โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาจาวา

ดัชนี ภาษาจาวา

ลโก้ของภาษาจาวา ภาษาจาวา (Java programming language) เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) พัฒนาโดย เจมส์ กอสลิง และวิศวกรคนอื่นๆ ที่ ซัน ไมโครซิสเต็มส์ ภาษาจาวาถูกพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) โดยเป็นส่วนหนึ่งของ โครงการกรีน (the Green Project) และสำเร็จออกสู่สาธารณะในปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ซึ่งภาษานี้มีจุดประสงค์เพื่อใช้แทนภาษาซีพลัสพลัส (C++) โดยรูปแบบที่เพิ่มเติมขึ้นคล้ายกับภาษาอ็อบเจกต์ทีฟซี (Objective-C) แต่เดิมภาษานี้เรียกว่า ภาษาโอ๊ก (Oak) ซึ่งตั้งชื่อตามต้นโอ๊กใกล้ที่ทำงานของ เจมส์ กอสลิง แต่ว่ามีปัญหาทางลิขสิทธิ์ จึงเปลี่ยนไปใช้ชื่อ "จาวา" ซึ่งเป็นชื่อกาแฟแทน และแม้ว่าจะมีชื่อคล้ายกัน แต่ภาษาจาวาไม่มีความเกี่ยวข้องใด ๆ กับภาษาจาวาสคริปต์ (JavaScript) ปัจจุบันมาตรฐานของภาษาจาวาดูแลโดย Java Community Process ซึ่งเป็นกระบวนการอย่างเป็นทางการ ที่อนุญาตให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกำหนดความสามารถในจาวาแพลตฟอร์มได้.

75 ความสัมพันธ์: Aบิล จอยชุดแปลโปรแกรมของกนูบีจิวเวลด์ฟังก์ชันพื้นและฟังก์ชันเพดานการกำหนดค่าการยกกำลังการประมวลภาษาธรรมชาติการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันภาษาพีเอชพีภาษากรูวีภาษาสมอลล์ทอล์กภาษาอาบัปภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีภาษาดอตเน็ตภาษาซีภาษาซีชาร์ปภาษาโปรแกรมมายเอสคิวเอลมูลนิธิมอซิลลายูทูบยูนิโคดรหัสจำลองและพีดีแอล PDLรายชื่ออุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ลอการิทึมลินุกซ์ลูซีนวิกิพีเดียวูซวีลิสต์ศูนย์มีเครื่องหมายสตีม (ซอฟต์แวร์)อะแพชี แอกซิสอะแพชี เล็นยาอะแพชี เวโลซิตีอะแพชี เอกซ์เอ็มแอลอะแพชี เดอร์บีอะแพชี เซิร์กซีสอีซีเอ็มเอสคริปต์ผลคูณไขว้จาวาจาวาบีนส์จาวาสคริปต์จีทีเคพลัสจีเมลทวิตเตอร์ขั้นตอนวิธีของฟลอยด์-วอร์แชลดักไทปปิงดีวีบีดีไซน์แพตเทิร์น...คลาส (คอมพิวเตอร์)คาราโอเกะคิวต์ซันไมโครซิสเต็มส์ซิงเกิลตันแพตเทิร์นแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)แถวลำดับพลวัตโอเพนออฟฟิศดอตอ็อกไลบรารีแม่แบบมาตรฐานไอบีเอ็ม ดีบีทูไอรีพอร์ตไซยาโนเจนมอดเว็บเซอร์วิซเอสพีเอสเอสเฮลโลเวิลด์เจมส์เจมส์ กอสลิงเจดีบีซีเจเอสพีเทนชูเน็ตบีนส์J2EEJava Development KitJEditJFire ขยายดัชนี (25 มากกว่า) »

A

A (ตัวใหญ่: A, ตัวเล็ก: a) คืออักษรและสระตัวแรกในอักษรละติน มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า เอ ในขณะที่หลายภาษาเช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี เรียกตามชื่อเดิมของอักษรนี้คือ อา รูปพหูพจน์เขียนเป็น A's, As, as, หรือ a's อักษร A มีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณโดยมีหลักฐานในอักษรภาพไฮโรกลิฟฟิก และมีการหยิบยืมไปใช้โดยวัฒนธรรมอื่นจนกระทั่งปัจจุบัน โดยยังคงไว้ซึ่งจุดเด่นนั่นคือ A เป็นตัวอักษรแรกของชุดตัวอักษรในภาษาเสมอ ใช้แทนเสียงสระ อา เอ หรือ แอ ที่ประกอบกับเสียงพยัญชนะ หรือใช้แทนเสียงสระอย่างเดียวก็ได้ นอกจากนั้นอักษร A ก็มีการเติมเครื่องหมายและถูกดัดแปลงไปหลายรูปแบบเพื่อการนำไปใช้เป็นอักขรวิธีในภาษาหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและA · ดูเพิ่มเติม »

บิล จอย

thumb บิล จอย (Bill Joy ชื่อเต็ม William N. Joy) เกิด ค.ศ. 1954 เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์ เมื่อ ค.ศ. 1982 และทำงานอยู่กับซันจนถึง ค.ศ. 2003 บิลเป็นบุคคลสำคัญในการสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ของเบิร์กเลย์ชื่อ BSD ซึ่งเป็นรากฐานของระบบปฏิบัติการในยุคปัจจุบันหลายตัว อย่างเช่น FreeBSD NetBSD และ OpenBSD ผลงานอื่นๆ ของบิล คือ TCP/IP โปรแกรมแก้ไขข้อความ vi NFS และเชลล์แบบ csh บิลจอยยังมีส่วนสำคัญในการออกแบบไมโครโปรเซสเซอร์ SPARC ภาษาจาวา และ JINI.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและบิล จอย · ดูเพิ่มเติม »

ชุดแปลโปรแกรมของกนู

GCC เริ่มพัฒนาใน..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและชุดแปลโปรแกรมของกนู · ดูเพิ่มเติม »

บีจิวเวลด์

ีจิวเวลด์ (Bejeweled) เป็นเกมจับคู่ ผลิตโดยป็อปแคปเกมส์ โดยผลิตครั้งแรกในเบราว์เซอร์เมื่อปี 2001.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและบีจิวเวลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟังก์ชันพื้นและฟังก์ชันเพดาน

กราฟของฟังก์ชันพื้น กราฟของฟังก์ชันเพดาน ในทางคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ ฟังก์ชันพื้น (floor function) คือฟังก์ชันที่จับคู่จำนวนจริงไปยังจำนวนเต็มที่อยู่ก่อนหน้า นั่นคือ floor (x) เป็นจำนวนเต็มมากที่สุดที่ไม่มากกว่า x ส่วน ฟังก์ชันเพดาน (ceiling function) คือฟังก์ชันที่จับคู่จำนวนจริงไปยังจำนวนเต็มที่อยู่ถัดจากจำนวนนั้น นั่นคือ ceiling (x) คือจำนวนเต็มน้อยที่สุดที่ไม่น้อยกว่า x กราฟของฟังก์ชันพื้นและเพดานทั้งหมด มีลักษณะคล้ายฟังก์ชันขั้นบันได แต่ไม่ใช่ฟังก์ชันขั้นบันได เนื่องจากมีช่วงบนแกน x เป็นจำนวนอนันต.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและฟังก์ชันพื้นและฟังก์ชันเพดาน · ดูเพิ่มเติม »

การกำหนดค่า

การกำหนดค่า การกำหนดค่า ในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ คือการระบุค่าหรือการตั้งค่าใหม่ให้กับตำแหน่งเก็บข้อมูลที่แสดงไว้โดยชื่อตัวแปร ในภาษาโปรแกรมเชิงคำสั่ง ข้อความสั่งกำหนดค่า เป็นข้อความสั่งพื้นฐานอย่างหนึ่ง ข้อความสั่งกำหนดค่ามักอนุญาตให้ชื่อตัวแปรเดิมสามารถมีได้หลายค่าในเวลาต่าง ๆ ในระหว่างที่โปรแกรมทำงาน.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและการกำหนดค่า · ดูเพิ่มเติม »

การยกกำลัง

้าx+1ส่วนx.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและการยกกำลัง · ดูเพิ่มเติม »

การประมวลภาษาธรรมชาติ

การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing ย่อว่า NLP) เป็นสาขาย่อยของปัญญาประดิษฐ์และภาษาศาสตร์ที่ศึกษาปัญหาในการประมวลผลและใช้งานภาษาธรรมชาติ รวมทั้งการทำความเข้าใจภาษาธรรมชาติ ทั้งนี้เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจภาษามนุษย์ได้.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและการประมวลภาษาธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน

ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันเป็นกระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมที่รูปแบบการสร้างโครงสร้างและส่วนประกอบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งปฏิบัติต่อการคำนวณว่าเป็นการประเมินผลฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์และหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงสถานะและข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงได้ โดยเป็นกระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมเชิงประกาศซึ่งหมายความหรือการประกาศแทนข้อความสั่ง ในโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน ค่าผลลัพธ์ของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับที่นำเข้าสู่ฟังก์ชันเท่านั้น ดังนั้นการเรียกฟังก์ชัน f สองครั้งด้วยค่าอาร์กิวเมนต์ x เดียวกันจะให้ค่าผลลัพธ์ f(x) เท่ากันทุกครั้ง การกำจัดผลข้างเคียง ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงสถานะที่ไม่ขึ้นกับสิ่งที่นำเข้าฟังก์ชัน สามารถทำให้ง่ายขึ้นที่จะทำความเข้าใจและพยากรณ์พฤฒิกรรมของโปรแกรมซึ่งเป็นหนึ่งในแรงจูงใจของการพัฒนาของการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันมีรากฐานมาจากแคลคูลัสแลมบ์ดาซึ่งเป็นระบบรูปนัยที่พัฒนาในคริสต์ทศวรรษ 1930 เพื่อค้นEntscheidungsproblem นิยามของฟังก์ชัน การประยุกต์ฟังก์ชัน และการเรียกซ้ำ ภาษาการใส่รายละเอียดเพิ่มจากแคลคูลัสแลมบ์ดา กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรมเชิงประกาศที่เป็นที่รู้จักอื่น ๆ การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ มีพื้นฐานอยู่บนความสัมพันธ์เชิงตรรกะ ในกลับโปรแกรมเชิงคำสั่งเปลี่ยนสถานะด้วยคำสั่งในภาษาต้นทาง ตัวอย่างที่ง่ายที่สุดคือการกำหนดค่า การเขียนโปรแกรมเชิงคำสั่งไม่มีฟังก์ชันในความหมายแบบคณิตศาสตร์แต่มีในความหมายแบบซับรูทีน ซึ่งมีผลข้างเคียงที่อาจะเปลี่ยนค่าของสถานะของโปรแกรมได้ ฟังก์ชันที่ไม่คืนค่าจึงสมเหตุสมผลเพราะขาดความโปร่งใสในการอ้างอิง ได้แก่นิพจน์เดียวกันทางภาษาสามารถให้ผลลัพธ์ที่มีค่าต่างกันได้ในเวลาที่ต่างกันขึ้นกับสถานะของโปรแกรมที่กำลังกระทำการ ภาษาโปรแกรมเชิงฟังก์ชันโดยเฉพาะภาษาโปรแกรมเชิงฟังก์ชันบริสุทธิ เช่น ภาษาโฮปถูกในความสำคัญในวงการวิชาการมากกว่าในการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ อย่างไรก็ตามภาษาโปรแกรมที่มีชื่อเสียงซึ่งสนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน เช่น ภาษาคอมมอนลิสป์ ภาษา Scheme ภาษา Clojure ภาษา Wolfram (หรือ ภาษา Mathematica) ภาษา Racket ภาษาเออร์แลง ภาษา OCaml ภาษา Haskell และภาษาเอฟชาร์ป ใช้ในโปรแกรมประยุกต์เชิงอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์โดยองค์กรอย่างกว้างขวาง การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันยังได้รับการรองรับในภาษาเขียนโปรแกรมเฉพาะทางบางภาษา เช่น ภาษาอาร์ (สถิติ) ภาษาเจ ภาษาเค และภาษาคิวจาก Kx Systems (การวิเคราะห์ทางการคลัง) XQuery/XSLT (เอกซ์เอ็มแอล) และภาษาโอปอล ภาษาเชิงประกาศเฉพาะทางที่ใช้งานอย่างกว้างขวางเช่น ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง และ Lex/Yacc ใช้บางส่วนประกอบของการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชันโดยเฉพาะใน eschewing วัตถุที่เปลี่ยนแปลงได้.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพีเอชพี

ีเอชพี (PHP) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ในลักษณะเซิร์ฟเวอร์-ไซด์ สคริปต์ โดยลิขสิทธิ์อยู่ในลักษณะโอเพนซอร์ส ภาษาพีเอชพีใช้สำหรับจัดทำเว็บไซต์ และแสดงผลออกมาในรูปแบบ HTML โดยมีรากฐานโครงสร้างคำสั่งมาจากภาษา ภาษาซี ภาษาจาวา และ ภาษาเพิร์ล ซึ่ง ภาษาพีเอชพี นั้นง่ายต่อการเรียนรู้ ซึ่งเป้าหมายหลักของภาษานี้ คือให้นักพัฒนาเว็บไซต์สามารถเขียน เว็บเพจ ที่มีการตอบโต้ได้อย่างรวดเร็ว.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและภาษาพีเอชพี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากรูวี

ษากรูวี (Groovy) เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุสำหรับแพลตฟอร์มจาวาอันหนึ่ง นอกเหนือจากภาษาจาวา เราอาจมองกรูวีเป็นเหมือนภาษาสคริปต์สำหรับแพลตฟอร์มจาวาก็ได้ เนื่องจากมันมีคุณลักษณะหลายอย่างเหมือนกับภาษาสคริปต์อย่าง ไพทอน (Python) รูบี้ (Ruby) เพิร์ล (Perl) และ สมอลทอล์ค (Smalltalk).

ใหม่!!: ภาษาจาวาและภาษากรูวี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสมอลล์ทอล์ก

ษาสมอลล์ทอล์ก (Smalltalk) เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุที่ได้ออกแบบในปี..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและภาษาสมอลล์ทอล์ก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาบัป

ษาอาบัป (ABAP: Advanced Business Application Programming) เป็นภาษาโปรแกรมระดับสูงที่พัฒนาโดยบริษัท SAP จากประเทศเยอรมนี โดยเป็นภาษาที่ใช้ในซอฟต์แวร์ประเภทเว็บแอปพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์ของบริษัท SAP เอง รูปแบบของภาษา ABAP ใกล้เคียงกับภาษาโคบอล.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและภาษาอาบัป · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี

ษาอ็อบเจกทีฟ-ซี (Objective-C หรือ ObjC) เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุและมีสมบัติการสะท้อน โดยแรกเริ่ม ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี พัฒนาขึ้นจากภาษาซีโดยยังคงคุณลักษณะของภาษาซีไว้ครบทุกประการเพียงแต่เพิ่มระบบส่งข้อความ (messaging) แบบเดียวกับภาษาสมอลล์ทอล์กเข้าไปเท่านั้น (Objective-C runtime) ปัจจุบันภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีมีคุณสมบัติอื่นๆเพิ่มเติมจากการพัฒนาภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี 2.0 โดยบริษัทแอปเปิล ปัจจุบันภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีถูกใช้มากใน Cocoa (API) ใน Mac OS X, GNUstep (API) และ Cocotron (API) เป็นต้น ซึ่งระบบเหล่านี้ได้รับการพัฒนาขึ้นโดยมีพื้นฐานจากมาตรฐาน OpenStep (API) ใน Nextstep (Operating system) โดยมีภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีเป็นภาษาหลัก ปัจจุบัน Mac OS Xใช้ Cocoa เป็นเฟรมเวิร์กสำหรับสร้างโปรแกรมประยุกต์ โดย ไลบรารีและ/หรือ API เหล่านี้เป็นเพียงส่วนเพิ่มขยาย (Software extension) เท่านั้น โปรแกรมที่ใช้ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีทั่วไปที่ไม่ได้ใช้ส่วนเพิ่มขยายเหล่านี้ก็ยังสามารถคอมไพล์ได้ เช่นอาจใช้แต่ gcc ซึ่งรองรับภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาดอตเน็ต

ษาดอตเน็ต เป็นประเภทภาษาโปรแกรม โดยโปรแกรมที่พัฒนาจะทำงานบนดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก ซึ่งไม่ว่าภาษาดอตเน็ตไหนที่ใช้ ตัวแปลโปรแกรมจะทำการแปลมาเป็นภาษากลาง (MSIL) และเมื่อโปรแกรมถูกเรียกใช้ CLR ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของดอตเน็ตเฟรมเวิร์กจะทำการแปลเป็นโค้ดที่เหมาะสมสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ ขั้นตอนนี้สามารถทำได้ในการแปลครั้งแรกเช่นกันหากต้องการ ปัจจุบันนี้มีภาษาดอตเน็ตมีมากกว่า 40 ภาษา โดยไมโครซอฟท์ได้พัฒนาและรองรับภาษาดอตเน็ตหลักๆคือ C# VB.NET และ C++/CLI ซึ่งที่เหลือนั้นพัฒนาโดยผู้อื่น.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและภาษาดอตเน็ต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซี

ษาซี (C) เป็นภาษาโปรแกรมสำหรับวัตถุประสงค์ทั่วไป เริ่มพัฒนาขึ้นระหว่าง พ.ศ. 2512-2516 (ค.ศ. 1969-1973) โดยเดนนิส ริชชี่ (Denis Retchie) ที่เอทีแอนด์ทีเบลล์แล็บส์ (AT&T Bell Labs) ภาษาซีเป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่นในการเขียนโปรแกรมและมีเครื่องมืออำนวยความสะดวกสำหรับการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างและอนุญาตให้มีขอบข่ายตัวแปร (scope) และการเรียกซ้ำ (recursion) ในขณะที่ระบบชนิดตัวแปรอพลวัตก็ช่วยป้องกันการดำเนินการที่ไม่ตั้งใจหลายอย่าง เหมือนกับภาษาโปรแกรมเชิงคำสั่งส่วนใหญ่ในแบบแผนของภาษาอัลกอล การออกแบบของภาษาซีมีคอนสตรักต์ (construct) ที่โยงกับชุดคำสั่งเครื่องทั่วไปได้อย่างพอเพียง จึงทำให้ยังมีการใช้ในโปรแกรมประยุกต์ซึ่งแต่ก่อนลงรหัสเป็นภาษาแอสเซมบลี คือซอฟต์แวร์ระบบอันโดดเด่นอย่างระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ยูนิกซ์ ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดตลอดกาล และตัวแปลโปรแกรมของภาษาซีมีให้ใช้งานได้สำหรับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการต่าง ๆ เป็นส่วนมาก ภาษาหลายภาษาในยุคหลังได้หยิบยืมภาษาซีไปใช้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ตัวอย่างเช่น ภาษาดี ภาษาโก ภาษารัสต์ ภาษาจาวา จาวาสคริปต์ ภาษาลิมโบ ภาษาแอลพีซี ภาษาซีชาร์ป ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี ภาษาเพิร์ล ภาษาพีเอชพี ภาษาไพทอน ภาษาเวอริล็อก (ภาษาพรรณนาฮาร์ดแวร์) และซีเชลล์ของยูนิกซ์ ภาษาเหล่านี้ได้ดึงโครงสร้างการควบคุมและคุณลักษณะพื้นฐานอื่น ๆ มาจากภาษาซี ส่วนใหญ่มีวากยสัมพันธ์คล้ายคลึงกับภาษาซีเป็นอย่างมากโดยรวม (ยกเว้นภาษาไพทอนที่ต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง) และตั้งใจที่จะผสานนิพจน์และข้อความสั่งที่จำแนกได้ของวากยสัมพันธ์ของภาษาซี ด้วยระบบชนิดตัวแปร ตัวแบบข้อมูล และอรรถศาสตร์ที่อาจแตกต่างกันโดยมูลฐาน ภาษาซีพลัสพลัสและภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีเดิมเกิดขึ้นในฐานะตัวแปลโปรแกรมที่สร้างรหัสภาษาซี ปัจจุบันภาษาซีพลัสพลัสแทบจะเป็นเซตใหญ่ของภาษาซี ในขณะที่ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีก็เป็นเซตใหญ่อันเคร่งครัดของภาษาซี ก่อนที่จะมีมาตรฐานภาษาซีอย่างเป็นทางการ ผู้ใช้และผู้พัฒนาต่างก็เชื่อถือในข้อกำหนดอย่างไม่เป็นทางการในหนังสือที่เขียนโดยเดนนิส ริตชี และไบรอัน เคอร์นิกัน (Brian Kernighan) ภาษาซีรุ่นนั้นจึงเรียกกันโดยทั่วไปว่า ภาษาเคแอนด์อาร์ซี (K&R C) ต่อม..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและภาษาซี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซีชาร์ป

ษาซีชาร์ป (C♯ Programming Language) เป็นภาษาโปรแกรมแบบหลายโมเดล ที่ใช้ระบบชนิดข้อมูลแบบรัดกุม (strong typing) และสนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงคำสั่ง การเขียนโปรแกรมเชิงประกาศ การเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน การเขียนโปรแกรมเชิงกระบวนการ การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (แบบคลาส) และการเขียนโปรแกรมเชิงส่วนประกอบ พัฒนาเริ่มแรกโดยบริษัทไมโครซอฟท์เพื่อทำงานบนดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก โดยมีแอนเดอร์ เฮลส์เบิร์ก (Anders Hejlsberg) เป็นหัวหน้าโครงการ และมีรากฐานมาจากภาษาซีพลัสพลัสและภาษาอื่นๆ (โดยเฉพาะภาษาเดลไฟและจาวา) โดยมีจุดมุ่งหมายให้เป็นภาษาสมัยใหม่ที่ไม่ซับซ้อน ใช้งานได้ทั่วไป (general-purpose) และเป็นเชิงวัตถุเป็นหลัก ปัจจุบันภาษาซีซาร์ปมีการรับรองให้เป็นมาตรฐานโดยเอ็กมาอินเตอร์เนชันแนล (Ecma International) และองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยารมาตรฐาน (ISO) และมีรุ่นล่าสุดคือ C♯ 5.0 ที่ออกมาเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและภาษาซีชาร์ป · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโปรแกรม

ษาโปรแกรม คือภาษาประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อสื่อสารชุดคำสั่งแก่เครื่องจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมสามารถใช้สร้างโปรแกรมที่ควบคุมพฤติกรรมของเครื่องจักร และ/หรือ แสดงออกด้วยขั้นตอนวิธี (algorithm) อย่างตรงไปตรงมา ผู้เขียนโปรแกรมซึ่งหมายถึงผู้ที่ใช้ภาษาโปรแกรมเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (programmer) ภาษาโปรแกรมในยุคแรกเริ่มนั้นเกิดขึ้นก่อนที่คอมพิวเตอร์จะถูกประดิษฐ์ขึ้น โดยถูกใช้เพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องทอผ้าของแจ็กการ์ดและเครื่องเล่นเปียโน ภาษาโปรแกรมต่าง ๆ หลายพันภาษาถูกสร้างขึ้นมา ส่วนมากใช้ในวงการคอมพิวเตอร์ และสำหรับวงการอื่นภาษาโปรแกรมก็เกิดขึ้นใหม่ทุก ๆ ปี ภาษาโปรแกรมส่วนใหญ่อธิบายการคิดคำนวณในรูปแบบเชิงคำสั่ง อาทิลำดับของคำสั่ง ถึงแม้ว่าบางภาษาจะใช้การอธิบายในรูปแบบอื่น ตัวอย่างเช่น ภาษาที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน หรือการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ การพรรณนาถึงภาษาโปรแกรมหนึ่ง ๆ มักจะแบ่งออกเป็นสองส่วนได้แก่ วากยสัมพันธ์ (รูปแบบ) และอรรถศาสตร์ (ความหมาย) บางภาษาถูกนิยามขึ้นด้วยเอกสารข้อกำหนด (ตัวอย่างเช่น ภาษาซีเป็นภาษาหนึ่งที่กำหนดโดยมาตรฐานไอโซ) ในขณะที่ภาษาอื่นอย่างภาษาเพิร์ลรุ่น 5 และก่อนหน้านั้น ใช้การทำให้เกิดผลแบบอ้างอิง (reference implementation) เป็นลักษณะเด่น.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและภาษาโปรแกรม · ดูเพิ่มเติม »

มายเอสคิวเอล

MySQL (มายเอสคิวแอล) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management System) โดยใช้ภาษา SQL แม้ว่า MySQL เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส แต่แตกต่างจากซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สทั่วไป โดยมีการพัฒนาภายใต้บริษัท MySQL AB ในประเทศสวีเดน โดยจัดการ MySQL ทั้งในแบบที่ให้ใช้ฟรี และแบบที่ใช้ในเชิงธุรกิจ เมื่อปี..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและมายเอสคิวเอล · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิมอซิลลา

มูลนิธิมอซิลลา (Mozilla Foundation) เป็นองค์กรไม่แสวงกำไรที่สนับสนุนและเป็นแกนนำของโครงการมอซิลลา โดยทำการออกแบบและควบคุมระบบของซอฟต์แวร์มอซิลลา สำนักงานตั้งอยู่ที่ เมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย มูลนิธิมอซิลลาเป็นที่รู้จักกันดีจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ชื่อว่า ไฟร์ฟอกซ์ (ซึ่งปัจจุบันบริหารโดยบริษัทมอซิลลา).

ใหม่!!: ภาษาจาวาและมูลนิธิมอซิลลา · ดูเพิ่มเติม »

ยูทูบ

ูทูบ ตามสำเนียงอเมริกัน หรือ ยูทิวบ์ ตามสำเนียงบริเตน (YouTube) เป็นเว็บไซต์เผยแพร่วิดีโอโดยมีสำนักงานอยู่ที่แซนบรูโน แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เว็ปไซต์ดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาจากอดีตพนักงาน 3 คนในบริษัทเพย์แพล อันประกอบด้วยแชด เฮอร์ลีย์ สตีฟ เชน และยาวีด คาริม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 ในเดือนพฤศจิกายน 2549 ยูทูบถูกกูเกิลซื้อไปในราคา 1.65 พันล้านเหรียญสหรัฐ ยูทูบเป็นหนึ่งในบริษัทย่อยของกูเกิล เว็บไซต์ยังสามารถให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลด ดู หรือแบ่งปันวิดีโอได้.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและยูทูบ · ดูเพิ่มเติม »

ยูนิโคด

The Unicode Standard, Version 5.0 อักขระยูนิโคดทั้งหมดเมื่อพิมพ์ลงกระดาษ (รวมทั้งสองแผ่น) ยูนิโคด (Unicode) คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความธรรมดาที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน ยูนิโคดประกอบด้วยรายการอักขระที่แสดงผลได้มากกว่า 100,000 ตัว พัฒนาต่อยอดมาจากมาตรฐานชุดอักขระสากล (Universal Character Set: UCS) และมีการตีพิมพ์ลงในหนังสือ The Unicode Standard เป็นแผนผังรหัสเพื่อใช้เป็นรายการอ้างอิง นอกจากนั้นยังมีการอธิบายวิธีการที่ใช้เข้ารหัสและการนำเสนอมาตรฐานของการเข้ารหัสอักขระอีกจำนวนหนึ่ง การเรียงลำดับอักษร กฎเกณฑ์ของการรวมและการแยกอักขระ รวมไปถึงลำดับการแสดงผลของอักขระสองทิศทาง (เช่นอักษรอาหรับหรืออักษรฮีบรูที่เขียนจากขวาไปซ้าย) ยูนิโคดคอนซอร์เทียม (Unicode Consortium) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร เป็นผู้รับผิดชอบในการพัฒนายูนิโคด องค์กรนี้มีจุดมุ่งหมายเกี่ยวกับการแทนที่การเข้ารหัสอักขระที่มีอยู่ด้วยยูนิโคดและมาตรฐานรูปแบบการแปลงยูนิโคด (Unicode Transformation Format: UTF) แต่ก็เป็นที่ยุ่งยากเนื่องจากแผนการที่มีอยู่ถูกจำกัดไว้ด้วยขนาดและขอบเขต ซึ่งอาจไม่รองรับกับสภาพแวดล้อมหลายภาษาในคอมพิวเตอร์ ความสำเร็จของยูนิโคดคือการรวมรหัสอักขระหลายชนิดให้เป็นหนึ่งเดียว นำไปสู่การใช้งานอย่างกว้างขวางและมีอิทธิพลต่อการแปลภาษาของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นั่นคือโปรแกรมจะสามารถใช้ได้หลายภาษา มาตรฐานนี้มีการนำไปใช้เป็นเทคโนโลยีหลักหลายอย่าง อาทิ เอกซ์เอ็มแอล ภาษาจาวา ดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก และระบบปฏิบัติการสมัยใหม่ ยูนิโคดสามารถนำไปใช้งานได้ด้วยชุดอักขระแบบต่าง ๆ ชุดอักขระที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ UTF-8 (ใช้ 1 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัวในรหัสแอสกีและมีค่ารหัสเหมือนกับมาตรฐานแอสกี หรือมากกว่านั้นจนถึง 4 ไบต์สำหรับอักขระแบบอื่น) UCS-2 ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว (ใช้ 2 ไบต์สำหรับอักขระทุกตัว แต่ไม่ครอบคลุมอักขระทั้งหมดในยูนิโคด) และ UTF-16 (เป็นส่วนขยายจาก UCS-2 โดยใช้ 4 ไบต์ สำหรับแทนรหัสอักขระที่ขาดไปของ UCS-2).

ใหม่!!: ภาษาจาวาและยูนิโคด · ดูเพิ่มเติม »

รหัสจำลองและพีดีแอล PDL

ือ การอธิบายจะไม่ขึ้นอยู่กับโปรแกรมภาษาใดภาษาหนึ่ง ผู้ที่อ่านสามารถนำซูโดโค้ดและพีดีแอล ไปใช้สำหรับเขียนโปรแกรมได้จริง โดยใช้ตัวแปลภาษาซี ภาษาเบสิก ภาษาจาวา ก็ได้ทั้งสิ้น และการใช้งานเพื่ออธิบายแบบละเอียดเหมือนกับผังงานโปรแกรม ตัวอย่างซูโดโค้.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและรหัสจำลองและพีดีแอล PDL · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์

น็กซัส 9 แอนดรอยด์ เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์พกพา เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ เน็ตบุ๊ก ทำงานบนลินุกซ์ เคอร์เนล เริ่มพัฒนาโดยบริษัทแอนดรอยด์ (อังกฤษ: Android Inc.) จากนั้นบริษัทแอนดรอยด์ถูกซื้อโดยกูเกิล และนำแอนดรอยด์ไปพัฒนาต่อ ภายหลังถูกพัฒนาในนามของ Open Handset Alliance ทางกูเกิลได้เปิดให้นักพัฒนาสามารถแก้ไขโค้ดต่าง ๆ ด้วยภาษาจาวา และควบคุมอุปกรณ์ผ่านทางชุด Java libraries ที่กูเกิลพัฒนาขึ้น ในไตรมาสที่ 3 ปี 2011 กูเกิลได้ออกมาประกาศว่ามีแอนดรอยด์ถูกจัดจำหน่ายไปแล้วมากกว่า 190 ล้านเครื่อง.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและรายชื่ออุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

ลอการิทึม

ีม่วงคือฐาน 1.7 กราฟทุกเส้นผ่านจุด (1, 0) เนื่องจากจำนวนใด ๆ ที่ไม่เป็นศูนย์ เมื่อยกกำลัง 0 แล้วได้ 1 และกราฟทุกเส้นผ่านจุด (''b'', 1) สำหรับฐาน ''b'' เพราะว่าจำนวนใด ๆ ยกกำลัง 1 แล้วได้ค่าเดิม เส้นโค้งทางซ้ายเข้าใกล้แกน ''y'' แต่ไม่ตัดกับแกน ''y'' เพราะมีภาวะเอกฐานอยู่ที่ ''x''.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและลอการิทึม · ดูเพิ่มเติม »

ลินุกซ์

ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ กะนู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และโนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและลินุกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ลูซีน

ลูซีน (Lucene) เป็นซอฟต์แวร์เสรีและซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สสำหรับใช้เป็นส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ในการค้นคืนสารสนเทศ แต่เดิมลูซีนถูกเขียนขึ้นโดยใช้ภาษาจาวา โดย Doug Cutting ซึ่งสนับสนุนโดยมูลนิธิซอฟต์แวร์อาแพชี และเผยแพร่โดยใช้สัญญาอนุญาตซอฟต์แวร์อาแพชี ลูซีนถูกย้ายไปเขียนขึ้นด้วยภาษาอื่น ๆ นอกจากภาษาจาวาด้วย ได้แก่ ภาษาเพิร์ล ภาษาซีชาร์ป ภาษาซีพลัสพลัส ภาษาไพทอน ภาษารูบี้ และภาษาพีเอชพี ลูซีนเหมาะกับการใช้งานใดที่ต้องการการสร้างดัชนีข้อความอย่างเต็มรูปแบบ (Full-text indexing) และความสามารถในการค้นคืนข้อความแบบเต็มรูปแบบ (Full-text searching) ลูซีนได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในการนำไปใช้สร้างเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลสำหรับอินเทอร์เน็ต หรือ ภายในองค์กร หรือ เฉพาะในเว็บไซต์เดียว ซึ่งบางครั้งก็มีผู้เข้าใจผิดว่าลูซีนเป็นเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลเต็มรูปแบบ ที่มีเครื่องมือรวบรวมเว็บเพจ (Web crawler) และโปรแกรมแจงโครงสร้างภาษา HTML ด้วย ทั้งนี้โปรแกรมที่ใช้งานลูซีนจะต้องมีมีเครื่องมือรวบรวมเว็บเพจ (Web crawler) และโปรแกรมแจงโครงสร้างภาษา HTML โดยแยกออกจากลูซีน สิ่งที่อยู่ในแก่นของสถาปัตยกรรมเชิงตรรกะของลูซีนคือแนวคิดว่าเอกสารประกอบไปด้วยเขตข้อมูลของข้อความ ซึ่งทำให้ส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ของลูซีนยืดหยุ่นพอที่จะไม่ขึ้นอยู่กับรูปแบบไฟล์ ข้อความจากไฟล์ในรูปแบบ PDF HTML เอกสารไมโครซอฟท์เวิร์ด และรูปแบบอื่น ๆ อีกมากมายสามารถนำมาสร้างดัชนีได้ตราบเท่าที่สามารถสกัดข้อความจากเอกสารได้.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและลูซีน · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดีย

วิกิพีเดีย (Wikipedia, หรือ) เป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีหลายภาษาบนเว็บไซต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร เนื้อหากว่า 35 ล้านบทความ (เฉพาะวิกิพีเดียภาษาอังกฤษมีเนื้อหากว่า 4.9 ล้านบทความ) เกิดขึ้นจากการร่วมเขียนของอาสาสมัครทั่วโลก ทุกคนที่สามารถเข้าถึงวิกิพีเดียสามารถร่วมแก้ไขได้แทบทุกบทความได้อย่างเสรี โดยมีผู้เขียนประจำราว 100,000 คน จนถึงเดือนเมษายน..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและวิกิพีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

วูซ

วูซ (Vuze) ในชื่อเดิม อะซูเรียส (Azureus) เป็นโปรแกรมฟรีแวร์ที่ใช้โพรโทคอลบิตทอร์เรนต์ทำงานผ่านระบบจาวา สนับสนุนโพรโทคอล I2P และ Tor Azureus ออกมาครั้งแรกในเดือนมิถุนายนปี..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและวูซ · ดูเพิ่มเติม »

วีลิสต์

วีลิสต์ เป็นโครงสร้างข้อมูลในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ออกแบบโดย ฟิล แบคเวลล์ (Phil Bagwell) ซึ่งวีลิซท์เกิดจากการดัดแปลงรายการโยง (linked list) แบบโยงทางเดียว (singly-linked) โดยการนำความสามารถของแถวลำดับ (array) มาใช้ เพื่อให้การเข้าสู่ข้อมูลที่ตำแหน่งใดๆ ในเวลา O(log n)ในขนาดที่การเพิ่มหรือลดข้อมูลที่ตำแหน่งหน้าสุด (ตำแหน่งสุดท้ายในรายการ) ใช้เวลา O(1) วีลิสต์มีประโยชน์อย่างมากในการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน (functional programming languages) และนำไปใช้ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลแบบ persistent data structure.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและวีลิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์มีเครื่องหมาย

ูนย์มีเครื่องหมาย หมายถึงจำนวน 0 (ศูนย์) ที่ถูกกำกับด้วยเครื่องหมายบวกหรือลบ ได้แก่ −0 (ลบศูนย์) และ +0 (บวกศูนย์) ในเลขคณิตธรรมดาทั่วไป −0.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและศูนย์มีเครื่องหมาย · ดูเพิ่มเติม »

สตีม (ซอฟต์แวร์)

ตีม (Steam) เป็นซอฟต์แวร์จำหน่ายดิจิทัลพัฒนาโดยวาล์วคอร์ปอเรชัน ที่เสนอมีการจัดการสิทธิดิจิทัล วิดีโอเกมหลายผู้เล่น และเครือข่ายสังคม สตีมจัดหาตัวติดตั้งและตัวอัปเดตเกมอัตโนมัติให้ในคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง และคุณสมบัติชุมชน เช่น รายชื่อเพื่อนและกลุ่ม การเก็บข้อมูลในคลาวด์ และระบบเสียงพูดในเกมและห้องแชต ซอฟต์แวร์ยังจัดหาเอพีไอ ที่เรียกว่า สตีมเวิกส์ (Steamworks) ซึ่งนักพัฒนาสามารถรวมการทำงานของสตีมไว้ในผลิตภัณฑ์ของตน เช่น ระบบเครือข่าย และระบบแม่สื่อ เป้าหมายในเกม ไมโครเพย์เมนต์ และระบบสนับสนุนสำหรับเนื้อหาที่ผู้ใช้สร้างขึ้นด้วยสตีมเวิร์กช็อป แม้ว่าเดิมจะพัฒนาให้ใช้บนระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ รุ่นสำหรับโอเอสเทน และลินุกซ์ ก็ออกจำหน่ายในเวลาต่อมา การแชตและการซื้อของผ่านแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์มือถือระบบปฏิบัติการไอโอเอส และแอนดรอยด์ เว็บไซต์สตีมทำจำลองหน้าร้านค้า และคุณสมบัติเครือข่ายสังคมต่าง ๆ ของแอปพลิเคชันอิสระ นับถึงเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและสตีม (ซอฟต์แวร์) · ดูเพิ่มเติม »

อะแพชี แอกซิส

อะแพชี แอกซิส คือ โครงร่างซอฟต์แวร์ประเภทโอเพ่นซอร์ส ใช้สำหรับสร้างเว็บเซอร์วิซ โดยด้วย แอกซิส เองรองรับการพัฒนาอยู่ 2 ภาษาคือ ภาษาจาวา และ ภาษาซีพลัสพลัส ซึ่งนำไปใช้กับ SOAP Server นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือ และ APIs ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับนักพัฒนา สำหรับสร้าง เว็บเซอร์วิซ และโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานร่วมกับเว็บเซอร์วิซ โดยที่ แอกซิส นี้อยู่ภายใต้มูลนิธีซอฟต์แวร์อะแพชี.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและอะแพชี แอกซิส · ดูเพิ่มเติม »

อะแพชี เล็นยา

อะแพชี เล็นยา (Apache Lenya) เป็นระบบจัดการเนื้อหา (CMS) ที่เป็นโอเพนซอร์สในรูปแบบภาษาจาวาและเอกซ์เอ็มแอล ทำงานอยู่บนเฟรมเวิร์กจัดการเนื้อหา (content management framework) ที่ชื่อ อะแพชี เคอคูน (Apache Cocoon) ลักษณะสำคัญประกอบด้วยการควบคุมการปรับปรุงแก้ไข (revision control), การจัดกำหนดการ (scheduling), ความสามารถในการสืบค้น, การรองรับกระแสงาน (workflow) และตัวแก้ไขแบบ WYSIWYG บนเบราว์เซอร.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและอะแพชี เล็นยา · ดูเพิ่มเติม »

อะแพชี เวโลซิตี

อะแพชี เวโลซิตี (Apache Velocity) เป็นแพ็กเกจโอเพนซอร์สที่สร้างและกำกับดูแลโดยมูลนิธิซอฟต์แวร์อะแพชี เวโลซิตีเป็นเอนจินแม่แบบบนพื้นฐานของภาษาจาวา ซึ่งช่วยผูกภาษาแม่แบบกับอ็อบเจกต์ที่อ้างถึงในโค้ดจาวา โดยจุดประสงค์เพื่อทำให้เกิดความชัดเจนในการแบ่งแยกระหว่างระดับชั้นการนำเสนอกับระดับชั้นธุรกิจบนเว็บแอปพลิเคชัน (ดูเพิ่มที่ Model-view-controller) แอปพลิเคชันที่มักใช้เวโลซิตีเช่น.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและอะแพชี เวโลซิตี · ดูเพิ่มเติม »

อะแพชี เอกซ์เอ็มแอล

อะแพชี เอกซ์เอ็มแอล (Apache XML) เป็นโครงการหนึ่งของมูลนิธิซอฟต์แวร์อะแพชีซึ่งให้ความสำคัญกับเอกซ์เอ็มแอลโดยเฉพาะ โครงการนี้มีโครงการย่อยที่เป็นโอเพนซอร์สทั้งหมดดังนี้.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและอะแพชี เอกซ์เอ็มแอล · ดูเพิ่มเติม »

อะแพชี เดอร์บี

อะแพชี เดอร์บี (Apache Derby) เป็นระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (RDBMS) สร้างขึ้นจากภาษาจาวาซึ่งสามารถนำไปฝังลงในโปรแกรมจาวาได้ ใช้สำหรับการประมวลผลธุรกรรมออนไลน์ มีขนาดเล็กเพียง 2 เมกะไบต์ อะแพชี เดอร์บี เป็นโครงการโอเพนซอร์สที่พัฒนาภายใต้สัญญาอนุญาตอะแพชี 2.0 นอกจากนั้นเดอร์บียังมีการพัฒนาต่อยอดไปเป็น คลาวด์สเคป (Cloudscape) ของไอบีเอ็ม และ จาวาดีบี (Java DB) ของซันไมโครซิสเต็ม.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและอะแพชี เดอร์บี · ดูเพิ่มเติม »

อะแพชี เซิร์กซีส

อะแพชี เซิร์กซีส (Apache Xerces) เป็นกลุ่มไลบรารีที่ใช้แจงส่วน (parse) และจัดดำเนินการ (manipulate) แฟ้มข้อมูลเอกซ์เอ็มแอล ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอะแพชี เอกซ์เอ็มแอล (Apache XML) แพ็กเกจซอฟต์แวร์นี้ช่วยทั้งการแจงส่วนและการผลิตแฟ้มเอกซ์เอ็มแอลขึ้นใหม่ คำว่า Xerces มาจากผีเสื้อเซิร์กซีสสีน้ำเงิน (Xerces Blue butterfly) ซึ่งเป็นการตั้งชื่อตามพระนามในภาษาฝรั่งเศสของเซิร์กซีสมหาราชแห่งเปอร์เซีย (Xerxes the Great) อีกต่อหนึ่ง ไลบรารีนี้เป็นการนำเอพีไอมาตรฐานสำหรับการแจงส่วนเอกซ์เอ็มแอลมาใช้จำนวนหนึ่ง รวมทั้ง DOM, SAX และ SAX 2 เซิร์กซีสสามารถใช้ได้บนภาษาจาวา ภาษาซีพลัสพลัส และภาษาเพิร์ล.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและอะแพชี เซิร์กซีส · ดูเพิ่มเติม »

อีซีเอ็มเอสคริปต์

อีซีเอ็มเอสคริปต์ (ECMAScript) เป็นภาษาสคริปต์ ซึ่งกำหนดมาตรฐานโดย Ecma International ด้วยข้อกำหนดทางเทคนิค ECMA-262 ภาษา ECMAScript นิยมใช้แพร่หลายในการทำเว็บ และมักสับสนกับ JavaScript หรือ JScript ซึ่งภาษาทั้งสองสำเนียงล้วนเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ECMAScript.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและอีซีเอ็มเอสคริปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ผลคูณไขว้

ผลคูณไขว้ '''a''' × '''b''' มีทิศตรงข้ามกับ '''b''' × '''a''' ผลคูณไขว้ หรือ ผลคูณเชิงเวกเตอร์ ในทางคณิตศาสตร์ คือ การดำเนินการทวิภาคบนเวกเตอร์สองอันในปริภูมิแบบยุคลิดสามมิติ ซึ่งให้ผลลัพธ์เป็นเวกเตอร์อีกอันหนึ่งที่ตั้งฉากกับสองเวกเตอร์แรก ในขณะที่ผลคูณจุดของสองเวกเตอร์จะให้ผลลัพธ์เป็นปริมาณสเกลาร์ ผลคูณไขว้ไม่มีการนิยามบนมิติอื่นนอกจากสามมิติ และไม่มีคุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม เมื่อเทียบกับผลคูณจุด สิ่งที่เหมือนกันคือผลลัพธ์จะขึ้นอยู่กับปริภูมิอิงระยะทาง (metric space) ของปริภูมิแบบยุคลิด แต่สิ่งที่ต่างกันคือผลลัพธ์จะขึ้นอยู่กับการกำหนดทิศทาง (orientation).

ใหม่!!: ภาษาจาวาและผลคูณไขว้ · ดูเพิ่มเติม »

จาวา

วา (Java) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและจาวา · ดูเพิ่มเติม »

จาวาบีนส์

วาบีนส์ (JavaBeans) เป็นคลาสที่เขียนขึ้นด้วยภาษาจาวาอย่างสอดคล้องกับสัญนิยมเฉพาะอย่าง ใช้สำหรับห่อหุ้มอ็อบเจกต์จำนวนมากให้อยู่ในอ็อบเจกต์เดียว (Bean) ซึ่งสามารถส่งเวียนไปรอบๆได้ดีกว่าอ็อบเจกต์เดี่ยว.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและจาวาบีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

จาวาสคริปต์

วาสคริปต์ (JavaScript) เป็นภาษาสคริปต์ ทีมีลักษณะการเขียนแบบโปรโตไทพ (Prototyped-based Programming) ส่วนมากใช้ในหน้าเว็บเพื่อประมวลผลข้อมูลที่ฝั่งของผู้ใช้งาน แต่ก็ยังมีใช้เพื่อเพิ่มเติมความสามารถในการเขียนสคริปต์โดยฝังอยู่ในโปรแกรมอื่น ๆ ซัน ไมโครซิสเต็มส์เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้า "JavaScript" โดยมันถูกนำไปใช้ภายใต้สัญญาอนุญาตเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีโดย เน็ตสเคป และมูลนิธิมอซิลล.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและจาวาสคริปต์ · ดูเพิ่มเติม »

จีทีเคพลัส

ีทีเคพลัส (GTK+) เป็นวิจิททูลคิทสำหรับพัฒนาส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (GUI) โปรแกรมในแพลตฟอร์มต่าง ๆ สำหรับระบบเอกซ์วินโดว์ จีทีเคพลัส เป็นหนึ่งในวิจิททูลคิทที่เป็นที่นิยมที่สุดสองตัว วิจิททูลคิทที่เป็นที่นิยมที่สุดอีกตัวหนึ่งสำหรับระบบเอกซ์วินโดว์ คือคิวที ปัจจุบันนี้ทั้งจีทีเคพลัสและคิวทีเข้ามาแทนที่โมทีฟซึ่งเคยเป็นวิจิททูลคิทที่นิยมใช้ที่สุดสำหรับระบบเอกซ์วินโดว์ ในช่วงตั้งต้น จีทีเคพลัส สร้างขึ้นเพื่อใช้ในโปรแกรมจัดการแก้ไขรูปภาพแรสเตอร์ชื่อกนูอิมเมจแมนนิพูเลชันโปรแกรม (GNU Image Manipulation Program, GIMP) ดังนั้นจีทีเคพลัสจึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ากิมป์ทูลคิท (GIMP Toolkit) อย่างไรก็ตามคนส่วนมากรู้จักจีทีเคพลัสเพียงชื่อเดียว จีทีเคพลัส เป็นซอฟต์แวร์เสรี ส่วนหนึ่งในโครงการกนู เผยแพร่โดยใช้สัญญาอนุญาต LGPL ปัจจุบันดูแลการพัฒนาโดย มูลนิธิกโนม (GNOME Foundation).

ใหม่!!: ภาษาจาวาและจีทีเคพลัส · ดูเพิ่มเติม »

จีเมล

ีเมล (Gmail) เป็นบริการอีเมลฟรีของกูเกิลผ่านทางระบบเว็บเมล POP และ IMAP โดยในขณะที่โปรแกรมยังอยู่ในระยะพัฒนา (บีตา) จีเมลเปิดให้ผู้ที่ได้รับคำเชิญทดลองใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2547 และให้บริการแก่บุคคลทั่วไปเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 หลังจากนั้นจึงออกจากระยะพัฒนาพร้อมกับบริการอื่น ๆ ของกูเกิล แอปส์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ปัจจุบันจีเมลรับรองการใช้งาน 54 ภาษารวมถึงภาษาไทย จีเมลเป็นผู้บุกเบิกการใช้ AJAX ที่ใช้งานจาวาสคริปต์และการใช้งานผ่านทางคีย์บอร์ด ทำให้สะดวกต่อการใช้งาน ปัจจุบัน จีเมลเป็นบริการอีเมล์บนเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก กล่าวคือมากกว่า 425 ล้านคน.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและจีเมล · ดูเพิ่มเติม »

ทวิตเตอร์

ทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นบริการเครือข่ายสังคมออนไลน์จำพวกไมโครบล็อก โดยผู้ใช้สามารถส่งข้อความยาวไม่เกิน 280 ตัวอักษร ว่าตนเองกำลังทำอะไรอยู่ โดยเรียกการส่งข้อความนี้ว่า ทวีต (Tweet) ซึ่งแปลว่า เสียงนกร้อง ทวิตเตอร์ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและทวิตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธีของฟลอยด์-วอร์แชล

ั้นตอนวิธีของฟลอยด์-วอร์แชล (Floyd–Warshall algorithm) หรือที่รู้จักในนามว่า ขั้นตอนวิธีของฟลอยด์, ขั้นตอนของรอย-วอร์แชล หรือ ขั้นตอนวิธีของรอย-ฟลอยด์ เป็นขั้นตอนวิธีการวิเคราะห์กราฟเพื่อที่จะหาระยะทางของเส่นทางสั้นสุดในกราฟที่มีน้ำหนักของเส้นเชื่อมเป็นบวก หรือ น้ำหนักของเส้นเชื่อมเป็นลบ ก็ได้แต่ไม่สามารถหาได้ถ้ามีวงจรลบ โดยการทำงานหนึ่งครั้งของขั้นตอนวิธีนี้จะได้คำตอบของระยะทางของเส้นทางสั้นสุดของทุกๆคู่ปมบนกราฟ อย่างไรก็ตามจะไม่สามารถคืนค่ารายละเอียดของเส้นทางสั้นสุดในแต่ละคู่ปมได้ ยกเว้นมีการเพิ่มเติมเข้าไป ขั้นตอนวิธีนี้เป็นตัวอย่างของกำหนดการพลวัตแบบด้านล่างขึ้นด้านบน โดยขั้นตอนวิธีนี้ถูกคิดขึ้นโดย โรเบิร์ต ฟลอยด์ ในปี 1962 อย่างไรก็ตามขั้นตอนวิธีนี้มีส่วนสำคัญเหมือนกับอัลกอริทึมของเบอร์นาร์ด รอยด์ ในปี 1959 และของสตีเฟน วอร์แชล ในปี 1962 ในการค้นหา ความสัมพันธ์แบบถ่ายทอดของกราฟ (Transitive closure).

ใหม่!!: ภาษาจาวาและขั้นตอนวิธีของฟลอยด์-วอร์แชล · ดูเพิ่มเติม »

ดักไทปปิง

ักไทปปิง หรือ ดั๊กไทป์ปิ้ง (en: Duck typing) เป็นวิธีกำหนดชนิดของวัตถุ ในภาษาเชิงวัตถุ ดักไทปปิงเป็นกฏสูงสุดในการกำหนด ชนิดของไทปปิง ไทปปิงทำหน้าที่กำหนดชนิดของตัวแปร รวมไปถึง ชนิดของวัตถุ และ เมธอท การตั้งค่าต่างๆด้วย ชื่อของ ดักไทปปิง ได้มาจากข้อความของ เจมส์ วิธคอม ไลลี่ย์ นักประพันธ์ชาวสหรัฐอเมริกา ที่กล่าวว่า ในทางโปรแกรมเมื่อเราส่งผ่านค่าไปยังฟังก์ชั่น เพื่อเรียกใช้งานวัตถุ ในภาษาที่ไม่ใช้ ดักไทป ผลคือเราต้องเรียกหา วัตถุที่ชื่อว่า เป็ด เท่านั้น แต่ในโปรแกรมประเภทดักไทป เราสามารถส่งค่าเหล่านั้นไปได้ โดยสะดวก เพราะถ้าวัตถุนั้นมี เมธอทเดินแบบเป็ด เมธอทว่ายน้ำแบบเป็ด เมธอทร้องแบบเดียวกับเป็ด ถือว่าวัตถุนั้นเสมือนว่า ชื่อเป็ดได้เช่นกันตัวอย่าง จะเห็นว่าเราส่งตัวแปรเข้า ฟังก์ชั่น calculate โดยไม่ได้คำนึงถึงชนิดของข้อมูลเลย ค่าของตัวแปรในลิสต์เดียวกันก็มีความหลายหลายมาก ในตัวแปรลิสต์เดียวกันมีทั้งตัวแปรที่เป็น เลขจำนวนเต็ม เป็นตัวหนังสือ เป็นลิสต์ของลิสต์ เป็นต้น.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและดักไทปปิง · ดูเพิ่มเติม »

ดีวีบี

การแพร่สัญญาณภาพดิจิทัล หรือ ดีวีบี (Digital Video Broadcasting: DVB) เป็นมาตรฐานกลางของโทรทัศน์ระบบดิจิทัล (digital television) ที่ปรับปรุงและแก้ไขโดย DVB Project ซึ่งเป็นการร่วมมือกันของกลุ่มธุรกิจที่มีสมาชิกมากกว่า 270 ราย โดยมาตรฐานของ DVB นั้น ออกโดย Joint Technical Committee (JTC) ซึ่งเป็นคณะกรรมการที่เกิดจากการรวมตัวกันได้แก.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและดีวีบี · ดูเพิ่มเติม »

ดีไซน์แพตเทิร์น

หนังสือ Design Patterns ดีไซน์แพตเทิร์น (Design Patterns) คือแบบแผนหรือแนวทางที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเสมอๆ ในการออกแบบคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ แบบแผนและแนวทางเหล่านี้ไม่ใช่รูปแบบตายตัวที่จะถูกนำไปใช้โดยตรง แต่เป็นการอธิบายแนวทางหรือโครงที่จะถูกนำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ กล่าวเฉพาะในทางการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ดีไซน์แพตเทิร์นจะแสดงความสัมพันธ์ต่อกันระหว่างคลาสหรืออ็อบเจกต์ต่างๆ โดยไม่จำเพาะเจาะจงการนำไปใช้งานในขั้นสุดท้าย ขั้นตอนวิธีไม่จัดเป็นดีไซน์แพตเทิร์นเพราะเป็นการแก้ปัญหาในทางการประมวลผลมากกว่าในทางการออกแ.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและดีไซน์แพตเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

คลาส (คอมพิวเตอร์)

ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ คลาส (class) คือต้นแบบที่กำหนดคุณสมบัติและพฤติกรรมการทำงานของอ็อบเจกต์ทึ่ถูกสร้างมาจากคลาสนั้นๆ องค์ประกอบของคลาสมีสองส่วนหลักได้แก.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและคลาส (คอมพิวเตอร์) · ดูเพิ่มเติม »

คาราโอเกะ

หน้าจอของคาราโอเกะ จะมีภาพประกอบหรือบางครั้งเป็นมิวสิกวิดีโอโดยด้านล่างของจอภาพ จะเป็นคำร้องในจังหวะนั้น คาราโอเกะ เป็นความบันเทิงชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในรูปแบบของเพลงบรรเลง หรือเพลงที่ปิดเสียงร้องของนักร้องไว้ ผู้ใช้งานจะร้องเพลงนั้นผ่านไมโครโฟน โดยมีเนื้อเพลงขึ้นมาแสดงบนหน้าจอเป็นช่วง ๆ เพื่อช่วยในการร้อง นอกจากนี้แล้วบางครั้งยังมีการเปลี่ยนสีตัวอักษร โดยกวาดเลื่อนสีใหม่ทับสีเดิมตามความเร็วและจังหวะที่ถูกต้องในการร้องอีกด้วย คาราโอเกะมีขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น จากนั้นก็แพร่หลายไปยังส่วนอื่นๆ ของเอเชียตะวันออกและทั่วโลก การให้บริการคาราโอเกะจะมีหลากหลายรูปแบบ เช่นการให้บริการตู้คาราโอเกะ, ห้องส่วนตัว หรือห้องรวมพร้อมอุปกรณ์คาราโอเกะในสถานบันเทิงหรือร้านอาหาร โดยสถานบันเทิงคาราโอเกะบางแห่งอาจมีการบริการขายบริการทางเพศพ่วงเข้ามาด้ว.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและคาราโอเกะ · ดูเพิ่มเติม »

คิวต์

วต์ (Qt อ่านเหมือน cute) เป็นวิจิททูลคิทสำหรับพัฒนาส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (GUI) โปรแกรมในแพลตฟอร์มต่าง ๆ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ที่ใช้คิวต์ เช่น KDE, โอเปรา, กูเกิลเอิร์ท, สไกป์, โฟโตชอป เอเลเมนส์ เป็นต้น คิวต์ พัฒนาโดยใช้ภาษา C++ และใช้ส่วนขยายอื่นนอกเหนือจาก C++ มาตรฐาน ที่ต้องใช้ preprocessor ประมวลเพื่อสร้างคำสั่ง C++ ก่อนการคอมไพล์ มี binding สำหรับใช้ในภาษา เอดา, ซีชาร์ป, จาวา, ปาสกาล, เพิร์ล, พีเอชพี, รูบี้ และ ไพทอน ขีดความสามารถอื่นนอกเหนือจากส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ เช่นการติดต่อกับฐานข้อมูลSQL การอ่านข้อมูล XML การบริหารทรีด (thread) ด้านเครือข่าย และการจัดการไฟล์ ปัจจุบัน Qt ถูก Nokia เทคโอเวอร์ และ ออกผลิตภัณฑ์ ที่เน้นเขียนแอพพลิเคชั้นให้สามารถ รันข้ามแพรตฟอร์มหลากหลายและสามารถทำงานบน โทรศัพทืมือถือและอุปกรณ์เครื่อนที่(Mobile Device)ต่างได้ เช่น อุปกรณ์นำทางบนรถยนต์, แทปเลสพีซี(Tables PC) โดยกาสนับสนุนของ Intel Qt สามารถทำงานได้บนระบบปฏิบัติการ Maemo,Meego,Embleded Linux,Ubantu และ Android.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและคิวต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซันไมโครซิสเต็มส์

ัญลักษณ์ของ Sun Microsystems เป็นตัวอักษร Sun สี่ชุด ที่มองจากมุมไหนก็ได้ ซันไมโครซิสเต็มส์ (Sun Microsystems) เป็นบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ สารกึ่งตัวนำและซอฟต์แวร์ ที่ตั้งอยู่ในซิลิคอนแวลลีย์ เมืองแซนตาแคลรา รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ผลิตภัณฑ์เด่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปของซัน ได้แก่ เครื่องเซิร์ฟเวอร์และเวิร์กสเตชัน ที่ใช้หน่วยประมวลผลสปาร์ค (SPARC), ระบบปฏิบัติการโซลาริส (Solaris), ระบบไฟล์บนเครือข่าย NFS, และ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาจาวา และแพลตฟอร์มจาวา นอกจากนี้ ซันยังเป็นผู้สนับสนุนหลักของ โครงการโอเพ่นออฟฟิศดอทอ็อก (OpenOffice.org) ซึ่งเป็นชุดซอฟต์แวร์สำนักงานแบบโอเพนซอร.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและซันไมโครซิสเต็มส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิงเกิลตันแพตเทิร์น

รงสร้างของคลาสซิงเกิลตัน ในแบบ UML ซิงเกิลตันแพตเทิร์น (Singleton pattern) เป็นดีไซน์แพตเทิร์นที่ใช้จำกัดจำนวนอ็อบเจกต์ที่ถูกสร้างในขณะที่โปรแกรมทำงาน มีประโยชน์ในสถานการณ์ที่ทั้งระบบต้องมีอ็อบเจกต์เพียงตัวเดียวเพื่อจะได้ไม่เกิดการทำงานซ้ำซ้อนกัน ตัวอย่างเช่นคลาสที่ใช้สำหรับเป็นศูนย์รวมการตั้งค่าปรับแต่ง (configuration) ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เมื่อเริ่มโปรแกรมอ็อบเจกต์ของคลาสนี้จะอ่านค่าตั้งต้นจากไฟล์ ผู้ใช้โปรแกรมสามารถทำการปรับเปลี่ยนค่าและเซฟไฟล์เพื่อการใช้งานครั้งต่อไป ในกรณีนี้เราต้องการให้ทุกๆ ส่วนของโปรแกรมใช้อ็อบเจกต์ซิงเกิลตันเพียงตัวเดียวร่วมกัน เพื่อที่ทุกส่วนทำงานสัมพันธ์กันและไม่ต่างส่วนต่างเปลี่ยนแปลงค่าโดยส่วนอื่นๆ ไม่รับรู้.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและซิงเกิลตันแพตเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)

ซัมซุง กาแลคซี โน้ต แอนดรอยด์ (Android) เป็นระบบปฏิบัติการที่มีพื้นฐานอยู่บนลินุกซ์ ในอดีตถูกออกแบบมาสำหรับอุปกรณ์ที่ใช้จอสัมผัส เช่นสมาร์ตโฟน และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันได้แพร่ไปยังอุปกรณ์หลายชนิดเพราะเป็นมาตรฐานเปิด เช่น Nikon S800C กล้องดิจิตอลระบบแอนดรอยด์ หม้อหุงข้าว Panasonic ระบบแอนดรอยด์ และ Smart TV ระบบแอนดรอยด์ รวมถึงกล่องเสียบต่อ TV ทำให้สามารถใช้ระบบแอนดรอยด์ได้ด้วย Android Wear นาฬิกาข้อมือระบบแอนดรอด์ เป็นต้น ถูกคิดค้นและพัฒนาโดยบริษัท แอนดรอยด์ (Android, Inc.) ซึ่งต่อมา กูเกิล ได้ทำการซื้อต่อบริษัทในปี..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ) · ดูเพิ่มเติม »

แถวลำดับพลวัต

แถวลำดับพลวัต (dynamic array) หรืออาจเรียกว่า แถวลำดับที่ขยายได้ (growable array), แถวลำดับที่เปลี่ยนขนาดได้ (resizable array), ตารางพลวัต (dynamic table), รายการแถวลำดับ (array list) หรือ เวกเตอร์ (vector) เป็นรายการประเภทหนึ่ง มีคุณสมบัติการเข้าถึงโดยสุ่มเหมือนแถวลำดับ แต่ต่างจากแถวลำดับธรรมดาตรงที่สามารถขยายขนาดเองได้เมื่อใส่ข้อมูลเพิ่มเข้าไปสมชาย ประสิทธิ์จูตระกูล, การออกแบบและวิเคราะห์อัลกอริทึม, พิมพ์ครั้งที่ 4 แถวลำดับพลวัตไม่ใช่แถวลำดับจากการจองหน่วยความจำพลวัต เนื่องจากแถวลำดับจากการจองหน่วยความจำพลวัตมีขนาดคงที่ ในขณะที่แถวลำดับพลวัตสามารถขยายขนาดได้ อย่างไรก็ตาม ในการอิมพลีเมนต์แถวลำดับพลวัต ก็อาจใช้แถวลำดับจากการจองหน่วยความจำพลวัตเป็นส่วนประกอบได้การอิมพลีเมนต์แถวลำดับพลวัตในภาษาจาว.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและแถวลำดับพลวัต · ดูเพิ่มเติม »

โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก

อเพนออฟฟิศดอตอ็อก (OpenOffice.org ย่อว่า OO.o หรือ OOo) เป็นชุดซอฟต์แวร์สำนักงานที่ทำงานบนหลายระบบปฏิบัติการ เผยแพร่ในรูปแบบซอฟต์แวร์เสรี เขียนขึ้นโดยใช้ชุดเครื่องมือส่วนต่อประสานกราฟิกของตัวเอง รองรับรูปแบบโอเพนด็อกคิวเมนต์ (ODF) ซึ่งเป็นมาตรฐานไอเอสโอ/ไออีซีเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้เป็นรูปแบบแฟ้มพื้นฐาน อีกทั้งยังรองรับรูปแบบเอกสารจากไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ และอื่น ๆ กระทั่งเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและโอเพนออฟฟิศดอตอ็อก · ดูเพิ่มเติม »

ไลบรารีแม่แบบมาตรฐาน

ลบรารีแม่แบบมาตรฐาน (Standard Template Library / STL) เป็นไลบรารีของภาษาซีพลัสพลัส ประกอบไปด้วยคลาสของขั้นตอนวิธี คอนเทนเนอร์ (โครงสร้างข้อมูลและชนิดข้อมูล) ฟังก์เตอร์ และ ตัววนซ้ำ ไลบรารีแม่แบบมาตรฐานของ ISO C++ ได้อ้างอิงตามไลบรารีแม่แบบมาตรฐานของ Silicon Graphics (SGI).

ใหม่!!: ภาษาจาวาและไลบรารีแม่แบบมาตรฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ไอบีเอ็ม ดีบีทู

DB2 เป็นผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม ระบบจัดการฐานข้อมูล (RDBMS) ของ ไอบีเอ็ม ปัจจุบันถูกเรียกว่า ไอบีเอ็ม DB2 Data Server ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม ไอบีเอ็ม Information Management Software ไอบีเอ็ม DB2 Data Server แบ่งเป็นหลายแบบตามความเหมาะสมในการใช้งาน DB2 สามารถทำงานกับอุปกรณ์ต่างๆ ตั้งแต่เครื่อง PC จนกระทั่งถึงเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ นอกเหนือจาก DB2 แล้ว ไอบีเอ็ม ยังมี ระบบจัดการฐานข้อมูล อีกตัวอื่น เช่น Informix ซึ่งถูก ไอบีเอ็ม ซื้อมาเมื่อปี 2001.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและไอบีเอ็ม ดีบีทู · ดูเพิ่มเติม »

ไอรีพอร์ต

อรีพอร์ต (iReport) เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซสำหรับสร้างรายงาน สามารถสร้างรายงานได้ในแบบ WYSIWYG ตัวซอฟต์แวร์สร้างขึ้นด้วยภาษาจาว.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและไอรีพอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ไซยาโนเจนมอด

ซยาโนเจนมอด (CyanogenMod) เป็นระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์ซสำหรับแทนที่เฟิร์มแวร์ดั้งเดิมของสมาร์ตโฟนและแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ พัฒนาจากระบบปฏิบัติการแอนดรอย์ โดยปรับแต่งให้มีความสามารถและฟังชั่นเพิ่มเติม ผู้ใช้จะได้รับการอัปเดต อิงจากเวอร์ชั่นทางการของแอนดรอ.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและไซยาโนเจนมอด · ดูเพิ่มเติม »

เว็บเซอร์วิซ

มาตรฐานที่ใช้งาน เว็บเซอร์วิซ (web service บริการบนเว็บ) คือระบบซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมา เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านระบบเครือข่าย โดยที่ภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ คือเอกซ์เอ็มแอล เว็บเซอร์วิซมีอินเทอร์เฟส ที่ใช้อธิบายรูปแบบข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์ประมวลผลได้ เช่น WSDL ระบบคอมพิวเตอร์ใช้งานสื่อสารโต้ตอบกับเว็บเซอร์วิซตามรูปแบบที่ได้กำหนดไว้แล้ว โดยการส่งสาสน์ตามอินเตอร์เฟสของเว็บเซอร์วิซนั้น โดยที่สาสน์ดังกล่าวอาจแนบไว้ในซอง SOAPหรือส่งตามอินเตอร์เฟสในแนวทางของ REST สาสน์เหล่านี้ปกติแล้วถูกส่งโดยอาศัย HTTP และใช้ XML ร่วมกับมาตรฐานเกี่ยวกับเว็บอื่นๆ โปรแกรมประยุกต์ที่เขียนโดยภาษาต่างๆ และทำงานบนแพลตฟอร์มต่างๆกันสามารถใช้เว็บเซอร์วิซเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ในลักษณะเดียวกับการสื่อสารระหว่างโปรเซส (Inter-process communication) บนเครื่องเดียวกัน ความสามารถในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบที่ต่างกันนี้ (เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง โปรแกรมที่เขียนโดยภาษาจาวา และโปรแกรมที่เขียนโดยภาษาไพทอน หรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนไมโครซอฟท์วินโดวส์และโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนลินุกซ์) เกิดขึ้นได้เนื่องจากการใช้มาตรฐานเปิด โดย OASIS และ W3C เป็นคณะกรรมการหลักในการรับผิดชอบมาตรฐานและสถาปัตยกรรมของเว็บเซอร์วิซ.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและเว็บเซอร์วิซ · ดูเพิ่มเติม »

เอสพีเอสเอส

อสพีเอสเอส (SPSS) เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้เพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ บริษัทจัดจำหน่าย SPSS ถูกซื้อโดย IBM เมื่อเดือนมิถุนายน 2552 และปัจจุบันใช้ชื่อบริษัทว่า "SPSS: An IBM Company" SPSS เดิมชื่อว่า "Statistical Package for the Social Sciences" (ชุดโปรแกรมสถิติเพื่อสังคมศาสตร์) ออกเผยแพร่ครั้งแรกในปี 2511 หลังจากถูกพัฒนาโดย Norman H. Nie และ C. Hadlai Hull Norman Nie ในขณะนั้นเป็นนักศึกษารัฐศาสตร์ภาคบัณฑิตที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์วิจัยที่ภาควิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และศาสตราจารย์เกียรติคุณสาขารัฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก SPSS เป็นหนึ่งในโปรแกรมที่นิยมใช้แพร่หลายมากที่สุดสำหรับการวิเคราะห์ทางสถิติในสังคมศาสตร์ มันถูกใช้โดยนักวิจัยตลาด นักวิจัยสุขภาพ บริษัทสำรวจความคิดเห็น รัฐบาล นักวิจัยการศึกษา บริษัทการตลาด ฯลฯ คู่มือการใช้งาน SPSS ฉบับแรก (Nie, Bent & Hull, 1970) ถูกอธิบายว่าเป็นหนึ่งใน "หนังสือที่ทรงอิทธิพลที่สุดในสาขาสังคมวิทยา" นอกเหนือไปจากการวิเคราะห์ทางสถิติแล้ว การจัดการข้อมูล (การเลือกกรณีศึกษา, การแปลงแฟ้ม, การสร้างข้อมูลสืบทอด) และการทำเอกสารข้อมูล (พจนานุกรมเมทาเดตาจะถูกเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล) ก็เป็นความสามารถของซอฟต์แวร์รุ่นพื้นฐาน.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและเอสพีเอสเอส · ดูเพิ่มเติม »

เฮลโลเวิลด์

ปรแกรมเฮลโลเวิลด์ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานที่ทำการแสดงผลคำว่า "Hello world" หรือ "Hello, world!"(ตามหลักภาษาอังกฤษ) บนอุปกรณ์แสดงผล ซึ่งเป็นหนึ่งในโปรแกรมที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในการเขียนภาษาโปรแกรมต่างๆ เพราะฉะนั้นโดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว มักจะใช้ในการตรวจสอบว่าเขียนภาษาโปรแกรมได้ถูกต้องหรือระบบมีการประมวลผลที่ถูกต้อง และมักถูกใช้เป็นตัวอย่างที่ง่ายที่สุดในการแสดงวากยสัมพันธ์การเขียนโปรแกรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งบน command-line interpreter (เชลล์) เพื่อทำการแสดงผลออกมา อย่างไรก็ตามโปรแกรมนี้ก็มีความซับซ้อนอย่างน่าประหลาดใจ โดยเฉพาะเมื่อต้องเขียนโปรแกรมสำหรับส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ เมื่อเขียนโปรแกรมในembedded system ช้อความจะถูกส่งมายังจอภาพผลึกเหลว ซึ่งตัวอุปกรณ์นั้นไม่ได้แสดงผลตัวอักษร แต่ตัวโปรแกรมง่ายๆ นี้ จะทำการสร้างสัญญาณ เช่นเดียวกับการเปิดLED บ้างที่เราอาจกล่าวได้ว่า "Hello world" เปรียบเสมือนการต้อนรับเราเข้าสู่โปรแกรมก็ได้ โปรแกรมเฮลโลเวิลด์โปรแกรมแรกเกิดขึ้น จากหนังสือการเขียนโปรแกรมภาษาซี แต่งโดยไบรอัน เคอร์นิงแฮน และ เดนนิส ริตชี ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) โดยตัวอย่างโปรแกรมมาจาก กระดาษจดข้อมูลของไบรอันขณะที่ทำงานที่ เบลล์แล็บ (Bell Laboratories) ปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) ตัวอย่างในหนังสือ พิมพ์ข้อความว่า "hello, world" (โดย ไม่มีตัวพิมพ์ใหญ่ และเครื่องหมายตกใจ ซึ่งได้เพิ่มมาในภายหลัง) โดยแสดงข้อความ: การเขียนคำนี้ มีการใช้งานโดยเขียนหลายแบบคือ ตัวอักษร H ใหญ่ และ h เล็ก ขณะเดียวกับ W ใหญ่ และ w เล็ก รวมถึงการเขียนเครื่องหมาย และแบบไม่มีเครื่องหมาย การเขียนชุดคำสั่งนี้ในขณะที่บางโปรแกรมสามารถใช้คำสั่งได้อย่างเรียบง่าย ในขณะที่บางโปรแกรมต้องใช้คำสั่งซับซ้อนในการแสดงผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ใช้GUI โปรแกรมเฮลโลเวิลด์มีประโยชน์ในการทดสอบว่าคอมไพเลอร์และส่วนต่างๆหลักของโปรแกรมทำงานได้ การรวบรวมคำสั่ง "hello world" ในภาษาโปรแกรมต่างๆ ถูกใช้ในการช่วยเรียน และการเปรียบเทียบการใช้งานของภาษาต่าง.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและเฮลโลเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์

มส์ (James) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและเจมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ กอสลิง

มส์ กอสลิง เจมส์ กอสลิง (James Gosling) เกิดเมื่อ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ภาษาจาวาและเจมส์ กอสลิง · ดูเพิ่มเติม »

เจดีบีซี

วะเชื่อมต่อฐานข้อมูลของจาวา หรือ เจดีบีซี (Java Database Connectivity: JDBC) เป็นส่วนต่อประสานสำหรับภาษาจาวาที่ใช้กำหนดการเข้าถึงฐานข้อมูลของผู้รับบริการ โดยมีเมท็อดสำหรับสอบถามและปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูล ซึ่งจะมุ่งไปที่ฐานข้อมูลเชิงสัมพัน.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและเจดีบีซี · ดูเพิ่มเติม »

เจเอสพี

อสพี (JavaServer Pages: JSP) เป็นเทคโนโลยีจาวาที่เปิดช่องทางให้ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สร้าง HTML, XML หรือไฟล์เอกสารในประเภทนี้ตามความต้องการของเครื่องลูกข่ายร้องขอ ซึ่งเทคโนโลยีนี้เปิดให้ใช้ภาษาจาวาในการสร้างและกรทำการใด ๆ เพื่อให้หน้าเว็บเพจธรรมดากลายเป็นหน้าเว็บเพจที่สามารถตอบสนองได้ โดยเจเอสพีจะถูกโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่สนับสนุนเจเอสพี เช่น อะแพชี ทอมแคต, GlassFish แปลให้เป็นจาวา คลาส ที่เรียกว่าเซิร์ฟเลต ซึ่งพร้อมที่จะประมวลผลด้วยจาวาและแสดงผลออกเป็น HTML.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและเจเอสพี · ดูเพิ่มเติม »

เทนชู

ตราสัญลักษณ์ของเกม เทนชู (天誅 Tenchu) เป็นวิดีโอเกมแนวนินจาที่เป็นที่นิยม โดยตามเนื้อเรื่องผู้เล่นจะต้องรับบทบาทเป็นนินจา ชื่อของเกมนั้นเป็นภาษาญี่ปุ่น ซึ่งถ้าแปลเป็นภาษาไทยแล้ว 天 (เทน) จะหมายถึงชั้นฟ้า และ 诛(ชู) หมายถึงการลงโทษ เทนและชูรวมกันจึงแปลว่า การลงโทษจากฟากฟ้า นั่นเอง เทนชูเป็นที่รู้จักในฐานะที่เป็นเกมแนวลักลอบ และมีต้นฉบับของเกมมาจากระบบศักดินาของญี่ปุ่น (ประกอบด้วยซามูไร, ชาวนา, ศิลปิน และพ่อค้า ตามลำดับ) เทนชูเป็นเกมแรกๆที่ผลิตในแนวของนินจา อย่างไรก็ตามนอกจากจะมีศิลปะการต่อสู้แบบดั้งเดิมแล้ว เทนชูยังมีองค์ประกอบของจินตนาการและตำนานเข้าไปผสมผสานด้วย เกมในซีรีส์นี้ประกอบไปด้ว.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและเทนชู · ดูเพิ่มเติม »

เน็ตบีนส์

น็ตบีนส์ (NetBeans) เป็นเครื่องมือสำหรับนักโปรแกรมเมอร์ที่จะใช้พัฒนา Application ด้วยภาษาจาวา ในปี ค.ศ. 1998 ได้มีกลุ่มนักศึกษา "rock solid software" ได้พัฒนาซอฟต์แวร์ขึ้นมาตัวหนึ่ง ที่จะใช้ในการพัฒนา Application ด้วยภาษาจาวา เป็นโปรเจกต์นักศึกษา โดยตั้งชื่อว่า NetBeans และได้เผยแพร่ให้โปรแกรมเมอร์และบุคคลทั่วไปนำไปใช้งานได้ฟรีในรูปแบบ Opensource software ต่อมาในปี ค.ศ. 2000 บริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์ ผู้พัฒนาภาษาจาวา ได้เข้ามาเป็นผู้สนับสนุนหลักในการพัฒนา NetBeans และได้ทำออกมาในรูปของ Opensource software โดยผู้ใช้งานไม่จำเป็นที่จะต้องเสียเงิน เพื่อซื้อมาใช้งาน และยังได้เปิดเผย Soure code ให้ผู้สนใจและนักพัฒนานำไปดัดแปลง แก้ไข ตามกฎของ Opensource ปัจจุบันมีนักโปรแกรมเมอร์ทั่วโลกต่างช่วยกันพัฒนา NetBeans ให้มีความสามารถสูงยิ่งขึ้น ปัจจุบัน NetBeans IDE ได้รับความนิยมมากยิ่งขึ้น และได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถสูงยิ่งขึ้นเรื่อยๆ นอกจากจะใช้ในการพัฒนา Application ด้วยภาษาจาวาแล้ว ยังสามารถพัฒนาอื่นๆได้อีกหลากหลายโดยติดตั้งโปรแกรมเสริม (Add-on) ได้จากเว็บไซต์ หรือผ่านตัวอัปเดตเซนเตอร์ (Update Center) ของ NetBeans เช่น ภาษาซี/ซีพลัสพลัส (C/C++), Ruby, UML, SOA, Web Application, Java EE, Mobility(Java ME), Java FX, Java Script, PHP เป็นต้น ในเวอร์ชัน 6.0 เป็นต้นไปมีการรวมโปรแกรมเสริมต่างๆที่สำคัญเข้าในตัวติดตั้งของ NetBeans โดยสามารถเลือกติดตั้งได้ภายหลัง.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและเน็ตบีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

J2EE

J2EE (Java 2 Platform Enterprise Edition) เป็นแพล็ตฟอร์มที่ออกแบบสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับ เมนเฟรมของวิสาหกิจขนาดใหญ่ ซันไมโครซิสเตม (Sun Microsystems) ได้ออกแบบ สามารถพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ง่ายขึ้นโดย J2EE และลดส่วนของการเขียนโค้ดและให้บางส่วนถูก ควบคุมอย่างอัตโนมัติ J2EE ได้รวมส่วนประกอบจำนวนมากของแพล็ตฟอร์ม J2SE (Java 2 Standard Edition) เช่น.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและJ2EE · ดูเพิ่มเติม »

Java Development Kit

Java Development Kit (JDK) เป็นชุดคำสั่งในการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาจาวา ซึ่งชุดพัฒนาโปรแกรม JDK ประกอบด้วย 3 รุ่นย่อยดังนี้.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและJava Development Kit · ดูเพิ่มเติม »

JEdit

jEdit เป็น text editor สำหรับโปรแกรมเมอร์ เผยแพร่ในลิขสิทธิ์ GNU General Public License jEdit เขียนขึ้นด้วย ภาษาจาวา มี plug-ins มากมายสำหรับเพิ่มความสามารถในหลายๆส่วน รองรับ Syntax highlighting มากกว่า 130 รูปแบบ (สามารถเพิ่มแบบใหม่ๆได้ด้วยตัวเองผ่านไฟล์ XML).

ใหม่!!: ภาษาจาวาและJEdit · ดูเพิ่มเติม »

JFire

JFire เป็นระบบ ERP รวมกับ CRM ที่เปิดตัวครั้งแรกเมื่อเดือนมกราคม 2549 ภายใต้เงื่อนไขของ LGPL JFire จึงเป็นซอฟต์แวร์เสรี ที่ทุกคนสามารถที่จะเปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือแจกจ่ายต่อได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ JFire ทั้งหมดถูกเขียนขึ้นโดยใช้ Java และเทคโนโลยีอื่น ๆ เช่น Java EE 1.4 (J2EE เดิม) JDO 2, Eclipse RCP 3 ดังนั้นในส่วนของผู้ใช้และส่วนของเซิฟเวอร์สามารถพัฒนาต่อได้อย่างง่ายดาย และการปรับให้เข้ากับหน่วยงานหรือบริษัทหนึ่ง ๆ นั้นก็ทำได้โดยง่ายดายเช่นกัน JFire ขณะนี้เป็นรุ่นที่อยู่ในขั้นกำลังพัฒนาระดับ beta ประกอบด้วยส่วนจัดการพื้นฐานที่สำคัญได้แก่ โมดูลการจัดการโดยผู้ใช้ โมดูลบัญชี โมดูลจัดการร้านค้า โมดูลสำหรับออนไลน์เทรดดิ้ง (ผ่านระบบเว็บชอป) เครื่องมือในการสร้างกราฟิกสองมิติ และ plugin อื่นๆที่มีประโยชน์ โมดูลการทำรายงานอยู่บนฐานของ BIRT ที่สามารถจัดการแก้ไขรูปแบบรายงาน สถิติ และเอกสารอื่น ๆ (เช่น ใบจัดซื้อจัดจ้าง ใบเสนอราคา เอกสารเรียกเก็บเงิน เป็นต้น) แม้ว่าเป้าหมายหลักของโครงการนี้คือการสร้าง framework ที่มีเสถียรภาพและยืดหยุ่น เพื่อสะดวกในการดัดแปลงแก้ไขในการประยุกต์ใช้กับส่วนงานเฉพาะด้าน แต่ก็มีการจัดหาโมดูลเพื่องานอื่นๆสำหรับกิจการขนาดเล็กและขนาดกลางด้วย เนื่องจาก JFire เป็นระบบที่พัฒนาโดยใช้ JDO ในส่วนการจัดการฐานข้อมูล ทำให้เป็นอิสระต่อระบบฐานข้อมูล (DBMS) ที่ใช้ และเปิดช่องให้ใช้ SQL ได้ด้วย นอกจากนั้นการใช้ JDO ทำให้สามารถใช้ฐานข้อมูลแบบ DBMS ชนิดอื่นได้ (เช่น object databases) ในการนำเอา JFire ไปใช้ จะได้ JDO2/JPOX ไปด้วยซึ่งสามารถใช้งานกับ relational databasesและ db4o ด้วย แม้ว่า JavaEE, JDO และ Eclipse RCP จะมีข้อดีหลายอย่าง แต่ก็ยังจะมีข้อเสีย นั่นคือต้องการระยะเวลาในการอบรมที่นานกว่าเทคโนโลยีก่อน ๆ อยู่บ้าง เมื่อเทียบกับ SQL.

ใหม่!!: ภาษาจาวาและJFire · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Java (programming language)Java programming language

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »