โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาพเหมือน

ดัชนี ภาพเหมือน

หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.

113 ความสัมพันธ์: บาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์บาคคัสไม่สบายฟรันส์ ฮัลส์ฟร็องซัว บูเชฟีลิปโป ลิปปีพระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บกริสโตฟาโน อัลโลรีการอลุส-ดูว์ร็องกาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซินภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิสภาพนิ่งภาพเหมือนอาร์นอลฟีนีภาพเหมือนผู้อุทิศภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน (ราฟาเอล)ภาพเหมือนของชายกับเหรียญโคสิโมผู้อาวุโส (บอตติเชลลี)ภาพเหมือนของชายหนุ่ม (บอตติเชลลี-พิตติ)ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)ภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (คาราวัจโจ)ภาพเหมือนของมาดามเอ็กซ์ภาพเหมือนของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8ภาพเหมือนของหญิงสาว (ลา ฟอร์นารินา)ภาพเหมือนของอันเดรอา นาวาเจโร และอากอสติโน เบอัซซาโน (ราฟาเอล)ภาพเหมือนของของสตรีสาว (ลา มูตา)ภาพเหมือนของครอบครัวเบลเลลลิภาพเหมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตาภาพเหมือนของโคสิโม เดอ เมดิชิภาพเหมือนของเอลิซาเบตตา กอนซากาภาพเหมือนของเอเลเนอร์แห่งโทเลโดภาพเหมือนตนเองภาพเหมือนเจ้าหญิง (พิซาเนลโล)มอริส ก็องแต็ง เดอ ลา ตูร์มักซ์ ลีเบอร์มันน์มารี-เดอนีซ วีแลร์ยัน ฟัน โคเยินยัน ลีเฟินส์ยัน เดอ ไบรยาโกบ ยอร์ดานส์ยาโกบ เดอ ไคน์ที่ 3 (แร็มบรันต์)รายชื่อภาพเขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีลำดับคุณค่าของศิลปะลูกสาวของเอ็ดเวิร์ด ดาร์ลีย์ บอยท์ลูคัส ครานัควงศ์รวี นทีธรศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์)ศิลปะดัตช์ศิลปะตะวันตกสาวใส่ต่างหูมุกสถาบันสมิธโซเนียนอันโตน ฟัน ไดก์...อันโตเนลโล ดา เมสสินาอาบราฮัม บลุมาร์ตอาดรียาน ฟัน โอสตาเดออาดรียาน เบราเวอร์อาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์อิสราเฮล ฟาน เม็คเคอเน็มอเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ฮันส์ ฮอลไบน์ (ผู้ลูก)ฮิโระชิเงะฌอง เฮย์ฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์จอร์โจเนจอห์น คอนสตาเบิลจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์จอห์น ซิงเกิลทัน โคพลีย์จิตรกรรมบาโรกจิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิชจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีจิตรกรรมตะวันตกจิตรกรรมแผงจุลจิตรกรรมภาพเหมือนจูเซปเป อาร์ชิมโบลโดทอมัส เกนส์เบรอทอมัส เอคินส์ทัศน์สุดท้ายของอังกฤษ (บราวน์)ทิเชียนขรัวอินโข่งดีร์ก เบาตส์ครอบครัวรูแล็งคิกุชิ โยไซงานสะสมชุดโจวีโอซันโดร บอตตีเชลลีซีโมเน มาร์ตีนีประติมากรรมคลาสสิกปีเอตะ (ทิเชียน)ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกานักร้องคอนเสิร์ต (เอคินส์)นิโคลัส ฮิลเลียร์ดนีกอลา เดอ ลาร์ฌีลีแยร์แฟร์ดีนันด์ โบลแม็ทธิว เบรดีแอดการ์ เดอกาแคทเธอรีน เดอ เมดีชีโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดินโลวิส โครินธ์โอตโต ฟัน เฟนโจชัว เรย์โนลส์โดเมนีโก กีร์ลันดาโยโคเฟิร์ต ฟลิงก์โซโฟนิสบา อังกิสโซลาเชกโก เดล คาราวัจโจเบญจาคริสต์เฟรเดริก บาซีย์เลมูเอล ฟรานซิส แอ็บบอทเวลคัมทูเดอะแฟมิลี (เพลง)เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริงเจนตีเล เบลลีนีเจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีชมพูเจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีน้ำเงินเคราร์ด ฟัน โฮนต์ฮอสต์เคราร์ด เตอร์บอร์คเปตรึส คริสตึส ขยายดัชนี (63 มากกว่า) »

บาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์

ลจิตรกรรมสัญลักษณ์แฝงคติจาก “ตำนานแห่งความรัก” ของพระเจ้าเรเน (King Rene’s Livre du cueur d'amour esprit) บาเธเลมี ฟาน เอค (ภาษาอังกฤษ: Barthelemy van Eyck หรือ Barthélemy d’Eyck หรือ van Eyck หรือ d' Eyck) (ค.ศ. 1420 - ก่อน ค.ศ. 1470) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้นคนสำค้ญของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้ทำงานอาจจะเป็นในบริเวณเบอร์กันดีในประเทศฝรั่งเศส บาเธเลมี แวน เอคมีความสำคัญในการเขียนภาพเขียน, จุลจิตรกรรม (Miniature) และภาพสำหรับ หนังสือวิจิตร ฟาน เอคสร้างผลงานระหว่างปี ค.ศ. 1440 ถึงปี ค.ศ. 1469 และอาจจะเป็นญาติกับ ยาน ฟาน เอค แม้ว่างานที่เหลืออยู่จะไม่สามารถบอกได้แน่นอนว่าเป็นงานของบาเธเลมี ฟาน เอค แต่นักประพันธ์ร่วมสมัยกล่าวว่าฟาน เอคเป็นศิลปินผู้มีชื่อเสียงของสมัยนั้น และมักจะยอมรับว่างานชิ้นสำคัญๆ เป็นงานของฟาน เอค โดยเฉพาะเป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นคนคนเดียวกับผู้ที่รู้จักกันในนามว่า “ครูบาแห่งการประกาศของเทพแห่งเอ็กซ์” (Master of the Aix Annunciation) ในฐานะเป็นผู้วาดบานพับภาพ และ “ครูบาแห่งเรเนแห่งอองชู” (Master of René of Anjou) ผู้วาดภาพสำหรับหนังสือวิจิตร นอกจากนั้นก็ยังเชื่อกันว่าฟาน เอคคือ “ครูบาแห่งแสงเงา” ซึ่งเป็นผู้วาดภาพบางภาพใน “หนังสือประจำชั่วโมงดยุคแห่งแบร์รี” (Très Riches Heures du Duc de Berry).

ใหม่!!: ภาพเหมือนและบาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์ · ดูเพิ่มเติม »

บาคคัสไม่สบาย

ัคคัสไม่สบาย (ภาษาอังกฤษ: Young Sick Bacchus หรือ Self-portrait as Bacchus หรือ Bacchino Malato) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์บอร์เกเซในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “บัคคัสไม่สบาย” เขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1593 ถึงปี ค.ศ. 1594 เป็นภาพเหมือนตนเอง ตามคำอธิบายของผู้เขียนชีวประวัติของคาราวัจโจจิโอวานนิ บากลิโอเนกล่าวว่าเป็นภาพที่วาดโดยใช้กระจกส่องให้เห็นตัวเอง ภาพ “บัคคัสไม่สบาย” เป็นภาพที่เขียนในปีแรกที่คาราวัจโจมาถึงกรุงโรมจากมิลานในราวกลางปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและบาคคัสไม่สบาย · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันส์ ฮัลส์

ฟรันส์ ฮัลส์ (Frans Hals; ราว ค.ศ. 1580 - 26 สิงหาคม ค.ศ. 1666) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ฮัลส์มีชื่อเสียงในการเขียนภาพเหมือนและการใช้ฝีแปรงที่อิสระและเป็นผู้นำวิธีการเขียนที่มีชีวิตชีวามาสู่ศิลปะดัตช์ และเป็นผู้มีบทบาทในการวิวัฒนาการการเขียนภาพเหมือนของกลุ่มคนในคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและฟรันส์ ฮัลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว บูเช

ฟร็องซัว บูเช (François Boucher; 29 กันยายน ค.ศ. 1703 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1770) เป็นจิตรกรสมัยโรโคโคคนสำคัญชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีชื่อเสียงในงานเขียนที่เป็นอุดมคติและอวบอิ่ม (voluptuous) ของภาพประเภทคลาสสิก อุปมานิทัศน์ และท้องทุ่ง (pastoral) นอกจากนั้นบูเชก็ยังเขียนภาพเหมือนหลายภาพของมาดาม เดอ ปงปาดูร.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและฟร็องซัว บูเช · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปโป ลิปปี

“แม่พระและพระกุมาร”ราว ค.ศ. 1440-1445พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี., สหรัฐอเมริกา “ภาพเหมือนผู้ชายและผู้หญิงในห้อง” (Portrait of a Man and Woman at a Casement) ราว ค.ศ. 1440พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน, นครนิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา ภาพเหมือนกับลูกศิษย์ ฟีลิปโป ลิปปี (Filippo Lippi) (ค.ศ. 1406 - 8 ตุลาคม ค.ศ. 1469) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและฟีลิปโป ลิปปี · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)

ูบทความหลักที่ พระเยซูถูกเฆี่ยน พระเยซูถูกเฆี่ยน (ภาษาอังกฤษ: Flagellation of Christ) เป็นภาพที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ พิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งมาร์เคที่เมืองเออร์บิโนในประเทศอิตาลี เปียโรเขียนภาพนี้ประมาณระหว่างปี ค.ศ. 1455 ถึงปี ค.ศ. 1460 นักเขียนผู้หนึ่งบรรยายภาพนี้ว่าเป็นภาพ “enigmatic little painting” องค์ประกอบของภาพต่างจากการวางองค์ประกอบภาพโดยทั่วไปและค่อนข้างซับซ้อน รูปสัญลักษณ์และความหมายในการสื่อเป็นเรื่องที่ถกเถียงทางทฤษฎีกันอย่างกว้างขวาง เค็นเน็ธ คล้าค (Kenneth Clark) นักประวัติศาสตร์ศิลปะนับภาพ “พระเยซูถูกเฆี่ยน” เป็นภาพหนึ่งในจำนวนภาพเขียนที่ดีที่สุดสิบภาพและเรียกว่าเป็น “ภาพเขียนเล็กที่ดีที่สุดในโลก”.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและพระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา) · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บ

ัณฑ์ศิลปะเว็บ (Web Gallery of Art) เป็นเว็บไซต์ที่แสดงภาพงานจิตรกรรมและประติมากรรมตะวันตกสมัยบาโรก กอธิค และ เรอเนซองส์ พิพิธภัณฑ์ศิลปะออนไลน์มีภาพงานศิลปะด้วยกันทั้งหมดกว่า 15,400 ภาพบางภาพมีคำอธิบายและคำวิจัยประกอบ นอกจากภาพเขียนแล้วพิพิธภัณฑ์ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับชีวประวัติของศิลปิน และ ที่จัดเป็นหัวข้อเช่น หรือ หน้าแสดงการเปรียบเทียบภาพเขียนชื่อ “จูดิธตัดหัวโฮโลเฟอร์เนส” (Giuditta che decapita Oloferne) ที่เขียนโดยคาราวัจโจและ อาร์เทมิเซีย เจ็นทิเลสชิ ผู้ใช้สามารถใช้ระบบการเรียกข้อมูลที่ต้องการได้จากฐานข้อมูล ข้อมูลอาจจะดึงได้จาก: เมื่อพบภาพที่ต้องการแล้วผู้ใช้ก็สามารถเลือกขนาดภาพที่จะชมและดนตรีประกอบได้ พิพิธภัณฑ์ศิลปะออนไลน์ก่อตั้งโดย อีมิล เคร็น และแดเนียล มาร์กซ ภาพงานศิลปะที่ปรากฏในพิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บเป็นภาพที่ลิขสิทธิ์หมดอายุ แต่ลิขสิทธิ์ตามกฎหมายยังครอบคลุมในการ reproduce ภาพ พิพิธภัณฑ์ให้คำจำกัดความเรื่องลิขสิทธิ์ว่า “พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บจดทะเบียนลิขสิทธิ์ในฐานะที่เป็นฐานข้อมูล ภาพและเอกสารที่ผู้ใช้ดาวน์โหลดจากฐานข้อมูลนี้นำไปใช้ได้เฉพาะทางการศึกษาและทางส่วนบุคคล ห้ามใช้ในการแจกจ่ายไม่ว่าในรูปแบบใดโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของงานตามกฎหมาย” แต่โดยทั่วไปแล้วพิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บมิได้ระบุข้อมูลใดๆ ที่เกี่ยวกับเจ้าของงานบนหน้าที่แสดงภาพ ในสหรัฐอเมริกากฎหมายลิขสิทธิ์มิได้ครอบคลุมการ reproduce ภาพที่เป็นสมบัติของสาธารณชนแล้วตามการตัดสินของศาลในคดีระหว่าง “ห้องสมุดศิลปะบริดจ์แมน และ บริษัทคอเรล” กรณีเช่นเดียวกันนี้ในบางท้องถิ่นหรือในบางประเทศอาจจะเป็นเช่นสหรัฐอเมริกาแต่ไม่ทั้งหม.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและพิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บ · ดูเพิ่มเติม »

กริสโตฟาโน อัลโลรี

ริสโตฟาโน อัลลอริ (Cristofano Allori) (17 ตุลาคม ค.ศ. 1577 - 1 เมษายน ค.ศ. 1621) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีของการเขียนแบบปลายแมนเนอริสม์ของฟลอเรนซ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน อัลลอริเกิดที่ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ได้รับการศึกษาทางจิตรกรรมเบื้องต้นจากบิดาอเลสซานโดร อัลลอริ แต่ไม่พึงพอใจกับการเน้นการเขียนภาพร่างกายและการใช้สีเย็น ต่อมาอัลลอริก็เข้าทำงานกับห้องเขียนภาพของเกรกอริโอ พากานิ (ค.ศ. 1558-ค.ศ. 1605) ผู้เป็นจิตรกรชั้นนำของตระกูลการเขียนแบบฟลอเรนซ์ ที่พยายามแสวงหาการผสานการใช้สีอันเรืองรองของเวนิสกับการเน้นการวาดรายละเอียดของฟลอเรนซ์ นอกจากนั้นก็ดูเหมือนว่าอัลลอริจะมีโอกาสได้ทำงานกับชิโกลิด้วย ภาพเขียนของอัลลอริมีลักษณะเด่นจากการวาดแบบธรรมชาตินิยมและความละเอียดอ่อนของวิธีการวาด ความสามารถทางเทคนิคของอัลลอริเห็นได้ชัดจากงานก็อปปีงานของอันโตนิโอ ดา คอร์เรจจิโอที่มีฝีมือจนทำให้เข้าใจกันผิดๆ ว่าเป็นงานก็อปปีที่ทำโดยคอร์เรจจิโอเอง งานชิ้นเอกของอัลลอริคือภาพ “จูดิธและหัวโฮโลเฟอร์นีส” ที่มีด้วยกันสองภาพๆ หนึ่งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์พิตติที่ฟลอเรนซ์ และอีกภาพหนึ่งเป็นของหอศิลป์ควีนในลอนดอน ผู้เป็นแบบในภาพคือภรรยาน้อยของอัลลอริเองมาซซาเฟียร์รา และหัวของโฮโลเฟอร์นีสเชื่อกันว่าเป็นภาพเหมือนของอัลลอริเอง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและกริสโตฟาโน อัลโลรี · ดูเพิ่มเติม »

การอลุส-ดูว์ร็อง

ร์ล โอกุสต์ เอมีล ดูว์ร็อง (Charles Auguste Émile Durand) หรือ การอลุส-ดูว์ร็อง (Carolus-Duran,; 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2380 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ การอลุส-ดูว์ร็อง เป็นจิตรกรและอาจารย์สอนจิตรกรรมชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน การอลุส-ดูว์ร็องมีชื่อเสียงจากการเขียนภาพชนชั้นสูงของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สาม.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและการอลุส-ดูว์ร็อง · ดูเพิ่มเติม »

กาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซิน

กาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซิน (Caterina van Hemessen; ค.ศ. 1528 - หลังจาก ค.ศ. 1587) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน กาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซินเป็นจิตรกรสตรีเฟลมิชคนแรกที่มีหลักฐานทางการเขียน และเช่นเดียวกับจิตรกรสตรีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนอื่น ๆ ที่เป็นบุตรีของจิตรกรยัน ซันเดิร์ส ฟัน เฮเมิสเซิน (Jan Sanders van Hemessen) ผู้คงจะเป็นครูผู้สอนให้กาเตรีนาเขียน กาเตรีนาเขียนภาพเหมือนของผู้คนผู้มีฐานะดีทั้งหญิงและชายที่มักจะมีฉากหลังเป็นสีมื.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและกาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซิน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส

ระราชินีมารี เดอ เมดีซิส (Marie de' Medici cycle) เป็นภาพเขียนชุดจำนวนยี่สิบสี่ภาพที่เขียนโดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ จิตรกรคนสำคัญของสมัยบาโรกแบบเฟลมิช ที่ว่าจ้างโดยพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส พระอัครมเหสีในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สำหรับตั้งแสดงที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รือเบินส์ได้รับการจ้างในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 1621 หลังจากที่มีการเจรจาต่อรองเกี่ยวกับรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับข้อตกลงภายในสัญญาเมื่อต้นปี ค.ศ. 1622 แล้ว สัญญาก็ระบุว่าโครงการเขียนภาพจะต้องเสร็จภายในสองปีเพื่อให้ทันเวลากับการเสกสมรสของพระราชธิดาเจ้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียกับพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ ภาพเขียนยี่สิบเอ็ดภาพเป็นภาพการต่อสู้และการได้รับชัยชนะต่าง ๆ ในชีวิตของพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส อีกสามภาพเป็นภาพเหมือนของพระองค์เองและพระราชบิดามารดาBelkin, pp.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดีซิส · ดูเพิ่มเติม »

ภาพนิ่ง

ใช้ปีคศ|width.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพนิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนอาร์นอลฟีนี

หมือนอาร์นอลฟีนี (Arnolfini Portrait), การแต่งงานของอาร์นอลฟีนี (The Arnolfini Wedding) หรือ ภาพเหมือนของโจวันนี อาร์นอลฟีนี และภรรยา (Portret van Giovanni Arnolfini en zijn vrouw; Portrait of Giovanni Arnolfini and his Wife) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันบนไม้โอ๊กที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ จิตรกรเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ยัน ฟัน ไอก์เขียนภาพ "ภาพเหมือนอาร์นอลฟีนี" ในปี ค.ศ. 1434 เป็นภาพที่เชื่อกันว่าเป็นภาพเหมือนของโจวันนี อาร์นอลฟีนี (Giovanni Arnolfini) พ่อค้าจากเมืองลุกกาในอิตาลีและภรรยาในห้องที่อาจจะเป็นที่บ้านที่พำนักอยู่ในเมืองบรูชในฟลานเดอส์ เป็นภาพที่ถือกันว่าเป็นภาพที่มีความเป็นต้นตอและความซับซ้อนมากที่สุดภาพหนึ่งของจิตรกรรมตะวันตก ฟัน ไอก์ลงชื่อและวันที่ว่าวาดในปี ค.ศ. 1434 ต่อมาหอศิลป์แห่งชาติแห่งลอนดอนซื้อภาพเขียนนี้ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนอาร์นอลฟีนี · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนผู้อุทิศ

“การชื่นชมของพระบุตร” ฌอง เฮย์ ผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางขวาและเป็นส่วนหนึ่งของของภาพ ภาพเหมือนผู้อุทิศ หรือ ภาพรวมผู้อุทิศ (donor portrait หรือ votive portrait) คือภาพเหมือนในจิตรกรรมหรืองานศิลปะแบบอื่นเช่นประติมากรรมที่แสดงภาพของเจ้าของภาพหรือผู้จ้างให้สร้างงานศิลปะชิ้นนั้นที่อาจจะรวมทั้งครอบครัว และญาติพี่น้องของผู้จ้าง หรือกลุ่มคนที่เกี่ยวกับผู้จ้างด้วย “ภาพรวมผู้อุทิศ” (votive portrait) มักจะภาพทั้งภาพที่รวมทั้งภาพหลักและผู้อุทิศที่อยู่ในภาพ แต่ “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” (donor portrait) มักจะหมายถึงภาพเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับผู้อุทิศเท่านั้น “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” เป็นที่นิยมกันในการสร้างศิลปะคริสต์ศาสนา โดยเฉพาะในงานจิตรกรรมจากยุคกลาง และยุคเรอเนสซองซ์ที่มักจะแสดงผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางด้านหน้าสองข้างของภาพ และบ่อยครั้งที่แม้แต่ในตอนปลายของยุคเรอเนสซองซ์ที่ผู้อุทิศโดยเฉพาะเมื่อแสดงทั้งครอบครัวจะมีขนาดเล็กกว่าตัวเอกในภาพมากที่ขัดกับทฤษฎีการวาดทัศนมิติ เมื่อมาถึงยุคเรอเนสซองซ์ผู้อุทิศก็เริ่มมีความสำคัญขึ้นและกลายเป็นส่วนสำคัญของภาพที่อาจจะเป็นผู้เห็นเหตุการณ์หรือบางครั้งก็อาจจะเป็นผู้ร่วมเหตุการณ์ไปเลยก็ได้.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนผู้อุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน (ราฟาเอล)

หมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน (Ritratto di Baldassarre Castiglione; Portrait of Baldassare Castiglione) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอล จิตรกรชาวอิตาลีคนสำคัญของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ราฟาเอลเขียนภาพ "ภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน" ราวระหว่างปี ค.ศ. 1514 ถึงปี ค.ศ. 1515 เป็นภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน บุคคลสำคัญทางวรรณกรรมของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ของสำนักดุ๊กแห่งอูร์บีโน ภาพเขียนอาจจะเขียนโดยราฟาเอลหรือไม่ก็ได้ จากจดหมายจากปีเอโตร เบมโบ ถึงคาร์ดินัลบิบบีเอนากล่าวว่า "ภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน...

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของบัลดัสซาเร กัสตีลโยเน (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของชายกับเหรียญโคสิโมผู้อาวุโส (บอตติเชลลี)

หมือนของชายกับเหรียญโคสิโมผู้อาวุโส (ภาษาอังกฤษ: Portrait of a Man with a Medal of Cosimo the Elder) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิที่ฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ซานโดร บอตติเชลลีเขียนภาพ “ภาพเหมือนของชายกับเหรียญโคสิโมผู้อาวุโส” ระหว่างปี ค.ศ. 1474 ถึงปี ค.ศ. 1475 เมื่อบอตติเชลลีเขียนภาพเสร็จก็จะเห็นอิทธิพลของอันโตนิโอ พอลลาอูโล (Antonio Pollaiuolo) ได้อย่างชัดเจนและในการใช้ความอ่อนไหวของเส้นที่ทำให้เห็นความกระวนกระวายของความรู้สึกที่ออกมาจากภาพ ชายที่เป็นแบบไม่ทราบกันว่าเป็นใครแต่เป็นภาพเหมือนที่ไม่เหมือนภาพเหมือนใดในสมัยต้นเรอเนซองส์ ผู้นั่งแบบมองตรงมายังผู้ชมภาพในมือถือเหรียญที่เป็นภาพด้านข้างของโคสิโม เดอ เมดิชิผู้ที่เสียชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1464 บอตติเชลลีทำตัวเหรียญด้วยพลาสเตอร์หล่อปิดทอง ภาพเหมือนเป็นภาพครึ่งตัวที่ฉากหลังเป็นภูมิทัศน์กว้างไกลที่เห็นแม่น้ำอยู่ลิบๆ ที่สว่างซึ่งเป็นลักษณะการเขียนแบบเฟล็มมิช ศีรษะของตัวแบบอยู่เหนือขอบฟ้าโดยมีแสงส่องจากทางด้านซ้ายของภาพทำให้เน้นใบหน้าที่คมคาย เงาเข้มทางด้านข้างของใบหน้าอยู่ใกล้กับผู้ชมภาพ ฝีมือวาดมือที่ไม่ค่อยดีนักแสดงให้เห็นว่ายังเป็นการทดลองเขียนและเป็นภาพเหมือนภาพแรกๆ ของภาพเหมือนที่เขียนในอิตาลีที่รวมการวาดมือในภาพด้วย เหรียญที่ระลึกของโคสิโมสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1465 ถึงปี ค.ศ. 1470 ซึ่งทำให้เกิดการสันนิษฐานกันไปต่างๆ ว่าผู้นั่งเป็นแบบเป็นใครแต่ก็ยังสรุปไม่ได้ว่าจะเป็นญาติสนิทหรือผู้สนับสนุนตระกูลเมดิชิ (ภาพเป็นของงานสะสมชิ้นหนึ่งของคาร์ดินัลคาร์โล เดอ เมดิชิ) หรืออาจจะเป็นน้องชายของบอตติเชลลีผู้เป็นช่างทองและช่างทำเหรียญของตระกูลเมดิชิก็ได้ นักวิชาการบางคนเสนอว่าอาจจะเป็นบอตติเชลลีเองเพราะใบหน้าแบบคล้ายคลึงกับภาพเหมือนตนเองในภาพ “การประสูติของพระเยซู” ที่บาซิลิกาซานตามาเรียโนเวลลาที่ฟลอเรนซ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของชายกับเหรียญโคสิโมผู้อาวุโส (บอตติเชลลี) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของชายหนุ่ม (บอตติเชลลี-พิตติ)

หมือนของชายหนุ่ม (Portrait of Young Man) เป็นจิตรกรรมแผงที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่วังพิตติที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ภาพ “ภาพเหมือนของชายหนุ่ม” ที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีราวระหว่างปี ค.ศ. 1470 ถึงปี ค.ศ. 1475 เป็นภาพที่เดิมมีการถกเถียงกันว่าผู้ใดเป็นผู้เขียนอยู่เป็นเวลานานจนในที่สุดจึงตกลงกันว่าเป็นงานเขียนของบอตติเชลลี ซึ่งเป็นภาพเหมือนภาพแรกของท่าสามส่วนสี่ของศิลปะตะวันตก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของชายหนุ่ม (บอตติเชลลี-พิตติ) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)

หมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?) (Portrait of a Man (Self Portrait?)) หรือ ภาพเหมือนของชายโพกหัวแดง (Man met de rode tulband; Portrait of a Man in Red Turban) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ จิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร มาตั้งแต..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (คาราวัจโจ)

หมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (Portrait of Maffeo Barberini) (Portrait of Maffeo Barberini) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของงานสะสมส่วนบุคคลที่ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี “ภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ” เป็นภาพที่เขียนราวปี ค.ศ. 1598 บาร์เบอรินิผู้มาจากครอบครัวสำคัญของฟลอเรนซ์ขณะนั้นมีอายุได้ 30 ปี และได้รับความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในตำแหน่งในสังฆาจักร บาร์เบอรินิเป็นเพื่อนของคาร์ดินัลฟรานเชสโค มาเรีย เดล มอนเต ผู้เป็นผู้อุปถัมภ์คนสำคัญคนแรกของคาราวัจโจ การอุปถัมภ์ของบาร์เบอรินิแก่คาราวัจโจดำเนินต่อมาอีกหลายปี ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของมาฟเฟโอ บาร์เบอรินิ (คาราวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของมาดามเอ็กซ์

หมือนของมาดามเอ็กซ์ (Portrait of Madame X) เป็นภาพเหมือนที่เขียนโดยจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์จิตรกรชาวอเมริกัน ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทันในนครนิวยอร์กในสหรัฐอเมริกา “ภาพเหมือนของมาดามเอ็กซ์” เขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1884 เป็นภาพเหมือนของมาดามเวอร์จินี อเมลี อเว็นโย โกโทรภรรยาของปิแยร์ โกโทร เวอร์จินีเป็นชาวอเมริกันที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในปารีสที่แต่งงานกับนายธนาคารฝรั่งเศสและกลายเป็นคนสำคัญในสังคมชั้นสูงในฝรั่งเศส ผู้มีชื่อเสียงในทางที่ไม่ซื่อตรงต่อสามี เวอร์จินีมีความภูมิใจในความงามของตัวเองและหาวิธีต่างๆ ที่ช่วยเพิ่มและรักษาความงามนั้น “ภาพเหมือนของมาดามเอ็กซ์” ไม่ใช่ภาพที่ซาร์เจนท์ได้รับการจ้างให้เขียนแต่เป็นการขอร้องจากตัวซาร์เจนท์เอง เป็นภาพของความตรงกันข้าม สตรีในภาพยืนอย่างสง่าในชุดซาตินสีดำที่มีสายคล้องบ่าเป็นอัญมณี ชุดที่ทั้งเปิดเผยแต่ก็ปิดบังในขณะเดียวกัน และความตัดกันของผิวของตัวแบบที่ขาวกับเสื้อผ้าและฉากหลังที่เป็นสีมืด สำหรับซาร์เจนท์ข่าวลือที่น่าเสียหายหลังจากการตั้งแสดงภาพนี้เป็นครั้งแรกในงานนิทรรศการศิลปะแห่งปารีส ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของมาดามเอ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8

ที่สูญหายไปในเพลิงไหม้ ภาพเหมือนของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 (Portrait of Henry VIII) เป็นภาพเหมือนของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (ค.ศ. 1698) ที่เขียนโดยฮันส์ โฮลไบน์ (ผู้ลูก) ผู้เป็นจิตรกรคนสำคัญชาวเยอรมันของสมัยบาโรก แม้ว่าจะเป็นภาพที่สูญเสียไปแต่ก็ยังถือว่าเป็นงานชิ้นสำคัญจากงานที่ก็อปปีจากงานต้นฉบับ ภาพเหมือนภาพนี้เป็นภาพ "ไอคอน" ที่มีชื่อเสียงที่สุดภาพหนึ่งในบรรดาภาพเขียนของพระมหากษัตริย์อังกฤษที่เดิมวาดเป็นจิตรกรรมฝาผนังภายในพระราชวังไวท์ฮอลล์ในกรุงลอนดอนในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของหญิงสาว (ลา ฟอร์นารินา)

หมือนของหญิงสาว หรือ ลา ฟอร์นารินา (Portrait of a Young Woman หรือ La fornarina) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์โบราณแห่งชาติ, โรมในประเทศอิตาลี ราฟาเอลเขียนภาพ “ภาพเหมือนของหญิงสาว (ลา ฟอร์นารินา) ” ระหว่างปี ค.ศ. 1518 ถึงปี ค.ศ. 1519 ภาพเขียนนี้อาจจะอยู่ในห้องเขียนภาพของราฟาเอลเมื่อราฟาเอลเสียชีวิต และอาจจะได้รับการแต่งเติมก่อนจะขายโดยผู้ช่วยจูลีโอ โรมาโน ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ภาพเขียนอยู่ที่บ้านของเคานเตสแห่งซานตาฟิโอราขุนนางสตรีชาวโรมัน ต่อมาตกไปเป็นของดยุคแห่งบอนคอมพายีและต่อมาหอศิลป์โบราณแห่งชาติที่เป็นที่ตั้งปัจจุบัน สตรีในภาพกล่าวกันว่าเป็น “คนอบขนม” (fornarina) มาร์เกอริตา ลูติลือกันว่าเป็นคนรักของราฟาเอล แต่ความหมายของภาพยังไม่เป็นที่ตกลงกันฉะนั้นความหมายที่แท้จริงก็ยังคงสรุปไม่ได้ สตรีในภาพโพกผมอย่างตะวันออกและเปลือยหน้าอกแต่ใช้มือปิดหน้าอกซ้ายหรืออาจจะเพียงยกมือขึ้นเฉยๆ และมีแสงที่ไม่ใช่แสงธรรมชาติที่ส่องร่างมาจากทางซ้ายของภาพ แขนซ้ายคาดด้วยแถบเล็กๆ ที่มีชื่อลายเซ็นของราฟาเอล “RAPHAEL URBINAS” (“ราฟาเอลแห่งเออร์บิโน”) นักประวัติศาสตร์ศิลปะและนักวิชาการถกเถียงกันว่ามือขวาบนหน้าอกซ้ายทำให้เห็นเนื้องอกที่หน้าอกซ่อนอยู่ในการนั่งวางท่าอย่างคลาสสิกของการแสดงความรัก สายตาที่เพ่งมายังผู้ดูก็ยิ่งเป็นการเน้นถึงความไม่เป็นธรรมชาติขององค์ประกอบของภาพทั้งหมด การศึกษาด้วยเอ็กซ-เรย์พบว่าฉากหลังเดิมเป็นภูมิทัศน์แทนที่จะเป็นพุ่มเมอร์เติล (myrtle) ซึ่งเป็นพุ่มไม้ศักดิ์สิทธิ์ของวีนัสเทพแห่งความรักและความใคร.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของหญิงสาว (ลา ฟอร์นารินา) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของอันเดรอา นาวาเจโร และอากอสติโน เบอัซซาโน (ราฟาเอล)

หมือนของอันเดรอา นาวาเจโร และอากอสติโน เบอัซซาโน (Portrait of Andrea Navagero and Agostino Beazzano) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์ดอเรีย แปมฟิลจ์ในกรุงโรมในประเทศอิตาลี “ภาพเหมือนของอันเดรอา นาวาเจโร และอากอสติโน เบอัซซาโน” เขียนในปี ค.ศ. 1516.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของอันเดรอา นาวาเจโร และอากอสติโน เบอัซซาโน (ราฟาเอล) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของของสตรีสาว (ลา มูตา)

หมือนของของสตรีสาว หรือ ลา มูตา (Portrait of a Young Woman หรือ La Muta) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติแห่งมาร์เคในประเทศอิตาลี ภาพ “ภาพเหมือนของของสตรีสาว (ลา มูตา)” ที่ราฟาเอลเขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1507 ถึงปี ค.ศ. 1508 เป็นภาพของสตรีสูงศักดิ์ที่ไม่ทราบนาม ที่มีลักษณะการเขียนที่มีอิทธิพลของเลโอนาร์โด ดา วินชี บนฉากหลังที่เกือบเป็นสีดำ แม้ว่าจะเป็นภาพที่เพิ่งได้รับการระบุว่าเป็นภาพที่เขียนโดยราฟาเอลเมื่อไม่นานมานี้ แต่ก็ถือว่าเป็นภาพเหมือนชิ้นที่ดีที่สุดชิ้นหนึ่งของราฟาเอล การเขียนอย่างบรรจงของส่วนที่เป็นสีที่เป็นสีอ่อนที่ปรากฏขึ้นจากฉากหลัง และการรายละเอียดของเครื่องแต่งกายมีลักษณะที่บ่งว่าเป็นฝีมือของราฟาเอล ความสว่างที่ผู้ชมรู้สึกจากการใช้สีอย่างบรรจงจากโทนสีที่ไม่กว้างนักสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันให้กับภาพ จากการตรวจสอบด้วยเอ็กซเรย์พบงานร่างจากช่วงแรกของการเขียนของราฟาเอลภาพใต้ผิวภาพที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นภาพสตรีสาวที่ใบหน้าที่อ่อนหวานที่มาเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงภายหลัง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของของสตรีสาว (ลา มูตา) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของครอบครัวเบลเลลลิ

หมือนของครอบครัวเบลเลลลิ (Portrait of the Bellelli Family) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยแอดการ์ เดอกาจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์ชาวฝรั่งเศส ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ออร์แซในปารีสในประเทศฝรั่งเศส เดอกาเขียนภาพ “ภาพเหมือนของครอบครัวเบลเลลลิ” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1858 ถึงปี ค.ศ. 1867 เป็นงานเขียนสมัยต้นที่ยังแสดงอิทธิพลของงานคลาสสิกโดยเฉพาะงานเขียนแบบเฟล็มมิช ขณะที่ร่ำเรียนทางศิลปะอยู่ในอิตาลีเดอกาวาดภาพลอราป้าและสามีบารอนเจ็นนาโร เบลเลลลิและลูกสาวสองคนจุยลาและจิโอวานนา เดอกาใช้วิธีเขียนที่เรียนจากอิตาลีในการเขียนภาพนี้เมื่อเขียนเมื่อเดินทางกลับมาปารีส ลอราผู้เป็นพี่สาวของพ่อแต่งตัวไว้ทุกข์พ่อที่เพิ่งเสียชีวิต ที่ปรากฏอยู่ในภาพในกรอบบนผนังในฉากหลังของภาพ บารอนเป็นชาวอิตาลีที่ลี้ภัยมาจากเนเปิลส์มาพำนักที่ฟลอเรนซ์ ภาพศึกษามือของลอรา ลอรายืนสง่าไม่มีรอยยิ้มประคองลูกสาวคนหนึ่งทางซ้ายและยื่นมือมาทางลูกสาวอีกคนหนึ่งอยูทางซ้ายของภาพ ส่วนสามีดูเหมือนจะแยกจากบุคคลทั้งสามมาทางด้านขวาของภาพ การที่บารอนมีความเกี่ยวข้องทางธุรกิจกับโลกภายนอกจะเห็นได้จากการนั่งที่โต๊ะทำงาน จิโอวานนาลูกสาวคนเล็กวางท่าสบายกว่าพี่สาวที่ดูแข็งซึ่งเพิ่มความตึงเครียดในบรรยากาศของความสัมพันธ์ของบุคคลต่างๆ ใน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของครอบครัวเบลเลลลิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตา

หมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตา (Portrait of Sigismondo Pandolfo Malatesta) เป็นภาพที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกาจิตรกรสมัยสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีสในประเทศฝรั่งเศส “ภาพเหมือนของซิกิสมอนโด” เป็นงานที่เขียนราว ค.ศ. 1451 เป็นภาพเหมือนของผู้นำที่มาจากการเป็นทหารรับจ้างและขุนนางชาวอิตาลีซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตาผู้ครองริมินี, ฟาโน และ เซเซนา เป็นภาพด้านข้างของซิกิสมอนโดที่กล่าวกันว่าอาจจะเขียนตามแบบบนเหรียญที่เขียนในปี ค.ศ. 1445 โดยปิซาเนลโล หรือตามงานเขียนโดยมัตเตโอ เดปัสติในปี ค.ศ. 1450 เปียโรเขียนภาพนี้ระหว่างพำนักอยู่ที่ริมินิ ระหว่างนั้นก็เขียนจิตรกรรมฝาผนังโดยมีซิกิสมอนในภาพคุกเข่าต่อหน้านักบุญซิกิสมุนด์ ในภาพ “ซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตาสวดมนต์ต่อหน้านักบุญซิกิสมุนด์”(Sigismondo Pandolfo Malatesta Praying in Front of St. Sigismund) สำหรับมหาวิหารริมินิ (Tempio Malatestiano) แม้ว่าจะเป็นการวางภาพแบบภาพเหมือนของคนสำคัญทั่วๆ ไปในสมัยนั้น แต่เปียโรให้ความสนใจกับการเขียนรายละเอียดอย่างธรรมชาติในหารเขียนเท็กซ์เจอร์และผมของตัวแบบ ซึ่งทำให้เห็นถึงอิทธิพลจากศิลปินเฟล็มมิชเช่นโรเจียร์ ฟาน เดอ เวย์เด็น.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของซิกิสมอนโด แพนดอลโฟ มาลาเทสตา · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของโคสิโม เดอ เมดิชิ

หมือนของโคสิโม เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Portrait of Cosimo I de’ Medici) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยบรอนซิโนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี บรอนซิโนเขียนภาพ “ภาพเหมือนของโคสิโม เดอ เมดิชิ” เสร็จในปี ค.ศ. 1545 เพราะตำแหน่งช่างเขียนประจำสำนักของตระกูลเมดิชิบรอนซิโนจึงมืโอกาสเขียนภาพของแกรนด์ดยุคโคสิโม เดอ เมดิชิหลายภาพ ภาพนี้เป็นภาพขณะที่โคสิโมยังหนุ่มที่จอร์โจ วาซารีบรรยายว่าเป็นภาพดยุคที่ “ใส่เสื้อเกราะขาวเต็มยศและวางมือบนหมวก” สันนิษฐานกันว่าภาพเขียนที่วิลลาของพอจจิโอ อา คาเอียโนในปี ค.ศ. 1545 และมีการอ้างอิงในจดหมายบางฉบับ ภาพเขียนแสดงให้เห็นความเด็ดเดี่ยวและความมีอำนาจเหนือผู้อื่นของโคสิโมโดยมีแสงส่องมาบนใบหน้าทางด้านข้างและสะท้อนบนเสื้อเกราะโลห.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของโคสิโม เดอ เมดิชิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของเอลิซาเบตตา กอนซากา

หมือนของเอลิซาเบตตา กอนซากา (ภาษาอังกฤษ: Portrait of Elisabetta Gonzaga) เป็นภาพเหมือนที่เขียนโดยราฟาเอลจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ราฟาเอลเขียน “ภาพเหมือนของเอลิซาเบตตา กอนซากา” ราวปี ค.ศ. 1504 สตรีในภาพคือเอลิซาเบตตา กอนซากา (Elisabetta Gonzaga) รายละเอียดในภาพก็เป็นเสื้อที่ตกแต่งด้วยลายปะและจี้เป็นรูปแมงป่องเดิมกล่ากันว่าเขียนโดยตั้งแต่อันเดรีย มานเทนยา ไปจนถึง อัลเบรชท์ ดือเรอร.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของเอลิซาเบตตา กอนซากา · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของเอเลเนอร์แห่งโทเลโด

หมือนของเอเลเนอร์แห่งโทเลโดและลูกชาย (ภาษาอังกฤษ: Portrait of Eleonora of Toledo and Her Son) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยอักโนโล บรอนซิโนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิที่ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี อักโนโล บรอนซิโนเขียนภาพ “ภาพเหมือนของเอเลเนอร์แห่งโทเลโด” เสร็จในปี ค.ศ. 1545 เป็นภาพของ เอเลเนอร์แห่งโทเลโดภรรยาของโคสิโมที่ 1 เดอเมดิชิ ดยุคแห่งทัสเคนี เอเลเนอร์นั่งโดยมีมือขวาวางบนไหล่ลูกชายคนหนึ่ง ท่าทางที่นั่งและการใช้ลายทับทิมบนเสื้อผ้าเป็นการแสดงฐานะของความเป็นแม่ ลูกที่ยืนอยู่ในภาพบ้างก็ว่าอาจจะเป็น ฟรานเชสโค (Francesco I de' Medici) (เกิด ค.ศ. 1541), หรือ จิโอวานนิ (Cardinal Giovanni de' Medici) (เกิด ค.ศ. 1543) หรือ กราเซีย (เกิด ค.ศ. 1547) ถ้าเป็นคนหลังภาพเขียนก็น่าจะเขียนระหว่างปี ค.ศ. 1550 ถึงปี ค.ศ. 1553 แต่เป็นที่ตกลงกันโดยทั่วไปว่าปีที่เขียนคือปี ค.ศ. 1545 ฉะนั้นลูกจึงควรจะเป็นจิโอวานนิ เมื่อร่างของเอเลเนอร์ถูกขุดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 กล่าวกันว่าเอเลเนอร์ใส่ชุดเดียวกับชุดที่ใส่ในภาพเขียน ตาข่ายคลุมผมที่เกือบเหมือนกับอันที่ใช้ในรูปอาจจะทำให้เกิดการสับสน แต่การค้นคว้าต่อมาพิสูจน์ว่าเป็นชุดอีกชุดหนึ่งที่แสดงในหนังสือ “Patterns of Fashion” โดย แจเน็ต อาร์โนลด์ (Janet Arnold) และ “Moda a Firenze”โดย โรเบิร์ตตา ออร์ซิ ลันดินิและบรูนา นิคโคลิ ชิ้นส่วนที่ยังเหลืออยู่ของเสื้อชุดนั้นยังคงเก็บรักษาไว้ในพาลัซโซพิตติในฟลอเรนซ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนของเอเลเนอร์แห่งโทเลโด · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนตนเอง

หมือนตนเองของอัลเบรชท์ ดือเรอร์, ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ปารีส ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรก ๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล ภาพเหมือนตนเอง (Self-portrait) คือภาพเหมือนของศิลปินเองผู้อาจจะวาด เขียนด้วยสี ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริง ๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้นยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการเขียนภาพเหมือนบนจิตรกรรมแผง จิตรกร ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ "ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)" ที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ ของปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนตนเอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนเจ้าหญิง (พิซาเนลโล)

หมือนเจ้าหญิง หรือ ภาพเหมือนเจ้าหญิงแห่งตระกูลเอสเต (Portrait of Princess หรือ Portrait of a Princess of the House of Este) เป็นจิตรกรรมที่เชื่อกันว่าเขียนโดยพิซาเนลโลจิตรกรชาวอิตาลีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้นของอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ลูฟร์ในประเทศฝรั่งเศส พิซาเนลโลอาจจะเขียนภาพ “ภาพเหมือนเจ้าหญิง” ราวระหว่างปี ค.ศ. 1435 ถึงปี ค.ศ. 1449 ภาพ “ภาพเหมือนเจ้าหญิง” เป็นภาพของ การระบุว่าเป็นงานเขียนโดยพิซาเนลโลมาจากลักษณะการเขียนของภาพและเพราะพิซาเนลโลพำนักอยู่ที่เฟอร์ราราในช่วงเวลาเดียวกันนั้นด้วย ที่ไปเขียนภาพเหมือนบนแป้นของมาร์ควิสเลโอเนลโล เดสเต (Leonello d'Este).

ใหม่!!: ภาพเหมือนและภาพเหมือนเจ้าหญิง (พิซาเนลโล) · ดูเพิ่มเติม »

มอริส ก็องแต็ง เดอ ลา ตูร์

มอริส ก็องแต็ง เดอ ลา ตูร์ (Maurice Quentin de La Tour; 5 กันยายน ค.ศ. 1704 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1788) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของสมัยโรโคโคของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือนผู้เขียนงานส่วนใหญ่ด้วยสีเทียน งานเขียนชิ้นสำคัญก็ได้แก่ภาพเหมือนของวอลแตร์, พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส และมาดาม เดอ ปงปาดูร.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและมอริส ก็องแต็ง เดอ ลา ตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ ลีเบอร์มันน์

มักซ์ ลีเบอร์มันน์ (Max Liebermann; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1847 - 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1935) เป็นช่างพิมพ์ผู้มีชื่อเสียงทางด้านการแกะพิมพ์และภาพพิมพ์หินชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและมักซ์ ลีเบอร์มันน์ · ดูเพิ่มเติม »

มารี-เดอนีซ วีแลร์

มารี-เดอนีซ วีแลร์ (Marie-Denise Villers,; ราว ค.ศ. 1774 - 19 สิงหาคม ค.ศ. 1821) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน มารี-เดอนีซ วีแลร์เกิดในตระกูลศิลปินมารี-วิกตัวร์ เลอมวน และมารี-เอลีซาแบ็ต กาบียู พี่และน้องสาวสองคนต่างก็เป็นศิลปินผู้มีความสามารถ ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและมารี-เดอนีซ วีแลร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยัน ฟัน โคเยิน

ัน โยเซฟส์โซน ฟัน โคเยิน (Jan Josephszoon van Goyen; 13 มกราคม ค.ศ. 1596 - 27 เมษายน ค.ศ. 1656) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ยัน ฟัน โคเยินมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ โดยมีผลงานเป็นจำนวนมาก เท่าที่ทราบเป็นจำนวนถึงราวพันสองร้อ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและยัน ฟัน โคเยิน · ดูเพิ่มเติม »

ยัน ลีเฟินส์

ัน ลีเฟินส์ (Jan Lievens; 24 ตุลาคม ค.ศ. 1607 - 4 มิถุนายน ค.ศ. 1674) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในช่วงยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เขามักจะมีชื่อเกี่ยวพันกับแร็มบรันต์เพราะมีลักษณะการเขียนภาพที่คล้ายคลึงกัน ยัน ลีเฟินส์ฝึกงานเบื้องต้นกับปีเตอร์ ลัสต์มันอยู่สองปี ก่อนที่จะมาเป็นจิตรกรอิสระเมื่ออายุได้ 14 ปีที่เมืองไลเดิน ลีเฟินส์มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมประวัติศาสตร์และภาพเหมือน ลีเฟินส์เกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1607 ที่เมืองไลเดินในภูมิภาคฮอลแลนด์ของสาธารณรัฐดัตช์ และเสียชีวิตเมื่อราววันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 1674 ที่เมืองอัมสเตอร์ดัมในภูมิภาคฮอลแลนด์เช่นกัน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและยัน ลีเฟินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยัน เดอ ไบร

ัน เดอ ไบร (Jan de Bray; ราว ค.ศ. 1627 - 1 เมษายน ค.ศ. 1697) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ยัน เดอ ไบรมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือนเชิงประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและยัน เดอ ไบร · ดูเพิ่มเติม »

ยาโกบ ยอร์ดานส์

กบ ยอร์ดานส์ (Jacob Jordaens; 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1593 - 18 ตุลาคม ค.ศ. 1678) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยบาโรกแบบเฟลมิช คริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพประวัติศาสตร์ คริสต์ศาสนา ภาพเหมือน และการออกแบบพรมทอแขวนผนัง ยาโกบ ยอร์ดานส์, เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ และอันโตนี ฟัน ไดก์ เป็นจิตรกรสามคนที่นำความมีหน้ามีตามาสู่ตระกูลการเขียนภาพแบบแอนต์เวิร์ป (Antwerp school) ยอร์ดานส์เป็นจิตรกรในหมู่น้อยที่มิได้เดินทางไปต่างประเทศเพื่อศึกษาการเขียนภาพแบบอิตาลี และความก้าวหน้าทางอาชีพของยอร์ดานส์ก็มิได้มีอยู่ความสนใจในราชสำนักหรือความก้าวหน้าในราชสำนักd'Hulst, pp.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและยาโกบ ยอร์ดานส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยาโกบ เดอ ไคน์ที่ 3 (แร็มบรันต์)

กบ เดอ ไคน์ที่ 3 (Jacob de Gheyn III หรือ Jacob III de Gheyn) เป็นจิตรกรรมสีน้ำมันที่เขียนโดยแร็มบรันต์ จิตรกรคนสำคัญชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 จัดแสดงอยู่ที่หอศิลป์ดัลลิช (Dulwich) ในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ภาพ "ยาโกบ เดอ ไคน์ที่ 3" ที่แร็มบรันต์เขียนราวปี ค.ศ. 1632 เป็นภาพเหมือนของยาโกบ เดอ ไคน์ที่ 3 นักแกะภาพพิมพ์ (engraving) ชาวดัตช์ ซึ่งเป็นภาพคู่กับภาพเหมือนของเพื่อนของไคน์ เมาริตส์ เฮยเคินส์ที่แต่งตัวคล้ายคลึงกัน และหันหน้าเข้าหากัน ภาพเขียนภาพนี้มีขนาดเล็กกว่าภาพเขียนส่วนใหญ่ที่แร็มบรันต์เขียน เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ภาพเขียนนี้ง่ายต่อการโจรกรรม.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและยาโกบ เดอ ไคน์ที่ 3 (แร็มบรันต์) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพเขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี

ูบทความหลักที่ ซานโดร บอตติเชลลี “ภาพเหมือนตนเอง” รายชื่อภาพเขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี เป็นรายชื่อจิตรกรรมและจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนโดยซานโดร บอตติเชลลีจิตรกรคนสำคัญของอิตาลีในยุคเรอเนซองส์ ในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและรายชื่อภาพเขียนโดยซานโดร บอตติเชลลี · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับคุณค่าของศิลปะ

A จิตรกรรมประวัติศาสตร์. คริสเตียน อัลเบร็คท์ ฟอน เบนซอน (Christian Albrecht von Benzon), ''ความตายของคานูทผู้ศักดิ์สิทธิ์'', ค.ศ. 1843 ภาพชีวิตประจำวัน. อาเดรียน ฟาน โอสเตด, ''คนขายปลา'', ค.ศ. 1660-1670, สีน้ำมันบนไม้โอ้ค, 29 × 26.5 ซม., พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์แห่งบูดาเพสต์ ภาพเหมือน. คอนราด ครซิซาเนาสกี (Konrad Krzyżanowski), ''ภาพเหมือนของโยเซฟ พิลซูดสกี'', ค.ศ. 1920, พิพิธภัณฑ์กองทัพโปแลนด์, วอร์ซอว์ จิตรกรรมภูมิทัศน์. เทมิสโตเคิลส์ ฟอน เอ็คเค็นเบร็คเคอร์, ''ภูมิทัศน์ของ Laerdalsoren ที่ Sognefjord'', สีน้ำมันบนผ้าใบ, ค.ศ. 1901 ภาพนิ่ง. ไฮน์ริค อุห์ล (Heinrich Uhl), ''ภาพนิ่งกับกล่องอัญมณี, แว่นดูอุปรากร, ถุงมือ, และช่อดอกไม้'', สีน้ำมันบนผ้าใบ, 50 x 60 ซม. ลำดับคุณค่าของศิลปะ (hierarchy of genres) เป็นการจัดประเภทของงานศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญทางคุณค่าที่วางไว้อย่างเป็นทางการ ในทางวรรณกรรม มหากาพย์ได้รับการยกย่องว่าเป็นงานที่มีระดับคุณค่าสูงที่สุดในบรรดานักวิพากษ์วรรณกรรม ตามเหตุผลของซามูเอล จอห์นสัน ที่บรรยายใน ชีวิตของจอห์น มิลตัน ว่า: "ตามความเห็นที่พ้องกันของนักวิพากษ์, งานที่สมควรแก่การสรรเสริญในคุณค่าคืองานของนักเขียนผู้เขียนมหากาพย์, เพราการเขียนมหากาพย์ผู้เขียนต้องรวบรวมพลานุภาพทุกด้านที่แต่ละด้านเพียงพอสำหรับสร้างงานเขียนแต่ละชนิด" การจัดลำดับที่ทราบกันดีที่สุดในงานจิตรกรรมคือมาตรฐานที่สร้างขึ้นโดยสถาบันในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงสมัยใหม่ ระดับต่างๆ ที่จัดขึ้นสำหรับประเภทของงานศิลปะต่างๆ ได้รับการสนับสนุนโดยราชสถาบันแห่งจิตรกรรมและประติมากรรมแห่งฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้นำในศิลปะสถาบัน การโต้เถียงที่เกี่ยวกับความงามของจิตรกรรมที่ยังคงเป็นที่นิยมกันมาตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยายังคงเน้นความสำคัญของอุปมานิทัศน์; การใช้องค์ประกอบในงานจิตรกรรมเช่นเส้น และ สีในการสื่อความหมายที่เป็นหัวใจของภาพ ฉะนั้นอุดมคตินิยมจึงเป็นสิ่งที่ใช้กันในงานศิลปะ โดยที่รูปทรงตามธรรมชาติเป็นสิ่งที่เห็นโดยทั่วไป ฉะนั้นจึงเป็นรองจากความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของงานศิลปะ ที่มีจุดประสงค์ในการแสวงหาสัจจะโดยการเลียนแบบ "ความงามของธรรมชาติ" แต่นักทฤษฎีที่มีความคิดเห็นแตกต่างออกไปมีความเชื่อมั่นว่าการเน้นการใช้อุปมานิทัศน์เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และอยู่บนพื้นฐานที่ไม่ถูกต้องของความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะ และกวีนิพนธ์ที่มาจากบทเขียนของโฮราซ (Horace) "ut pictura poesis" ("ในภาพเขียนคือกวีนิพนธ์") การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและลำดับคุณค่าของศิลปะ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกสาวของเอ็ดเวิร์ด ดาร์ลีย์ บอยท์

ลูกสาวของเอ็ดเวิร์ด ดาร์ลีย์ บอยท์ (The Daughters of Edward Darley Boit) เป็นภาพเหมือนที่เขียนโดยจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์จิตรกรชาวอเมริกัน ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์, บอสตันในสหรัฐอเมริกา “ลูกสาวของเอ็ดเวิร์ด ดาร์ลีย์ บอยท์” เขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1882 เป็นภาพเหมือนของเด็กหญิงสี่คนผู้เป็นบุตรีของเอ็ดเวิร์ด ดาร์ลีย์ บอยท์ภาพในอพาตเมนท์ในปารีส เอ็ดเวิร์ดเป็นลูกเขยของพ่อค้าทางทะเลชาวบอสตันจอห์น เพอร์คินส์ คุชชิง เอ็ดเวิร์ดและภรรยามีบุตรีด้วยกันห้าคนที่รวมทั้งฟลอเรนซ์, เจน, แมรี, ลุยซา และ จูเลี.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและลูกสาวของเอ็ดเวิร์ด ดาร์ลีย์ บอยท์ · ดูเพิ่มเติม »

ลูคัส ครานัค

ลูคัส ครานัค ผู้อาวุโส (Lucas Cranach der Ältere; Lucas Cranach the Elder; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1472 - 16 ตุลาคม ค.ศ. 1553) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอแนซ็องส์คนสำค้ญของประเทศเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ผู้มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ทำภาพพิมพ์ ภาพพิมพ์แกะไม้ และสลักโลหะ (engraving) ชื่อเมื่อแรกเกิดของลูคัสคือ "ลูคัส ซุนเดอร์" หรือ "ซอนเดอร์" ที่โครนัคในอัปเปอร์ฟรังโคเนีย ต่อมาภายหลังชื่อก็ถูกรวมกับชื่อเมืองเกิดเป็นชื่อ "ลูคัส ครานัค" ลูคัสอาจจะเรียนศิลปะการเขียนภาพจากบิดาหรืออาจจะจากปรมาจารย์ทางภาคใต้ของเยอรมนี เช่นเดียวกับศิลปินร่วมสมัยเช่นมัททีอัส กรือเนวัลด์ ผู้ที่ทำงานที่บัมแบร์กและอาชัฟเฟินบูร์ก บัมแบร์กเป็นเมืองหลวงของสังฆมณฑลที่เมืองโครนัคตั้งอยู.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและลูคัส ครานัค · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์รวี นทีธร

วงศ์รวี นทีธร (ชื่อเล่น:สกาย) (เกิด 25 มิถุนายน 2541) เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็น พละ ในฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น ซีซั่น 3.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและวงศ์รวี นทีธร · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์)

ลปะของการเขียนภาพ หรือ อุปมานิทัศน์ของการเขียนภาพ หรือ จิตรกรในห้องเขียนภาพ (The Art of Painting หรือ The Allegory of Painting หรือ Painter in his Studio) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรสมัยบาโรกชาวเนเธอร์แลนด์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะในกรุงเวียนนาในประเทศออสเตรีย เวร์เมร์เขียนภาพ “ศิลปะของการเขียนภาพ” เสร็จในปี ค.ศ. 1666 ผู้เชี่ยวชาญทางศิลปะหลายท่านกล่าวว่างานชิ้นนี้เป็นอุปมานิทัศน์ของการเขียนภาพฉะนั้นภาพเขียนจึงรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า “อุปมานิทัศน์ของการเขียนภาพ” และเป็นภาพเขียนที่ใหญ่ที่สุดและซับซ้อนที่สุดของงานทั้งหมดที่เวร์เมร์เขียน ภาพเขียนนี้มีชื่อเสียงเป็นภาพเขียนที่เวร์เมร์ชอบที่สุดและเป็นภาพที่เป็นงานเขียนแบบภาพลวงตา แม้ว่าจะเป็นภาพที่เขียนในสมัยที่ยังไม่มีเทคโนโลยีในด้านการถ่ายภาพแต่ก็สามารถแสดงความเป็นจริงในการสร้างรายละเอียดทางจักษุอย่างภาพถ่ายได้ สิ่งที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของภาพนี้คือการใช้สีที่สดและแสงที่จัดจ้าที่สาดเข้ามาทางหน้าต่างที่อาบบนสิ่งต่างๆ ใน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและศิลปะของการเขียนภาพ (เฟอร์เมร์) · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะดัตช์

ลปะดัตช์ (Dutch art) เป็นการบรรยายประวัติศาสตร์ทัศนศิลป์ของเนเธอร์แลนด์หลังจากสหพันธ์จังหวัดแยกจากฟลานเดอส์มาเป็นสาธารณรัฐเนเธอร์แลนด์ที่รวมทั้งงานเขียนของสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก, ยุคทองของเนเธอร์แลนด์, จิตรกรรมยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้น และจิตรกรรมในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและศิลปะดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะตะวันตก

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและศิลปะตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

สาวใส่ต่างหูมุก

วใส่ต่างหูมุก (Het Meisje met de Parel; Girl with a Pearl Earring) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันเนิส เฟอร์เมร์ จิตรกรชาวดัตช์ในสมัยบาโรก ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานศิลปะเมาริตส์เฮยส์ (Mauritshuis) ในเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เฟอร์เมร์เขียนภาพ "สาวใส่ต่างหูมุก" เสร็จในปี ค.ศ. 1665 ที่บางครั้งเรียกว่า "โมนาลิซาแห่งทางเหนือ" หรือ "โมนาลิซาของชาวดัตช์".

ใหม่!!: ภาพเหมือนและสาวใส่ต่างหูมุก · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันสมิธโซเนียน

อาคารสถาบันวิจัยสมิธโซเนียน หรือ "The Castle" เป็นอาคารสำนักงานใหญ่ของสถาบัน สถาบันสมิธโซเนียน (Smithsonian Institution) เป็นสถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา และพิพิธภัณฑ์ ที่บริหารจัดการและได้รับทุนจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาและจากผู้บริจาคต่างๆ รวมถึงรายได้การจำหน่ายออกร้านและค่าสมาชิกนิตยสาร หน่วยงานส่วนใหญ่ของสถาบันตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. แต่ยังมีพิพิธภัณฑ์อีกกว่า 19 แห่ง สวนสัตว์ ศูนย์วิจัย และหน่วยงานสนามอีกมากมายอยู่ในเมืองนิวยอร์ก เวอร์จิเนีย ปานามา และที่อื่นๆ มีวัตถุสิ่งของต่างๆ ในความดูแลของพิพิธภัณฑ์มากกว่า 136 ล้านชิ้น สถาบันสมิธโซเนียนก่อตั้งขึ้นตามความประสงค์ของนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เจมส์ สมิธสัน (James Smithson; ค.ศ. 1765-1829) ซึ่งระบุพินัยกรรมว่า หากหลานชายของเขา เฮนรี เจมส์ ฮังเกอร์ฟอร์ด ไม่มีทายาท ก็ให้ยกมรดกทั้งหมดให้แก่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเพื่อก่อตั้งองค์กรที่สามารถ "เพิ่มพูนและเผยแพร่ความรู้" ให้แก่มนุษยชาติ ปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและสถาบันสมิธโซเนียน · ดูเพิ่มเติม »

อันโตน ฟัน ไดก์

"ภาพเหมือนกับดอกทานตะวัน" แสดงให้เห็นเหรียญที่พระเจ้าชาลส์ที่ 1 พระราชทานเมื่อ ค.ศ. 1633 ดอกทานตะวันอาจจะเป็นสัญลักษณ์ของพระเจ้าแผ่นดิน หรือการอุปถัมภ์หลวงSo Ellis Waterhouse (as refs below). But Levey (refs below) suggests that either van Dyck is the sun to which the sun-flower (of popular acclaim?) turns its face, or that it is the face of the King, on the medal he holds, as presented by van Dyck to the world ภาพเหมือนของครอบครัวโลเมลลี (Lomelli family) ค.ศ. 1623 ภาพเหมือนของลอร์ดจอห์น สจวต และน้องชายลอร์ดเบอร์นาร์ด สจวต--ลักษณะที่ผู้เป็นแบบมีเป็นความกันเองมากขึ้นที่ฟัน ไดก์มาวิวัฒนาการในอังกฤษ, ประมาณ ค.ศ. 1638 พระเจ้าชาลส์ที่ 1 (ราว ค.ศ. 1635) อันโตน ฟัน ไดก์ (Antoon van Dyck, Antoon van Dijck) หรือ แอนโทนี แวน ไดก์ (Anthony van Dyck; 22 มีนาคม ค.ศ. 1599 – 9 ธันวาคม ค.ศ. 1641) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวเฟลมมิชซึ่งมาเป็นจิตรกรคนสำคัญประจำราชสำนักพระเจ้าชาลส์ที่ 1ที่อังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพสีน้ำมัน โดยเฉพาะภาพเหมือน ภาพเขียนที่มีชื่อเสียงของฟัน ไดก์เป็นภาพเหมือนของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 และครอบครัวซึ่งวางท่าลักษณะสบายแต่สง่าแบบที่กลายมาเป็นแบบที่ใช้ในการเขียนภาพเหมือนต่อมาในอังกฤษเป็นเวลาราว 150 ปี นอกจากภาพเหมือนแล้ว ฟัน ไดก์ยังเขียนภาพจากพระคัมภีร์และตำนานเทพ และเป็นจิตรกรคนสำคัญผู้ริเริ่มใช้สีน้ำและกลวิธีพิมพ์กัดกรด (etching).

ใหม่!!: ภาพเหมือนและอันโตน ฟัน ไดก์ · ดูเพิ่มเติม »

อันโตเนลโล ดา เมสสินา

อันโตเนลโล ดา เมสสินา (ภาษาอังกฤษ: Antonello da Messina หรือ Antonello di Giovanni di Antonio) (ราว ค.ศ. 1430 - กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1479) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวซิซิลีที่ได้รับอิทธิพลจากตระกูลการเขียนภาพแบบเนเธอร์แลนด์สมัยต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและภาพเหมือน งานเขียนแม้จะมาจากทางไต้ของอิตาลีแต่ก็มีอิทธิพลต่อการเขียนทางภาคเหนือของอิตาลีโดยเฉพาะเวน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและอันโตเนลโล ดา เมสสินา · ดูเพิ่มเติม »

อาบราฮัม บลุมาร์ต

อาบราฮัม บลุมาร์ต (Abraham Bloemaert; ค.ศ. 1566 - 27 มกราคม ค.ศ. 1651) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 อาบราฮัม บลุมาร์ตเป็นจิตรกรที่เขียนภาพในลักษณะ "จริตนิยมแบบเมืองฮาร์เลม" ตั้งแต..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและอาบราฮัม บลุมาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

อาดรียาน ฟัน โอสตาเดอ

อาดรียาน ฟัน โอสตาเดอ (Adriaen van Ostade; 10 ธันวาคม ค.ศ. 1610 - 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1685) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 อาดรียาน ฟัน โอสตาเดอได้รับการฝึกโดยฟรันส์ ฮัลส์ ซึ่งขณะนั้นเป็นครูของอาดรียาน เบราเวอร์ และยัน มีนเซอ โมเลอนาร์ (Jan Miense Molenaer) ด้วย ฟัน โอสตาเดอมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและอาดรียาน ฟัน โอสตาเดอ · ดูเพิ่มเติม »

อาดรียาน เบราเวอร์

อาดรียาน เบราเวอร์ (Adriaen Brouwer; ค.ศ. 1605 - มกราคม ค.ศ. 1638) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เบราเวอร์ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันทำงานส่วนใหญ่ในฟลานเดอส์และสาธารณรัฐดัต.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและอาดรียาน เบราเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์

อาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์ (Adélaïde Labille-Guiard; 11 เมษายน ค.ศ. 1749 - 24 เมษายน ค.ศ. 1803) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพขนาดเล็ก (minaturist) และภาพเหมือน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและอาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิสราเฮล ฟาน เม็คเคอเน็ม

อิสราเฮล ฟาน เม็คเคอเน็ม (Israhel van Meckenem) (ราว ค.ศ. 1445 - ค.ศ. 1503) เป็นช่างแกะพิมพ์ชาวเยอรมันผู้มีผลงานจำนวนมากในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการพิมพ์ภาพพิมพ์ของจิตรกรชั้นครู ฟาน เม็คเคอเน็มเริ่มงานอาชีพตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและอิสราเฮล ฟาน เม็คเคอเน็ม · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์

อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ หรือ แซนดี้ คาลเดอร์ (Alexander Calder หรือ Sandy Calder) (22 กรกฎาคม ค.ศ. 1898 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1976) เป็นประติมากรของขบวนการลัทธิเหนือจริงคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาลเดอร์มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้ริเริ่มการสร้าง “ประติมากรรมจลดุล” (mobile sculpture) นอกจากประติมากรรมจลดุลแล้วคาลเดอร์ก็ยังสร้างงานที่เป็น “ประติมากรรมศักยดุล” หรือ “ประติมากรรมสถิต” (stabile), จิตรกรรม, ภาพพิมพ์หิน, ของเล่น, พรมทอแขวนผนัง และ เครื่องประดับด้ว.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและอเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ ฮอลไบน์ (ผู้ลูก)

ันส์ ฮอลไบน์ ผู้ลูก (Hans Holbein the Younger; ค.ศ. 1497 - ระหว่างวันที่ 7 ถึงวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1543) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือคนสำค้ญของประเทศเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพพิมพ์แบบเรอเนสซองซ์ตอนเหนือ ฮอลไบน์เป็นที่รู้จักจากภาพเหมือน และงานภาพพิมพ์แกะไม้ (woodcut) ในชุด "Dance of Death" ฮันส์ ฮอลไบน์ถือกันว่าเป็นช่างเขียนภาพเหมือนคนสำคัญของยุคภาพเหมือนสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern Period) ซึ่งเป็นช่วงเวลาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 18 นอกจากภาพเหมือนแล้วฮอลไบน์ก็ยังมีงานเขียนที่เกี่ยวกับศาสนา งานเสียดสี และงานโฆษณาชวนเชื่อของการปฏิรูปศาสนา และมีบทบาทสำคัญในการประวัติศาสตร์ของการออกแบบหนังสือ สร้อย "ผู้ลูก" เพื่อให้ต่างจากบิดาผู้มีชื่อเดียวกัน --ฮันส์ ฮอลไบน์ ผู้พ่อ) ผู้เป็นจิตรกรมีชื่อของสมัยกอทิกตอนปลาย ฮอลไบน์เกิดที่เอาก์สบวร์ค ทำงานส่วนใหญ่ในบาเซิลเมื่อเริ่มเป็นศิลปิน ในระยะแรกก็เขียนจิตรกรรมฝาผนังและศิลปะคริสต์ศาสนางานศาสนา และออกแบบหน้าต่าประดับกระจกสีและหนังสือสำหรับพิมพ์ บางครั้งก็จะเขียนภาพเหมือนและมีชื่อเสียงขึ้นเมื่อเขียนภาพเหมือนของนักมนุษยนิยมเดสิเดอริอัส อีราสมัสแห่งรอตเตอร์ดาม เมื่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ขยายไปถึงบาเซิล ฮอลไบน์ก็ทำงานให้ลูกค้าฝ่ายปฏิรูป ขณะที่ในขณะเดียวกันก็ทำงานให้กับลูกค้าที่ต้องการภาพทางศาสนาแบบดั้งเดิม งานของฮอลไบน์ของปลายสมัยกอทิกมีลักษณะที่เพิ่มคุณค่าของภาพที่มาจากแนวโน้มของศิลปะอิตาลี ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์ และจากลัทธิมนุษยนิยมยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยา ผลที่ออกมาคืองานที่มีความงามเป็นเอกลักษณ์ของฮอลไบน์เอง ฮอลไบน์เดินทางไปยังอังกฤษในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและฮันส์ ฮอลไบน์ (ผู้ลูก) · ดูเพิ่มเติม »

ฮิโระชิเงะ

อุตะงะวะ ฮิโระชิเงะ (ภาษาญี่ปุ่น: 歌川広重, ภาษาอังกฤษ: Hiroshige หรือ Utagawa Hiroshige หรือ Andō Hiroshige (安藤広重)) (ค.ศ. 1797 - 12 ตุลาคม ค.ศ. 1858) เป็นจิตรกรคนสำคัญของประเทศญี่ปุ่นในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความเชี่ยวชาญทางการสร้างภาพพิมพ์แกะไม้ (woodcut) สมัยที่เรียกว่า “ภาพอุกิโยะ” ซึ่งเป็นภาพพิมพ์แกะไม้ที่สร้างระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึง 20 ที่เป็นภาพภูมิทัศน์ ตำนานจากประวัติศาสตร์ การละคร และจากชีวิตความสนุก ฮิโระชิเงะเกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและฮิโระชิเงะ · ดูเพิ่มเติม »

ฌอง เฮย์

อง เฮย์ (ภาษาอังกฤษ: Jean Hey หรือ Jean Hay) (ราว ค.ศ. 1475 - ราว ค.ศ. 1505) เป็นจิตรกรที่เดิมรู้จักกันในนามว่า “มาสเตอร์แห่งมูแลงส์” เฮย์เป็นจิตรกรชาวเนเธอร์แลนด์ของยุคเนเธอร์แลนด์ตอนต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพศิลปะคริสต์ศาสนา และจิตรกรรมหนังสือวิจิตร ฌอง เฮย์ทำงานในฝรั่งเศสและในอาณาบริเวณของดยุคแห่งเบอร์กันดีและมีส่วนเกี่ยวข้องกับดยุคแห่งบูร์บอง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและฌอง เฮย์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์

็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์ (Jean-Auguste-Dominique Ingres; 24 สิงหาคม ค.ศ. 1780 - 14 มกราคม ค.ศ. 1867) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูคลาสสิกชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนประวัติศาสตร์และภาพเหมือน แอ็งกร์เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1780 ในจังหวัดตาร์เนการอน ประเทศฝรั่งเศส และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1867 ที่ปารีส แอ็งกร์ถือว่าตนเองเป็นจิตรภาพประวัติศาสตร์ตามแบบนีกอลา ปูแซ็ง และฌัก-หลุยส์ ดาวิด (Jacques-Louis David) แต่ในบั้นปลายความสามารถในการเขียนภาพเหมือนภาพเหมือนทั้งภาพเขียนและการวาดเส้นเป็นสิ่งที่ทำให้แอ็งกร์เป็นที่รู้จัก แอ็งกร์เป็นผู้ที่นับถือชื่นชมประวัติศาสตร์และเป็นผู้ที่พยายามพิทักษ์ความรู้แบบสถาบันต่อขบวนการลัทธิจินตนิยมที่กำลังคืบคลานเข้ามาที่นำโดยเออแฌน เดอลาครัว แอ็งกร์กล่าวสรรเสริญจิตรกรรมของจิตรกรสำคัญ ๆ ที่ผ่านมาเช่นราฟาเอล และประกาศตนว่าเป็นผู้รักษากฎเกณฑ์การวาดภาพที่สูงส่งเช่นนั้นและไม่ใช่เป็นผู้ “คิดค้น” วิธีใหม่ แต่อย่างไรก็ตามในความเห็นสมัยใหม่เห็นว่าแอ็งกร์และศิลปินฟื้นฟูคลาสสิกเป็นผู้ที่โอบอุ้มปรัชญาจินตนิยมของสมัยนั้น นอกจากนั้นการแสดงความบิดเบือนของรูปทรงและช่องว่างของแอ็งกร์เป็นแนวโน้มของของศิลปะสมัยใหม่ที่จะมาถึง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจเน

“ภาพเหมือนตนเอง?” (ราว ค.ศ. 1500-1510) “ลอรา” (ค.ศ. 1506) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์, เวียนนา จอร์โจเน (ภาษาอังกฤษ: Giorgione หรือ Giorgio Barbarelli da Castelfranco) (ราว ค.ศ. 1477 - ค.ศ. 1510) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของเวนิสในประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 16 มีชื่อเสียงว่าเขียนภาพอย่างมีอรรถรส (elusive poetic quality) ทั้งๆ ที่มีภาพที่เป็นที่ทราบแน่นอนว่าเขียนโดยจอร์โจเนเพียงประมาณ 6 ภาพไม่นับภาพอื่นที่สันนิษฐานว่าเขียนโดยจอร์โจเนด้วย เพราะความที่ไม่ทราบว่าเป็นใครแน่และความหมายของภาพเขียนจึงทำให้งานเขียนของจอร์โจเนเป็นงานที่ยังลึกลับต่อการตีความหมายที่สุดในบรรดางานจิตรกรรมตะวันตก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจอร์โจเน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น คอนสตาเบิล

อห์น คอนสตาเบิล (John Constable) (11 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 - 31 มีนาคม ค.ศ. 1837) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษของยุคจินตนิยมของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีชื่อเสียงจากเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ของบริเวณเดแดมเวลซึ่งเป็นบริเวณที่มีทิวทัศน์งดงามที่ตั้งอยู่ระหว่างเอสเซ็กซ์-ซัฟโฟล์ค ที่ปัจจุบันเรียกว่า “Constable Country” ด้วยทั้งใจรัก คอนสตาเบิลเขียนถึงจอห์น ฟิชเชอร์ผู้เป็นเพื่อนในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจอห์น คอนสตาเบิล · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์

อห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ (ภาษาอังกฤษ: John Singer Sargent) (12 มกราคม ค.ศ. 1856 - 14 เมษายน ค.ศ. 1925) เป็นจิตรกรคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพภูมิทัศน์, ภาพเหมือน และ การใช้สีน้ำ ซาร์เจนท์เกิดที่ฟลอเรนซ์ ที่ประเทศอิตาลี บิดามารดาเป็นชาวอเมริกัน ซาร์เจนท์ศึกษาที่อิตาลีและเยอรมนี ต่อมาที่ปารีสกับอีมิล โอกุสต์ คาโรลุส-ดูแรง (Emile Auguste Carolus-Duran) ในชีวิตซาร์เจนท์เขียนจิตรกรรมสีน้ำมันด้วยกันทั้งสิ้นราว 900 ภาพ และอีก 2,000 ภาพเขียนด้วยสีน้ำ นอกจากนั้นก็ยังมีงานเขียนภาพร่าง และภาพวาดลายเส้นด้วยถ่านอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ซิงเกิลทัน โคพลีย์

อห์น ซิงเกิลทัน โคพลีย์ (John Singleton Copley) (ค.ศ. 1738 - 9 กันยายน ค.ศ. 1815) เป็นจิตรกรคนสำคัญชาวอเมริกันของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน โคพลีย์มีชื่อเสียงจากการเขียนภาพเหมือนของบุคคลสำคัญในนิวอิงแลนด์ในสมัยอาณานิคม โดยเฉพาะชนชั้นกลาง ภาพเขียนของโคพลีย์มีลักษณะการเขียนที่ใหม่ และมักจะมีสิ่งของที่เกี่ยวกับชีวิตของตัวแบบใน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจอห์น ซิงเกิลทัน โคพลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมบาโรก

“ยาม” โดย แรมบรังด์ ราว ค.ศ. 1642 เป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมแบบบาโรก จิตรกรรมบาโรก (Baroque painting) เป็นจิตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับขบวนการศิลปะบาโรก ซึ่งเป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบสัมบูรณนิยมทางการเมือง (absolutism), การปฏิรูปศาสนาซ้อน (Counter Reformation) และการฟื้นฟูโรมันคาทอลิก, from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจิตรกรรมบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช

"ยกร่างพระเยซู" โดยปีเตอร์ พอล รูเบนส์ ราว ค.ศ. 1610–1611 จิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช (Flemish Baroque painting) เป็นศิลปะที่รุ่งเรืองในบริเวณเนเธอร์แลนด์ใต้ ระหว่างราว..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจิตรกรรมบาโรกแบบเฟลมิช · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์

ตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Dutch Golden Age painting) คือช่วงระยะหนึ่งของประวัติศาสตร์จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราว ค.ศ. 1584 มาจนถึง ค.ศ. 1702 เมื่อการค้าขาย, วิทยาศาสตร์ และศิลปะของเนเธอร์แลนด์เป็นทีเจริญถึงจุดสูงสุดและเลื่องลือไปทั่วโลก จิตรกรของสมัยนี้สร้างแบบฉบับการเขียนงานจิตรกรรม และ ทิ้งอิทธิพลงานที่เป็นอนุสรณ์ต่อนักเขียนภาพรุ่นต่อมาเป็นอันมาก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมตะวันตก

“สาวใส่ต่างหูมุก” (ค.ศ. 1665 - 1667) โดย โยฮันส์ เวร์เมร์ หรือรู้จักกันในชื่อ “โมนาลิซาเหนือ” จิตรกรรมตะวันตก (Western painting) ประวัติของจิตรกรรมตะวันตกเป็นประวัติที่ต่อเนื่องกันมาจากการเขียนภาพตั้งแต่ก่อนยุคกลางหรือศิลปะของกรีกและโรมัน เริ่มแรกการเขียนภาพเป็นแบบศิลปะแสดงลักษณ์ (Representational art) และลวดลายแบบกรีกและโรมันมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 จึงวิวัฒนาการมาเป็นศิลปะนามธรรม (Abstract art) และศิลป์มโนทัศน์ (Conceptual art) การวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันตกคล้ายคลึงกับการวิวัฒนาการของจิตรกรรมตะวันออกโดยทั่วไปในสองสามร้อยปีหลัง ศิลปะแอฟริกา, ศิลปะอิสลาม, ศิลปะอินเดีย, ศิลปะจีน, และศิลปะญี่ปุ่น แต่ละอย่างที่กล่าวมาต่างก็มีอิทธิพลสำคัญต่อศิลปก และในที่สุดศิลปะก็กลับไปมีอิทธิพลต่อศิลปะตะวันออก จิตรกรรมตะวันตกเริ่มด้วยการเขียนภาพสำหรับสถาบันศาสนา ต่อมาผู้อุปถัมภ์ก็ขยายออกมารวมถึงเจ้านายและชนชั้นกลาง ตั้งแต่ยุคกลาง มาจนถึง ยุคเรเนสซองส์ จิตรกรสร้างงานให้กับสถาบันศาสนาและลูกค้าผู้มั่งคั่ง พอมาถึงสมัยสมัยบาโรกจิตรกรก็รับงานจากผู้มีการศึกษาดีขึ้นและจากชนชั้นกลางผู้มีฐานะดี ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 จิตรกรก็เป็นอิสระจากความต้องการของผู้อุปถัมภ์หรือลูกค้าในการวาดแต่เพียงภาพที่เกี่ยวกับคริสต์ศาสนา ตำนานเทพ ภาพเหมือน หรือ ภาพเขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ปรัชญาที่ว่า “ศิลปะเพื่อศิลปะ” (art for art's sake) ก็เริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นโดยการแสดงออกทางผลงานเช่นงานเขียนของฟรานซิสโก โกยา, จอห์น คอนสเตเบิล (John Constable) และ เจย์ เอ็ม ดับเบิลยู เทอร์เนอร์ (J.M.W. Turner) สมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของการเขียนภาพเกิดขึ้นในทวีปยุโรประหว่างยุคเรเนสซองส์ซึ่งเป็นสมัยที่มีการวิวัฒนาการต่างๆ รวมทั้งการวาดเส้น การเขียนแบบทัศนียภาพ การสร้างสถาปัตยกรรมใหญ่ๆ การทอพรมแขวนผนัง การสร้างหน้าต่างประดับกระจกสี การสร้างประติมากรรม และเป็นสมัยก่อนหน้าและหลังจากการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ หลังจากการพัฒนาในด้านต่างๆ ในยุคเรเนสซองส์ จิตรกรรมตะวันตกตั้งแต่ยุคบาโรกมาจนถึงศิลปะร่วมสมัยก็ยังคงวิวัฒนาการต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 21.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจิตรกรรมตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมแผง

"ฉากแท่นบูชาเกนต์" โดยยัน ฟัน ไอก์ และพี่ชาย, ค.ศ. 1432. ฉากแท่นบูชา (altarpiece) บนแผ่นไม้ เขียนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง จิตรกรรมแผง (panel painting) คือการเขียนภาพบนแผ่นไม้ อาจจะเป็นแผ่นเดียวหรือหลายแผ่นเชื่อมต่อกันเป็นเนื้อเดียว ซึ่งแตกต่างกับบานพับภาพที่จะแยกจากกัน (บานพับภาพ มักรวมเรียกเป็นส่วนหนึ่งของจิตรกรรมแผง) แผ่นไม้ใช้เป็นพื้นสำหรับวาดภาพจนกระทั่งถูกแทนที่ด้วยผ้าใบในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นอกเหนือไปจากการวาดบนผนัง หรือบนหนังสัตว์ ซี่งวัสดุชนิดหลังนี้นิยมใช้ในการวาดหนังสือวิจิตร หรือเขียนภาพสำหรับใส่กรอ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจิตรกรรมแผง · ดูเพิ่มเติม »

จุลจิตรกรรมภาพเหมือน

ันส์ โฮลไบน์ ราว ค.ศ. 1540 จุลจิตรกรรมภาพเหมือน (Portrait miniature) คือภาพเหมือนขนาดจิ๋วที่มักจะเขียนด้วยสีน้ำทึบหรือสีน้ำหรือเป็นกระเบื้องเคลือบ จุลจิตรกรรมภาพเหมือนที่เริ่มมารุ่งเรืองในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในยุโรปและต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 ต่อมา เป็นศิลปะอันมีค่าสำหรับการแนะนำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลกันได้ทำความรู้จักหรือเห็นหน้าเห็นตากัน ขุนนางที่เสนอการสมรสของบุตรีอาจจะส่งภาพเหมือนของบุตรีไปกับผู้เดินสาส์นไปให้ผู้หมายปองต่างๆ หรือ ทหารหรือกะลาสีก็อาจจะพกภาพเหมือนของบุคคลผู้เป็นที่รักติดตัวไปในระหว่างการเดินทาง หรือภรรยาอาจจะมีภาพเหมือนของสามีขณะที่สามีเดินทางไปยังดินแดนอันห่างไกล จุลจิตรกรรมภาพเหมือนในสมัยแรกเป็นภาพที่เขียนด้วยสีน้ำบนหนังลูกสัตว์ (vellum) ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 การเขียนด้วยกระเบื้องเคลือบที่เหมือนแก้วบนทองแดงก็กลายมาเป็นที่นิยมกันมากขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 จุลจิตรกรรมภาพเหมือนจะเขียนด้วยสีน้ำบนงาช้าง ความที่มีขนาดเล็กราว 40 × 30 มิลลิเมตรทำให้จุลจิตรกรรมภาพเหมือนใช้เป็นของที่ระลึกส่วนตัว หรือ เป็นเครื่องประดับ หรือใช้ในการประดับฝาปิดตลับตกแต่ง การวิวัฒนาการตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ของดาแกโรไทป์และภาพถ่ายทำให้ความนิยมในการมีจุลจิตรกรรมภาพเหมือนลดน้อยลง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจุลจิตรกรรมภาพเหมือน · ดูเพิ่มเติม »

จูเซปเป อาร์ชิมโบลโด

ูเซปเป อาร์ชิมโบลโด (Giuseppe Arcimboldo หรือ Giuseppe Arcimboldi) (ค.ศ. 1527 - 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1593) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีผู้มีชื่อเสียงว่าเป็นผู้เขียนภาพเหมือนแบบมีจินตนาการเช่นเขียนเป็นภาพที่ใช้ผลไม้, ผัก, ดอกไม้, ปลา และหนังสือ ที่จัดประกอบเข้าด้วยกันจนเป็นหน้าตาที่ทราบว่าเป็นภาพเหมือนของผู้ใ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและจูเซปเป อาร์ชิมโบลโด · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส เกนส์เบรอ

ทอมัส เกนส์เบรอ (ภาษาอังกฤษ: Thomas Gainsborough) (14 พฤษภาคม ค.ศ. 1727 - 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1788) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน และจิตรกรรมภูมิทัศน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและทอมัส เกนส์เบรอ · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส เอคินส์

ทอมัส คาวเพิร์ทเวต เอคินส์ (Thomas Cowperthwait Eakins; 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1844 - 25 มิถุนายน ค.ศ. 1916) เป็นจิตรกร ประติมากร ช่างภาพ และนักการศึกษาวิจิตรศิลป์คนสำคัญชาวอเมริกันของขบวนการสัจนิยม ทอมัส เอคินส์เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นศิลปินคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของประวัติศาสตร์ศิลป์อเมริกัน ตลอดอายุงานอาชีพตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1870 จนกระทั่งในบั้นปลาย ทอมัส เอคินส์เลือกหัวข้อที่ดึงมาจากผู้คนจากบ้านเกิดที่ฟิลาเดลเฟีย เอคินส์เขียนภาพเหมือนหลายร้อยภาพ ที่มักจะเป็นภาพของเพื่อน สมาชิกในครอบครัว หรือบุคคลสำคัญในวงการศิลปะ วิทยาศาสตร์ การแพทย์ และการศาสนา เมื่อดูอย่างรวมรวมแล้วก็เป็นภาพเขียนที่สะท้อนให้เห็นถึงชีวิตของปัญญาชนของฟิลาเดลเฟียในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษ 20 แต่เมื่อพิจารณาเป็นภาพ ๆ ไปก็จะเป็นภาพของคนที่กำลังคิด นอกจากนั้นแล้วเอคินส์ก็เขียนภาพขนาดใหญ่หลายภาพที่เป็นการนำภาพเหมือนออกมาจากห้องนั่งเล่นเข้ามาในสำนักงาน ถนน อุทยาน แม่น้ำ เวที และห้องผ่าตัดของเมือง การเขียนนอกสถานที่ทำให้เอคินส์สามารถเขียนในสิ่งที่ได้รับแรงบันดาลใจมากที่สุด ภาพเปลือย หรือกึ่งเปลือยกำลังเคลื่อนไหว ในขณะเดียวกันเอคินส์ก็สามารถจัดการวางรูปทรงของตัวแบบในแสงที่จัดจ้า หรือจัดให้ดูลึกโดยใช้การศึกษาทางทัศนมติเข้าช่วย สิ่งที่สำคัญพอ ๆ กับการสร้างงานศิลปะคืองานทางด้านการเป็นนักการศึกษา ในฐานะครูเอคินส์เป็นผู้มีอิทธิพลเป็นอันมากในงานทัศนศิลป์ของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและทอมัส เอคินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ทัศน์สุดท้ายของอังกฤษ (บราวน์)

ึกษาในหัวข้อเดียวกันอีกภาพหนึ่ง ทัศน์สุดท้ายของอังกฤษ (The Last of England) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันบนไม้ที่เขียนโดยฟอร์ด แมดด็อกซ บราวน์ (Ford Madox Brown) จิตรกรสมัยพรีราฟาเอลไลท์ชาวอังกฤษ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่เมืองเบอร์มิงแฮมในสหราชอาณาจักร ฟอร์ด แมดด็อกซ บราวน์เขียนภาพ “ทัศน์สุดท้ายของอังกฤษ” ในปี ค.ศ. 1855 เป็นภาพของผู้อพยพสองคนที่กำลังออกจากอังกฤษเพื่อไปตั้งรกรากในต่างประเท.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและทัศน์สุดท้ายของอังกฤษ (บราวน์) · ดูเพิ่มเติม »

ทิเชียน

“ภาพเหมือน” (ราว ค.ศ. 1488) ภาพเหมือนดยุ๊คแห่งเวนิสมาร์คานโตนิโอ เทรวิซานิ (Marcantonio Trevisani) ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่บูดาเพช ประเทศฮังการี เทพดานาเอ” (Danaë) ภาพหนึ่งจากหลายภาพจากตำนานเทพที่ทิเชียนเขียน จ้างโดยพระเจ้าฟิลลิปที่ 2 แห่งสเปนใน ค.ศ. 1554 แม้ว่าไมเคิล แอนเจโลจะติจากมุมมองของการวาดเส้นแต่ทิเชียนก็เขียนภาพนี้อีกหลายภาพให้กับผู้อุปถัมภ์อื่นๆ ทิเซียโน เวเชลลี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ทิเชียน หรือ ทิชัน (Tiziano Vecelli หรือ Tiziano Vecellio หรือ Titian.) (ค.ศ. 1485 - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1576) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความสำคัญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ทิเชียนเป็นจิตรกรผู้นำของศิลปะเรอเนซองส์ของตระกูลการเขียนแบบเวนิส ทิเชียนเกิดที่พิเว ดี คาดอเร (Pieve di Cadore) ใกล้เมืองเบลลูโน ในรัฐอาณาจักรเวนิส จึงรู้จักกันในนามว่า “ดา คอเดเร” ตามเมืองเกิดด้วย ทิเชียน เป็นจิตรกรที่มีความสามารถหลายด้าน ผู้เขียนได้ทั้งภาพเหมือนและภาพภูมิทัศน์อันเป็นสองลักษณะที่ทำให้มีชื่อเสียง และการเขียนตำนานเทพ และศิลปะคริสต์ศาสนา ถ้าทิเชียนเสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 40 ปีก็ยังถือเป็นจิตรกรที่มีอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในสมัยนั้น แต่ทิเชียนก็อยู่ต่อมาอีก 50 ปีในขณะที่เปลี่ยนแปลงวิธีเขียนภาพจากเดิมไปเป็นอย่างมาก นักวิจารณ์บางคนไม่เชื่อว่างานที่สร้างเมื่อสมัยต้นและสมัยปลายของทิเชียนเป็นงานของจิตรกรคนเดียวกัน ลักษณะที่ทำให้ทราบว่าเป็นคนเดียวกันคือความสนใจอย่างลึกซึ้งในการใช้สี งานในสมัยหลังแม้จะไม่ใช้สีสดและเรืองอย่างสมัยแรก แต่ฝีแปรงที่พริ้วที่แฝงให้เห็นความที่จะเป็นสีต่างๆ เพียงเล็กน้อยเป็นสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและทิเชียน · ดูเพิ่มเติม »

ขรัวอินโข่ง

ตรกรรมฝาผนังโดยขรัวอินโข่ง ขรัวอินโข่ง มีชีวิตอยู่ในสมัยรัชกาลที่ 3-4 (ไม่ปรากฏวันเดือนปีเกิด) ศิลปินผู้ได้รับการยกย่องเป็นจิตรกรเอกประจำรัชกาลที่ 4 แห่งสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นศิลปินในสมณเพศ ศิลปินไทยคนแรกที่ใช้เทคนิคการเขียนภาพฝาผนังแบบตะวันตกที่แสดงปริมาตรใกล้ไกล นับเป็นศิลปินก้าวหน้าแห่งยุคที่ผสมผสานแนวดำเนินชีวิตแบบไทยกับตะวันตกเข้าด้วยกัน ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงยกย่องว่า ขรัวอินโข่งเป็นช่างเขียนไม่มีตัวสู้ในสมัยนั้น ในระยะแรกขรัวอินโข่งยังยึดแนวความคิดแบบเดิม คือวาด ภาพเกี่ยวกับพุทธศาสนาตามคตินิยม ภายหลังจึงเปลี่ยนเป็นเขียนภาพเรื่องราวเกี่ยวเนื่องในพระพุทธศาสนา จนกระทั่งหลุดพ้นมาเป็นงานในรูปแบบปริศนาธรรม ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวคือการ วาดภาพธรรมชาติโดยเฉพาะต้นไม้ และการควบคุมอารมณ์ของสีในภาพให้มีความกลมกลืนและ เกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด ผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือภาพปริศนาธรรมที่ฝาผนังภายในพระอุโบสถ วัดบวรนิเวศและวัดบรมนิว.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและขรัวอินโข่ง · ดูเพิ่มเติม »

ดีร์ก เบาตส์

ีร์ก เบาตส์ (Dirk Bouts; ราว ค.ศ. 1410/ค.ศ. 1420 - ค.ศ. 1475) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและการเขียนบานพับภาพ จากหนังสือ Het Schilderboeck (ค.ศ. 1604) โดยกาเริล ฟัน มันเดอร์ (Karel van Mander) เบาตส์เกิดที่เมืองฮาร์เลมและทำงานส่วนใหญ่ที่เมืองเลอเฟิน มันเดอร์เขียนชีวประวัติของจิตรกรสองคน "ดีร์กแห่งฮาร์เลม" และ "ดีร์กแห่งเลอเฟิน" ซึ่งเป็นคนคนเดียวกัน ชีวิตเบื้องต้นไม่มีหลักฐานเท่าใดนัก แต่ดีร์ก เบาตส์ได้รับอิทธิพลจากยัน ฟัน ไอก์ และโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน ซึ่งอาจจะเป็นผู้ที่ดีร์กศึกษาด้วย หลักฐานครั้งแรกเกี่ยวกับดีร์กพบครั้งแรกที่เลอเฟินเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและดีร์ก เบาตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ครอบครัวรูแล็ง

รอบครัวรูแล็ง (la famille Roulin; The Roulin Family) เป็นชุดภาพเหมือนที่เขียนขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1888 ถึง ค.ศ. 1889 โดยฟินเซนต์ ฟัน โคค จิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญในลัทธิประทับใจยุคหลัง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและครอบครัวรูแล็ง · ดูเพิ่มเติม »

คิกุชิ โยไซ

กุชิ โยไซ (ค.ศ. 1781 - ค.ศ. 1878) เป็นจิตรกรชาวญี่ปุ่นของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีชื่อเสียงในการเขียนภาพเหมือนเอกรงค์ของบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและคิกุชิ โยไซ · ดูเพิ่มเติม »

งานสะสมชุดโจวีโอ

ระเบียงแรกของหอศิลป์อุฟฟิซิ ภาพเหมือนในชุด “งานสะสมชุดโจวีโอ” เป็นภาพเขียนขนาดเล็กที่ตั้งอยู่ติดกับเพดานที่เป็นลวดลาย งานสะสมชุดโจวีโอ หรือ ภาพเหมือนชุดโจวีโอ (Giovio Series, Giovio Collection หรือ Giovio Portraits) เป็นภาพเหมือน 484 ภาพที่รวบรวมโดยนักประวัติศาสตร์ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและนักประวัติศาสตร์ปาโอโล โจวีโอ (ค.ศ. 1483-ค.ศ. 1552) เป็นภาพชุดที่ประกอบด้วยบุคคลสำคัญๆ ทางวรรณคดี, นักการปกครอง, รัฐบุรุษ และคนสำคัญอื่นๆ ที่เขียนจากตัวจริง โจวีโอตั้งใจจะสะสมเพื่อเป็นในเป็นหลักฐานของสารธารณะชนของบุคคลสำคัญ เดิมภาพเขียนชุดนี้เก็บรักษาไว้ในคฤหาสน์ที่สร้างเฉพาะในการเก็บสะสมภาพเขียนบนฝั่งทะเลสาบโคโม แม้ว่าภาพเดิมจะไม่มีเหลืออยู่แล้วแต่ชุดที่ก็อปปีสำหรับโคสิโมที่ 1 เดอ เมดิชิปัจจุบันตั้งแสดงอย่างถาวรอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิในเมืองฟลอเรนซ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและงานสะสมชุดโจวีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ซันโดร บอตตีเชลลี

ซานโดร บอตติเซลลี อเลสซานโดร ดี มาริอาโน ดี วานนี ฟิลิเปปิ หรือ ซานโดร บอตติเชลลี หรือเรียกกันสั้นๆ ว่า บอตติเชลลี (Alessandro di Mariano di Vanni Filipepi หรือ Sandro Botticelli เรียกย่อว่า Il Botticello; 1 มีนาคม ค.ศ. 1444 (พ.ศ. 1987/88) - 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1510(พ.ศ. 2053) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีแห่งตระกูลการเขียนแบบฟลอเรนซ์ระหว่างยุคเรอเนสซองซ์ตอนต้น เพียงไม่ถึงร้อยปึต่อมาวิธีการเขียนตระกูลนี้ (ภายใต้การอุปถัมภ์ของลอเรนโซ เดอ เมดิชิ) ก็ถูกจัดโดยจอร์โจ วาซารีให้เป็น “ยุคทอง” ในบทนำของหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” ของชีวประวัติของบอตติเชลลี ชื่อเสียงของบอตติเชลลีได้รับความเสียหายหลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วมาจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 แต่ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาบอตติเชลลีก็ได้รับความนับถือว่าเป็นจิตรกรฝีมือดีของสมัยเรอเนสซองซ์ตอนต้นของอิตาลีหรือสมัยที่เรียกกันในภาษาอิตาลีว่า “ควัตโตรเชนโต” ผลงานที่เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของงานเขียนแบบฟลอเรนซ์ก็ได้แก่ “กำเนิดวีนัส” และ “ฤดูใบไม้ผลิ”.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและซันโดร บอตตีเชลลี · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมเน มาร์ตีนี

หน้าแรกของ “Virgil” โดย เพทราค (Petrach) หนังสือวิจิตร วาดโดยซิโมเน มาร์ตินิราว ค.ศ. 1336 ปัจจุบันอยู่ที่มิลาน รายละเอียดจิตรกรรมฝาผนังที่ “ทีว่าการเมืองเซึยนนา” ซิโมเน มาร์ตินิ (Simone Martini, ราว ค.ศ. 1284 - ราว ค.ศ. 1344) เป็นจิตรกรสมัยยุคกลางคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และบานพับภาพ ซิโมเน มาร์ตินิเป็นจิตรกรคนสำคัญในการวิวัฒนาการการเขียนภาพในอิตาลีสมัยต้น มาร์ตินิได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากการวิวัฒนาการของศิลปะกอธิคนานาชาติ (International Gothic) เชื่อกันว่ามาร์ตินิเป็นลูกศิษย์ของดุชโช ผู้เป็นจิตรกรชาวเซียนนาที่มีความสำคัญในขณะนั้น พี่เขยของมาร์ตินิคือลิบโป เม็มมิ (Lippo Memmi) ผู้เป็นจิตรกรที่มีชื่อเสียงเช่นกัน หลักฐานเกี่ยวกับชีวิตส่วนตัวของ มาร์ตินิมีไม่มากนักและที่มีอยู่ก็ยังเป็นการถกเถียงกัน มาร์ตินิเสียชีวิตที่อาวินยองเมื่อไปเป็นจิตรกรประจำราชสำนักพระสันตะปาปาที่นั่นเมื่อราวปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและซีโมเน มาร์ตีนี · ดูเพิ่มเติม »

ประติมากรรมคลาสสิก

ลโอคารีส งานก็อปปีจากประติมากรรมสัมริดของกรีกที่สร้างราวปี 330-320 ก่อนคริสต์ศักราช, พิพิธภัณฑ์วาติกัน ประติมากรรมคลาสสิก (Classical sculpture) หมายถึงลักษณะของประติมากรรมตั้งแต่ของกรีกโบราณและของโรมันโบราณและของประชากรในภูมิภาคต่างๆ ที่ได้รับอิทธิพลจากกรีซและโรมันภายใต้การปกครองของสองมหาอำนาจนี้ตั้งแต่ราว 500 ก่อนคริสต์ศักราชจนถึงการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและประติมากรรมคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอตะ (ทิเชียน)

ูบทความหลักที่ ปีเอตะ ปีเอตะ (ภาษาอังกฤษ: Pietà) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันภาพสุดท้ายที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอแสดงภาพอัคคาเดเมียที่เวนิสในประเทศอิตาลี “ปีเอตะ” เป็นงานที่เขียนระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและปีเอตะ (ทิเชียน) · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา

ระเยซูคืนชีพ” (Resurrection) รายละเอียดจากภาพประวัติของสัตยกางเขน พระเยซูคืนชีพ เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา (ภาษาอังกฤษ: Piero della Francesca) (ราว ค.ศ. 1412 - 12 ตุลาคม ค.ศ. 1492) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง นอกจากจะเป็นจิตรกรแล้ว เปียโร เดลลา ฟรานเชสกาก็ยังเป็นนักคณิตศาสตร์และนักเรขาคณิต ลักษณะของภาพเขียนจะสงบและการใช้รูปเรขาคณิตโดยเฉพาะการเขียนแบบทัศนียภาพและการเขียนภาพลึกบนผนังแบนเรียบ (foreshortening) งานส่วนใหญ่ของเดลลา ฟรานเชสกาอยู่ที่เมืองอเรซโซในแคว้นทัสเคนี.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา · ดูเพิ่มเติม »

นักร้องคอนเสิร์ต (เอคินส์)

นักร้องคอนเสิร์ต (The Concert Singer) เป็นประติมากรรมที่สร้างโดยทอมัส เอคินส์ประติมากรคนสำคัญชาวอเมริกันที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะฟิลาเดลเฟีย, เพนซิลเวเนียในสหรัฐอเมริกา “นักร้องคอนเสิร์ต” เป็นภาพเหมือนของนักร้องเวดา คุค (ค.ศ. 1867-ค.ศ. 1937) ที่เขียนขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1890 ถึงปี ค.ศ. 1892 ภาพนี้เป็นภาพเหมือนเต็มตัวของสตรีภาพแรกที่เขียนโดยเอคิน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและนักร้องคอนเสิร์ต (เอคินส์) · ดูเพิ่มเติม »

นิโคลัส ฮิลเลียร์ด

นิโคลัส ฮิลลาร์ด (Nicholas Hilliard, พ.ศ. 2090 - พ.ศ. 2162) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษที่ถนัดด้านการวาดภาพเหมือน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1540 หมวดหมู่:จิตรกรชาวอังกฤษ หมวดหมู่:บุคคลจากเอ็กซิเตอร์ หมวดหมู่:บุคคลจากมณฑลเดวอน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและนิโคลัส ฮิลเลียร์ด · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา เดอ ลาร์ฌีลีแยร์

นีกอลา เดอ ลาร์ฌีลีแยร์ (Nicolas de Largillière,; 10 ตุลาคม ค.ศ. 1656 - 20 มีนาคม ค.ศ. 1746) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของสมัยโรโคโคของคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพเหมือน บิดาผู้เป็นพ่อค้านำตัวเดอ ลาร์ฌีลีแยร์ไปเมืองแอนต์เวิร์ปตั้งแต่อายุเพิ่งได้ 3 ขวบ ระหว่างที่เป็นเด็กเดอ ลาร์ฌีลีแยร์ก็ได้ใช้เวลาถึงเกือบสองปีในลอนดอน หลังจากที่กลับมายังแอนต์เวิร์ปและประสบความล้มเหลวในด้านธุรกิจแล้ว เดอ ลาร์ฌีลีแยร์ก็หันไปหาห้องเขียนภาพของกูโบ (Goubeau) เมื่ออายุได้ 18 ปีก็เดินทางไปหาช่องทางทำมาหากินในอังกฤษ เมื่อไปได้ทำความรู้จักและได้รับการจ้างจากเซอร์ปีเตอร์ เลลีเป็นเวลาสี่ปีที่วินด์เซอร์ในบาร์กเชอร์ ความสามารถของเดอ ลาร์ฌีลีแยร์เป็นที่สนใจของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ผู้ที่มีพระราชประสงค์ที่จ้างไว้เป็นจิตรกรประจำราชสำนัก แต่การคบคิดไรย์เฮาส์ต่อผู้ถือนิกายโรมันคาทอลิกสร้างความหวาดหวั่นให้แก่เดอ ลาร์ฌีลีแยร์ ผู้ที่ย้ายไปอยู่ปารีส และไปได้รับการชื่นชมจากเลอ เบริง และฟาน เดอร์ มอยเล็น ในที่สุด เดอ ลาร์ฌีลีแยร์ก็เริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้น การใช้สีอันสดใสและการเขียนที่เป็นเชิงมีชีวิตชีวาเป็นที่ต้องใจของบุคคลสำคัญในยุคนั้นเป็นอันมาก ไม่ว่าจะเป็นนักแสดง ข้าราชการ และนักเทศน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและนีกอลา เดอ ลาร์ฌีลีแยร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟร์ดีนันด์ โบล

แฟร์ดีนันด์ โบล (Ferdinand Bol; 24 มิถุนายน ค.ศ. 1616 - 24 สิงหาคม ค.ศ. 1680) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 แม้ว่าจะมีงานของโบลเหลืออยู่เพียงไม่กี่ชิ้นแต่ก็ยังแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลที่ได้รับจากแร็มบรันต์ โบลมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมประวัติศาสตร์ ภาพเหมือน และภาพเหมือนตนเอง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและแฟร์ดีนันด์ โบล · ดูเพิ่มเติม »

แม็ทธิว เบรดี

แม็ทธิว เบรดี (Mathew B. Brady; ค.ศ. 1822 – 15 มกราคม ค.ศ. 1896) เป็นช่างภาพชาวอเมริกันผู้มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งภาพถ่ายเชิงสารคดี (photojournalism) เบรดีมีชื่อเสียงจากการถ่ายภาพเหมือนของบุคคลสำคัญๆ และภาพสารคดีจากสงครามกลางเมืองอเมริกัน เบรดีเกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและแม็ทธิว เบรดี · ดูเพิ่มเติม »

แอดการ์ เดอกา

“ภาพเหมือน” (ราวปี ค.ศ. 1854) โดย แอดการ์ เดอกา แอดการ์ เดอกา (Edgar Degas, 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 - 27 กันยายน พ.ศ. 2460) จิตรกร ประติมากร ช่างภาพพิมพ์ และช่างวาด สมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 เดอกาเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนก่อตั้งศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์แต่เดอกามาหันหลังให้และชอบให้เรียกตนเองว่าศิลปินสัจนิยม (Realist) มากกว่ากอร์ดอนและฟอร์จ,..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและแอดการ์ เดอกา · ดูเพิ่มเติม »

แคทเธอรีน เดอ เมดีชี

ระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส พระราชสวามี แคทเธอรีน เดอ เมดิชิ (ภาษาอังกฤษ: Catherine de' Medici) (13 เมษายน ค.ศ. 1519 – 5 มกราคม ค.ศ. 1589) เกิดที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ชื่อเมื่อแรกเกิดในภาษาอิตาลีคือ “คาเทอรีนา มารีอา โรโมลา ดี ลอเร็นโซ เดอ เมดิชิ” (Caterina Maria Romola di Lorenzo de' Medici) พระบิดาและมารดาของแคทเธอรีนคือลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ ดยุกแห่งเออร์บิโนและมาเดเลน เดอ ลา ทัวร์ โดแวญ เคาเทสแห่งบูลอยน (Madeleine de la Tour d'Auvergne, Countess of Boulogne) ทั้งสองคนเสียชีวิตไปไม่นานหลังจากที่แคทเธอรีนประสูติ พระนามมาเปลี่ยนมาสะกดแบบฝรั่งเศสต่อมาเป็น “Catherine de Médicis” แคทเธอรีนเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสระหว่างปี ค.ศ. 1547 ถึงปี ค.ศ. 1559 เมื่อมีพระชนม์ได้ 14 พรรษาในปี ค.ศ. 1533 แคทเธอรีนก็ทรงเสกสมรสกับอองรีดยุกแห่งออร์เลอองผู้เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส กับพระราชินีโคลด เมื่อเจ้าชายรัชทายาท ฟรองซัวส์ หรือ “โดแฟ็ง” (Dauphin) พระเชษฐาของอองรีสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1536 อองรีก็ได้ขึ้นเป็นโดแฟงแทน แคทเธอรีนจึงทรงมีตำแหน่งเป็น “โดฟีน” (Dauphine) ต่อมาเมื่อพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 เสด็จสวรรคต อองรีก็ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็นพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1547 ระหว่างการครองราชพระเจ้าอองรีก็มิได้ให้ความสำคัญต่อพระราชินีแคทเธอรีนเท่าใดนัก แต่ทรงกลับไปปรนเปรอพระสนมคนโปรด ไดแอน เดอ ปอยเตียร์ (Diane de Poitiers) แทน เมื่อพระเจ้าอองรีเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1559 พระราชินีแคทเธอรีนจึงทรงเริ่มมีบทบาททางการเมืองโดยการเป็นพระชนนีของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2 แห่งฝรั่งเศสผู้มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษาเมื่อขึ้นครองราชย์และไม่ทรงแข็งแรงเท่าใดนัก พระเจ้าฟรองซัวส์ทรงปกครองฝรั่งเศสได้เพียงปีเดียวก็เสด็จสวรรคต พระราชินีแคทเธอรีนก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ผู้มีอำนาจเต็มที่ในพระโอรสองค์รอง พระเจ้าชาร์ลที่ 9 ผู้มีพระชนมายุได้เพียง 10 พรรษา หลังจากพระเจ้าชาลส์เสด็จสวรรคตพระราชินีนาถแคทเธอรีนก็ทรงมีบทบาทสำคัญในการปกครองมากขึ้นเมื่อพระราชโอรสองค์ที่สามขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าอองรีที่ 3 พระเจ้าอองรีทรงปรึกษาราชการแผ่นดินต่างๆ กับพระราชชนนีจนระยะสุดท้ายก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ พระโอรสผู้อ่อนแอทั้งสามพระองค์ของแคทเธอรีนทรงปกครองฝรั่งเศสในขณะที่บ้านเมืองระส่ำระสายจากการก่อความไม่สงบต่างที่เกิดขึ้นจากสงครามกลางเมืองและสงครามศาสนา ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ที่เกิดขึ้นมิได้อยู่ในความควบคุมของระบบพระมหากษัตริย์และเป็นปัญหาที่ใหญ่แม้แต่สำหรับพระมหากษัตริย์ผู้ทรงอำนาจ เมื่อแรกเริ่มแคทเธอรีนก็พยายามประนีประนอมกับฝ่ายอูเกอโนท์ (Huguenots) หรือชาวฝรั่งเศสที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เมื่อมีการจลาจลเกิดขึ้น แต่ก็ไม่ทรงเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงปัญหาความขัดแย้งทางปรัชญาทางคริสต์ศาสนวิทยาและสาเหตุของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งทำให้พระองค์ไม่มีพระอุตสาหะพอที่จะพยายามแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างสันติ และทรงใช้ไม้แข็งในการปราบปรามผู้ก่อความไม่สงบ พระองค์จึงทรงถูกประณามในเหตุการณ์ร้ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเหตุการณ์การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว ในปี ค.ศ. 1572 ซึ่งเป็นผลให้อูเกอโนท์ถูกสังหารอย่างทารุณทั้งในปารีสและทั่วไปในประเทศฝรั่งเศส นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานกันว่าในปารีสเองมีผู้เสียชีวิตประมาณ 2,000 คนและอีกประมาณ 5,000-10,000 คนในบริเวณอื่นทั่วฝรั่งเศส หลังจากนั้นก็มีเรื่องสยดสยองต่างๆ จากเหตุการณ์ในเอกสารที่แจกจ่ายกันในสมัยนั้นซึ่งเป็นต้นกำเนิด “ตำนานมืด” (The Black Legend) ของ “พระราชินีผู้ชั่วร้าย” จากปากเสียงของผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อพระองค์ พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงถูกประณามว่าเป็น “Machiavellian Renaissance prince” ผู้ป้อนความกระหายอำนาจด้วยการอาชญากรรม, การวางยาพิษ และบางทีก็ถึงกับใช้อำนาจเวทมนตร์ “อากริพพา โดบินย์” (Agrippa d'Aubigné) กวีอูเกอโนท์ถึงกับขนานพระนามพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “เชี้อโรคจากฟลอเรนซ์” (Florentine plague) ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักประวัติศาสตร์จูลส์ มิเชลเลท์ (Jules Michelet) บรรยายพระราชินีนาถแคทเธอรีนว่าเป็น “หนอนที่หลุดออกมาจากหลุมศพของอิตาลี” นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันให้เหตุผลสนับสนุนการใช้อำนาจอันเกินควรของพระราชินีนาถแคทเธอรีน แต่อาร์ เจ เนคช (R. J. Knecht) กล่าวว่าความทารุณของพระราชินีนาถแคทเธอรีนจะเห็นได้จากจดหมายที่ทรงเขียน นิโคลา ซัทเธอร์แลนด์ (Nicola Sutherland) กล่าวเตือนถึงความเกินเลยในการบรรยายอำนาจของพระองค์ว่าแทนที่จะเป็นภาพพจน์ที่ทรงปกครองอย่างมั่นคง พระราชินีนาถแคทเธอรีนทรงต้องต่อสู้กับความไม่สงบต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างแทบไม่มีทางชนะ นโยบายการปกครองของพระองค์จึงเป็นนโยบายของความอยู่รอดของราชวงศ์วาลัวส์ไม่ว่าจะด้วยวิธีใดใด จึงอาจจะกล่าวได้ว่าถ้าไม่มีพระราชินีนาถแคทเธอรีนพระโอรสทั้งสามพระองค์ก็คงไม่ทรงสามารถปกครองฝรั่งเศสด้วยพระองค์เองได้ ระยะการปกครองระหว่างพระโอรสทั้งสามเรียกว่า “สมัยแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ” (The Age of Catherine de' Medici).

ใหม่!!: ภาพเหมือนและแคทเธอรีน เดอ เมดีชี · ดูเพิ่มเติม »

โรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน

รเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน (Rogier van der Weyden) หรือ รอฌีเย เดอ เลอ ปัสตูร์ (Rogier de le Pasture; ค.ศ. 1399/ค.ศ. 1400 - 18 มิถุนายน ค.ศ. 1464) เป็นจิตรกรคนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เขาเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและการเขียนบานพั.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน · ดูเพิ่มเติม »

โลวิส โครินธ์

ลวิส โครินธ์ (Lovis Corinth) (21 กรกฎาคม ค.ศ. 1858 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1925) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ชาวเยอรมันของการผสานระหว่างอิมเพรสชันนิสม์และลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ (expressionism) ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 โครินธ์ศึกษาที่ปารีสและมิวนิค และเข้าเป็นสมาชิกของกลุ่มแยกตัวเบอร์ลิน (Berlin Secession) และต่อมาเป็นประธานของกลุ่มต่อจากแม็กซ์ ลีเบอร์มันน์ งานในช่วงต้นเป็นงานแบบธรรมชาติ และต่อต้านลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ แต่หลังจากที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและโลวิส โครินธ์ · ดูเพิ่มเติม »

โอตโต ฟัน เฟน

อตโต ฟัน เฟน (Otto van Veen) หรือ อ็อกตาวิอุส ไวนิอุส (Octavius Vaenius; ราว ค.ศ. 1556 - 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1629) เป็นจิตรกรและนักวาดลายเส้นชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ฟัน เฟนทำงานส่วนใหญ่ในบริเวณแอนต์เวิร์ปและบรัสเซลส์ และเป็นที่รู้จักกันว่ามีห้องเขียนภาพใหญ่โตในแอนต์เวิร์ปที่สร้างงานหนังสือประกอบภาพเอ็มเบล็ม (Emblem book) หลายเล่ม และเป็นอาจารย์ของเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและโอตโต ฟัน เฟน · ดูเพิ่มเติม »

โจชัว เรย์โนลส์

ซอร์โจชัว เรย์โนลส์ (ภาษาอังกฤษ: Joshua Reynolds, RA FRS FRSA) (16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 - 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษของสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน และภาพเหมือน โจชัว เรย์โนลส์เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 ที่เมืองพลิมตันในเดวอนในอังกฤษ และเสียชีวิตเมื่อราววันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792 ที่เมืองลอนดอนในอังกฤษ เรย์โนลด์เป็นผู้สนับสนุนการเขียนที่เรียกว่า “Grand Style” ที่เป็นการเขียนที่สร้างภาพอุดมคติจากสิ่งที่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์แบบ เรย์โนลด์เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการของราชสถาบันศิลปะ เรย์โนลด์ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเซอร์จากพระเจ้าจอร์จที่ 3.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและโจชัว เรย์โนลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โดเมนีโก กีร์ลันดาโย

มนีโก กีร์ลันดาโย (Domenico Ghirlandaio) หรือ โดเมนีโก ดี ตอมมาโซ กูร์ราดี ดี ดอฟโฟ บีกอร์ดี (Domenico di Tommaso Curradi di Doffo Bigordi; ค.ศ. 1449 - 11 มกราคม ค.ศ. 1494) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และการเขียนด้วยสึฝุ่นบนไม้ โดเมนีโกเป็นจิตรกรร่วมสมัยกับซันโดร บอตตีเชลลี และฟิลิปปินโน ลิบปี และมีลูกศิษย์หลายคนรวมทั้งมีเกลันเจโล.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและโดเมนีโก กีร์ลันดาโย · ดูเพิ่มเติม »

โคเฟิร์ต ฟลิงก์

ฟิร์ต ฟลิงก์ (Govert หรือ Govaert Flinck; 25 มกราคม ค.ศ. 1615 - 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1660) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โคเฟิร์ต ฟลิงก์มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมประวัติศาสตร์และภาพเหมือน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและโคเฟิร์ต ฟลิงก์ · ดูเพิ่มเติม »

โซโฟนิสบา อังกิสโซลา

ซโฟนิสบา อังกิสโซลา (Sofonisba Anguissola) (ราว ค.ศ. 1532 - 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1625) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและโซโฟนิสบา อังกิสโซลา · ดูเพิ่มเติม »

เชกโก เดล คาราวัจโจ

กโก เดล คาราวัจโจ (ภาษาอังกฤษ: Cecco del Caravaggio) (มีงานเขียนระหว่าง ค.ศ. 1610 - กลางคริสต์ทศวรรษ 1620) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกชาวอิตาลี ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้เขียนงานจิตรกรรมแบบคาราวัจโจและเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพแบบคาราวัจโจ เชกโก เดล คาราวัจโจทำงานในกรุงโรมราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเป็นจิตรกรรุ่นแรกที่ทำงานเขียนแบบคาราวัจโจ กล่าวกันว่าเชกโกคือ เชกโก “ฟรานเชสโค โบเนริ” แต่สมมุติฐานนี้ไม่เป็นที่ยอมรับ หลักฐานเกี่ยวกับเชกโก เดล คาราวัจโจไม่เป็นที่ทราบเท่าใดนัก ในหนังสือแนะนำจิตรกรร่วมสมัย “Considerazioni sulla Pittura” ที่เขียนโดยนักสะสมร่วมสมัยจุยเลียโน มันชินิ (Giulio Mancini) ราวปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเชกโก เดล คาราวัจโจ · ดูเพิ่มเติม »

เบญจาคริสต์

แกรนด์มาสเตอร์ประมุขของอัศวินเซนต์จอห์นนั่งภายใต้เบญจาบนแท่นโดยมีเบาะรองเท้า การใช้เบญจาในขบวนแห่ทางศาสนาในเบลเยียม เบญจา หรือ ผ้าประจำตำแหน่ง หรือ กลด (baldachin, baldaquin) เป็นเครื่องตกแต่งสำหรับแสดงฐานะที่ใช้ติดตั้งเหนือแท่นบูชา บัลลังก์ หรือเก้าอี้ หรือพระแท่นบรรทมหรือเตียง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเบญจาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก บาซีย์

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1865–1866) สถาบันศิลปะแห่งชิคาโก, สหรัฐอเมริกา ฌ็อง เฟรเดริก บาซีย์ (Jean Frédéric Bazille; 6 ธันวาคม ค.ศ. 1841 - 28 พฤศจิกายนน ค.ศ. 1870) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์ของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพคน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเฟรเดริก บาซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เลมูเอล ฟรานซิส แอ็บบอท

ลมูเอล ฟรานซิส แอ็บบอท (Lemuel Francis Abbott) (ราว ค.ศ. 1760 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1802) เป็นจิตรกรภาพเหมือนชาวอังกฤษของคริสต์ศตวรรษที่ 18 แอ็บบอทมีชื่อเสียงจากการเขียนภาพเหมือนของโฮราชิโอ เนลสัน ไวส์เคานท์เนลสันที่ 1 ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ทำเนียบนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร และภาพเหมือนของนายทหารเรือคนสำคัญๆ ของอังกฤษของคริสต์ศตวรรษที่ 18 แอ็บบอทผู้เกิดในแคว้นเลสเตอร์เชอร์ในอังกฤษราวปี ค.ศ. 1760 เป็นบุตรของนักบวชเลมูเอล แอ็บบอท และภรรยาแมรี แอ็บบอทมาเป็นลูกศิษย์ของฟรานซิส เฮย์แมน และพำนักอยู่ในลอนดอน แม้ว่าจะมีผลงานแสดงที่ราชสถาบันศิลปะแอ็บบอทก็ไม่เคยเป็นนักการศึกษา เมื่ออายุได้ 40 ปีแอ็บบอทก็มีอาการเสียสติและได้รับการรักษาโดยนายแพทย์ทอมัส มันโรผู้เชี่ยวชาญทางโรงประสาทแห่งโรงพยาบาลเบ็ธเล็ม นายแพทย์มันโรเป็นนายแพทย์คนเดียวกันกับนายแพทย์ที่ถวายการรักษาอาการทางประสาทของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (ค.ศ. 1738–ค.ศ. 1820) แอ็บบอทเสียชีวิตในลอนดอนเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1802.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเลมูเอล ฟรานซิส แอ็บบอท · ดูเพิ่มเติม »

เวลคัมทูเดอะแฟมิลี (เพลง)

"เวลคัมทูเดอะแฟมิลี" เป็นเพลงของวงดนตรีฮาร์ดร็อกอเมริกัน อะเว็นจด์เซเวนโฟลด์ ออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลลำดับที่ 2 จากสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 5 ของวง ไนต์แมร์ เป็นซิงเกิลที่ออกเป็นลำดับ 2 ของวงที่ไม่มี เดอะเรฟ มือกลองคนเก่าที่เสียชีวิตไปเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเวลคัมทูเดอะแฟมิลี (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง

อลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง (Élisabeth-Louise Vigée-Le Brun) หรือ มารี เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ (Marie Élisabeth-Louise Vigée; 16 เมษายน ค.ศ. 1755 - 30 มีนาคม ค.ศ. 1842) เป็นจิตรกรสมัยโรโคโคชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีชื่อเสียงในการเขียนจิตรกรรมภาพเหมือน เอลีซาแบ็ตแสดงความสนใจในศิลปะฟื้นฟูคลาสสิกแต่ไม่ได้จัดอยู่ในจิตรกรกลุ่มนี้เพราะความสนใจของเอลีซาแบ็ตจำกัดอยู่แต่เพียงการแต่งตัวของแบบที่เขียนให้เป็นคลาสสิก มิใช่ความสนใจในการสร้างจิตรกรรมประวัติศาสตร์แบบคลาสสิก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง · ดูเพิ่มเติม »

เจนตีเล เบลลีนี

็นทิเล เบลลินี (ภาษาอังกฤษ: Gentile Bellini) (ค.ศ. 1429 - ค.ศ. 1507) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน เจ็นทิเล เบลลินีเกิดราว..1429 ที่ เวนิส, ประเทศอิตาลี และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเจนตีเล เบลลีนี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีชมพู

้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีชมพู (Infanta Margarita Teresa in a Pink Dress) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยดิเอโก เบลัซเกซจิตรกรคนสำคัญชาวสเปนของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ปราโดในมาดริดในประเทศสเปน ภาพ “เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีชมพู” ที่เชื่อกันว่าเขียนโดยดิเอโก เบลัซเกซในปี ค.ศ. 1660 เป็นภาพเหมือนของเจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาแห่งสเปน ซึ่งเป็นผู้เดียวกับที่ปรากฏในภาพ “นางสนองพระโอษฐ์” (Las Meninas) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1656 และภาพ “เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีน้ำเงิน” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1659 โดยทั่วไปแล้วเชื่อกันว่าภาพนี้เป็นภาพเขียนภาพสุดท้ายของเบลัซเกซ ที่ฉลองพระองค์เขียนโดยเบลัซเกซเองและพระเศียรที่ยังเขียนไม่เสร็จเมื่อเบลัซเกซมาเสียชีวิตลงเสียก่อน ตอนล่างของม่านมาเขียนโดยลูกศิษย์ชื่อ Juan Bautista del Mazo L. Cirlot (ed.), Museo del Prado II, Col.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีชมพู · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีน้ำเงิน

้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีน้ำเงิน (Infanta Margarita Teresa in a Blue Dress) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยดิเอโก เบลัซเกซจิตรกรคนสำคัญชาวสเปนของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะในเวียนนาในประเทศออสเตรีย ภาพ “เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีน้ำเงิน” ที่เขียนโดยดิเอโก เบลัซเกซในปี ค.ศ. 1659 เป็นภาพเหมือนที่เป็นภาพที่เป็นที่รู้จักกันดีภาพหนึ่งและเป็นภาพเขียนหนึ่งภาพสุดท้ายที่เขียนโดยเบลัซเกซก่อนที่จะเสียชีวิต เป็นภาพของมาร์การิตา เทเรซาแห่งสเปน ซึ่งเป็นผู้เดียวกับที่ปรากฏในภาพ “นางสนองพระโอษฐ์” (Las Meninas) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1656 และภาพ “เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีชมพู” ที่เขียนต่อมาในปี ค.ศ. 1660 ภาพ “เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีน้ำเงิน” เป็นหนึ่งในบรรดาภาพเหมือนของบุคคลในราชสำนักสเปนที่เขียนโดยเบลัซเกซ เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาผู้ทรงเสกสมรสกับพระปิตุลา--สมเด็จพระจักรพรรดิลีโอโพลด์ที่ 1 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์--เมื่อพระชนม์ 15 พรรษา ภาพเหล่านี้ของพระองค์เป็นภาพที่ถูกส่งไปยังกรุงเวียนนาเพื่อนำไปถวายแสดงให้สมเด็จพระจักรพรรดิลีโอโพลด์ได้ทอดพระเนตรดูถึงความเจริญพระชันษาของคู่หมั้น สิ่งที่เด่นที่สุดในภาพคือกระโปรงที่บานกว้าง (crinoline) อย่างผิดขนาด ที่เน้นด้วยขอบและปกเสื้อที่ทำด้วยลูกไม้ พระหัตถ์ซ้ายถือปลอกแขนขนสัตว์สีน้ำตาลซึ่งอาจจะเป็นของขวัญจากเวียนนา ในภาพนี้เบลัซเกซใช้เทคนิคการเขียนโดยใช้ฝีแปรงที่หยาบที่ผสานเข้าด้วยกันก็เมื่อมองจากระยะที่ไกลจากภาพ ในภาพนี้เจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซามีพระชนม์ 8 พรรษาทรงยืนสง่าพระพักตร์ขรึมอยู่กลางภาพ ฉลองพระองค์เป็นผ้าไหมสีน้ำเงิน ขอบตกแต่งด้วยเงินตามแฟชันของสมัยนั้นในสเปน ท่าทางขรึมอย่างควบคุมอารมณ์ของพระองค์เน้นหนักขึ้นโดยโทนสีน้ำเงินและเงิน ในฉากหลังเป็นโต๊ะสูงและกระจกรูป.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเจ้าหญิงมาร์การิตา เทเรซาในชุดสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

เคราร์ด ฟัน โฮนต์ฮอสต์

ราร์ด หรือ แคร์ริต แฮร์มันส์โซน ฟัน โฮนต์ฮอสต์ (Gerard, Gerrit Hermanszoon van Honthorst; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1592 - 27 เมษายน ค.ศ. 1656) เป็นจิตรกรชาวดัตช์แห่งเมืองยูเทรกต์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพเหมือน ฟัน โฮนต์ฮอสต์ได้ร่ำเรียนกับอาบราฮัม บลุมาร์ต (Abraham Bloemaert) จิตรกรและช่างพิมพ์ภาพที่เปลี่ยนจากการเขียนแบบตระกูลฟรังก์เกิน (Francken) ไปเป็นการเขียนแบบกึ่งอิตาลีเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เช่นเดียวกับจิตรกรเนเธอร์แลนด์ในขณะนั้นที่ตื่นเต้นกับการการวิวัฒนาการทางจิตรกรรมในแบบอิตาลี ฟัน โฮนต์ฮอสต์เดินทางไปอิตาลีในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเคราร์ด ฟัน โฮนต์ฮอสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เคราร์ด เตอร์บอร์ค

ราร์ด เตอร์บอร์ค (Gerard ter Borch) หรือ เคราร์ด เตอร์บืร์ค (Gerard Terburg; ธันวาคม ค.ศ. 1617 - 8 ธันวาคม ค.ศ. 1681) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เตอร์บอร์คได้รับการฝึกหัดการเขียนเป็นอย่างดีจากบิดาและมีพรสวรรค์ในการเขียนภาพตั้งแต่ยังอายุไม่มาก เตอร์บอร์คมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันและภาพเหมือน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเคราร์ด เตอร์บอร์ค · ดูเพิ่มเติม »

เปตรึส คริสตึส

ปตรึส คริสตึส (Petrus Christus; ราว ค.ศ. 1410/ค.ศ. 1420 - ราว ค.ศ. 1475/ค.ศ. 1476) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมสีน้ำมันในหัวข้อที่เกี่ยวกับศิลปะคริสเตียนและการเขียนภาพเหมือน เปตรึส คริสตึสเกิดเมื่อราวระหว่างปีค.ศ. 1410-ค.ศ. 1420 ที่เมืองบาร์เลอ-แฮร์โตค (Baarle-Hertog) ใกล้กับแอนต์เวิร์ปในประเทศเบลเยียมปัจจุบัน คริสตึสทำงานส่วนใหญ่ที่บรูชตั้งแต่ปี ค.ศ. 1444 เป็นที่เชื่อกันมานานแล้วว่าคริสตึสเป็นลูกศิษย์และทำงานต่อจากยัน ฟัน ไอก์ งานบางชิ้นก็สับสนกันว่าเป็นงานของฟัน ไอก์ เมื่อฟัน ไอก์เสียชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1441 คริสตึสก็รับช่วงทำโรงฝึกงานต่อและซื้อสัญชาติในปี ค.ศ. 1444 สามปีหลังจากที่ฟัน ไอก์เสียชีวิต อันที่จริงแล้วคริสตึสก็ควรจะได้สัญชาติหลังจากที่ทำงานในโรงฝึกงานของฟัน ไอก์ มาได้หนึ่งปีและหนึ่งวันตามธรรมเนียม หรืออาจจะว่าได้ว่าแม้ว่าจะเป็นผู้รับช่วงต่อในการเขียนภาพแบบบรูช แต่ก็มิได้หมายความว่าจะเป็นลูกศิษย์ และอันที่จริงแล้วจากการค้นคว้าเมื่อไม่นานมานี้พบว่าคริสตึสเป็นจิตรกรอิสระที่มีผลงานที่แสดงว่ามีอิทธิพลจากศิลปินหลายคนรวมทั้งดีร์ก เบาตส์, โรเบิร์ต กัมปิน และโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนและเปตรึส คริสตึส · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Portraitจิตรกรรมภาพเหมือน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »