เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ดัชนี ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นภาควิชาที่ผลิตผลงานและบัณฑิตออกสู่สังคมจำนวนมาก และเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติในระดับต้นๆ โดยการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย จาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ภาควิชาเคมีได้รับการจัดให้อยู่ในระดับ 5 (ดีเยี่ยม) ในปี 2553 และระดับ 4 ในปี 2556.

สารบัญ

  1. 8 ความสัมพันธ์: พลังพล คงเสรีการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.ยอดหทัย เทพธรานนท์สมศักดิ์ รุจิรวัฒน์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสตางค์ มงคลสุขอทิตยา ศิริภิญญานนท์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

พลังพล คงเสรี

รศ.ดร. พลังพล คงเสรี รองศาสตราจารย์ พลังพล คงเสรี (4 พฤษภาคม 2513 -) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเคมีอินทรีย์ ประจำปี..

ดู ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและพลังพล คงเสรี

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้เริ่มจัดการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ตั้งแต..

ดู ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.

ยอดหทัย เทพธรานนท์

ตราจารย์เกียรติคุณ ยอดหทัย เทพธรานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2486 ที่กรุงเทพมหานคร ประธานกรรมการบริหารบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (บวท.) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาเคมี ประจำปี..

ดู ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและยอดหทัย เทพธรานนท์

สมศักดิ์ รุจิรวัฒน์

ตราจารย์ สมศักดิ์ รุจิรวัฒน์ เกิดวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2485 นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญในสาขาเคมีอินทรีย์ ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อปี..

ดู ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและสมศักดิ์ รุจิรวัฒน์

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

สตางค์ มงคลสุข

ตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข (15 กรกฎาคม 2462 - 6 กรกฎาคม 2514) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทยผู้เชี่ยวชาญการวิจัยทางด้านอินทรีย์เคมีและสมุนไพร และเป็นนักบริหารการศึกษาระดับสูงของชาติ โดยเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และได้ขยายจนเป็นคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ หรือ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข หรือ.ดร.สตางค์ มงคลสุข เป็นคณบดีคนแรกของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นกำลังสำคัญในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่างๆของประเทศไทยในระยะเริ่มแรก ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งวิทยาเขตหาดใหญ่และปัตตานี.

ดู ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและสตางค์ มงคลสุข

อทิตยา ศิริภิญญานนท์

ผศ.ดร. อทิตยา ศิริภิญญานนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อทิตยา ศิริภิญญานนท์ เกิดวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2516 ที่กรุงเทพมหานคร เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาเคมี ประจำปี..

ดู ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและอทิตยา ศิริภิญญานนท์

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือได้ว่าเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุดของประเทศ และเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุดในสาขาวิทยาศาสตร์ ทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย จากการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ.

ดู ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล