โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พื้นที่

ดัชนี พื้นที่

ื้นที่โดยรวมของรูปร่างทั้งสามรูปเท่ากับประมาณ 15.56 ตารางหน่วย พื้นที่ คือ ปริมาณของพื้นผิวหรือรูปร่างสองมิติ ที่แสดงถึงขอบเขตเนื้อที่ในแนวแผ่นระนาบ พื้นที่สามารถเข้าใจได้ว่าเป็นจำนวนวัสดุที่หนาขนาดหนึ่งเท่าที่จำเป็นที่จะประกอบขึ้นเป็นรูปร่าง หรือปริมาณสีทาเท่าที่จำเป็นที่จะทาผิวหน้าในครั้งเดียว พื้นที่เป็นมโนทัศน์ในสองมิติที่คล้ายคลึงกับความยาวของเส้นโค้งในหนึ่งมิติ หรือปริมาตรของทรงตันในสามมิติ พื้นที่ของรูปร่างสามารถวัดได้โดยการเปรียบเทียบกับรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดตายตัวขนาดหนึ่ง หน่วยมาตรฐานของพื้นที่ในหน่วยเอสไอคือ ตารางเมตร (m2) ซึ่งเป็นพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านยาวด้านละหนึ่งเมตร Bureau International des Poids et Mesures, retrieved 15 July 2012 รูปร่างที่มีพื้นที่เท่ากับสามตารางเมตร จะเหมือนกับพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเช่นนั้นสามรูป ในทางคณิตศาสตร์ หน่วยตารางหน่วยถูกนิยามขึ้นให้มีพื้นที่เท่ากับ "หนึ่ง" และพื้นที่ของรูปร่างหรือพื้นผิวอื่น ๆ ก็จะเป็นจำนวนจริงไร้มิติจำนวนหนึ่ง สูตรคำนวณหาพื้นที่ของรูปร่างพื้นฐานหลายสูตรเป็นที่รู้จักโดยทั่วไป เช่น รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปวงกลม เป็นต้น จากการใช้สูตรเหล่านี้ พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมใด ๆ สามารถหาได้จากการแบ่งรูปหลายเหลี่ยมเป็นรูปสามเหลี่ยม ส่วนรูปร่างที่มีขอบเขตเป็นเส้นโค้งมักจะคำนวณพื้นที่ได้ด้วยแคลคูลัส (calculus) สำหรับรูปร่างทรงตันอย่างเช่นทรงกลม ทรงกรวย หรือทรงกระบอก พื้นที่บนผิวรอบนอกของรูปทรงเหล่านี้เรียกว่า พื้นที่ผิว สูตรคำนวณพื้นที่ผิวของรูปทรงพื้นฐานต่าง ๆ สามารถหาได้ตั้งแต่ยุคกรีกโบราณ แต่การหาพื้นที่ผิวของรูปทรงที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นต้องใช้แคลคูลัสหลายตัวแปร (multivariable calculus).

79 ความสัมพันธ์: Aบริสเบนช่องรูปกลมช่องไขสันหลังที่เอวตีบพลศาสตร์ของไหลพาย (ค่าคงตัว)พื้นที่พาคมตีการยกกำลังการขับเคลื่อนแบบอัลคับเบียร์การคูณการแสดงแผนที่การเดินทางข้ามเวลาภูมิศาสตร์มิติสัมพันธ์ระบบรู้กลิ่นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ระเบียบวิธีเกษียณราชวงศ์โมริยะรายชื่อประเทศที่เป็นเกาะรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปหลายเหลี่ยมวาสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนหูชั้นกลางหูชั้นในหน่วยที่ยอมรับให้ใช้แก่ระบบเอสไออันดับของขนาด (พื้นที่)อาราราอาร์ (หน่วยพื้นที่)อาเรซีโบอโรคา ปาร์ตี้ผลคูณไขว้จุด (เรขาคณิต)จุดภาพชัดเสื่อมทรงรีทวีปยุโรปทวีปอเมริกาใต้ทุติยเพ็ญของไหลขนาด (คณิตศาสตร์)ดาร์วิน (เมือง)ดีเทอร์มิแนนต์ความยาวความถี่เชิงพื้นที่ความดันคารามัยงาน (หน่วยวัดพื้นที่)ตัวรับรู้สารเคมี...ตัวรับแรงกลตารางกิโลเมตรตารางวาตารางไมล์ตารางเมตรตารางเซนติเมตรตำบลปากหมากปฏิยานุพันธ์ปริพันธ์ปริมาตรปลายรัฟฟินีนิวอิงแลนด์นิวเดลีแรงตึงผิวแคลคูลัสแคนทอนแคนเบอร์ราโดเนตสค์ไร่เมกะเวลาเส้นมัธยฐานเส้นรอบรูปเอเคอร์เอเคอร์ (แก้ความกำกวม)เฮกตาร์เดอะจีโอเมเตอส์สเกตช์แพดเซกเมนต์วงกลมเซกเตอร์วงกลม ขยายดัชนี (29 มากกว่า) »

A

A (ตัวใหญ่: A, ตัวเล็ก: a) คืออักษรและสระตัวแรกในอักษรละติน มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า เอ ในขณะที่หลายภาษาเช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี เรียกตามชื่อเดิมของอักษรนี้คือ อา รูปพหูพจน์เขียนเป็น A's, As, as, หรือ a's อักษร A มีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณโดยมีหลักฐานในอักษรภาพไฮโรกลิฟฟิก และมีการหยิบยืมไปใช้โดยวัฒนธรรมอื่นจนกระทั่งปัจจุบัน โดยยังคงไว้ซึ่งจุดเด่นนั่นคือ A เป็นตัวอักษรแรกของชุดตัวอักษรในภาษาเสมอ ใช้แทนเสียงสระ อา เอ หรือ แอ ที่ประกอบกับเสียงพยัญชนะ หรือใช้แทนเสียงสระอย่างเดียวก็ได้ นอกจากนั้นอักษร A ก็มีการเติมเครื่องหมายและถูกดัดแปลงไปหลายรูปแบบเพื่อการนำไปใช้เป็นอักขรวิธีในภาษาหนึ่ง.

ใหม่!!: พื้นที่และA · ดูเพิ่มเติม »

บริสเบน

ริสเบน (Brisbane) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดของรัฐควีนส์แลนด์ประเทศออสเตรเลีย อีกทั้งเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่อันดับที่ 3 ของประเทศออสเตรเลีย มีจำนวนประชากรเกือบ 2.2 ล้านคน โดยถ้ารวมทั้งรัฐควีนสแลนด์แล้วจะมีมากกว่า 4.5 ล้านคน บริสเบนเป็นเมืองที่อยู่ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก และมีแม่น้ำบริสเบน (Brisbane River) ไหลผ่านบนที่ราบระหว่างมอร์ทันเบย์ (Moreton Bay) กับเทือกเขาเกรตดิไวดิง (Great Dividing Range) ส่วนชื่อเมืองตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์โทมัส บริสเบน (Sir Thomas Brisbane).

ใหม่!!: พื้นที่และบริสเบน · ดูเพิ่มเติม »

ช่องรูปกลม

องรูปกลม (Round window) เป็นช่องหนึ่งในสองช่องจากหูชั้นกลางเข้าไปยังหูชั้นใน ปิดโดยเยื่อที่เรียกว่า secondary tympanic membrane หรือ round window membrane ซึ่งสั่นตามเฟสตรงกันข้ามของแรงสั่นที่เข้ามาในหูชั้นในผ่านช่องรูปไข่ (oval window) ซึ่งช่วยให้น้ำในคอเคลียสามารถเคลื่อนได้ แล้วทำให้เซลล์ขนบนเยื่อกั้นหูชั้นใน (basilar membrane) ได้รับแรงเร้าและทำให้ได้ยินได้.

ใหม่!!: พื้นที่และช่องรูปกลม · ดูเพิ่มเติม »

ช่องไขสันหลังที่เอวตีบ

องไขสันหลังที่เอวตีบ (Lumbar spinal stenosis ตัวย่อ LSS) เป็นอาการทางการแพทย์ที่ช่องไขสันหลังแคบลงแล้วกดอัดไขสันหลังและเส้นประสาทที่กระดูกสันหลังระดับเอว (lumbar vertebra) โดยมักมีเหตุจากสันหลังเสื่อมที่สามัญเมื่ออายุมากขึ้น หรือจากหมอนกระดูกสันหลังเคลื่อน จากภาวะกระดูกพรุน หรือจากเนื้องอก อาการที่คอ (cervical) หรือที่เอว (lumbar) ก็อาจจะเป็นภาวะแต่กำเนิดด้วย อนึ่ง เป็นอาการสามัญสำหรับคนไข้ที่มีการเติบโตทางโครงกระดูกผิดปกติเช่น กระดูกอ่อนไม่เจริญเทียม (pseudoachondroplasia) และกระดูกอ่อนไม่เจริญ (achondroplasia) ตั้งแต่อายุน้อย ๆ การตีบอาจจะอยู่ที่คอ (cervical) หรืออก (thoracic) ซึ่งก็จะเรียกว่า ช่องไขสันหลังที่คอตีบ (cervical spinal stenosis) หรือ ช่องไขสันหลังที่อกตีบ (thoracic spinal stenosis) ในบางกรณี คนไข้อาจจะมีการตีบทั้ง 3 บริเวณ ช่องไขสันหลังที่เอวตีบทำให้ปวดหลัง รวมทั้งปวดหรือรู้สึกผิดปกติที่บั้นท้าย ต้นขา ขา หรือเท้า หรือทำให้ไม่สามารถควบคุมการปัสสาวะอุจจาระได้.

ใหม่!!: พื้นที่และช่องไขสันหลังที่เอวตีบ · ดูเพิ่มเติม »

พลศาสตร์ของไหล

ลศาสตร์ของไหล(Fluid dynamics) เป็นสาขาวิชาการย่อยของกลศาสตร์ของไหล ที่ศึกษาการเคลื่อนที่ของของไหล ซึ่งหมายรวมถึงของเหลวและแก๊ส โดยพลศาสตร์ของไหลยังแบ่งแยกย่อยออกเป็นหลายสาขาวิชา เช่น อากาศพลศาสตร์ ที่ศึกษาการเคลื่อนที่ของอากาศ และพลศาสตร์ของเหลวที่ศึกษาการเคลื่อนที่ของของเหลว เราใช้พลศาสตร์ของไหลในหลายวิธี เช่นในการคำนวณแรงและโมเมนต์บนอากาศยาน ในการหาอัตราการไหลของมวลของปิโตรเลียมผ่านท่อ คาดคะเนแบบรูปของสภาพอากาศ ทำความเข้าใจเนบิวลาและสสารระหว่างดาว ตลอดจนงานคอมพิวเตอร์กราฟิก.

ใหม่!!: พื้นที่และพลศาสตร์ของไหล · ดูเพิ่มเติม »

พาย (ค่าคงตัว)

ัญลักษณ์ของพาย พาย หรือ ไพ (อักษรกรีก) เป็นค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ ที่เกิดจากความยาวเส้นรอบวงหารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม ค่า π มักใช้ในคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์ และวิศวกรรม π เป็นอักษรกรีกที่ตรงกับตัว "p" ในอักษรละติน มีชื่อว่า "pi" (อ่านว่า พาย ในภาษาอังกฤษ แต่อ่านว่า พี ในภาษากรีก) บางครั้งเรียกว่า ค่าคงตัวของอาร์คิมิดีส (Archimedes' Constant) หรือจำนวนของลูดอล์ฟ (Ludolphine number หรือ Ludolph's Constant) ในเรขาคณิตแบบยุคลิด π มีนิยามว่าเป็นอัตราส่วนของเส้นรอบวงหารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม หรือเป็นอัตราส่วนของพื้นที่วงกลม หารด้วย รัศมียกกำลังกำลังสอง ในคณิตศาสตร์ชั้นสูงจะนิยาม π โดยใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เช่น π คือจำนวนบวก x ที่น้อยสุดที่ทำให้ sin (x).

ใหม่!!: พื้นที่และพาย (ค่าคงตัว) · ดูเพิ่มเติม »

พื้นที่พาคมตี

ื้นที่พาคมตี (बागमती) เป็นพื้นที่การปกครองของประเทศเนปาล ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของประเทศแถบหุบเขากาฐมาณฑุ มีประชากรตั้งถิ่นฐานกว่า 1.5 ล้านคน โดยชื่อพื้นที่ดังกล่าวตั้งตามชื่อแม่น้ำพาคมตีที่ไหลผ่าน.

ใหม่!!: พื้นที่และพื้นที่พาคมตี · ดูเพิ่มเติม »

การยกกำลัง

้าx+1ส่วนx.

ใหม่!!: พื้นที่และการยกกำลัง · ดูเพิ่มเติม »

การขับเคลื่อนแบบอัลคับเบียร์

การสร้างภาพสองมิติของการขับเคลื่อนแบบอัลคับเบียร์ (Alcubierre drive) แสดงบริเวณที่เป็นปฏิปักษ์กันของการขยายและหดตัวของกาล-อวกาศซึ่งพยายามจะเข้าแทนที่บริเวณตรงส่วนกลาง การขับเคลื่อนแบบอัลคับเบียร์ (อังกฤษ: Alcubierre drive) หรือ อัลคับเบียร์เมตริก (Alcubierre metric) (หมายถึง เทนเซอร์เมตริก) เป็นแนวความคิดที่อยู่บนพื้นฐานการพิจารณาการแก้ปัญหาของสมการสนามของไอน์สไตน์ (Einstein's field equations) ในสัมพัทธภาพทั่วไปตามที่เสนอโดยนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวเม็กซิกันชื่อ มิเกล อัลคับเบียร์ (Miguel Alcubierre), โดยที่ยานอวกาศสามารถบรรลุการเดินทางที่เร็วกว่าแสงได้ถ้ามวลที่มีค่าเป็นลบมีอยู่จริง แทนที่จะใช้การเคลื่อนที่เกินกว่าความเร็วของแสงภายในตำแหน่งที่ตั้งของกรอบอ้างอิงของมันเอง, ยานอวกาศจะตัดข้ามผ่านระยะทางโดยหดพื้นที่ด้านหน้าของมันและขยายพื้นที่ที่อยู่เบื้องหลังทำให้เกิดการเดินทางที่เร็วกว่าแสงอย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุไม่สามารถเร่งอัตราเร็วได้เท่ากับอัตราเร็วของแสงภายในกาล-อวกาศปกติได้; ดังนั้น การเคลื่อนที่แบบอัลคับเบียร์จึงใช้วิธีการขยับเลื่อนพื้นที่รอบ ๆ วัตถุเพื่อให้วัตถุสามารถเคลื่อนที่มาถึงจุดหมายปลายทางได้ด้วยอัตราการเคลื่อนที่ที่เร็วกว่าแสงเมื่อเทียบกับสภาพพื้นที่ที่ปกติได้แทน แม้ว่าเมตริกที่เสนอโดยอัลคับเบียร์ จะถูกต้องในทางคณิตศาสตร์ในการที่จะมีความสอดคล้องกับสมการสนามของไอน์สไตน์, แต่ก็อาจจะไม่มีความหมายทางกายภาพหรือแสดงให้เห็นได้ว่าการขับเคลื่อนดังกล่าวจะสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ การนำเสนอกลไกของการขับเคลื่อนแบบอัลคับเบียร์ หมายถึงความหนาแน่นของพลังงานที่มีค่าเชิงลบและดังนั้นจึงต้องมีการใช้สสารประหลาด (exotic matter), ดังนั้นถ้าสสารประหลาดที่มีคุณสมบัติที่ถูกต้องไม่มีอยู่จริงแล้วก็ไม่สามารถที่จะสร้างการขับเคลื่อนแบบนี้ขึ้นมาได้ อย่างไรก็ตาม, จากการเฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดจากเอกสารงานวิจัยฉบับดั้งเดิมของเขา ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ (จากข้อโต้แย้งที่พัฒนาขึ้นโดยนักฟิสิกส์ที่ได้มีการวิเคราะห์ทฤษฎีเกี่ยวกับรูหนอนทะลุได้) ว่า สูญญากาศแคสสิเมียร์ (Casimir vacuum) ระหว่างแผ่นเพลทคู่ขนานสองแผ่น สามารถตอบสนองต่อความต้องการพลังงานที่มีค่าเป็นลบสำหรับการขับเคลื่อนแบบอัลคับเบียร์ได้จริงหรือไม่ อีกเรื่องที่เป็นไปได้คือว่า แม้ว่าอัลคับเบียร์เมตริกจะมีความสอดคล้องกับสัมพัทธภาพทั่วไป, แต่สัมพัทธภาพทั่วไปก็ไม่ได้รวมเอากลศาสตร์ควอนตัมเข้าไว้ด้วย, และนักฟิสิกส์บางคนยังได้นำเสนอข้อโต้แย้งที่จะแสดงให้เห็นว่า ทฤษฎีโน้มถ่วงเชิงควอนตัมซึ่งรวมเอาสองทฤษฎีเข้าไว้ด้วยกันจะกำจัดการแก้ปัญหาที่อยู่ในสัมพัทธภาพทั่วไปซึ่งจะอนุญาตให้มีการเดินทางข้ามเวลาย้อนกลับไปในอดีตได้ (ดู การคาดคะเนการป้องกันของลำดับเหตุการณ์ (chronology protection conjecture)) ซึ่งการขับเคลื่อนแบบอัลคับเบียร์ก็เป็นหนึ่งในการแก้ปัญหานั้น.

ใหม่!!: พื้นที่และการขับเคลื่อนแบบอัลคับเบียร์ · ดูเพิ่มเติม »

การคูณ

3 × 4.

ใหม่!!: พื้นที่และการคูณ · ดูเพิ่มเติม »

การแสดงแผนที่

ำนักข่าวกรองกลางสหรัฐอเมริกา โดยทั่วไปแล้วการแสดงแผนที่ คือระบบการเปลี่ยนตำแหน่งของละติจูดและลองจิจูดบนพื้นผิวทรงกลมซึ่งในที่นี้คือโลก ให้มาอยู่บนแผ่นกระดาษที่มีลักษณะเรียบ ดังนั้นการแสดงแผนที่จึงเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับการทำแผนที่ การแสดงแผนที่มีอยู่ด้วยกันหลายประเภท ซึ่งในแต่ละประเภทมีข้อจำกัดที่เกิดจากการบิดเบี้ยวSnyder.

ใหม่!!: พื้นที่และการแสดงแผนที่ · ดูเพิ่มเติม »

การเดินทางข้ามเวลา

การเดินทางข้ามเวลา (time travel) เป็นแนวคิดเรื่องการเคลื่อนที่ (ที่มักจะทำให้เกิดขึ้นโดยฝีมือของมนุษย์) ระหว่างจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างกันในห้วงเวลา หรือ ระหว่างห้วงเวลาหนึ่งไปยังอีกห้วงเวลาหนึ่ง ในลักษณะที่คล้ายคลึงกับการเคลื่อนที่ระหว่างจุด 2 จุดที่มีความแตกต่างกันในพื้นที่ หรือ ปริภูมิ (space) ในลักษณะย้อนสู่อดีตหรือมุ่งสู่อนาคต โดยไม่จำต้องประเชิญห้วงเวลาที่คั่นระหว่างจุดเริ่มต้นกับจุดหมายปลายทาง ซึ่งอาจอาศัยเครื่องมือทางเทคโนโลยีที่เรียกกันว่า "จักรกลข้ามเวลา" (time machine) Brave New Words: The Oxford Dictionary of Science Fiction by Jeff Prucher (2007),.

ใหม่!!: พื้นที่และการเดินทางข้ามเวลา · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์

แผนที่โลก ภูมิศาสตร์ (geography) เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่ทำการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะ ของสถานที่ที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ภูมิศาสตร์จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดวางสิ่งต่าง ๆ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่แบ่งแยกสิ่งหนึ่งออกจากสิ่งอื่น ๆ โดยภูมิศาสตร์พยายามค้นหาเพื่อที่จะตีความให้กระจ่างถึงความสำคัญ ของสิ่งที่เหมือนและแตกต่างกันระหว่างพื้นที่ในรูปของสาเหตุและความเกี่ยวเนื่อง ปัจจุบันการศึกษาด้านภูมิศาสตร์ จะมุ่งเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดเบื้องต้นที่เกี่ยวกับพื้นที่มากกว่าที่จะศึกษาลักษณะเฉพาะและสถานที่ต่าง ๆ ของโลกอย่างคร่าว ๆ อย่างที่เคยปฏิบัติขึ้นมาในระยะแรก ๆ ภูมิศาสตร์ได้เปลี่ยนแนวทางมาสู่การศึกษารายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้น ๆ โดยเฉพาะ ซึ่งจะใช้การศึกษานี้พิจารณาว่า "มีสิ่งใดบ้างที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดสิ่งนั้นสิ่งนี้ขึ้น และแต่ละสิ่งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร" โดยถือรูปแบบและวิธีการดังกล่าวว่า เป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือเกิดปรากฏการณ์พิเศษในพื้นที่นั้น ๆ ขึ้น และถือว่าเป็น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ ที่เกิดขึ้น ซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาของโลก ลักษณะทางสภาพภูมิอากาศ เป็นต้น โดยจะมีความเกี่ยวเนื่องและมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในแต่ละลักษณะที่กล่าวถึง.

ใหม่!!: พื้นที่และภูมิศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิติสัมพันธ์

มิติสัมพันธ์ คือ ความสามารถในการรับรู้ตำแหน่งของสิ่งต่างๆ เมื่อเทียบกับตำแหน่งหรือจุดอ้างอิงจุดใดจุดหนึ่ง เช่นการอ้างอิงจากตัวเอง หน้า หลัง บน ล่าง ซ้าย ขวา เป็นต้น คนที่มีทักษะด้านมิติสัมพันธ์ จะมีความสามารถในการมองเห็นความสัมพันธ์ของมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ ที่ว่าง สถานที่และเวลา สามารถมองเห็นความเชื่อมโยงของสิ่งต่างๆ และสามารถวาดมโนภาพของความเชื่อมโยงให้เกิดขึ้นในใจ และถ่ายทอดออกมาให้คนอื่นรับรู้เป็นรูปธรรม.

ใหม่!!: พื้นที่และมิติสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบรู้กลิ่น

ระบบรู้กลิ่น หรือ ระบบรับกลิ่น (olfactory system) เป็นส่วนของระบบรับความรู้สึกที่ใช้เพื่อรับกลิ่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์เลื้อยคลานโดยมากจะมีทั้งระบบรับกลิ่นหลัก (main olfactory system) และระบบรับกลิ่นเสริม (accessory olfactory system) ระบบหลักจะรับกลิ่นจากอากาศ ส่วนระบบเสริมจะรับกลิ่นที่เป็นน้ำ ประสาทสัมผัสเกี่ยวกับกลิ่นและรสชาติ บ่อยครั้งเรียกรวมกันว่าระบบรับรู้สารเคมี (chemosensory system) เพราะทั้งสองให้ข้อมูลแก่สมองเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของสิ่งเร้าผ่านกระบวนการที่เรียกว่า การถ่ายโอนความรู้สึก (transduction) กลิ่นช่วยให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารและแหล่งอาหาร เกี่ยวกับความสุขหรืออันตรายที่อาจได้จากอาหาร เกี่ยวกับอันตรายที่สารอื่น ๆ ในสิ่งแวดล้อมอาจมี ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ผู้อื่น และสัตว์ชนิดอื่น ๆ กลิ่นมีผลทางสรีรภาพโดยเริ่มกระบวนการย่อยอาหารและการใช้พลังงาน มีบทบาทในการสืบพันธุ์ การป้องกันตัว และพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหาร ในสัตว์บางชนิด มีบทบาทสำคัญทางสังคมเพราะตรวจจับฟีโรโมนซึ่งมีผลทางสรีรภาพและพฤติกรรม ในทางวิวัฒนาการแล้ว ระบบรับกลิ่นเป็นประสาทสัมผัสที่เก่าแก่ที่สุด แม้จะเป็นระบบที่เข้าใจน้อยที่สุดในบรรดาประสาทสัมผัสทั้งหมด ระบบรับกลิ่นจะอาศัยหน่วยรับกลิ่น (olfactory receptor) ซึ่งเป็นโปรตีนหน่วยรับความรู้สึกแบบ G protein coupled receptor (GPCR) และอาศัยกระบวนการส่งสัญญาณทางเคมีที่เกิดตามลำดับภายในเซลล์ซึ่งเรียกว่า second messenger system เพื่อถ่ายโอนข้อมูลกลิ่นเป็นกระแสประสาท หน่วยรับกลิ่นจะแสดงออกอยู่ที่เซลล์ประสาทรับกลิ่นในเยื่อรับกลิ่นในโพรงจมูก เมื่อหน่วยรับกลิ่นต่าง ๆ ทำงานในระดับที่สมควร เซลล์ประสาทก็จะสร้างศักยะงานส่งไปยังส่วนต่าง ๆ ของระบบประสาทกลางเริ่มตั้งแต่ป่องรับกลิ่น ซึ่งก็จะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเป็นต้นของสัตว์ นักเคมีเกี่ยวกับกลิ่นก็ประเมินว่า มนุษย์อาจสามารถแยกแยะกลิ่นระเหยได้ถึง 10,000 รูปแบบ โดยที่ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับของหอมอาจแยกแยะกลิ่นได้ถึง 5,000 ชนิด และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับไวน์อาจแยกแยะส่วนผสมได้ถึง 100 อย่าง โดยสามารถรู้กลิ่นต่าง ๆ ในระดับความเข้มข้นต่าง ๆ กัน เช่น สามารถรู้สารกลิ่นหลักของพริกชี้ฟ้า คือ 2-isobutyl-3-methoxypyrazine ในอากาศที่มีความเข้มข้น 0.01 นาโนโมล ซึ่งประมาณเท่ากับ 1 โมเลกุลต่อ 1,000 ล้านโมเลกุลของอากาศ สามารถรู้กลิ่นเอทานอลที่ความเข้มข้น 2 มิลลิโมล และสามารถรู้กลิ่นโครงสร้างทางเคมีที่ต่างกันเล็กน้อยในระดับโมเลกุล เช่น กลิ่นของ D-carvone จะต่างจากของ L-carvone โดยมีกลิ่นเหมือนกับเทียนตากบและมินต์ตามลำดับ ถึงกระนั้น การได้กลิ่นก็พิจารณาว่าเป็นประสาทสัมผัสที่แย่ที่สุดอย่างหนึ่งในมนุษย์ โดยมีสัตว์อื่น ๆ ที่รู้กลิ่นได้ดีกว่า เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเกินกว่าครึ่ง ซึ่งอาจเป็นเพราะมนุษย์มีประเภทหน่วยรับกลิ่นที่น้อยกว่า และมีเขตในสมองส่วนหน้าที่อุทิศให้กับการแปลผลข้อมูลกลิ่นที่เล็กกว่าโดยเปรียบเที.

ใหม่!!: พื้นที่และระบบรู้กลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

ตัวอย่างแผนที่ใช้ในการแบ่งโซนอาศัย สร้างโดยใช้ระบบจีไอเอส โดยโปรแกรม ชื่อ อาร์คจีไอเอส (ArcGIS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) คือ กระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลเชิงพื้นที่ (spatial data) ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยการกำหนดข้อมูลเชิงบรรยายหรือข้อมูลคุณลักษณะ (attribute data) และสารสนเทศ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ (spatial data) เช่น ตำแหน่งบ้าน ถนน แม่น้ำ เป็นต้น ในรูปของ ตารางข้อมูล และ ฐานข้อมูล ระบบ GIS ประกอบไปด้วยชุดของเครื่องมือที่มีความสามารถในการเก็บรวบรวม ปรับปรุงและการสืบค้นข้อมูล เพื่อจัดเตรียม ปรับแต่ง วิเคราะห์และการแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนำมาวิเคราะห์ด้วย GIS ให้สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับช่วงเวลาได้ เช่น.

ใหม่!!: พื้นที่และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ระเบียบวิธีเกษียณ

อาร์คิมิดีส ใช้ระเบียบวิธีเกษียณในการคำนวณพื้นที่ภายในของวงกลม ระเบียบวิธีเกษียณ (method of exhaustion; methodus exaustionibus, หรือ méthode des anciens) คือระเบียบวิธีที่ใช้ในการหาพื้นที่ของรูปร่างหนึ่งๆ โดยแบ่งพื้นที่ภายในออกเป็นอนุกรมของรูปหลายเหลี่ยมเล็กๆ หลายๆ รูปซึ่งมีพื้นที่รวมเข้าใกล้พื้นที่ของรูปใหญ่ที่บรรจุรูปเล็กเหล่านั้นเอาไว้ ถ้าเราสามารถสร้างอนุกรมของรูปได้อย่างถูกต้อง ความแตกต่างของพื้นที่ระหว่างรูปหลายเหลี่ยมรูปที่ n กับรูปภาพที่เป็นโจทย์ก็จะน้อยมากเมื่อ n มีจำนวนใหญ่มากๆ แนวคิดนี้มีกำเนิดจาก แอนติฟอน (Antiphon) แม้จะยังไม่ชัดเจนว่าเขาเข้าใจเรื่องนี้ได้อย่างไร ทฤษฎีนี้ถูกพิสูจน์และรับรองโดย เอนโดซุสแห่งคไนดัส มีการนำชื่อนี้มาใช้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พื้นที่และระเบียบวิธีเกษียณ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โมริยะ

มริยะ (เขียนตามภาษาบาลี) หรือ เมารยะ (เขียนตามภาษาสันสกฤต: मौर्य, เมารฺย) เป็นจักรวรรดิซึ่งมีเนื้อที่กว้างใหญ่และมีอิทธิพลมากที่สุดจักรวรรดิหนึ่งในอินเดีย ปกครองโดยราชวงศ์โมริยะ (मौर्य राजवंश, เมารฺย ราชวํศ) ตั้งแต..

ใหม่!!: พื้นที่และราชวงศ์โมริยะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศที่เป็นเกาะ

ประเทศที่ตั้งอยู่บนเกาะทั้งหมด ประเทศที่ไม่มีพรมแดนทางบก ด้านล่างนี่เป็นรายชื่อประเทศที่เป็นเกาะ เกาะ หมายถึง ผืนดิน (ขนาดเล็กกว่าทวีป) ที่ล้อมรอบด้วยน้ำ ประเทศเกาะจำนวนมากครอบคลุมกลุ่มเกาะ ดังเช่นในกรณีของสหพันธรัฐไมโครนีเซียและฟิลิปปินส์ (ซึ่งประกอบด้วยเกาะนับหลายพันเกาะ) ประเทศเกาะอื่น ๆ เพียงประกอบด้วยเกาะ ๆ เดียว เช่น นาอูรู บางประเทศเกาะที่ประกาศไม่ได้รับการยอมรับเป็นสากลว่ามีเอกราชทางการเมือง มีการถกเถียงถึงสถานภาพของออสเตรเลีย แม้มักถูกพิจารณาว่าเป็นทวีป แต่ก็ยังมีการเรียกว่าเป็นเกาะอยู่บ่อยครั้ง และไม่มีพรมแดนทางบก.

ใหม่!!: พื้นที่และรายชื่อประเทศที่เป็นเกาะ · ดูเพิ่มเติม »

รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียน

รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียน (Heronian triangle) หมายถึงรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวของด้านและพื้นที่เป็นจำนวนตรรกยะทั้งหมด ตั้งชื่อตามฮีโรแห่งอเล็กซานเดรีย (Hero of Alexandria) นักคณิตศาสตร์ชาวอียิปต์โบราณ รูปสามเหลี่ยมใดๆ ที่มีความยาวของด้านเป็นสามสิ่งอันดับพีทาโกรัส (Pythagorean triple) ก็จะเป็นรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนด้วย เนื่องจากในสามสิ่งอันดับ ความยาวของด้านเป็นจำนวนเต็ม และพื้นที่ก็เป็นครึ่งหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่กว้างยาวเท่ากับด้านประกอบมุมฉากในรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยมพีทาโกรัส สองรูปต่อกัน ตัวอย่างหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนที่ไม่เป็นมุมฉากเช่น รูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านเท่ากับ 5, 5, 6 หน่วย ซึ่งมีพื้นที่ 12 ตารางหน่วย รูปสามเหลี่ยมนี้เกิดจากการนำรูปสามเหลี่ยมมุมฉากขนาด 3, 4, 5 หน่วยมาต่อกัน บนด้านที่ยาว 4 หน่วย สำหรับกรณีทั่วไป การนำรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีความยาวของด้านเป็นสามสิ่งอันดับพีทาโกรัสสองรูปมาต่อกัน บนด้านประกอบมุมฉากด้านหนึ่งซึ่งยาวเท่ากัน รูปสามเหลี่ยมที่เกิดขึ้นใหม่จะเป็นรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนด้วย (แต่อาจไม่เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก) ดังตัวอย่างในรูปทางขวามือ เมื่อสามเหลี่ยม (a, b,c) รวมกับสามเหลี่ยม (a, d, e) บนด้าน a จะได้รูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวด้านเป็น c, e และ b + d หน่วย และมีพื้นที่เป็นจำนวนตรรกยะเท่ากับ \tfrac(b+d)a ตารางหน่วย แต่ในทางกลับกัน รูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียนบางรูปอาจไม่สามารถประกอบขึ้นมาจากรูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวของด้านเป็นสามสิ่งอันดับพีทาโกรัสได้อย่างลงตัว ถ้าความยาวด้านหรือส่วนสูงของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไม่เป็นจำนวนเต็ม เช่น รูปสามเหลี่ยมขนาด 0.5, 0.5, 0.6 หน่วย (0.012 ตารางหน่วย) หรือ 5, 29, 30 หน่วย (72 ตารางหน่วย) เมื่อแบ่งพื้นที่ออกเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากโดยใช้ด้านใดๆ เป็นฐาน ความยาวด้านหรือส่วนสูงของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากจะไม่เข้ากับหลักเกณฑ์ของสามสิ่งอันดับพีทาโกรัส ซึ่งต้องเป็นจำนวนเต็ม.

ใหม่!!: พื้นที่และรูปสามเหลี่ยมฮีโรเนียน · ดูเพิ่มเติม »

รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า

รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า คือรูปสามเหลี่ยมชนิดหนึ่งที่ด้านทั้งสามมีความยาวเท่ากัน ในเรขาคณิตแบบยุคลิด รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจัดเป็นรูปหลายเหลี่ยมมุมเท่า (equiangular polygon) กล่าวคือ มุมภายในแต่ละมุมของรูปสามเหลี่ยมมีขนาดเท่ากันคือ 60° ด้วยคุณสมบัติทั้งสอง รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าจึงจัดเป็นรูปหลายเหลี่ยมปรกติ (regular polygon) และเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่าเป็น รูปสามเหลี่ยมปรกติ รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่ยาวด้านละ a\,\! หน่วย จะมีส่วนสูง (altitude) เท่ากับ \fraca หน่วย และมีพื้นที่เท่ากับ \fraca^2 ตารางหน่วย รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีความสมมาตรมากที่สุด คือมีสมมาตรแบบสะท้อนสามเส้น และสมมาตรแบบหมุนที่อันดับสามรอบศูนย์กลาง กรุปสมมาตรของรูปสามเหลี่ยมนี้จัดว่าเป็นกรุปการหมุนรูปของอันดับหก (dihedral group of order 6) หรือ D3 ทรงสี่หน้าปรกติ สร้างขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสี่รูป รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถพบได้ในโครงสร้างทางเรขาคณิตอื่นๆ หลายอย่าง เช่น รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากันสองวงตัดกัน โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่บนเส้นรอบวงของอีกวงหนึ่ง ทำให้เกิดส่วนโค้งขนาดเท่ากัน และสามารถแสดงได้ด้วยรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า รูปสามเหลี่ยมนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างทรงหลายหน้า ทรงตันเพลโตสามในห้าชิ้นประกอบขึ้นจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า หนึ่งในนั้นคือทรงสี่หน้าปรกติ ซึ่งประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งสี่หน้า นอกจากนั้นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าสามารถนำมาเรียงติดต่อกันบนระนาบ จนเกิดเป็นรูปแบนราบสามเหลี่ยม (triangular tiling) การหารูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่เกี่ยวข้องกับรูปสามเหลี่ยมใดๆ สามารถหาได้จากทฤษฎีบทสามส่วนของมอร์ลีย์ (Morley's trisector theorem) Triangle Construction Animation.

ใหม่!!: พื้นที่และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า · ดูเพิ่มเติม »

รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก หรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ในเรขาคณิตแบบยูคลิด รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก คือรูปสี่เหลี่ยมชนิดหนึ่งที่มุมทั้งสี่ของมันเป็นมุมฉาก ส่วนคำว่า รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หมายถึงรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ไม่ใช่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ABCD เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 10px ABCD จากการให้การจำกัดความนี้ สี่เหลี่ยมผืนผ้ายังมีด้านสองด้านที่ขนานกัน ซึ่งก็หมายความว่าสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเป็นรูปชนิดพิเศษของสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยด้านทั้งสี่ด้านมีความยาวเท่ากัน ดังนั้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสจึงเป็นทั้งสี่เหลี่ยมผืนผ้าและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน โดยปกติแล้ว ด้านตรงกันข้ามสองด้านในสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านที่ยาวกว่าจะถูกเรียกว่า ด้านยาว ของสี่เหลี่ยมผืนผ้า และด้านที่สั้นกว่าจะถูกเรียกว่า ด้านกว้าง พื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็น ด้านกว้าง × ด้านยาว (ในสัญลักษณ์ A.

ใหม่!!: พื้นที่และรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก · ดูเพิ่มเติม »

รูปหลายเหลี่ยม

ในทางเรขาคณิต รูปหลายเหลี่ยม (อังกฤษ: polygon) ตามความหมายดั้งเดิม หมายถึงรูปร่างอย่างหนึ่งที่เป็นรูปปิดหรือรูปครบวงจรบนระนาบ ซึ่งประกอบขึ้นจากลำดับของส่วนของเส้นตรงที่มีจำนวนจำกัด ส่วนของเส้นตรงเหล่านั้นเรียกว่า ขอบ หรือ ด้าน และจุดที่ขอบสองข้างบรรจบกันเรียกว่า จุดยอด หรือ เหลี่ยม (corner) ภายในรูปหลายเหลี่ยมบางครั้งก็เรียกว่า เนื้อที่ (body) รูปหลายเหลี่ยมเป็นวัตถุในสองมิติ ซึ่งเป็นตัวอย่างหนึ่งของพอลิโทป (polytope) ที่อยู่ใน n มิติ ด้านสองด้านที่บรรจบกันเป็นเหลี่ยม เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการเกิดมุมที่ไม่เป็นมุมตรง (180°) ถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว ส่วนของเส้นตรงทั้งสองจะถูกพิจารณาว่าเป็นด้านเดียวกัน ความคิดทางเรขาคณิตพื้นฐานได้ถูกดัดแปลงไปในหลากหลายทาง เพื่อที่จะทำให้เข้ากับจุดประสงค์เฉพาะ ตัวอย่างเช่นในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ คำว่า รูปหลายเหลี่ยม ถูกนำไปใช้และมีการเปลี่ยนแปลงความหมายไปโดยเล็กน้อย ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการบันทึกและจัดการรูปร่างภายในคอมพิวเตอร์มากขึ้น รูปหลายเหลี่ยม หลายชน.

ใหม่!!: พื้นที่และรูปหลายเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

วา

วา เป็นหน่วยวัดความยาวของไทย มีที่มาจากการกางแขนทั้งสองออกไปข้างลำตัวในแนวราบ หนึ่งวาวัดจากปลายนิ้วกลางของแขนข้างหนึ่ง (หรือนิ้วอื่นที่ยาวที่สุดสำหรับบางคน) ผ่านอกไปยังปลายนิ้วกลางของแขนอีกข้าง แต่เนื่องจากระยะวาของแต่ละคนไม่เท่ากัน พระราชบัญญัติมาตราชั่ง ตวง วัด พระพุทธศักราช ๒๔๖๖ จึงกำหนดให้ 1 วายาวเท่ากับ 2 เมตรเป็นต้นมา และใช้อักษรย่อว่า ว. หน่วยวาใช้ประกอบกันเป็นหน่วยวัดพื้นที่คือ ตารางวา 1 วา มีค่าเท่ากั.

ใหม่!!: พื้นที่และวา · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน

รานุกรมไทยสำหรับเยาวชน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสารานุกรมภาษาไทยจัดทำขึ้นเป็นรูปเล่ม โดยมีเนื้อหาบางส่วนเผยแพร่ในระบบออนไลน์ เป็นสารานุกรมไทยแบบเป็นชุด เน้นความรู้ที่เกิดขึ้นและใช้อยู่ในประเทศไทย จัดทำโดยคนไทย เพื่อให้คนไทยทุกเพศทุกวัยมีโอกาสได้อ่าน แต่ละเล่มรวบรวมเนื้อเรื่องจากหลากหลายสาขาวิชา เนื้อหาของเรื่องต่างๆ เรียบเรียงให้เหมาะสมกับ 3 ระดับความรู้ ให้แก่เด็กรุ่นเล็ก เด็กรุ่นกลาง และเด็กรุ่นใหญ่ รวมทั้งผู้ใหญ่ที่สนใจทั่วไป แต่ละเรื่องเริ่มต้นด้วยเนื้อหาของระดับเด็กรุ่นเล็ก ตามด้วยเนื้อหาของรุ่นกลางและรุ่นใหญ่ตามลำดับ เนื้อหาในแต่ละระดับพิมพ์ด้วยตัวอักษรขนาดต่างกัน.

ใหม่!!: พื้นที่และสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน · ดูเพิ่มเติม »

หูชั้นกลาง

หูชั้นกลาง (middle ear, auris media) คือหูส่วนที่อยู่หลังแก้วหู แต่ก่อนช่องรูปไข่ (oval window) ของหูชั้นใน ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หูชั้นกลางจะมีกระดูกหู (ossicles) เล็ก ๆ 3 ท่อน ซึ่งถ่ายโอนแรงสั่นที่แก้วหูไปเป็นคลื่นภายในหูชั้นใน ช่องในหูชั้นกลางเรียกว่า โพรงหูส่วนกลาง (tympanic cavity) โดยมีท่อยูสเตเชียน เชื่อมกับคอหอยส่วนจมูก (nasopharynx) ท่อยูสเตเชียนจะช่วยรักษาดุลความดันระหว่างหูชั้นกลางและคอ หน้าที่หลักของหูชั้นกลางก็คือถ่ายโอนพลังงานเสียงจากคลื่นในอากาศไปเป็นคลื่นในน้ำและในเยื่อของหูชั้นในรูปหอยโข่ง (คอเคลีย).

ใหม่!!: พื้นที่และหูชั้นกลาง · ดูเพิ่มเติม »

หูชั้นใน

หูชั้นใน หูชั้นใน (inner ear, internal ear, auris interna) เป็นหูชั้นในสุดของสัตว์มีกระดูกสันหลัง มีหน้าที่ตรวจจับเสียงและการทรงตัว ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มันจะประกอบด้วยกระดูกห้องหูชั้นใน (bony labyrinth) ซึ่งเป็นช่อง ๆ หนึ่งในกระดูกขมับของกะโหลกศีรษะ เป็นระบบท่อที่มีส่วนสำคัญสองส่วน คือ.

ใหม่!!: พื้นที่และหูชั้นใน · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยที่ยอมรับให้ใช้แก่ระบบเอสไอ

มีหน่วยวัดบางหน่วยซึ่งไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (ระบบเอสไอ) แต่ได้รับการยอมรับให้ใช้แก่ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นพหุคูณหรือพหุคูณย่อยของหน่วยเอสไอ นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากกว่า หรือสะดวกกว่าสำหรับวิทยาศาสตร์บาง.

ใหม่!!: พื้นที่และหน่วยที่ยอมรับให้ใช้แก่ระบบเอสไอ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (พื้นที่)

หมวดหมู่:พื้นที่ หมวดหมู่:อันดับของขนาด (พื้นที่).

ใหม่!!: พื้นที่และอันดับของขนาด (พื้นที่) · ดูเพิ่มเติม »

อารารา

ตำแหน่งที่ตั้งเมืองอารารา อารารา (Arara) เป็นเมืองในรัฐปาราอีบา ประเทศบราซิล.

ใหม่!!: พื้นที่และอารารา · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ (หน่วยพื้นที่)

อาร์ คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า a จากภาษาอังกฤษ are 1 อาร์ มีค่าเท่ากับ.

ใหม่!!: พื้นที่และอาร์ (หน่วยพื้นที่) · ดูเพิ่มเติม »

อาเรซีโบ

อาเรซีโบ (Arecibo) เป็นจังหวัดหนึ่งใน 78 จังหวัดทางตอนเหนือของเปอร์โตริโก ตั้งอยู่บนชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศเหนือค่อนไปทางทิศตะวันตกของเกาะเปอร์โตริโก ห่างจากซานฮวน เมืองหลวงของเปอร์โตริโก ประมาณ 80 กิโลเมตร ชาวสเปนเริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานที่นี่ตั้งแต่ พ.ศ. 2099 และก่อตั้งเป็นเมืองอย่างเป็นทางการในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2159 อาเรซีโบเป็นที่ตั้งของหอดูดาวอาเรซีโบ ซึ่งเป็นกล้องโทรทรรศน์วิทยุเดี่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลก หมวดหมู่:เมืองในเปอร์โตริโก.

ใหม่!!: พื้นที่และอาเรซีโบ · ดูเพิ่มเติม »

อโรคา ปาร์ตี้

อโรคา ปาร์ตี้ (AROKA PARTY) เป็นรายการวาไรตี้โชว์เพื่อสุขภาพ ซึ่งเป็นรายการที่นำเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว ซึ่งเป็นรายการวาไรตี้โชว์จากประเทศญี่ปุ่น โดยมีชื่อว่า มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า "Medical Horror Check Show" ซึ่งเรียกห้องส่งของรายการว่า Black Hospital ผลิตขึ้นโดยบริษัท ทีวีอาซาฮี จำกัด ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งถูกผลิตขึ้นให้ผู้คนหวาดกลัว (ต่อโรคที่เป็นแล้วจะมีลักษณะใด) ในประเทศไทยได้รับลิขสิทธิ์รายการนี้มาผลิตในประเทศไทยโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ร่วมมือกับโรงพยาบาลพญาไท โดยใช้ชื่อว่า "อโรคา ปาร์ตี้" ดังกล่าว โดยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 22.05 น. - 22.50 น. (จากนั้นเลื่อนเวลาออกอากาศเป็น 22.15 น. - 23.00 น. และจะเปลี่ยนวันออกอากาศเป็นทุกวันจันทร์ เวลา 22.15 - 23.00 น.เริ่มตั้งแต่วันจันทร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2552) เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2551 และ ออกอากาศเป็นเทปสุดท้ายวันจันทร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ดำเนินรายการโดย ธงชัย ประสงค์สันติ และ หมอพี (ทันตแพทย์หญิง พอลลีน เต็ง) โดยใช้คำปรัชญาประจำรายการว่า "อโรคาปาร์ตี้ วาไรตี้ไม่มีโรค"รายการอโรคาปาร์ตี้นำมาออกอากาศอีกครั้งหนึ่งในวันที่ 2 มกราคม 2553 เวลา 20.15 - 21.10 น.ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5และปรับเปลี่ยนรูปแบบเป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์โดยใช้ชื่อรายการเป็น ปาร์ตี้วิทยาศาสตร์ ตอน อโรคา ซายส์ ปาร์ตี้ แทน อโรคาปาร์ตี้.

ใหม่!!: พื้นที่และอโรคา ปาร์ตี้ · ดูเพิ่มเติม »

ผลคูณไขว้

ผลคูณไขว้ '''a''' × '''b''' มีทิศตรงข้ามกับ '''b''' × '''a''' ผลคูณไขว้ หรือ ผลคูณเชิงเวกเตอร์ ในทางคณิตศาสตร์ คือ การดำเนินการทวิภาคบนเวกเตอร์สองอันในปริภูมิแบบยุคลิดสามมิติ ซึ่งให้ผลลัพธ์เป็นเวกเตอร์อีกอันหนึ่งที่ตั้งฉากกับสองเวกเตอร์แรก ในขณะที่ผลคูณจุดของสองเวกเตอร์จะให้ผลลัพธ์เป็นปริมาณสเกลาร์ ผลคูณไขว้ไม่มีการนิยามบนมิติอื่นนอกจากสามมิติ และไม่มีคุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม เมื่อเทียบกับผลคูณจุด สิ่งที่เหมือนกันคือผลลัพธ์จะขึ้นอยู่กับปริภูมิอิงระยะทาง (metric space) ของปริภูมิแบบยุคลิด แต่สิ่งที่ต่างกันคือผลลัพธ์จะขึ้นอยู่กับการกำหนดทิศทาง (orientation).

ใหม่!!: พื้นที่และผลคูณไขว้ · ดูเพิ่มเติม »

จุด (เรขาคณิต)

ป็นแนวความคิดที่ใช้กำหนดตำแหน่งที่แน่นอนในปริภูมิ ซึ่งจุดนั้นไม่มีปริมาตร พื้นที่ หรือความยาว มีการใช้อย่างแพร่หลายทั้งในภูมิศาสตร์ ฟิสิกส์ ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ (ทั้งสองมิติและสามมิติ) และในสาขาอื่นๆ อีกมากมาย สำหรับในทางคณิตศาสตร์ จุดเป็นส่วนหนึ่งของทอพอโลยี ซึ่งรูปแบบใด ๆ ในปริภูมิ จุดคือองค์ประกอบพื้นฐานของวัตถุรูปแบบใด ๆ ในปริภูมิ ถึงแม้จุดจะไร้ขนาดและทิศทาง แต่การเขียนจุดขึ้นมาลอย ๆ ยังจำเป็นต้องเขียนแทนด้วยวงกลมทึบขนาดเล็ก (หรือเท่าปลายดินสอ) เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีจุดอยู่ ณ ตำแหน่งนั้น.

ใหม่!!: พื้นที่และจุด (เรขาคณิต) · ดูเพิ่มเติม »

จุดภาพชัดเสื่อม

ัดเสื่อม (macular degeneration) หรือ จุดภาพชัดเสื่อมเนื่องกับอายุ (age-related macular degeneration ตัวย่อ AMD, ARMD) เป็นโรคที่ทำให้มองไม่ชัดหรือมองไม่เห็นที่กลางลานสายตา เริ่มแรกสุดบ่อยครั้งจะไม่มีอาการอะไร ๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไป บางคนจะมองเห็นแย่ลงเรื่อย ๆ ที่ตาข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง แม้จะไม่ทำให้ตาบอดโดยสิ้นเชิง การมองไม่เห็นในส่วนกลางก็จะทำให้กิจกรรมในชีวิตต่าง ๆ ทำได้ยากรวมทั้งจำหน้าคน ขับรถ อ่านหนังสือเป็นต้น การเห็นภาพหลอนอาจเกิดขึ้นโดยไม่ใช่เป็นส่วนของโรคจิต จุดภาพชัดเสื่อมปกติจะเกิดกับคนสูงอายุ ปัจจัยทางพันธุกรรมและการสูบบุหรี่ก็มีผลด้วย เป็นอาการเนื่องกับความเสียหายต่อจุดภาพชัด (macula) ที่จอตา การวินิจฉัยทำได้ด้วยการตรวจตา ความรุนแรงของอาการจะแบ่งออกเป็นระยะต้น ระยะกลาง และระยะปลาย ระยะปลายยังแบ่งออกเป็นแบบแห้ง (dry) และแบบเปียก (wet) โดยคนไข้ 90% จะเป็นแบบแห้ง การป้องกันรวมทั้งการออกกำลังกาย ทานอาหารให้ถูกสุขภาพ และไม่สูบบุหรี่ วิตามินต่อต้านอนุมูลอิสระและแร่ธาตุดูเหมือนจะไม่ช่วยป้องกัน ไม่มีวิธีแก้หรือรักษาการเห็นที่สูญไปแล้ว ในรูปแบบเปียก การฉีดยาแบบ anti-VEGF (Anti-vascular endothelial growth factor) เข้าที่ตา หรือการรักษาอื่น ๆ ที่สามัญน้อยกว่ารวมทั้งการยิงเลเซอร์ (laser coagulation) หรือ photodynamic therapy อาจช่วยให้ตาเสื่อมช้าลง อาหารเสริมรวมทั้งวิตามินและแร่ธาตุสำหรับคนไข้ที่มีโรคอาจช่วยชะลอความเสื่อมด้วย ในปี 2015 โรคนี้มีผลต่อคนไข้ 6.2 ล้านคนทั่วโลก ในปี 2013 มันเป็นเหตุให้ตาบอดเป็นอันดับสี่หลังต้อกระจก การเกิดก่อนกำหนด และต้อหิน มันเกิดบ่อยที่สุดในผู้มีอายุเกิน 50 ปีในสหรัฐอเมริกา และเป็นเหตุเสียการเห็นซึ่งสามัญที่สุดในคนกลุ่มอายุนี้ คนประมาณ 0.4% ระหว่างอายุ 50-60 ปีมีโรคนี้ เทียบกับ 0.7% ของคนอายุ 60-70 ปี, 2.3% ของคนอายุ 70-80 ปี, และ 12% ของคนอายุเกิน 80 ปี.

ใหม่!!: พื้นที่และจุดภาพชัดเสื่อม · ดูเพิ่มเติม »

ทรงรี

ทรงรี วาดในซอฟต์แวร์นิวพลอต ทรงรี คือผิวกำลังสองชนิดหนึ่ง ในสามมิติ เทียบได้กับวงรีในสองมิติ รูปสมการมาตรฐานของทรงรี บนแกน x-y-z ในระบบพิกัดคาร์ทีเซียน คือ ++.

ใหม่!!: พื้นที่และทรงรี · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: พื้นที่และทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปอเมริกาใต้

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาใต้ แผนที่ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปอเมริกาใต้ เป็นทวีปที่เส้นศูนย์สูตรโลกพาดผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในซีกโลกใต้ ขนาบข้างด้วยมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติก ในทางภูมิศาสตร์ ทวีปอเมริกาใต้เพิ่งจะเคลื่อนมาบรรจบกับทวีปอเมริกาเหนือเมื่อไม่นานมานี้ ทำให้เกิดคอคอดปานามา เทือกเขาแอนดีสที่มีอายุน้อยและไม่หยุดนิ่งพาดผ่านเขตด้านตะวันตกของทวีป ดินแดนทางตะวันออกของเทือกเขาแอนดีส คือ แอ่งแม่น้ำแอมะซอน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขตป่าดิบชื้น ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่กว้างใหญ่เป็นอันดับ 4 รองจากเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาเหนือตามลำดับ ส่วนจำนวนประชากรเป็นอันดับ 5 รองจากเอเชีย แอฟริกา ยุโรป และอเมริกาเหนือ.

ใหม่!!: พื้นที่และทวีปอเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ทุติยเพ็ญ

วงจันทร์สีน้ำเงิน ทุติยเพ็ญ หรือบลูมูน (blue moon) คือดวงจันทร์เต็มดวงที่มีกำหนดเวลาเกิดไม่แน่นอน โดยส่วนใหญ่ในแต่ละปีจะมีดวงจันทร์เต็มดวง 12 ครั้ง เฉลี่ยเกิดประมาณเดือนละหนึ่งครั้ง แต่ถ้าคิดเฉพาะระยะเวลาที่เกิดดวงจันทร์เต็มดวง 12 ครั้ง (รอบ) ในหนึ่งปีของปฏิทินตามระบบสุริยคติจะมีจำนวนวันมากกว่าประมาณ 11 วัน ซึ่งเมื่อนำมาสะสมรวมกัน จะทำให้ทุกสองหรือสามปีมีดวงจันทร์เต็มดวงเพิ่มขึ้นหนึ่งครั้ง (กล่าวคือจะเกิดขึ้น 2.71722874 ปี) ดวงจันทร์เต็มดวงที่เพิ่มขึ้นมานี้เรียกว่า “ดวงจันทร์สีน้ำเงิน" แต่เนื่องจากมีการนิยามความหมายของดวงจันทร์ “ที่เพิ่มขึ้นมานี้" ต่างกัน จึงทำให้การกำหนดวันที่เกิดดวงจันทร์นี้ต่างกัน โดยส่วนใหญ่ดวงจันทร์สีน้ำเงินหมายถึงดวงจันทร์เต็มดวงที่เกิดครั้งที่สองของเดือน.

ใหม่!!: พื้นที่และทุติยเพ็ญ · ดูเพิ่มเติม »

ของไหล

องไหล (fluid) ใช้นิยามสสารที่เปลี่ยนรูปร่างหรือไหลด้วยความเค้นเฉือน ของเหลวและแก๊สต่างก็เป็นรูปแบบหนึ่งของของไหล ของไหลเป็นสถานะหนึ่งของสสาร โดยทั่วไปในภาษาอังกฤษ คำว่า fluid หรือของไหลมักหมายถึงของเหลวหรือ liquid ด้วย ของไหลบางอย่างอาจมีความเหนียวสูงมาก ทำให้แยกแยะกับของแข็งได้ยาก หรือในโลหะบางชนิดก็อาจมีความแข็งต่ำมาก.

ใหม่!!: พื้นที่และของไหล · ดูเพิ่มเติม »

ขนาด (คณิตศาสตร์)

ในทางคณิตศาสตร์ ขนาด (magnitude) คือสมบัติอย่างหนึ่งของวัตถุที่ใช้เปรียบเทียบว่า สิ่งใดใหญ่กว่าหรือเล็กกว่าสิ่งใดในวัตถุชนิดเดียวกัน ในทางเทคนิคคือการจัดอันดับของวัตถุ ในชีวิตจริงมีการใช้ขนาดในการจัดอันดับของวัตถุต่างๆ เช่น ความดังของเสียง (เดซิเบล) ความสว่างของดาวฤกษ์ หรือมาตราริกเตอร์บนระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหว เป็นต้น ชาวกรีกได้มีการแยกแยะขนาดไว้เป็นหลายประเภท รวมทั้ง.

ใหม่!!: พื้นที่และขนาด (คณิตศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ดาร์วิน (เมือง)

มืองดาร์วิน (Darwin) เป็นเมืองหลวงของดินแดนนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี ประเทศออสเตรเลีย เมืองดาร์วินนั้นเป็นย่านธุรกิจใจกลางเมืองของธุรกิจต่างๆ ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 112 กม.

ใหม่!!: พื้นที่และดาร์วิน (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

ดีเทอร์มิแนนต์

ในสาขาพีชคณิต ดีเทอร์มิแนนต์ (determinant) คือฟังก์ชันหนึ่งที่ให้ผลลัพธ์เป็นปริมาณสเกลาร์ ซึ่งขึ้นอยู่กับค่าของ n ในมิติ n×n ของเมทริกซ์จัตุรัส A ส่วนความหมายทางเรขาคณิตเบื้องต้น ดีเทอร์มิแนนต์คือตัวประกอบมาตราส่วน (scale factor) ของปริมาตร เมื่อ A ถูกใช้เป็นการแปลงเชิงเส้น ดีเทอร์มิแนนต์ถูกใช้ประโยชน์ในเรื่องพีชคณิตเชิงหลายเส้น (multilinear algebra) และแคลคูลัส ซึ่งใช้สำหรับกฎการแทนที่ (substitution rule) ในตัวแปรบางกลุ่ม สำหรับจำนวนเต็มบวก n ที่กำหนดขึ้น ฟังก์ชันดีเทอร์มิแนนต์จะมีเพียงหนึ่งเดียวบนเมทริกซ์มิติ n×n เหนือริงสลับที่ใดๆ (commutative ring) โดยเฉพาะเมื่อฟังก์ชันนี้นิยามไว้บนริงสลับที่ที่เป็นฟีลด์ของจำนวนจริงหรือจำนวนเชิงซ้อน ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ A สามารถเขียนแทนได้ด้วย det (A) หรือ |A| ซึ่งสัญกรณ์แบบขีดตั้งอาจเกิดความกำกวม เนื่องจากมีการใช้สัญกรณ์เดียวกันนี้สำหรับค่าประจำเมทริกซ์ (matrix norm) และค่าสัมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม ค่าประจำเมทริกซ์มักจะเขียนด้วยสัญกรณ์แบบขีดตั้งสองขีด (เช่น ‖A‖) เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนกับดีเทอร์มิแนนต์ ตัวอย่างการใช้งาน กำหนดให้ A เป็นเมทริกซ์ดังนี้ ดีเทอร์มิแนนต์ของ A สามารถเขียนเป็น ซึ่งวงเล็บเหลี่ยมนอกเมทริกซ์จะถูกแทนที่ด้วยเส้นตั้งเพียงอย่างเดียว.

ใหม่!!: พื้นที่และดีเทอร์มิแนนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ความยาว

ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่ง แสดงความกว้าง ความยาว และความสูง ความยาว คือ ปริมาณของรูปหนึ่งมิติ หรือ มิติตามแนวยาวของวัตถุใด ๆ ความยาวของของสิ่งหนึ่งคือระยะทาง (หรือการกระจัด) จากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุด ซึ่งเป็นการขยายเชิงเส้นตรงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ความยาวอาจมีความหมายแยกออกจากความสูง ซึ่งเป็นการขยายตามแนวดิ่ง และความกว้าง ซึ่งเป็นระยะทางจากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง เช่นวัดจากมุมข้างซ้ายไปยังมุมข้างขวาผ่านวัตถุเป็นต้น ในทางวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรม คำว่า ความยาว นี้มีความหมายเหมือนกับ ระยะทาง และย่อด้วยอักษร l หรือ L (แอล) หรือสัญลักษณ์คล้ายแอล ความยาวเป็นการวัดในหนึ่งมิติ ในขณะที่พื้นที่เป็นการวัดในสองมิติ และปริมาตรเป็นการวัดในสามมิติ ในระบบการวัดส่วนใหญ่ หน่วยความยาวเป็นหน่วยวัดพื้นฐานสำหรับการนิยามหน่วยวัดอื่น.

ใหม่!!: พื้นที่และความยาว · ดูเพิ่มเติม »

ความถี่เชิงพื้นที่

ในคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์ ความถี่เชิงพื้นที่ หรือ ความถี่ตามพื้นที่ (spatial frequency) เป็นลักษณะของโครงสร้างอะไรก็ได้ที่เกิดเป็นคาบ ๆ (คือเกิดซ้ำ ๆ) ไปตามพื้นที่หรือตามปริภูมิ เป็นค่าที่วัดโดยส่วนประกอบเชิงรูปไซน์ของโครงสร้าง (กำหนดโดยการแปลงฟูรีเย) ที่เกิดซ้ำ ๆ ต่อระยะทางหน่วยหนึ่ง หน่วยสากลของความถี่ตามพื้นที่ก็คือ รอบ/เมตร ในโปรแกรมประมวลผลภาพ ความถี่ตามพื้นที่มักจะมีหน่วยเป็นรอบ/มิลลิเมตร หรือคู่เส้น/มิลลิเมตร (line pairs per millimeter) ในกลศาสตร์คลื่น ความถี่ตามพื้นที่จะเขียนเป็น \xi หรือบางครั้ง \nu แม้สัญลักษณ์หลังนี้บางครั้งจะใช้หมายถึงความถี่ตามเวลา (temporal frequency) เช่น ในสูตรของพลังค์ ค่าความถี่ตามพื้นที่จะสัมพันธ์กับความยาวคลื่น \lambda โดยสูตร เช่นเดียวกัน เลขคลื่นเชิงมุม (angular wave number) k ซึ่งมีหน่วยเป็น เรเดียน/เมตร จะสัมพันธ์กับความถี่ตามพื้นที่และความยาวคลื่นโดยสูตร.

ใหม่!!: พื้นที่และความถี่เชิงพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

ความดัน

วามดัน คือ แรงที่กระทำตั้งฉากต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ ภาพจำลอง–ความดันที่เกิดขึ้นจากการชนของอนุภาคในภาชนะปิด ความดันที่ระดับต่าง ๆ (หน่วยเป็น บาร์) ความดัน (pressure; สัญลักษณ์ p หรือ P) เป็นปริมาณชนิดหนึ่งในทางฟิสิกส์ หมายถึง อัตราส่วนระหว่างแรงที่กระทำตั้งฉากซึ่งทำโดยของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ต่อพื้นที่ของสารใด ๆ (ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส) ความดันเป็นปริมาณสเกลาร์ ซึ่งเป็นปริมาณที่มีแต่ขนาดไม่มีทิศทาง จากความหมายของความดันข้างต้นสามารถเขียนเป็นสูตรคณิตศาสตร์ (โดยทั่วไป) ได้ดังนี้ กำหนดให้ เนื่องจาก F มีหน่วยเป็น "นิวตัน" (N) และ A มีหน่วยเป็น "ตารางเมตร" (m2) ความดันจึงมีหน่วยเป็น "นิวตันต่อตารางเมตร" (N/m2; เขียนในรูปหน่วยฐานว่า kg·m−1·s−2) ในปี ค.ศ. 1971 (พ.ศ. 2514) มีการคิดค้นหน่วยของความดันขึ้นใหม่ เรียกว่า ปาสกาล (pascal, Pa) และกำหนดให้หน่วยชนิดนี้เป็นหน่วยเอสไอสำหรับความดัน โดยให้ 1 ปาสกาลมีค่าเท่ากับ 1 นิวตันต่อตารางเมตร (หรือ แรง 1 นิวตัน กระทำตั้งฉากกับพื้นที่ขนาด 1 ตารางเมตร) เพื่อให้เห็นภาพ ความดัน 1 ปาสกาลจะมีค่าประมาณ แรงกดของธนบัตรหนึ่งดอลลาร์ที่วางอยู่เฉย ๆ บนโต๊ะราบ ซึ่งนับว่าเป็นขนาดที่เล็กมาก ดังนั้นในชีวิตประจำวัน ความดันทั้งหลายมักมีค่าตั้งแต่ "กิโลปาสกาล" (kPa) ขึ้นไป โดยที่ 1 kPa.

ใหม่!!: พื้นที่และความดัน · ดูเพิ่มเติม »

คารามัย

ราเมย์ หรือ เค่อลาหมาอี หรือ คาราไม (قاراماي‎, Qaramay, K̡aramay;,Wade-Giles: K'o-la-ma-i) เป็นเมืองทางตอนเหนือของเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐประชาชนจีน ชื่อของเมือง "คาราเมย์" มาจากภาษาอุยกูร์ที่มีความหมายว่า "น้ำมันสีดำ" (black oil) มีประชากรประมาณ 290,000 คน.

ใหม่!!: พื้นที่และคารามัย · ดูเพิ่มเติม »

งาน (หน่วยวัดพื้นที่)

งาน เป็นหน่วยวัดพื้นที่ของไทย 1 งาน มีค่าเท่ากั.

ใหม่!!: พื้นที่และงาน (หน่วยวัดพื้นที่) · ดูเพิ่มเติม »

ตัวรับรู้สารเคมี

ในระบบประสาท ตัวรับรู้สารเคมี (chemoreceptor, chemosensor) เป็นปลายประสาทรับความรู้สึกที่ถ่ายโอนข้อมูลทางเคมีไปเป็นศักยะงานเพื่อส่งไปยังระบบประสาทกลาง โดยทั่ว ๆ ไปก็คือ เป็นตัวรับรู้สิ่งเร้าคือสารเคมีในสิ่งแวดล้อม เมื่อสิ่งเร้าในสิ่งแวดล้อมสำคัญต่อการรอดชีวิต สิ่งมีชีวิตจะต้องตรวจจับสิ่งเร้านั้นได้ และเพราะกระบวนการของชีวิตทั้งหมดมีกระบวนการทางเคมีเป็นมูลฐาน จึงเป็นเรื่องธรรมดาว่า การตรวจจับและการรับรู้สิ่งเร้าภายนอกจะเป็นปรากฏการณ์ทางเคมี แน่นอนว่า สารเคมีในสิ่งแวดล้อมสำคัญต่อการรอดชีวิต และการตรวจจับสิ่งเร้าเคมีจากภายนอก อาจเชื่อมกับการทำงานทางเคมีของเซลล์โดยตรง การรับรู้สารเคมีสำคัญในการตรวจหาสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งอาหาร ที่อยู่ สัตว์ชนิดเดียวกันรวมทั้งคู่ และสัตว์ล่าเหยื่อ ยกตัวอย่างเช่น สำหรับสัตว์ล่าเหยื่อ เหยื่ออาจจะได้ทิ้งกลิ่นหรือฟีโรโมนไว้ในอากาศหรือบนพื้นผิวที่เคยอยู่ เซลล์ที่ศีรษะ ปกติในทางเดินอากาศหรือปาก จะมีตัวรับสารเคมีบนผิวที่จะเกิดปฏิกิริยาเมื่อสัมผัสกับสารที่เป็นเป้าหมาย แล้วก็จะส่งข้อมูลทางเคมีหรือทางเคมีไฟฟ้าไปยังศูนย์ คือสมองหรือไขสันหลัง ระบบประสาทกลางก็จะตอบสนองด้วยปฏิกิริยาทางกายเพื่อล่า/หาอาหารซึ่งช่วยให้รอดชีวิต.

ใหม่!!: พื้นที่และตัวรับรู้สารเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ตัวรับแรงกล

ตัวรับแรงกล (mechanoreceptor) เป็นปลายประสาทรับความรู้สึกที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็นแรงกล เช่น สัมผัสหรือเสียง มีตัวรับแรงกลประเภทต่าง ๆ ในระบบประสาทมากมายโดยต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น ในระบบรับความรู้สึกทางกาย ตัวรับแรงกลทำให้รู้สัมผัสและอากัปกิริยาได้ (โดยมี Pacinian corpuscle เป็นตัวไวแรงกลมากที่สุดในระบบ) ในการรับรู้สัมผัส ผิวหนังที่ไม่มีขน/ผม (glabrous skin) ที่มือและเท้า ปกติจะมีตัวรับแรงกล 4 อย่างหลัก ๆ คือ Pacinian corpuscle, Meissner's corpuscle, Merkel nerve ending, และ Ruffini ending และผิวที่มีขนก็มีตัวรับแรงกล 3 อย่างเหมือนกันยกเว้น Meissner's corpuscle บวกเพิ่มกับตัวรับแรงกลอื่น ๆ รวมทั้งตัวรับความรู้สึกที่ปุ่มรากผม ในการรับรู้อากัปกิริยา ตัวรับแรงกลช่วยให้รู้ถึงแรงหดเกร็งของกล้ามเนื้อและตำแหน่งของข้อต่อ มีประเภทรวมทั้ง muscle spindle 2 ชนิด, Golgi tendon organ, และ Joint capsule ในบรรดาตัวรับแรงกลทั้งหมด เซลล์ขนในคอเคลียของระบบการได้ยินไวที่สุด โดยมีหน้าที่ถ่ายโอนคลื่นเสียงในอากาศเป็นสัญญาณประสาทเพื่อส่งไปยังสมอง แม้แต่เอ็นปริทันต์ (periodontal ligament) ก็มีตัวรับแรงกลด้วย ซึ่งช่วยให้กรามผ่อนแรงเมื่อกัดถูกวัตถุที่แข็ง ๆ งานวิจัยเรื่องตัวรับแรงกลในมนุษย์ได้เริ่มขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 ที่นักวิชาการคู่หนึ่ง (Vallbo และ Johansson) วัดปฏิกิริยาของตัวรับแรงกลที่ผิวหนังกับอาสาสมัคร ตัวรับแรงกลที่ผิวหนังรวมทั้ง Pacinian corpuscle (ป้ายที่ตรงกลางล่าง) และ Meissner’s corpuscle (ป้ายที่บนขวา) ซึ่งช่วยให้รับรู้สัมผัสที่ผิวหนัง.

ใหม่!!: พื้นที่และตัวรับแรงกล · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: พื้นที่และตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตารางวา

ตารางวา เป็นหน่วยวัดพื้นที่ของไท.

ใหม่!!: พื้นที่และตารางวา · ดูเพิ่มเติม »

ตารางไมล์

ตารางไมล์ คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.ไมล์ หรือสัญลักษณ์ ไมล์² จากภาษาอังกฤษ mile² 1 ตารางไมล.

ใหม่!!: พื้นที่และตารางไมล์ · ดูเพิ่มเติม »

ตารางเมตร

ตารางเมตร คือ หน่วยอนุพันธ์ระบบเอสไอของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.ม. หรือสัญลักษณ์ ม.2 จากภาษาอังกฤษ m2 1 ตารางเมตร มีค่าเท่ากับ.

ใหม่!!: พื้นที่และตารางเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตารางเซนติเมตร

ตารางเซนติเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.ซม.

ใหม่!!: พื้นที่และตารางเซนติเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลปากหมาก

ตำบลปากหมาก เป็นตำบลที่มีเนื้อที่ และ ประชากร มากที่สุดในอำเภอไชยา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตภูเขา มีที่ราบค่อนข้างน้อย โดยมีเนื้อที่รวม 475 ตารางกิโลเมตร และจำนวนประชากรประมาณ 10,050 คน ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน และสวนผลไม้ ที่ตั้งตำบล มีถนนหลวงสาย 4191 ตัดผ่าน ตั้งอยู่ห่างจากตัวอำเภอไชยาประมาณ 20 กิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 หมู่บ้าน ได้แก.

ใหม่!!: พื้นที่และตำบลปากหมาก · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิยานุพันธ์

นามความชันของ ''F''(''x'').

ใหม่!!: พื้นที่และปฏิยานุพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปริพันธ์

ปริพันธ์ (integral) คือ ฟังก์ชันที่ใช้หา พื้นที่, มวล, ปริมาตร หรือผลรวมต่าง.

ใหม่!!: พื้นที่และปริพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปริมาตร

ออนซ์ และมิลลิลิตร ปริมาตร หมายถึง ปริมาณของปริภูมิหรือรูปทรงสามมิติ ซึ่งยึดถือหรือบรรจุอยู่ในภาชนะไม่ว่าจะสถานะใดๆก็ตาม บ่อยครั้งที่ปริมาตรระบุปริมาณเป็นตัวเลขโดยใช้หน่วยกำกับ เช่นลูกบาศก์เมตรซึ่งเป็นหน่วยอนุพันธ์เอสไอ นอกจากนี้ยังเป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไปว่า ปริมาตรของภาชนะคือ ความจุ ของภาชนะ เช่นปริมาณของของไหล (ของเหลวหรือแก๊ส) ที่ภาชนะนั้นสามารถบรรจุได้ มากกว่าจะหมายถึงปริมาณเนื้อวัสดุของภาชนะ รูปทรงสามมิติทางคณิตศาสตร์มักถูกกำหนดปริมาตรขึ้นด้วยพร้อมกัน ปริมาตรของรูปทรงอย่างง่ายบางชนิด เช่นมีด้านยาวเท่ากัน สันขอบตรง และรูปร่างกลมเป็นต้น สามารถคำนวณได้ง่ายโดยใช้สูตรต่าง ๆ ทางเรขาคณิต ส่วนปริมาตรของรูปทรงที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นสามารถคำนวณได้ด้วยแคลคูลัสเชิงปริพันธ์ถ้าทราบสูตรสำหรับขอบเขตของรูปทรงนั้น รูปร่างหนึ่งมิติ (เช่นเส้นตรง) และรูปร่างสองมิติ (เช่นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส) ถูกกำหนดให้มีปริมาตรเป็นศูนย์ในปริภูมิสามมิติ ปริมาตรของของแข็ง (ไม่ว่าจะมีรูปทรงปกติหรือไม่ปกติ) สามารถตรวจวัดได้ด้วยการแทนที่ของไหล และการแทนที่ของเหลวสามารถใช้ตรวจวัดปริมาตรของแก๊สได้อีกด้วย ปริมาตรรวมของวัสดุสองชนิดโดยปกติจะมากกว่าปริมาตรของวัสดุอย่างใดอย่างหนึ่ง เว้นแต่เมื่อวัสดุหนึ่งละลายในอีกวัสดุหนึ่งแล้ว ปริมาตรรวมจะไม่เป็นไปตามหลักการบวก ในเรขาคณิตเชิงอนุพันธ์ ปริมาตรถูกอธิบายด้วยความหมายของรูปแบบปริมาตร (volume form) และเป็นตัวยืนยงแบบไรมันน์ (Riemann invariant) ที่สำคัญโดยรวม ในอุณหพลศาสตร์ ปริมาตรคือตัวแปรเสริม (parameter) ชนิดพื้นฐาน และเป็นตัวแปรควบคู่ (conjugate variable) กับความดัน.

ใหม่!!: พื้นที่และปริมาตร · ดูเพิ่มเติม »

ปลายรัฟฟินี

ปลายรัฟฟินี หรือ เม็ดรัฟฟินี หรือ เม็ดกระเปาะ (Bulbous corpuscle, Ruffini ending, Ruffini corpuscle) เป็นปลายประสาทรับแรงกลแบนที่หุ้มด้วยแคปซูลรูปกระสวย โดยแคปซูลเป็นเนื้อเยื่อยึดต่อ (connective tissue) ประกอบด้วยใยคอลลาเจนที่เกี่ยวพันกับใยประสาท และเชื่อมกับใยประสาทแบบ slowly adapting type 2 (SA2) ซึ่งมีปลอกไมอีลินหนา ปรับตัวอย่างช้า ๆ (slowly adapting) และตรวจจับแรงตึง/การขยาย/การเหยียด ซึ่งช่วยให้รู้รูปร่างของวัสดุที่อยู่ในมือและรูปร่างของมือในบรรดาตัวรับแรงกลที่หุ้มปลายพิเศษ 4 อย่างที่ผิวหนัง อนึ่ง นอกจากที่ผิวหนัง ยังมีอยู่ในเอ็นยึดข้อต่อ ปลอกหุ้มข้อต่อ และเอ็นปริทันต์ (periodontal ligament) ด้วย โครงสร้างนี้มีชื่อตามนายแพทย์ชาวอิตาลีผู้ค้นพบ คือ แอนเจโล รัฟฟินี.

ใหม่!!: พื้นที่และปลายรัฟฟินี · ดูเพิ่มเติม »

นิวอิงแลนด์

นิวอิงแลนด์ (New England) เป็นเขตหนึ่งในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ โดยมีเมืองบอสตัน เป็นเมืองขนาดใหญ่ในเขต เขตนิวอิงแลนด์ประกอบด้วย 6 รัฐ ได้แก่ รัฐคอนเนตทิคัต รัฐนิวแฮมป์เชียร์ รัฐเมน รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐโรดไอแลนด์ และ รัฐเวอร์มอนต์ นิวอิงแลนด์มีทีมกีฬาที่สำคัญคือ นิวอิงแลนด์ เพทริออตส์ ทีมอเมริกันฟุตบอลจากเมืองฟอกซ์โบโร และทีมฟุตบอล นิวอิงแลนด์ เรฟโวลูชัน.

ใหม่!!: พื้นที่และนิวอิงแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

นิวเดลี

นิวเดลี (New Delhi; नई दिल्ली) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: พื้นที่และนิวเดลี · ดูเพิ่มเติม »

แรงตึงผิว

แรงตึงผิว (Surface tension) คือคุณสมบัติของพื้นผิวของของเหลว เป็นสิ่งทำให้เกิดบางส่วนของพื้นผิวของเหลวถูกดึงดูด (ยึดเข้าไว้ด้วยกัน) สู่พื้นผิวอื่น เช่น พื้นผิวของเหลวส่วนอื่น (การรวมตัวของหยดน้ำหรือหยดปรอทที่แกะกันเป็นลูกกลม) แรงตึงผิวถูกทำให้เกิดขึ้นด้วยการดึงดูด (การดึงดูดของโมเลกุลกับโมเลกุลที่เหมือนกัน) เมื่อโมเลกุลบนพื้นผิวของของเหลวไม่ได้ล้อมรอบไปด้วยโมเลกุลที่เหมือนกันในทุกๆด้านแล้ว โมเลกุลจะมีแรงดึงดูดกับโมเลกุลใกล้เคียงบนพื้นผิวมากขึ้น แรงตึงผิวมีมิติของแรงต่อความยาวหนึ่งหน่วย หรือของพลังงานต่อพื้นที่หนึ่งหน่วย ซึ่งทั้งสองมีค่าเท่ากัน แต่พลังงานต่อพื้นที่หนึ่งหน่วยอยู่ในพจน์พลังงานพื้นผิว ซึ่งเป็นพจน์ทั่วไปในนัยที่ใช้กับของแข็งไม่ค่อยใช้ในของเหลว ในวัสดุศาสตร์ แรงตึงผิวใช้อยู่ในความเค้นพื้นผิว (surface stress) หรือ พลังงานอิสระพื้นผิว (surface free energy).

ใหม่!!: พื้นที่และแรงตึงผิว · ดูเพิ่มเติม »

แคลคูลัส

แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ และสังคมศาสตร์ แคลคูลัสมีต้นกำเนิดจากสองแนวคิดหลัก ดังนี้ แนวคิดแรกคือ แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้องกับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บนจุดที่กำหนดให้.

ใหม่!!: พื้นที่และแคลคูลัส · ดูเพิ่มเติม »

แคนทอน

แคนทอน (canton) เป็นหน่วยการปกครองของประเทศหนึ่ง ๆ โดยทั่วไปแล้ว แคนทอนจะค่อนข้างเล็กทั้งโดยขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรเมื่อเทียบกับหน่วยการปกครองอื่น ๆ เช่น เทศมณฑล/เคาน์ตี เขต (department) และจังหวัด และโดยสากลแล้ว แคนทอนที่รู้จักดีที่สุด ที่สำคัญทางการเมืองมากที่สุด ก็คือของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพราะแม้จะเป็นส่วนหนึ่งของสมาพันธรัฐสวิสทั้งโดยทฤษฎีและโดยประวัติ แต่แคนทอนในสวิตเซอร์แลนด์ก็ยังจัดได้ว่าเป็นรัฐกึ่งเอกราช (semi-sovereign) คำว่าแคนทอนมาจากคำภาษาฝรั่งเศสสมัยกลาง/ภาษาอิตาลี/ภาษาละติน ว่า canton / cantone / canto / canthus ซึ่งแปลว่า "เมือง" "เขต" หรือ "มุม".

ใหม่!!: พื้นที่และแคนทอน · ดูเพิ่มเติม »

แคนเบอร์รา

แคนเบอร์รา (Canberra) เป็นเมืองหลวงของเครือรัฐออสเตรเลีย มีประชากรประมาณ 403,468 คน(ข้อมูลเมื่อมิถุนายน 2559) โดยแคนเบอร์ร่าเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของเครือรัฐออสเตรเลีย และนับว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในออสเตรเลียที่ไม่ติดต่อกับชายฝั่งทะเล แคนเบอร์ราตั้งอยู่ที่ตอนเหนือของออสเตรเลียน แคปิตอล เทอร์ริทอรี (Australian Capital Territory, มณฑลนครหลวงของออสเตรเลีย) มีระยะทางห่างจากเมืองซิดนีย์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 170 ไมล์(280 กิโลเมตร) และห่างจากเมืองเมลเบิร์น 410 ไมล์(660 กิโลเมตร) โดยคนท้องที่มักรู้จักกันในชื่อ "แคนเบอร์รัน"(อังกฤษ: Canberran) แม้ว่าคำว่าแคนเบอร์ร่าจะเป็นชื่อที่ใช้อย่างเป็นทางการ และยังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการหลายหน่วยงาน แคนเบอร์ราได้รับเลือกเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงประจำออสเตรเลียเมื่อ..

ใหม่!!: พื้นที่และแคนเบอร์รา · ดูเพิ่มเติม »

โดเนตสค์

นตสค์ (Donetsk) (ยูเครน: Донецьк, รัสเซีย: Доне́цк) เป็นเมืองในภาคตะวันออกของประเทศยูเครน มีพื้นที่ 358 ตารางกิโลเมตร ประชากร 1,100,700 คน.

ใหม่!!: พื้นที่และโดเนตสค์ · ดูเพิ่มเติม »

ไร่

ร่ เป็นหน่วยวัดพื้นที่ของประเทศไทย 1 ไร่ มีค่าเท่ากั.

ใหม่!!: พื้นที่และไร่ · ดูเพิ่มเติม »

เมกะ

มกะ (Mega, สัญลักษณ์ M) เป็นคำนำหน้าหน่วยที่ใช้ในระบบเมตริก ที่เรียกกันว่า คำอุปสรรคเอสไอ แสดงถึงค่าหนึ่งล้าน (106 หรือ 1000000) คำดังกล่าวเริ่มใช้อย่างเป็นทางการในระบบเอสไอตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พื้นที่และเมกะ · ดูเพิ่มเติม »

เวลา

ำหรับนวนิยายซีไรต์ดูที่ เวลา (นวนิยาย) นาฬิกาพก เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาเวลา เวลา ในมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นองค์ประกอบพื้นฐานหนึ่งของจักรวาล ให้เหตุการณ์ต่าง ๆ ดำเนินอยู่ในนั้น ซึ่งเป็นแนวคิดของไอแซก นิวตัน อีกมุมมองหนึ่งกล่าวว่า เวลาเป็นสิ่งสมมุติเช่นเดียวกับพื้นที่ (สเปซ) และตัวเลข มีเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นเป็นลำดับ แต่ไม่ได้หมายความว่าเวลากับเหตุการณ์เหล่านั้นจะรวมอยู่ด้วยกัน ซึ่งเป็นแนวคิดของอิมมานูเอล คานต์ และกอตฟรีด ไลบ์นิซ บางที มุมมองทั้งสองเกี่ยวกับเวลาก็ยังน่าสับสนอยู่ จึงมีการนิยามโดยการปฏิบัติ ความหมายของการดำเนินงาน หรือ(operational definition) ซึ่งมักใช้การเคลื่อนที่หรือการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นคาบของวัตถุเป็นตัววัดเวลา เช่น ดิถี (ข้างขึ้นข้างแรม) ของดวงจันทร์ การแกว่งของลูกตุ้ม การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เวลา เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ ปรัชญา และศิลปศาสตร์ แต่ละสาขาก็มีมุมมองต่าง ๆ กันไป เช่น ในวิชาเศรษฐศาสตร์ อาจมองว่า "เวลาเป็นเงินทอง" ("Time is money.") เป็นต้น.

ใหม่!!: พื้นที่และเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เส้นมัธยฐาน

้นมัธยฐานตัดกันที่เซนทรอยด์ ในทางเรขาคณิต เส้นมัธยฐาน คือเส้นตรงที่ลากผ่านจุดกึ่งกลางบนด้านของรูปสามเหลี่ยมไปยังจุดยอดที่อยู่ตรงข้าม ทำให้พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่ากัน เส้นมัธยฐานสามเส้นของรูปสามเหลี่ยมจะตัดกันที่เซนทรอยด์ (centroid) หรือศูนย์กลางมวล และเส้นมัธยฐานทุกเส้นจะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนที่จุดตัด โดยมีความยาวเป็น 2/3 ระหว่างจุดยอดกับเซนทรอยด์ และ 1/3 ระหว่างจุดกึ่งกลางด้านกับเซนทรอยด์ ไม่มีเส้นตรงอื่นใดที่แบ่งพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมออกเป็นสองส่วนเท่ากันแล้วผ่านเซนทรอยด์ นอกจากเส้นมัธยฐาน.

ใหม่!!: พื้นที่และเส้นมัธยฐาน · ดูเพิ่มเติม »

เส้นรอบรูป

้นรอบรูปคือขอบเขตของรูปร่าง หรือความยาวขอบเขตของรูปร่างนั้น เมื่อเส้นผ่านศูนย์กลางของรูปวงกลมเท่ากับหนึ่งหน่วย เส้นรอบรูปจะเท่ากับ π หน่วย ซึ่งเป็นระยะทางที่รูปวงกลมกลิ้งไปได้หนึ่งรอบ เส้นรอบรูป หมายถึงเส้นทางปิดที่ล้อมรอบพื้นที่หนึ่ง คำนี้อาจใช้อ้างถึงเส้นทางหรือความยาวของเส้นทางนั้น ซึ่งก็คือความยาวรอบรูปของรูปร่างชนิดใดชนิดหนึ่ง นอกจากนี้เส้นรอบรูปของรูปวงกลมเรียกว่าเส้นรอบวง.

ใหม่!!: พื้นที่และเส้นรอบรูป · ดูเพิ่มเติม »

เอเคอร์

อเคอร์ (acre) เป็นหน่วยวัดพื้นที่ที่มีใช้ในระบบต่าง ๆ รวมทั้งระบบอังกฤษและระบบธรรมเนียมสหรัฐอเมริกา หน่วยเอเคอร์ที่ใช้กันทั่วไปมากที่สุดมีสองอย่างได้แก่ เอเคอร์สากล (international acre) และในอเมริกาคือ เอเคอร์รังวัด (survey acre) หน่วยเอเคอร์มักใช้กับการรังวัดที่ดินเป็นหลัก หน่วยเอเคอร์มีความสัมพันธ์กับหน่วยตารางไมล์ นั่นคือ 640 เอเคอร์รวมกันเป็น 1 ตารางไมล์ พื้นที่ 1 เอเคอร์มีขนาดเท่ากับ 4,840 ตารางหลา หรือ 43,560 ตารางฟุต หรือประมาณ 4,050 ตารางเมตร (0.405 เฮกตาร์) หรือ ประมาณ 2.53 ไร.

ใหม่!!: พื้นที่และเอเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเคอร์ (แก้ความกำกวม)

อเคอร์ อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: พื้นที่และเอเคอร์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

เฮกตาร์

กตาร์ คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ha จากภาษาอังกฤษ hectare 1 เฮกตาร์ มีค่าเท่ากับ.

ใหม่!!: พื้นที่และเฮกตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะจีโอเมเตอส์สเกตช์แพด

อะจีโอเมเตอส์สเกตช์แพด (The Geometer's Sketchpad) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า สเกตช์แพด หรือ จีเอสพี (GSP) เป็นซอฟต์แวร์เรขาคณิตที่เป็นที่นิยมในเชิงพาณิชย์ ใช้สำหรับการสำรวจ เรขาคณิตแบบยูคลิด พีชคณิต แคลคูลัส และคณิตศาสตร์สาขาอื่น ๆ โปรแกรมนี้สร้างขึ้นโดย นิโคลัส แจ็กกิว (Nicholas Jackiw) ออกแบบมาเพื่อให้ทำงานบนวินโดวส์ 95 หรือวินโดวส์เอ็นที 4.0 หรือรุ่นต่อจากนั้น และโอเอส 8.6 หรือรุ่นต่อจากนั้น (รวมถึงโอเอสเทน) และยังสามารถทำงานบนลินุกซ์ โดยอยู่ภายใต้การทำงานของไวน์ แต่ยังมีข้อบกพร่องเล็กน้อ.

ใหม่!!: พื้นที่และเดอะจีโอเมเตอส์สเกตช์แพด · ดูเพิ่มเติม »

เซกเมนต์วงกลม

ในวิชาเรขาคณิต, เซกเมนต์วงกลม (สัญลักษณ์ ⌓) เป็นพื้นที่ของวงกลมที่กำหนดไว้อย่างไม่เป็นทางการว่าเป็นพื้นที่ที่ถูก "ตัดออก" จากส่วนที่เหลือของวงกลมโดยเส้นตรงที่ตัดวงกลม (secant) หรือคอร์ด (chord).

ใหม่!!: พื้นที่และเซกเมนต์วงกลม · ดูเพิ่มเติม »

เซกเตอร์วงกลม

ซกเตอร์วงกลม คือ บริเวณที่ถูกแรเงาด้วยสีเขียว เซกเตอร์แบบวงกลม (circular sector) หรือ เซกเตอร์วงกลม (circle sector) คือ ส่วนของแผ่นดิสก์ที่ล้อมรอบด้วยรัศมีทั้งสองและส่วนโค้งของวงกลม, เมื่อพื้นที่ขนาดเล็กเรียกว่าเป็นเซกเตอร์รอง (minor sector) และพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นเซกเตอร์หลัก (major sector) ในแผนภาพ θ คือ มุมที่จุดศูนย์กลางมีหน่วยเป็น เรเดียน, r คือ รัศมีของวงกลมและ L คือความยาวส่วนโค้งย่อยของเซกเตอร์ เซกเตอร์ที่ประกอบด้วยมุมที่จุดศูนย์กลางที่มีขนาด 180 ° เรียกว่าเป็นรูปครึ่งวงกลม เซกเตอร์ที่ประกอบด้วยมุมที่จุดศูนย์กลางอื่น ๆ บางครั้งก็จะเรียกชื่อที่พิเศษออกไป, เหล่านี้รวมถึงควอเดรนท์ (quadrants) (90 °), เซ็กซ์เทนท์ (sextants) (60 °) และ อ๊อกเทนท์ (octants) (45 °).

ใหม่!!: พื้นที่และเซกเตอร์วงกลม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

เนื้อที่

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »