สารบัญ
72 ความสัมพันธ์: ชาวมอญชาวไวกิงพ.ศ. 1729พ.ศ. 1781พ.ศ. 1782พ.ศ. 1792พ.ศ. 1793พ.ศ. 1794พ.ศ. 1795พ.ศ. 1796พ.ศ. 1797พ.ศ. 1798พ.ศ. 1799พ.ศ. 1800พ.ศ. 1801พ.ศ. 1802พ.ศ. 1803พ.ศ. 1804พ.ศ. 1805พ.ศ. 1806พ.ศ. 1807พ.ศ. 1808พ.ศ. 1809พ.ศ. 1810พ.ศ. 1811พ.ศ. 1812พ.ศ. 1813พ.ศ. 1814พ.ศ. 1815พ.ศ. 1816พ.ศ. 1817พ.ศ. 1818พ.ศ. 1819พ.ศ. 1820พ.ศ. 1822พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนีพระมหากษัตริย์ไทยพระมหาธรรมราชาที่ 1พระยางั่วนำถุมพระยาเลอไทยพระอินทร์ (แก้ความกำกวม)พิธีราชาภิเษกพ่อขุนบานเมืองพ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนศรีนาวนำถุมยุคมืดของกัมพูชาราชวงศ์พระร่วงรายชื่อสงครามในประเทศไทยรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่... ขยายดัชนี (22 มากกว่า) »
ชาวมอญ
มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และชาวมอญ
ชาวไวกิง
แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และชาวไวกิง
พ.ศ. 1729
ทธศักราช 1729 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1729
พ.ศ. 1781
ทธศักราช 1781 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1238.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1781
พ.ศ. 1782
ทธศักราช 1782 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1782
พ.ศ. 1792
ทธศักราช 1792 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1792
พ.ศ. 1793
ทธศักราช 1793 ใกล้เคียงกั..
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1793
พ.ศ. 1794
ทธศักราช 1794 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1794
พ.ศ. 1795
ทธศักราช 1795 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1795
พ.ศ. 1796
ทธศักราช 1796 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1796
พ.ศ. 1797
ทธศักราช 1797 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1797
พ.ศ. 1798
ทธศักราช 1798 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1798
พ.ศ. 1799
ทธศักราช 1799 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1799
พ.ศ. 1800
ทธศักราช 1800 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1800
พ.ศ. 1801
ทธศักราช 1801 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1801
พ.ศ. 1802
ทธศักราช 1802 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1802
พ.ศ. 1803
ทธศักราช 1803 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1803
พ.ศ. 1804
ทธศักราช 1804 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1804
พ.ศ. 1805
ทธศักราช 1805 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1805
พ.ศ. 1806
ทธศักราช 1806 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1806
พ.ศ. 1807
ทธศักราช 1807 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1807
พ.ศ. 1808
ทธศักราช 1808 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1808
พ.ศ. 1809
ทธศักราช 1809 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1809
พ.ศ. 1810
ทธศักราช 1810 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1810
พ.ศ. 1811
ทธศักราช 1811 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1811
พ.ศ. 1812
ทธศักราช 1812 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1812
พ.ศ. 1813
ทธศักราช 1813 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1813
พ.ศ. 1814
ทธศักราช 1814 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1814
พ.ศ. 1815
ทธศักราช 1815 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1815
พ.ศ. 1816
ทธศักราช 1816 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1816
พ.ศ. 1817
ทธศักราช 1817 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1817
พ.ศ. 1818
ทธศักราช 1818 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1818
พ.ศ. 1819
ทธศักราช 1819 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1819
พ.ศ. 1820
ทธศักราช 1820 ใกล้เคียงกั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1820
พ.ศ. 1822
ทธศักราช 1822 ตรงกับคริสต์ศักราช 1279 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ.ศ. 1822
พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี
ระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี หรือ หลวงพ่อสุโขสัมฤทธิ์ เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สำคัญคู่บ้านคู่เมืองอุตรดิตถ์ มีพุทธลักษณะปางมารวิชัย หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์บริสุทธิ์ หน้าตักกว้างศอกเศษ มีพุทธลักษณะงดงามตามแบบอย่างสกุลช่างสุโขทัย-เชียงแสน ซึ่งเป็นแบบที่พบได้น้อยมากและหายากที่สุด พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี เดิมองค์พระถูกพอกปูนลงรักปิดทองอารักขาภัยไว้ ตัวองค์พระสำริดดังปรากฏในปัจจุบันนั้นสันนิษฐานว่าสร้างในสมัยแรกก่อตั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 สกุลช่างเชียงแสนยุคปลายผสมสกุลช่างสุโขทัยยุคต้น หรือในช่วงยุครอยต่อการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย เป็นรัชสมัยระหว่างพ่อขุนศรีอินทราทิตย์กับพญาลิไท มีอายุประมาณ 7-800 ปี มีประวัติความเป็นมาและอภินิหารที่น่าสนใจยิ่ง หลวงพ่อสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี ประดิษฐานอยู่ที่ วัดคุ้งตะเภา หมู่บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมนั้นทางวัดไม่เปิดเผยสถานที่ประดิษฐาน และไม่ให้บุคคลทั่วไปเข้าสักการะได้ถึงองค์พระ เนื่องด้วยปัญหาด้านการรักษาความปลอดภัย โดยจะอัญเชิญหลวงพ่อสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนีออกให้ประชาชนทั่วไปนมัสการได้ถึงตัวองค์พระเพียงในช่วงเทศกาลสงกรานต์เท่านั้น ปัจจุบัน วัดคุ้งตะเภา ได้สร้างห้องตู้กระจกนิรภัย พร้อมทั้งติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยอิเล็กทรอนิกส์แล้ว จึงทำให้สามารถเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสักการะได้ทุกวัน โดยปัจจุบันหลวงพ่อสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนีประดิษฐานอยู่ที่หอพระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี บนอาคารศาลาการเปรียญเฉลิมพระเกียรติฯ วัดคุ้งต.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี
พระมหากษัตริย์ไทย
ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพระมหากษัตริย์ไทย
พระมหาธรรมราชาที่ 1
ระมหาธรรมราชาที่ 1 หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาราชาธิราช, พระบาทกมรเตงอัญฦๅไทยราช, พระยาลือไทย หรือ พระยาลิไทย (ครองราชย์ พ.ศ.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพระมหาธรรมราชาที่ 1
พระยางั่วนำถุม
ระยางั่วนำถุม เป็นพระมหากษัตริย์สุโขทัยลำดับที่ 5 (พ.ศ. 1866 - พ.ศ. 1890) เป็นพระราชโอรสพ่อขุนบานเมือง สันนิษฐานกันว่าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์คงอภิเษกสมรสกับพระธิดาของพ่อขุนศรีนาวนำถุม เหตุที่สันนิษฐานเช่นนั้นเนื่องจากเป็นธรรมเนียมของคนสมัยนั้น ที่นิยมเอาชื่อบรรพบุรุษมาตั้งเป็นชื่อหลาน พระยางั่วนำถุมเป็นกษัตริย์ครองเมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัยมาก่อนตามจารึกหลักที่ 15 แต่ขึ้นเป็นกษัตริย์ต่อจากพระยาเลอไทยซึ่งเป็นพระบิดาของพระยาลิไทยกษัตริย์ลำดับที่ 6 เรื่องราวของพระยางั่วนำถุมยังคลุมเครือเนื่องจากมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไม่มาก.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพระยางั่วนำถุม
พระยาเลอไทย
ระยาเลอไทย เป็นพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ระหว่างปี..
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพระยาเลอไทย
พระอินทร์ (แก้ความกำกวม)
ระอินทร์ อาจหมายถึง.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพระอินทร์ (แก้ความกำกวม)
พิธีราชาภิเษก
น ดาร์ก'' (''Jeanne d'Arc'') พ.ศ. 2429-2433 โดยฌูลส์ เออแฌน เลอเนิปเวอ พิธีราชาภิเษก (coronation) เป็นเป็นพิธีการเพื่อสถาปนาพระมหากษัตริย์ และ/หรือ คู่อภิเษกซึ่งมีพระราชอำนาจ อย่างเป็นทางการ เกี่ยวข้องกับการวางมงกุฎบนพระเศียรของพระองค์หรือการนำเสนอเครื่องราชกกุธภัณฑ์รายการอื่น โดยพิธีการนี้อาจหมายรวมถึง การตรัสคำปฏิญาณพิเศษโดยกษัตริย์ การแสดงคารวะจากคนในบังคับ ของผู้ปกครองใหม่ และการแสดงพิธีกรรมอื่น ซึ่งมีความสำคัญพิเศษต่อชาตินั้น.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพิธีราชาภิเษก
พ่อขุนบานเมือง
อขุนบานเมือง หรือ ขุนปาลราช เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพระนางเสือง และเป็นสมเด็จพระเชษฐาธิราชในพ่อขุนรามคำแหงมหาราช เสวยราชสมบัติในอาณาจักรสุโขทัยหลังจากพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เสด็จสวรรคต (1821) และครองราชย์อยู่จนถึง..
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ่อขุนบานเมือง
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
อขุนรามคำแหงมหาราช หรือ พญาร่วง หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย เสวยราชย์ประมาณ พ.ศ.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนศรีนาวนำถุม
อขุนศรีนาวนำถุม หรือ พ่อขุนศรีนาวนำถม แรกปรากฏพระนามตามศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 ว่าเป็น พ่อขุนผู้รวบรวมบ้านเมืองในลุ่มแม่น้ำยม-น่าน และสถาปนาแคว้นสุโขทัย-ศรีสัชนาลัยขึ้นเป็นปึกแผ่น มีการตีความว่า อาจมีความเป็นไปได้ว่าสุโขทัยเริ่มมีการแยกตัวเป็นอิสระ จากอิทธิพลขอม-ละโว้ในรัชสมัยของพ่อขุนศรีนาวนำถุมนี้ อย่างไรก็ตามผู้ปกครองสุโขทัยต่อมา คือ ขอมสบาดโขลญลำพง อาจนำแคว้นสุโขทัยกลับเข้าอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอม-ละโว้ อีกครั้งหนึ่ง จนกระทั่ง พ่อขุนผาเมือง ร่วมกับ พ่อขุนบางกลางหาว ร่วมกันทำสงครามได้ชัยชนะเหนือขอมสบาดโขลญลำพง จนสามารถนำแคว้นสุโขทัยออกจากอิทธิพลของขอม-ละโว้ อีกครั้ง หลักฐานตามศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 (จารึกวัดศรีชุม) ปรากฏเชื้อสายของราชวงศ์ของพ่อขุนศรีนาวนำถุมคือ.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพ่อขุนศรีนาวนำถุม
ยุคมืดของกัมพูชา
มืดของกัมพูชา เริ่มขึ้นหลังจากอาณาจักรเขมรเริ่มอ่อนแอลง ประเทศราชประกาศตัวเป็นอิสระ เกิดความวุ่นวายในราชอาณาจักร จนในที่สุดการล่มสลายของอาณาจักรเขมร.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และยุคมืดของกัมพูชา
ราชวงศ์พระร่วง
ราชวงศ์พระร่วง เป็นราชวงศ์แรกและราชวงศ์เดียวที่ปกครองอาณาจักรสุโขทัย หลักฐานจารึกปู่สบถหลานระหว่างกษัตริย์สุโขทัยและน่าน แล้วมีการลำดับพระนามพระมหากษัตริย์ของราชวงศ์สุโขทัยตั้งแต่บรรพบุรุษ ส่วนหลักฐานทางประวัติศาสตร์มักพบว่าผู้คนภายในเขตสุโขทัย หรือบ้านเมืองแว่นแคว้นอื่นมักเรียกพระมหากษัตริย์ของสุโขทัยในนามว่า "พระร่วง" ซึ่งเป็นนามที่รู้จักไปอย่างกว้างขวางของคนกลุ่มไทยในสมัยโบราณ เชื้อสายของราชวงศ์พระร่วงนี้สืบทอดมายาวนานในการปกครองสมัยสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง มีการสานสายสัมพันธ์กับราชวงศ์อู่ทองแห่งอาณาจักรละโว้ และราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชแห่งอาณาจักรตามพรลิงก์ มาถึงสมัยอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิรวมถึงราชวงศ์สุโขทัยแห่งอาณาจักรอยุธยา ยังปรากฏอยู่ผ่านความสัมพันธ์ทางเครือญาติระหว่างอาณาจักร สัญลักษณ์หรืออนุสรณ์อันศักดิ์สิทธิ์ของราชวงศ์พระร่วงที่สืบทอดมาถึงปัจจุบัน คือ รูปพระร่วงพระลือ ในซุ้มพระร่วงพระลือที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตามความเชื่อของคนรุ่นเก่าแก่ในจังหวัดสุโขทัย ระบุว่า ที่นี่คือนิวาสถานดั้งเดิม หรือต้นกำเนิดของราชวงศ์พระร่วง.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และราชวงศ์พระร่วง
รายชื่อสงครามในประเทศไทย
รายชื่อสงครามในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และรายชื่อสงครามในประเทศไทย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่
รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่ นับตั้งแต่ พ่อขุนหลวงพล พระราชนัดดาในพระมหากษัตริย์แห่งน่านเจ้าทรงก่อตั้งนครรัฐแพร.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และรายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่
วรรณกรรมไทย
วรรณคดีไทย คือ วรรณกรรมทุกประเภทไม่ว่าในลักษณะร้อยแก้ว หรือร้อยกรองที่ประพันธ์ขึ้นเป็นภาษาไทย โดยมีเอกลักษณ์ของการใช้ภาษาแบบไทย เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของการประดิษฐ์สร้างสรรค์วรรณคดี และเป็นสาเหตุประการสำคัญที่ทำให้ลักษณะวรรณคดีของชาติในแต่ละยุคแตกต่างกัน วรรณคดีไทยที่ปรากฎขึ้นในสมัยสุโขทัยเมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 มีลักษณะที่สอดคล้องกับเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นตอนที่ชาวไทย หรือชาวสยาม ได้เริ่มพัฒนาภาษาของตนขึ้นอย่างมีเอกลักษณ์ แตกต่างไปจากภาษาของชนที่พูดภาษาไท-กะไดเผ่าอื่น โดยเริ่มมีหลักฐานปรากฎชัดราวสมัยที่กรุงสุโขทัยเป็นราชธานี และเริ่มการปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์พระร่วง คนไทยกำลังแสวงหาลักษณะเฉพาะของชาติ วรรณคดีสุโขทัยก็ได้สะท้อนความจริงนี้ และได้บันทึกถึงสิ่งใหม่ ๆ ที่เป็นต้นเค้าของลักษณะไทย เช่น การบันทึกในศิลาจารึกเรื่องการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย โดยพระเจ้ารามคำแหงมหาราช กษัตริย์องค์ที่สาม เมื่อ..
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และวรรณกรรมไทย
วิลเลียม วอลเลซ
ซอร์ วิลเลียม วอลเลซ (William Wallace; Uilleam Uallas; Norman French: William le Waleys) (ประมาณ พ.ศ. 1813 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 1848) เป็นอัศวินและผู้รักชาติชาวสก็อต ผู้นำการต่อต้านการครอบครองสกอตแลนด์โดยอังกฤษระหว่างสงครามอิสรภาพของสกอตแลนด์ เซอร์ วิลเลียม วอลเลซได้รับการยกย่องเป็นวีรบุรุษในประวัติศาสตร์ของสก็อตแลนด์ เซอร์ วิลเลียม วอลเลซ เป็นแรงดลใจในงานกวีนิพนธ์ชื่อ "The Acts and Deeds of Sir William Wallace, Knight of Elderslie" โดยนักดนตรีเร่รอนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ชื่อ "แฮรี่ผู้ตาบอด" (Blind Harry) ซึ่งภาพยนตร์ฮอลลีวูดเรื่อง Braveheart..
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และวิลเลียม วอลเลซ
สถาปัตยกรรมไทย
ระตำหนักทับขวัญ ใน พระราชวังสนามจันทร์ มีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบเรือนไทยภาคกลาง สถาปัตยกรรมไทย หมายถึงศิลปะการก่อสร้างของไทย อันได้แก่ อาคาร บ้านเรือน โบสถ์ วิหาร วัง สถูป และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ มีลักษณะแตกต่างกันไปตามภูมิศาสตร์ และคตินิยม สถาปัตยกรรมไทย มีมานานตั้งแต่ที่คนไทยเริ่มตั้งถิ่นฐาน เป็นเวลาร่วม 4000 ปี บรรพบุรุษไทยได้พัฒนาและปรับปรุงรูปแบบสถาปัตยกรรมอันเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศ โดยเพิ่มเติมใส่เอกลักษณ์ความเป็นไทยเข้าไป ซึ่งนับเป็นการแสดงออกความสามารถของบรรพบุรุษไทย สามารถแบ่งยุคได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ สถาปัตยกรรมไทยสมัยประวัติศาสตร์ และ สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และสถาปัตยกรรมไทย
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง
นที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง
อาณาจักรสุโขทัย
อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และอาณาจักรสุโขทัย
อำเภอชาติตระการ
อำเภอชาติตระการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และอำเภอชาติตระการ
อำเภอสวรรคโลก
อำเภอสวรรคโลก เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดสุโขทั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และอำเภอสวรรคโลก
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันศักดิ์สิทธิ์ จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Federico II del Sacro Romano Impero; Friedrich II 26 ธันวาคม พ.ศ.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จังหวัดตาก
นมิตรภาพ ไทย-พม่า (แม่สอด-เมียวดี) ทอดข้ามแม่น้ำเมย จังหวัดตาก (30px) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกหรือบางแห่งจัดอยู่ในภาคเหนือตอนล่างของไทย มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดชายแดนที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของไทย มีประวัติศาสตร์เก่าแก่นับแต่สมัยกรุงสุโขทัย ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่งดงามหลายแห่งด้วย นอกจากนี้จังหวัดตากยังเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อจังหวัดอื่น ๆ ถึง 9 จังหวั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และจังหวัดตาก
จังหวัดนครสวรรค์
ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และจังหวัดนครสวรรค์
จังหวัดเลย
ังหวัดเลย เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย ตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 540 กิโลเมตร มีสภาพภูมิประเทศที่งดงาม อากาศหนาวเย็น เป็นแหล่งเพาะปลูกไม้ดอกไม้ประดับที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญอีกด้ว.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และจังหวัดเลย
จารึกวัดศรีชุม
ำเนาจารึกวัดศรีชุม วัดศรีชุม สุโขทัย จารึกวัดศรีชุม หรือ ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๒ เป็นศิลาจารึกภาษาไทยสมัยสุโขทัยที่สำคัญ ที่เล่าเรื่องราวการสถาปนากรุงสุโขทัย และ วีรกรรมของกษัตริย์ราชวงศ์นำถุม โดยสันนิษฐานว่าผู้สร้างศิลาจารึกหลักนี้คือ พระมหาเถรศรีศรัทธา ผู้เป็นเชื้อสายของ พ่อขุนศรีนาวนำถุม ผู้สถาปนาแคว้นสุโขทัย-ศรีสัชนาลั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และจารึกวัดศรีชุม
ทอมัส อไควนัส
นักบุญทอมัส อไควนัส (Thomas Aquinas (ค.ศ. 1225-1274) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกสังกัดคณะดอมินิกัน เกิดในตระกูลขุนนางชาวอิตาลี สนใจศึกษาสิ่งต่าง ๆ อย่างละเอียดลึกซึ้ง อไควนัสได้พัฒนาแนวความคิดของเขาโดยได้รับอิทธิพลจากอาริสโตเติล ในขณะที่นักคิดคนอื่นมีความเห็นตรงกันข้าม อควีนาสได้ดำเนินการศึกษา สรุปผลที่เป็นแบบตรรกศาสตร์ที่สมบูรณ์ โดยไม่มีข้อสงสัยหรือข้อขัดแย้ง ตามแนวความคิดของอไควนัส ระเบียบวิธีดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่ออควีนาสเริ่มหันมาสนใจศึกษาค้นคว้าแนวความคิดของอาริสโตเติล และได้มีอิทธิพลตลอดชีวิตการทำงานของอไควนัส จุดมุ่งหมายอีกประการหนึ่งของอไควนัสคือ การผสมผสานเทววิทยาศาสนาคริสต์ให้เข้ากับตรรกศาสตร์ของอาริสโตเติล ในที่สุดแนวความคิดของอาริสโตเติลก็กลับมามีชื่อเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง นักคิดชาวตะวันตกก็เริ่มหันมาศึกษางานของอริสโตเติลกันมากขึ้น มีผู้กล่าวว่าอาริสโตเติลเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์ที่มีความรอบรู้ พระเจ้าพึงพอใจยอมอนุญาตให้เป็นผู้สรุปความรู้ทุกสาขาวิชา เท่ากับยอมรับว่าอาริสโตเติลเป็นเหมือนคัมภีร์อันศักดิ์สิทธิ์ เป็นนักบวชของศาสนา เป็นตัวบทกฎหมาย และเป็นนักวินัยทางศาสนา เปรียบเสมือนเป็นผู้ที่มีอำนาจหน้าที่กำหนดความสัมพันธ์ของมนุษย์ กำหนดความรู้ทุกสาขาวิชา งานเขียนของอไควนัส ในระยะนี้พยายามอธิบายสังคมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนา และพระผู้เป็นเจ้า อไควนัสพยายามกำหนดความสำคัญและหน้าที่ใหม่ของศาสนาที่มีต่อสังคม โดยให้ศาสนายังคงมีอำนาจทางธรรมตามคำสอนของศาสนา อไควนัสก็เหมือนกับนักปราชญ์คนอื่น คือมีความเชื่อว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคมมีจุดมุ่งหมายเพื่อดำรงชีวิตอยู่ในสังคม มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่มีความสามารถกำหนดควบคุมการกระทำของตนเองได้ด้วยสติปัญญา มนุษย์จะตกอยู่ในอันตราย ถ้าไม่ยอมรับระบบสังคม อไควนัสจึงเน้นเอกภาพในสังคมมนุษย์ที่มีพลังอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเอกภาพทางการเมืองเป็นสิ่งสำคัญ จุดมุ่งหมายก็เพื่อให้สังคมมีเอกภาพอย่างสันติไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้น วิธีการดังกล่าวเปรียบเสมือนมนุษย์ได้รับการอบรมทางจิต จิตที่อบรมแล้ว จะสั่งการให้ร่างกายกระทำสิ่งต่าง ๆ ตามหน้าที่ในสังคม ดังนั้น การปกครองโดยรัฐบาลที่มีผู้นำเพียงคนเดียวจึงเป็นวิธีการที่ดีที่สุด กษัตริย์อันเป็นราชาแห่งปราชญ์คนเดียวจะปกครองประชาชนอย่างยุติธรรม โครงสร้างทางสังคมก็เหมือนกับธรรมชาติที่พระเจ้าปกครอง คนในสังคมจะทำหน้าที่ได้ดีที่สุด ถ้าสัมคมมีเอกภาพโดยมีผู้นำเพียงคนเดียว.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และทอมัส อไควนัส
ขอมสบาดโขลญลำพง
อมสบาดโขลญลำพง ตามเรื่องราวในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 กล่าวว่าเป็นนายทหารขอมที่ได้นำกำลังเข้ายึดเมืองสุโขทัย ภายหลังพ่อขุนศรีนาวนำถุมสิ้นพระชนม์ โดยระยะเวลาการได้อำนาจการปกครองเมืองสุโขทัยของขอมสบาดโขลญลำพงยังไม่เป็นที่ชัดเจนในปัจจุบัน อาจเป็นไปได้ว่าขอมสบาดโขลญลำพงมีความสัมพันธ์เป็นเครือญาติของตระกูลพ่อขุนศรีนาวนำถม แต่ยอมรับอำนาจอิทธิพลขอม-ละโว้ จนกระทั่งถูกพ่อขุนบางกลางหาว เจ้าเมืองบางยางและพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด ซึ่งเป็นสหายสนิทกันและมีสายสัมพันธ์ทางเครือญาติได้ร่วมกันยึดอำนาจการปกครองดินแดนสุโขทัยได้ในที่สุด ต่อมาพ่อขุนผาเมืองได้นำกองทัพออกจากสุโขทัย เพื่อให้พ่อขุนบางกลางหาวได้ขึ้นครองราชเป็นกษัตริย์สุโขทัยและเฉลิมพระนามเป็น "ศรีอินทรบดินทราทิตย์" ให้เป็นเกียรติแก่พ่อขุนบางกลางหาว พร้อมทั้งพระแสงขรรค์ชัยศรี แต่สุดท้ายพ่อขุนบางกลางหาวทรงใช้พระนามว่า "พ่อขุนศรีอินทราทิตย์" ซึ่งเป็นต้นราชวงศ์พระร่วงแห่งกรุงสุโขทัย ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ ได้ให้ความหมายของคำว่า "ขอมสบาด" แปลว่าเขมรดง ส่วน "โขลญลำพง" คือคำสำหรับเรียกคนทำงานประจำเทวสถานหรือวัดวาอาราม นอกจากนี้เรื่องราวเกี่ยวกับขอมสบาดโขลญลำพงยังคงเป็นที่คลุมเครือเนื่องจากมีการกล่าวถึงชื่อนี้เฉพาะในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 เป็นหลักฐานอ้างอิงเพียงชิ้นเดียว (รวมทั้งชื่อของพ่อขุนศรีนาวนำถมและพ่อขุนผาเมืองด้วย).
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และขอมสบาดโขลญลำพง
คริสต์ทศวรรษ 1230
..
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และคริสต์ทศวรรษ 1230
คริสต์ทศวรรษ 1240
..
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และคริสต์ทศวรรษ 1240
ประวัติศาสตร์ไทย
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี ตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมร และมลายูปกครองมาก่อน ต่อมา คนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น อาณาจักรสุโขทัย ไล่เลี่ยกันกับอาณาจักรล้านนา อาณาจักรเชียงแสน และอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ 200 ปี ก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่ง เป็นศูนย์กลางการค้าระดับนานาชาติ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครอง ซึ่งบางส่วนใช้สืบมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังทรงตราพระราชกำหนดศักดินา ทำให้อยุธยาเป็นสังคมศักดินา อยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตกเมื่อ..
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และประวัติศาสตร์ไทย
นางเสือง
ทวรูปพระแม่ย่า ที่แท้จริงแล้วเป็นเทวรูปของพระนารายณ์ นางเสือง เป็นพระอัครมเหสีในพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ และเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์อีกสองพระองค์คือ พ่อขุนบานเมืองและพ่อขุนรามคำแหง แต่อย่างไรก็ตามก็ยังมีความกังขาเกี่ยวกับตัวตนของพระนางว่ามีจริงหรือเป็นเพียงเรื่องที่แต่งขึ้นในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และนางเสือง
นครรัฐแพร่
นครรัฐแพร่ หรือ นครแพร่ เป็นนครรัฐอิสระขนาดเล็กในอดีตรัฐหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม เดิมเรียกว่า “เมืองพล” นครพล, หรือพลนคร, “เวียงโกศัย” หรือโกศัยนคร, “เมืองแพล” มีชื่อเต็มว่า โกเสยุยธชุชพลวิชยแพร่แก้วเมืองมุร จนกระทั่ง..
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และนครรัฐแพร่
เมืองบางขลัง
มืองบางขลัง เคยเป็นเมืองที่รุ่งเรืองในสมัยทวารวดี ปัจจุบันเป็นตำบลหนึ่งของ อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทั.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และเมืองบางขลัง
เส้นเวลาของยุคกลาง
้นเวลาของประวัติศาสตร์ยุคกลาง คือ เส้นเวลาที่บอกถึงการใช้ชีวิตของมนุษย์ในยุคประวัติศาสตร์ตอนกลาง ซึ่งเส้นเวลานี้ต่อจากเส้นเวลาของประวัติศาสตร์โบราณ.
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และเส้นเวลาของยุคกลาง
เจงกีส ข่าน
งกีส ข่าน (Чингис Хаан, Chinggis Khaan, Činggis Qaɣan; หรือ,; Genghis Khan; พ.ศ. 1705 หรือ 1708 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 1770) เจงกีส แปลว่า “เวิ้งสมุทร, มหาสมุทร” (ซึ่งเปรียบได้ว่า เจงกีส ข่าน มีความยิ่งใหญ่ ดั่งเวิ้งมหาสมุทรนั่นเอง) จักรพรรดินักรบชาวมองโกลผู้พิชิต ผู้ก่อตั้งจักรวรรดิมองโกล เดิมมีนามว่า เตมูจิน (Temüjin) ตามสถานที่เกิดริมฝั่งแม่น้ำโอนอน เป็นผู้นำครอบครัวแทนบิดาเมื่ออายุเพียง 13 ปี และต้องดิ้นรนต่อสู้ขับเคี่ยวกับชนเผ่าต่าง ๆ ที่เป็นอริอยู่หลายปี ปราบเผ่า “ไนแมน” ทางด้านตะวันตก พิชิตชนชาติ “ตันกุต” (เซี่ยตะวันตก) และยอมรับการจำนนของชาว “อุยกูร์” ในปี..
ดู พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และเจงกีส ข่าน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ กำมรเตงอัญศรีอินทรบดินทราทิตย์ศรีอินทราทิตย์พ่อขุนบางกลางหาวพ่อขุนบางกลางท่าว