั้น 21-22 และ 25-28 อาคารมาลีนนท์ทาวเวอร์ เลขที่ 3199 ถนนพระรามที่ 4 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร และมีคำขวัญว่า "เชื่อมติดทุกชีวิตบันเทิง" (Passion United) ในเว็บไซต.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและบีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ · ดูเพิ่มเติม »

ชเว โอน

วโอน (Shwe Ohn; ภาษาพม่า) เป็นนักการเมืองชาวไทใหญ่ เกิดเมื่อ 14 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและชเว โอน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติพม่า

ฟุตบอลทีมชาติพม่า (Myanmar national football team; พม่า: မြန်မာ အမျိုးသား ဘောလုံးအသင်း) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศพม่า อยู่ภายใต้การควบคุมของ สหพันธ์ฟุตบอลพม่า ทีมชาติพม่ายังไม่มีผลงานในระดับโลก แต่ในระดับเอเชีย เคยได้รองชนะเลิศในการแข่งขัน เอเชียนคัพ สำหรับในระดับอาเซียน อับดับสูงสุดคือได้เข้ารอบรองชนะเลิศใน ไทเกอร์คัพ ซึ่งในเอเชียนคัพของเขตอาเซียน ทีมชาติพม่าถือได้ว่ามีสถิติสูงสุด โดยได้อันดับรองชนะเลิศ ใน เอเชียนคัพ 1968 ในช่วงทศวรรษที่ 60-70 พม่าถือว่าเป็นทีมฟุตบอลระดับแถวหน้าของอาเซียนและทีมหนึ่งในระดับเอเชีย โดยได้แชมป์เซียปเกมส์ (กีฬาแหลมทอง) ถึง 5 สมัย แชมป์เอเชียนเกมส์ถึง 2 สมัย อีกทั้งยังเคยเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลในกีฬาโอลิมปิก 1972 ที่นครมิวนิค ประเทศเยอรมนีตะวันตก แต่หลังจากปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและฟุตบอลทีมชาติพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร

การปกครองของบริเตนในพม่า (British rule in Burma) คือช่วงที่พม่าอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พม่าตอนบน

ม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบน (Upper Burma; အထက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่าจริง (Real Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่า ครอบคลุมบริเวณ มัณฑะเลย์ และรอบนอก (ปัจจุบันคือ เขตมัณฑะเลย์, เขตซะไกง์ และเขตมาเกว) และอาจรวมกว้างๆเข้ากับ รัฐคะฉิ่น และรัฐชาน ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-ญา-ตา, ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา คำนี้ถูกใช้โดยบริติชเพื่ออ้างถึงพื้นที่ตอนกลางและตอนเหนือของพม่า หลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพม่าตอนบน · ดูเพิ่มเติม »

พม่าตอนล่าง

ม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่าง (Lower Burma; အောက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่านอก (Outer Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่าอยู่ในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี (เขตอิรวดี, เขตพะโค และเขตย่างกุ้ง) และพื้นที่ตามแนวชายฝั่งของประเทศ (รัฐยะไข่, รัฐมอญ และเขตตะนาวศรี) ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-เทต-ตา สำหรับผู้ชาย และ อะ-เทียต-ลฮู สำหรับผู้หญิง ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา สำหรับผู้ชาย และ เอาะธู สำหรับผู้หญิง ส่วน อะ-ญา-ตา หมายถึงประชาชนที่อาศัยอยู่ส่วนในของประเทศ ในทางประวัติศาสตร์ พม่าตอนล่างหมายถึงดินแดนของพม่าที่ถูกผนวกเข้ากับจักรวรรดิบริติชหลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพม่าตอนล่าง · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเชื้อสายมลายู

วพม่าเชื้อสายมลายู หรือ ปะซู กลุ่มชาติพันธุ์ที่สำคัญกลุ่มหนึ่งที่กระจายตัวลงมาตั้งแต่ตอนบนจนถึงตอนล่างของหมู่เกาะมะริดในเขตแดนของเขตตะนาวศรีทางตอนใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพม่าเชื้อสายมลายู · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเชื้อสายอินเดีย

วพม่าเชื้อสายอินเดีย เป็นชนกลุ่มน้อยกลุ่มหนึ่งที่มีจำนวนมาก และแทรกซึมไปทั่วประเทศพม่า ซึ่งประเทศพม่า และประเทศอินเดียเคยมีความสัมพันธ์มายาวนานหลายพันปี รวมไปถึงการเป็นประเทศเพื่อนบ้าน การนำนำศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีมาใช้ และอดีตอาณานิคมของอังกฤษร่วมกัน.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพม่าเชื้อสายอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเชื้อสายจีน

วพม่าเชื้อสายจีน ชนกลุ่มน้อยกลุ่มหนึ่งของประเทศพม่า ปัจจุบันมีตัวเลขจากทางการรัฐบาลพม่าว่าชาวพม่าเชื้อสายจีนมีจำนวนเพียงร้อยละ 3 แต่ตัวเลขที่แท้จริงเชื่อว่าน่าจะมีชาวพม่าเชื้อสายจีนมากกว่าจำนวนดังกล่าว เนื่องจากชาวจีนส่วนใหญ่ได้สมรสข้ามชาติพันธุ์กับชาวพม่าและกลุ่มชนพื้นเมืองเพื่อหลีกเลี่ยงการเลือกปฏิบัติ ในช่วงปี ค.ศ. 1990 ชาวจีนนับหมื่นคนได้อพยพเข้ามาทางตอนบนของพม่าอย่างผิดกฎหมาย และอาจจะไม่ได้นับรวมด้วย อันเนื่องมาจากการทำสำมะโนครัวที่ขาดความน่าเชื่อถือ ขณะเดียวกันกลุ่มชนที่มีเชื้อสายจีนที่อาศัยในภาคตะนาวศรีทางตอนใต้ของพม่าใกล้ชายแดนประเทศไทย มักมีจินตนาการและมิติวัฒนธรรมร่วมกับชาวไทยในฝั่งไทย เช่นการใช้ภาษาไทยถิ่นใต้ การตั้งเข็มนาฬิกาตรงกับเวลาในประเทศไทย การทำบุญและการบวชแบบไทย เป็นต้น ปัจจุบันชาวพม่าเชื้อสายจีนส่วนใหญ่ เป็นผู้กุมเศรษฐกิจของประเทศพม่า นอกจากนี้พวกเขายังเข้ารับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในสัดส่วนสูง และเป็นกลุ่มที่มีเปอร์เซนต์จากการรับการศึกษาระดับสูงในประเทศพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพม่าเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์ (พม่า)

รรคคอมมิวนิสต์ (พม่า) (Communist Party (Burma); ภาษาพม่า: အလံနီကွန်မြူနစ်ပါတီ) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในพม่าที่ตั้งขึ้นหลังจากกลุ่มหัวรุนแรงได้แยกออกจากพรรคคอมมิวนิสต์พม่าใน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพรรคคอมมิวนิสต์ (พม่า) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปไตย (พม่า)

รรคประชาธิปไตย (ภาษาอังกฤษ:Democratic Party; DP; ภาษาพม่า: ဒီမိုကရက်တစ်ပါတီ, ออกเสียง) เป็นพรรคการเมืองในพม่าก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพรรคประชาธิปไตย (พม่า) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปไตยสหภาพ

รรคประชาธิปไตยสหภาพ (Union Democratic Party; ภาษาพม่า: ပြည်ထောင်စုဒီမိုကရေစီပါတီ) เป็นพรรคการเมืองในพม่า จัดตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพรรคประชาธิปไตยสหภาพ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปไตยและสันติภาพ

รรคประชาธิปไตยและสันติภาพ (Democracy and Peace Party; ภาษาพม่า: ဒီမိုကရေစီနှင့် ငြိမ်းချမ်းရေးပါတီ) เดิมคือสันนิบาตเพื่อประชาธิปไตยและสันติภาพ (ภาษาพม่า: ဒီမိုကရေစီနှင့် ငြိမ်းချမ်းရေး အဖွဲ့ချုပ်) ซึ่งก่อตั้งตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพรรคประชาธิปไตยและสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปไตยและเอกภาพโกก้าง

รรคประชาธิปไตยและเอกภาพโกก้าง (Kokang Democracy and Unity Party; ภาษาพม่า: ကိုးကန့် ဒီမိုကရေစီနှင့် ညီညွတ်ရေးပါတီ) เป็นพรรคการเมืองในพม่า เป็นพรรคตัวแทนของชาวจีนโกก้างและพื้นที่ปกครองตนเองโกก้าง ในการเลือกตั้งทั่วไปในพม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพรรคประชาธิปไตยและเอกภาพโกก้าง · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแห่งชาติยะไข่

รรคแห่งชาติยะไข่ (Rakhine National Party; ภาษาพม่า: ရခိုင်အမျိုးသားပါတီ) หรือพรรคแห่งชาติอาระกัน (Arakan National Party) เป็นพรรคการเมืองในพม่า เป็นพรรคตัวแทนของชาวยะไข่ในรัฐยะไข่และย่างกุ้ง ก่อตั้งเมื่อ 13 มกราคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพรรคแห่งชาติยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคแห่งชาติฉิ่น

งของพรรคแห่งชาติฉิ่น พรรคแห่งชาติฉิ่น (Chin National Party; ภาษาพม่า: ချင်းအမျိုးသားပါတီ) เป็นพรรคการเมืองในพม่าที่เป็นตัวแทนของชาวฉิ่น ในการเลือกตั้งทั่วไป..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพรรคแห่งชาติฉิ่น · ดูเพิ่มเติม »

พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า

งของพรรค พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า (ภาษาอังกฤษ:Burma Socialist Programme Party; ภาษาพม่า:; ออกเสียง:mjəma̰ sʰòʃɛ̀lɪʔ láɴzɪ̀ɴ pàtì) ก่อตั้งขึ้นหลังจากสภาปฏิวัติของพม่านำโดยนายพลเนวิน ได้ยึดอำนาจในพม่า ในวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระนางวิสุทธิเทวี

ระนางวิสุทธิเทวี หรือ สมเด็จเจ้าราชวิสุทธ (? — พ.ศ. 2121) เป็นขัตติยราชนารีพระองค์หนึ่งที่สำคัญพระองค์หนึ่งของอาณาจักรล้านนา และเป็นพระกษัตรีย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์มังราย ก่อนที่การปกครองอาณาจักรล้านนาจะตกไปสู่การปกครองของราชวงศ์ตองอู มหาเทวีวิสุทธิได้ให้การยอมรับอำนาจของพม่า และสนองนโยบายการขยายอำนาจจากล้านนาไปสู่กรุงศรีอยุธยา และล้านช้าง โดยใช้ล้านนาเป็นที่มั่น และส่งกองทัพเข้าร่วมรบกับเชียงใหม่ในคราวเสียกรุงศรีอ..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพระนางวิสุทธิเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระนางอเลนันดอ

ระนางอเลนันดอ มีพระนามจริงว่า ซีนบยูมะชีน (ဆင်ဖြူမရှင်, Hsinbyumashin ซึ่งมีความหมายว่า นางพญาช้างเผือก; มีพระนามแรกประสูติว่า ศุภยากะเล) พระราชธิดาในพระเจ้าจักกายแมงแห่งพม่า ที่ประสูติแต่พระนางนันมาดอ แมนู พระมเหสีเอก ต่อพระนางเป็นพระมเหสีตำหนักกลางในพระเจ้ามินดง ตำแหน่งพระมเหสีตำหนักกลางมีคำเรียกเป็นภาษาพม่าว่า อะแลน่านดอ ด้วยพระนามนี้เองจึงกลายเป็นพระนามที่ชาวไทยรู้จักกันทั่วไป พระองค์เป็นมเหสีที่พระเจ้ามินดงโปรดที่สุดพระองค์หนึ่ง และเป็นที่เกรงอกเกรงใจของพระองค์ พระนางอเลนันดอมีพระราชธิดากับพระเจ้ามินดง 3 พระองค์ ได้แก่ พระนางศุภยาคยี, พระนางศุภยาลัต และพระนางศุภยากเล โดยพระธิดาองค์ที่สองของพระองค์คือ พระนางศุภยาลัตซึ่งมีนิสัยทะเยอทะยานเช่นเดียวกับพระองค์ ด้วยความที่พระเจ้ามินดงเกรงในพระนางอเลนันดอ พระเจ้ามินดงจึงมิได้ตั้งองค์รัชทายาทไว้ พระนางศุภยาลัตพระธิดาของพระองค์จึงเลือกเจ้าชายสีป่อซึ่งเป็นคนหัวอ่อน โดยพระนางอเลนันดอได้ให้การสนับสนุน เมื่อพระนางศุภยาลัตพระธิดาได้เสกสมรสกับพระเจ้าธีบอ แม้พระนางอเลนันดอได้ให้การช่วยเหลือแก่พระนางศุภยาลัตในเบื้องต้น แต่ภายหลังพระนางอเลนันดอถูกให้ไปประทับที่วังอื่นรวมทั้งพระธิดาคือพระนางศุภยาคยีซึ่งเป็นพระกนิษฐา ต่อมาเมื่อพม่าตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ พระเจ้าธีบอ พระนางนางศุภยาลัต รวมถึงพระองค์ ได้ถูกเชิญออกนอกประเทศโดยให้ประทับในเมืองรัตนคีรี ทางใต้ของเมืองบอมเบย์ในบริติชราช ภายหลังพระนางอเลนันดอได้มีเรื่องวิวาทกับพระนางศุภยาลัตซึ่งเป็นพระธิดา ทางอังกฤษสงสาร จึงได้ส่งพระนางอเลนันดอมายังพม่า และใช้ชีวิตอยู่ที่เมืองมะละแหม่งจนสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพระนางอเลนันดอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามังลอก

ระเจ้ามังลอก (Naungdawgyi) เป็นพระโอรสพระองค์โตของพระเจ้าอลองพญา ในบรรดาพระโอรส 6 พระองค์ ขึ้นครองราชย์เนื่องจากทรงเป็น "เองเชเมง" หรือ อุปราชวังหน้า ซึ่งเมื่อการสวรรคตของพระเจ้าอลองพญา ในสมัยของพระองค์ได้เกิดการกบฏครั้งสำคัญคือมังฆ้องนรธาขุนพลคู่บารมีของพระเจ้าอลองพญา รวมไปถึงการแก่งแย่งอำนาจจากเจ้านายฝ่ายพม่าด้วยกันเอง ทำให้ตลอดรัชสมัยของพระองค์ต้องทำการปราบกบฎอยู่หลายครั้ง แต่ด้วยอุปนิสัยที่มีเมตตาของพระองค์ จึงทำเพียงขับไล่ หรือคุมขังผู้ทำผิดเสียเป็นส่วนมาก แต่ไม่ประหารชีวิตบางครั้งก็ถึงกับอภัยโทษให้ผู้ทำผิดอยู่บ่อ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพระเจ้ามังลอก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชาธิราช

ระเจ้าราชาธิราช (ရာဇာဓိရာဇ်, หย่าซาดะยิต; ค.ศ. 1368–1421) มีพระนามเดิมว่า พญาน้อย (ဗညားနွဲ့) ทรงเป็นกษัตริย์มอญแห่งราชอาณาจักรหงสาวดี ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพระเจ้าราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจิงกูจา

ระเจ้าจิงกูจา (Singu Min,စဉ့်ကူးမင်း) พระโอรสของพระเจ้ามังระ ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 20 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิตเสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น พระเจ้าปดุง ที่ถูกส่งไปอยู่เมืองสะกาย และมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง โดยเมื่อพระองค์ได้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแล้วก็ทรงปลดอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพคู่บารมีของพระเจ้ามังระพระราชบิดาของพระองค์ลงแล้วเนรเทศไปอยู่ที่เมืองสะกายเช่นเดียวกับพระเจ้าปดุง ทั้งที่แม่ทัพเฒ่าผู้นี้ยกกองทัพกลับมาจากการตีกรุงธนบุรี เพื่อมาควบคุมสถานะการในกรุงอังวะจนเรียบร้อยและมอบพระราชอำนาจเต็มแก่พระองค์ ซึ่งหากวิเคราะห์แล้วก็อาจเป็นเพราะอะแซหวุ่นกี้มีอำนาจ บารมีทางการทหารมากเกินไป รวมไปถึงเนเมียวสีหบดี, เนเมียวสีหตูและเหล่าขุนนางเก่าในพระเจ้ามังระพระองค์ก็ประหารทิ้งบ้าง ปลดทิ้งเสียจากตำแหน่งบ้างไปอีกหลายคน ซึ่งการใช้พระเดชเช่นนี้ทำให้ระหว่างการครองราชย์ผู้คนรอบตัวต่างหวาดระแวงภัยที่อาจมาถึงตัวเมื่อใดก็ได้ ในที่สุดหลังจากพระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียง 5 ปี ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ หม่องหม่อง โอรสของพระเจ้ามังลอก ทำการรัฐประหารยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปสิงหดอที่ทางเหนือ โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่ารวมทั้งอะแซหวุ่นกี้ที่ทนต่อการบริหารราชการของพระองค์ไม่ได้) แต่แรกพระเจ้าจิงกูจาคิดจะหนีไปอาศัยอยู่เมืองกะแซ แต่เป็นห่วงพระราชชนนีจึงลอบลงมาใกล้เมืองอังวะ แล้วมีหนังสือเข้าไปทูลให้ทราบว่าจะหนีไปเมืองกะแซ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพระเจ้าจิงกูจา · ดูเพิ่มเติม »

พ่าเก

วไทพ่าเก เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่งที่อพยพมาอาศัยอยู่ที่ประเทศอินเดีย โดยอพยพเข้าทางทิวเขาปาดไก่ ทางตอนเหนือของประเทศพม่าปัจจุบัน ถิ่นเดิมของชาวไทพ่าเกอยู่ที่เมืองเมาหลวง ต่อมาได้ติมตามกษัตริย์อาหมมาอยู่ที่เมืองกอง (โมกอง) บริเวณถ้ำผาใหญ่ และผานั้นเป็นผาอันเก่าแก่มาก จึงได้ชื่อว่า ชาวไทพ่าเก ถึงปี พ.ศ. 2358 จึงอพยพข้ามทิวเขาปาดไก่จึงอพยพสู่เมืองนุนสวนคำ ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่รัฐอรุณาจัลประเทศ ต่อมาถูกน้ำท่วมบ้านเรือนเสียหาย จึงอพยพมาอยู่ริมลำน้ำจิก ครั้งอังกฤษเข้ามาปกครองเมืองนุนสวนคำ จึงย้ายไปอยู่ริมแม่น้ำทิหิงจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและพ่าเก · ดูเพิ่มเติม »

กระท้อน

กระท้อน เป็นไม้ผลเขตร้อนยืนต้นในวงศ์กระท้อน (Meliaceae) ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลกระท้อนมีสีสะดุดตา เป็นต้นไม้ที่ทนแล้งได้ดี.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและกระท้อน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชา

แผนที่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในกัมพูชา (พ.ศ. 2515) กลุ่มชาติพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกัมพูชาคือชาวเขมร สำหรับชนกลุ่มน้อยที่มีมากที่สุดคือชาวเวียดนาม อีกจำนวนหนึ่งเป็นลูกหลานของพ่อค้าชาวจีน และกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองเช่นชาวม้ง พนองและไทรวมทั้งกลุ่มอื่นๆที่เรียกชาวเขมรบนหรือแขมร์เลอ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาพม่า-โลโล

กลุ่มภาษาพม่า-โลโล (Lolo-Burmese languages) เป็นภาษาที่มีผู้พูดในพม่าและจีนตอนใต้ เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ภาษาน่าซีจัดอยู่ในกลุ่มนี้แต่การจัดจำแนกย่อยลงไปอีกยังไม่แน่นอน อาจจัดให้เป็นสาขาย่อยที่สามนอกเหนือจากกลุ่มภาษาพม่าและกลุ่มภาษาโลโล ภาษาปยูที่เป็นต้นกำเนิดของภาษาพม่าอาจมีความเชื่อมโยงกับกลุ่มภาษาพม่า-โลโล แต่ไม่มีหลักฐานเพียงพอสำหรับการจัดจำแนก ทำให้ถูกจัดให้เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าที่จัดจำแนกไม่ได้ ภาษามรูซึ่งเป็นภาษาที่จัดจำแนกไม่ได้อีกภาษาหนึ่งเชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับกลุ่มภาษาพม่า-โลโลเช่นกัน.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและกลุ่มภาษาพม่า-โลโล · ดูเพิ่มเติม »

กล้วยนาก

กล้วยนาก (Red bananas) เป็นสายพันธุ์ของกล้วยที่เปลือกสีแดงคล้ำ ลูกเล็กกว่ากล้วยหอมเขียว เนื้อเมื่อสุกเป็นสีเหลืองครีมหรือสีเหลืองอมชมพู นิ่มและหวานกว่ากล้วยพันธุ์อื่นในกลุ่มคาเวนดิช แหล่งปลูกอยู่ในแอฟริกาตะวันออก เอเชีย อเมริกาใต้ และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นที่นิยมในอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและกล้วยนาก · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพกะฉิ่นอิสระ

งของกองทัพกะฉิ่นอิสระ กองทัพกะฉิ่นอิสระ (Kachin Independence Army; KIA; ภาษาพม่า) เป็นหน่วยงานด้านการทหารขององค์กรกะฉิ่นอิสระซึ่งเป็นกลุ่มทางการเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์กะฉิ่นในพม่าตอนเหนือ ชาวกะฉิ่นได้สร้างพันธมิตรทางการเมืองกับชาวเผ่าอีก 6 เผ่าที่มีบ้านเกิดในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียและรัฐกะฉิ่นในพม่า ส่วนใหญ่มีฐานที่มั่นใกล้ชายแดนจีน กองทัพกะฉิ่นอิสระก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและกองทัพกะฉิ่นอิสระ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพแห่งชาติพม่า

กองทัพแห่งชาติพม่า (Burma National Army; ภาษาพม่า: ဗမာ့အမျိုးသားတပ်မတော် ออกเสียง) เป็นกองทัพของรัฐบาลพม่าที่จัดตั้งโดยญี่ปุ่นระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 และเข้าร่วมในการทัพพม่าซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการร่วมรบกับญี่ปุ่น แต่ในภายหลังได้แยกตัวออกมาร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรแทน.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและกองทัพแห่งชาติพม่า · ดูเพิ่มเติม »

กะปิ

กะปิของมาเลเซีย กะปิ (shrimp paste หรือ shrimp sauce) เป็นเครื่องปรุงรสอย่างหนึ่งที่แพร่หลายในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทางตอนใต้ของประเทศจีน คำว่า กะปิ ใช้กันแพร่หลายทั้งในไทย ลาว และกัมพูชา ส่วนในอินโดนีเซีย เรียกกะปิว่าเตอราซี terasi (หรือ trassi, terasie), มาเลเซีย เรียกว่า เบลาจัน belacan (หรือ belachan, blachang), เวียดนาม เรียกว่า mắm tôm, ฟิลิปปินส์ เรียกว่า bagoong alamang (หรือ bagoong aramang) และ ภาษาจีนฮกเกี้ยน เรียกว่า hom ha หรือ hae ko (POJ: hê-ko) คำว่า "กะปิ" ในภาษาไทยมาจากคำในภาษาพม่าว่า "ง่าปิ" (ငါးပိ) แปลว่า "ปลาหมัก" ในประเทศไทย มีกะปิมากมายหลายชนิดให้เลือกรับประทาน กะปิแต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกัน ทั้งคุณภาพ วัตถุดิบ กรรมวิธีผลิต ตามแต่ท้องถิ่นนั้น ๆ โดยส่วนใหญ่ทำจากกุ้งเคย ซึ่งมีมากในแทบชายฝั่งทะเลอันดามัน จึงทำให้มีการผลิตกะปิในหลาย ๆ แห่ง ในพื้นที่ชายฝั่งติดกับทะเล.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและกะปิ · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบ 8888

การก่อการปฏิวัติ 8888 (8888 UprisingYawnghwe (1995), pp. 170; พม่า: ၈၄လုံး หรือ ရ္ဟစ္‌လေးလုံး) เป็นการกำเริบระดับชาติเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยในประเทศพม่า เมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและการก่อการกำเริบ 8888 · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่เดปายิน พ.ศ. 2546

การสังหารหมู่เดปายิน (Depayin Massacre; ภาษาพม่า: ဒီပဲယင်း လူသတ်မှု) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ 30 พฤษภาคม..2003 ที่ตาบายิน เมืองในเขตสกายง์ ประเทศพม่า ในเหตุการณ์นี้ ประชาชนที่เกี่ยวข้องกับสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตยถูกฆ่าโดยฝูงชนที่รัฐบาลสนับสนุนไป 70 คน ขิ่น ยุ้นต์ อดีตนายกรัฐมนตรีของพม่าได้ให้สัมภาษณ์ในภายหลังถึงเหตุการณ์นี้เมื่อเดือน เมษายน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและการสังหารหมู่เดปายิน พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

การทับศัพท์ภาษาพม่า

้อมูลในหน้านี้อาจมีการดัดแปลงหลายครั้งตามนโยบายวิกิพีเดีย สำหรับข้อมูลต้นฉบับสามารถดูได้ที่ การทับศัพท์ภาษาพม่านี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสํานักงานราชบัณฑิต.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและการทับศัพท์ภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล แปลภาษา

กูเกิลแปลภาษา (Google Translate) เป็นบริการแปลภาษาหลายภาษาด้วยเครื่องจักรโดยไม่คิดค่าบริการของบริษัทกูเกิล กูเกิลแปลภาษามีลักษณะไม่เหมือนกับบริการแปลอื่น ๆ เช่น Babel Fish, AOL, ยาฮู! ที่ใช้ SYSTRAN ขณะที่กูเกิลใช้ซอฟต์แวร์การแปลของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามคู่แข่งทางการค้าเจ้าใหญ่อย่างบริษัท ไมโครซอฟท์ ได้มีผลิตภัณฑ์ที่ใกล้เคียงกันมากมาลงแข่งขันด้วย ซึ่งมีชื่อว่า Bing Translator.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและกูเกิล แปลภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชวงทา

ษาชวงทา (Chaungtha language) มีผู้พูดในพม่าทั้งหมด 122,000 คน (พ.ศ. 2526) จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยพม่า ใกล้เคียงกับภาษาพม่า เขียนด้วยอักษรพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาชวงทา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะดู

ษากะดู (Kadu language) หรือภาษากะโด มีผู้พูดในพม่าทั้งหมด 37,000 คน (พ.ศ. 2550) ในมัณฑะเลย์และรัฐยะไข่ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาจิงผ่อ-กอนยัก-โบโด สาขาย่อยจิงผ่อ-ลูอิช ส่วนใหญ่พูดภาษาพม่าได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละตินและอักษรพอลลาร์ด แม้ว ภาษานี้เป็นคนละภาษากับภาษากะตูที่เป็นภาษากลุ่มมอญ-เขมร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษากะดู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามรู

วมรู ชาวมรูอาศัยในบริเวณตอนล่างทางขวามือของแผนที่บังกลาเทศ ภาษามรู (Mru language) หรือภาษามารู ภาษามูรุง มีผู้พูดทั้งหมด 51,230 คน พบในบังกลาเทศ 30,000 คน (พ.ศ. 2550) ในตำบลบันดัรบัน พบในอินเดีย 1,230 คน (พ.ศ. 2524) ในรัฐเบงกอลตะวันตก พบในพม่า 20,000 คน (พ.ศ. 2542) ในรัฐยะไข่ จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขามรู รากศัพท์ใกล้เคียงกับภาษาฉิ่นสำเนียงมโร 13% เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม เขียนด้วยอักษรละติน เป็นภาษาที่มีความเสี่ยงที่จะเป็นภาษาตาย ภาษานี้เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มทิเบต-พม่าที่จัดจำแนกได้ยาก เป็นภาษาที่อยู่ระหว่างภาษาพม่า ภาษาเมยเทยในอินเดีย และยังใกล้เคียงกับภาษาฉิ่น แม้ว่าจะเคยจัดจำแนกเป็นส่วนหนึ่งของภาษาฉิ่น แต่ภาษามรูก็มีความใกล้ชิดกับกลุ่มภาษาพม่า-โลโลในระดับหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษามรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามอญ

ษามอญ (เพียซาโหม่น) เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร ซึ่งเป็นสายหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร 12 สาย พูดโดยชาวมอญ ที่อาศัยอยู่ในพม่า และไทย ภาษาตระกูลมอญ-เขมรมีการใช้มานานประมาณ 3,000-4,000 ปีมาแล้ว มีผู้ใช้ภาษานี้อยู่ประมาณ 5,000,000 คน อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ จารึกวัดโพธิ์ร้าง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบเอเซียอาคเนย์ เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ และได้พบอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภาษามอญ ในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมืองลพบุรี ข้อความที่จารึกเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา สันนิษฐานว่า จารึกในพุทธศตวรรษที่ 14 ราว..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษามอญ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายะไข่

ษายะไข่ (Rakhine) หรือภาษาอาระกัน มีผู้พูดทั้งหมด 765,000 คน พบในพม่า 730,000 คน (พ.ศ. 2544) ในรัฐยะไข่ พบในบังกลาเทศ 35,000 คน (พ.ศ. 2550) จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยพม่า เป็นภาษาที่ยังคงลักษณะของภาษาพม่าดั้งเดิมไว้ คือยังคงเสียง /ร/ ไว้ได้ ในขณะที่ภาษาพม่าสำเนียงอื่นๆ ออกเสียงเป็น /ย/ ภาษายะไข่มีเสียงสระเปิด มาก ตัวอย่างเช่นคำว่าเงินเดือน ภาษาพม่ามาตรฐานออกเสียงว่า ส่วนภาษายะไข่ออกเสียงว่า ต่อไปนี้เป็นเสียงพยัญชนะ สระที่แตกต่างไปในภาษายะไข่.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษายะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาราวาง

ษาราวาง (Rawang language) หรือภาษากนุง-ราวางมีผู้พูดทั้งหมด 122,600 คน พบในพม่า 62,100 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐกะฉิ่น ทางเหนือของมยิตจีนา พบในอินเดีย 60,500 คน (พ.ศ. 2543)ในรัฐอรุณาจัลประเทศใกล้กับชายแดนพม่า และชายแดนจีนด้านที่ติดกับทิเบต จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขานุง ผู้พูดภาษานี้ในพม่าพูดภาษาพม่า ภาษาหลี่ซูหรือภาษาจิงผ่อได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน มีหนังสือพิมพ์ตีพิมพ์ด้วยภาษานี้ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาราวาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลีสู่

ษาลีซอ หรือ ลีสู่ (Lisu)หรือภาษาโยบิน ภาษาเยายิน มีผู้พูดทั้งหมด 723,000 คน พบในจีน 580,000 คน (พ.ศ. 2542) ในจำนวนนี้พูดได้ภาษาเดียว 467,869 คน ในยูนนานตะวันตก พบในอินเดีย 1,000 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐอรุณาจัลประเทศ พบในพม่า 126,000 (พ.ศ. 2530) ในรัฐว้า ชายแดนติดกับรัฐอัสสัมของอินเดียหรือในรัฐฉาน พบในไทย 16,000 คน (พ.ศ. 2536) ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร บางส่วนอพยพมาจากพม่า จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยโลโล มีหลายสำเนียงแต่ความแตกต่างระหว่างสำเนียงมีไม่มาก ในจีนเป็นภาษาที่ใช้ในทางศาสนาคริสต์ การปกครองและในโรงเรียน ส่วนใหญ่พูดภาษาจีนได้ด้วย ในจำนวนนี้มี 150,000 คนสามารถพูดภาษาไป๋ ภาษาทิเบต ภาษาน่าซี ภาษาไทลื้อ หรือภาษาจิงผ่อได้ด้วย เขียนด้วยอักษรโรมัน หรืออักษรฟราเซอร์ เป็นภาษาพูดของชาวลีซอ มีสามสำเนียงคือ หัว ไป่ และลู ใกล้เคียงกับภาษาลาฮูและภาษาอาข่า และมีความสัมพันธ์กับภาษาพม่า ภาษาจิงผ่อ และภาษ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาลีสู่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาโซ

ษาอาโซ (Asho language) มีผู้พูดทั้งหมด 12,340 คน พบในพม่า10,000 คน (พ.ศ. 2534) ในบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดี พบในบังกลาเทศ 2,340 คน (พ.ศ. 2534) ในจิตตะกอง บันดาร์บัน และรังกามาตี จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขา กูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พุดภาษานี้ในพม่าจะพูดภาษาพม่าได้ด้วย เขียนด้วยอักษรพม่า เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาอาโซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินตา

ษาอินตาหรือภาษาอินทา (Intha language) มีผู้พูดทั้งหมด 90,000 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐฉานทางตอนใต้ ประเทศพม่า บริเวณรอบๆทะเลสาบอินเล จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยพม่า จัดเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาพม่าแต่มีคำศัพท์และการออกเสียงแตกต่างไป เรียงประโยคแบบประธาน – กรรม –กร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาอินตา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทวาย

ษาทวาย (Dawai) หรือ ภาษาตองโย (Taungyo) มีผู้พูดในพม่า 40,000 คน (พ.ศ. 2543) พบในภาคตะวันออกตอนกลาง ตั้งแต่ตอนไต้ของรัฐฉานไปจนถึงทวายและเขตตะนาวศรี จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาพม่า-โลโล สาขาย่อยพม่า เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาพม่า เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาทวาย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคูมี

ษาคูมี (Khumi language) มีผู้พูดทั้งหมด 62,090 คน พบในพม่า 60,000 คน (พ.ศ. 2549) ในรัฐยะไข่ พบในบังกลาเทศ 2,090 คน ในตำบลบันดาร์บัน และมีในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดียจำนวนหนึ่ง จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น –นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พูดภาษานี้ในพม่าจะพูดภาษาพม่าได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละตินในอินเดีย เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา คำขยายมาก่อนคำนาม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาคูมี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตังซา

ษาตาเซหรือภาษาตังซา (Tase language) มีผู้พูดทั้งหมด 100,400 คน พบในพม่า 55,400 คน (พ.ศ. 2543) พบทางตะวันตกเฉียงเหนือของพม่า พบในอินเดีย 45,000 คน (พ.ศ. 2544) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐอรุณาจัลประเทศ และในรัฐอัสสัม จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า สาขาจิงผ่อ-กอนยัก-โบโด สาขาย่อยกอนยัก-โบโด-กาโร มีรายการวิทยุออกอากาศด้วยภาษานี้ ในอินเดียเขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา คำปรบท แสดงความเป็นเจ้าของและคำนำหน้ามาก่อนคำนาม คำแสดงจำนวนและคุณศัพท์มาทีหลังคำนามที่ขยาย คำแสดงคำถามอยู่ท้ายประโยค มีเสียงวรรณยุกต์ 2 เสียง ผู้พูดภาษานี้บางส่วนจะพูดภาษาฮินดี ภาษาอัสสัม ภาษาพม่า ภาษาอังกฤษ หรือภาษาสิงผ่อได้.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาตังซา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตันกัต

漢合時掌中珠 ภาษาตันกัต หรือภาษาซิเซีย เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าโบราณใช้พูดในจักรวรรดิตันกัต มีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบต ภาษาพม่า และอาจมีความใกล้เคียงกับภาษาจีนด้วย เป็นภาษาราชการในจักรวรรดิตันกัต (ภาษาจีนเรียก ซิเซีย 西夏) ซึ่งเป็นอิสระในสมัยราชวงศ์ซ้องเมื่อราว..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาตันกัต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปยู

ษาปยู (Pyu) หรือ ภาษาติร์กุล เป็นภาษาโบราณในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่เคยมีผู้พูดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณที่ปัจจุบันคือพม่าและไทย ใช้พูดโดยชาวปยูเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 10 และกลายเป็นภาษาตายเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป็นยุคที่เริ่มใช้ภาษาพม่าอย่างแพร่หลาย ภาษาปยูที่พบในจารึกจะมีคำแปลเป็นภาษาบาลีไว้ด้วย Matisoff จัดภาษานี้อยู่ในกลุ่มย่อยพม่า-โลโล Bradley จัดให้อยู่ในภาษากลุ่มโลโล ในขณะที่ Van Driem จัดให้เป็นสาขาอิสระของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า หมวดหมู่:ภาษาโบราณในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาปยู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาปะหล่องรูไม

ษาปะหล่องรูไม (Rumai Palaung) หรือภาษาปะหล่องเงิน มีผู้พูดทั้งหมด 139,000 คน พบในพม่า 137,000 คน ทางตอนเหนือของรัฐฉาน พบในจีน 2,000 คน (พ.ศ. 2538) ทางตะวันตกของยูนนาน ในเขตปกครองตนเองเต๋อหง และตามแนวชายแดนพม่า จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรเหนือ สาขาย่อยปะหล่อง เป็นภาษาที่ยังมีผู้ใช้อย่างแพร่หลาย ผู้พูดภาษานี้บางส่วนสามารถพูดภาษาไทใหญ่ ภาษาปะหล่องรูไล ภาษาปะหล่องรูชิง ภาษาเนปาล ภาษาพม่า ภาษากะฉิ่น ภาษาจิงผ่อและภาษาจีนได้ มีพจนานุกรม เขียนด้วยอักษรพม่า เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาปะหล่องรูไม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาในประเทศไทย

ษาในประเทศไทย มีผู้พูดหลายภาษาด้วยกัน โดยมีภาษาหลักคือภาษาไทยมาตรฐาน นอกจากนั้นยังมีภาษาถิ่นย่อย และภาษาอื่น ๆ อีกหลายตระกูลภาษา โดยรวม มีผู้ใช้ภาษาราว 74 ภาษาในประเทศไทย สำหรับภาษาตระกูลไทนั้น ยังมีภาษาถิ่นย่อยหลัก ได้แก่ ภาษาไทยภาคกลาง ภาษาไทยถิ่นใต้ ภาษาไทยโคราช ไทยอีสาน และภาษาไทยภาคเหนือ หรือภาษาไทยล้านนา (คำเมือง) ขณะเดียวกันก็มีภาษาจีนอีกหลายถิ่นย่อย เช่น จีนแต้จิ๋ว จีนกลาง จีนแคะ ภาษาจีนกวางตุ้ง.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโรฮีนจา

ษาโรฮีนจา (โรฮีนจา: Ruáingga) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวมุสลิมโรฮีนจา มีผู้พูดทั้งหมด 1,500,000 คน พบในพม่า 1,000,000 คน (พ.ศ. 2549) ในรัฐยะไข่ ประเทศพม่า พบในบังกลาเทศ 200,000 คน (พ.ศ. 2549) และอาจจะมีในมาเลเซีย ซาอุดีอาระเบีย และไทย จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน สาขาอินโด-อารยันตะวันออก สาขาย่อยเบงกาลี-อัสสัม ใกล้เคียงกับภาษาจิตตะกองในบังกลาเทศ มีคำยืมจากภาษาอูรดู ภาษาเบงกาลี ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ ภาษาพม่า และภาษาอังกฤษมาก เดิมชาวโรฮีนจาอพยพจากบังกลาเทศเข้าไปอยู่ในพม่า และปัจจุบันมีผู้อพยพส่วนหนึ่งอพยพกลับไปสู่บังกลาเทศ แต่ถูกผลักดันให้กลับไปสู่พม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาโรฮีนจา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทคำตี่

ษาไทคำตี่ (Khamti language) มีผู้พูดทั้งหมด 13,120 คน พบในพม่า 4,240 คน (พ.ศ. 2543) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ พบในประเทศอินเดีย 8,880 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐอัสสัม และรัฐอรุณาจัลประเทศ อาจจะมีในประเทศจีนด้วย จัดอยู่ในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มภาษากัม-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไท-แสก ผู้พูดภาษานี้ในพม่าพูดภาษาพม่าหรือภาษาจิงผ่อได้ด้วย ส่วนผู้พูดภาษานี้ในอินเดียจะพูดภาษาอัสสัมได้ด้วย เขียนด้วยอักษรพม่าหรืออักษรไทคำตี.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาไทคำตี่ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเจียรง

ภาษาเจียรง (Rgyalrong) เป็นภาษากลุ่มเกวียงอิก มีความใกล้เคียงกับภาษาตันกัต ภาษาเกวียงเหนือและภาษาเกวียงใต้ แต่ถือว่าห่างไกลจากภาษาพม่า ภาษาทิเบตและภาษาจีน มีผู้พูดในมณฑลเสฉวน และในเขตปกครองตนเองทิเบต จีเยรง br:Djiarongeg zh:嘉绒语.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและภาษาเจียรง · ดูเพิ่มเติม »

มหาราชวงศ์

มหาราชวงศ์ (မဟာရာဇဝင်ကြီး, มะห่าหย่าซะหวิ่นจี; Maha-Radza Weng) เป็นหนังสือบันทึกเหตุการณ์ประวัติศาสตร์พม่า ที่อูกะลา อาลักษณ์ในราชสำนักพระเจ้าตะนินกันเหว่แห่งกรุงอังวะ ได้แต่งจนแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและมหาราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว

มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว (မှန်နန်း မဟာ ရာဇဝင်တော်ကြီး, หมั่นนัน มะห่าหย่าซะหวิ่นด่อจี) เป็นหนังสือบันทึกเหตุการณ์ฉบับทางการเป็นฉบับแรกของราชวงศ์คองบอง ที่พระเจ้าจักกายแมงโปรดให้คณะกรรมการประวัติศาสตร์หลวงแห่งพม่าเรียบเรียงขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและมหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

มังกะยอชวา

มังกะยอชวา (พระนามภาษาพม่า: မင်းကြီးစွာ; อักษรโรมัน: Minyekyawswa, Minchit Sra; ออกเสียง: เมงเยจอสวา) หรือ มังสามเกียด (ตามที่พงศาวดารไทยและพงศาวดารมอญเรียก) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้านันทบุเรง เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยโดยทรงนำทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาหลายครั้ง รวมถึงได้ทรงทำยุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและมังกะยอชวา · ดูเพิ่มเติม »

มิสยูนิเวิร์สเมียนมา

มิสยูนิเวิร์สเมียนมา (Miss Universe Myanmar) เป็นการประกวดนางงามในประเทศเมียนมา ก่อนที่จะก่อตั้งการประกวดมิสเมียนมาหรือมิสมิสยูนิเวิร์สเมียนมา ชื่อของการประกวดคือมิสพม่า ประเทศเมียนมาเริ่มเข้าประกวดในปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและมิสยูนิเวิร์สเมียนมา · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์เมียนมา

มิสเวิลด์เมียนมา หรือ มิสเมียนมาเวิลด์ (Miss World Myanmar; Miss Myanmar World) เป็นการประกวดนางงามระดับชาติเพื่อเลือกตัวแทนของประเทศเมียนมาเข้าประกวดมิสเวิลด์ การประกวดนี้ไม่เกี่ยวข้องกับมิสเมียนมา มิสอินเตอร์เนชันแนลเมียนมา และมิสโกลเดนแลนด์เมียนม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและมิสเวิลด์เมียนมา · ดูเพิ่มเติม »

ยศทหารพม่า

ตารางข้างล่างต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับยศทหารของกองทัพพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและยศทหารพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับเขตการปกครอง ดูที่ รัฐยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ ยะไข่, อะระกัน หรือ ระขึน (ရခိုင်လူမျိုး; IPA:; Rakhine) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หลักกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในรัฐยะไข่ ชาวยะไข่ถือเป็นชาวพม่าพื้นถิ่นในรัฐยะไข่กลุ่มหนึ่ง ภาษาพูดของชาวยะไข่นั้นถือเป็นสำเนียงหนึ่งในภาษาพม่า และยังมีร่องรอยของภาษาพม่าโบราณหลงเหลืออยู่ อันมีเสียงบางเสียงซึ่งในภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งไม่มีใช้แล้ว เช่น เสียง ร โดยภาษายะไข่นั้นยังรักษาเสียง ร ไว้ได้ครบแทบทุกตำแหน่ง หากต้องการสะกดคำที่มีอักษร ร จึงควรดูที่การออกเสียงของภาษายะไข่ ทั้งนี้เนื่องจากยะไข่ห่างไกลศูนย์กลางจากพม่า โดยมีเทือกเขาอาระกันโยมาขวางกั้นอยู่ อีกทั้งยะไข่เองก็เคยมีอิสรภาพในการปกครองตนเองเป็นอาณาจักรอยู่ร่วมหลายร้อยปี ภายหลังจากการมาของอังกฤษ ยะไข่ถูกมองว่าต่างจากชาวพม่าทั่วไป ดินแดนยะไข่จึงถูกกำหนดเป็นรัฐหนึ่งเฉกเช่นเดียวกับชนกลุ่มน้อยในพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลผสมแห่งชาติแห่งสหภาพพม่า

รัฐบาลผสมแห่งชาติแห่งสหภาพพม่า (National Coalition Government of the Union of Burma; NCGUB; ภาษาพม่า:, ออกเสียง) เป็นองค์กรที่อ้างว่าเป็นรัฐบาลพลัดถิ่นของพม่า ประกอบด้วย พรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย พรรคประชาธิปไตยแห่งชาติ พันธมิตรแห่งชาติฉิ่นเพื่อประชาธิปไตย องค์กรประชาธิปไตยเพื่อเอกภาพแห่งชาติกะยัน พันธมิตรอาระกันเพื่อประชาธิปไตย มีศูนย์กลางอยู่ที่รัฐแมรีแลนด์ สหรัฐ ในวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรัฐบาลผสมแห่งชาติแห่งสหภาพพม่า · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชาน

รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรัฐชาน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชิน

รัฐชิน (ချင်းပြည်နယ်) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศพม่า มีเมืองหลวงอยู่ที.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรัฐชิน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐพม่า

รัฐพม่า (State of Burma; ဗမာ)เป็นรัฐที่จัดตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรัฐพม่า · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกะยา

รัฐกะยา (ကယားပြည်နယ်) หรือชื่อเดิม รัฐกะเรนนี เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรัฐกะยา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกะฉิ่น

รัฐกะฉิ่น (ကချင်ပြည်နယ်; กะฉิ่น: Jingphaw Mungdaw) เป็นเขตปกครองหนึ่ง ตั้งอยู่ทางตอนเหนือสุดของประเทศพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรัฐกะฉิ่น · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกะเหรี่ยง

รัฐกะเหรี่ยง หรือ รัฐกะยีน (ကရင်ပြည်နယ်) เป็นรัฐของประเทศพม่า มีเมืองหลวงอยู่ที่พะอาน.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรัฐกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมอญ

รัฐมอญ (မွန်ပြည်နယ်; တွဵုရးဍုၚ်မန်၊ ရးမညဒေသ) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรัฐมอญ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับเขตการปกครอง สำหรับชาติพันธุ์ ดูที่ ยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ รัฐยะไข่ (ရခိုင်ပြည်နယ်, สำเนียงยะไข่ ระไข่ง์ เปร่เหน่, สำเนียงพม่า ยะไข่ง์ ปหฺยี่แหฺน่) ชื่อเดิม รัฐอาระกัน (Arakan) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรัฐยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนาคาแลนด์

รัฐนาคาแลนด์ราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรัฐนาคาแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โกนบอง

ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิราช

ราชาธิราช หรือชื่อในภาษาพม่า ยาซาดะริต อเยดอว์บอง (ရာဇာဓိရာဇ် အရေးတော်ပုံ) เป็นชื่อของพงศาวดารพม่า ซึ่งมีเนื้อหาว่าด้วยประวัติศาสตร์ของอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญตั้งแต่ พ.ศ. 1830 ถึง พ.ศ. 1964 รายละเอียดภายในตัวพงศาวดารประกอบด้วยเรื่องราวของความขัดแย้งภายในราชสำนัก การกบฏ เรื่องราวทางการทูต การสงคราม เป็นต้น เนื้อหาประมาณกึ่งหนึ่งของเรื่องอุทิศพื้นที่ให้กับรัชกาลของพระเจ้าราชาธิราช โดยลงลึกในรายละเอียดของ สงครามสี่สิบปี ระหว่างอาณาจักรหงสาวดีของมอญ กับอาณาจักรอังวะของพม่า ภายใต้การนำของพระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง และอุปราชมังกะยอชวาThaw Kaung 2010: 29–30 ต้นฉบับของเรื่องราชาธิราชฉบับภาษาพม่ามาจากพงศาวดารภาษามอญเรื่อง "พงศาวดารกรุงหงสาวดี" ("Hanthawaddy Chronicle") และได้รับการแปลเป็นภาษาพม่าโดยพญาทะละ เสนาบดีและกวีชาวมอญซึ่งรับราชการในอาณาจักรพม่าสมัยราชวงศ์ตองอู นับได้ว่าเป็นเอกสารเกี่ยวกับชาวมอญในดินแดนพม่าตอนล่างที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่หลงเหลืออยู่Aung-Thwin 2005: 133–135 และอาจเป็นพงศาวดารมอญเพียงฉบับเดียวที่เหลือรอดจากการเผาทำลายเมืองพะโค (หงสาวดี) โดยกบฏชาวมอญภายใต้การนำของอดีตขุนนางในอาณาจักรหงสาวดีในปี พ.ศ. 2107Harvey 1925: xviii สำเนาใบลานของเรื่องราชาธิราชฉบับพญาทะละปัจจุบันเหลือรอดมาเพียง 4 ชุด สันนิษฐานว่าทำขึ้นในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ 23 (คริสต์ศตวรรษที่ 18) นอกจากนี้ยังมีฉบับแปลฉบับอื่นๆ อยู่อีก รวมทั้งสิ้น 9 ฉบับ ตามการวิเคราะห์โดยนายปันหละเมื่อปี พ.ศ. 2511 นายปันหละได้แปลราชาธิราชฉบับหนึ่งกลับเป็นภาษามอญเมื่อปี พ.ศ. 2501 และเรียบเรียงเรื่องราชาธิราชขึ้นใหม่อีก 1 ฉบับเป็นภาษาพม่า (นับเป็นราชาธิราชฉบับที่ 10) โดยสังเคราะห์ข้อมูลจากราชาธิราชฉบับพญาทละ ฉบับ "ปากลัด" และบันทึกจากพงศาวดารพม่าฉบับหอแก้ว (มานนานยาซะเวง) รวมทั้งอาศัยข้อมูลเพิ่มเติมจากการวิจัยสมัยใหม่Pan Hla 1968: 3–4.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษา

รายชื่อภาษาต่าง ๆ ทั่วโลกเรียงตามลำดับตัวอักษร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรายชื่อภาษา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1

ตารางนี้ประกอบด้วยรหัสทั้งหมดของ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรายชื่อรหัสภาษา ISO 639-1 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสายการบินในประเทศพม่า

รายชื่อ สายการบิน ใน ประเทศพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรายชื่อสายการบินในประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ที่ออกอากาศไทยลีก

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ ที่ออกอากาศและถ่ายทอดสดการแข่งขันไทยลีก ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกสูงสุดของประเทศไทย โดยปัจจุบันมีผู้ออกอากาศหลักคือทรูวิชันส์ ซึ่งออกอากาศถ่ายทอดสดฤดูกาลละ 612 นัด รวมไปถึงรายการไฮไลต์ย้อนหลังผ่านทรูสปอร์ต และ การแข่งขันแบบเทปย้อนหลังอีกด้วย ในปัจจุบันมีการถ่ายทอดสดผ่านสัญญาณในประเทศไทย โดยบรรยายเกมเป็นภาษาไทย ส่วนกราฟิกต่าง ๆ ในเกมจะมีทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและรายชื่อสถานีโทรทัศน์ที่ออกอากาศไทยลีก · ดูเพิ่มเติม »

ราวาง

ราวาง หรือ กะฉิ่นราวาง (อังกฤษ: Rawang) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในทางตอนเหนือของรัฐกะฉิ่น ซึ่งโดยมากจะอยู่บริเวณเมืองปูเตา และบริเวณเชิงเขาคากาโบราซี เป็นหนึ่งในหกเผ่าหลักของกลุ่มกะฉิ่น และพบในรัฐอรุณาจัลประเทศของอินเดียด้วย มีภาษาเป็นของตนเองคือภาษาราวาง.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและราวาง · ดูเพิ่มเติม »

ละองละมั่ง

thumb thumb ละองละมั่ง (Eld's deer, Thamin, Brow-antlered deer; Pitraa, Fickela, Meijaard, Groves (2004). Evolution and phylogeny of old world deer. Molecular Phylogenetics and Evolution 33: 880–895.) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง เป็นกวางขนาดกลาง ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแดง แต่สีขนจะอ่อนลงเมื่อเข้าสู่ฤดูร้อน ขนหยาบและยาว ในฤดูหนาวขนจะยาวมาก แต่จะร่วงหล่นจนดูสั้นลงมากในช่วงฤดูร้อน ในตัวผู้จะเรียกว่า ละอง ตัวเมียซึ่งไม่มีเขาจะเรียกว่า ละมั่ง แต่จะนิยมเรียกคู่กัน สันนิษฐานว่าเพี้ยนมาจากภาษาเขมรคำว่า "ลำเมียง" (រេបីស) ละองตัวที่ยังโตไม่เต็มวัยจะมีขนแผงคอที่ยาว ลูกแรกเกิดจะมีจุดสีขาวกระจายอยู่รอบตัว และจุดนี้จะจางหายเมื่ออายุมากขึ้น ขอบตาและริมฝีปากล่างมีสีขาว มีความยาวลำตัวและหัว 150–170 เซนติเมตร ความยาวหาง 220–250 เซนติเมตร น้ำหนัก 95–150 กิโลกรัม ถูกแบ่งออกเป็น 3 ชนิดย่อย ในประเทศไทยพบ 2 ชนิดได้แก่ ละองละมั่งพันธุ์ไทยที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ละองละมั่งพันธุ์พม่า ซันไก.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและละองละมั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ลักษณะน้ำเสียง

ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาลักษณะน้ำเสียง หรือ ภาษาระดับเสียง-ลักษณะน้ำเสียง เป็นภาษาที่ใช้วรรณยุกต์และลักษณะน้ำเสียงร่วมกันในระบบ ภาษาพม่าและภาษาจีนเซี่ยงไฮ้จัดอยู่ในภาษากลุ่มนี้ ภาษาพม่ามักจะถูกนิยามว่าเป็นภาษาวรรณยุกต์ แต่ระดับเสียงที่แตกต่างกันนั้นได้รับอิทธิพลมาจากลักษณะน้ำเสียงของสระที่แตกต่างกัน โดยไม่สามารถแยกเป็นอิสระจากกันได้ หมวดหมู่:สัทศาสตร์.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและลักษณะน้ำเสียง · ดูเพิ่มเติม »

วัดม่อนปู่ยักษ์

วัดม่อนปู่ยักษ์ ตั้งอยู่ในตำบลพระบาท ชุมชนบ้านป่าขาม2 อำเภอเมืองลำปาง เป็นวัดที่มีสถาปัตยกรรมสวยงามแบบพม่า จึงเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศเข้าชมความสวยงามของอุโบสถวัด เป็นวัดที่สร้างจากพระธุดงค์ชาวพม่า ลักษณะที่ตั้งวัดอยู่บนเนินเขา สูงชันขึ้นไปลำบาก จึงเรียกว่า"ม่อน" ตามภาษาพม่า และมีเจ้าอาวาสชาวพม่าที่มีรูปร่างสูงใหญ่กว่าคนธรรมดา ชาวบ้านจึงเรียกว่า "ม่อนปู่ยักษ์" หมวดหมู่:วัดในจังหวัดลำปาง.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและวัดม่อนปู่ยักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วันผู้เสียสละแห่งพม่า

วันผู้เสียสละแห่งพม่า (Martyrs' Day; ภาษาพม่า: အာဇာနည်နေ့, ออกเสียง) เป็นวันหยุดแห่งชาติในพม่า ตรงกับวันที่ 19 กรกฎาคมของทุกปี เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ที่นายพลอองซานและรัฐมนตรีคนอื่นๆของรัฐบาลเฉพาะกาลก่อนได้รับเอกราช 7 คน ถูกสังหารในวันเดียวกันคือ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและวันผู้เสียสละแห่งพม่า · ดูเพิ่มเติม »

วากยสัมพันธ์

ในทางภาษาศาสตร์ วากยสัมพันธ์ (อังกฤษ: syntax) หมายถึง การศึกษาว่าด้วยกฎของความสัมพันธ์ของแบบแผนองค์ประกอบของประโยคในภาษา อันเป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ของภาษา ในภาษาไทย "วากยสัมพันธ์" เป็นส่วนหนึ่งของหลักไวยกรณ์ไทยที่กำหนดขึ้นเป็นหนึ่งในแบบแผนหรือไวยกรณ์ของภาษาไทย ซึ่งประกอบด้วย 4 แบบแผนหลัก ได้แก่ อักขรวิธี ซึ่งศึกษาว่าด้วยอักษร, วจีวิภาค ศึกษาว่าด้วยคำ, วากยสัมพันธ์ ศึกษาว่าด้วยความสัมพันธ์ของคำในประโยค, และ ฉันทลักษณ์ คือ กฎเกณฑ์ของการเขียนภาษาในรูปแบบต่างๆ วากยสัมพันธ์ ยังเป็นชื่อตำราไวยากรณ์ไทยว่าด้วยประโยค และความเกี่ยวข้องของส่วนต่างๆ ในประโยค การศึกษากฎหรือความสัมพันธ์ของภาษาอย่างเป็นแบบแผน ที่ควบคุมการเรียงคำเป็นวลี และวลีเป็นปร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและวากยสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤติอู ถั่น

วิกฤติอู ถั่น (U Thant's Funeral Crisis หรือ U Thant Crisis ภาษาพม่า: ဦးသန့် အရေးအခင်း) เป็นลำดับเหตุการณ์ของการประท้วงและการก่อการกำเริบในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและวิกฤติอู ถั่น · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาพม่า

ลโก้ของวิกิพีเดียภาษาพม่า วิกิพีเดียภาษาพม่าเป็นวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาพม่า และปัจจุบันมีบทความประมาณ 31,273 บทความ 2 เมษายน พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและวิกิพีเดียภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ

ันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ (ไฟล์:Bscript Naingngandaw-Ayecha.png, State Peace and Development Council, อักษรย่อ SPDC) เป็นเครื่องมือการปกครองของประเทศพม่า เดิมใช้ชื่อว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (State Law and Order Restoration Council) หรือสล็อร์ก (SLORC) ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2531 หลังความวุ่นวายทางการเมืองที่ดำเนินมานับตั้งแต่มีการยกเลิกธนบัตรบางชนิดโดยไม่มีการชดใช้จากรัฐบาล การดำเนินการดังกล่าวสร้างความไม่พอใจให้กับนักศึกษา ประกอบกับทำให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจร้ายแรง ความไม่พอใจแพร่กระจายออกไปจนกระทั่งเกิดการประท้วงและปะทะกันจนนองเลือดในที่สุด ประชาชนจำนวนมากเสียชีวิตเนื่องจากทหารใช้กำลังปราบปรามโดยไม่ยับยั้ง รัฐบาลกำหนดให้มีการเลือกตั้งในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2533 ท่ามกลางความแปลกใจของประชาชน ชัยชนะอย่างท่วมท้นของพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตยซึ่งเป็นพรรคฝ่ายค้านไร้ความหมาย เมื่อสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐปฏิเสธการเปิดประชุมสภาใหม่ การเปลี่ยนชื่อเป็นชื่อที่ใช้ในปัจจุบันมีขึ้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 หลังจากพม่าเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนในเดือนกรกฎาคมปีเดียวกัน โดยเกิดขึ้นท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์จากทั้งภายในอาเซียนเองและต่างประเทศ นอกจากนี้การเปลี่ยนชื่อดังกล่าวยังถูกมองว่าเป็นการพยายามปรับปรุงภาพลักษณ์ของประเทศในสายตาของนานาชาติ แม้ว่าการเปลี่ยนชื่อจะแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงวาระสำคัญของชาติ แต่ลักษณะอำนาจนิยมของรัฐบาลยังคงมีอยู.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและสภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สภาแห่งชาติแห่งสหภาพพม่า

แห่งชาติของสหภาพพม่า (ภาษาอังกฤษ: National Council of the Union of Burma; ภาษาพม่า: ပြည်ထောင်စုမြန်မာနိုင်ငံအမျိုးသားကောင်စီ; ออกเสียง) เป็นกลุ่มต่อต้านรัฐบาลในพม่า ประกอบขึ้นด้วยตัวแทนของกองกำลังติดอาวุธและพรรคการเมืองที่ลี้ภัย ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 22 กันยายน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและสภาแห่งชาติแห่งสหภาพพม่า · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน ในปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า

รณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า (ပြည်ထောင်စု ဆိုရှယ်လစ်သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, Pyihtaunghcu Soshallaitsammat Myanmar Ninengantaw) ตั้งแต่ปี 1974 ถึง 1988 สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (ပြည်ထောင်စု မြန်မာနိုင်ငံတော်, Pyidaunzu Myăma Nainngandaw) ตั้งแต่ 1962 ถึง 1974 เป็นรัฐสังคมนิยมในประเทศพม่า ตั้งแต่ปี 1962 ถึง 1988 โดยมีเป้าหมายจะพัฒนาเศรษฐกิจ ลดอิทธิพลจากต่างประเทศในพม่าและเพิ่มบทบาทของทหาร สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่าก่อตั้งจากการปฏิวัติสังคมนิยมที่นำโดย เน วิน และคณะปฏิวัติ (RC) ในปี 1962 ได้กระทำภายใต้ข้ออ้างของวิกฤตเศรษฐกิจศาสนาและการเมืองในประเทศโดยเฉพาะประเด็นเกี่ยวกับสหพันธรั.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (พ.ศ. 2491–2505)

รณรัฐแห่งสหภาพพม่า เป็นประเทศพม่าหลังจากได้รับเอกราชจากอังกฤษและปกครองด้วยรัฐบาลของพลเรือน การปกครองในยุคนี้สิ้นสุดลงใน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า (พ.ศ. 2491–2505) · ดูเพิ่มเติม »

สุริโยไท

ริโยไท เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ เน้นถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของตัวละครเอก คือ พระสุริโยไท พระมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและสุริโยไท · ดูเพิ่มเติม »

สงกรานต์

ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลย่างกุ้งยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลย่างกุ้งยูไนเต็ด (ရန်ကုန် ယူနိုက်တက် ဘောလုံး အသင်း) เป็นสโมสรฟุตบอลจากนครย่างกุ้ง ประเทศพม่า ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและสโมสรฟุตบอลย่างกุ้งยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

หมาย

หมาย เป็นเงินกระดาษชนิดแรกในระบบเงินตราของประเทศไทย โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้ทำขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและหมาย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อง ทินอ่อง

หม่อง ทินอ่อง (Htin Aung; ထင်အောင်; ค.ศ. 1909-1978) เป็นนักประพันธ์และนักวิชาการประวัติศาสตร์พม่าและวัฒนธรรมพม่าคนสำคัญ สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ดและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ มีผลงานเขียนเป็นหนังสือหลายเล่มเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมพม่าทั้งในภาษาพม่าและภาษาอังกฤษ ผลงานภาษาอังกฤษของเขานั้นได้เปิดมุมมองที่เป็นที่ต้องการมากในการศึกษาประวัติศาสตร์พม่าแบบสากล ซึ่งจนถึงขณะนี้มีเฉพาะนักประวัติศาสตร์อังกฤษในสมัยอาณานิคมเท่านั้น ผลงานที่สำคัญ อาทิ ประวัติศาสตร์พม่า, Folk Elements in Burmese Buddhism และ Burmese Drama.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและหม่อง ทินอ่อง · ดูเพิ่มเติม »

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

หลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เป็นระบบการทับศัพท์ที่นิยมใช้มากที่สุดระบบหนึ่งในประเทศไทย โดยคณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การทับศัพท์และคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา (เดิมคือราชบัณฑิตยสถาน) เป็นผู้กำหนดและเสนอหลักเกณฑ์ต่อสำนักงานราชบัณฑิตยสภาเพื่อออกประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภาให้ใช้หลักเกณฑ์ จากนั้น สำนักงานราชบัณฑิตยสภาจะเป็นผู้เสนอหลักเกณฑ์ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แล้วลงประกาศเผยแพร่ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของราชบัณฑิตยสถานและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

อองจี

อองจี อองจี (Aung Gyi; ภาษาพม่า) เป็นทหารที่เคยใกล้ชิดกับนายพลเน วิน ได้เป็นรองประธานสภาปฏิวัติและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรมใน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและอองจี · ดูเพิ่มเติม »

อองซานซูจี ผู้หญิงท้าอำนาจ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและอองซานซูจี ผู้หญิงท้าอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรพม่า

ตัวพยัญชนะพม่า ตั้งแต่ กะ ถึง อะ (ถอดเป็นอักษรไทยตามรูป จากซ้ายไปขวาและบนลงล่าง) ก,ข, ค, ฆ, ง, จ, ฉ, ช, ฌ, ญ, ฏ, ฐ, ฑ, ฒ, ณ, ต, ถ, ท, ธ, น, ป, ผ, พ, ภ, ม, ย, ร, ล, ว, ส, ห, ฬ, อ อักษรพม่า (မြန်မာအက္ခရာ) เป็นอักษรในตระกูลอักษรพราหฺมี ใช้ในประเทศพม่าสำหรับการเขียนภาษาพม่า ในสมัยโบราณ การเขียนอักษรพม่าจะกระทำโดยการจารลงในใบลาน ตัวอักษรพม่าจึงมีลักษณะโค้งกลมเพื่อหลบร่องใบลาน อักษรพม่าเขียนจากซ้ายไปขวาเหมือนอักษรไทย และอักษรภาษาอื่น ๆ ในตระกูลอักษรพราหฺมี อักษรพม่าประกอบด้วยพยัญชนะ และสระ โดยมีพยัญชนะ 33 ตัว ตั้งแต่ (กะ) ถึง (อะ) ซึ่งเสียงของพยัญชนะจะถูกเปลี่ยนแปลงโดยสระที่เขียนเหนือ, ใต้, หรือข้าง ๆ พยัญชนะ เหมือนกับอักษรภาษาอื่น ๆ ในตระกูลอักษรพราหฺมี อักษรพม่าใกล้เคียงกับอักษรมอญมาก แต่วิธีการออกเสียงเมื่อประสมสระต่างกัน ทั้งนี้เพราะความแตกต่างของทั้ง 2 ภาษา เช่นภาษาพม่ามีวรรณยุกต์แต่ภาษามอญไม่มี กล่าวกันว่าพม่ารับเอาอักษรมอญมาดัดแปลงเมื่อเข้าครอบครองอาณาจักรมอญโบราณ ในทำนองเดียวกันเมื่อพม่าเข้าครอบครองอาณาจักรไทใหญ่ ชาวไทใหญ่ได้นำอักษรพม่าบางตัวไปเขียนภาษาบาลีเพราะอักษรไทใหญ่มีไม่พอ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและอักษรพม่า · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไทใหญ่

อักษรไทใหญ่ (ไทใหญ่ː လိၵ်ႉတူဝ်တႆး ลิกตัวไท, สัทอักษร: /lḭk.tǒ.táj/) พัฒนามาจากอักษรไทใต้คงเก่า ซึ่งเป็นอักษรที่ใช่ในหมู่ชาวไทใหญ่ทั้งหมด โดยยังคงมีลักษณะกลม เนื่องจากไม่ได้เปลี่ยนไปเขียนด้วยพู่กันเหมือนอักษรไทใต้คง เมื่อรัฐฉานตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษเมื่อ..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและอักษรไทใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรมยีนไซง์

อาณาจักรมยีนไซง์ (Myinsaing Kingdom; မြင်စိုင်းခေတ်) อาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนกลางระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและอาณาจักรมยีนไซง์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหงสาวดี

อาณาจักรหงสาวดี (ဟံသာဝတီ ပဲခူး နေပြည်တော်;,; บางครั้งเรียก กรุงหงสาวดี หรืออย่างสั้น พะโค) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่างตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและอาณาจักรหงสาวดี · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอังวะ

อาณาจักรอังวะ (Ava Kingdom; အင်းဝခေတ်) อาณาจักรอิสระที่ปกครอง พม่าตอนบน ระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและอาณาจักรอังวะ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรซะไกง์

อาณาจักรสะกาย (Sagaing Kingdom; စစ်ကိုင်း နေပြည်တော်) อาณาจักรเล็ก ๆ ที่ปกครองโดยราชสกุลสายเล็ก ๆ ของ อาณาจักรมยินซาง เดิมสะกายเป็นส่วนหนึ่งของ อาณาจักรปีนยะ ระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและอาณาจักรซะไกง์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรปีนยะ

อาณาจักรปีนยะ (Pinya Kingdom; ပင်းယခေတ်) อาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนกลางระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและอาณาจักรปีนยะ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรแปร

อาณาจักรแปร (Prome Kingdom; ဒုတိယ သရေခေတ္တရာ နေပြည်တော်) อาณาจักรเล็ก ๆ ที่มีอายุยาวนานกว่า 6 ทศวรรษระหว่าง..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและอาณาจักรแปร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจันทบุรี

ังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 238 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุท.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จาตุมหาราชิกา

วาดจตุโลกบาลหรือจตุมหาราชทั้ง 4 ศิลปะพม่า (จากซ้าย) ท้าวธตรฐ ท้าววิรุฬหก ท้าววิรูปักษ์ และท้าวกุเวร ตามคติจักรวาลวิทยาในศาสนาพุทธ จาตุมหาราชิกา (Cātummahārājika, จาตุมฺมหาราชิก; Cāturmahārājikakāyika, จาตุรฺมหาราชิกกายิก) เป็นชื่อสวรรค์ชั้นแรกและเป็นชั้นล่างที่สุดในฉกามาพจร (สวรรค์ในกามภูมิตามคติไตรภูมิ) เรียกสั้น ๆ ว่า ชั้นจาตุม ก็มี มีที่ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาพระสุเมรุ จาตุมหาราชิกา โดยศัพท์แปลว่า "แห่งมหาราชทั้งสี่" เมื่อแปลแบบเอาความจึงหมายถึง "แดนเป็นที่อยู่ของท้าวมหาราชทั้งสี่" หรือ "อาณาจักรของท้าวมหาราช 4 องค์" กล่าวคือ สวรรค์ชั้นนี้เป็นดินแดนที่จอมเทพ 4 องค์ผู้รักษาคุ้มครองโลกใน 4 ทิศ ซึ่งเรียกว่า ท้าวโลกบาล ท้าวจตุโลกบาล หรือ ท้าวจาตุมหาราช หรือ สี่ปวงผี ปกครองอยู่องค์ละทิศ เทวดาชั้นจาตุมหาราชิกามีอายุ 500 ปีทิพย์ (30 วันเป็น 1 เดือน 12 เดือนเป็น 1 ปี) โดย 1 วันและ 1 คืนของสวรรค์ชั้นนี้ เท่ากับ 50 ปีของโลกมนุษย์ คำนวณเป็นปีโลกมนุษย์ได้ 9,000,000 ปีโลกมนุษย์ (บางแห่งกล่าวว่าเท่ากับ 90,000 ปีโลกมนุษย์).

ใหม่!!: ภาษาพม่าและจาตุมหาราชิกา · ดูเพิ่มเติม »

ทะขิ่นเมียะ

ทะขิ่นเมียะ ทะขิ่นเมียะ (Thakin Mya; ภาษาพม่า: သခင်မြ, ออกเสียง) เกิดเมื่อ 7 ตุลาคม..2440 เป็นทนายความและนักกฏหมายชาวพม่า สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยย่างกุ้ง เคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกิจการภายในในพม่าก่อนได้รับเอกราช เมียะและคณะรัฐมนตรีอีก 6 คนรวมทั้งนายกรัฐมนตรี อองซาน ถูกลอบสังหารในวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและทะขิ่นเมียะ · ดูเพิ่มเติม »

ทิวเขาถนนธงชัย

ทิวเขาถนนธงชัย เป็นแนวทิวเขาทางด้านตะวันตกของภาคเหนือ เริ่มจากจุดที่บรรจบกับทิวเขาแดนลาว ทอดตัวเป็นแนวยาวลงมาทางตอนล่างของภาค แบ่งออกเป็น 3 แนว ได้แก.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและทิวเขาถนนธงชัย · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง

ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง (พม่า: ရန်ကုန်အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာလေဆိပ်) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ในตำบลมีนกะลาโดน ทางเหนือ 15 กิโลเมตรจากตัวเมืองย่างกุ้ง ดำเนินงานโดยรัฐบาล เป็นท่าอากาศยานนานาชาติแห่งหลักของพม่า และเป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ และท่าอากาศยานนานาชาติเนปยีดอ อาคารผู้โดยสารหลังเก่าปัจจุบันถูกใช้งานสำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ ในขณะที่อาคารผู้โดยสารหลังใหม่ที่เริ่มเปิดใช้งานเมื่อ พฤษภาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ขุนรองปลัดชู (ภาพยนตร์)

นรองปลัดชู หรือในชื่อเต็มว่า ขุนรองปลัดชู วีรชนคนถูกลืม ภาพยนตร์ไทยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย ในสงครามพระเจ้าอลองพญา ออกฉายในช่วงกลางปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและขุนรองปลัดชู (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ขุนไกรพลพ่าย

นไกรพลพ่าย (/ขุน-ไกรฺ-พน-ละ-พ่าย/) หรือเรียกโดยย่อว่าขุนไกร เป็นชื่อบรรดาศักดิ์ฝ่ายทหารของตัวละครตัวหนึ่งในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ขุนไกรเป็นบิดาของพลายแก้วผู้ต่อมามีบรรดาศักดิ์ว่า "ขุนแผน" และเป็นสามีของนางทองประศรี ขุนไกรต้องโทษประหารชีวิตตั้งแต่บุตรยังเล็ก.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและขุนไกรพลพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

ขนมเข่ง

หนียนเกา, เค้กข้าว, เค้กประจำปี หรือ เค้กตรุษจีน คืออาหารที่ทำจากข้าวเหนียวเพื่อบริโภคในอาหารจีน ขนมเข่งสามารถพบได้ในซุปเปอร์มาร์เก็ตของชาวเอเชีย และในร้านขายอาหารเพื่อสุขภาพ ถึงแม้ขนมเข่งจะรับประทานได้ตลอดปี แต่จะเป็นที่นิยมที่สุดในช่วงตรุษจีน คนนิยมรับประทานขนมเข่งในช่วงนี้ เพราะคำว่า เหนียนเกา ออกเสียงเหมือนคำว่า ปีที่สูงขึ้น ในภาษาจีน.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและขนมเข่ง · ดูเพิ่มเติม »

ความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง

วามขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง (พ.ศ. 2492 – ปัจจุบัน) เป็นการขัดกันด้วยอาวุธในพม่า ซึ่งถือว่าเป็นสงครามกลางเมืองที่ยาวนานที่สุดในโลก ขบวนการชาตินิยมกะเหรี่ยงได้ต่อสู้เพื่อสิทธิในการปกครองตนเองหรือเอกราชจากพม่า ชาวกะเหรี่ยงได้ต่อสู้เพื่อให้รัฐกะเหรี่ยงเป็นเอกราชตั้งแต..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและความขัดแย้งระหว่างพม่ากับกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

คำตี่

ำตี่ ขำติ หรือ ชาวไทคำตี่ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มหนึ่งในอัสสัม และทางภาคเหนือของประเทศพม่า ในรัฐกะฉิ่น เมืองปูตาโอ แบ่งได้ เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไทคำตี่หลวง (ในประเทศพม่า) และ กลุ่มสิงคะลิงคำตี่ (ในประเทศอินเดีย).

ใหม่!!: ภาษาพม่าและคำตี่ · ดูเพิ่มเติม »

คำให้การชาวกรุงเก่า

ำให้การชาวกรุงเก่า เป็นหนังสือพงศาวดารบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยโดยเฉพาะช่วงอาณาจักรอยุธยา ตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักร จนกระทั่งเสียแก่พม่าใน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและคำให้การชาวกรุงเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง พม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฏาน อินเดียและปากีสถาน ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผู้พูดภาษาทิเบตทุกสำเนียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น George van Driem เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศและดินแดนต่างๆในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ตองจี

ตองจี (ไทใหญ่:, ต่องกฺยี๊; Taunggyi) เป็นเมืองหลวงของรัฐชานในประเทศพม่า ห่างจากอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 480 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนภูเขาสูง เนื้อที่ประมาณ 24 ตารางกิโลเมตร อากาศค่อนข้างเย็นตลอดปี เพราะที่นี่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 4,712 ฟุต ชื่อตองจีเป็นภาษาพม่า มาจากคำว่า ตอง หรือ ต่อง แปลว่า ภูเขา และ จี แปลว่า ใหญ่ ประชากรร้อยละ 95 นั้นเป็นชาวปะโอ (Pa-Oh).

ใหม่!!: ภาษาพม่าและตองจี · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ กำกับการแสดงโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล มี 6 ภาค ทุนสร้าง 700 ล้านบาท (ในครั้งแรกกำหนดให้มี 5 ภาค) เป็นภาคต่อจากภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท โดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ได้วางเป้าหมายเรื่องนี้ไว้ว่าจะต้องทำให้ดีกว่าภาพยนตร์เรื่อง "สุริโยไท" ในทุกด้าน โดยมีขอบเขตการทำงานใหญ่กว่า, อลังการกว่า, ฉากต่าง ๆ มีความยิ่งใหญ่อลังการกว่า, นักแสดงหลัก และนักแสดงประกอบมีจำนวนมากกว่า เครื่องมือ และเทคโนโลยีต่าง ๆ มากกว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 72 พรรษ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา เป็นภาพยนตร์ภาคที่หกซึ่งเป็นภาคสุดท้ายในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ภาพยนตร์ภาคสองในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดง.ต.วันชนะ สวัสดี, นพชัย ชัยนาม, ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ, จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์, นภัสกร มิตรเอม, อินทิรา เจริญปุระ,.ต.คมกริช อินทรสุวรรณ, ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง, พ.ท.วินธัย สุวารี, สรพงษ์ ชาตรี เขียนบทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี เป็นภาพยนตร์ไทย ภาพยนตร์ภาคที่สามในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยในภาคนี้จะกล่าวถึงสงครามระหว่างไทยและพม่า เน้นฉากสงครามทางเรือ กำหนดฉายในวันที่ 31 มีนาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง เป็นภาพยนตร์ภาคที่สี่ในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 11 สิงหาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี เป็นภาพยนตร์ภาคที่ห้าในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 29 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวซอ-บวา

ปลาซิวซอ-บวา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Sawbwa resplendens; ซอ-บวา เป็นคำภาษาพม่า แปลว่า "เจ้าฟ้า") เป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) และเป็นปลาชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Sawbwa ปลาซิวซอ-บวาเป็นปลาถิ่นเดียวในทะเลสาบอินเล รัฐฉาน ในประเทศพม่า ในอุณหภูมิน้ำค่อนข้างเย็น คือ ประมาณ 26-28 องศาเซลเซียส มีรูปร่างเรียวยาว แบนข้าง ส่วนหัวเล็ก ปากเล็กเป็นมุมแหลม หางคอดเรียว ใบหางรูปแฉกตัววี ครีบบางใส เมื่อโตเต็มที่ปลาซิวซอ-บวามีความยาวประมาณ 35 มิลลิเมตร เพศผู้มีสีเงินเหลือบฟ้า ส่วนหัวและปลายหางมีสีแดง เพศเมียและปลาที่ยังไม่โตเต็มวัยมีสีเทา มีจุดสีดำตรงช่องทวาร ไม่มีเกล็ด กินแพลงก์ตอน, ตัวอ่อนของแมลงน้ำและตะไคร่น้ำ เป็นอาหาร มีนิสัยรักสงบ ตื่นตกใจ ชอบอยู่รวมเป็นฝูง ในแวดวงปลาสวยงามในประเทศไทยมีผู้เพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว โดยเรียกกันว่า "ปลาซิวซับวา".

ใหม่!!: ภาษาพม่าและปลาซิวซอ-บวา · ดูเพิ่มเติม »

ป่าโลกล้านปี

ป่าโลกล้านปี เป็นตอนที่ห้าของเพชรพระอุมาจำนวน 4 เล่ม ได้แก่ป่าโลกล้านปี เล่ม 1 - 4.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและป่าโลกล้านปี · ดูเพิ่มเติม »

นักรบนักศึกษาพม่า

นักรบนักศึกษาพม่า (Vigorous Burmese Student Warriors; ภาษาพม่า: မြန်မာ ကျောင်းသား စစ်သည်တော်များ အဖွဲ့) เป็นองค์กรที่ต่อต้านการปกครองของกองทัพพม่า องค์กรนี้กลายเป็นองค์กรก่อการร้ายใน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและนักรบนักศึกษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

แกงฮังเล

แกงฮังเล หรือ แกงฮินเล เป็นอาหารไทยประเภทแกงรสชาติเค็ม - เปรี้ยว แกงฮังเลมีต้นกำเนิดจากประเทศพม่า โดยคำว่า "ฮิน" ในภาษาพม่า หมายถึง แกง และ "เล" ในภาษาพม่า หมายถึง เนื้อสัตว์ แกงฮังเลได้รับความนิยมจากชาวไทยภาคเหนือและแคว้นสิบสองปันนา ประเทศจีน วิธีปรุงแกงฮังเลมีสองแบบคือแบบม่านและแบบเชียงแสน โดยแบบม่านได้รับความนิยมมากกว่า แกงฮังเลม่านรสชาติออกเปรี้ยวเค็ม น้ำขลุกขลิก ใส่ขิง น้ำมะขามเปียก กระเทียมดอง ถั่วลิสง น้ำตาลอ้อย แกงฮังเลเชียงแสนเพิ่มถั่วฝักยาว พริก หน่อไม้ดอง งาคั่ว ส่วนประกอบสำคัญจะต้องมีผงแกงฮังเลหรือผงมัสล่าซึ่งเป็นผงเครื่องเทศแบบผสมแบบเดียวกับการัม มาซาลาของอินเดีย น้ำพริกแกงประกอบด้วยพริกแห้ง เกลือ ข่าแก่ ตะไคร้ กระเทียม หอมแดง แกงฮังเลแบบไทใหญ่ น้ำขลุกขลิกและกินกับมะม่วงสะนาบซึ่งเป็นมะม่วงสับ ยำกับกะปิคั่ว กุ้งแห้งป่น และกระเทียมเจียว.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและแกงฮังเล · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำกระบุรี

แม่น้ำกระบุรี หรืออีกชื่อหนึ่งของคนในท้องถิ่นว่า แม่น้ำปากจั่น ภาษาพม่าเรียก แม่น้ำจัน (မြစ်ကြီးနား, BGN/PCGN: myitkyina) เป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่า มีความยาวตลอดสายประมาณ 60 กิโลเมตร บางแห่งว่า 95 กิโลเมตร บางแห่งว่า 125 กิโลเมตร มีต้นน้ำมาจากเทือกเขาตะนาวศรี ไหลผ่านพื้นที่อำเภอกระบุรี อำเภอละอุ่น และอำเภอเมือง จังหวัดระนอง แม่น้ำสายนี้มีลักษณะพิเศษทางภูมิประเทศที่เป็นเอกลักษณ์ เรียกว่า ชะวากทะเล หมายถึงบริเวณปากแม่น้ำมีระยะห่างระหว่างฝั่งทั้งสองค่อย ๆ ขยายกว้างออกไปจนเป็นอ่าว อันเกิดจากแผ่นดินมีการยุบตัวลง มีอิทธิพลน้ำเค็มจากทะเลเข้าไปได้ สองฝั่งแม่น้ำจึงมีสภาพนิเวศแบบป่าชายเลนไปตลอดจนถึงเขตอำเภอละอุ่น บริเวณปากคลองละอุ่นจึงเริ่มเป็นบริเวณที่แม่น้ำมีความกว้างเป็นปรกติ โดยมีความกว้างสุด 6 กิโลเมตร ก่อนออกสู่ทะเลนั้นก็มีลำน้ำสาขาไหลออกสู่แม่น้ำกระบุรี คือ คลองบางหมี คลองขี้นาค คลองลำเลียง คลองบางสองรา คลองบางใหญ่เหนือ คลองบางใหญ่ คลองละอุ่น คลองจิก คลองหลุมถ่าน คลองเส็ตกวด และคลองหินช้าง ประชาชนทั้งสองฝั่งแต่เดิมเป็นคนพื้นเมืองปักษ์ใต้ หมู่บ้านที่อยู่ตรงข้ามกับอำเภอกระบุรี (เมืองตระในอดีต) คือหมู่บ้านหมาราง หมู่บ้านตลิ่งชัน ขึ้นกับเมืองมะลิวัลย์ ซึ่งแต่เดิมเป็นดินแดนของราชอาณาจักรสยาม ได้เสียให้แก่อังกฤษไปในสมัยรัชกาลที่ 4 พร้อมกับเมืองมะริด ทวาย และตะนาวศรี แม่น้ำสายนี้ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติลำน้ำกระบุรี.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและแม่น้ำกระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โยธยานัยโมโกง

นัยโมโกง (Yodaya naing mawgun) หรือ โยธยาพ่าย เป็นวรรณกรรมภาษาพม่า ประเภทวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติแบบเดียวกับลิลิตตะเลงพ่ายและลิลิตยวนพ่ายของไทย เขียนโดยเล๊ะเวนรธา (Letwenawrahta) เพื่อสรรเสริญพระเกียรติของพระเจ้ามังระ โดยเล๊ะเวนรธา เป็นนายทหารที่เข้าร่วมในกองทัพที่มาตีอยุธยาในครั้งนั้นด้วย เนื้อหาโดยย่อของเรื่อง แบ่งเป็น 5 ภาคคือ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและโยธยานัยโมโกง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม

รงเรียนบางปะกอกวิทยาคม เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษแบบสหศึกษารับนักเรียนทั้งชายและหญิงตั้งอยู่ที่เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร จัดการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 ถึงปีที่ 6 เดิมชื่อ โรงเรียนมัธยมวัดบางปะกอก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ปัจจุบันมีเนื่อที่ 9 ไร่ 66 ตารางวา เปิดสอนในช่วงชั้นการศึกษาที่ 3 และ 4 โดยแบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 30 ห้องเรียน และมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 36 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 66 ห้องเรียน.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและโรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร

รงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อยู่ในการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2548 โดยมติของสภามหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อให้เป็นสถานที่ฝึกสอนของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และจัดการเรียนการสอนตามแนวศิลปศาสตร์ (Liberal Arts Education) มี ผ.ดร.คงศักดิ์ พร้อมเทพ เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งอยู่ที่เลขที่ 1 ถนนสนามบิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยนเรศวร (ส่วนสนามบิน) มีพื้นที่ 66 ไร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ

รงเรียนสมุทรสาครบูรณะ เป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสมุทรสาคร ปรัชญาของโรงเรียน: วิชาดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม พระพุทธรูปประจำโรงเรียน: พระศรีสมุทรสาครภูมิบาล.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและโรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

โอน-มอง

อน-มอง โอน-มอง (Ohn Maung; ภาษาพม่า: အုန်းမောင် ออกเสียง) เกิดเมื่อ 2 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและโอน-มอง · ดูเพิ่มเติม »

ไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล

China Radio International (CRI), (ก่อนหน้านี้เรียกว่า Radio Beijing และชื่อแรกก่อตั้งคือ Radio Peking) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 3 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและไชนาเรดิโออินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี

แผนที่การเสียดินแดนของไทย (หมายเลขที่ 2) ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี หรือที่ทางราชการเรียกว่า ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทย เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไทยสยาม ที่ถูกกวาดต้อนและอพยพมาอยู่ตั้งแต่หลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2310) หลังการยึดครองของอังกฤษ ชาวไทยเหล่านี้จึงกลายเป็นสัญชาติพม่า แต่ก็ยังไปมาหาสู่กับญาติพี่น้องฝั่งไทยตลอด และมีชาวไทยในเขตตะนาวศรีที่เข้ามาทำคลอดในฝั่งไทย และต้องการให้บุตรเป็นสัญชาติไทย เพราะมีความเกี่ยวดองกับฝั่งไทย และส่วนใหญ่ทางแถบจังหวัดเกาะสอง (วิกตอเรียพอยท์) ของพม่าก็มีชาวไทยมากมาย แต่ในปัจจุบันยังถือว่าชาวไทยกลุ่มนี้เป็นกลุ่มคนไร้สัญชาต.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

ไทยโยเดีย

วโยดายา หรือ ชาวอยุธยาในพม่า (โยดายา หลุ มฺโย) เป็นคำที่เรียกกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีบรรพบุรุษเป็นเป็นชาวไทยสยามจากอาณาจักรอยุธยา ซึ่งอพยพเข้ามาประเทศพม่า มีทั้งอพยพไปพึ่งพระบรมโพธิสมภารกษัตริย์พม่าโดยสมัครใจ บ้างก็เป็นเชลยซึ่งถูกกวาดต้อนเมื่อเกิดสงคราม เมื่อเวลาผ่านไปหลายศตวรรษ ชาวอยุธยาในพม่าค่อย ๆ ผสมปนเปไปกับสังคมพม่า บ้างก็โยกย้ายจากถิ่นฐานเดิม พวกเขาเลิกพูดภาษาไทยและหันไปพูดภาษาพม่า จนกระทั่งทิน มอง จี นักวิชาการชาวพม่าผู้มีเชื้อสายโยดายาเขียนบทความสั้นชื่อ "สุสานกษัตริย์ไทย" (A Thai King’s Tomb) ก่อนปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและไทยโยเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ไทลื้อ

ทลื้อ หรือ ไตลื้อ หรือ คนลื้อ เป็นชาวไทกลุ่มหนึ่ง มีถิ่นฐานเดิมอยู่ในแถบสิบสองปันนาของจีน มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือการใช้ภาษาไทลื้อ และยังมีวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์อื่นๆ เช่น การแต่งกาย ศิลปะและประเพณีต่าง.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและไทลื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ไทใหญ่

ทใหญ่ หรือ ฉาน (တႆး ไต๊; ရှမ်းလူမျိုး) หรือ เงี้ยว (ซึ่งเป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพ) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่า และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่าคนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื้อ และไตมาว แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและไทใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ไทเขิน

ทเขิน หรือ ไทขึน เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทกลุ่มหนึ่งที่ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเมืองเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศพม่า มีบ้างที่อาศัยในประเทศไทย หรือจีน.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและไทเขิน · ดูเพิ่มเติม »

เชียงตุง

ียงตุง (ภาษาไทเขิน: ᨩ᩠ᨿᨦᨲᩩᨦ ไทใหญ่:; ကျိုင်းတုံမြို့; 60px; Keng Tung) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐฉานของประเทศพม่า เป็นเมืองของชาวไทเขิน และชาวไทใหญ่ ถือได้ว่าเป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองเทียบเท่า เมืองเชียงใหม่แห่งล้านนาไทย และเมืองเชียงรุ่งแห่งสิบสองปันนา โดยชาวไทใหญ่เรียกชื่อเมืองนี้ว่า เก็งตุ๋ง (Keng Tung) ในอดีตเชียงตุงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางการค้าเชื่อมต่อระหว่างสิบสองปันนากับล้านนา โดยมีพ่อค้าชาวจีนฮ่อเดินทางไปมาค้าขายในเส้นทางนี้.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเชียงตุง · ดูเพิ่มเติม »

เสียงนาสิก ลิ้นไก่

ียงนาสิก ลิ้นไก่ เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่นภาษาญี่ปุ่น ภาษาสเปน ภาษาเกชัว ภาษาพม่า ฯลฯ แต่ไม่มีเสียงนี้ในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ N\ ออกเสียงคล้าย ŋ แต่ดันโคนลิ้นแตะที่ลิ้นไก่แทนเพดานอ่อน การทับศัพท์เสียงนี้มักใช้ ง.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเสียงนาสิก ลิ้นไก่ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้อง

เสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้อง เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา เช่นภาษาอังกฤษ ภาษาพม่า ภาษากะเหรี่ยง ฯลฯ แต่ไม่มีในภาษาไทย สัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ /θ/ และสัญลักษณ์ X-SAMPA คือ T การทับศัพท์ในภาษาไทย มักใช้ ธ, ท, ซ แทนเสียงนี้ให้กับ th ของภาษาอังกฤษ เช่น theta อาจพบเป็น เซตา, ซีตา, ธีตา ฯลฯ ในขณะที่ราชบัณฑิตยสถานกำหนดให้ใช้ ท เพียงอย่างเดียว หมวดหมู่:เสียงพยัญชนะ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเสียงเสียดแทรก ฟัน ไม่ก้อง · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส พ.ศ. 2551

หตุการณ์พายุหมุนนาร์ก..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเหตุการณ์พายุหมุนนาร์กิส พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียใต้

แผนที่เอเชียใต้ สีเขียวเข้มแสดงเอเชียใต้โดยทั่วไป และสีเขียวอ่อนคือเขตที่สหประชาชาติหมายถึงเอเชียใต้ เอเชียใต้เป็นภูมิภาคของทวีปเอเชีย และเป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน และมัลดีฟส์ มีพื้นที่กว้าง 4,480,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 12% ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า อนุทวีปอินเดีย ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกขององค์กรความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ (The South Asian Association for Regional Cooperation หรือ SAARC) ในบางครั้งพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของประเทศอัฟกานิสถาน ก็ถูกจำแนกให้เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ด้วย อนุภูมิภาคเอเชียใต้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเอเชียใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวซีโกน

ีย์ชเวซีโกน (ရွှေစည်းခုံ စေတီတော်) เป็นวัดในเมืองนยองอู อยู่ใกล้พุกามในพม่า เป็นต้นแบบเจดีย์แบบพม่า การก่อสร้างเจดีย์ชเวซีโกน เริ่มต้นขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าอโนรธามังช่อ (พ.ศ. 1587-พ.ศ. 1620) ซึ่งเป็นผู้สถาปนาอาณาจักรพุกามในปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเจดีย์ชเวซีโกน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้า

้าฟ้า สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเจ้าฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้า (เจ้าผู้ครอง)

้าฟ้าจากรัฐฉานและกะเหรี่ยงแดง ณ จัตุรัสเดลี พ.ศ. 2446 เจ้าฟ้า เป็นพระราชบรรดาศักดิ์ที่ใช้เรียกเจ้าผู้ครองแคว้นหรือนครต่าง ๆ ของชาวไทใหญ่ (บริเวณภาคตะวันออกของประเทศพม่าปัจจุบัน) นอกจากนี้ยังใช้กับผู้ปกครองชาวไทถิ่นอื่นในประเทศข้างเคียงด้วย ที่สำคัญเช่นในมณฑลยูนนานของจีน คำ "ซอ-บวา" ในภาษาพม่าตรงกับคำ "เจ้าฟ้า" ในภาษาไทย แต่ในประเทศไทย คำ "เจ้าฟ้า" ยังใช้หมายถึงสกุลยศหรือฐานันดรศักดิ์อย่างหนึ่งของเชื้อพระวงศ์ด้ว.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเจ้าฟ้า (เจ้าผู้ครอง) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่

งานสมรสของเจ้าอินทนนท์กับเจ้าสุคันธา เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม: ณ เชียงตุง; พ.ศ. 2456 −15 มกราคม พ.ศ. 2546) เป็นพระธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าผู้ครองนครเชียงตุงที่ 40 ประสูติแต่เจ้านางบัวทิพย์หลวง ต่อมาเจ้าสุคันธาสมรสกับเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ พระโอรสของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนสุดท้าย ประดุจสะพานเชื่อมสายสัมพันธ์ระหว่างเชียงตุง-เชียงใหม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเมงอทเว

้าหญิงเมงอทเว หรือ เจ้าหญิงเจ้าภุ้นชิ่ เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าบุเรงนองกับพระสุพรรณกัลยา ซึ่งพระสุพรรณกัลยาเป็นพระพี่นางในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ เนื่องจากพระสุพรรณกัลยาทรงเป็นองค์ประกันในพม่า พระสุพรรณกัลยาจึงมีพระนามภาษาพม่าว่า อเมี๊ยวโหย่ว และเชื่อว่าเป็นมเหสีที่พระเจ้าบุเรงนองทรงโปรดปราน ส่วนพระนามของพระราชธิดา โดยได้รับพระราชทานพระนามว่า เจ้าภุ้นชิ่ ซึ่งมีความหมายว่า ผู้มีสติปัญญาและพระบารมี แต่โดยมากจะรู้จักกันในพระนาม เมงอทเว (เมง-อะ-ทเว) พระองค์นี้อันมีความหมายว่า "พระธิดาองค์สุดท้อง" (และเป็นพระธิดาองค์สุดท้ายของพระเจ้าบุเรงนองด้วย).

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหลวงเสือก่าฟ้า

้าหลวงเสือก่าฟ้า ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรอาหม สันนิษฐานกันว่า พระองค์เป็นเจ้าองค์หนึ่งในเมืองมาวหลวง ซึ่งก่อตั้งโดยกษัตริย์พระนามว่า ขุนลุง ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของพระองค์ เสือก่าฟ้าได้เกิดความขัดแย้งกับญาติพี่น้อง และในที่สุดจึงได้นำสมบัติประจำราชวงศ์ซึ่งเป็นเทวรูปนาม สมเทวะ อพยพออกมาจากมาวหลวง.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเจ้าหลวงเสือก่าฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจ่ามทุน

้าจ่ามทุนและครอบครัว เจ้าจ่ามทุน หรือที่ในภาษาพม่าออกเสียงว่า ซะซานทู่น (စဝ်စံထွန်း) เกิดเมื่อ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเจ้าจ่ามทุน · ดูเพิ่มเติม »

เขตพะโค

ตพะโค (ပဲခူးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ทางเหนือของเขตติดต่อกับเขตมาเกวและเขตมัณฑะเลย์ ทางตะวันออกกับรัฐกะเหรี่ยง รัฐมอญ และอ่าวเมาะตะมะ ทางใต้กับเขตย่างกุ้ง และทางตะวันตกกับเขตอิรวดีและรัฐยะไข่ พิกัดภูมิศาสตร์ของเขตพะโคได้แก่ 46°45' เหนือ, 19°20' เหนือ, 94°35' ตะวันออก และ 97°10' ตะวันออก.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเขตพะโค · ดูเพิ่มเติม »

เขตมะเกว

ตมาเกว (မကွေးတိုင်းဒေသကြီး) คือเขตการปกครองแห่งหนึ่งในภาคกลางของประเทศพม่า มีเนื้อที่ 17,306 ตารางไมล์ (44,820 ตารางกิโลเมตร).

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเขตมะเกว · ดูเพิ่มเติม »

เขตมัณฑะเลย์

ตมัณฑะเลย์ (မန္တလေးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า อยู่ในบริเวณภาคกลาง เมืองหลวงของเขตคือเมืองมัณฑะเลย์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลาง และเมืองหลวงของประเทศคือเนปยีดอซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตนี้.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเขตมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตย่างกุ้ง

ตย่างกุ้ง (ရန်ကုန်တိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ใจกลางบริเวณพม่าตอนล่าง มีเมืองหลวงคือย่างกุ้ง ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและอดีตเมืองหลวงของประเทศ เมืองที่สำคัญอื่น ๆ เช่น สิเรียมและตวูนเต เขตนี้เป็นพื้นที่มีการพัฒนามากที่สุดของประเทศและเป็นประตูสู่นานาชาติ เขตย่างกุ้งมีเนื้อที่ 10,276.7 ตารางกิโลเมตร (3,967.9 ตารางไมล์).

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเขตย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เขตอิรวดี

ตอิรวดี (ဧရာဝတီတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ครอบคลุมพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำของแม่น้ำอิรวดี ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 15° 40' ถึง 18° 30' เหนือ ลองจิจูด 94° 15' ถึง 96° 15' ตะวันออก มีเนื้อที่ 13,566 ตารางไมล์ (35,140 ตารางกิโลเมตร) มีประชากรมากกว่า 6.5 ล้านคน ทำให้เขตอิรวดีมีประชากรมากที่สุดเมื่อเทียบกับรัฐหรือเขตอื่นของพม่า ความหนาแน่นของประชากรเป็น 466 คนต่อตารางไมล์ (180 คนต่อตารางกิโลเมตร) มีเมืองหลวงชื่อพะสิม (Pathein) เขตอิรวดีมีภูเขายะไข่ (ทิวเขาอะระกัน) กระหนาบข้างในพื้นที่ทางทิศตะวันตก และพื้นที่ส่วนใหญ่ถูกแผ้วถางสำหรับการเพาะปลูกข้าว ทำให้มีชื่อเสียงในเรื่องแหล่งผลิตข้าวหลักของประเทศในศตวรรษที่ 21 เขตอิรวดีก็มีทะเลสาบจำนวนหนึ่ง ในบรรดาลำน้ำสาขาที่แยกออกจากแม่น้ำอิรวดี แม่น้ำที่มีชื่อเสียงได้แก่ แม่น้ำงะวูน (Ngawun) แม่น้ำพะสิม และแม่น้ำโต (Toe).

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเขตอิรวดี · ดูเพิ่มเติม »

เขตตะนาวศรี

ตะนาวศรี (တနင်္သာရီတိုင်းဒေသကြီး, ตะนี้นตายี; ဏၚ်ကသဳ หรือ တနၚ်သြဳ) เป็นเขตที่ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศพม.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเขตตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตซะไกง์

ตซะไกง์ (စစ်ကိုင်းတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ในส่วนตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ ระหว่างละติจูด 21° 30' เหนือ ลองจิจูด 94° 97' ตะวันออก มีพื้นที่ 93,527 ตารางกิโลเมตร และประชากรกว่า 5,300,000 คน (พ.ศ. 2539) เมืองหลวงคือเมืองซะไกง.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเขตซะไกง์ · ดูเพิ่มเติม »

เนปยีดอ

นปยีดอ (Naypyidaw หรือบางครั้งสะกดเป็น Nay Pyi Taw; နေပြည်တော်မြို့,, เหน่ ปหยี่ ด่อ) มีความหมายว่า "มหาราชธานี" p. 8, The Permanent Committee on Geographic Names (PCGN), United Kingdom หรือ "ที่อยู่ของกษัตริย์" เป็นเมืองหลวงและศูนย์กลางการบริหารของประเทศพม่า ห่างจากย่างกุ้งซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าราว 320 กิโลเมตร ปัจจุบันเนปยีดอเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สามของประเทศรองจากย่างกุ้งและมัณฑะเลย์ และเป็นหนึ่งในสิบเมืองเติบโตเร็วที่สุดในโลก เนปยีดอตั้งอยู่ในหมู่บ้านจะปยี (Kyetpyay) ทางทิศตะวันตกของตัวเมืองปยินมะนา (Pyinmana) ในเขตมัณฑะเลย์ เชื่อว่าเหตุผลการย้ายเมืองหลวงมาจากคำทำนายของโหรของพลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย รวมถึงเชื่อว่าอาจจะเป็นการฟื้นฟูธรรมเนียมประเพณีเก่าของพม่าสมัยราชาธิปไตย สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาโดยรอบ เมืองนี้อยู่ห่างย่างกุ้งไปทางเหนือประมาณ 320 กิโลเมตร ปัจจุบันกรุงเนปยีดอมีการพัฒนาถนนทางหลวงหมายเลข 8 เพื่อเชื่อมต่อกับย่างกุ้ง มีโครงการสร้างสถานีรถไฟขึ้นอีก 1 แห่งในเนปยีดอ ถัดจากสถานีในปยินมะนาที่สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาษาพม่าและเนปยีดอ · ดูเพิ่มเติม »

Burma VJ

Burma VJ: Reporting from a Closed Country เป็นหนังสารคดีเกี่ยวกับการประท้วงรัฐบาลเผด็จการพม่าในเดือนกันยายน 2007 กำกับโดย Anders Østergaard ผู้กำกับชาวเดนมาร์ก ออกเผยแพร่ปี 2008 ภาพบางส่วนถ่ายโดยกล้องมือถือ ฟุตเทจอีกจำนวนหนึ่งถูกลักลอบนำออกมาจากพม่า โดยการส่งต่อแผ่นบันทึกหรือทางอินเทอร์เน็ต ส่วนที่เหลือถูกถ่ายทำจำลองขึ้นมาใหม่ ซึ่งทำให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและBurma VJ · ดูเพิ่มเติม »

ISO 639-2

ISO 639-2 เป็นส่วนที่สองของมาตรฐาน ISO 639 ที่จะใช้รหัสตัวอักษรภาษาอังกฤษแทนภาษาต่างๆ ซึ่งมาตรฐานชุดนี้ประกอบด้วย กลุ่มของตัวอักษร 3 ตัว แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกใช้แทนชื่อของภาษาที่ใช้ใน งานบรรณาณุกรม (bibliographic applications) และกลุ่มที่สองใช้ใน งานที่ต้องเกี่ยวกับบัญญัติศัพท์ (terminology applications) รหัสที่ใช้แทนภาษาของทั้งสองกลุ่มเหมือนกันยกเว้นเพียง 23 ภาษา จากภาษาทั้งหมดมากกว่า 450 ภาษา ทั้งนี้เนื่องจากเงื่อนไขในการสร้างรหัสนั้น การใช้รหัสแทนภาษามาตรฐานนี้เริ่มต้นมาจากการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด การให้บริการข้อมูลต่างๆ ตลอดจนงานพิมพ์ ที่ต้องใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล รหัสเหล่านี้ได้มีการใช้แพร่หลายในกลุ่มงานห้องสมุด และต่อมาได้มีการปรับนำมาใช้โดยกลุ่มของนักภาษาศาสตร์ และในกลุ่มงานที่ต้องการคำนิยามเฉพาะ ซึ่งมาตรฐานส่วนนี้ได้มีการพัฒนาขึ้นโดยมีพื้นฐานจากความต้องการใช้ภาษานั้นๆที่มีการใช้อย่างแพร่หลายอยู่ทั่วโลก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ไม่รวมถึงโปรแกรมภาษาလိၵ်ႈတၢႆးလိၵ်ႈထ.

ใหม่!!: ภาษาพม่าและISO 639-2 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Burmese languageภาษาเมียนม่ามยันหม่าสา

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »