โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟอสฟอรัส

ดัชนี ฟอสฟอรัส

ฟอสฟอรัส (phosphorus) เป็นธาตุอโลหะ เลขอะตอม 15 สัญลักษณ์ P ฟอสฟอรัสอยู่ในกลุ่มไนโตรเจน มีวาเลนซ์ได้มาก ปรากฏในหลายอัลโลโทรป พบทั้งในหินฟอสเฟต และเซลล์สิ่งมีชีวิตทุกเซลล์ (ในสารประกอบในดีเอ็นเอ) เนื่องจากสามารถทำปฏิกิริยาได้สูง จึงไม่ปรากฏในรูปอิสระในธรรมชาติ คำว่า ฟอสฟอรัส มาจากภาษากรีกแปลว่า 'ส่องแสง' และ 'นำพา' เพราะฟอสฟอรัสเรืองแสงอ่อน ๆ เมื่อมีออกซิเจน หรือมาจากภาษาละติน แปลว่า 'ดาวประกายพรึก' ค้นพบประมาณปี 1669 โดยนักเล่นแร่แปรธาตุชาวเยอรมัน เฮนนิก แบรนด์ ในขณะที่ภาษาไทยในสมัยก่อน เรียก ฟอสฟอรัส ว่า 'ฝาสุภเรศ' ฟอสฟอรัสเป็นอโลหะอยู่ในหมู่ที่ VA หมู่เดียวกับธาตุไนโตรเจนในธรรมชาติไม่พบฟอสฟอรัสในรูปของธาตุอิสระ แต่จะพบในรูปของสารประกอบฟอสเฟตที่สำคัญได้แก่หินฟอสเฟต หรือแคลเซียมฟอสเฟต (Ca2(PO4)2) ฟลูออไรอะปาไทต์ (Ca5F (PO4)3) นอกจากนี้ยังพบฟอสฟอรัสในไข่แดง กระดูก ฟัน สมอง เส้นประสาทของคนและสัตว์ ฟอสฟอรัสสามารถเตรียมได้จากแคลเซียมฟอสเฟต โดยใช้แคลเซียมฟอสเฟตทำปฏิกิริยากับคาร์บอนในรูปถ่านโค๊ก และซิลิคอนไดออกไซด์ (SiO2) ในเตาไฟฟ้า ฟอสฟอรัสเป็นธาตุอาหารที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของรากพืช โดยธาตุฟอสฟอรัสจะช่วยให้รากของพืชแข็งแรง และแผ่กระจายได้รวดเร็วขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ลำต้นแข็งแรงตามไปด้วย ปกติแล้วธาตุฟอสฟอรัสจะมีอยู่ในดินมากพออยู่แล้ว เป็นธาตุที่ไม่ค่อยเคลื่อนที่ในดินหรือละลายน้ำได้ยากซึ่งจะทำให้พืชดูดเอาไปใช้ได้ยากด้วย แม้แต่ปุ๋ยที่ใส่ลงไปในดินโดยตรงก็ประมาณกันไว้ว่า 80-90 % ของธาตุฟอสฟอรัสทั้งหมดนั้นจะถูกดินยึดไว้โดยการทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุต่าง ๆ ในดิน ดังนั้น ธาตุฟอสฟอรัสในดินมีกำเนิดมาจากการสลายตัวผุพังของแร่บางชนิดในดิน การสลายตัวของสารอินทรียวัตถุในดินก็จะสามารถปลดปล่อยฟอสฟอรัสออกมาเป็นประโยชน์ต่อพืชที่ปลูกได้เช่นเดียวกับไนโตรเจน ดังนั้น การใช้ปุ๋ยคอกนอกจากจะได้ธาตุไนโตรเจนแล้วก็ยังได้ฟอสฟอรัสอีกด้วย ธาตุฟอสฟอรัสในดินที่จะเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ จะต้องอยู่ในรูปของอนุมูลของ สารประกอบที่เรียกว่า ฟอสเฟตไอออน (H2PO4- และ HPO4-) ซึ่งจะต้องละลายอยู่ในน้ำในดิน สารประกอบของฟอสฟอรัสในดินมีอยู่เป็นจำนวนมากแต่ส่วนใหญ่ละลายน้ำยาก ดังนั้นจึงมักจะมีปัญหาเสมอว่าดินถึงแม้จะมีฟอสฟอรัสมากก็จริงแต่พืชก็ยังขาดฟอสฟอรัส เพราะส่วนใหญ่อยู่ในรูปที่ละลายน้ำยากนั่นเอง นอกจากนั้นแร่ธาตุต่าง ๆ ในดินชอบที่จะทำปฏิกิริยากับอนุมูลฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้ ดังนั้นปุ๋ยฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้เมื่อใส่ลงไปในดินประมาณ 80-90% จะทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุในดินกลายเป็นสารประกอบที่ละลายน้ำยากไม่อาจเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ ดังนั้นการใส่ปุ๋ยฟอสเฟตจึงไม่ควรคลุกเคล้าให้เข้ากับดินเพราะยิ่งจะทำให้ปุ๋ยทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุต่าง ๆ ในดินได้เร็วยิ่งขึ้น แต่ควรจะใส่แบบเป็นจุดหรือโรยเป็นแถบให้ลึกลงไปในดินในบริเวณรากของพืชปุ๋ย ฟอสเฟตนี้ถึงแม้จะอยู่ใกล้ชิดกับรากก็จะไม่เป็นอันตรายแก่รากแต่อย่างใด ปุ๋ยคอกจะช่วยป้องกันไม่ให้ปุ๋ยฟอสเฟตทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุในดินและสูญเสีย ความเป็นประโยชน์ต่อพืชเร็วจนเกินไป พืชเมื่อขาดฟอสฟอรัสจะมีต้นแคระแกร็นใบมีสีเขียวคล้ำ ใบล่าง ๆ จะมีสีม่วงตามบริเวณขอบใบ รากของพืชชะงักการเจริญเติบโต พืชไม่ออกดอกและผล พืชที่ได้รับฟอสฟอรัสอย่างเพียงพอจะมีระบบรากที่แข็งแรงแพร่กระจายอยู่ในดิน อย่างกว้างขวาง สามารถดึงดูดน้ำและธาตุอาหารได้ดี การออกดอกออกผลจะเร็วขึ้น ฟอสฟอรัสช่วยในการสังเคราะห์ด้วยแสง สร้างแป้งและน้ำตาล เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่สำคัญหลายชนิด ช่วยเสริมสร้างส่วนที่เป็นดอก การผสมเกสร ตลอดจนการติดเมล็ด สร้างระบบรากให้แข็งแรง ช่วยในการแตกกอ และช่วยให้ลำต้นแข็งแรงไม่ล้มง่าย ช่วยให้พืชดูดใช้ธาตุไนโตรเจนและโมลิบดีนัมได้ดีขึ้น ธาตุนี้มักพบในรูปที่พืชไม่สามารถดูดไปใช้ได้ เนื่องจากจะถูกตรึงอยู่ในดิน ส่วนใหญ่พืชจะแสดงอาการขาดธาตุนี้บ่อยครั้ง แม้ว่าในดินที่มีธาตุฟอสฟอรัสอยู่เป็นจำนวนมากก็ตามถ้าขาดธาตุฟอสฟอรัสราก พืชจะไม่เจริญ มีรากฝอยน้อย ต้นเตี้ย ใบและต้นมีสีเข้มและบางครั้งมีสีม่วงหรือแดงเกิดขึ้น พืชแก่ช้ากว่าปกติ เช่น การผลิดอก ออกผลช้า มีการแตกกอน้อย การติดเมล็ดน้อย หรือบางครั้งไม่ติดเมล็.

131 ความสัมพันธ์: ชมจันทร์บรอกโคลีฟอสคาร์เนทฟอสเฟตพ.ศ. 2172พ.ศ. 2553พลังงานไอออไนเซชันพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ (หน้าข้อมูล)กระสุนส่องวิถีกรดฟอสฟอริกกรดไฮโดรโบรมิกการหมักเชิงอุตสาหกรรมการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ (หน้าข้อมูล)การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)กำมะถันกุยช่ายมะเฟืองมะเขือเทศมะเดื่อมันฝรั่งระบบนิเวศในน้ำรัศมีวานเดอร์วาลส์รัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล)รังนก (อาหาร)รายชื่อสารประกอบอินทรีย์รายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาตุรายชื่อของธาตุตามหมายเลขรายการธาตุเคมีรางวัลโนเบลสาขาเคมีรูเมนร่างกายมนุษย์ละมุดวัฏจักรทางชีวธรณีเคมีศึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอสสัมฤทธิ์สารหนูสารอาหารสำหรับพืชสารประกอบออร์กาโนฟอสฟอรัสสิ่งมีชีวิตนอกโลกสไปรูลินา (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร)หอยนางรมอัญรูปอัคคีภัยอันดับย่อยสัตว์เคี้ยวเอื้องอันดับของขนาด (ความยาว)อาหารแมวอิเล็กโตรเนกาทิวิตีอิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุ (หน้าข้อมูล)อโลหะอ็องตวน ลาวัวซีเย...ผักจินดาจิตพยาธิวิทยาสัตว์จุดหลอมเหลวของธาตุ (หน้าข้อมูล)จุดเดือดของธาตุ (หน้าข้อมูล)จีเอฟเอเจ-1ธาตุธาตุกึ่งโลหะธาตุคาบ 3ถั่วพูถั่วฝักยาวถั่วผีถั่วเขียวข้อความอาเรซีโบข้าวฟ่างสามง่ามคริสต์ทศวรรษ 1620คลองแม่ข่าความร้อนที่ทำให้หลอมรวมกันของธาตุ (หน้าข้อมูล)ความร้อนที่ทำให้เกิดการระเหยของธาตุ (หน้าข้อมูล)ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอความหนาแน่นของธาตุ (หน้าข้อมูล)ความดันไอของธาตุ (หน้าข้อมูล)ความต้านทานไฟฟ้าของธาตุ (หน้าข้อมูล)คาบ (ตารางธาตุ)คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอตารางธาตุ (บล็อก)ตารางธาตุ (กว้าง)ตารางธาตุ (การจัดเรียงอิเล็กตรอน)ตารางธาตุ (มาตรฐาน)ตารางธาตุ (โลหะ และ อโลหะ)ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมใหญ่ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมเล็กตารางธาตุแนวดิ่งตารางไอโซโทป (สมบูรณ์)ตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน)ซิลิคอนประวัติของตารางธาตุปลาปลาซาร์ดีนปลาซาร์ดีนยุโรปปลาแซลมอนปัสสาวะปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยขี้นกนิกโทเจนนิเวศวิทยาน้ำเต้าหู้แมคาเดเมียแมงลักแม่น้ำแยงซีแลนทานัมแคแป้งสาลีโฟมิเวียร์เซนโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลชีวภาพโรคกระดูกอ่อนในเด็กโรคนิ่วไตโป่งไฟเตตไม้ขีดไฟไรโซเบียมไฮโดรเจนโบรไมด์ไข่แดงไดโพแทสเซียมฟอสเฟตไซโดโฟเวียร์เพกมาไทต์เกลือแร่เวเลนซ์เส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติเห็ดเผาะเฮนนิก แบรนด์เขนงนายพรานเคมีอินทรีย์เคมีอนินทรีย์เคซีนเนยแข็งICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอกICD-10 บทที่ 4: โรคของต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึมNepenthes rajahP15 ขยายดัชนี (81 มากกว่า) »

ชมจันทร์

ผลแก่ของต้นชมจันทร์ ชมจันทร์ หรือ ดอกพระจันทร์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ipomoea alba L. อยู่ในวงศ์ Convolvulaceae สกุล Ipomoea มีถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อนของทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้และแพร่กระจายอย่างกว้างขวาง สามารถพบได้ทั้งในเขตอบอุ่นและเขตร้อนของอเมริกา ประเทศออสเตรเลียและในกลุ่มประเทศเขตร้อนของทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและชมจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

บรอกโคลี

รอกโคลี หรือ กะหล่ำดอกอิตาลี (broccoli; broccoli รูปพหูพจน์ของ broccolo) จัดอยู่ในผักตระกูลกะหล่ำ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Brassica oleracea var.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและบรอกโคลี · ดูเพิ่มเติม »

ฟอสคาร์เนท

ฟอสคาร์เนท (Foscarnet) หมวดหมู่:ยา หมวดหมู่:เคมี หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและฟอสคาร์เนท · ดูเพิ่มเติม »

ฟอสเฟต

ฟอสเฟต (phosphate) คือ หินชนิดหนึ่ง แร่ที่สำคัญของฟอสเฟต คือ อะพาไทต์ เกิดจากการสะสมตัวจากฟอสเฟต ส่วนใหญ่มักจะใช้ในอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี ไฟล์:3-phosphoric-acid-3D-balls.png| ไฟล์:2-dihydrogenphosphate-3D-balls.png| ไฟล์:1-hydrogenphosphate-3D-balls.png| ไฟล์:0-phosphate-3D-balls.png|.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและฟอสเฟต · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2172

ทธศักราช 2172 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและพ.ศ. 2172 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พลังงานไอออไนเซชัน

ลังงานไอออไนเซชัน (Ionization Energy, IE) คือค่าพลังงาน ที่ใช้ในการดึงให้อิเล็กตรอนวงนอกสุด (เวเลนซ์อิเล็กตรอน) หลุดออกจากอะตอมหรือโมเลกุลที่อยู่ในสถานะก๊าซปริมาณพลังงานที่น้อยที่สุดที่สามารถทำให้อะตอมหรือโมเลกุลปลดปล่อยอิเล็กตรอน ค่าพลังงานไอออไนเซชันจะบ่งบอกว่าอะตอมหรือไอออนนั้นสามารถเสียอิเล็กตรอนได้ง่ายหรือยาก หรือในอีกมุมหนึ่งเป็นการบ่งบอกระดับพลังงานของอิเล็กตรอนวงนอกสุดของอะตอมหรือไอออนนั้นว่ามีความเสถียรมากเพียงใด โดยทั่วไปค่าพลังงานไอออไนเซชันจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อพยายามที่จะทำให้อิเล็กตรอนตัวต่อไปถูกปลดปล่อยออกมา เนื่องจากการผลักกันของประจุอิเล็กตรอนมีค่าลดลงและการกำบังของอิเล็กตรอนชั้นวงในมีค่าลดลง ซึ่งทำให้แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสและอิเล็กตรอนมีค่ามาขึ้น อย่างไรก็ตามค่าที่เพิ่มขึ้นอาจไม่เพิ่มเท่าที่ควรจะเป็นในกรณีที่เมื่อปลดปล่อยอิเล็กตรอนตัวนั้นแล้วส่งผลให้เกิดการบรรจุเต็มหรือการบรรจุครึ่งในระดับชั้นพลังงาน เนื่องจากทั้งสองกรณีมีเสถียรภาพเป็นพิเศษ กระบวนการสูญเสียอิเล็กตรอนนี้เกิดได้หลายครั้งสำหรับอะตอมหรือโมเลกุลที่มีหลายอิเล็กตรอน จึงเรียกเป็น IE1 IE2 IE3...

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและพลังงานไอออไนเซชัน · ดูเพิ่มเติม »

พลังงานไอออไนเซชันของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ลังงานไอออไนเซชัน ของธาตุเคมี (หน้าข้อมูล).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

กระสุนส่องวิถี

ปืนกลบราวนิง เอ็ม 2 ที่บรรจุกระสุนแล้ว ปลายหัวกระสุนส่องวิธีถูกทาสีแดงเพื่อแยกประเภทออกจากกระสุนธรรมดา กระสุนส่องวิถีคือกระสุนชนิดพิเศษที่ฐานใต้หัวกระสุนถูกดัดแปลงให้รองรับสารเคมีที่ก่อให้เกิดประกายไฟ สารเคมีจะลุกไหม้ทำให้เกิดแสงจ้าเมื่อกระสุนถูกยิงออกไป ทำให้ผู้ยิงรู้ถึงวิถีกระสุน ว่ากระทบกับเป้าหมายหรือไม่ เพื่อปรับการเล็งให้เที่ยงตรง โดยทั่วไปแล้วกระสุนส่องวิถีจะถูกบรรจุแทรกกับกับกระสุนทั่วไปทุกๆ สี่ถึงหกนัด เพื่อทำการส่องวิถีในการรบเวลากลางคืน แต่บางครั้งหัวหน้าชุดยิงอาจจะบรรจุกระสุนส่องวิถีทั้งซองเพื่อชี้เป้าให้สมาชิกชุดยิงคนอื่นๆ ทำการระดมยิงใส่เป้าหมาย คนที่ถูกกระสุนส่องวิถียิงใส่จะเห็นว่ากระสุนแล่นมาด้วยความเร็วต่ำจากระยะไกล แต่เมื่อกระสุนแล่นเข้ามาใกล้ขึ้น ก็ดูเหมือนว่าความเร็วของกระสุนจะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย อย่างไรก็ตาม มุมมองของผู้ถูกยิงนั้นเป็นภาพลวงต.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและกระสุนส่องวิถี · ดูเพิ่มเติม »

กรดฟอสฟอริก

กรดฟอสฟอริก (Phosphoric acid) เป็นกรดแร่ มีสูตรเคมี H3PO4 กรดฟอสฟอริกบริสุทธิ์จะอยู่ในรูปผลึกใส (มีจุดหลอมละลายที่ 42.35° C) แต่กรดฟอสฟอริกที่ความเข้มข้นและอุณหภูมิอื่น ๆ อาจพบในรูปของเหลวใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น สามารถละลายน้ำและแอลกอฮอล์ได้ กรดฟอสฟอริกถูกใช้อย่างแพร่หลาย ทั้งในการผลิตสารพวกฟอสเฟต เช่น ผงซักฟอก สบู่ ปุ๋ย รวมถึงใช้ผสมเป็นวัสดุอุดฟัน จนถึง ถูกใช้เป็นส่วนผสมของน้ำอัดลม อันตรายของกรดฟอสฟอริกหากได้รับโดยตรงในปริมาณที่มากพอทั้งจากการหายใจหรือสัมผัสทางผิวหนังก็สามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและกรดฟอสฟอริก · ดูเพิ่มเติม »

กรดไฮโดรโบรมิก

กรดไฮโดรบอมิก (hydrobromic acid) เป็นสารละลายของแก๊สไฮโดรเจนโบรไมด์ ลักษณะของแก๊สโบรมีนคือ มีสีแดงแกมน้ำตาล ทำลายเยื่อบุตาและระบบทางเดินหายใจ กรดไฮโดรบอมิกเป็นกรดที่สามารถกัดกร่อนรุนแรง มีค่า pH ประมาณ 1 ลักษณะของกรดไฮโดรโบมิก เป็นกรดที่อยู่ในจำพวก ไฮโดร (กรดที่มีองค์ประกอบ 2 อย่างคือ อโลหะและของเหลว) สมการเกิดกรดไฮโดรบอมิก คือ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและกรดไฮโดรโบรมิก · ดูเพิ่มเติม »

การหมักเชิงอุตสาหกรรม

การหมักเชิงอุตสาหกรรม (Industrial fermentation) เป็นการหมักจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรียและเห็ดรา ที่ทำโดยตั้งใจเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ที่เป็นประโยชน์ ที่สามารถใช้เป็นอาหารหรือเพื่อประโยชน์อื่น ๆ ในอุตสาหกรรม สารเคมีที่มีขายทั่วไปบางอย่าง เช่น กรดน้ำส้ม กรดซิตริก และเอทานอล ล้วนผลิตโดยวิธีการหมัก ความช้าเร็วของกระบวนการหมักขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของจุลินทรีย์ เซลล์ องค์ประกอบของเซลล์ เอนไซม์ รวมทั้งอุณหภูมิและค่ากรด และสำหรับการหมักบางชนิด ออกซิเจน กระบวนการสกัดผลิตภัณฑ์ออกมา บ่อยครั้งต้องเพิ่มความเข้มข้นของสารละลายที่เจือจางนั้น เอนไซม์ที่ผลิตขายทั้งหมด เช่น lipase, invertase, และ rennet จะทำโดยการหมักที่ใช้จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม ในบางกรณี มวลชีวภาพของจุลินทรีย์นั่นแหละเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ยีสต์ขนมอบ (Saccharomyces cerevisiae) และแบคทีเรียที่เปลี่ยนแล็กโทสเป็นกรดแล็กติกที่ใช้ในการผลิตชีส โดยทั่วไปแล้ว สามารถแบ่งการหมักได้ออกเป็น 4 จำพวก คือ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและการหมักเชิงอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)

การนำความร้อนของธาตุเคมี (หน้าข้อมูล).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและการนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

กำมะถัน

กำมะถัน(สุพรรณถัน) หรือ ซัลเฟอร์ (Sulfur หรือ Sulphur) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ S และเลขอะตอม 16 เป็นอโลหะที่มีอยู่ทั่วไป ไม่มีรสหรือกลิ่น และมีวาเลนซ์ได้มากมาย กำมะถันในรูปแบบปกติเป็นของแข็งสีเหลืองที่เป็นผลึก ในธรรมชาติ สามารถพบได้ในรูปธาตุเอง หรือแร่ซัลไฟด์และซัลเฟต เป็นธาตุจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต และพบในกรดอะมิโนหลายชนิด การใช้ในเชิงพาณิชย์ที่เป็นหลัก คือ ในปุ๋ย แต่นอกจากนี้ยังใช้ในดินปืน ไม้ขีดไฟ ยาฆ่าแมลง และยาฆ่าร.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและกำมะถัน · ดูเพิ่มเติม »

กุยช่าย

''Allium tuberosum'' กุยช่าย (韭菜; Rottl. ex Spreng) อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae วงศ์ย่อย Allioideae เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าเล็กและแตกกอ ใบแบน เรียงสลับ รูปขอบขนาน โคนเป็นกาบบางซ้อนสลับกัน ช่อดอกแบบซี่ร่ม ก้านช่อดอกกลมโดยปรกติจะยาวกว่าใบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ออกในระดับเดียวกันที่ปลายก้านช่อดอก ก้านดอกยาวเท่ากัน มีใบประดับหุ้มช่อดอก เมื่อดอกเจริญขึ้นจะแตกออกเป็นริ้วสีขาว กลีบดอก 6 กลีบ สีขาว โคนติดกัน ปลายแยก กลางกลีบดอกด้านนอกมีสันหรือเส้นสีเขียวอ่อนจากโคนกลีบไปหาปลาย เกสรเพศผู้ 6 อัน อยู่ตรงข้ามกับกลีบดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ผลกลม ภายในมี 3 ช่อง มีผนังกั้นตื้นๆ เมื่อแก่แตกตามตะเข็บ มีเมล็ดช่องละ 1-2 เมล็ด เมล็ดสีน้ำตาลแบน ขรุขระ กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกแถบภูเขาหิมาลัย อินเดีย จีน และญี่ปุ่น ในไต้หวันมีปลูก 2 พันธุ์ คือ พันธุ์สีเขียวที่ปลูกทั่วไป และพันธุ์ใบใหญ่สีขาวซึ่งเกิดจากการบังร่ม.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและกุยช่าย · ดูเพิ่มเติม »

มะเฟือง

มะเฟือง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Averrhoa carambola L.; ชื่อสามัญ: Carambola) เป็นไม้ต้นพื้นเมืองของอินโดนีเซีย อินเดีย และศรีลังกา และเป็นที่นิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทย มาเลเซีย และบางส่วนของเอเชียตะวันออก รวมทั้งมีเพาะปลูกในสาธารณรัฐโดมินิกัน บราซิล เปรู กานา Guyana ซามัว ตองกา ไต้หวัน French Polynesia คอสตาริกา และ ออสเตรเลีย ในสหรัฐอเมริกามีแหล่งเพาะปลูกเชิงพาณิชย์อยู่ที่ฟลอริดาตอนใต้และฮาว.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและมะเฟือง · ดูเพิ่มเติม »

มะเขือเทศ

มะเขือเทศ (Mill.) เป็นพืชชนิดหนึ่งที่อุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหาร มะเขือเทศขนาดปานกลางจะมีปริมาณวิตามินซีครึ่งหนึ่งของส้มโอทั้งผล มะเขือเทศผลหนึ่งจะมีวิตามินเอราว 1 ใน 3 ของวิตามินเอที่ร่างกายต้องการในหนึ่งวัน นอกจากนี้มะเขือเทศยังมีโปแตสเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียมและแร่ธาตุอื่นๆ อีกหลายชน.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและมะเขือเทศ · ดูเพิ่มเติม »

มะเดื่อ

มะเดื่อ หรือ มะเดื่อฝรั่ง หรือ มะเดื่อญี่ปุ่น เป็นไม้ยืนต้นที่แยกดอกแยกต้นเจริญได้ดีในที่สูงถึง 6 เมตร หรือ 19 ฟุต อยู่ในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบตะวันออกกลาง เป็นพืชคนละชนิดกับมะเดื่ออุทุมพรหรือมะเดื่อชุมพร (F. racemosa) ที่เป็นไม้พื้นเมืองในอินเดียและศรีลังกา มะเดื่อเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นเป็นปุ่มแตกกิ่งก้านออก ใบเดี่ยว ด้านหนึ่งหยาบ อีกด้านหนึ่งมีขนอ่อน ลำต้นมียางสีขาว ผลออกเป็นกระจุก กลมแป้นหรือรูปไข่ เปลือกบาง ผลอ่อนสีเขียว พอสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แดงหรือชมพูแล้วแต่พันธุ์ เนื้อในสีแดงเข้ม สุกแล้วมีกลิ่นหอม การปลูกเป็นการค้าเริ่มที่เอเชียตะวันตก แล้วจึงแพร่หลายสู่ซีเรีย ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและมะเดื่อ · ดูเพิ่มเติม »

มันฝรั่ง

มันฝรั่ง (Solanum tuberosum) เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก เดิมเป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริก.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและมันฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ระบบนิเวศในน้ำ

ริเวณปากน้ำและบริเวณชายฝั่งซึ่งเชื่อมต่อระหว่างน้ำจืดและน้ำเค็ม ระบบนิเวศในน้ำ (aquatic ecosystem) คือ ระบบนิเวศน้ำซึ่งจัดเป็นสังคมของสิ่งชีวิตที่อยู่ในน้ำ สังคมของสิ่งมีชีวิตจะขึ้นอยู่กับลักษณะและสภาพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้นอาศัยอยู่ ระบบนิเวศในน้ำจะแบ่งออกเป็น สองประเภทคือ ระบบนิเวศทางทะเลและระบบนิเวศน้ำจื.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและระบบนิเวศในน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

รัศมีวานเดอร์วาลส์

รัศมีวานเดอร์วาลส์ (Van der Waals radius)ของอะตอม คือ รัศมีของทรงกลมแข็งในจินตนาการที่สามารถนำมาใช้เป็นรูปจำลองของอะตอมได้หลายวัตถุประสงค์ รัศมีวานเดอร์วาลส์กำหนดโดยการวัดที่ว่างระหว่างคู่ของอะตอมที่ไม่เชื่อมติดกันของแก้วเจียระไน รัศมีวานเดอร์วาลส์เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นตามชื่อของโยฮันเนส ดิเดอริก วานเดอร์วาลส์ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์เมื่อ พ.ศ. 2453 แก๊สจริงจะไม่มีพฤติกรรมตรงตามการทำนาย ในบางกรณี การเบี่ยงเบนอาจเกิดขึ้นได้มาก ตัวอย่างเช่น แก๊สอุดมคติอาจไม่มีทางเป็นของเหลวหรือของแข็งได้เลยไม่ว่าถูกทำให้เย็นหรือถูกอัดแน่นอย่างไร ดังนั้นการปรับเปลี่ยนกฎแก๊สอุดมคติ P\tilde.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและรัศมีวานเดอร์วาลส์ · ดูเพิ่มเติม »

รัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล)

รัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและรัศมีอะตอมของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

รังนก (อาหาร)

รังนก รังนก ทำมาจากน้ำลายของนกนางแอ่น ในด้านเศรษฐกิจ รังนกแอ่นกินรังถือเป็นสินค้าที่ราคาแพงมากและหาได้ยาก สำหรับในเมืองไทยนั้น มีนกนางแอ่นสามชนิดด้วยกัน คือ นกแอ่นกินรัง นกแอ่นกินรังตะโพกขาว และนกแอ่นหางสี่เหลี่ยมหรือนกแอ่นรังดำ โดยรังของนกนางแอ่นทั้งสามชนิดนั้นสามารถใช้รับประทานได้ ซึ่ง นกแอ่นกินรัง (Edible-Nest Swiftlet) ปัจจุบันนี้จัดอยู่ในสกุล Aerodramus จึงมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Aerodramus fuciphagus เดิมใช้ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Collocalia fuciphaga โดยรังนกชนิดนี้จะถูกสร้างจากน้ำลาย ซึ่งผลิตมาจากต่อมน้ำลายของพ่อแม่นกก่อนการผสมพันธุ์และใช้เป็นที่วางไข่ อีกทั้งยังใช้เป็นที่อยู่ของลูกนกก่อนที่จะเริ่มหัดบินได้ ส่วนประกอบของรังนก ประมาณ 85-97% เป็นน้ำลาย และ 3-15% เป็นขนอ่อน รังนกแอ่นกินรัง.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและรังนก (อาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสารประกอบอินทรีย์

รายชื่อสารประกอบอินทรีย์ (List of organic compounds) โดยสังเขป.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและรายชื่อสารประกอบอินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาตุ

้านล่างนี้เป็นรายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาต.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและรายชื่อสถานะออกซิเดชันของธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อของธาตุตามหมายเลข

หมวดหมู่:เคมี.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและรายชื่อของธาตุตามหมายเลข · ดูเพิ่มเติม »

รายการธาตุเคมี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและรายการธาตุเคมี · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

รูเมน

ระบบย่อยอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง – กระเพาะรูเมนมีขนาดใหญ่สุดและติดต่อกับส่วนของเรติคิวลัม รูเมน หรือ กระเพาะผ้าขี้ริ้ว เป็นกระเพาะอาหารลำดับแรกของสัตว์เคี้ยวเอื้อง ทางเดินอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง มีลักษณะต่างจากสัตว์กินพืชอื่นๆ คือ ส่วนกระเพาะอาหารแบ่งออกเป็น 4 ส่วน บางครั้งจึงเรียกสัตว์จำพวกนี้ว่า สัตว์สี่กระเพาะ โดยเรียงตามลำดับดังนี้ รูเมน (rumen) เรติคิวลัม (reticulum) โอมาซัม (omasum) และ อะโบมาซัม (abomasum).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและรูเมน · ดูเพิ่มเติม »

ร่างกายมนุษย์

ร่างกายมนุษย์ เป็นโครงสร้างทั้งหมดของมนุษย์ ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิดที่รวมกันเป็นเนื้อเยื่อซึ่งรวมกันเป็นระบบอวัยวะ สิ่งเหล่านี้คงภาวะธำรงดุลและความอยู่รอดของร่างกายมนุษย์ ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยศีรษะ, คอ, ลำตัว (ซึ่งรวมถึงอกและท้อง), แขนและมือ, ขา และเท้า การศึกษาร่างกายมนุษย์เชื่อมโยงกับกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา มิญชวิทยา และคัพภวิทยา ร่างกายมีความแตกต่างทางกายวิภาคแบบต่าง ๆ สรีรวิทยามุ่งไปที่ระบบและอวัยวะของมนุษย์และการทำงานของอวัยวะ หลายระบบและกลไกมีปฏิกิริยาต่อกันเพื่อคงภาวะธำรงดุล โดยมีระดับที่ปลอดภัยของสารต่าง ๆ เช่น น้ำตาลและออกซิเจนในเลือ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและร่างกายมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ละมุด

ละมุด (Sapodilla) เป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบชนิดหนึ่ง ผลมีรสหวานหอมนิยมรับประทานเป็นอาหารว่างและนิยมรับประทานในประเทศไทย ผลละมุดสุกมีน้ำตาลสูง และประกอบไปด้วย วิตามินเอและซี ธาตุแคลเซียม ฟอสฟอรัส ละมุดดิบมียางสีขาวเหมือนน้ำนม มีสารที่ชื่อว่า “gutto” ละมุดมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ ชวานิลอ (ปัตตานี,มลายู ยะลา).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและละมุด · ดูเพิ่มเติม »

วัฏจักรทางชีวธรณีเคมี

วัฏจักรของไนโตรเจน วัฏจักรที่สำคัญอย่างหนึ่งของวัฏจักรทางชีวธรณีเคมี วัฏจักรชีวธรณีเคมี (Biogeochemical cycle) โดยนิยามเชิงนิเวศวิทยาคือวงจรหรือแนวกระบวนการที่เกี่ยวกับการที่ธาตุหลักทางเคมีหรือโมเลกุลเคลื่อนที่ผ่านสภาพแวดล้อมของระบบนิเวศทั้งที่มีชีวิต (ชีวภาพ) และไม่มีชีวิต (ธรณีภาพ) โดยหลักการแล้ว วัฏจักรทุกวัฏจักรย่อมซ้ำกระบวนการเสมอ แม้ว่าในบางวัฏจักร จะใช้เวลาซ้ำกระบวนการนานมาก โดยการเปลี่ยนรูปนี้จะเกิดผ่านทั้งบรรยากาศ น้ำ และบนบก รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีส่วนร่วมในวัฏจักร แต่ที่มีบทบาทมากที่สุดคือจุลินทรีย์ เพราะมีกระบวนการทางเมตาบอลิซึมที่หลากหลาย แหล่งพลังงานสำคัญของการหมุนเวียนของแร่ธาตุต่างๆคือพลังงานจากแสงอาทิตย์ และพลังงานจากสารที่อยู่ในสภาพรีดิวซ์ พลังงานเหล่านี้จะถ่ายทอดไปในระบบนิเวศและทำให้ระบบนิเวศทำงานได้ ธาตุที่มีการหมุนเวียนในวัฏจักรนี้ มีทั้งธาตุอาหารหลัก เช่น คาร์บอน ไนโตรเจน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ฟอสฟอรัส และกำมะถัน ธาตุอาหารรอง ได้แก่ แมกนีเซียม โปตัสเซียม โซเดียม และธาตุฮาโลเจน ธาตุอาหารเสริม ได้แก่ โบรอน โคบอลต์ โครเมียม ทองแดง โมลิบดินัม นิกเกิล ซีลีเนียม และสังกะสี ธาตุที่ไม่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต สามารถเข้ามาหมุนเวียนในวัฏจักรได้เช่นกัน เช่น โลหะหนักต่าง.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและวัฏจักรทางชีวธรณีเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ศึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอส

ึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอส (Holy Crystal Albatross) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวต่อสู้, แฟนตาซีและสงคราม แต่งเรื่องและวาดภาพโดย วากากิ ทามิกิ มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กหนุ่มผู้เข้าไปพัวพันกับเหล่า "โมโนไบล์" สิ่งมีชีวิตจากต่างโลกผู้เผาผลาญ "แร่ธาตุ" เป็นพลังงาน และกำลังต่อสู้กันเป็นสงครามเพื่อแย่งชิง "ไอโซโทปแห่งศิลาศักดิ์สิทธ์" คอนเซปต์ของตัวละครจะอิงไปตามธาตุต่างๆในตารางธาต.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและศึกศิลามหัศจรรย์ อัลบาทรอส · ดูเพิ่มเติม »

สัมฤทธิ์

รื่องมือโบราณบางส่วนที่ทำจากสัมฤทธิ์ สัมฤทธิ์ (bronze; โบราณเขียน "สำริด") หมายถึง โลหะประสมทองแดงชนิดหนึ่ง ที่มีคุณลักษณะแปรผันหลากหลาย ปกติมีดีบุกเป็นส่วนประกอบหลัก แต่บางครั้งก็มีธาตุอื่นๆ เช่นฟอสฟอรัส, แมงกานีส, อะลูมิเนียม หรือ ซิลิกอน สัมฤทธิ์เป็นโลหะที่แข็งแรง และเหนียว และมีการใช้งานอย่างกว้างขวางในทางอุตสาหกรรม และมีความสำคัญเป็นพิเศษในสมัยโบราณ จนนักโบราณคดีเรียกยุคหนึ่งว่า ยุคสัมฤท.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและสัมฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สารหนู

รหนู (arsenic) เป็นชื่อธาตุลำดับที่ 33 สัญลักษณ์ As ลักษณะเป็นของแข็ง มีสามอัญรูป คือ สารหนูสีเทา สารหนูสีดำ และสารหนูสีเหลือง หลายคนเข้าใจว่าสารหนูเป็นธาตุที่เป็นพิษ แต่ความจริงแล้วสารหนูบริสุทธิ์ไม่เป็นพิษแต่ประการใด มันจะเกิดพิษก็ต่อเมื่อ ไปรวมตัวกับธาตุอื่นเช่น Arsenic trioxide.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและสารหนู · ดูเพิ่มเติม »

สารอาหารสำหรับพืช

ตุอาหารสำหรับพืช หมายถึง ธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับการเติบโตของพืช ซึ่งสามารถถูกจัดได้จากเกณฑ์คือ (1) ถ้าเกิดพืชขาดสารอาหารนี้แล้ว ทำให้พืชไม่สามารถวงจรชีวิตได้ตามปกติ หรือ (2) สารนั้นเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของพืชหรือส่วนประกอบของสารตัวกลางในกระบวนการสร้างและสลาย (metabolite)Emanuel Epstein, Mineral Nutrition of Plants: Principles and Perspectives, 1972.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและสารอาหารสำหรับพืช · ดูเพิ่มเติม »

สารประกอบออร์กาโนฟอสฟอรัส

รประกอบออร์กาโนฟอสฟอรัส เป็นสารประกอบอินทรีย์ซึ่งย่อยสลายได้ตามธรรมชาติที่มีพันธะคาร์บอน–ฟอสฟอรัส ใช้ในการควบคุมศัตรูพืชและสัตว์เป็นหลัก โดยเป็นทางเลือกของสารไฮโดรคาร์บอนคลอรีน (chlorinated hydrocarbon) ที่ตกค้างอยู่ในธรรมชาติ สารประกอบเหล่านี้เป็นสารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพสูง แม้บางชนิดจะเป็นอันตรายถึงตายแก่มนุษย์ในปริมาณน้อย และมีบางสารที่เป็นสารที่เป็นพิษที่สุดเท่าที่มนุษย์เคยประดิษฐ์ขึ้น นิยามของออร์กาโนฟอสฟอรัสมีหลากหลาย ซึ่งอาจทำให้สับสนได้ ในเคมีอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม สารประกอบออร์กาโนฟอสฟอรัสต้องมีเฉพาะอะตอมแทนที่อินทรีย์ (organic substituent) แต่ไม่จำเป็นต้องมีพันธะฟอสฟอรัส-คาร์บอนโดยตรง ฉะนั้น สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์จำนวนมาก (เช่น มาลาไทออน) จึงมักรวมอยู่ในสารประกอบกลุ่มนี้ ฟอสฟอรัสสามารถมีสถานะออกซิเดชันได้หลายสถานะ และการจำแนกสารประกอบออร์กาโนฟอสฟอรัสตามปกติจำแนกเป็นอนุพันธ์ของฟอสฟอรัส(V) กับฟอสฟอรัส(III) ซึ่งเป็นกลุ่มเด่นของสารประกอบออร์กาโนฟอสฟอรัส นอกจากนี้ ยังอาจเรียกตามเลขโคออร์ดิเนชัน δ (เดลตา) และวาเลนซ์ λ (แลมดา) ซึ่งในระบบนี้ ฟอสฟีนเป็นสารประกอบ δ3λ3.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและสารประกอบออร์กาโนฟอสฟอรัส · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งมีชีวิตนอกโลก

นหุ่นยนต์รถสำรวจคิวริออซิตี้โรเวอร์) มนุษย์ต่างดาวในจินตนาการของคนส่วนใหญ่ มนุษย์ต่างดาว (alien) เป็นสิ่งที่เชื่อว่าอาจมีอยู่จริงแต่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ ลักษณะเป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่นอกโลก ซึ่งในความคิดของคนส่วนใหญ่ มักจะวาดภาพ มนุษย์ต่างดาว ลักษณะคล้ายคนแต่ ตัวเขียว หัวโต ตาโต เคยมาเยือนโลกโดยมากับ จานบิน สิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrial life) (จากคำภาษาละติน: extra และ terrestris) ถูกกำหนดให้เป็นชีวิตที่ไม่ได้เกิดจากโลก มันมักจะหมายถึง สิ่งมีชีวิตนอกโลก หรือเรียกเพียงว่า มนุษย์ต่างดาว (หรือมนุษย์ต่างดาวในอวกาศเพื่อให้แตกต่างจากคำจำกัดความอื่น ๆ ของมนุษย์ต่างภิภพหรือมนุษย์ต่างดาว) รูปแบบชีวิตเหล่านี้ตามสมมติฐานของชีวิตช่วงระยะเริ่มจากสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียขั้นพื้นฐานเหมือนสิ่งมีชีวิตที่เรียบง่ายไปไกลจนถึงขั้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเกินกว่าสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า มนุษย์ ความเป็นไปได้ว่ายังอาจจะมีไวรัส (viruses) ที่มีการดำรงชีวิตอยู่แบบสิ่งมีชีวิตนอกโลก (extraterrestrially) ได้รับการเสนอขึ้น การพัฒนาและการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับชีวิตต่างดาวที่เป็นที่รู้จักกันในนามของวิชาที่เรียกว่า "ชีววิทยานอกโลก" หรือ "ชีวดาราศาสตร์" ("exobiology" or "astrobiology") แม้ว่าวิชาชีวดาราศาสตร์จะยังคงพิจารณาถึงชีวิตที่เกิดขึ้นที่เป็นขั้นพื้นฐานบนโลกที่ใช้ในบริบททางดาราศาสตร์อยู่ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่าชีวิตนอกโลกเป็นสิ่งที่มีความเป็นไปได้ แต่ก็ยังไม่มีหลักฐานโดยตรงในการดำรงอยู่ของมัน นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ได้มีการค้นหาอย่างต่อเนื่องสำหรับสัญญาณของชีวิตนอกโลก, จากวิทยุที่ใช้ในการตรวจจับสัญญาณต่างดาวที่มีความเป็นไปได้, ไปจนถึงกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีศักยภาพเพียงพอสำหรับเป็นสถานที่เอื้ออาศัยสำหรับสภาพชีวิตที่อาจสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ นอกจากนี้มันก็ยังมีบทบาทที่สำคัญต่องานเขียนทางด้านเกี่ยวกับนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) อีกด้วย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา, ผลงานทางด้านนิยายวิทยาศาสตร์, โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของฮอลลีวู้ด, ได้ช่วยเพิ่มทวีความสนใจให้มากขึ้นของประชาชนในความเป็นไปได้เกี่ยวกับชีวิตนอกโลก บางส่วนสนับสนุนให้ใช้วิธีการเชิงรุกสำหรับในความพยายามและได้รับการติดต่อกับสิ่งมีชีวิตจากห้วงอวกาศ, ในขณะที่อีกบางส่วน ยืนยันว่ามันก็อาจจะเป็นอันตรายต่อมนุษย์เราชาวโลกเราได้สำหรับในการที่จะกระตือรือร้นเรียกร้องความสนใจจากมนุษย์ต่างดาว ในอดีตที่ผ่านมา, ความขัดแย้งกันระหว่างวัฒนธรรมที่เจริญและคนพื้นเมืองนั้นก็ยังไม่ได้เป็นไปด้วยดี.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและสิ่งมีชีวิตนอกโลก · ดูเพิ่มเติม »

สไปรูลินา (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร)

ปรูไลนาอัดเม็ด สไปรูไลนา เป็นอาหารของมนุษย์และสัตว์หรือเป็นอาหารเสริมซึ่งผลิตจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินสองชนิด คือ Arthrospira platensis และ Arthrospira maxima Arthrospira พบปลูกทั่วโลก และใช้เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในมนุษย์ เช่นเดียวกับเป็นอาหาร และพบได้ทั้งในรูปเม็ด แผ่นและผง มันยังใช้เป็นสารเสริมอาหารสัตว์ในการเลี้ยงสัตว์น้ำ พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำและอุตสาหกรรมสัตว์ปีกVonshak, A. (ed.). Spirulina platensis (Arthrospira): Physiology, Cell-biology and Biotechnology. London: Taylor & Francis, 1997.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและสไปรูลินา (ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

หอยนางรม

หอยนางรม หอยนางรมกำลังอ้าปากกินแพลงตอนใต้น้ำ หอยนางรม หรือ หอยอีรมบรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและหอยนางรม · ดูเพิ่มเติม »

อัญรูป

รและแกรไฟต์เป็นอัญรูปของคาร์บอน ซึ่งเป็นธาตุเดียวกันแต่โครงสร้างต่างกัน อัญรูป (allotropy หรือ allotropism;αλλος (allos), หรือ τροπος (tropos)) เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธาตุเคมี ในธาตุหนึ่ง ๆ สามารถมีรูปแบบสองรูปแบบหรือมากกว่า หรือที่รู้จักกันในชื่อ อัญรูป ของธาตุนั้น ๆ ในแต่ละอัญรูป อะตอมของธาตุมีพันธะเคมีเชื่อมต่อกันในรูปแบบที่ต่างกัน มีโครงสร้างต่างกันไป อัญรูปนั้นไม่ใช่ไอโซเมอร์ที่เป็น สารประกอบ ที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน แต่มีสูตรโครงสร้างต่างกัน ตัวอย่างเช่น, คาร์บอนมี 2 อัญรูป: เพชรที่คาร์บอนอะตอมเชื่อมกันในรูปหกเหลี่ยมทรงสี่หน้าและแกรไฟต์ที่คาร์บอนอะตอมเชื่อมกันในรูปแผ่นตาข่ายหกเหลี่ยม อัญรูปหมายถึงความแตกต่างทางโครงสร้างในสถานะเดียวกันเท่านั้น (คือรูปแบบของแข็ง, ของเหลว หรือ แก๊ส) - การเปลี่ยนสถานะไม่ถือเป็นอัญรูป สำหรับในบางธาตุอัญรูปมีสูตรโมเลกุลต่างกันนั้น สามารถคงอัญรูปได้เมื่อเปลี่ยนสถานะ เช่น อัญรูป 2 อัญรูปของออกซิเจน (ไดออกซิเจน, O2 และโอโซน, O3), ทั้งคู่มีสูตรโมเลกุลเหมือนเดิมทั้งในสภาวะของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ตรงกันข้าม ในบางธาตุไม่สามารถคงอัญรูปได้เมื่อเปลี่ยนสถานะ เช่น ฟอสฟอรัสมีอัญรูปมากมายในสถานะของแข็ง แต่จะกลายเป็นรูปแบบ P4 เหมือนกันทั้งหมดเมื่อละลายกลายเป็นของเหลว และยังมีอัญรูปที่สำคัญคือ อัญรูปของกำมะถันซึ่งมีสูตรโมเลกุลเป็นS8 แบ่งออกเป็น กำมะถันรอมบิก และกำมะถันมอนอคลินิก.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและอัญรูป · ดูเพิ่มเติม »

อัคคีภัย

ฟป่า อัคคีภัย หมายถึง ภัยอันตรายอันเกิดจากไฟที่ขาดการควบคุมดูแล ทำให้เกิดการติดต่อลุกลามไปตามบริเวณที่มีเชื้อเพลิงเกิดการลุกไหม้ต่อเนื่อง สภาวะของไฟจะรุนแรงมากขึ้นถ้าการลุกไหม้ที่มีเชื้อเพลิงหนุนเนื่อง หรือมีไอของเชื้อเพลิงถูกขับออกมามากความร้อนแรงก็จะมากยิ่งขึ้น สร้างความสูญเสียให้ทรัพย์สินและชีวิต.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและอัคคีภัย · ดูเพิ่มเติม »

อันดับย่อยสัตว์เคี้ยวเอื้อง

ัตว์เคี้ยวเอื้อง (ruminant) เป็นอันดับย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับสัตว์กีบคู่ (Artiodactyla) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ruminantia สัตว์เคี้ยวเอื้องประกอบไปด้วยสัตว์ส่วนใหญ่ในอันดับนี้ ได้แก่ วัว, ควาย, แพะ, แกะ, กวาง และแอนทิโลป ลักษณะร่วมของสัตว์เคี้ยวเอื้อง ก็คือ มี กระเพาะ 4 ห้อง ที่เมื่อกินอาหารไปแล้ว คือ หญ้า คายออกมาเคี้ยวอย่างช้า ๆ อีกครั้งในเวลากลางคืน ก่อนจะถูกนำไปใช้เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย โดยกระเพาะของสัตว์เคี้ยวเอื้องจะแบ่งออกเป็น 4 ห้อง คือ Rumen (ผ้าขี้ริ้ว), Reticulum (รังผึ้ง), Omasum (สามสิบกลีบ) และ Abomasum (กระเพาะแท้ หรือกระเพาะจริง).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและอันดับย่อยสัตว์เคี้ยวเอื้อง · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (ความยาว)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและอันดับของขนาด (ความยาว) · ดูเพิ่มเติม »

อาหารแมว

แมวกำลังกินอาหารแมวชนิดเม็ด อาหารแมว คืออาหารที่ผลิตหรือปรุงแต่งขึ้นให้แมวกิน แมวมีความต้องการสารอาหารเฉพาะทาง ในกระบวนการผลิตนั้น สารอาหารบางอย่าง เช่น วิตามินหลายชนิด และกรดอะมิโน ลดคุณภาพได้จากอุณหภูมิ ความดัน และการปรุงแต่งด้วยสารเคมี ดังนั้นสารอาหารนี้จึงถูกเพิ่มหลังผลิตเสร็จเพื่อไม่ให้แมวขาดสารอาหาร | Perry T. What's really for dinner? The truth about commercial pet food.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและอาหารแมว · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กโตรเนกาทิวิตี

อิเล็กโตรเนกาติวิตี (อังกฤษ: Electronegativity,::\chi) เป็นค่าที่แสดงถึงความสามารถของอะตอมในการที่จะดึงอิเล็กตรอนเข้าหาตัวเองเมื่อเกิดพันธะเคมี (chemical bond) ทั้งนี้ มีการเสนอวิธีการแสดงอิเล็กโตรเนกาทิวิตีหลายวิธี อาทิ เพาลิง สเกล (Pauling scale) ถูกเสนอในปี ค.ศ. 1932 มูลลิเกน สเกล (Mulliken scale) ถูกเสนอในปี ค.ศ. 1934 และ ออลล์เรด-โรโชสเกล (Allred-Rochow scale).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและอิเล็กโตรเนกาทิวิตี · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุ (หน้าข้อมูล)

อิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุเคมี (หน้าข้อมูล).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและอิเล็กโตรเนกาทิวิตีของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

อโลหะ

แก๊สมีตระกูลนอกเหนือจากไฮโดรเจน อโลหะอยู่ในบล็อก-p ธาตุฮีเลียมแม้เป็นธาตุบล็อก-s แต่ปกติวางอยู่เหนือนีออน (ในบล็อก-p) เนื่องจากคุณสมบัติแก๊สมีตระกูลของมัน ในวิชาเคมี อโลหะเป็นธาตุเคมีซึ่งส่วนมากขาดคุณสมบัติของโลหะ ทางกายภาพ อโลหะมักกลายเป็นไอ (ระเหย) ง่าย มีความยืดหยุ่นต่ำ และเป็นฉนวนความร้อนและไฟฟ้าที่ดี ในทางเคมี ธาตุเหลานี้มักมีพลังงานไอออไนเซชันและค่าอิเล็กโตรเนกาทิวิตี (electronegativity) สูง และให้หรือได้อิเล็กตรอนเมื่อทำปฏิกิริยากับธาตุหรือสารประกอบอื่น มีสิบเจ็ดธาตุที่จัดเป็นอโลหะโดยทั่วไป ส่วนมากเป็นแก๊ส (ไฮโดรเจน ฮีเลียม ไนโตรเจน ออกซิเจน ฟลูออรีน นีออน คลอรีน อาร์กอน คริปทอน ซีนอนและเรดอน) หนึ่งธาตุเป็นของเหลว (โบรมีน) และส่วนน้อยเป็นของแข็ง (คาร์บอน ฟอสฟอรัส กำมะถัน เซเลเนียมและไอโอดีน) ธาตุอโลหะมีโครงสร้างซึ่งมีเลขโคออร์ดิเนชัน (อะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด) น้อยลงเรื่อย ๆ เมื่อเลื่อนไปทางขวามือของตารางธาตุแบบมาตรฐาน อโลหะหลายอะตอมมีโครงสร้างที่มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดสามอะตอม เช่นในกรณีของคาร์บอน (ในสถานะมาตรฐานกราฟีน) หรือสองอะตอม เช่นในกรณีของกำมะถัน อโลหะสองอะตอม เช่น ไฮโดรเจน มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดหนึ่งอะตอม และแก๊สมีตระกูลอะตอมเดียว เช่น ฮีเลียม ไม่มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด ยิ่งมีจำนวนอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดน้อยลงเท่าใดยิ่งสัมพันธ์กับการลดลงของความเป็นโลหะและเพิ่มความเป็นอโลหะมากขึ้นเท่านั้น แต่ข้อแตกต่างระหว่างอโลหะสามหมวดในแง่ของความเป็นโลหะที่ลดนั้นไม่สัมบูรณ์ มีขอบเขตทับซ้อนกันเมื่อธาตุรอบนอกในแต่ละหมวดแสดง (หรือเริ่มแสดง) คุณสมบัติที่ต่างกันน้อย คล้ายลูกผสมหรือไม่ตรงแบบ แม้ว่าธาตุโลหะมีมากกว่าอโลหะห้าเท่า แต่ธาตุอโลหะสองธาตุ ไฮโดรเจนและฮีเลียม ประกอบเป็นร้อยละ 99 ของเอกภพที่สังเกตได้ และหนึ่งธาตุ ออกซิเจน ประกอบเป็นเกือบครึ่งหนึ่งของเปลือกโลก มหาสมุทรและบรรยากาศของโลก สิ่งมีชีวิตยังประกอบด้วยอโลหะแทบทั้งหมด และธาตุอโลหะก่อสารประกอบมากกว่าโลหะมาก.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและอโลหะ · ดูเพิ่มเติม »

อ็องตวน ลาวัวซีเย

อ็องตวน-โลร็อง เดอ ลาวัวซีเย (Antoine-Laurent de Lavoisier; 26 สิงหาคม พ.ศ. 2286 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2337) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสผู้ซึ่งต้องจบชีวิตลงโดยกิโยติน เขามีผลงานสำคัญคือ ได้ตั้งกฎการอนุรักษ์มวล (หรือกฎทรงมวล) และการล้มล้างทฤษฎีโฟลจิสตัน ซึ่งเป็นประโยชน์มากในการศึกษาวิชาเคมี.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและอ็องตวน ลาวัวซีเย · ดูเพิ่มเติม »

ผักจินดา

ผักจินดา หรือ ผักเชียงดา เป็นไม้เถาเลื้อยพบได้ในประเทศแถบทวีปเอเซีย เช่น อินเดีย พม่า ในประเทศไทยนิยมนำมารับประทานเป็นผักหรือใช้ปรุงอาหาร มีสรรพคุณช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดสำหรับผู้เป็นเบาหวานทั้งสองชนิดได้ข้อมูลของ ผักเชียงดา “เชียงดา” ผักฆ่าน้ำตาล ช่วยรักษา “เบาหวาน” ผักเชียงดาผักสมุนไพรพื้นบ้านรักษาโรคเบาหวาน.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและผักจินดา · ดูเพิ่มเติม »

จิตพยาธิวิทยาสัตว์

ตพยาธิวิทยาสัตว์ (Animal psychopathology) เป็นการศึกษาโรคจิตและพฤติกรรมในสัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์ โดยประวัติแล้ว ศาสตร์มักจะเอามนุษย์เป็นศูนย์ (มานุษยประมาณนิยม) เมื่อศึกษาจิตพยาธิวิทยาในสัตว์เพื่อใช้เป็นแบบจำลองสำหรับโรคจิตในมนุษย์ แต่จากมุมมองทางวิวัฒนาการ จิตพยาธิของสัตว์จะพิจารณาได้อย่างเหมาะสมกว่าว่า เป็นพฤติกรรมที่ไม่ปรับตัว (non-adaptive) เพราะความพิการทางความรู้คิด ความพิการทางอารมณ์ หรือความทุกข์บางอย่าง บทความนี้แสดงจิตพยาธิสัตว์จำนวนหนึ่งแต่ไม่สมบูรณ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและจิตพยาธิวิทยาสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหลอมเหลวของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและจุดหลอมเหลวของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

จุดเดือดของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและจุดเดือดของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

จีเอฟเอเจ-1

ีเอฟเอเจ-1 (GFAJ ย่อมาจาก "Give Felisa a Job") เป็นสายพันธุ์ของแบคทีเรียทรงแท่งในวงศ์ Halomonadaceae แบคทีเรียเอ็กซ์ทรีมโมไฟล์ชนิดนี้อาศัยแยกตัวออกจากทะเลสาบมอนอ อันเป็นทะเลสาบน้ำเค็มจัดและมีสภาพด่าง ทางตะวันออกของรัฐแคลิฟอร์เนีย นักวิทยาศาสตร์โดยทีมวิจัย นำโดยนักชีววิทยาดาราศาสตร์ของนาซา เฟลิซา วอล์ฟ-ไซมอน ในวารสารไซแอนซ์ในปี..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและจีเอฟเอเจ-1 · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุ

ในทางเคมี ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ ปรอทและตะกั่ว จนถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุกึ่งโลหะ

ตุกึ่งโลหะ (metalloids) เป็นธาตุที่มีองค์ประกอบทางเคมีซึ่งมีคุณสมบัติก้ำกึ่งระหว่างสมบัติของโลหะกับอโลหะ โดยไม่มีการกำหนดมาตรฐานหรือข้อตกลงที่แน่นอนของการเป็นธาตุกึ่งโลหะ ส่วนใหญ่เป็นสารกึ่งตัวนำ (semiconductors) โดยปกติทั่วไปแล้วธาตุกึ่งโลหะ ประกอบด้วย 6 ธาตุ คือ โบรอน, ซิลิคอน, เจอร์เมเนียม, สารหนู, พลวงและเทลลูเรียม แต่บางครั้งการจำแนกธาตุกึ่งโลหะได้รวม คาร์บอน, อะลูมิเนียม, ซีลีเนียม, พอโลเนียมและแอสทาทีนไว้ด้วย ในตารางธาตุทั่วไปนั้นสามารถพบธาตุกึ่งโลหะได้ที่บริเวณเส้นทแยงมุมของ บล็อก-p โดยเริ่มจากโบรอนไปจนถึงแอสทาทีน ในบางตารางธาตุที่ประกอบด้วยเส้นแบ่งระหว่างโลหะกับอโลหะและธาตุกึ่งโลหะนั้นจะอยู่ติดกับเส้นแบ่งนี้ ธาตุกึ่งโลหะมีลักษณะเหมือนโลหะ แต่เปราะและนำไฟฟ้าได้ไม่ดี ในทางเคมีนั้นธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติคล้ายกับธาตุอโลหะ และยังสามารถผสมกับโลหะได้เป็นอัลลอยหรือโลหะผสม คุณสมบัติทางฟิสิกส์และทางเคมีส่วนใหญ่เป็นกลางในธรรมชาติ สารประกอบและธาตุกึ่งโลหะใช้ในการผลิตโลหะผสม, สารชีวภาพ, ตัวเร่งปฏิกิริยา, สารทนไฟ, แก้วและใยแก้วนำแสง คุณสมบัติทางไฟฟ้าของซิลิกอนและเจอเมเนียมได้มีการใช้ประโยชน์ในสถานประกอบการอุตสาหกรรมของสารกึ่งตัวนำในปี 1950 และได้มีการพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็งในต้นปี 1960 กึ่งโลหะเป็นองค์ประกอบที่มีคุณสมบัติเป็นกลาง หรือเรียกว่าไฮบริด กึ่งโลหะได้เป็นที่แพร่หลายในปี 1940-1960 กึ่งโลหะบางครั้งถูกเรียกว่ากึ่งโลหะ จากการปฏิบัติที่นิยม กึ่งโลหะเป็นคำที่มีความหมายที่แตกต่างกันในทางฟิสิกส์มากกว่าในทางเคมี ทางฟิสิกส์จะมีความหมายโดยเฉพาะหมายถึงโครงสร้างวงอิเล็กทรอนิกส์ของสาร.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและธาตุกึ่งโลหะ · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุคาบ 3

ธาตุคาบ 3 (period 3 element) คือทั้งหมดที่อยู่ในแถวที่ 3 ของตารางธาตุ มีรายละเอียดดังนี้: ธาตุเคมีในคาบที่ 3 หมู่ '''1''' '''2''' '''3''' '''4''' '''5''' '''6''' '''7''' '''8''' '''9''' '''10''' '''11''' '''12''' '''13''' '''14''' '''15''' '''16''' '''17''' '''18''' #ชื่อธาตุ 11Na 12Mg 13Al 14Si 15P 16S 17Cl 18Ar e--conf. โลหะแอลคาไล โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท แลนทาไนด์ แอกทิไนด์ โลหะทรานซิชัน โลหะหลังทรานซิชัน ธาตุกึ่งโลหะ อโลหะ แฮโลเจน ก๊าซมีตระกูล หมวดหมู่:ตารางธาตุ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและธาตุคาบ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วพู

ั่วพู เป็นพืชล้มลุก ดอกสีขาวอมม่วง ผลเป็นฝักแบนยาวมี 4 ปีก ความยาวของฝักประมาณ 3-4 นิ้ว ภายในมีเมล็ดกลมเรียบ นิยมนำถั่วพูมาประกอบอาหารประเภทยำหรือกินสด ถั่วพูเป็นผักที่เสียเร็ว เหี่ยวง่ายและเกิดสีน้ำตาลเร็ว เก็บได้ไม่นาน คุณค่าทางอาหาร ถั่วพูมีคาร์โบไฮเดรต เส้นใย โปรตีน ไขมัน แคลเซียม เหล็ก ฟอสฟอรัส วิตามินเอ ซี อี บี1 บี2 ไนอะซิน สรรพคุณทางยาบำรุงกำลัง แก้อ่อนเพลีย บรรเทาอาการปวดเมื่อย แก้ตัวร้อน ลดไข้ ในอาหารไทยนำฝักอ่อนมาลวก กินกับน้ำพริก ยำ หั่นใส่ในแกงส้ม แกงป่าหรือกินกับขนมจีน หั่นผสมในทอดมัน ยอดอ่อนและดอกใช้จิ้มน้ำพริก ใบอ่อนทำสลัดหรือใส่ในแกงจืด เมล็ดแก่คั่วให้สุกรับประทานได้ หัวแก่ใช้เชื่อมเป็นของหวานหรือเผารับประทานเช่นเดียวกับมันเทศหรือมันสำปะหลัง ในพม่า นำหัวถั่วพูไปต้มจิ้มน้ำจิ้ม กินเป็นอาหารว่าง ใบอ่อนกินเป็นสลัด ในปาปัวนิวกินีนำหัวถั่วพูไปห่อใบตองหรือใบไผ่แล้วย่างรับประทาน ในอินโดนีเซียนำเมล็ดถั่วพูไปทำเทมเป้เช่นเดียวกับถั่วเหลือง หัวถั่วพูนำมาสับ ตากแห้งคั่วให้เหลือง ชงน้ำดื่มต่างน้ำ เป็นยาบำรุงกำลัง ในทางสิ่งแวดล้อม ถั่วพูสามารถส่งเสริมการย่อยสลายแอนทราซีนและฟลูออรีนในไรโซสเฟียร์ได้ดี.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและถั่วพู · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วฝักยาว

มล็ดถั่วฝักยาว ถั่วฝักยาว (subsp. sesquipedalis) เป็นถั่วชนิดหนึ่งที่เป็นไม้เลื้อย มีชื่อสามัญในภาษาต่างๆที่หลากหลาย เช่น สิบสองปันนาเรียก ถั่วลิ้นนาค ภาษาอังกฤษเรียกว่า yardlong bean (ตรงตัว:ถั่วยาวหนึ่งหลา) ภาษาจีนกวางตุ้งเรียกว่า dau gok ภาษาจีนกลางเรียก jiang dou (豇豆) ภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายูเรียก kacang panjang ภาษาตากาล็อกเรียก 'SITAO' or 'SITAW' ภาษาอีโลกาโนเรียก utong ในหมู่เกาะเวสต์อินดีสเรียกว่า bora หรือ bodi ภาษาเบงกาลีเรียกว่า vali, Borboti ในรัฐกัว อินเดีย เรียก eeril ภาษาเวียดนามเรียก đậu đũa และภาษาญี่ปุ่นเรียก ju-roku sasage (十六ササゲ) อย่างไรก็ตาม ฝักของถั่วชนิดนี้ยาวเพียงครึ่งหลา ชื่อของสับสปีชีส์ sesquipedalis (หมายถึงยาวฟุตครึ่ง)ใกล้เคียงกับความยาวจริงๆของฝักถั่วมากกว.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและถั่วฝักยาว · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วผี

ั่วผี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Macroptilium lathyroides (L.) Urb.) เป็นไม้ล้มลุกและ เป็นพืชฤดูเดียว (annual) เมล็ดแก่ร่วงแล้วงอกเป็นต้นใหม่ในฤดูฝนต่อไป ทรงต้นเป็นกอพุ่มตั้งปลายยอดทอดอ่อนเล็กน้อย ตามลำต้นมีขน ลำต้นกลม ใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ ใบย่อยรูปไข่แกมรูปหอก ดอกช่อแบบติดดอกสลับ ก้านดอกสั้น ดอกแดงปนม่วง ฝักรูปทรงกระบอก ภายในมีเมล็ด 18-30 เมล็ด แตกได้ เมล็ดรูปขอบขนาน หรือสี่เหลี่ยม.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและถั่วผี · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วเขียว

ั่วเขียว เป็นพืชตระกูลถั่ว ที่ให้เมล็ดที่มีเปลือกสีเขียว แต่เนื้อเมล็ดสีเหลือง ถั่วเขียวเป็นพืชที่มีอายุสั้น หรือวงจรชีวิตของถั่วเขียวมันสั้น จึงใช้น้ำน้อยกว่าพืชไร่อื่นหลายชนิด และงอกได้เร็ว สามารถใช้ในระบบปลูกพืช เช่น ทดแทนข้าวนาปรัง ปลูกก่อนข้าวโพดในพื้นที่ประสพภัยแล้ง ใช้ปลูกก่อนหรือหลังการทำนาหรือทำไร่ เพื่อตัดวงจรการระบาดของศัตรูพืช ช่วย บำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ตรึงไนโตรเจนได้ดี สามารถใช้เป็นปุ๋ยพืชสดให้ปริมาณไนโตรเจนสูง ถั่วเขียวใช้เป็นวัตถุดิบ ในการผลิตแป้งวุ้นเส้น เพาะถั่วงอก และประกอบอาหารอื่นๆ ถั่วเขียวมีสองชนิด ได้แก่ ถั่วเขียวผิวมัน และถั่วเขียวผิวดำ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและถั่วเขียว · ดูเพิ่มเติม »

ข้อความอาเรซีโบ

้อความอาเรซีโบจัดเรียงเป็น 73 แถว คูณ 23 คอลัมน์ มีการเน้นสี แสดงให้เห็นข้อความแต่ละส่วน ข้อความอาเรซีโบ (Arecibo message) เป็นข้อความคลื่นวิทยุที่ส่งไปในอวกาศ เล็งไปที่กระจุกดาวดาวเอ็ม 13 ซึ่งอยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทาง 25,000 ปีแสง เนื่องในพิธีฉลองการปรับปรุงหอดูดาวอาเรซีโบเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 สัญญาณวิทยุที่ส่งขึ้นไปนี้ มีความยาว 1,679 บิต (เลขฐานสองจำนวน 1,679 ตัว) เป็นเวลา 169 วินาที ข้อความที่ส่งขึ้นไปมีความยาว 1,679 บิต เนื่องจากเป็นตัวเลข semiprime สามารถแยกตัวประกอบได้เป็นจำนวนเฉพาะสองจำนวนคือ 23 กับ 73 ซึ่งสามารถจัดเรียงเป็นภาพได้เพียงสองแบบคือ ขนาด 23 แถว คูณ 73 คอลัมน์ หรือ 73 แถว คูณ 23 คอลัมน์ (ดังรูป) ข้อความอาเรซีโบออกแบบโดย ดร. แฟรงก์ เดรก แห่งมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ ร่วมกับคาร์ล เซแกน สามารถแบ่งได้เป็น 7 ส่วน (ในภาพมีการเพิ่มสีเพื่อให้แยกแยะได้สะดวก) คือ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและข้อความอาเรซีโบ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวฟ่างสามง่าม

ทุ่งปลูกข้าวฟ่างสามง่ามในเนปาล ข้าวฟ่างสามง่าม เป็นพืชในวงศ์หญ้า เป็นหญ้ากอขนาดใหญ่ ลำต้นตั้งตรงแบบข้าว ผิวลำต้นเกลี้ยง เขียวอ่อนเป็นมัน มีใบมาก กาบใบแบน ผิวเกลี้ยง มีขนเล็กน้อยตามขอบใบ ลิ้นใบสั้นเป็นชายครุย ใบมักโค้งลง มีขนสาก ดอกช่อเป็นกระจุกที่ปลาย ผลแบบกระเปาะ มีหลายสี ข้าวฟ่างสามง่ามเป็นพืชที่มีความหลากหลายและแบ่งเป็นพันธุ์จำนวนมาก พืชชนิดนี้สามารถผสมข้ามพันธุ์กับ Eleusine africana ได้และมีลักษณะทางพันธุกรรมใกล้เคียงกัน ลูกผสมที่ได้ไม่เป็นหมัน จึงรวมเป็นสปีชีส์เดียวกัน และแบ่งเป็นสปีชีส์ย่อยคือ subsp.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและข้าวฟ่างสามง่าม · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1620

..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและคริสต์ทศวรรษ 1620 · ดูเพิ่มเติม »

คลองแม่ข่า

ลองแม่ข่า, น้ำแม่ข่า หรือ แม่น้ำข่า เป็นคลองโบราณสายหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นหนึ่งในชัยภูมิที่พญามังรายทรงเลือกที่จะสร้างเมืองเชียงใหม่เมื่อกว่า 700 ปีที่แล้ว เดิมคลองแม่ข่าทำหน้าที่เป็นคูเมืองชั้นนอกที่โอบล้อมเมือง และเป็นทางระบายน้ำล้นลงสู่แม่น้ำปิง แต่จากการขยายตัวของชุมชนเมืองเมื่อสามทศวรรษที่ผ่านมาทำให้น้ำในคลองเน่าเสียหนัก ซึ่งได้มีความพยายามที่จะพัฒนาคลองนี้ให้กลับมามีสภาพปรกติดังเดิมแต่ยังไม่ประสบผลสำเร็.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและคลองแม่ข่า · ดูเพิ่มเติม »

ความร้อนที่ทำให้หลอมรวมกันของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและความร้อนที่ทำให้หลอมรวมกันของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

ความร้อนที่ทำให้เกิดการระเหยของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและความร้อนที่ทำให้เกิดการระเหยของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ

วามร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารที่บอกปริมาณพลังงานที่ต้องใช้หรือคายออกมาในการเปลี่ยนสถานะระหว่างของเหลวกับแก๊ส เมื่อมีอุณหภูมิเท่ากับจุดเดือดของสารนั้น ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอมีหน่วยดังนี้.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ · ดูเพิ่มเติม »

ความหนาแน่นของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและความหนาแน่นของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

ความดันไอของธาตุ (หน้าข้อมูล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและความดันไอของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

ความต้านทานไฟฟ้าของธาตุ (หน้าข้อมูล)

As quoted at http://www.webelements.com/ from these sources.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและความต้านทานไฟฟ้าของธาตุ (หน้าข้อมูล) · ดูเพิ่มเติม »

คาบ (ตารางธาตุ)

350px ในตารางธาตุนั้น ธาตุต่างๆ จะถูกจัดเรียงให้อยู่ในรูปแบบเชิงตารางอันประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ เราเรียกแถวหนึ่งๆ ในตารางธาตุเรียกว่าคาบ (period) และเรียกคอลัมน์หนึ่งๆ ในตารางธาตุว่าหมู่ (group) การจัดเรียงธาตุในเชิงตารางนี้ทำให้ธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีใกล้เคียงกันถูกจัดไว้ในหมู่เดียวกัน ธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันจะมีจำนวนชั้นของอิเล็กตรอน (electron shell) เท่ากัน โดยจำนวนของอิเล็กตรอนและโปรตอนของธาตุในคาบเดียวกันนี้จะเพิ่มขึ้นทีละหนึ่ง พร้อมทั้งความเป็นโลหะที่ลดลงจากธาตุหมู่ทางด้านซ้ายมือไปยังขวามือของตารางธาตุ ในขณะที่อิเล็กตรอนจะถูกจัดเรียงในชั้นใหม่เมื่อชั้นเดิมถูกจัดเรียงจนเต็ม หรือก็คือเริ่มคาบใหม่ในตารางธาตุ การจัดเรียงเช่นนี้ทำให้เกิดการวนซ้ำของธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีที่ใกล้เคียงกันเมื่อเพิ่มเลขอะตอม ยกตัวอย่างเช่น โลหะอัลคาไลน์ ถูกจัดเรียงอยู่ในหมู่ 1 และมีคุณสมบัติทางเคมีที่คล้ายกัน เช่น ความไวต่อปฏิกิริยาเคมี หรือ มีแนวโน้มในการสูญเสียอิเล็กตรอน 1 ตัวเมื่อทำปฏิกิริยากับธาตุอื่นเพื่อที่จะจัดเรียงอิเล็กตรอนให้มีลักษณะเหมือนการจัดเรียงอิเล็กตรอนของแก๊สเฉื่อย ปัจจุบันตารางธาตุจัดเรียงธาตุไว้ทั้งสิ้น 118 ธาตุ กลศาสตร์ควอนตัมสมัยใหม่อธิบายการวนซ้ำของคุณสมบัติเคมีของธาตุเหล่านี้โดยใช้ชั้นของอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนจะถูกเติมในชั้นอิเล็กตรอนตามลำดับที่แสดงในแผนภาพด้านขวาตามเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้น การเพิ่มอิเล็กตรอนภายในชั้นเทียบได้กับคาบในตารางธาตุ ใน s-block และ p-block ของตารางธาตุ ธาตุในคาบเดียวกันไม่แสดงแนวโน้มหรือความคล้ายคลึงในคุณสมบัติเคมี (แนวโน้มของธาตุภายในหมู่เดียวกันชัดเจนกว่า) อย่างไรก็ดี ใน d-block แนวโน้มคุณสมบัติของธาตุภายในคาบเดียวกันเพิ่มความเด่นชัดมากขึ้น และยิ่งเห็นชัดเจนในกลุ่มธาตุใน f-block (โดยเฉพาะกลุ่มของแลนทาไนด์).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและคาบ (ตารางธาตุ) · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ

ร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ (Carl Wilhelm Scheele; 9 ธันวาคม ค.ศ. 1742 – 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1786) เป็นนักเคมีและเภสัชกรชาวเยอรมัน-สวีเดน ผู้ได้รับฉายา "เชเลอผู้อาภัพ" จากนักเขียน ไอแซค อสิมอฟ จากการค้นพบทางเคมีหลายอย่างแต่ไม่ได้รับการยกย่องในช่วงชีวิตของเขา เชเลอเป็นผู้ค้นพบธาตุออกซิเจน, คลอรีน, ทังสเตนและสารประกอบอินทรีย์อื่น ๆ เช่น กรดยูริก, กรดแล็กติก, กรดออกซาลิก คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและคาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุ (บล็อก)

'''หมู่''' '''1''' '''2''' '''3''' '''4''' '''5''' '''6''' '''7''' '''8''' '''9''' '''10''' '''11''' '''12''' '''13''' '''14''' '''15''' '''16''' '''17''' '''18''' '''คาบ''' '''1''' 1H 2He '''2''' 3Li 4Be 5B 6C 7N 8O 9F 10Ne '''3''' 11Na 12Mg 13Al 14Si 15P 16S 17Cl 18Ar '''4''' 19K 20Ca 21Sc 22Ti 23V 24Cr 25Mn 26Fe 27Co 28Ni 29Cu 30Zn 31Ga 32Ge 33As 34Se 35Br 36Kr '''5''' 37Rb 38Sr 39Y 40Zr 41Nb 42Mo 43Tc 44Ru 45Rh 46Pd 47Ag 48Cd 49In 50Sn 51Sb 52Te 53I 54Xe '''6''' 55Cs 56Ba * 72Hf 73Ta 74W 75Re 76Os 77Ir 78Pt 79Au 80Hg 81Tl 82Pb 83Bi 84Po 85At 86Rn '''7''' 87 Fr 88Ra ** 104Rf 105Db 106Sg 107Bh 108Hs 109Mt 110Ds 111Rg 112Cn 113Nh 114Fl 115Mc 116Lv 117Ts 118Og * แลนทาไนด์s 57La 58Ce 59Pr 60Nd 61Pm 62Sm 63Eu 64Gd 65Tb 66Dy 67Ho 68Er 69Tm 70Yb 71Lu ** แอกทิไนด์ 89Ac 90Th 91Pa 92U 93Np 94Pu 95Am 96Cm 97Bk 98Cf 99Es 100Fm 101Md 102No 103Lr บล็อก บล็อก-dบล็อก-fบล็อก-pบล็อก-s ความหมายสีของเลขอะตอม.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและตารางธาตุ (บล็อก) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุ (กว้าง)

ตารางธาตุเคมีแบบกว้าง '''หมู่''' → '''1''' '''2''' '''3''' '''4''' '''5''' '''6''' '''7''' '''8''' '''9''' '''10''' '''11''' '''12''' '''13''' '''14''' '''15''' '''16''' '''17''' '''18''' I II III IV V VI VII VIII '''คาบ''' ↓ '''1''' 1H 2He '''2''' 3Li 4Be 5B 6C 7N 8O 9F 10Ne '''3''' 11 Na 12 Mg 13Al 14Si 15P 16S 17Cl 18Ar '''4''' 19K 20Ca 21Sc 22Ti 23V 24Cr 25Mn 26Fe 27Co 28Ni 29Cu 30Zn 31Ga 32Ge 33As 34Se 35Br 36Kr '''5''' 37Rb 38Sr 39Y 40Zr 41Nb 42Mo 43Tc 44Ru 45Rh 46Pd 47Ag 48Cd 49In 50Sn 51Sb 52Te 53I 54Xe '''6''' 55Cs 56Ba 57La 58Ce 59Pr 60Nd 61Pm 62Sm 63Eu 64Gd 65Tb 66Dy 67Ho 68Er 69Tm 70Yb 71 Lu 72Hf 73Ta 74W 75Re 76Os 77Ir 78Pt 79Au 80Hg 81Tl 82Pb 83Bi 84Po 85At 86Rn '''7''' 87 Fr 88Ra 89Ac 90Th 91Pa 92U 93Np 94Pu 95Am 96Cm 97Bk 98Cf 99Es 100Fm 101Md 102No 103Lr 104Rf 105Db 106Sg 107Bh 108Hs 109Mt 110Ds 111Rg 112Cn 113Nh 114Fl 115Mc 116Lv 117Ts 118Og อนุกรมเคมีตารางธาตุ ความหมายสีของเลขอะตอม.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและตารางธาตุ (กว้าง) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุ (การจัดเรียงอิเล็กตรอน)

หมวดหมู่:ตารางธาตุ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและตารางธาตุ (การจัดเรียงอิเล็กตรอน) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุ (มาตรฐาน)

รูปแบบตารางธาตุแบบมาตรฐานที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์และเลขอะตอมของธาตุแต่ละชน.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและตารางธาตุ (มาตรฐาน) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุ (โลหะ และ อโลหะ)

วามหมายสีของเลขอะตอม.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและตารางธาตุ (โลหะ และ อโลหะ) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมใหญ่

หมวดหมู่:ตารางธาตุ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมเล็ก

ที่ควรรู้ นิโฮเนียม113 Nh เทนเนสซีน117 Ts *** *** น้ำหนักอะตอมโดยการประมาณเท่านั้น อนุกรมเคมีตารางธาตุ หมวดหมู่:ตารางธาตุ en:Periodic table (detailed).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ตารางธาตุแนวดิ่ง

ตารางธาตุแนวดิ่ง ความหมายสีของเลขอะตอม.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและตารางธาตุแนวดิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ตารางไอโซโทป (สมบูรณ์)

ตารางไอโซโทป นี้แสดงไอโซโทปทั้งหมดของธาตุเคมีที่เป็นที่รู้จักกัน ถูกจัดโดยเลขอะตอมเพิ่มจากซ้ายไปขวา และเลขนิวตรอนเพิ่มจากบนลงล่าง ค่าครึ่งชีวิตแสดงให้เห็นด้วยสีของเซลล์ไอโซโทปแต่ละเซลล์ (ตารางสีด้านขวา) ขอบที่มีสีบอกค่าครึ่งชีวิตของnuclear isomer ในสถานะที่เสถียรที่สุด สำหรับตารางที่เหมือนกันแต่ถูกจัดให้ดูง่ายกว่า, ดูตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและตารางไอโซโทป (สมบูรณ์) · ดูเพิ่มเติม »

ตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน)

ตารางไอโซโทป นี้แสดงไอโซโทปทั้งหมดของธาตุเคมีที่เป็นที่รู้จักกัน ถูกจัดโดยเลขอะตอมเพิ่มจากซ้ายไปขวา และเลขนิวตรอนเพิ่มจากบนลงล่าง ค่าครึ่งชีวิตแสดงให้เห็นด้วยสีของเซลล์ไอโซโทปแต่ละเซลล์ (ตารางสีด้านขวา) ขอบที่มีสีบอกค่าครึ่งชีวิตของnuclear isomer ในสถานะที่เสถียรที่สุด สำหรับตารางที่เหมือนกันแต่รวมเป็นตารางเดียว, ดูตารางไอโซโทป (สมบูรณ์) The data for these tables came from Brookhaven National Laboratory which has an interactive with data on ~3000 nuclides.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและตารางไอโซโทป (แบ่งส่วน) · ดูเพิ่มเติม »

ซิลิคอน

ซิลิคอน (Silicon) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุ ที่มีสัญลักษณ์ Si และเลขอะตอม 14 เป็นธาตุกึ่งโลหะแบบเตตระวาเลนต์ (คือมีวาเลนซ์เป็น 4) ซิลิคอนทำปฏิกิริยาน้อยกว่าธาตุที่คล้ายกันคือคาร์บอน เป็นธาตุที่มีมากที่สุดในเปลือกโลกเป็นอันดับ 2 มีปริมาตร 25.7% โดยน้ำหนัก ปรากฏในดินเหนียว เฟลด์สปาร์ (feldspar) หินแกรนิต ควอตซ์ และทราย ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของซิลิคอน ไดออกไซด์ (หรือซิลิกา) และซิลิเกต (สารประกอบที่ประกอบจากซิลิคอน ออกซิเจน และ โลหะ) ซิลิคอน เป็นส่วนประกอบหลักของแก้ว ซีเมนต์ เซรามิก, อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ส่วนใหญ่ และซิลิโคน (สารพลาสติกที่มักจะสับสนกับซิลิคอน) ซิลิคอนใช้เป็นสารกึ่งตัวนำอย่างแพร่หลาย เนื่องจาก สารกึ่งตัวนำเจอร์เมเนียมมีปัญหาเกี่ยวกับการไหลของกระแสไหลย้อนกลับ (reverse leakage current).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและซิลิคอน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติของตารางธาตุ

ในปี..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและประวัติของตารางธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

ปลา

ปลา (อังกฤษ: Fish) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ เป็นสัตว์เลือดเย็น หายใจด้วยเหงือกและมีกระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวไปมาด้วยครีบและกล้ามเนื้อของลำตัว บางชนิดมีเกล็ดปกคลุมทั่วตัว บางชนิดไม่มีเกล็ดแต่ปกคลุมด้วยเมือกลื่น ๆ หรือแผ่นกระดูก มีหัวใจสองห้องและมีขากรรไกร สัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำบางประเภท ถูกเรียกติดปากว่าปลาเช่นเดียวกันเช่น ปลาดาว, โลมา, วาฬและหมึก ซึ่งสัตว์ทั้งหมดนี้ก็มีแหล่งอาศัยอยู่ในน้ำด้วยกันทั้งสิ้น แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจำพวกเดียวกันกับปลา ด้วยลักษณะทางกายวิภาคและสรีรวิทยาที่แตกต่างกันเช่น ปลาดาวเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นเดียวกับปลา มีโครงสร้างที่เป็นหินปูน โลมาและวาฬถูกจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถหายใจได้ทางปอดไม่ใช่ทางเหงือก และปลาหมึกจัดเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ถูกจัดรวมอยู่กับสัตว์ประเภทเดียวกันกับหอ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและปลา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซาร์ดีน

ปลาซาร์ดีนยุโรป หรือ ปลาซาร์ดีนแท้ ปลาซาร์ดีน หรือ ปลาพิลชาร์ด (Sardine, Pilchard) เป็นชื่อสามัญของปลาทะเลหลายชนิด หลายสกุล ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) โดยปลาที่อาจเรียกได้ว่าซาร์ดีนนั้น ได้แก.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและปลาซาร์ดีน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซาร์ดีนยุโรป

ปลาซาร์ดีนยุโรป หรือ ปลาซาร์ดีนแท้ (Sardine, European pilchard, True sardine) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Sardina pilchardus อยู่ในวงศ์ปลาหลังเขียว (Clupeidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Sardina มีรูปร่างเพรียวยาวทรงกระบอก ลำตัวกลม แต่ในขณะที่เป็นปลาวัยอ่อน ลำตัวจะแบนเป็นสันบริเวณส่วนท้องมากกว่านี้ ตาโต ครีบหลังมีเพียงตอนเดียว ไม่มีก้านครีบแข็ง มีก้านครีบอ่อนประมาณ 13–21 ก้าน ครีบก้นมี 2 ครีบขนาดเล็ก ลำตัวมีสีเงิน ลำตัวด้านข้างช่วงบนมีแต้มวงกลมสีน้ำเงินอมม่วง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 27 เซนติเมตร มีพฤติกรรมรวมตัวกันเป็นฝูงใหญ่ กินแพลงก์ตอนสัตว์และครัสเตเชียนชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร อาศัยและหากินใกล้ชายฝั่งในมหาสมุทรแอตแลนติก เฉพาะในทวีปยุโรป ตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงทะเลดำ และแอฟริกาเหนือ โดยหากินในเวลากลางคืน ในระดับความลึกตั้งแต่ 55–100 เมตร และอาจเพิ่มขึ้นในระดับ 10–35 เมตรได้ในแต่ละวัน เป็นปลาที่วางไข่และตัวอ่อนพัฒนาในแหล่งน้ำจืดหรือใกล้ชายฝั่ง โดยไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ย 1.5 มิลลิเมตร วางไข่ได้มากถึงครั้งละ 50,000–60,000 ฟอง ผลการทดลองในที่เลี้ยง พบว่าจะวางไข่ในเวลากลางคืนในช่วงเวลา 19.00–21.00 น. (ตามเวลามาตรฐานกรีนิช) โดยอุณหภูมิของน้ำสัมพันธ์กับการฟักเป็นตัว และความแข็งแรงของลูกปลาที่เกิดมาด้วย ปลาซาร์ดีนยุโรป ถือเป็นปลาเศรษฐกิจที่มีความสำคัญอย่างมากของยุโรปและทั่วโลก นับเป็นปลาซาร์ดีนชนิดที่รู้จักกันเป็นอย่างดี เป็นที่นิยมในการแปรรูปทำเป็นปลากระป๋อง หรือการปรุงสด เช่น การย่างหรือรมควัน ซึ่งเนื้อปลาซาร์ดีนให้คุณค่าทางอาหารมากกว่านมถึง 3 เท่า โดยเนื้อปลาจำนวน 100 กรัม ให้สารอาหารต่าง ๆ เช่น โอเมกา 3 ถึง 200 มิลลิกรัม ซึ่งเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายมนุษย์ในแต่ละสัปดาห์ นอกจากนี้แล้วยังมี ฟอสฟอรัส, ทองแดง, แม็กนีเซียม, เหล็ก, แมงกานีส, ไลโคปีน และวิตามินบี ด้ว.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและปลาซาร์ดีนยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแซลมอน

วาดปลาแซลมอนชนิดต่าง ๆ ปลาแซลมอน http://www.royin.go.th/th/webboardnew/answer.php?GroupID.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและปลาแซลมอน · ดูเพิ่มเติม »

ปัสสาวะ

ตัวอย่างปัสสาวะมนุษย์ปัสสาวะ (ภาษาปากว่า ฉี่, เยี่ยว หรือ เบา) เป็นของเสียในรูปของเหลวที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยไต ด้วยกระบวนการกรองจากเลือดและขับออกทางท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการสร้างและสลายในระดับเซลล์ (cellular metabolism) แล้วทำให้เกิดสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นของเสียจำนวนมาก ซึ่งจำเป็นต้องกำจัดออกจากกระแสเลือ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและปัสสาวะ · ดูเพิ่มเติม »

ปุ๋ยอินทรีย์

ปุ๋ยอินทรีย์ (Organic Fertilizer) หรือ ปุ๋ยหมัก (Compost) คือ ปุ๋ยที่ได้จากการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุทางชีวเคมีโดยจุลินทรีย์กลุ่มใช้ออกซิเจน (Aerobic Microorganisms) จนเป็นประโยชน์ต่อพืช ปุ๋ยอินทรีย์ เป็นปุ๋ยทำจากวัสดุอินทรีย์ มีธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์สำหรับการเจริญเติบโตของพืช ผลิตจากวัสดุอินทรีย์ ของเสียจากโรงงาน(บางประเภท) มูลวัว มูลไก่ มูลค้างคาว ซากต้นไม้ ใบไม้ กรดอะมิโน โดโลไมท์ และแร่ธาตุต่าง ๆ นำมาบด เติมจุลินทรีย์ บ่มหมัก กลับกอง จนย่อยสลายกลายเป็นปุ๋ย ปุ๋ยอินทรีย์ที่ดี จะต้องประกอบด้วยแร่ธาตุครบทั้ง 13 ชนิดที่พืชต้องการ ดังนี้ แร่ธาตุหลัก ซึ่งพืชต้องการในปริมาณสูงมาก ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและปุ๋ยอินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปุ๋ยขี้นก

รังของ Peruvian Booby ทำด้วย “ขี้นก” ปุ๋ยขี้นก (Guano) มาจากภาษาเกชัวว่า “wanu” ที่มาจากภาษาสเปนที่แปลว่าสิ่งที่มาจากการขับถ่าย (อุจจาระและปัสสาวะ) ของนกทะเล, ค้างคาว และแมวน้ำ ขี้นกเป็นปุ๋ยที่มีประสิทธิภาพ และเป็นส่วนผสมที่ใช้ทำดินปืนเพราะมีฟอสฟอรัส และ ไนโตรเจนสูง และไม่มีกลิ่น โมโนแคลเซียมฟอสเฟตที่ทำจากขี้นกใช้ในการการหว่านปุ๋ยทางอากาศ ดินที่ขาดสารชีวภาพสามารถทำให้เป็นดินที่มีประสิทธิภาพได้โดยการใช้ปุ๋ยขี้นก.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและปุ๋ยขี้นก · ดูเพิ่มเติม »

นิกโทเจน

ตุหมู่ไนโตรเจน หรือ นิโคเจน หรือ นิกโทเจน (Nitrogen group หรือ pnicogens หรือ pnictogens) คืออนุกรมเคมีของธาตุเคมีในหมู่ 15 ของตารางธาตุ ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอมเท่ากับ 5 โดยอิเล็กตรอน 2 ตัวอยู่ในวงโคจรย่อยเอส (s subshell) อีก 3 ตัวอยู่ในวงโคจรย่อยพี (p subshell) ดังนั้นธาตุเหล่านี้จึงมีอิเล็กตรอน 3 ตัวอยู่ในวงโคจรนอกสุด และ 3 ตัว ในภาวะที่อะตอมไม่อยู่ในระดับไอโอไนส์ (non-ionized state) สารประกอบของธาตุเหล่านี้ เรียกว่า นิกไทด์ (pnictides).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและนิกโทเจน · ดูเพิ่มเติม »

นิเวศวิทยา

นิเวศวิทยา (ecology) (มาจากภาษากรีก: οἶκος "บ้าน"; -λογία, "การศึกษาของ") คือ การวิเคราะห์และการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มีต่อกันและกัน และปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มีกับสิ่งแวดล้อมแบบ'อชีวนะ' (abiotic) ของสิ่งมีชีวิตนั้น หัวข้อนักนิเวศวิทยามักสนใจจะรวมถึงความหลากหลายทางนิเวศวิทยา การกระจาย ปริมาณ (ชีวมวล) จำนวน (ประชากร) ของสิ่งมีชีวิต เช่นเดียวกับการแข่งขันระหว่างพวกมันภายในและระหว่างระบบนิเวศ ปฏิสัมพันธ์ที่เป็นองค์ประกอบของระบบนิเวศมีลักษณะเป็นไดนามิค ซึ่งประกอบไปด้วย สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ ชุมชนของสิ่งมีชีวิตที่พวกมันสร้างขึ้น และองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตของสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต กระบวนการในระบบนิเวศ (ecosystem process) เช่น การผลิตโดยผู้ผลิต (เช่น พืช สาหร่าย) การเกิดขึ้นของดิน (pedogenesis) วัฏจักรสารอาหาร และกิจกรรมการสร้างสภาวะที่เหมาะสม (niche construction) จะเป็นตัวกำหนดการไหลของพลังงานและสสารจากสถานะหนึ่งไปยังอีกสถานะหนึ่งในระบบนิเวศ กระบวนการเหล่านี้จะทำงานอย่างเป็นปกติโดยสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทที่เฉพาะเจาะจงและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้น โดยความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) ที่หมายถึงความหลากหลายของสายพันธุ์ ของยีน และของระบบนิเวศ จะช่วยเพิ่มการบริการในระบบนิเวศ (ecosystem services) นิเวศวิทยาเป็นสาขาการศึกษาแบบสหวิทยาการที่รวมชีววิทยาและวิทยาศาสตร์โลก โดยคำว่า "ระบบนิเวศ" ("Ökologie") เกิดขึ้นในปี 1866 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน แอรนส์ แฮกเกล (Ernst Haeckel) (1834-1919) ความคิดเกี่ยวกับนิเวศวิทยาเป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากความคิดในเชิงปรัชญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากจริยธรรมและการเมือง นักปรัชญากรีกโบราณเช่น Hippocrates และ อริสโตเติล ได้วางรากฐานของนิเวศวิทยาในการศึกษาเรื่อง 'ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ' (natural history) ของพวกเขา นิเวศวิทยาสมัยใหม่ถูกแปลงให้เป็น 'วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ' ที่เข้มงวดมากขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แนวคิดวิวัฒนาการในการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตและ 'การคัดเลือกโดยธรรมชาติ' กลายเป็นเสาหลักของ 'ทฤษฎีทางนิเวศวิทยาสมัยใหม่' คำว่านิเวศวิทยาเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับ 'ชีววิทยาวิวัฒนาการ' พันธุศาสตร์ และ พฤฒิกรรมของสัตว์ที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติ (ethology) ความเข้าใจถึงกระบวนการที่ความหลากหลายทางชีวภาพจะสามารถส่งผลกระทบต่อการทำงานของระบบนิเวศเป็นหัวข้อที่สำคัญในการศึกษาระบบนิเวศ โดยนักนิเวศวิทยาพยายามที่จะอธิบายดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและนิเวศวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

น้ำเต้าหู้

น้ำเต้าหู้ น้ำเต้าหู้ หรือ นมถั่วเหลือง เป็นเครื่องดื่มซึ่งทำจากการบดถั่วเหลืองและนำไปต้มกรองจนเจือจางลง อาจปรุงด้วยน้ำตาลและอื่น ๆ รับประทานได้ทันที นิยมรับประทานเป็นมื้อเช้าคู่กับปาท่องโก๋ หรือทำเป็นน้ำเต้าหู้ทรงเครื่องโดยใส่สาคู ลูกเดือย ข้าวบาร์เลย์ ถั่วแดง วุ้น หรือธัญพืชชนิดอื่น ๆ ตามชอ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและน้ำเต้าหู้ · ดูเพิ่มเติม »

แมคาเดเมีย

แมคาเดเมีย (macadamia) เป็นไม้ยืนต้นจำพวกหนึ่งที่อยู่ในวงศ์เหมือดคน (Proteaceae) ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Macadamia integrifolia แม้ว่าแมคาเดเมียจะมีลักษณะเหมือนถั่ว แต่มันกลับไม่ใช่พืชตระกูลถั่ว เพราะไม่ได้อยู่ในวงศ์ Fabaceae แต่ถึงอย่างไรก็ตามมันก็เป็นต้นไม้ประเภทนัทที่มีคุณค่าทางอาหารสูงมากและมีราคาสูง ต้นไม้ชนิดนี้จะให้ผลดีก็ต่อเมื่อปลูกบนพื้นที่ค่อนข้างสูงเท่านั้น แมคาเดเมียเป็นพืชหนึ่งในเก้าสายพันธุ์ของดอกพืชในวงศ์ Proteaceae ซึ่งมีอยู่ตามพื้นที่ทางภาคตะวันออกของออสเตรเลีย นิวแคลิโดเนียและ สุลาเวสี ในอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและแมคาเดเมีย · ดูเพิ่มเติม »

แมงลัก

แมงลัก (ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum × citriodourum) เป็นพืชล้มลุกในสกุลกะเพรา-โหระพา แมงลักมีใบเล็ก สีอ่อน บอบบาง ช้ำง่ายและเหี่ยวง่ายกว่า ชื่อสามัญเดิมเรียกกันว่า hoary basil (hoary แปลว่าผมหงอก) โดยนำมาจากลักษณะที่มีขนอ่อนสีขาวๆ บริเวณก้านใบและยอดอ่อน ต่อมาก็เปลี่ยนมาเรียกว่า lemon basil ตามลักษณะกลิ่นที่คล้ายส้ม-มะนาว ส่วนแมงลักศรแดงของไทยเรียกว่า thai lemon basil แมงลักนำไปใช้ได้ทั้งใบและเมล็ด ใบมีกลิ่นฉุน ใช้ประกอบอาหารเช่นเดียวกับกะเพราและโหระพา ส่วนมากจะใช้รับประทานกับขนมจีน หรือใส่เครื่องแกงต่างๆ ส่วนเมล็ดแมงลักใช้ทำเป็นขนมอื่นๆ ได้ นอกจากนี้ เมล็ดแมงลักนำมาทำเป็นยาระบายและอาหารเสริมลดความอ้วนได้ แมงลักในประเทศไทยนั้น มี หลากหลายยี่ห้อและหลากหลายสายพันธุ์ ไม่ใช่ยี่ห้อดังยี่ห้อเดียวอย่างที่เข้าใจ ลักษณะพันธุ์ที่ดีใบต้องใหญ่พอดิบพอดี ไม่เล็กจนแคระแกร็น ดอกสีขาวเป็นชั้นๆ คล้ายฉัตร.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและแมงลัก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแยงซี

้นทางแม่น้ำแยงซีในประเทศจีน แม่น้ำแยงซี, แยงซีเกียง (Yangtze river) หรือแม่น้ำฉางเจียง เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในทวีปเอเชีย และเป็นแม่น้ำที่ยาวเป็นอันดับที่ 3 ของโลก รองจากแม่น้ำไนล์ในทวีปแอฟริกาและแม่น้ำแอมะซอนในทวีปอเมริกาใต้ แม่น้ำแยงซียาว 6,300 กิโลเมตร ต้นน้ำอยู่ที่มณฑลชิงไห่และทิเบต ในทิศตะวันตกของสาธารณรัฐประชาชนจีน และไหลมาทางทิศตะวันออก ออกสู่ทะเลจีนตะวันออก.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและแม่น้ำแยงซี · ดูเพิ่มเติม »

แลนทานัม

แลนทานัม (อังกฤษ:Lanthanum) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 57 และสัญลักษณ์คือ La แลนทานัมเป็นธาตุโลหะมีลักษณะเป็นสีเงินขาวอ่อนนุ่มยืดเป็นเส้นตีเป็นแผ่นได้และตัดได้ด้วยมีด แลนทานัมเป็นธาตุโลหะหนักที่ไวต่อปฏิกิริยาเคมีมากตัวหนึ่ง มันสามารถทำปฏิกิริยาได้โดยตรงกับธาต.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและแลนทานัม · ดูเพิ่มเติม »

แค

แค เป็นต้นไม้ขนาดเล็กในสกุลโสน มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้: แคบ้าน (กลาง) แคขาว แคแดง (กทม. เชียงใหม่) แค (กลาง) แคดอกแดง แคดอกขาว.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและแค · ดูเพิ่มเติม »

แป้งสาลี

แป้งสาลี เป็นผงที่มนุษย์ใช้บริโภค ทำจากการบดข้าวสาลี แป้งสาลีเป็นแป้งประกอบอาหารที่ผลิตมากที่สุด ข้าวสาลีมีหลายประเภทตามปริมาณกลูเตน ข้าวสาลีแข็งหรือข้าวสาลีขนมปัง มีปริมาณกลูเตนสูง ระหว่าง 12% ถึง 14% และมีความเหนียวยืดหยุ่นที่รักษารูปทรงได้ดีเมื่ออบ แป้งอ่อนมีกลูเตนค่อนข้างต่ำ จึงให้เนื้อที่ละเอียดหรือร่วนกว่า แป้งอ่อนตามปกติแบ่งได้เป็นแป้งเค้ก ซึ่งมีปริมาณกลูเตนต่ำสุด และแป้งพาสต้า ซึ่งมีกลูเตนมากกว่าแป้งเค้กเล็กน้อย ในศัพท์ส่วนประกอบของธัญพืชที่ใช้ในแป้ง เอนโดสเปิร์ม หรือส่วนโปรตีน/แป้ง จมูก (germ) หรือส่วนที่อุดมด้วยโปรตีน/ไขมัน/วิตามิน และส่วนรำข้าวหรือเส้นใย เป็นแป้งสามประเภททั่วไป แป้งขาวผลิตจากเอนโดสเปิร์มอย่างเดียว ธัญพืชเต็มเมล็ดผลิตจากธัญพืชทั้งเมล็ด ทั้งรำข้าว เอนโดสเปิร์ม และจมูก แป้งเมล็ดผลิตจากเอนโดสเปิร์มและจมูก.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและแป้งสาลี · ดูเพิ่มเติม »

โฟมิเวียร์เซน

โฟมิเวียร์เซน (Fomivirsen) ฟโฟมิเวียร์เซน ฟโฟมิเวียร์เซน ฟโฟมิเวียร์เซน.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและโฟมิเวียร์เซน · ดูเพิ่มเติม »

โพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน

ีเอเอชที่พบทั่วไปตามเข็มนาฬิกาจากบนลงล่าง: เบนอีอะซีฟีแนนไทรลีน, ไพรีน และ ไดเบนเอเอชแอนทราซีน pages.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน · ดูเพิ่มเติม »

โมเลกุลชีวภาพ

รงสร้างสามมิติของไมโอโกลบิน แสดงเกลียวแอลฟาที่เน้นสี โปรตีนนี้เป็นตัวแรกที่โครงสร้างได้รับการอธิบายโดยผลิกศาสตร์รังสีเอ็กซ์ (X-ray crystallography) โดย Max Perutz และ John Kendrew ใน ค.ศ. 1958 เป็นผลงานที่ทำให้ทั้งสองได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี โมเลกุลชีวภาพ หรือ ชีวโมเลกุล (biomolecule) หมายถึง โมเลกุลใด ๆ ที่สิ่งมีชีวิตสังเคราะห์ขึ้น รวมทั้ง มหโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน พอลิแซคคาไรด์ ลิพิด และกรดนิวคลีอิก และโมเลกุลขนาดเล็ก เช่น เมทาบอไลต์ (metabolite) จัดเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย มีโมเลกุลตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่มาก มีธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลักแต่ละชนิดมีโครงสร้าง สมบัติและปฏิกิริยาที่ต่างกัน ทำให้มีหน้าทีและประโยชน์ต่อร่างกายแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและโมเลกุลชีวภาพ · ดูเพิ่มเติม »

โรคกระดูกอ่อนในเด็ก

โรคกระดูกอ่อนในเด็ก (Rickets) คือภาวะที่มีความบกพร่องในการสะสมแร่ธาตุหรือการสะสมแคลเซียมในกระดูกระยะก่อนที่จะมีการปิดของแผ่นสร้างกระดูกเนื่องจากการขาดหรือความผิดปกติของกระบวนการสร้างและสลายวิตามินดี ฟอสฟอรัส หรือแคลเซียม ซึ่งอาจทำให้เกิดกระดูกหักหรือผิดรูปได้ โรคนี้เป็นโรคที่พบบ่อยอันดับต้นๆ ในประเทศที่กำลังพัฒนา สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาดวิตามินดี สาเหตุอื่นที่พบได้เช่นการขาดแคลเซียม (อาจเกิดจากอุจจาระร่วงรุนแรงหรืออาเจียนมากได้) หมวดหมู่:การขาดวิตามิน หมวดหมู่:วิตามินดี อ่อนในเด็ก.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและโรคกระดูกอ่อนในเด็ก · ดูเพิ่มเติม »

โรคนิ่วไต

รคนิ่วไต (kidney stone disease, urolithiasis) เป็นก้อนวัสดุแข็งที่เกิดในทางเดินปัสสาวะ นิ่วไตปกติจะเกิดในไตแล้วออกจากร่างกายผ่านปัสสาวะ โดยก้อนเล็ก ๆ อาจจะผ่านออกโดยไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าใหญ่เกินกว่า 5 มิลลิเมตร ก็อาจขวางท่อไตมีผลให้เจ็บอย่างรุนแรงที่หลังหรือท้องส่วนล่าง นิ่วยังอาจทำให้เลือดออกในปัสสาวะ ทำให้อาเจียน หรือทำให้เจ็บเมื่อถ่ายปัสสาวะ (dysuria) คนไข้ประมาณครึ่งหนึ่งจะเกิดนิ่วอีกภายใน 10 ปี นิ่วโดยมากมีเหตุจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยเสี่ยงรวมทั้งระดับแคลเซียมสูงในปัสสาวะ (hypercalciuria) โรคอ้วน อาหารบางชนิด ยาบางชนิด การทานแคลเซียมเป็นอาหารเสริม ระดับฮอร์โมนพาราไทรอยด์เกินในเลือด (hyperparathyroidism) โรคเกาต์ และดื่มน้ำไม่พอ นิ่วจะเกิดในไตเมื่อแร่ในปัสสาวะเข้มข้นมาก การวินิจฉัยปกติจะอาศัยอาการ การตรวจปัสสาวะ และภาพฉายรังสี โดยการตรวจเลือดอาจมีประโยชน์ นิ่วมักจะจัดกลุ่มตามตำแหน่งที่อยู่ คือ nephrolithiasis (ในไต) ureterolithiasis (ในท่อไต) cystolithiasis (ในกระเพาะปัสสาวะ) หรือโดยองค์ประกอบของนิ่ว เช่น แคลเซียมออกซาเลต (calcium oxalate), กรดยูริก, สตรูไวท์ (struvite), ซิสทีน (cystine) เป็นต้น คนไข้ที่มีนิ่วสามารถป้องกันโดยดื่มน้ำให้ผลิตปัสสาวะมากกว่า 2 ลิตรต่อวัน ถ้ายังไม่พอ อาจทานยาไทอะไซด์ (thiazide), ไซเตรต (citrate, กรดไซตริก) หรืออัลโลพิวรีนอล (allopurinol) คนไข้ควรเลี่ยงดื่มน้ำอัดลม (เช่น โคลา) ถ้านิ่วไม่มีอาการ ก็ไม่จำเป็นต้องรักษา ไม่เช่นนั้นแล้ว ยาแก้ปวดเป็นการรักษาเบื้องต้น โดยใช้ยาเช่น ยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAID) หรือโอปิออยด์ นิ่วที่ใหญ่เพิ่มขึ้นอาจขับออกได้โดยใช้ยา tamsulosin หรืออาจต้องปฏิบัติการอื่น ๆ เช่น การใช้คลื่นเสียงนอกกายสลายนิ่ว (extracorporeal shock wave lithotripsy), การส่องกล้องท่อไต (ureteroscopy), หรือการผ่าตัดนิ่วผ่านผิวหนัง (percutaneous nephrolithotomy) คนทั่วโลกประมาณ 1-15% จะมีนิ่วไตในช่วงหนึ่งของชีวิต ในปี 2558 มีคนไข้ 22.1 ล้านราย ทำให้เสียชีวิต 16,100 ราย เป็นโรคที่สามัญยิ่งขึ้นในโลกตะวันตกตั้งแต่ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยทั่วไป ชายจะเป็นมากกว่าหญิง นิ่วไตเป็นโรคที่ปรากฏตลอดประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมีการกล่าวถึงการผ่าตัดเพื่อเอาออกเริ่มตั้งแต่ 600 ปีก่อน..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและโรคนิ่วไต · ดูเพิ่มเติม »

โป่ง

กระทิงลงกินโป่งในอินเดีย โป่ง เป็นแหล่งดินที่มีรสเค็มและละเอียดซึ่งเกิดจากแร่ธาตุบางชนิด เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แร่ธาตุในโป่งประกอบไปด้วยโซเดียม แคลเซียม เหล็ก ฟอสฟอรัส และสังกะสี ซึ่งเป็นที่ต้องการของกระดูกและกล้ามเนื้อ แร่ธาตุเหล่านี้เป็นสิ่งซึ่งสัตว์สัตว์ป่าไม่สามารถหาทดแทนได้จากพืช ดังนั้นโป่งจึงเป็นแหล่งแร่ธาตุสำหรับสัตว์ป่าซึ่งกินพืชเป็นอาหาร ส่วนใหญ่พบโป่งได้มากในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าดงดิบ จากมากไปน้อยตามลำดั.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและโป่ง · ดูเพิ่มเติม »

ไฟเตต

ฟเตต (phytate) หรือ Phytic acid พบมากในพืชตระกูลถั่วโดยเฉพาะถั่วเมล็ดแห้ง เช่น ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วเขียว และงา มีฤทธิ์ในการยั้บยั้งการดูดซึมของแร่ธาตุบางชนิด ได้แก่ ธาตุเหล็ก สังกะสี แคลเซียม ฟอสฟอรัส ซึ่งมีอยู่ในอาหารที่เรารับประทานเข้าไป หากร่างกายได้รับเข้าไปในปริมาณมากจะทำให้ร่างกายไม่สามารถดูดซึมแร่ธาตุเหล่านั้นได้ตามปกติ ไฟเตตสามารถสลายไปได้โดยการใช้ความร้อน ดังนั้น ควรปรุงให้สุกก่อนรับประทาน.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและไฟเตต · ดูเพิ่มเติม »

ไม้ขีดไฟ

ม้ขีดไฟกำลังติดไฟ ไม้ขีดไฟในกล่อง ไม้ขีดไฟ คืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับจุดไฟ ทำจากแท่งไม้อันเล็กๆ และมีสารติดไฟชุบอยู่ที่ปลายข้างหนึ่งเรียกว่า หัวไม้ขีด ไม้ขีดไฟมักขายในบรรจุภัณฑ์เป็นกล่องเรียกว่า กลักไม้ขีด เวลาจุดไฟจะใช้หัวไม้ขีดฝนลงไปกับพื้นผิวขรุขระหรือพื้นผิวที่ทำมาเฉพาะข้างกล่อง ความร้อนจากการฝนหัวไม้ขีดจะทำให้ไม้ขีดติดไฟ ไม้ขีดไฟมีบทบาทในการใช้ชีวิตของมนุษย์มาก ในยุคก่อนที่จะมีไฟแช็ก เนื่องจากมนุษย์มีความจำเป็นที่จะต้องใช้พลังงานไฟ แต่ในเมืองคนกลับใช้ไม้ขีดไฟลดลง และหันไปใช้ไฟแช็กมากขึ้น ปัจจุบันมีการใช้ไม้ขีดไฟในบางโอกาสและในชนบทเท่านั้น แต่จุดเด่นของไม้ขีดไฟที่ดีกว่าไฟแช็กคือมีความปลอดภัยสูงกว.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและไม้ขีดไฟ · ดูเพิ่มเติม »

ไรโซเบียม

รโซเบียม (Rhizobium) เป็นจีนัสของแบคทีเรียที่อยู่ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงตลอดวงชีวิต แหล่งพลังงานของไรโซเบียมได้แก่ มอลโตส ซูโครส กลูโคสและแมนนิทอลแต่ไม่สามารถใช้เซลลูโลส แป้งและเพกตินเป็นแหล่งพลังงานได้ สมศักดิ์ วังใน.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและไรโซเบียม · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนโบรไมด์

รเจนโบรไมด์ (hydrogen bromide) มีสูตรเคมีว่า HBr เป็นสารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง ซึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากธาตุสองตัว ได้แก่ ไฮโดรเจน และโบรมีน ไฮโดรเจนโบรไมด์มีสถานะเป็นแก๊สที่ภาวะมาตรฐาน และเมื่อนำไปผสมน้ำจะได้เป็นกรดไฮโดรโบรมิก ในทางกลับกันเราสามารถสกัดเอาไฮโดรเจนโบรไมด์ออกจากสารละลายดังกล่าวได้ โดยการเติมตัวดูดความชื้น (dehydration agent) เพื่อไล่น้ำออก แต่ไม่สามารถแยกได้โดยการกลั่น ถือได้ว่าไฮโดรเจนโบรไมด์และกรดไฮโดรโบมิกมีความสัมพันธ์กัน แต่ไม่ใช่สารชนิดเดียวกัน ซึ่งในบางครั้งนักเคมีอาจใช้สูตร "HBr" แทนกรดไฮโดรโบมิก พร้อมทั้งเป็นที่เข้าใจกันในหมู่นักเคมีส่วนใหญ่ แต่อาจทำให้บุคคลทั่วไปเกิดความเข้าใจผิดหรือสับสนระหว่างสารสองชนิดนี้ได้.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและไฮโดรเจนโบรไมด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไข่แดง

แดงลอยอยู่ในไข่ขาว ไข่แดง เป็นส่วนประกอบของไข่ โดยอยู่ภายในเปลือกไข่ ประกอบด้วยสารอาหารไว้ใช้เลี้ยงตัวอ่อน เมื่อรวมกับไข่ขาวจะเป็นเซลล์เดียวจนกว่าจะมีการปฏิสน.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและไข่แดง · ดูเพิ่มเติม »

ไดโพแทสเซียมฟอสเฟต

แทสเซียมฟอสเฟต (Dipotassium phosphate, dipotassium hydrogen orthophosphate, potassium phosphate dibasic สูตรเคมี K2HPO4) เป็นเกลือละลายน้ำได้ดี มักจะใช้เป็นปุ๋ย สารเติมแต่งอาหาร (food additive) และสารบัฟเฟอร์ (buffering agent) เป็นสารต้นผลิตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม สารละลายไดโพแทสเซียมฟอสเฟตเกิดขึ้นจากปฏิกิริยาปริมาณสัมพันธ์ (stoichiometric reaction) ของกรดฟอสฟอริก กับโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ คือ.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและไดโพแทสเซียมฟอสเฟต · ดูเพิ่มเติม »

ไซโดโฟเวียร์

ไซโดโฟเวียร์ (Cidofovir) พัฒนาขึ้นโดย ไกลีด ไซเอนซ์ (Gilead Sciences) และทำตลาดเองในสหรัฐอเมริกา ใช้ชื่อการค้าว่า วิสไทด์ (Vistide) และนอกสหรัฐอเมริกาทำตลาดโดยไฟเซอร์ไพเซอร์ ไฟเวอร์ (Pfizer)) เป็นยาฉีด ต้านไวรัส ที่ใช้รักษาโรคที่เกิดจากเชื้อไซโตเมกาโลไวรัส (cytomegalovirus-CMV) ที่ทำให้เกิด ม่านตาอักเสบ (retinitis) ในคนไข้ที่เป็นเอดส์ โดยการออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์ดีเอ็นเอในการขยายพันธุของไวรัส ซีเอ็มวี (CMV) มีรายงานเป็นสถิติยืนยันชัดเจนว่า ไซโดโฟเวียร์มีประสิทธิภาพในการชลอการลุกรามของไวรัส ซีเอ็มวี (CMV) ที่ทำให้ม่านตาอักเสบ ทั้งในคนไข้ที่ล้มเหลวจากการรักษาด้วยวิธีอื่นและคนไข้ที่วินิจฉัยแล้วแต่ยังได้รักษา การให้ยาก็ไม่จำเป็นต้องทำอย่างต่อเนื่องเพียงให้ 1-2 สัปดาห์ต่อครั้ง หมวดหมู่:เอมีน หมวดหมู่:ยาต้านไวรัส หมวดหมู่:แอลกอฮอล์.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและไซโดโฟเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพกมาไทต์

กมาไทต์ (Pegmatite) เป็นหินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous) มักปรากฏอยู่เป็นสายแร่ ทำให้มักเรียกเป็น "สายแร่เพกมาไทต์" (Pegmatite veins) ประกอบด้วยแร่หลักเพียงควอตซ์ และ เค-เฟลด์สปาร์ และอาจมีมัสโคไวท์, ไบโอไทต์, ทัวร์มาลีน หรือแร่อื่นอยู่บ้างเป็นส่วนประกอบรอง ผลึกแร่ในเพกมาไทต์โดยปกติแล้วจะมีขนาดใหญ่กว่า 2.5 เซนติเมตรแต่บางครั้งอาจมีขนาดใหญ่มากถึง 10 เซนติเมตรได้ ทั้งนี้เนื่องจากสารละลายร้อนมักมีความเข้มข้นน้อย (มีน้ำและไอมาก) และมีพื้นที่สำหรับการตกผลึกดีกล่าวคือมีช่องรอยแตก (fracture) ในหินทำให้สารละลายร้อนและไอค่อย ๆ ทำการตกผลึกช้า ๆ และมีเวลาเพียงพอให้เกิดการตกผลึกใหญ่ ๆ ได้.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและเพกมาไทต์ · ดูเพิ่มเติม »

เกลือแร่

กลือแร่ (Dietary mineral) มีบทบาทและหน้าที่สำคัญใน ร่างกายหลายอย่างโดยเฉพาะอย่างยิ่งทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของร่างกาย เป็นองค์ประกอบของ เซลล์เนื้อเยื่อและเส้นประสาท เป็นองค์ประกอบของเอนไซม์ ฮอร์โมน และวิตามิน นอกจากนี้ เกลือแร่ยังทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในทุกอวัยวะ จากความสำคัญและหน้าที่ ดังกล่าวนั้น จะเห็นว่า เกลือแร่เป็นสารอาหารที่มีความสำคัญยิ่งต่อร่างกาย ซึ่งร่างกายต้องได้ รับเพียงพอ ร่างกายจึงจะเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่และแข็งแรง อาหารทั่วไปที่เป็นแหล่งของเกลือแร่ทั้งชนิดหลักและชนิดปริมาณน้อยแตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิดของอาหาร ตัวอย่าง เกลือแร่ที่มีความสำคัญต่อร่างกายประกอบด้วย แคลเซียม ฟอสฟอรัส ไอโอดีน เหล็ก แมกนีเซียม สังกะสี ทองแดง และโพแทสเซียม ร่างกายมีเกลือแร่ 4% ของน้ำหนักร่างกายทั้งหมด เกลือแร่ที่ร่างกายต้องการมีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและเกลือแร่ · ดูเพิ่มเติม »

เวเลนซ์

วเลนซ์ หรือ เวเลนซี (valence or valency) ของธาตุเคมีเป็นการระบุความสามารถของอะตอมในการเกิดเป็นสารประกอบหรือโมเลกุล โดยหลักการเกี่ยวกับเวเลนซีนี้ได้ถูกพัฒนาในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และใช้ในการอธิบายโครงสร้างของสารได้ทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ แม้ว่าแนวคิดเกี่ยวกับเวเลนซ์จะถูกกล่าวถึงมานานแต่ยังสามารถใช้ได้กับอีกทฤษฎีเกี่ยวกับพันธะเคมี อาทิ ทฤษฎีอะตอมทรงลูกบาศก์ (cubical atom) โครงสร้างลิวอีส (Lewis structures) ทฤษฎีพันธะเวเลนซ์ (valence bond theory; VBT) ทฤษฎีออร์บิทัลเชิงโมเลกุล (molecular orbital theory; MOT) ทฤษฎีการผลักกันของคู่อิเล็กตรอนวงเวเลนซ์ (valence shell electron pair repulsion theory; VSEPR) รวมถึงทฤษฎีควอนตัมสมัยใหม่ เป็นต้น.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและเวเลนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ

้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ คือ เส้นเวลาที่บอกถึงประวัติศาสตร์ของธรรมชาติตั้งแต่การเกิดบิกแบงจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและเส้นเวลาของประวัติศาสตร์ธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เห็ดเผาะ

ห็ดเผาะ หรือ เห็ดถอบ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Astraeus hygrometricus) เป็นเห็ดราชนิดหนึ่งในวงศ์ Diplocystaceae เมื่ออ่อนและดอกยังไม่เปิดมีลักษณะคล้ายเห็ดราในหมวด Basidiomycota กล่าวคือเป็นลูกกลม เมื่อโตขึ้นดอกเห็ดมีลักษณะเป็นรูปดาวซึ่งเป็นผลมาจากเนื้อเยื่อชันนอกของสปอโรคาร์ปแตกออก เห็ดเผาะเป็นเห็ดชนิดไมคอไรซาที่เติบโตร่วมกับต้นไม้หลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในดินร่วนปนทราย เห็ดเผาะมีการกระจายพันธุ์ทั่วโลกในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ชื่อสามัญ (hygroscopic earthstar) มาจากมันมีคุณสมบัติไฮโกรสโคปิก (ดูดซับน้ำ) เห็ดจะเปิดดอกวงนอกเผยถุงสปอร์เมื่อมีความชื้นเพิ่มขึ้นและปิดอีกครั้งเมื่อแห้ง ดอกวงนอกจะแตกแบบไม่สม่ำเสมอที่ผิว ขณะที่ถุงสปอร์เป็นสีน้ำตาลอ่อนมีรอยฉีกยาวบริเวณด้านบน เกลบา (gleba) เริ่มแรกมีสีขาวและกลายเป็นสีน้ำตาลและเป็นผงเมื่อสปอร์เจริญเต็มที่ สปอร์มีสีน้ำตาลแดง เกือบกลม มีปุ่มเล็กๆ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 7.5–11 ไมโครเมตร แม้ว่าจะมีลักษณะภายนอกคล้ายกัน แต่เห็ดเผาะไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเห็ดราในสกุล Geastrum ถึงในอดีตจะมีการจัดอนุกรมวิธานไว้ในสกุลนี้ก็ตาม เห็ดชนิดนี้ได้รับการจัดจำแนกครั้งแรกโดยคร้สติน เฮนดริก เพอร์ซูน (Christiaan Hendrik Persoon) ในปี..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและเห็ดเผาะ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนนิก แบรนด์

นนิก แบรนด์ (ด้านหน้า) ในภาพวาด ''The Alchemist in Search of the Philosopher's Stone'' โดยโจเซฟ ไรต์ เฮนนิก แบรนด์ (Hennig Brand; ประมาณ ค.ศ. 1630 – ประมาณ ค.ศ. 1692 หรือ ค.ศ. 1710) เป็นพ่อค้าและนักเล่นแร่แปรธาตุจากฮัมบูร์ก เยอรมนี เป็นผู้ค้นพบฟอสฟอรัส มีประวัติในวัยเด็กเกี่ยวกับเขาน้อยมาก แต่เมื่อโตขึ้น แบรนด์รับราชการทหารในสงครามสามสิบปี หลังสงคราม เขาทำงานเป็นช่างทำแก้ว ก่อนจะผันตัวมาเป็นนักเล่นแร่แปรธาตุ เพื่อค้นหาศิลานักปราชญ์เช่นเดียวกับคนอื่น ๆ จนถึงปี..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและเฮนนิก แบรนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เขนงนายพราน

นงนายพรานเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและเขนงนายพราน · ดูเพิ่มเติม »

เคมีอินทรีย์

มีอินทรีย์ (Organic chemistry) เป็นสาขาย่อยในวิชาเคมี ที่ว่าด้วยการศึกษาโครงสร้าง คุณสมบัติ องค์ประกอบ ปฏิกิริยา และการเตรียม (ด้วยการสังเคราะห์หรือด้วยวิธีการอื่น) สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นหลัก ไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ของพวกมันอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ สารประกอบเหล่านี้อาจมีธาตุอื่นอีกจำนวนหนึ่งด้วยก็ได้ เช่น ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน แฮโลเจน เช่นเดียวกับฟอสฟอรัส ซิลิกอนและซัลเฟอร์ สารประกอบอินทรีย์เป็นพื้นฐานกระบวนการของสิ่งมีชีวิตบนโลกแทบทั้งสิ้น (โดยมีข้อยกเว้นเล็กน้อยมาก) สารประกอบเหล่านี้มีโครงสร้างหลากหลายมาก ลักษณะการนำไปใช้ของสารประกอบอินทรีย์ก็มีมากมาย โดยเป็นได้ทั้งพื้นฐานของ หรือเป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น พลาสติก ยา สารที่ได้จากน้ำมันปิโตรเคมี อาหาร วัตถุระเบิด และสี.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและเคมีอินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เคมีอนินทรีย์

มีอนินทรีย์ (Inorganic chemistry) เป็นสาขาหนึ่งของวิชาเคมีว่าด้วยเรื่องคุญสมบัติและปฏิกิริยาเคมีของสารประกอบอนินทรีย์ หรืออาจจะกล่าวได้ว่าสารประกอบเคมีทุกชนิดยกเว้นสารประกอบเคมีที่มีโซ่และวงแหวนคาร์บอน แต่ก็มีสารบางกลุ่มที่เป็น ได้ทั้งอินทรีย์และอนินทรีย์เช่น ออร์แกนโนเมทัลลิกเคมี (organometallic chemistry).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและเคมีอนินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เคซีน

ซีน (Casein มาจากภาษาละตินว่า caseus ซึ่งแปลว่า ชีส) เป็นชื่อของกลุ่มฟอสโฟโปรตีน คือ αS1, αS2, β, κ โปรตีนเหล่านี้พบโดยทั่วไปในนมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งเป็นส่วนถึง 80% ของโปรตีนในนมวัว และประมาณ 20%-45% ของโปรตีนในนมมนุษย์ เคซีนใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างรวมทั้งเป็นส่วนประกอบหลักของชีส สารเติมแต่งอาหาร และตัวยึดในไม้ขีดไฟ โดยเป็นอาหาร เคซีนประกอบด้วยกรดอะมิโน คาร์โบไฮเดรต และสารอนินทรีย์สองอย่างคือแคลเซียมและฟอสฟอรั.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและเคซีน · ดูเพิ่มเติม »

เนยแข็ง

วิสชีส จะมีลักษณะเด่นคือมีรูกระจายตามเนื้อชีส เนยแข็งพร้อมเสิร์ฟ เนยแข็ง หรือ ชีส (cheese) คือ ผลิตภัณฑ์จากนมซึ่งสามารถผลิตได้จากนมวัวหรือแพะ เป็นต้น ที่ผ่านกระบวนการคัดแยกโปรตีน แล้วนำโปรตีนของนมมาทำการผสมเชื้อรา หรือแบคทีเรีย หรือสารอื่นๆ แตกต่างกันไปตามแต่ละประเภทของเนยแข็ง ซึ่งแตกต่างจากเนยที่ทำมาจากไขมันของนม เนยแข็งเป็นอาหารที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมายาวนาน โดยมีปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนที่สุดในคัมภีร์ไบเบิล กลุ่มนักรบทหารโรมันเป็นบุคคลผู้มีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ให้คนทั่วโลกได้รู้จักเนยแข็ง เพราะไม่ว่าจะยกทัพไปที่ใดก็มักจะนำเนยแข็งไปด้วยเสมอและมักจะแบ่งปันเนยแข็งที่มีให้กับคนท้องถิ่นนั้นๆ โบสถ์จัดว่าเป็นสถานที่เก็บรวบรวมข้อมูลความรู้เกี่ยวกับเนยแข็งที่เด่นชัดที่สุดในสมัยกลาง การจำหน่ายเนยแข็งเพื่อหารายได้เข้าโบสถ์ของบาทหลวงในศาสนาคริสต์ส่งผลให้เกิดเนยแข็งแบบดั้งเดิมที่มีเฉพาะในแต่ละท้องถิ่น และในเวลาต่อมาเนยแข็งท้องถิ่นนี้ได้ถูกพัฒนาปรับปรุงรสชาติให้มีความหลากหลาย จนในปัจจุบันมีเนยแข็งมากกว่า 3,000 ชนิด หลายคนมีความเข้าใจผิดว่าเนยแข็งและเนยเหลวเป็นอาหารประเภทไขมันเช่นเดียวกัน อันที่จริงแล้วเนยแข็งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโปรตีนในน้ำนมวัว ในขณะที่เนยเหลวเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากไขมันในน้ำนมวัว ดังนั้นเนยแข็งจึงจัดเป็นอาหารจำพวกโปรตีนเหมือนเนื้อสัตว์ และมีคุณค่าทางโภชนาการไม่แพ้น้ำนมวัว เนยแข็งให้สารอาหารจำพวก แคลเซียม โปรตีน ฟอสฟอรัส วิตามินบี 12 สังกะสี และไขมัน แต่ให้น้ำตาลแล็กโทสในปริมาณที่น้อยกว่าในน้ำนม ผู้ที่มีปัญหาในการดื่มนมจึงสามารถหันมารับประทานเนยแข็งแทนเป็นทางออกแทนได้.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและเนยแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 4: โรคของต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึม

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและICD-10 บทที่ 4: โรคของต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึม · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes rajah

Nepenthes rajah (มาจากภาษามลายู: rajah.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและNepenthes rajah · ดูเพิ่มเติม »

P

P (ตัวใหญ่: P ตัวเล็ก: p) เป็นอักษรละติyyน ลำดับที่ 16.

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและP · ดูเพิ่มเติม »

15

15 (สิบห้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 14 (สิบสี่) และอยู่ก่อนหน้า 16 (สิบหก).

ใหม่!!: ฟอสฟอรัสและ15 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Phosphorus

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »