เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พืช

ดัชนี พืช

ืช เป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มใหญ่ประเภทหนึ่ง (มีประมาณ 350,000 สปีชีส์ ถูกระบุแล้ว 287,655 สปีชีส์ เป็นพืชดอก 258,650 ชนิด และพืชไม่มีท่อลำเลียง 18,000 ชนิด) อยู่ในอาณาจักรพืช (Kingdom Plantea) ประกอบด้วย ไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก และเฟิร์น พบได้ทั้งบนบกและในน้ำ เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยหลายเซลล์ นิวเคลียสมีผนังเซลล์ ห่อหุ้ม เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แค่เอียงตัว จะสามารถเห็นได้ชัดเจน.เมื่อมีแดดส่อง พืชจะเอียงตัวไปที่แดด ไม่มีอวัยวะเกี่ยวกับความรู้สึก มีคลอโรฟิลล์ซึ่งเป็นสารสีเขียว ช่วยในการสังเคราะห์และเจริญเติบโต.

สารบัญ

  1. 890 ความสัมพันธ์: ชบาจีนชมพูฮาวายชมพู่น้ำดอกไม้ชมจันทร์บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลกบรรพชีวินวิทยาชวนชมบอระเพ็ดชะพลูชะมวงชะมดเช็ดชะลูดช้างชะอมชะนีชะโนดชะเอมเทศชัยพฤกษ์บัวบกบัวบาบัววิกตอเรียบัวสวรรค์บัวสายบัวหลวงบัวผุดบัวดอยบัวตองบัทเทอร์คัพชั้นพอลิพลาโคฟอราชั้นปลากระดูกแข็งชาปัตตาเวียบานชื่นบานบุรีบานบุรีสีม่วงบานบุรีสีแสดบานไม่รู้โรยบานเย็นชำมะนาดชิงชันชุมเห็ดเทศบุหรงช้างบุหรงดอกทู่บุหงาส่าหรีบุนนาคชีววิทยาชีวิตบีตา-แคโรทีนชงโคชนิดพันธุ์ต่างถิ่นชนิดย่อยบ๊วย (Rosaceae)... ขยายดัชนี (840 มากกว่า) »

ชบาจีน

ีน เป็นไม้ในสกุล Hibiscus มีถิ่นกำเนิดจากประเทศจีน ที่มีความผันแปรทั้งรูปทรงของใบ ลำต้น และดอกมาก ตลอดจนปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ง่าย และเป็นดอกไม้ประจำชาติเกาหลีใต้.

ดู พืชและชบาจีน

ชมพูฮาวาย

มพูฮาวาย หรือ แฮปปี้เนส (Zimbabwe creeper, Pink Trumpet Vine, Trumpet Vine) เป็นไม้กึ่งพุ่มกึ่งเลื้อย กำเนิดที่ประเทศแอฟริกาใต้ ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ดหรือปักชำกิ่ง ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียวปลายคี่ เรียงตัวแบบตรงข้าม ขอบใบแบบจักฟันเลื่อยช่อดอกแบบช่อกระจุก สมบูรณ์เพศ สมมาตรด้านข้าง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกันปลายแยกเป็นแฉก กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง สีชมพู ปลายกลีบแยกเป็นรูปปากเปิด ส่วนที่อยู่ด้านบนมี 2 กลีบ เกสรเพศผู้มี 4 อัน เป็นแบบ 2 คู่ยาวไม่เท่ากัน เกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 2 แฉก รังไข่เหนือวงกลีบ ออกดอกตลอดปี ดอกมีกลิ่นหอมตลอดวัน หอมมากช่วงเย็นถึงค่ำ ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำโดยใช้กิ่งอ่อน ^^.

ดู พืชและชมพูฮาวาย

ชมพู่น้ำดอกไม้

มพู่น้ำดอกไม้ เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและชมพู่น้ำดอกไม้

ชมจันทร์

ผลแก่ของต้นชมจันทร์ ชมจันทร์ หรือ ดอกพระจันทร์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ipomoea alba L. อยู่ในวงศ์ Convolvulaceae สกุล Ipomoea มีถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อนของทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้และแพร่กระจายอย่างกว้างขวาง สามารถพบได้ทั้งในเขตอบอุ่นและเขตร้อนของอเมริกา ประเทศออสเตรเลียและในกลุ่มประเทศเขตร้อนของทวีปเอเชี.

ดู พืชและชมจันทร์

บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก

อาณาจักรและโดเมน สีม่วงคือแบคทีเรีย สีเทาเข้มคืออาร์เคีย สีน้ำตาลคือยูแคริโอต โดยยูแคริโอตยังแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักรคือ สัตว์(แดง) ฟังไจ(น้ำเงิน) พืช(เขียว) โครมาลวีโอลาตา(น้ำทะเล) และ โพรทิสตา(เหลืองทอง) โดยมีจุดศูนย์กลางคือ บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (LUCA) บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (last universal common ancestor; ตัวย่อ: LUCA) หมายถึง สิ่งมีชีวิตรุ่นล่าสุด ที่เป็นบรรพบุรุษร่วมกันของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกนี้ คล้ายคลึงกับ บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุด (MRCA) ซึ่งหมายความถึงสับเซตใดๆของ LUCA ขณะที่ LUCA เองมีความหมายครอบคลุมถึงทุกเซตทั้งหม.

ดู พืชและบรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก

บรรพชีวินวิทยา

นักบรรพชีวินวิทยา บรรพชีวินวิทยา (Paleontology) คือ วิชาที่ศึกษาลักษณะรูปร่าง ลักษณะความเป็นอยู่ และประวัติการวิวัฒนการของสิ่งมีชีวิต ได้แก่สัตว์และพืชในธรณีกาล โดยอาศัยข้อมูลหรือร่องรอยต่างๆ ของสัตว์และพืชนั้นๆที่ถูกเก็บบันทึกและรักษาไว้ในชั้นหิน จัดเป็นแขนงหนึ่งของวิชาธรณีวิทยา ที่อาศัยความรู้ทางชีววิทยาปัจจุบันไปเปรียบเทียบกับหลักฐานที่ได้สภาพซากดึกดำบรรพ์ เพื่อให้เข้าใจสภาพแวดล้อมในอดีตในช่วงที่สิ่งมีชีวิตเหล่านี้อาศัยอยู่ ผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับซากดึกดำบรรพ์ เรียกว่า นักบรรพชีวินวิท.

ดู พืชและบรรพชีวินวิทยา

ชวนชม

วนชม Adenium เป็นชื่อของพรรณไม้ที่มีสีสันของดอกสวยงาม เป็นไม้ที่ปลูกเลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพแห้งแล้งมาก จนได้รับสมญาว่า Desert Rose (กุหลาบทะเลทราย) นอกจากนี้ตามความเชื่อของคนไทยชื่อ "ชวนชม" ยังเป็นชื่อที่มีความไพเราะเป็นศิริมงคล และชาวจีนว่า "ปู้กุ้ยฮวย" ซึ่งแปลว่า ดอกไม้แห่งความร่ำรวย แต่ดอกชวนชมมีสาร abobioside, echubioside ตรงนำยางสีขาว ถ้าน้ำยางถูกผิวหนังจะทำให้ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดง ถ้าเข้าตา ตาจะอักเสบ กินเข้าไปจะเป็นพิษ แต่น้ำยางมีรสขมมาก โอกาสกินมีน้อย ถ้ากินจะมีผลต่อหัวใจ อาการเบื้องต้นจะทำให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ตาพร่า หัวใจเต้นอ่อน ความดันลดลงอาจตายได้.

ดู พืชและชวนชม

บอระเพ็ด

รเพรช เป็นไม้เถาเลื้อยที่จัดอยู่ในประเภทไม้เนื้ออ่อนซึ่งมีคุณค่าทางสมุนไพรชนิดหนึ่ง.

ดู พืชและบอระเพ็ด

ชะพลู

ลู หรือ ช้าพลู (ชื่อวิทยาศาสตร์: Piper sarmentosum Roxb.) เป็นพืชในวงศ์ Piperaceae มักสับสนกับพลู แต่ใบรสไม่จัดเท่าพลูและมีขนาดเล็กกว่า ชะพลูเป็นพันธุ์ไม้ที่ชอบพื้นที่ลุ่ม มีความชื้น ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการปักชำ โดยการเลือกกิ่งที่มีใบอ่อนและใบแก่ เด็ดใบแก่ออกและนำไปปักชำได้ ชะพลูมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกคือทางภาคเหนือเรียกว่า "ผักปูนา" "ผักพลูนก" "พลูลิง" "ปูลิง" "ปูลิงนก" ทางภาคกลาง เรียกว่า "ช้าพลู" ทางภาคอีสานเรียกว่า "ผักแค" "ผักปูลิง" "ผักนางเลิด" "ผักอีเลิด" และ ทางภาคใต้เรียกว่า "นมวา".

ดู พืชและชะพลู

ชะมวง

มวงหรือส้มโมง เป็นชื่อของต้นไม้ยืนต้นขนาดย่อมไปจนกระทั่งถึงขนาดกลางชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ GUTTTIFERACEAE พบได้ตามป่าร้อนชื้นทั่วไป เปลือกเรียบ สีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีน้ำยางสีเหลืองขุ่น ใบเดี่ยว ผิวใบเป็นมัน เนื้อใบหนา มีรสเปรี้ยว ดอก เป็นช่อขนาดเล็ก กลีบดอกแข็ง หนา ผลสด ทรงกลม ผิวเรียบมีพูตื้นๆรอบผล ผลอ่อน สีเขียวอมเหลือง สุกแล้วมีสีเหลืองถึงส้มชอบขึ้นในดินกร่อยหรือดินชายทะเล ชะมวงมีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร ใบและผลรสเปรี้ยว ใช้เป็นยาระบาย ฟอกโลหิต รากใช้แก้ไข้ ใบมีรสเปรี้ยว ใช้ปรุงอาหารได้หลายอย่าง เช่น ทางภาคตะวันออกใช้ปรุงรสเปรียวในหมูชะมวง ทางภาคใต้ นำไปใบใส่ปรุงรสเปรี้ยวในต้มเนื้อชะมวง ผลชะมวง.

ดู พืชและชะมวง

ชะมดเช็ด

มดเช็ด หรือ ชะมดเชียง หรือ มูสัง (Indian small civet) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง จัดเป็นชะมดขนาดเล็ก ขาสั้น หูทั้งสองข้างอยู่ใกล้กัน เมื่อมองไกล ๆ อาจคล้ายแมว จนตามลำตัวมีสีน้ำตาลเหลือง และมีจุดสีดำขนาดเล็กแทรกอยู่ทั่วไปตามลำตัว มีแถบสีดำและขาวบริเวณลำคอ หางมีวงสีดำ 6-9 ปล้องพาดขวางอยู่ ทำให้มีดูมีลักษณะเป็นปล้องสีดำ ไม่มีขนแผงสันหลัง ปลายหางมีสีขาว ขาหลังมีต่อมกลิ่นที่ใช้สื่อสารระหว่างพวกเดียวกัน และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล ViverriculaBlanford, W.

ดู พืชและชะมดเช็ด

ชะลูดช้าง

ลูดช้าง หรือ ซ่อนกลิ่นเถา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Stephanotis floribunda Brongn.) ชื่อภาษาอังกฤษคือ Madagascar jasmine; Doftranka; Duftranke; Bridal wreath เป็นไม้เลื้อยมียางขาวอยู่ในวงศ์ตีนเป็ด ออกดอกเป็นช่อสีขาว.

ดู พืชและชะลูดช้าง

ชะอม

อม เป็นพืชจำพวกอาเคเซีย นิยมรับประทานในทุกภาคของไทย เป็นพืชยื่นต้น ใช้ใบแก่และอ่อน เป็นสมุนไพร ของไทย ลำต้นของชะอมมีหนาม ใบมีขนาดเล็กและมีกลิ่นฉุน ใบอ่อนของชะอมหรือส่วนยอดของใบสามารถนำมารับประทานได้ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปแต่ละภาค โดยมากมักปลูกตามรั้วบ้านเนื่องจากมีหนามแล้วยังเป็นผักที่ทานได้ตลอดทั้งปี พืชอีกชนิดหนึ่งที่พบในประเทศ ซึ่งเป็นคนละสปีชีส์ย่อยกับชะอมคือผัก.

ดู พืชและชะอม

ชะนี

นี (วงศ์: Hylobatidae; Gibbons; ภาษาเหนือ: อี่ฮุย, อี่วุย) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับวานร (Primates) เป็นลิงไม่มีหาง ซึ่งชะนีถูกจัดให้อยู่ในวงศ์ Hylobatidae และถูกจัดให้เป็น 1 ใน 4 ลิงที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุด (ประกอบไปด้วย ชะนี, ชิมแปนซี, อุรังอุตัง, กอริลลา ซึ่งชะนีมีความใกล้เคียงมนุษย์น้อยที่สุดในบรรดาทั้ง 4 นี้ เนื่องจากมีแขนขาเรียวยาว มีฟันเขี้ยวที่แหลมคม และใช้ชีวิตหากินอยู่บนต้นไม้มากกว่าพื้นดิน) ซึ่งนับว่าชะนีมีแขนที่ยาวที่สุดในบรรดาสัตว์อันดับวานรทั้งหมด และมีฟันที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า Myers, P.

ดู พืชและชะนี

ชะโนด

นด หรือ ค้อสร้อย (Taraw palm) คือ พืชตระกูลปาล์ม พบได้ในเอเชียใต้, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ออสเตรเลีย และแหลมปลายสุดของทวีปแอฟริกา ลักษณะเป็นปาล์มชนิดหนึ่งไม่มีหนาม มีใบเหมือนใบตาล ลำต้นเหมือนต้นมะพร้าว ลูกเป็นเม็ดเล็ก ๆ คล้ายหมาก สูงเต็มที่ประมาณ 30 เมตร สำหรับในประเทศไทยกลับเป็นพืชที่หายาก โดยแหล่งที่มีชะโนดมากที่สุดอยู่ในอำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ในสถานที่ ๆ เรียกว่า ป่าคำชะโนด ชะโนดในจังหวัดนราธิวาสเรียกว่า "ค้อ​" หรือ "​สิ​เหรง"​.

ดู พืชและชะโนด

ชะเอมเทศ

''Glycyrrhiza glabra'' ชะเอมเทศ (มาจากภาษากรีกแปลว่า "รากหวาน") เป็นพรรณไม้ที่มีอายุนานหลายปี ลำต้นมีความยาวประมาณ 1-2 เมตร มีรากใหญ่แตกแขนงจำนวนมาก ใบเป็นใบประกอบลักษณะเป็นรูปขนนก ก้านใบย่อยสั้นมาก แผ่นใบรูปไข่ มีใบย่อยประมาณ 9-17 ใบ ส่วนก้านใบย่อยนั้นจะสั้นมาก ใบจะเป็นสีเขียวอมเหลือง ดอกจะออกเป็นช่อ กลีบดอกจะเป็นสีม่วงอ่อน ๆ และก้านดอกจะสั้นมาก ฝักจะมีลักษณะแบน และผิวข้างนอกจะเรียบ นุ่ม.

ดู พืชและชะเอมเทศ

ชัยพฤกษ์

ใบและดอกของชัยพฤกษ์ ชัยพฤกษ์ (Java Cassia, Pink Shower, Apple Blossom Tree, Rainbow Shower Tree) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) ดอกสีชมพูเข้ม เมื่อออกดอกไม่ทิ้งใบ ฝ้กเกลี้ยงใช้ทำยาได้ มีถิ่นกำเนิดในอินโดนีเซียและประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู พืชและชัยพฤกษ์

บัวบก

ัวบก เป็นพืชสมุนไพรที่อยู่ในแถบเอเชีย ใบบัวบกสามารถช่วยรักษาแผลให้หายได้เร็วขึ้นและยังช่วยลดอาการอักเสบของแผลได้ดี เพราะมีกรดมาเดคาสสิก กรดอะเซียติก และสารอะเซียติโคไซด์ ยาแผนปัจจุบันทำเป็นรูปครีมผงโรยแผล ยาเม็ดรับประทาน เพื่อใช้รักษาแผลสดและแผลผ่าตัด ไม่ว่าจะเป็นแผลไฟไหม้ หรือแผลฝีหนองหรือแผลสด โดยใช้ใบและต้นสดตำละเอียดคั้นน้ำทานวันละ 3 - 4 ครั้ง หรืออาจใช้กากพอกบริเวณแผลด้วย สารสกัดด้วยน้ำของใบบัวบกที่มีความเข้มข้น 31.25 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรยับยั้งการเจริญของ Flavobacterium columnaris ในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ บัวบกที่สกัดด้วยเอทานอล มีความเป็นพิษต่อเซลล์เพาะเลี้ยง Vero cell โดยมีค่า CD50 เท่ากับ 0.16 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร สารสกัดจากต้นสดที่สกัดด้วยเอทานอลมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสและต้านอนุมูลอิสระ ในศรีลังกาใส่ใบบัวบกในข้าวต้ม โดยต้มข้าวกับน้ำซุปผักจนสุกนุ่ม ใส่กะทิ ปรุงรสด้วยเกลือ ยกลงแล้วจึงใส่ใบบัวบก ในไทยใช้เป็นผักแนม กินกับผัดไทย ผัดหมี่ หมี่กะทิ ขนมจีน ลาบ ทำยำใบบัวบก หรือคั้นทำน้ำใบบัวบกทางภาคใต้ใส่ในแกงพริกหมู สำหรับผู้ที่แพ้ถ้ารับประทานใบและต้นเข้าไป ทำให้เวียนศีรษะ ท้องร่วง ถ่ายเป็นเลือด ใจสั่น แขนขากระตุกและเกร็ง น้ำใบบัวบกในประเทศไท.

ดู พืชและบัวบก

บัวบา

ัวบา หรือ ตับเต่าใหญ่ (Water snowflake; (L.) Kuntze) เป็นไม้ลอยน้ำขนาดเล็ก มีดอกสีเหลือง รากยึดกับดินใต้น้ำ ลำต้นเลื้อยและแตกไหลได้ ใบรูปกลมดูคล้ายบัวฝรั่ง ขนาด 8 - 10 cm ใบหนาสีเขียวเป็นมัน ใบอ่อนขอบใบขลิบสีแดงใต้ใบสีม่วงเรื่อ ก้านใบเล็กสีม่วงแดง ออกดอกเป็นช่อตรงข้อก้านใบมี 1 - 4 ดอก ขนาด 1.5 - 2 cm มีกลีบดอกเป็นครุย สีขาว 7 - 8 กลีบ ออกดอกตลอดปี ชอบดินเหนียวที่มีอินทรียวัตถุ เจริญได้ดีที่ระดับน้ำ 15 - 30 cm.

ดู พืชและบัวบา

บัววิกตอเรีย

ัววิกตอเรีย หรือ บัวกระด้ง (Victoria waterlily) เป็นบัวในสกุล Victoria จัดเป็นบัวที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีลำต้นใต้ดินเป็นหัวใหญ่ ใบเป็นใบเดี่ยวขนาดใหญ่ประมาณ 6 ฟุต ลอยบนผิวน้ำ ใบอ่อนมีสีแดงคล้ำเมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีเขียวเข้ม ขอบใบยกขึ้นตั้งตรง มีหนามแหลมตามก้านใบและผิวใบด้านล่าง ก้านดอกและกลีบเลี้ยงด้านนอกมีหนามแหลม ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ ดอกแรกบานจะมีสีขาว จากนั้นจะเปลี่ยนเป็นสีขาวอมชมพู และเป็นสีแดงเรื่อในที่สุด บานเวลาใกล้ค่ำ หรือกลางคืน มีกลิ่นหอม และจะหุบในตอนสายของวันรุ่งขึ้น.

ดู พืชและบัววิกตอเรีย

บัวสวรรค์

ัวสวรรค์ หรือ กัตตาเวียเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและบัวสวรรค์

บัวสาย

ัวสาย เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่ง มีลำต้นใต้ดินเป็นหัว หรือเหง้า ลักษณะคล้ายหัวเผือก ใบเดี่ยวแตกจากเหง้า ก้านใบยาว อ่อน ส่งใบขึ้นมาลอยบนผิวน้ำ แผ่นใบค่อนข้างกลม ผิวใบด้านบนเรียบเป็นมัน ด้านล่างมีขนละเอียด ดอกเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกเหมือนก้านใบ ภายในมียางใสและท่ออากาศมาก ผลเรียกโตนดบัว รับประทานได้ มีแป้งมาก ก้านดอกเรียกสายบัว รับประทานได้.

ดู พืชและบัวสาย

บัวหลวง

ัวหลวง หรือ บัวหลวงอินเดีย (Indian Lotus, Sacred Lotus, Bean of India) เป็นพืชน้ำในสกุลบัวหลวง วงศ์บัว.

ดู พืชและบัวหลวง

บัวผุด

ัวผุด หรือ บัวตูม เป็นกาฝากชนิดหนึ่ง อาศัยอยู่บนรากของพืชจำพวกสกุลเครือเขาน้ำ (Tetrastigma) ซึ่งชาวบ้านเรียกว่าย่านไก่ต้ม มีลักษณะเด่นที่ดอกซึ่งเป็นดอกเดียวขึ้นจากพื้นดินมีขนาดใหญ่ มีกลิ่นเหม็นมาก ให้เห็นระหว่างฤดูฝนระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม ดอกตูมอยู่จะคล้ายกับหม้อขนาดใหญ่มีกลีบหนาจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางของดอก 70-80 เซนติเมตร ที่โคนของดอกมีกลีบนำสีน้ำตาลอมเหลืองเรียงสลับซับซ้อนกันอยู่มาก ภายในดอกจะมีแผ่นแบนคล้ายจาน ด้านบนมีปุ่มคล้ายหนามแหลมจานนี้จะซ้อนเกสรตัวผู้และรังไข่ไว้ด้านล่าง ดอกจะบานอยู่ได้เพียง 4-5 วันเท่านั้น หลังจากนั้นก็จะค่อย ๆ ดำเน่าไป กระจายพันธุ์ทางภาคใต้ของไทย เช่นที่ อุทยานแห่งชาติห้วยยาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และป่าดิบในรัฐกลันตัน และเประในประเทศมาเลเซีย ชาวบ้านนิยมนำดอกตูมมาต้มน้ำดื่ม ช่วยให้คลอดง่าย มดลูกเข้าอู่เร็ว.

ดู พืชและบัวผุด

บัวดอย

ัวดอย หรือ ผู้เฒ่าลืมไม้เท้า เป็นพืชล้มลุกวงศ์ Convallariaceae พบในป่าดิบเขาที่ขึ้นปกคลุมและการกระจายอยู่ตามภูเขาสูงที่มีความสูงจากระดับทะเล ประมาณ 1,400- 2,000 เมตร ในประเทศไทย สำรวจพบต้นบัวดอย ได้แก่ ดอยอ่างขาง (ไม่รวมพันธุ์ที่นำเข้ามาปลูกจากต่างประเทศ) ดอยผ้าห่มปก ดอยเชียงดาว ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ และดอยปุย (อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์) ปางตอง จังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ดู พืชและบัวดอย

บัวตอง

ัวตอง (Tree marigold, Mexican tournesol, Mexican sunflower, Japanese sunflower, Nitobe chrysanthemum; (Hemsl.) A.Gray.) เป็นพืชพื้นเมืองของประเทศเม็กซิโก เป็นไม้ดอกมีอายุยืนยาวหลายปี สามารถสูงได้ถึง 5 เมตร ออกดอกเป็นช่อเดียว บริเวณปลายกิ่ง มีสีเหลืองคล้ายดอกทานตะวัน แต่มีขนาดเล็กกว่า ดอกวงนอกเป็นหมัน กลีบเรียวมีประมาณ 12–14 กลีบ ดอกวงในสีเหลืองส้มเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ใบของบัวตองเป็นใบเดี่ยว รูปไข่หรือแกมขอบขนาน มีขนขึ้นเล็กน้อยประปราย บริเวณ ปลายใบเว้า มีขนขึ้นเล็กน้อยประปราย ปลายใบเว้าลึก 3–5 แฉก ชอบขึ้นในพื้นที่ที่มีอากาศเย็น จะออกดอกสวยงามที่สุดบนยอดดอยที่สูงกว่า 800 เมตรขึ้นไป โดยจะออกดอกในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงต้นเดือนธันวาคมเท่านั้น ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ในประเทศไทย บัวตองมิใช่เป็นพืชพื้นเมือง แต่มีสถานที่ที่มีดอกบัวตองขึ้นอย่างงดงามกว้างขวางเป็นทุ่งและมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ดอยแม่อูคอ อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีที่มาจากการที่บาทหลวงชาวเม็กซิโกผู้หนึ่งนำมาปลูก และต้องใช้เวลาหลายปีกว่าที่กลายมาเป็นทุ่งบัวตองอย่างในปัจจุบัน และถือเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ดู พืชและบัวตอง

บัทเทอร์คัพ

รานังคิวลัส หรือ บัทเทอร์คัพ (RanunculusSunset Western Garden Book, 1995:606–607 หรือ Buttercup) เป็นสกุลพืชที่มีด้วยกันราว 250 ถึงกว่า 400 สปีชีส์ของวงศ์พวงแก้วกุดั่น ที่รวมทั้ง “บัทเทอร์คัพ” “สเปียร์เวิร์ทส” “ตีนกาน้ำ” (water crowfoots) และ lesser celandine (แต่ไม่รวม greater celandine ของตระกูลฝิ่น รานังคิวลัสเป็นพืชยืนต้นที่มีดอกขนาดเล็กสีเหลืองสดหรือขาวที่มีสีเหลืองตรงกลาง แต่บางสายพันธุ์ก็เป็นพืชปีเดียวหรือพืชสองปี มีไม่กี่ชนิดที่มีดอกสีส้มและแดง และบางครั้งเช่นในชนิด Ranunculus auricomus ที่ไม่มีกลีบ แต่ถ้ามีกลีบก็จะเป็นกลีบที่เป็นมันเงาโดยเฉพาะสายพันธุ์ที่มีสีเหลือง ออกดอกระหว่างเดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคมแต่ก็พบดอกทั่วไประหว่างฤดูร้อนมักถือว่าเป็นวัชพืช (opportunistic colonisers).

ดู พืชและบัทเทอร์คัพ

ชั้นพอลิพลาโคฟอรา

ระวังสับสนกับ: ลิ้นทะเล ชั้นพอลิพลาโคฟอรา (ชั้น: Polyplacophora) เป็นมอลลัสคาชั้นหนึ่ง มีชื่อเรียกในชื่อสามัญว่า ลิ่นทะเล หรือ หอยแปดเกล็ด (Chiton) อาศัยอยู่ในทะเล จัดเป็นมอลลัสคาจำพวกหนึ่งที่มีลักษณะแตกต่างไปจากมอลลัสคาชั้นอื่น ๆ กล่าวคือ แทนที่จะเปลือกหรือฝาเดียวหรือสองฝา แต่กลับมีมากถึง 7-8 ชิ้น ที่แยกออกจากกันแต่ก็ยึดเข้าไว้ด้วยกันทางด้านบนลำตัวเหมือนชุดเกราะ มีวิวัฒนาการที่ต้องแนบลำตัวดัดไปตามพื้นผิวแข็งขรุขระใต้ทะเลเพื่อแทะเล็มสาหร่ายทะเลและพืชทะเลที่เจริญเติบโตบนหิน ขณะที่ในบางชนิดก็ดักซุ่มรอกินเหยื่อตัวเล็ก ๆ ที่เคลื่อนผ่านไปมา ชั้นพอลิพลาโคฟอรานั้นวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษที่มีอายุยาวนานกว่า 500 ล้านปี โดยที่ในปัจจุบัน ก็มิได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปจากเดิมมากน้อยเท่าไหร่นัก โดยมีลำตัวเป็นวงรีคล้ายรูปไข่ มักพบอาศัยอยู่ตามโขดหินตามริมชายฝั่ง ปัจจุบันนี้พบแล้วทั้งหมด 900-1,000 ชนิด โดยศัพท์คำว่า "Polyplacophora" นั้น แปลได้ว่า "ผู้มีหลายเกล็ด".

ดู พืชและชั้นพอลิพลาโคฟอรา

ชั้นปลากระดูกแข็ง

ปลากระดูกแข็ง (ชั้น: Osteichthyes, Bony fish) จัดอยู่ในอาณาจักรสัตว์ซึ่งอยู่ในไฟลัมคอร์ดาตา เป็นปลาที่จัดอยู่ในชั้น Osteichthyes พบทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม โครงร่างภายในเป็นกระดูกแข็งทั้งหมด ก้านครีบอาจเป็นกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งก็ได้ มีกระดูกสันหลัง ปากอยู่ปลายสุดด้านหน้า มีฟัน ตาขนาดใหญ่ ไม่มีหนังตา ขากรรไกรเจริญดี หายใจด้วยเหงือก มีฝาปิดเหงือก หัวใจมี 2 ห้อง เม็ดเลือดแดงมีนิวเคลียส เส้นประสาทสมองมี 10 คู่ มีถุงรับกลิ่น 1 คู่ แยกเพศ ปฏิสนธิภายนอก ออกลูกเป็นไข่ มีบางชนิดที่ออกลูกเป็นตัว.

ดู พืชและชั้นปลากระดูกแข็ง

ชาปัตตาเวีย

ปัตตาเวีย หรือ ชาใบมัน (Singapore Holly หรือ Miniature Holly; L.) เป็นพืชมีดอกในวงศ์ Malpighiacea และเป็นพืชท้องถิ่นในแถบแคริบเบียน บางครั้งเรียกว่าโฮลลีแคระเพราะรูปร่างของใบ แต่เป็นพืชคนละชนิดกับโฮลลี่ที่อยู่ในสกุล Ilex มีดอกสีขาว ผลแบบเบอร์รี่สีแดง และเป็นอาหารของนก ซึ่งช่วยในการกระจายพันธุ์ นิยมนำมาทำบอนไซ.

ดู พืชและชาปัตตาเวีย

บานชื่น

นชื่น (Cav.) เป็นไม้ล้มลุก มักมีขนสาก ระคายทั่วไป ใบเดี่ยวออกตรงข้าม แต่ละคู่ตั้งฉากกัน รูปไข่หรือรี ปลายมนหรือค่อนข้างแหลม ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ริ้วประดับมีหลายวง ดอกมีสีแดง ชมพู ส้ม ม่วง หรืออื่นๆ ชอบอยู่กลางแจ้ง ดูแลรักษาง่าย ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหรือปักชำก็ได้ ปลูกเป็นไม้ประดับเป็นแปลงใหญ่เพื่อความสวยงามหรือส่ง.

ดู พืชและบานชื่น

บานบุรี

นบุรี หรือ บานบุรีเหลือง เป็นพืชพื้นเมืองของบราซิล บานบุรี เป็นสัญลักษณ์ ดอกไม้ประจำโรงเรียนสินปุนคุณวิชญ์ ตำบลสินปุน อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี.

ดู พืชและบานบุรี

บานบุรีสีม่วง

นบุรีสีม่วง (ชื่อสามัญ: Purple Allamanda) มีถิ่นกำเนิดในประเทศบราซิล เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อย กิ่งอ่อนมีขนปกคลุม ใบออกรอบข้อ ข้อละสี่ใบ ดอกออกเป็นช่อ กลีบดอกสีม่วงแดงหรือม่วงอมชมพู โคนกลีบเป็นหลอดสีม่วงเข้ม ใช้เป็นไม้ประดั.

ดู พืชและบานบุรีสีม่วง

บานบุรีสีแสด

นบุรีสีแสด หรือ บานบุรีแสด หรือ บานบุรีหอม มีถิ่นกำเนิดและกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาเหนือตั้งแต่คอสตาริกา จนถึงทวีปอเมริกาใต้ในบราซิล เป็นไม้เลื้อยเนื้อแข็ง ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม ดอกเป็นดอกช่อ ดอกย่อยรูปกรวย กลีบดอกสีเหลืองอมส้ม โคนกลีบเป็นสีส้ม ดอกมีกลิ่นหอมแรง ใช้เป็นไม้ประดั.

ดู พืชและบานบุรีสีแสด

บานไม่รู้โรย

นไม่รู้โรยเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและบานไม่รู้โรย

บานเย็น

อกบานเย็น เป็นสกุล Mirabilis ที่นิยมปลูกมากที่สุด มีสีดอกที่หลากหลาย กล่าวกันว่าบานเย็นถูกนำออกมาจบานเย็นนแม่ต้น (Four-o’clocks; Marvel of Peru) เป็นไม้ดอกากถิ่นกำเนิดในบริเวณเทือกเขาแอนดิส ในเปรู ช่วงปี..

ดู พืชและบานเย็น

ชำมะนาด

ำมะนาด (L.) Ktze.

ดู พืชและชำมะนาด

ชิงชัน

งชัน เป็นชื่อของไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ประเภทไม้ผลัดใบที่อยู่ในวงศ์ Leguminosae ชนิดหนึ่ง (อยู่ในวงศ์เดียวกับประดู่) ต้นไม้ชนิดนี้ขยายพันธุ์โดยเมล็ดและก็สามารถแพร่กระจายพันธุ์ตามป่าดิบแล้งตลอดจนถึงป่าเบญจพรรณทั่วไปยกเว้นเฉพาะทางภาคใต้เท่านั้นที่ไม่สามารถแพร่กระจายพันธุ์ได้เป็นไม้กลางแจ้งที่สามารถขึ้นได้ดีในดินทุกประเภทและต้องการน้ำเพียงปานกลาง ลักษณะของต้นไม้โดยรวม เปลือกจะมีความหนาซึ่งเป็นสีน้ำตาลอมเทาสามารถล่อนออกเป็นแว่นๆได้และมีเนื้อภายในเป็นสีเหลือง ใบนั้นจะเป็นใบประกอบแบบขนนก ดอกมีขนาดเล็กที่รวมกันเป็นช่อ ฝักเป็นรูปหอกแต่แบนส่วนหัวท้ายของฝักนั้นจะแหลม ส่วนระบบรากนั้นจะมีความลึกมาก เนื่องจากไม้ชิงชันนั้นมีลักษณะที่แข็งและเหนียวรวมถึงมีลักษณะที่ดูสวยงามมากดังนั้นจึงนิยมนำมาทำเป็น เครื่องเรือน เครื่องดนตรีต่าง ๆ ฯลฯ นอกจากประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมพื้นบ้านแล้วต้นไม้ชิงชันยังให้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพรอีกด้ว.

ดู พืชและชิงชัน

ชุมเห็ดเทศ

มเห็ดเทศ เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดกลาง ลำต้นมีความสูง 2-3 เมตร ก้านใบนั้นยาว ในก้านหนึ่งนั้นจะมีใบแตกออกเป็น 2 ทาง มีลักษณะคล้ายใบมะยม แต่จะโตและยาวกว่าประมาณ 10-12 ซม.

ดู พืชและชุมเห็ดเทศ

บุหรงช้าง

หรงช้าง Jing Wang, Chalermglin & R.M.K. Saunders พบครั้งแรกในป่าดิบชื้นของ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส เมื่อ..

ดู พืชและบุหรงช้าง

บุหรงดอกทู่

หรงดอกทู่ Jing Wang, Chalermglin and R.M.K. Saunders พบในป่าดิบเขาของ อำเภอแม่ฟ้าหลวง และอำเภอเมืองเชียงรายเป็นไม้พุ่ม สูง 4-6 เมตร ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน เนื้อใบหนา ด้านบนใบสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างมีนวลแป้งสีขาวเคลือบ ดอกออกที่ปลายยอด สีเหลืองอ่อน ดอกบานเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคมของทุกปี.

ดู พืชและบุหรงดอกทู่

บุหงาส่าหรี

หงาส่าหรี หรือ บุหงาบาหลี (Chinese Rose) เป็นไม้ต้นขนาดเล็กอยู่ในวงศ์ Verbenaceae สูง 3-10 เมตร ทรงพุ่มโปร่ง แตกกิ่งก้านจำนวนมาก ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก กว้าง 6-8 ซม.

ดู พืชและบุหงาส่าหรี

บุนนาค

นนาค หรือ สารภีดอย หรือ นาคบุตร เป็นไม้ยื้นต้น เนื้อแข็ง ดอกหอม อยู่ในวศ์เดียวกันกับส้มป่องและติ้วแดง พบได้ในอินเดียและศรีลังก.

ดู พืชและบุนนาค

ชีววิทยา

ีววิทยา (Biology) เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต และสิ่งมีชีวิต ซึ่งรวมถึง โครงสร้าง การทำงาน การเจริญเติบโต ถิ่นกำเนิด วิวัฒนาการ การกระจายพันธุ์ และอนุกรมวิธาน โดยเป็นการศึกษาในทุก ๆ แง่มุมของสิ่งมีชีวิต โดยคำว่า ชีววิทยา (Biology) มาจากภาษากรีก คือคำว่า "bios" แปลว่า สิ่งมีชีวิต และ "logos" แปลว่า วิชา หรือการศึกษาอย่างมีเหตุผล.

ดู พืชและชีววิทยา

ชีวิต

ีวิต คือสถานะที่แยกสิ่งมีชีวิตหรืออินทรีย์ออกจากสิ่งไม่มีชีวิตหรืออนินทรีย์และสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้ว สิ่งมีชีวิตเติบโตผ่านกระบวนการสันดาป การสืบพันธุ์และ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อม สิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดสามารถพบได้ในชีวมณฑลของโลก ส่วนประกอบทั่วไปของสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ - พืช สัตว์ เห็ดรา โพรทิสต์ อาร์เคีย และ แบคทีเรีย - คือ เซลล์ที่มีส่วนของน้ำและคาร์บอนเป็นหลัก และ เซลล์แหล่านี้ถูกเรียบเรียงอย่างซับซ้อนตามข้อมูลจากหน่วยพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตเหล่านี้เข้าสู่กระบวนการสันดาป เพิ่มความสามารถในการเจริญเติบโต ตอบสนองต่อสิ่งรอบตัว และ มีการปรับตัวและวิวัฒนาการโดยการผ่านการคัดเลือกโดยธรรมชาติ สิ่งที่มีคุณสมบัติเหล่านี้เท่านั้นที่ถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิต ชีวิต คือ หน่วยที่ต้องใช้พลังงาน มีคุณสมบัติทั้งกายภาพและชีวภาพดังต่อไปนี้.

ดู พืชและชีวิต

บีตา-แคโรทีน

ีตา-แคโรทีน (β-carotene) เป็นรงควัตถุสีแดง-ส้มเข้มที่พบมากในพืชและผลไม้ เป็นสารประกอบอินทรีย์และในทางเคมีจัดเป็นไฮโดรคาร์บอน หรือให้เจาะจงคือ เทอร์พีนอยด์ (ไอโซพรีนอยด์) ซึ่งสะท้อนว่ามาจากหน่วยไอโซพรีน เบต้าแคโรทีนชีวสังเคราะห์จากเจรานิลเจรานิลไพโรฟอสเฟต (geranylgeranyl pyrophosphate) บีตา-แคโรทีนอยู่ในกลุ่มแคโรทีน ซึ่งเป็นเตตระเทอร์พีน ซึ่งสังเคราะห์ทางชีวเคมีจากแปดหน่วยไอโซพรีนและมี 40 คาร์บอน บีตา-แคโรทีนแตกต่างจากแคโรทีนชนิดอื่น คือ มีวงแหวนบีตาที่ทั้งสองปลายของโมเลกุล การดูดซึมบีตา-แคโรทีนเพิ่มขึ้นหากรับประทานกับไขมัน เพราะแคโรทีนละลายในไขมัน สำหรับขนาดรับประทานของวิตามินเอเพื่อรักษาสุขภาพโดยทั่วไปคือ 5,000 หน่วยสากล (IU) ซึ่งเทียบเท่ากับเบต้าแคโรทีน 3 มิลลิกรัม และสำหรับปริมาณที่สมเหตุสมผลของบีตา-แคโรทีนที่แนะนำให้รับประทานต่อวันเพื่อรักษาสุขภาพให้แข็งแรงคือ 15 มิลลิกรัม ในขณะที่การรับประทานเพื่อหวังผลในรักษาจะต้องได้รับในปริมาณมากกว่านี้.

ดู พืชและบีตา-แคโรทีน

ชงโค

งโค มีถิ่นกำเนิดทางตอนใต้ของประเทศจีนรวมถึงฮ่องกงและทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ดังนี้: ชงโค เสี้ยวเลื่อย (ภาคใต้), เสี้ยวดอกแดง (ภาคเหนือ), เสี้ยวหวาน (แม่ฮ่องสอน) กะเฮอ สะเปซี (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ในสหรัฐอเมริกานิยมปลูกกันที่รัฐฮาวาย, รัฐแคลิฟอร์เนีย, ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐฟลอริดา และทางตอนใต้ของรัฐเทกซัส ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายที่ระบายน้ำดี มีความชื้นสูง.

ดู พืชและชงโค

ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น

อกบัวตอง language.

ดู พืชและชนิดพันธุ์ต่างถิ่น

ชนิดย่อย

นิดย่อย หรือ พันธุ์ย่อย หรือ สปีชีส์ย่อย (subspecies) หมายถึง สิ่งมีชีวิตในสกุล (genus) เดียวกัน และจัดอยู่ในชนิด (species) เดียวกัน แต่มีความแตกต่างกันบ้างเล็กน้อยซึ่งไม่สามารถแยกแยะออกเป็นชนิดใหม่ได้ จึงจัดเป็นชนิดย่อย โดยใช้ชื่อไตรนาม เช่น เต่าปูลู (Platysternon megacephalum pequense) เต่าปูลูเหนือ (Platysternon megacephalum megacephalum) เต่าปูลูใต้ (Platysternon megacephalum vogeli) เป็นต้น ความแตกต่างของชนิดย่อยมักอยู่ที่ลวดลาย สีสัน หรือขนาดลำตัว อันเนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่อยู่ที่แตกต่างกัน ปกติชนิดย่อยของสัตว์นิยมเรียกว่า subspecies ส่วนพืชเรียกว่า variety.

ดู พืชและชนิดย่อย

บ๊วย (Rosaceae)

วย (Chinese plum, Japanese apricot; ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus mume) เป็นผลไม้ที่อยู่ในสกุล Prunus มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน และพบในไต้หวัน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, เวียดนาม และลาว ในประเทศไทยนิยมปลูกบริเวณภาคเหนือของไทย เช่น ดอยอ่างขาง ในโครงการหลวง โดยนำพันธุ์มาจากไต้หวันและญี่ปุ่น ใบขนาดเล็ก สีเขียวอมเทา ขอบใบหยักฟันเลื่อย ดอกมีกลิ่นหอม สีขาวหรือชมพู ผลเล็ก ทรงกลม เมื่ออ่อน ผลสีเขียว เมื่อสุกสีเหลิอง เนื้อนิ่ม รสเปรี้ยวอมหวาน เมล็ดแข็ง.

ดู พืชและบ๊วย (Rosaceae)

ช่อครามน้ำ

อครามน้ำ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Pontederia cordata Linn., ชื่อสามัญ: Pickerelweed)เป็นพืชน้ำและพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ พบในที่ลุ่มน้ำท่วมขังและบริเวณริมทะเลสาบตั้งแต่แคนาดาตะวันออกไปจนถึงทางใต้ของอาร์เจนตินา รูปร่างของใบมีได้หลากหลายทั้งระหว่างประชากร และภายในประชากรเดียวกัน.

ดู พืชและช่อครามน้ำ

ช้องนาง

้องนางเป็นพืชล้มลุกหลายฤดูและเป็นพืชท้องถิ่นในแอฟริกาตะวันตกและเอเชีย ทรงพุ่มสูงประมาณ 2.5 เมตร กลีบดอกสีม่วงหรือฟ้าเข้ม ส่วนที่ติดกันเป็นหลอดมีเหลือง หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:พรรณไม้ในวรรณคดี หมวดหมู่:วงศ์เหงือกปลาหมอ ช้องนาง เป็นไม้พุ่มเล็ก แตกกิ่งก้านมาก สูงประมาณ 6 ฟุต ใบคล้ายใบแก้ว ใบมนปลายแหลมยาวประมาณ 3 นิ้ว ออกเป็นคู่ ๆ ตามกิ่ง ดอกเป็นรูปแตร ปลายดอกผายออกเป็น 5 แฉก ในดอกตรงกลางมีตาสีเหลือง ดอกสีม่วง และยังมีชนิดดอกสีขาวเรียกว่าช้องนางขาว ดอกยาวประมาณ 2 นิ้ว ช้องนางมีถิ่นกำเนิดอยู่ในแอฟริกา ในเมืองไทยมีหลายชนิด เช่น T.affinis S.

ดู พืชและช้องนาง

ช้องแมว

้องแมว (Wild sage) เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกันกับคู่ มีลักษณะเป็นรูปไข่ ยาวประมาณ 4-5 เซนติเมตร ปลายใบมน ดอกมีสีเหลืองออกเป็นช่อตามกิ่งข้าง โดยออกจากซอกของใบประดับซึ่งเรียงซ้อนกัน และดอกจะห้อยลงกลับหัว ตัวใบประดับมีสีเขียวอมเหลืองมีสีแดงประอยู่เป็นจุด ที่โคนกลีบติดกันเป็นรูปหลอด กลีบดอกแยกกันที่ปลายของหลอดดอก ช้องแมวจะออกดอกในช่วง เดือนมีนาคม-พฤษภาคม การขยายพันธุ์ใช้วิธีปักชำ ตอน.

ดู พืชและช้องแมว

ช้างกระ

้างกระ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhynchostylis gigantea (Lindl.) Ridl.) หรือชื้อพื้นเมืองว่า เอื้องต๊กโต มีลักษณะ ใบหนา แข็ง ยาวประมาณ 25-30 เซนติเมตร กว้างประมาณ 5-7 เซนติเมตร ปลายใบเป็นแฉก 2 แฉก มน และสองแฉกของใบไม่เท่ากัน รากเป็นรากอากาศ มีขนาดใหญ่ ปลายรากมีสีเขียว ช่อดอกเป็นรูปทรงกระบอกโค้งลง ช่อดอกยาวประมาณ 20-40 เซนติเมตร มีดอกแน่นช่อ ช่อละ 25-60 ดอก ขนาดดอกประมาณ 2.5-3.0 เซนติเมตร กลีบนอกคู่ล่างกว้างยาวพอๆ กันกับกลีบนอกบน ส่วนกลีบในเรียวกว่ากลีบนอก เดือยดอกอยู่ในลักษณะเหยียดตรงไปข้างหน้า ปลายแผ่นปากหนา แข็งและปลายสองข้างเบนเข้าหากัน ปลายปากมี 3 แฉก สองแฉกข้างมน แฉกกลางมนและมีขนาดเล็กกว่ามาก ใกล้โคนปากด้านบนมีสันนูนเตี้ยๆ 2 สัน ดอกมีกลิ่นหอมฉุน หอมไกล และเป็นพันธุ์ไม้หายากชนิดหนึ่ง ฤดูกาลออกดอกในช่วง เดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพัน.

ดู พืชและช้างกระ

ฟักทอง

thumb ฟักทอง เป็นพืชชนิดหนึ่ง ใช้ทำได้ทั้งอาหารคาว ของหวาน และเป็นอาหารว่างได้ด้วย ปกติฟักทองเมื่อแก่จัดจะมีสีเหลืองอมส้ม เป็นพืชมีเถา ปลูกได้ทั่วไปทั้งในเขตร้อนและเขตหนาว ในทางพฤกษศาสตร์ จัดอยู่ในสกุล Cucurbita วงศ์ Cucurbitaceae เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกา และแพร่กระจายไปทั่วโลก.

ดู พืชและฟักทอง

ฟักข้าว

ฟักข้าว เป็นไม้เลื้อยตามต้นไม้หรือตามรั้วบ้าน โดยมีชื่อเรียกกันต่างไป เช่น ขี้กาเครือ (ปัตตานี) ผักข้าว (ตาก ภาคเหนือ) มะข้าว (แพร่) เป็นต้น.

ดู พืชและฟักข้าว

ฟักแม้ว

ฟักแม้ว, มะระแม้ว, มะระหวาน, มะเขือเครือ หรือ ชาโยเต้ (Chayote; ชื่อวิทยาศาสตร์ Sechium edule) เป็นไม้เถาวงศ์แตง (Cucurbitaceae) ผลและยอดอ่อนรับประทานได้.

ดู พืชและฟักแม้ว

ฟ้าทะลายโจร (พืช)

ฟ้าทะลายโจร ((Burm.f.) Wall ex Nees.) เป็นพืชล้มลุกฤดูเดียว ในตระกูล Acanthaceae มีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา โดยในตำรายาโบราณของไทย จัดให้เป็นสมุนไพรพื้นบ้านที่สามารถหามารับประทานแก้โรคได้เอง สูงประมาณ 30-70 ซม.

ดู พืชและฟ้าทะลายโจร (พืช)

พญายอ

ญายอ หรือ เสลดพังพอนตัวเมีย มีชื่อท้องถิ่นหรือชื่ออื่นอีก คือ: ผักมันไก่ ผักลิ้นเขียด (เชียงใหม่) พญาปล้องดำ (ลำปาง) พญาปล้องทอง (ภาคกลาง) ลิ้นมังกร โพะโซ่จาง (กะเหรี่ยง)และ พญายอ (แม่ฮ่องสอน) เสลดพังพอนมีชื่อพ้องกัน คือ เสลดพังพอนตัวผู้ และเสลดพังพอนตัวเมีย แต่ต่างกันที่เสลดพังพอนตัวผู้มีหนาม สรรพคุณอ่อนกว่าเสลดพังพอนตัวเมีย เพื่อไม่ให้สับสนจึงเรียกเสลดพังพอนตัวเมียว่า "พญายอ" ส่วนมากนำมาทำเป็นยาสมุนไพรไทยจัดอยู่ในกลุ่มพืชถอนพิษ.

ดู พืชและพญายอ

พญาสัตบรรณ

ญาสัตบรรณ หรือ สัตบรรณ หรือ ตีนเป็ด เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่มีความสูงประมาณ 12-20 เมตร อยู่ในวงศ์ Apocynaceae มีถิ่นดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพบได้ทุกภาคในประเทศไทย ประไพรัตน์ สีพลไกร.

ดู พืชและพญาสัตบรรณ

พญาคชราช

ญาคชราช หรือ หูปอ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Talipariti macrophyllus (Roxb. Ex Hornem.) Fryxell หรือ Hibiscus macrophyllus) เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 15-60 เมตร สามารถนำเนื้อไม้มาใช้ประโยชน์ได้ โดยเนื้อไม้จัดอยู่ในชั้นไม้คุณภาพปานกลางหรือเกรดบี มีความหนาแน่น ประมาณ 630 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เนื้อไม้คล้ายไม้สักทอง แต่เป็นไม้ที่มดมอดปลวกชอบกิน ระยะเวลาปลูกถึงตัดใช้งานได้อยู่ที่ 10 ปี.

ดู พืชและพญาคชราช

พยับหมอก

ับหมอก (cape leadwort, white plumbago) หรือ เจตมูลเพลิงฝรั่ง เป็นพืชในวงศ์ Plumbaginaceae มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาใต้ เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลำต้นแตกกิ่งก้านเป็นพุ่มค่อนข้างโปร่ง ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 เซนติเมตร ยาว 5-7 เซนติเมตร ปลายใบมน โคนใบเรียวแหลม ผิวใบด้านบนสีเขียวสด ผิวใบด้านล่างมีขนอ่อน สากระคายมือ ดอกสีขาวปนฟ้าอมเทา ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง กลางกลีบดอกคล้ายกับเป็นร่อง โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดเล็ก มีรยางค์เล็ก ๆ ยื่นออกมา ปลายแยกเป็น 5 แฉก เมื่อบานเต็มที่กว้างประมาณ 3 เซนติเมตร พยับหมอกนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ทุกส่วนของพยับหมอกมีสารพลัมบาจิน (plumbagin) ซึ่งมีคุณสมบัติต้านเชื้อจุลินทรีย์ ต้านมะเร็งและบำรุงหัวใจ แต่หากถูกผิวหนังจะทำให้พุพอง.

ดู พืชและพยับหมอก

พรมกำมะหยี่

รมกำมะหยี่ ((Hook.) Hanst) เป็นพืชท้องถิ่นในโคลัมเบีย เวเนซุเอลา เปรู บราซิล ใบย่น สีน้ำตาลแดง เส้นใบสีเทาเงิน ดอกสีแดง รูปกรวย แบ่งย่อยได้อีกหลายพันธุ์ นิยมปลูกเป็นไม่คลุมดินหรือปลูกในกระถางแขวน.

ดู พืชและพรมกำมะหยี่

พรมออสเตรเลีย

รมออสเตรเลีย (Nerve plant) เป็นไม้ล้มลุก แบบไม้คลุมดินในวงศ์เหงือกปลาหมอ ต้นสูงประมาณ 10 - 15 ซม.

ดู พืชและพรมออสเตรเลีย

พระจันทร์ครึ่งซีก

ระจันทร์ครึ่งซีก.

ดู พืชและพระจันทร์ครึ่งซีก

พระเจ้าห้าพระองค์ (พืช)

ระเจ้าห้าพระองค์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Dracontomelon dao (Blanco) Merr. & Rolfe) เป็นไม้ยืนต้น สูง 25–40 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก รูปรีกว้าง มีใบ 6-9 คู่ เมื่อต้นโตเต็มที่จะให้ร่มเงาดีมาก ดอก เป็นสีเหลืองปนเขียว “ผล” รูปกลมรีเล็กน้อย แบ่งเป็นพู 5 พู แต่ละพูจะมีรูปคล้ายพระเรียงรอบผลห้าองค์ มีสรรพคุณเป็นสมุนไพร โดยใช้ ผล ฝนกับหินลับมีด หรือ หินฝนยาสมุนไพร ผสมกับน้ำให้ข้นแล้วเอาน้ำที่ฝนได้ทารักษาบริเวณที่เป็น “หิด” หรือแก้พิษสัตว์ต่อย ในทางไสยศาสตร์เชื่อว่ามีฤทธิ์ทางคงกระพันชาตรี.

ดู พืชและพระเจ้าห้าพระองค์ (พืช)

พริก

right right พริก เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae สกุล Capsicum ชื่อภาษาอังกฤษว่า Chilli peppers, chili, chile หรือ chilli มาจากคำภาษาสเปน ว่า chile โดยส่วนมากแล้ว ชื่อเหล่านี้มักหมายถึง พริกที่มีขนาดเล็ก ส่วนพริกขนาดใหญ่ที่มีรสอ่อนกว่าจะเรียกว่า Bell Pepper ในสหรัฐอเมริกา Pepper ในประเทศอังกฤษและไอร์แลนด์, capsicum ในประเทศอินเดียกับออสเตรเลีย และ Paprika ในประเทศทวีปยุโรปหลายประเทศ พริกชนิดต่าง ๆ มีต้นกำเนิดมาจากทวีปอเมริกา ซึ่งในปัจจุบันนี้ได้มีปลูกกันในหลายประเทศทั่วโลก เพราะพริกเป็นเครื่องเทศที่สำคัญชื่อหนึ่ง และยังมีคุณสมบัติเป็นยาสมุนไพรด้วยเช่นกัน.

ดู พืชและพริก

พริกชี้ฟ้า

ริกชี้ฟ้า พริกชี้ฟ้า (ชื่อวิทยาศาสตร์ Capsicum annuum Linn. Var acuminatum Fingerh.) เป็นพืชวงศ์ Solanaceae.

ดู พืชและพริกชี้ฟ้า

พริกขี้หนู

ริกขี้หนู อยู่ในวงศ์ Solanaceae มีลักษณะเป็นไม้ต้น ความสูง 30-120 cm ใบมีลักษณะแบนและเรียบมัน ผลมีขนาดเล็กเรียวยาวประมาณ 2-3 ซ.ม.

ดู พืชและพริกขี้หนู

พริกไทย

ริกไทย เป็นพืชที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นราชาของเครื่องเทศที่มีกลิ่นฉุน และเป็นเครื่องเทศที่ให้รสเผ็ดร้อน สามารถนำมาทำพริกไทยแห้งเป็นเครื่องปรุงอาหาร ซึ่งถ้าทำแห้งทั้งเปลือกจะได้พริกไทยดำเนื่องจากเปลือกเมื่อทำให้แห้งจะมีสีดำ ส่วนพริกไทยขาวได้จากการลอกเปลือกออกก่อน พบทั้งการใช้ประกอบอาหารทั้งผลแห้งและผลสดที่มีสีเขียว หรือผลแห้งป่นเป็นผงเรียกพริกไทยป่น ซึ่งพริกไทยเป็นพืชคนละสายพันธุ์กับพริก (Chilli).

ดู พืชและพริกไทย

พฤกษศาสตร์

ผลจันทน์เทศ (''Myristica fragrans'') พฤกษศาสตร์ หรือ ชีววิทยาของพืช หรือ วิทยาการพืช,พืชศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยา ที่ศึกษาเกี่ยวกับพืชและการเจริญเติบโต พฤกษศาสตร์มีขอบเขตการศึกษาที่กว้างขวางครอบคลุมตั้งแต่พืช สาหร่าย และเห็ดรา ศึกษาทั้งในด้านโครงสร้าง การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ เมแทบอลิซึม โรค และคุณสมบัติทางเคมีและความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการระหว่างกลุ่มต่าง ๆ การศึกษาทางด้านพฤกษศาสตร์เริ่มต้นจากความรู้ที่สืบต่อกันมา จากการจำแนกพืชที่กินได้ พืชสมุนไพรและพืชมีพิษ เป็นศาสตร์ที่เก่าแก่สาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ จากความสนใจในเรื่องพืชของบรรพบุรษทำให้ปัจจุบันจำแนกสิ่งมีชีวิตในด้านพฤกษศาสตร์มากกว่า 550,000 ชนิดหรือสปีชี.

ดู พืชและพฤกษศาสตร์

พลับ

ลับ (Persimmon) เป็นพืชในสกุล Diospyros ซึ่งมีอยู่หลายสปีชีส์ด้วยกัน สปีชีส์ที่นิยมปลูกในประเทศไทยมากที่สุดคือ D.kaki ญี่ปุ่นเรียกว่าคาขิ ถิ่นกำเนิดอยู่ในภาคเหนือของจีน มีการรับประทานพลับตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่นและถือเป็นผลไม้ที่มีคุณค่า ต่อมาได้กระจายพันธุ์เข้าไปในญี่ปุ่น และกลายเป็นผลไม้ยอดนิยม พลับพันธุ์ที่นิยมปลูกในยุโรปเป็นสปีชีส์ D.

ดู พืชและพลับ

พลับพลึง

ลับพลึง เป็นพรรณไม้ล้มลุกขึ้นเป็นกอ และมีหัวอยู่ใต้ดิน พบได้ในจีน, ฮ่องกง, อินเดีย และ ญี่ปุ่น มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆคือ ลิลัว (ภาคเหนือ), พลับพลึง (ภาคกลาง), วิรงรอง (ชวา) ในใบและหัวพลับพลึงมีสารไลโคริน รับประทานจะทำให้อาเจียน ท้องร่วงอย่างแรง.

ดู พืชและพลับพลึง

พลับพลึงตีนเป็ด

ลับพลึงตีนเป็ด เป็นพืชตระกูล AMARYLLIDACEAE พบทุกภูมิภาคของประเทศไทย มีหัวอยู่ใต้ดินลำต้นกลมสูงประมาณ 30 ซม.

ดู พืชและพลับพลึงตีนเป็ด

พลับพลึงแดง

ลับพลึงแดง หรือ พลับพลึงดอกแดง เป็นพืชล้มลุกอยู่ในวงศ์ AMARYLLIDACEAE ดอกเป็นสีม่วงแดงและมีขนาดใหญ่กว่าดอกพลับพลึงดอกขาวเล็กน้อยกลีบดอกด้านในออก สีขาวอมชมพู ด้านนอกตรงกลางกลีบเป็นสีม่วงแดงตามขอบกลีบเป็นสีขาว เกสรตัวผู้สีม่วงแดง ขยายพันธุ์ด้วยการแยกหน่อ และปักชำหัว ใบนำเอามาย่างไฟ พันแก้ฟกช้ำ บวม เคล็ด ขัดยอก ใช้อยู่ไฟหลังคลอด ต้มรับประทานทำให้อาเจียน มีรสขม ในอินเดียใช้เป็นยาระบาย ขับเสมหะ รักษาโรค เกี่ยวกับน้ำดี เมล็ดเป็นยาระบาย ขับปัสสาวะ เป็นยาบำรุง.

ดู พืชและพลับพลึงแดง

พวงชมพู

วงชมพู หรือ ชมพูพวง เป็นพืชมีดอกในวงศ์ Polygonaceae เป็นไม้เลื้อยดอกสีชมพูหรือขาวมีถิ่นกำเนิดในประเทศเม็กซิโก จัดเป็นพืชรุกรานในฟลอริดา พวงชมพูเป็นไม้เลื้อยโตเร็ว ใบเป็นรูปหัวใจหรือสามเหลี่ยม ดอกเป็นดอกช่อ สร้างหัวใต้ดินและมีไหลขนาดใหญ่ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด เมล็ดลอยน้ำได้ แพร่กระจายไปกับสัตว์ที่กินเป็นอาหาร เช่น หมู แรคคูน และนก.

ดู พืชและพวงชมพู

พวงหยก

วงหยก (Jade vine; Emerald creeper) เป็นไม้เถาเลื้อยยืนต้น เถาใหญ่ เหนียว แตกกิ่งก้านสาขามาก สามารถเลื้อยได้ไกล 3-6 เมตร ใบออกสลับตามข้อต้นเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ใบ ใบกลางรูปมนรี ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ สองใบข้าง ลักษณะเกือบครึ่งวงกลมโค้งงอเข้าหาใบกลาง ดอกมีสีเขียวลักษณะคล้ายดอกแคออกเป็นพวง ห้อยระย้าเบียดกันแน่น ยาวประมาณ 30-90 เซนติเมตร ซึ่งมีอกประมาณ 100 ขึ้นไป ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำหรือตอนกิ่งหรือเพาะเมล็ด นิยมปลูกเป็นไม้เลื้อยขึ้นร้าน ศาลาริมน้ำ รั้วบ้านทางเข้าประตู.

ดู พืชและพวงหยก

พวงทองต้น

วงทองต้น (ภาษาอังกฤษ: Galphimia, Gold Shower) หรือดอกน้ำผึ้ง เป็นไม้ต้นเล็ก สูง 1-1.5 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มกลม ใบยาวรีแหลม ยาวประมาณ 3 ซม.

ดู พืชและพวงทองต้น

พวงคราม

วงคราม L.เป็นไม้เลื้อยที่มีเถาใหญ่แข็งแรง กิ่งก้านก็ค่อนข้างแข็ง เถาอ่อนก็มีขนแต่เมื่อเถาแก่ขนก็จะหายไปเปลือกของต้นหรือเถาเป็นสีขาวหรือสีน้ำตาลอ่อนเถา สามารถเลื้อยคลุมต้นไม้อื่นไปได้ไกลมากกว่า 20 ฟุต ใบเดี่ยว เรียงตรงช้าม รูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 5-7 เซนติเมตร ยาว 8-11 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบ แผ่นใบค่อนข้างหนาแข็ง ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีจางกว่าและเป็นขุย ออกดอกตลอดปี จะมากช่วงหน้าแล้ง ดอกเป็นช่อสีม่วงคราม มี 5 กลีบ คล้ายรูปดาว 5 แฉก กลีบรูปขอบขนาน ด้านบนของกลีบจะมีขน โคนกลีบดอกเชื่อมต่อกันเป็นหลอด ภายในดอกมีเกสรตัวอยู่ 4-5 อัน มีก้านร่วมกับเกสรตัวเมีย ปลายเกสรตัวเมียมี 3 แฉก พวงครามมักจะออกดอกและบานพร้อมกันเต็มช่อ ดอกค่อนข้างดกและจะบานทนนานได้หลายวันมาก ผลสด ติดอยู่บนกลีบประดับ มีขนนุ่มปกคลุม มี 1 เมล็ด ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด การตอน และการปักชำกิ่ง.

ดู พืชและพวงคราม

พวงแสด

วงแสด เป็นพืชในวงศ์ Bignoniaceae มีชื่อสามัญอื่น ๆ คือ Orange trumpet, Flame flower, Fire-cracker vine พวงแสด พวงแสดเครือ.

ดู พืชและพวงแสด

พวงไข่มุก

ใบและผล พวงไข่มุก (Rehder; ภาษาอังกฤษ:American elder) ทางปราจีนบุรีเรียก ระป่า ทางแพร่เรียก อุนหรืออุนฝรั่ง เป็นไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง สูงได้ถึง 4 เมตร ใบประกอบแบบขนนก เรียงตรงข้าม ใบย่อย 2-6 คู่ รูปขอบขนานแกมใบหอกหรือรูปไข่แกมใบหอก กว้าง 2-5 ซม.

ดู พืชและพวงไข่มุก

พอโลเนีย

อโลเนีย (Paulownia) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูง 10-20 เมตร ผลัดใบ มีอัตราการเจริญเติบโตเร็วมาก ต้นอ่อนมีเปลือกสีเขียว มีปุ่มหรือรอยแผลใบทั่วลำต้น ต้นแก่ (อายุมากกว่า 5 ปี) เปลือกเป็นสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่อง เปลือกบางฉีกขาดง่ายไม่ทนไฟ ทำให้ต้นไม้ตายได้ถ้าถูกไฟไหม้ มีรากแก้วตรงและยาวได้ถึง 40 ฟุต รากแขนงและรากฝอยจะอยู่ต่ำกว่าผิวดินประมาณ 4 ฟุต เป็นพืชใบเดี่ยว ใบมีลักษณะเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปหัวใจ มีขนนุ่ม สีเขียวอ่อนด้านหลังใบ ก้านท้องใบไม่มีขน มีเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบชัดเจน ใบมีขนาดโตเต็มที่กว้างได้ถึง 36 นิ้ว ก้านใบยาว ดอกออกเป็นช่อ ขนาดใหญ่ ที่ปลายกิ่งมีสีม่วง ดอกตูมเป็นกระเปาะสีน้ำตาล เป็นดอกสมบูรณ.

ดู พืชและพอโลเนีย

พะยอม

อม เป็นไม้ยืนต้นประเภทพืชใบเลี้ยงคู่ชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Dipterocarpaceae พบได้ในกัมพูชา, อินเดีย, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, ไทย และเวียดนาม มีลักษณะใบที่เรียงสลับกัน ดอกมีสีขาว กลิ่นหอม นิยมนำเนื้อไม้ไปใช้ในการก่อสร้าง ลักษณะคล้ายกับต้นตะเคียน พะยอมมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีก คือ กะยอม (เชียงใหม่) ชะยอม (ลาว) กะยอม (อีสาน) ขะยอมดง พะยอมดง (ภาคเหนือ) แคน (ร้อยเอ็ด) เชียง เชี่ยว (กะเหรี่ยง - เชียงใหม่) พะยอม (ภาคกลาง) พะยอมทอง (สุราษฎร์ธานี ปราจีนบุรี) ยางหยวก (น่าน).

ดู พืชและพะยอม

พะยูง

ูง เป็นต้นไม้เนื้อแข็งที่เนื้อไม้มีลวดลายสวยงามชนิดหนึ่ง จัดเป็นไม้เศรษฐกิจที่มีราคาสูงอย่างหนึ่งและมีความเชื่อว่าเป็นไม้มงคล มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกคือ ขะยุง, พยุง, แดงจีน และประดู่เสน พะยูงเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลจังหวัดหนองบัวลำภู พันธุ์ไม้พระราชทาน กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พื.

ดู พืชและพะยูง

พันธุศาสตร์

ีเอ็นเอเป็นโมเลกุลพื้นฐานของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ดีเอ็นเอแต่ละสายประกอบขึ้นจากสายโซ่นิวคลีโอไทด์จับคู่กันรอบกึ่งกลางกลายเป็นโครงสร้างที่ดูเหมือนบันไดซึ่งบิดเป็นเกลียว พันธุศาสตร์ (genetics) เป็นอีกสาขาหนึ่งของชีววิทยา ศึกษาเกี่ยวกับยีน การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และความหลากหลายทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต พันธุศาสตร์ว่าด้วยโครงสร้างเชิงโมเลกุลและหน้าที่ของยีน พฤติกรรมของยีนในบริบทของเซลล์สิ่งมีชีวิต (เช่น ความเด่นและอีพิเจเนติกส์) แบบแผนของการถ่ายทอดลักษณะจากรุ่นสู่รุ่น การกระจายของยีน ความแตกต่างทางพันธุกรรมและการเปลี่ยนแปลงของพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต (เช่นการศึกษาหาความสัมพันธ์ของยีนตลอดทั่วทั้งจีโนม) เมื่อถือว่ายีนเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด พันธุศาสตร์จึงเป็นวิชาที่นำไปใช้ได้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ทั้งไวรัส แบคทีเรีย พืช สัตว์ และมนุษย์ (เวชพันธุศาสตร์) ได้มีการสังเกตมาแต่โบราณแล้วว่าสิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอดลักษณะจากรุ่นสู่รุ่น ซึ่งเป็นความรู้ที่มนุษย์ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ด้วยวิธีการคัดเลือกพันธุ์ อย่างไรก็ดี ความรู้พันธุศาสตร์สมัยใหม่ที่ว่าด้วยการพยายามทำความเข้าใจกระบวนการการถ่ายทอดลักษณะเช่นนี้เพิ่งเริ่มต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเกรเกอร์ เมนเดล แม้เขาไม่สามารถศึกษาเจาะลึกไปถึงกระบวนการทางกายภาพของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แต่ก็ค้นพบว่าลักษณะที่ถ่ายทอดนั้นมีแบบแผนจำเพาะ กำหนดได้ด้วยหน่วยพันธุกรรม ซึ่งต่อมาถูกเรียกว่า ยีน ยีนคือส่วนหนึ่งของสายดีเอ็นเอซึ่งเป็นโมเลกุลที่ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์สี่ชนิดเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว ลำดับนิวคลีโอไทด์สี่ชนิดนี้คือข้อมูลทางพันธุกรรมที่ถูกเก็บและมีการถ่ายทอดในสิ่งมีชีวิต ดีเอ็นเอตามธรรมชาติอยู่ในรูปเกลียวคู่ โดยนิวคลีโอไทด์บนแต่ละสายจะเป็นคู่สมซึ่งกันและกันกับนิวคลีโอไทด์บนสายดีเอ็นเออีกสายหนึ่ง แต่ละสายทำหน้าที่เป็นแม่แบบในการสร้างสายคู่ขึ้นมาได้ใหม่ นี่คือกระบวนการทางกายภาพที่ทำให้ยีนสามารถจำลองตัวเอง และถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้ ลำดับของนิวคลีโอไทด์ในยีนจะถูกแปลออกมาเป็นสายของกรดอะมิโน ประกอบกันเป็นโปรตีน ซึ่งลำดับของกรดอะมิโนที่มาประกอบกันเป็นโปรตีนนั้นถ่ายทอดออกมาจากลำดับของนิวคลีโอไทด์บนดีเอ็นเอ ความสัมพันธ์ระหว่างลำดับของนิวคลีโอไทด์และลำดับของกรดอะมิโนนี้เรียกว่ารหัสพันธุกรรม กรดอะมิโนแต่ละชนิดที่ประกอบขึ้นมาเป็นโปรตีนช่วยกำหนดว่าสายโซ่ของกรดอะมิโนนั้นจะพับม้วนเกิดเป็นโครงสร้างสามมิติอย่างไร โครงสร้างสามมิตินี้กำหนดหน้าที่ของโปรตีนนั้น ๆ ซึ่งโปรตีนมีหน้าที่ในกระบวนการเกือบทั้งหมดของเซลล์สิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับดีเอ็นเอในยีนยีนหนึ่ง อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลำดับกรดอะมิโนในโปรตีน เปลี่ยนโครงสร้างโปรตีน เปลี่ยนการทำหน้าที่ของโปรตีน ซึ่งอาจส่งผลต่อเซลล์และสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ได้อย่างมาก แม้พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจะมีบทบาทมากในการกำหนดลักษณะและพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต แต่ผลสุดท้ายแล้วตัวตนของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ เป็นผลที่ได้จากการผสมผสานกันระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ประสบ ตัวอย่างเช่น ขนาดของสิ่งมีชีวิตไม่ได้ถูกกำหนดโดยยีนเพียงอย่างเดียว แต่ได้รับผลจากอาหารและสุขภาพของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ด้วย เป็นต้น.

ดู พืชและพันธุศาสตร์

พันธุ์พื้นเมือง

ันธุ์พื้นเมือง (landrace) หมายถึง สัตว์ หรือพืช ที่ปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมโดยธรรมชาติ และสภาพแวดล้อมโดยทั่วไปที่สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นอาศัยอยู่ (หรือแหล่งกำเนิด) สิ่งมีชีวิตเหล่านี้มีพัฒนาการโดยธรรมชาติ และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพันธุ์แบบดั่งเดิมโดยมนุษย์น้อยมาก พันธุ์พื้นเมืองมีความหมายค่อนข้างแตกต่างจากความหมายของ breed และมีความหมายครอบคลุมถึงความหลากหลายของ phenotype และ genotype ซึ่งเป็นพื้นฐานของ formalised breed ที่มีความเป็นพันธุ์แท้สูง (highly-bred formalized breeds) ในบางครั้ง formalised breed ยังมีชื่อ “พันธุ์พื้นเมือง” อยู่แม้ว่าจะไม่เป็นพันธุ์พื้นเมืองที่แท้จริงก็ตาม.

ดู พืชและพันธุ์พื้นเมือง

พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย

ัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย เป็นพิพิธภัณฑ์ที่สากลเรียกว่า Natural History Museum อันเป็นสถานที่รวบรวมและจัดแสดงวัตถุธรรมชาติ (ธรรมชาติวิทยา) ทั้งในด้านธรณีวิทยา พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ ทางทะเลเป็นแห่งแรกในประเทศไทย ตั้งอยู่ริมทะเลบริเวณเขาหมาจอ ตำบลแสมสาร อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี อยู่ตรงข้ามเกาะแสมสาร มีพื้นที่ประมาณ 16 ไร่ เป็นหนึ่งใน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สิ่งก่อสร้างมีลักษณะเป็นอาคารไต่ระดับเขาถึงยอดเนินเป็นอาคารรูปพัด เพื่อให้มองเห็นทัศนียภาพมุมกว้างของเกาะและทะเลโดยมุ่งที่จะให้ผู้ชมเห็นความงดงามของท้องทะเลไทย แล้วเกิดจินตนาการและความปิติที่จะรักษาทรัพยากรธรรมชาติไว้ตามแนวพระราชดำริพระราชทานของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ว่า "ให้สำรวจตั้งแต่ยอดเขาถึงใต้ทะเล" กองทัพเรือได้น้อมเกล้าฯ รับพระราชดำริมาประมวลเป็นรูปแบบการก่อสร้างและหลักการการจัดการพิพิธภัณฑ์ฯ จนกระทั่งบัดนี้การก่อสร้างพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทยบนฝั่งแสมสารรวมทั้งสวนพฤกษศาสตร์ และเส้นทางศึกษาธรรมชาติบนเกาะแสมสารแล้วเสร็จสมบูรณ์และเปิดให้บริการแล้วตั้งแต่ 30 ตุลาคม..

ดู พืชและพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย

พิกุล

กุล เป็นไม้ยืนต้น มีดอกหอม สีขาว มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ แก้ว (เชียงใหม่) ซางดง (ลำปาง) ตันหยง (นราธิวาส).

ดู พืชและพิกุล

พิลังกาสา

ลังกาสา เป็นไม้ขนาดเล็กพบในป่าผลัดใบและป่าดิบในที่สูง เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้ม ขอบใบเรียบ ไม่มีต่อม ใบแก่หนาและเหนียว ดอกสีชมพูเป็นช่อแน่น ผลขนาดเล็กสีแดงหรือดำ เนื้อบาง มีเมล็ดเดียว พบในประเทศไทย เวียดนาม จีนตอนใต้และพม.

ดู พืชและพิลังกาสา

พิสตาชีโอ

ตาชีโอ (pistachio) เป็นถั่วชนิดหนึ่ง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Anacardiaceae (กลุ่มเดียวกับมะม่วงและมะม่วงหิมพานต์) มีต้นกำเนิดในอิหร่าน พบได้ในซีเรีย เลบานอน ตุรกี กรีซ คีร์กีซสถาน เติร์กเมนิสถาน อินเดีย ปากีสถาน อียิปต์ เกาะซิซิลี และอาจจะมีในอัฟกานิสถาน (โดยเฉพาะในจังหวัดซะมันกานและบาดฆีส) เมล็ดมีเปลือกแข็ง รับประทานได้ มีวิตามินเอ เมล็ดสีเขียวมีคุณภาพดีกว่าเมล็ดสีอื่น ๆ มีเมล็ดของพืชในสกุลนี้ที่เรียกว่าพิสตาชีโอเช่นเดียวกับ P.

ดู พืชและพิสตาชีโอ

พืช

ืช เป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มใหญ่ประเภทหนึ่ง (มีประมาณ 350,000 สปีชีส์ ถูกระบุแล้ว 287,655 สปีชีส์ เป็นพืชดอก 258,650 ชนิด และพืชไม่มีท่อลำเลียง 18,000 ชนิด) อยู่ในอาณาจักรพืช (Kingdom Plantea) ประกอบด้วย ไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชล้มลุก และเฟิร์น พบได้ทั้งบนบกและในน้ำ เป็นสิ่งมีชีวิตที่เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ประกอบด้วยหลายเซลล์ นิวเคลียสมีผนังเซลล์ ห่อหุ้ม เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แค่เอียงตัว จะสามารถเห็นได้ชัดเจน.เมื่อมีแดดส่อง พืชจะเอียงตัวไปที่แดด ไม่มีอวัยวะเกี่ยวกับความรู้สึก มีคลอโรฟิลล์ซึ่งเป็นสารสีเขียว ช่วยในการสังเคราะห์และเจริญเติบโต.

ดู พืชและพืช

พืชบก

ืชบก (Embryophyte) หมายถึงกลุ่มพืชที่เติบโตบนพื้นแผ่นดิน (ซึ่งมีความหมายต่างจากพืชน้ำ) ประกอบไปด้วยต้นไม้, ไม้ดอก, เฟิร์น, มอสส์ และพืชบกสีเขียวอื่นๆ ทั้งหมดเป็นยูแคริโอตหลายเซลล์ที่สลับซับซ้อนที่มีอวัยวะสำหรับสืบพันธุ์เป็นแบบพิเศษ พืชบกได้รับพลังงานจากการสังเคราะห์ด้วยแสงและสังเคราะห์อาหารจากคาร์บอนไดออกไซด์ พืชบกอาจต่างจากสาหร่ายหลายเซลล์ที่ใช้คลอโรฟิลล์โดยสาหร่ายมีอวัยวะสืบพันธุ์นั้นเป็นหมัน พืชบกส่วนมากปรับตัวอาศัยอยู่บนบกแต่ก็มีบางส่วนอาศัยอยู่ในน้ำ เช่น สาหร่ายหางกระรอก เป็นต้น.

ดู พืชและพืชบก

พืชกินสัตว์

''Nepenthes mirabilis'' ที่ขึ้นอยู่ริมถนน พืชกินสัตว์ (carnivorous plant) คือ พืชที่ได้สารอาหารบางส่วนหรือส่วนใหญ่ (แต่ไม่รวมถึงพลังงาน) จากการดักและบริโภคสัตว์หรือสัตว์เซลล์เดียวซึ่งปรกติได้แก่แมลงและสัตว์ขาปล้องเหล่าอื่น ๆ โดยเป็นผลจากการปรับตัวให้อยู่รอดในดินที่มีสารอาหารน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งไนโตรเจน เช่น ดินที่มีสภาพเป็นกรด หิน ฯลฯ ศาสตรนิพนธ์อันเลื่องชื่อฉบับแรกซึ่งว่าด้วยพืชชนิดนี้นั้นเป็นผลงานของชาลส์ ดาร์วิน เมื่อปี..

ดู พืชและพืชกินสัตว์

พืชอวบน้ำ

'''ว่านหางจระเข้''' ตัวอย่างหนึ่งของพืชอวบน้ำ จะเก็บกักน้ำไว้ในใบ จนมีลักษณะอวบ เต่งตึงเสมอ พืชอวบน้ำ (Succulent plants หรือ succulents) เป็นพืชที่กักเก็บน้ำไว้ในราก ใบ หรือลำต้น ที่อวบ และนุ่ม ความอวบหรือความใหญ่นั้นขึ้นอยู่กับปริมาณของเนื้อเยื่อพาเรงคิมา (parenchyma) เช่น ในว่านหางจระเข้ (Aloe vera) การเก็บน้ำในลักษณะดังกล่าว ทำให้มันสามารถมีชีวิตรอดในสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้งได้ ในตอนกลางวัน สภาพที่อยู่ของมันมักจะร้อนจัด แต่ในตอนกลางคืนอากาศจะเย็นลง ทำให้พืชอวบน้ำเปิดปากใบ และคายคาร์บอนไดออกไซด์ และมีบ่อยครั้งที่น้ำค้างในตอนเช้ามืดช่วยให้พืชเหล่านี้มีชีวิตรอดได้ และด้วยการใช้ขนที่ยาว ซึ่งขึ้นคลุมทั่วพื้นผิวส่วนใหญ่ของมัน ทำให้พืชอวบน้ำบางชนิดสามารถดูดซับน้ำค้างเหล่านี้ได้ พืชอวบน้ำจำนวนมากมีไขเคลือบอยู่บนลำต้น และใบ ช่วยให้สามารถกักความชื้นเอาไว้ได้ นอกจากนี้การมีปริมาตรภายในสำหรับกักเก็บน้ำได้มาก แต่ทีพื้นที่ผิวน้อยที่สุด ก็มีส่วนสำคัญที่ช่วยป้อนกันมาสูญเสียน้ำได้ การสังเคราะห์ด้วยแสงแบบ CAM (Crassulacean acid metabolism) ยังเป็นวิธีการสงวนน้ำเอาไว้ ที่พบได้ทั่วไปในพืชอวบน้ำหลายชนิด ความอวบน้ำของพืชเหล่านี้ยังมีผลมาจากวิวัฒนาการเบนเข้า (convergent evolution: วิวัฒนาการของพืชที่นำไปสู่ผลลัพธ์ท้ายสุดที่เหมือนกัน โดยไม่ได้มีจุดเริ่มต้นอย่างเดียวกัน) โดยไม่จำเป็นต้องบอกถึงความสัมพันธ์ในเชิงพันธุกรรมระหว่างกัน หมวดหมู่:พืชอวบน้ำ.

ดู พืชและพืชอวบน้ำ

พืชดอก

ืชดอก ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliophyta เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Angiospermae หรือ Angiosperms เป็นกลุ่มของพืชกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่ง มีดอกไม้ และเมล็ดเป็นส่วนประกอบ ซึ่งเมล็ดจะกลายเป็นผลไม้ พืชดอกแบ่งได้ออกเป็นกลุ่มใหญ่ 8 กลุ่มดังนี้ เรียงตามจำนวนสปีชี.

ดู พืชและพืชดอก

พืชใบเลี้ยงคู่

ืชใบเลี้ยงคู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliopsida หรือ Dicotyledons กลุ่มของพืชกลุ่มหนึ่งมีเมล็ดที่ประกอบด้วยใบเลี้ยงคู่ ซึ่งเป็นชั้นทางชีววิทยา ต่อจากส่วนทางชีววิทยา ของพืชดอก (Magnoliophyta) ชื่อวิทยาศาสตร์ของ พืชใบเลี้ยงคู่ ได้มีระบบการจัดชั้นแบบใหม่ขึ้นมา ในขณะที่ระบบเก่า ระบบ Cronquist ยังคงเป็นที่นิยมอยู่ ในระบบใหม่ ระบบ Angiosperm Phylogeny Group ได้มีการจัดชั้นดังแสดง.

ดู พืชและพืชใบเลี้ยงคู่

พืชใบเลี้ยงเดี่ยว

ืชใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocotyledon หรือ Liliopsida) เป็นชั้นหนึ่งในส่วนพืชดอกที่มีความสำคัญอย่างยิ่งกลุ่มหนึ่ง ครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของพื้นโลก และเป็นพื้ชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสูงอีกด้วย พืชใบเลี้ยงเดี่ยววงศ์ใหญ่ที่สุด คือ กล้วยไม้ (Orchidaceae) โดยมีดอกที่ซับซ้อน และสวยงาม เพื่อดึงดูดแมลงชนิดต่างให้ช่วยในการผสมพันธุ์ ส่วนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่มีปริมาณมากเป็นอันดับสอง และอาจจะเป็นวงศ์ที่โดดเด่นกว่า ก็คือ หญ้า (Poaceae หรือ Gramineae) โดยมีวิวัฒนาการอีกทางหนึ่ง มีลักษณะพิเศษคือ การแพร่ขยายพันธุ์โดยอาศัยลม พืชในวงศ์หญ้านั้นมีดอกขนาดเล็ก แต่เมื่อรวมเป็นกลุ่มอาจปรากฏเป็นช่อดอกที่มองเห็นชัดเจนและสวยงาม.

ดู พืชและพืชใบเลี้ยงเดี่ยว

พืชไม่มีท่อลำเลียง

ไบรโอไฟต์ คือพืชบกทั้งหมดที่ไม่มีท่อลำเลียง: มันมีเนื้อเยื่อที่ล้อมรอบเป็นท่อคล้ายกับระบบท่อลำเลียง แต่ไม่มีเนื่อเยื่อส่วนท่อลำเลียงที่จะส่งผ่านของเหลว ไม่มีดอกและการสร้างเมล็ด ขยายพันธุ์ด้วยสปอร์ คำว่า bryophyte มาจากภาษากรีก βρύον - bruon, "ต้นมอสส์, สีเขียวหอยนางรม".

ดู พืชและพืชไม่มีท่อลำเลียง

พุทราอินเดีย

ทราอินเดีย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ziziphus mauritiana Lam.) หรือ เบอร์ (ber) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Rhamnaceae มีถิ่นกำเนิดในแถบประเทศอินเดี.

ดู พืชและพุทราอินเดีย

พุทธชาด

ทธชาด หรือ บุหงาประหงัน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Jasminum auriculatum Vahl.) อยู่ในสกุลมะลิ (Jasminum).

ดู พืชและพุทธชาด

พุทธรักษาญี่ปุ่น

ทธรักษาญี่ปุ่น, ธรรมรักษา หรือ เยอรมัน (parrot's beak, parakeet flower, parrot's flower, parrot's plantain, false bird-of-paradise) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heliconia psittacorum เป็นพืชหลายปี (perennial plant) ชนิดหนึ่งที่มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคอเมริกาใต้และแคริบเบียน โดยถือเป็นพืชประจำถิ่นในปานามา, โคลอมเบีย, เวเนซุเอลา, ตรินิแดดและโตเบโก, กายอานา, ซูรินาม, เฟรนช์เกียนา, บราซิล, โบลิเวีย และปารากวัย และมีรายงานว่าสามารถขยายพันธุ์ได้เองในธรรมชาติในเลสเซอร์แอนทิลลีส, เปอร์โตริโก, ฮิสปันโยลา, จาเมกา, แกมเบีย และไทย พุทธรักษาญี่ปุ่นมักได้รับการปลูกเป็นไม้ประดับเขตร้อนในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกนอกเหนือจากถิ่นกำเนิดของมัน.

ดู พืชและพุทธรักษาญี่ปุ่น

พุดชมพู

มพู ตีพิมพ์เป็นพืชชนิดใหม่ (ค.ศ. 2004) เนื่องจากเคยสับสนกับ พุดใบใหญ่ Kopsia macrophylla Hook.f. และ พุดชมพู (เดิม) Kopsia fruticosa (Ker) A.DC.

ดู พืชและพุดชมพู

พุดพิชญา

ญา เป็นพืชในสกุลโมก ในประเทศไทยนำเข้าจากประเทศศรีลังกา มีชื่อท้องถิ่นว่า "อิดด้า" (Inda) มีความหมายว่าดอกไม้สีขาวบริสุทธิ์ ผู้นำเข้าคือ คุณปราณี คงพิชญานนท์ ลักษณะของดอกสีขาวเหมือนกลุ่มดอกพุดในบ้านเรา เธอจึงนำชื่อ ดอกพุด มา สมาส เข้ากับวลีนามสกุล ออกมาเป็นชื่อใหม่ว่า "พุดพิชญา".

ดู พืชและพุดพิชญา

พุดสามสี

มสี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Brunfelsia hopeana Benth.) เป็นไม้พุ่มนำเข้ามาจากต่างประเทศ บางทีเรียกกันว่า ต้นจัสมิน (jasmine) หรือ พุดสองสี พุดสามสี สามราศรี, พุดสี, พุทธชาดม่วง.

ดู พืชและพุดสามสี

พุดจีบ

ีบ (Tabernaemontana divaricata)มีชื่อว่า টগর (bn:টগর) ใน ภาษาเบงกาลี มียางสีขาว ในสิลเหตเรียกว่า দুধফুল (ดอกน้ำนม) เป็นพืชที่มีสีเขียวตลอดปี อยู่ในวงศ์ Apocynaceae มีดอกพุดจีบสองชนิดในบังกลาเทศ อินเดีย คือชนิดที่มีดอกเดี่ยวกับอีกชนิดที่เป็นดอกกลุ่ม.

ดู พืชและพุดจีบ

พุดทุ่ง

ทุ่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Holarrhena densiflora Ridl.; Holarrhena curtisii King & Gamble) หรืออาจเรียกว่า พุดน้ำ, ถั่วหนู, หัสคุณใหญ่, หัสคุณเทศ เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 2-5 ฟุต ลำต้นกลม ตั้งตรง เปลือกต้นของกิ่งก้าน และลำต้นมีสีน้ำตาลดำ ใบเดี่ยวรูปหอก ปลายแหลม เนื้อหนา ดอกเป็นช่อกลีบสีขาวหนา ผลเป็นฝักกลมยาว.

ดู พืชและพุดทุ่ง

พุดตะแคง

ตะแคง (Lady of the night) เป็นไม้พุ่มยืนต้นเตี้ย ๆ สูงประมาณ 8 ฟุต ดอกออกเป็นช่อคล้ายดอกมะลิมีกลีบดอก 5 กลีบ เมื่อบานใหม่ ๆ ดอกมีสีเหลืองนวล พอบานเต็มที่จะเป็นสีขาว กลีบดอกจะบิดงอตะแคงตามกันเหมือนกังหัน ขนาดดอกกว้าง 3 ซม.

ดู พืชและพุดตะแคง

พุดตาน

ตาน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus mutabilis L.) เป็นไม้พุ่มเตี้ย ตามต้นและกิ่งมีขน ใบมีลักษณะคล้ายใบฝ้าย ขนาดใหญ่ ขอบใบหยัก ดอกมีขนาดใหญ่ ลักษณะคล้ายดอกชบาซ้อน บานในตอนเช้า เมื่อแรกบานจะมีสีขาว เมื่อสายจะเปลี่ยนสีเป็นสีชมพู และเป็นสีชมพูเข้มในตอนบ่าย ออกดอกดกตลอดทั้งปี ต้นพุดตาน ชอบอยู่กลางแจ้ง ชอบแสงแดดจัด ไม่ชอบที่แฉะหรือมีน้ำขัง ปลูกได้ดีในที่ดอน ดินร่วนซุย ต้องการน้ำและความชื้นปานกลาง การเปลี่ยนสีระหว่างวันของดอกพุดตาน.

ดู พืชและพุดตาน

พุดซ้อน

ซ้อน ถิ่นเดิมของพุดซ้อนเข้าใจว่าอยู่ในประเทศจีน และเป็นพันธุ์ไม้วงศ์เดียวกับเข็มพวงขาว กระทุ่ม และกาแฟ มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ คือ พุดจีน พุดใหญ่ เก็ดถะหวา (ภาคเหนือ) และอินถะหวา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ).

ดู พืชและพุดซ้อน

พุดน้ำบุษย์

น้ำบุษย์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gardenia carinata Wallich.) เป็นดอกพุดชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกกันมาก เนื่องจากเป็นไม้ดอกไม้ประดับที่สวยงาม ดอกมีกลิ่นหอมแรง ดอกบานอยู่ได้ราว 7 วัน เมื่อแรกแย้มบานเป็นสีออกขาวนวลส่งกลิ่นหอมมาก หอมไกล 2 - 3 เมตร เมื่อบานเข้าวันที่สองสีจะเริ่มออกเหลืองอ่อน ต่อมา ค่อยๆ เหลืองเข้มจนกระทั่งเข้มจัด ออกดอกตลอดทั้งปี กลิ่นหอมตลอดวันแต่จะหอมมากในตอนค่ำ น้ำบุษย์หมายถึงพลอยสีเหลืองหรือบุษราคัม เป็นคำเปรียบความงามของดอกไม้ชนิดนี้.

ดู พืชและพุดน้ำบุษย์

กกอียิปต์

กกอียิปต์ หรือ พาไพรัส (Egyptian papyrus)เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่ง ที่เติบโตในพื้นที่ราบลุ่มริมแม่น้ำไนล.

ดู พืชและกกอียิปต์

กรรณิการ์

กรรณิการ์ เป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดกลาง มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้จากตอนเหนือของปากีสถานและเนปาลไปทางใต้ถึงตอนเหนือของอินเดียและตะวันออกเฉียงใต้ของไทยGermplasm Resources Information Network: Flora of Pakistan: AgroForestry Tree Database: หลอดกลีบดอกมีสีส้ม ใช้ย้อมผ้าไหมได้ โดยเก็บดอกที่ร่วงแล้ว เด็ดเฉพาะส่วนหลอด ตากให้แห้ง ต้มกับน้ำกรองเอากากทิ้ง ใช้ย้อมผ้าไหมให้สีส้ม เปลือกต้นชั้นในผสมกับปูนขาวได้สีแดง ใช้ย้อมผ้าได้เช่นกัน ดอกใช้แก้ไข้ แก้ลมวิงเวียน เปลือกต้นชั้นในต้มน้ำดื่มแก้ปวดศีรษะ ใบแก้ไข้ รากใช้บำรุงกำลังแก้ท้องผูก.

ดู พืชและกรรณิการ์

กรวยบ้าน

กรวยบ้าน (หรือเรียกเพียง กรวย) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb.

ดู พืชและกรวยบ้าน

กระบองเพชร

กระบองเพชร (Mila sp.) เป็นพืชชนิดหนึ่งที่อยู่ในทะเลทราย ต้นกระบองเพชรสามารถยืนต้นอยู่ได้ แม้อยู่ในทะเลทรายที่แห้งแล้งกันดาร โดยไม่ตาย เพราะนานๆ ครั้งหนึ่งจะมีฝนตกจำนวนมาก โดยต้นกระบองเพชรจะเก็บน้ำไว้ในลำต้นเป็นจำนวนมาก มันจะใช้น้ำตลอดระยะเวลาแห้งแล้งที่ยาวนาน และมันจะเปลี่ยนใบเป็นหนามเพื่อลดการคายน้ำ ดังนั้นมันจึงสามารถอยู่ในทะเลทรายได้ สรรพคุณทางสมุนไพรของกระบองเพชร สามารถใช้บรรเทาโรคบิดได้ สารสกัดกระบองเพชรช่วยลดอาการเมาค้าง กระบองเพชรมีชื่ออื่นดังนี้: โบตั๋น ท้าวพันต.

ดู พืชและกระบองเพชร

กระชาย

กระชาย หรือ ขิงจีน เป็นพืชสมุนไพรที่ปลูกเลี้ยงกันในประเทศจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กระชายมีชื่อสามัญอื่นอีกคือ กระชายดำ (กลาง,มหาสารคาม) กะแอน (มหาสารคาม,เหนือ) ขิงทราย (มหาสารคาม) จี๊ปู (เงี้ยว แม่ฮ่องสอน) ซีพู (เงี้ยว แม่ฮ่องสอน) เป๊าะซอเร้าะ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) เป๊าะสี่ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) ละแอน (เหนือ) และ ว่านพระอาทิตย์ (กทม.)ชื่อสามัญ กระชายมี 3 ชนิด คือ กระชายดำ กระชายแดง กระชายเหลือง.

ดู พืชและกระชาย

กระชายดำ

กระชายดำ (KP) หรือว่านกำบัง ว่านจังงัง เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นมีปุ่มปม ลักษณะคล้ายกระชาย แต่เนื้อในหัวเป็นสีม่วง เมื่อแก่สีจะเข้มขึ้นเรื่อยๆ ผิวด้านนอกสีเหลือง ใบเดี่ยว แทงขึ้นมาจากหัวใต้ดิน ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด สีขาวแต้มชมพู เป็นพืชที่มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพร สารสกัดจากกระชายดำมีฤทธิ์ต้านเชื้อมาลาเรีย เชื้อราและไมโครแบคทีเรีย ต้านการเกิดโรคภูมิแพ้และต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ในสัตว์ทดลองพบว่า มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือดแดงที่ถูกแยกออกจากกายของหนูขาว และสร้างไนตริกออกไซค์(NO) บริเวณเยื่อบุหลอดเลือดดำของรกเด็ก กระชายดำในประเทศไทยที่มีชื่อเสียงอยู่ที่จังหวัดเลย นอกจากนั้นยังเชื่อว่าเป็นยาบำรุงกำลัง นักรบสมัยก่อนจะนำหัวไปปลุกเสกแล้วอมเวลาต่อสู้ เชื่อว่าทำให้คงกระพัน.

ดู พืชและกระชายดำ

กระสัง

กระสัง เป็นไม้ล้มลุก ขนาดเล็ก สูงประมาณ 25 เซนติเมตร ลำต้นสีเขียวใส ใบสีเขียวอ่อน รูปหัวใจ รูปร่างคล้ายใบพลู ต้นและใบอวบน้ำ ออกดอกเป็นช่อ ขนาดเล็ก คล้ายช่อดอกของพริกไทย ในทางสมุนไพรใช้ตำพอกฝี.

ดู พืชและกระสัง

กระจูด

กระจูด หรือ จูด เป็นพันธุ์ไม้จำพวก "กก" (Sedge) ลักษณะลำต้นกลมสีเขียวอ่อน ดินสอดำ สูงประมาณ 1 - 2 เมตร ออกดอกเป็นกระจุกแน่นคล้ายดอกกระเทียมที่ข้างลำต้นใกล้ยอดกระจุกหนึ่ง แต่มีช่อดอกปลายลำต้นอีกหนึ่งช่อซึ่งมีใบเล็กประกอบช่อด้วย กระจูดชอบขึ้นในพื้นที่น้ำขังซึ่งเรียกว่าโพระหรือพรุ มีถิ่นกำเนิดจากทางเกาะมาดากัสการ์ มอริเซียส ลังกา สุมาตรา แหลมมาลายู และหมู่เกาะต่าง ๆ ในแหลมมาลายู อินโดจีนตอนริมฝั่งทะเล ฮ่องกง บอร์เนียว ตลอดถึงออสเตรเลีย ริมฝั่งตะวันออก.

ดู พืชและกระจูด

กระถินณรงค์

กระถินณรงค์ (Cunn., Auri, Earleaf acacia, Earpod wattle, Northern black wattle, Papuan wattle, Tan wattle) เป็นพืชตระกูลถั่ว มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมตามธรรมชาติในทุ่งหญ้าของประเทศปาปัวนิวกินี ไปจนถึงพื้นที่ทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย แต่ปัจจุบันได้มีการนำไปปลูกกันทั่วโลกทั้งทวีปเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาใต้ เนื่องจากสามารถฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรมได้ เป็นไม้ที่มีขนาดเล็กถึงขนาดกลางมีความสูง 8 เมตร ไปจนถึง 20 เมตร ดอกกระถินณรงค์ มีสีเหลืองกลิ่นหอม ออกดอกรวมกันเป็นช่อ คล้ายหางกระรอก ในประเทศไทย ร.ท.ขุนณรงค์ชวนกิจ (ชวน ณรงคะชวนะ) เป็นผู้สั่งเข้ามาปลูกในประเทศไทยเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ดู พืชและกระถินณรงค์

กระถินเทพา

กระถินเทพา หรือ กระถินซาบะฮ์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Acacia mangium) เป็นพรรณไม้ที่มีต้นกำเนิดในรัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย ต่อมามีการนำมาปลูกที่รัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย เป็นไม้ในวงศ์ถั่ว โตเร็ว สูงได้ถึง 30 เมตร ลักษณะลำต้นตรงไม่มีกิ่งก้าน จึงนิยมปลูกเป็นสวนป.

ดู พืชและกระถินเทพา

กระทิง (พรรณไม้)

กระทิง หรือ สารภีทะเล มีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ เช่น กากะทิง (ภาคกลาง), ทิง (กระบี่), เนาวกาน (น่าน), สารภีแนน (ภาคเหนือ) กระทิงราย (ชุมชนกระทิงลาย,โรงเรียนเมืองพัทยา 1 (เชิญ พิศลยบุตรราษฎร์บำเพ็ญ)) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 20 – 25 เมตร เปลือกเรียบสีเทาอ่อนหรือน้ำตาลปนเหลือง เปลือกในสีชมพูเนื้อไม้สีน้ำตาลปนแดง ใบเป็นใบเดี่ยว ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม สีเขียวเข้ม กิ่งอ่อนเกลี้ยง ยอดอ่อนเรียวเล็ก ปลายทู่ ออกดอกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบบริเวณปลายกิ่ง มีดอกย่อย กลีบดอกสีขาว เกสรเพศผู้สีเหลือง มีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม ผลเป็นผลสดทรงกลม ปลายผลเป็นติ่งแหลม เมื่อสุกจะมีสีเหลือง การดูแลรักษาทำได้โดยชอบดินร่วนปนทรายหรือดินทราย ความชุ่มชื้นปานกลาง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด กระทิงเป็นพืชมีพิษ เมื่อรับประทานราก เปลือก และใบเข้าไปจะมีผลต่อหัวใ.

ดู พืชและกระทิง (พรรณไม้)

กระทือ

กะทือ ชื่ออื่นๆคือ กะทือป่า กะแวน กะแอน แสมดำ (เหนือ) เฮียงแดง (แม่ฮ่องสอน) เป็นไม้ล้มลุก สูง 0.5 - 1 เมตร มีเหง้าใต้ดิน เปลือกนอกของเหง้าสีน้ำตาลแกมเหลือง เนื้อในสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอม แทงหน่อใหม่เมื่อถึงฤดูฝน ใบเดี่ยวเรียงสลับ และเป็นรูปหอกแกมขอบขนาน กว้าง 5 - 10 ซม.

ดู พืชและกระทือ

กระท่อม (พืช)

กระท่อม เป็นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง.

ดู พืชและกระท่อม (พืช)

กระท้อน

กระท้อน เป็นไม้ผลเขตร้อนยืนต้นในวงศ์กระท้อน (Meliaceae) ที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลกระท้อนมีสีสะดุดตา เป็นต้นไม้ที่ทนแล้งได้ดี.

ดู พืชและกระท้อน

กระดังงา

กระดังงา หรือกระดังงาไทย อังกฤษ: Ylang-ylang (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cananga odorata (Lamk.) Hook.f. et Th.) ชื่ออื่น สะบันงา สะบันงาต้น สะบานงาhttp://www.mmp.mju.ac.th/Search_Detail_Herb_MJU.aspx?Herb_ID.

ดู พืชและกระดังงา

กระดังงาสงขลา

กระดังงาสงขลา เป็นกระดังงาชนิดหนึ่งถิ่นกำเนิดที่สงขลา ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cananga fruticosa มีชื่อสามัญอื่นคือ Dwarf Ylang-Ylang.

ดู พืชและกระดังงาสงขลา

กระดุมทองเลื้อย

กระดุมทองเลื้อย หรือ เบญจมาศเครือ (Singapore dailsy) เป็นไม้ประดับหรือพืชคลุมดิน ขยายพันธุ์โดยการปักชำ.

ดู พืชและกระดุมทองเลื้อย

กระดุมเงิน

กระดุมเงิน เป็นไม้พุ่มคลุมดิน สูงไม่เกิน 50 ซม.

ดู พืชและกระดุมเงิน

กระต่าย

กระต่ายสายพันธุ์เนเธอร์แลนด์ดวอฟ ซึ่งเป็นกระต่ายสายพันธุ์เล็ก และนิยมเป็นสัตว์เลี้ยงกันมากที่สุดชนิดหนึ่ง กระต่าย (Rabbit) เป็นสัตว์ที่จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับกระต่าย (Lagomorpha) ในวงศ์ Leporidae กระต่ายแม้จะมีฟันแทะเหมือนกับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) แต่ถูกจัดออกมาเป็นอันดับต่างหาก เนื่องมีจำนวนฟันที่ไม่เท่ากัน เพราะกระต่ายมีฟันแทะที่ขากรรไกรบน 2 แถว เรียงซ้อนกันแถวละ 2 ซี่ ฟันกรามบนข้างละ 6 ซี่ และฟันกรามล่างข้างละ 5 ซี่ เมื่อเวลาเคี้ยวอาหาร กระต่ายจะใช้ฟันทั้ง 2 ด้านเคี้ยวสลับกันไป ต่างจากสัตว์ฟันแทะโดยทั่วไปที่เคี้ยวเคลื่อนหน้าเคลื่อนหลัง ซึ่งสามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า (1\tfrac, C\tfrac, P\tfrac, M\tfrac) X 2.

ดู พืชและกระต่าย

กระแตใต้

กระแตใต้ หรือ กระแตธรรมดา (common treeshrew, southern treeshrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับกระแต (Scandentia) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับกระรอก มีขนสีน้ำตาลแกมเขียว ส่วนใบหน้าแหลมยาว มีนิ้วที่เท้าหน้า 5 นิ้ว หางเรียวยาวเป็นพู่ มีเส้นขีดที่ไหล่ ลำตัวยาวประมาณ 17-24 เซนติเมตร หางยาว 17-24 เซนติเมตร ตัวเมียมีเต้านม 4 เต้า กระแตใต้ เป็นหนึ่งในกระแตที่พบได้ในประเทศไทย พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่คอคอดกระลงไปตลอดแหลมมลายู จนถึงอินโดนีเซีย เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืช, เมล็ดพืช, ผลไม้ และแมลงชนิดต่าง ๆ หากินได้ทั้งบนพื้นดิน, โคนต้นไม้ และบนต้นไม้ พบได้ในภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งป่าดิบทึบ และสวนสาธารณะหรือสวนผลไม้ในชุมชนของมนุษ.

ดู พืชและกระแตใต้

กระโถนพระราม

กระโถนพระราม เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียนในสกุลกระโถนฤๅษี ขึ้นอาศัยบนเถาพืชสกุลเถาวัลย์น้ำ (Tetrastigma) ที่ระดับความสูง 200 ถึง 750 ม.จากระดับน้ำทะเล เป็นพืชถิ่นเดียวพบทางภาคตะวันตกของประเทศไท.

ดู พืชและกระโถนพระราม

กระโถนพระฤๅษี

กระโถนพระฤๅษี เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียนหายาก เป็นญาติใกล้ชิดกับพืชสกุลบัวผุด พบในทางตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัยAdhikari, D., Arunachalam, A., Majumder, M., Sarmah, R.

ดู พืชและกระโถนพระฤๅษี

กระโถนนางสีดา

กระโถนนางสีดา เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียน เป็นญาติใกล้ชิดกับพืชสกุลบัวผุด ขึ้นอาศัยบนเถาพืชสกุลเถาวัลย์น้ำที่ระดับความสูง 1,200 ถึง 1,400 ม.จากระดับน้ำทะเล พบในประเทศจีน ประเทศกัมพูชาและประเทศไท.

ดู พืชและกระโถนนางสีดา

กระเจียว

กระเจียว, กระเจียวแดง, อาวแดง หรือ ว่านมหาเมฆ เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Zingiberaceae ลำต้นเป็นเหง้าใต้ดิน ช่อดอกชูออกจากปลายลำต้นเทียมโดยมีริ้วประดับ ริ้วประดับตอนปลายมีสีแดงอมม่วง กลีบดอกสีครีม ปลายกลีบปากมีแต้มสีเหลือง ช่อดอกนำไปลวกจิ้มน้ำพริก หน่อใช้ประกอบอาหาร ภาษากะเหรี่ยงเรียกเพาะพอ ชาวกะเหรี่ยงนำช่อดอกอ่อนและหน่ออ่อนไปลวกจิ้มน้ำพริก.

ดู พืชและกระเจียว

กระเจี๊ยบ

กระเจี๊ยบราชบัณฑิตยสถาน.

ดู พืชและกระเจี๊ยบ

กระเจี๊ยบเปรี้ยว

กระเจี๊ยบเปรี้ยวราชบัณฑิตยสถาน.

ดู พืชและกระเจี๊ยบเปรี้ยว

กระเทียม

กระเทียม เป็นพืชสมุนไพรไทยและเป็นเครื่องเทศชนิดหนึ่ง โดยมักใส่ในอาหารหลายชนิด ทั้งอาหารไทย อาหารอินเดีย กระเทียมมีชื่อสามัญอื่นอีกคือ กระเทียมขาว (อุดรธานี) กระเทียมจีน (กทม.,กลาง) ปะเซ้วา (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) หอมขาว (อุดรธานี) หอมเทียม (เหนือ) หัวเทียม (ใต้).

ดู พืชและกระเทียม

กระเทียมต้น

กระเทียมต้น (leek) (L.), บางครั้งใช้ว่า Allium porrum เป็นพืชผักชนิดหนึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกับหอมและกระเทียม ในวงศ์ Amaryllidaceae วงศ์ย่อย Allioideae ผักที่ใกล้เคียงคือกระเทียมโทน (elephant garlic) และ kurrat ซึ่งเป็นสปีชีส์ย่อยของ Allium ampeloprasum และใช้เป็นอาหารได้ต่างกัน ส่วนที่กินได้ของกระเทียมต้นคือส่วนของกาบใบซึ่งบางครั้งเรียกว่าต้นหรือก้าน.

ดู พืชและกระเทียมต้น

กระเทียมเถา

กระเทียมเถา (Garlic vine) เป็นไม้เถาเลื้อยเนื้อแข็ง ขนาดกลาง มีลำต้นเป็นเถาใหญ่ แข็งแรง สามารถเลื้อยไปได้ไกลมากกว่า 10 เมตร กลิ่นของดอกและใบ จะมีกลิ่นเหมือนกระเทียม และรูปทรงเถา จึงเป็นที่มาของชื่อ เถาอ่อนและส่วนยอดจะเป็นสีเขียว ส่วนเถาแก่จะเป็นสีน้ำตาล มีใบประเภทใบประกอบ มีใบย่อย 1 คู่ ออกตรงข้ามกันตามข้อต้น เป็นไม้ใบบางแต่แข็งกระด้าง รูป ใบรีหรือมน หรือใบรูปไข่ขอบใบเรียบปลายใบและโคนใบแหลมก้านใบสั้นมีมือเกาะอยู่ระหว่างใบ ย่อยแต่ละคู่ในขณะที่ใบยังอ่อน ใบจะมีกลิ่นคล้ายกับกลิ่นกระเทียม ออกดอกเป็นช่อตามข้อต้น หรือตามโคนกาบใบ ช่อหนึ่งจะมีประมาณ 10-20 ดอก ดอกสีม่วงอ่อน ตรงปากดอกหรือกลางดอกสีค่อนข้างขาวมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกันเล็กน้อย ลักษณะดอก จะเป็นรูปกรวยปากบาน หรือรูปแตร มีกลีบดอกแยกออกเป็น 5 กลีบ เมื่อดอกบานใหม่ ๆ จะเป็นสีขาว แล้วจะกลายเป็นสีชมพูและสีม่วง เมื่อแก่จัด มีเกสรตัวผู้ภายในดอก 4 อัน สั้น 2 อัน และยาวอีก 2 อัน ในช่วงที่ออกดอก กระเทียมเถาจะทิ้งใบหมด หมวดหมู่:วงศ์แคหางค่าง หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:ไม้เลื้อยเนื้อแข็ง.

ดู พืชและกระเทียมเถา

กรดอะมิโน

กรดอะมิโน (amino acid) คือ ชีวโมเลกุลที่มีทั้งหมู่ฟังก์ชันอะมิโนและคาร์บอกซิลเป็นส่วนประกอบ กรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ในวิชาชีวเคมี คำว่า "กรดอะมิโน" มักหมายความถึงกรดอะมิโนแบบแอลฟา (alpha amino acids) ซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่ทั้งหมู่อะมิโนและหมู่คาร์บอกซิลติดอยู่กับคาร์บอนอะตอมเดียวกัน เรียกว่า \alpha-คาร์บอน เรซิดีวของกรดอะมิโน (amino acid residue) คือกรดอะมิโนที่ถูกดึงโมเลกุลของน้ำออกไปหนึ่งโมเลกุล (ไฮโดรเจนไอออนหนึ่งไอออนจากหมู่อะมิโน และไฮดรอกไซด์ไอออนหนึ่งไอออนจากหมู่คาร์บอกซิล) เรซิดีวของกรดมักเกิดขึ้นในขณะสร้างพันธะเพปไท.

ดู พืชและกรดอะมิโน

กลอย

กลอย เป็นพืชไม้เถาเลื้อยอยู่ในวงศ์ Dioscoreaceae ชนิดหนึ่งที่มนุษย์รู้จักนำหัวของมันมาทำเป็นอาหารมานาน หัวใต้ดินกลมรี มีรากเล็กๆกระจายทั่ว มี 3-5 หัวต่อต้น เปลือกบาง สีน้ำตาลออกเหลือง เนื้อในหัวสีขาวหรือสีเหลือง ลำต้นเลื้อยพันต้นไม้อื่น มีหนามเล็กๆกระจายทั่วไป มีขนนุ่มสีขาว กลอย พบตามธรรมชาติในอินเดีย จีนตอนใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และนิวกินี ใช้เป็นอาหารในเอเชียและแอฟริก.

ดู พืชและกลอย

กลอสซอพเทอริส

ฟอสซิลของจิมโนสเปอร์ม ''กลอสซอพเทอริส'' (สีเขียวเข้ม) พบในทวีปทางซีกโลกใต้ทั้งหมดซึ่งเป็นหลักฐานที่ชัดเจนว่าครั้งหนึ่งทวีปต่างๆเคยอยู่ติดกันเป็นมหาทวีปกอนด์วานา กลอสซอพเทอริส (กรีก glossa (γλώσσα) หมายถึง "ลิ้น" (เพราะว่าใบของมันมีรูปร่างคล้ายลิ้น) เป็นสกุลใหญ่และเป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นเฟิร์นเมล็ดอยู่ในอันดับกลอสซอพเทอริดาเลส (หรือในบางกรณีก็ถูกจัดให้อยู่ในอันดับอาร์เบอริเอเลส หรือดิคทายออพเทอริดิเอเลส).

ดู พืชและกลอสซอพเทอริส

กลูโคส

กลูโคส (อังกฤษ: Glucose; ย่อ: Glc) เป็นน้ำตาลประเภทโมโนแซคคาไรด์ (monosaccharide) มีความสำคัญที่สุดในกลุ่มคาร์โบไฮเดรตด้วยกัน เซลล์ของสิ่งมีชีวิติทุกชนิดใช้กลูโคสเป็นแหล่งพลังงาน และสารเผาผลาญขั้นกลาง (metabolic intermediate) กลูโคสเป็นหนึ่งในผลผลิตหลักของการสังเคราะห์แสง (photosynthesis) และเป็นแหล่งพลังงานสำหรับการหายใจของเซลล์ (cellular respiration) โครงสร้างโมเลกุลตามธรรมชาติของมัน (D-glucose) จะอยู่ในรูปที่เรียกว่า เดกซ์โตรส (dextrose) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมอาหาร.

ดู พืชและกลูโคส

กล้วยบัวสีชมพู

กล้วยบัวสีชมพู (Flowering banana; Roxb.)เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดินสั้น ๆ ลำต้นแตกเป็นกอ ลำต้นเทียม ประกอบด้วยกาบใบสูง 1.5-3 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 - 15 ซม.

ดู พืชและกล้วยบัวสีชมพู

กล้วยพัด

กล้วยพัด เป็นพืชชนิดหนึ่งที่มีลักษณะโดดเด่น มีลำต้นคล้ายปาล์ม ใบคล้ายกล้วย กล้วยพัดเป็นพืชในวงศ์เดียวกับปักษาสวรรค์ อย่างไรก็ตาม การจำแนกกลุ่มพืชในวงศ์นี้ยังเป็นที่ถกเถียง บางครั้งก็นำกล้วยพัดไปไว้ในสกุลเดียวกับกล้วย (Musaceae) ก็มี สำหรับชื่อในภาษาไทยชื่อ กล้วยพัด ส่วนในภาษาอังกฤษนั้น เรียก traveller's palm หรือ traveller's tree.

ดู พืชและกล้วยพัด

กล้วยหอม

กล้วยหอม เป็นไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง มีอยู่หลากหลายสายพันธุ์ เช่น กล้วยหอมจันท์ กล้วยหอมทอง กล้วยหอมเขียว โดยกล้วยหอมเขียวหรือกล้วยหอมคาเวนดิชเป็นกล้วยหอมที่นิยมปลูกกันโดยทั่วไป จัดเป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยคุณค่าสารอาหารครบถ้วนตามหลักทางโภชนาการ เช่น มีวิตามิน ใยอาหารที่ช่วยในการขับถ่าย มีสารแทนนิน ซึ่งช่วยยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ Escherichia coli เป็นต้น กล้วยหอมถูกจัดเป็นผลไม้เมืองร้อน สามารถปลูกได้เกือบทุกประเทศที่มีภูมิอากาศร้อนชื้นหลายแห่ง สำหรับประเทศไทย สามารถปลูกกล้วยหอมได้ทั่วทุก.

ดู พืชและกล้วยหอม

กล้วยไม้

กล้วยไม้ หรือ เอื้อง เป็นพืชดอกที่มีความหลากหลายมากที่สุดกลุ่มหนึ่ง โดยมีประมาณ 899 สกุล และมีประมาณ 27,000 ชนิดที่มีการยอมรับ คิดเป็น 6–11% ของพืชมีเมล็ด มีการค้นพบราวๆ 800 ชนิดทุกๆปี มีสกุลใหญ่ๆคือ Bulbophyllum (2,000 ชนิด), Epidendrum (1,500 ชนิด), Dendrobium (1,400 ชนิด) และ Pleurothallis (1,000 ชนิด) สายพันธุ์ของกล้วยไม้ที่ขึ้นและเติบโตในป่าเรียกว่า กล้วยไม้ป่า กล้วยไม้จัดอยู่ในกลุ่มพืชใบเลี้ยงเดี่ยว อยู่ในวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) สามารถแบ่งตามลักษณะการเติบโตได้ดังนี้.

ดู พืชและกล้วยไม้

กล้วยไม้ดิน

กล้วยไม้ดิน (Ground orchid) เป็นสกุลหนึ่งของพืชในวงศ์กล้วยไม้ พืชในสุกลนี้เป็นญาติกับพืชสกุล Acanthephippium, Bletia, Calanthe, และ Phaius โดยทั่วไปมีถิ่นอาศัยในบอร์เนียว, ประเทศออสเตรเลีย และ หมู่เกาะโซโลมอน ไฟล์:kluaimaidin2.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin3.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin4.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin5.jpg|กล้วยไม้ดิน ไฟล์:kluaimaidin6.jpg|กล้วยไม้ดิน หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:พืชแบ่งตามสกุล.

ดู พืชและกล้วยไม้ดิน

กะพ้อ

กะพ้อ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Licuala paludosa Griff.) เป็นปาล์มลำต้นเตี้ย สูง 1-3 ม. ลำต้นแตกหน่อเป็นกอ ใบมีลักษณะคล้ายฝ่ามือ เรียงเวียนสลับ รูปกลม ก้านใบรูปสามเหลี่ยม มีหนามแหลมสีดำ ใบประกอบด้วยกลุ่มใบย่อย 6-9 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีใบย่อย 3-4 ใบ ใบย่อยรูปแถบ ปลายเบี้ยว และเว้าเป็นหางปลา โคนสอบ ออกเป็นกลุ่มชิดกันที่ปลายก้านใบ โคนก้านใบมีเส้นใยประสานกันหุ้มหนาแน่น กาบใบเล็กเป็นหลอดสีเขียว ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงสั้น แยกแขนงเป็นช่อเชิงลด 5-7 ช่อ ห้อยลง ดอกไม่มีก้าน กลีบเลี้ยงติดกันเป็นรูปถ้วย เมื่อดอกเจริญขึ้นกลีบเลี้ยงจะฉีกออกทางด้านข้าง กลีบดอกรูปคนโท โคนติดกัน ปลายแยกเป็น 3 แฉก เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดกันเป็นวงรอบกลีบดอก เกสรเพศเมียเล็ก รังไข่ตอนบนตัดแบน ผลกลม แก่จัดสีส้ม เนื้อบาง เมล็ดกลม.

ดู พืชและกะพ้อ

กะทกรก

''Passiflora foetida'' กะทกรก (Fetid passionflower, Scarletfruit passionflower, Stinking passionflower) ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ รก กระโปรงทอง ละพุบาบี หญ้ารกช้าง (ใต้) ตำลึงฝรั่ง เป็นไม้เถาเลื้อยคล้ายตำลึง เถาค่อนข้างคดไปงอมา เถามีหนามเล็ก ๆ ขึ้นอยู่ห่าง ๆ โดยทั่วไป ใบเป็นใบเดี่ยว รูปใบมนโค้งผิวเรียบปลายใบแหลมโดยแยกเป็นสามแฉก ใบและเส้นใบบริเวณที่ติดต่อกันมีสีแดงเรื่อ บริเวณใกล้โคนก้านใบมีแฉกแหลมเล็กเรียงตรงกันข้ามสลับกัน ก้านใบ มีขนาดก้านไม้ขีด ยาว 5 –6 เซนติเมตร มีขนอ่อนเป็นฝอยขนาดเล็ก ดอกมีลักษณะก้านดอกยาวกว่าใบ ดอกบานออกกลมกว้าง กลีบดอกสีขาวแซมด้วยริ้วสีม่วง ผลค่อนข้างกลมขนาดปลายนิ้วมือ และห่อหุ้มด้วย “รก” ผลสุกมีสีเหลือง ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด นิเวศวิทยาและการแพร่กระจายขึ้นอยู่ตามที่รกร้างหรือขอบไร่ชายนา และบริเวณป่าพื้นราบ โดยเลื้อยพันกิ่งต้นไม้อื่น.

ดู พืชและกะทกรก

กะเพรา

กะเพรา เป็นไม้ล้มลุก แตกกิ่งก้านสาขา สูง 30-60 เซนติเมตร นิยมนำใบมาประกอบอาหารคือ ผัดกะเพรา กะเพรามี 3 พันธุ์ คือ กะเพราแดง กะเพราขาว และ กะเพราลูกผสมระหว่างกะเพราแดงและกะเพราขาว.

ดู พืชและกะเพรา

กะเพราควาย

ำหรับยี่หร่า ที่เป็นเครื่องเทศไทยอีสาน ดูที่ผักชีล้อม ใบยี่หร่า หรือกะเพราควาย หรือ โหระพาช้าง (Tree Basil)(ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum gratissimum)เป็นพืชในวงศ์กะเพรา ชื่อในภาษาอังกฤษคือ Tree Basil มีแหล่งกำเนิดในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกตามถิ่นว่า Indian Tree Basil สำหรับสายพันธุ์อินเดีย และ South-East Asian Tree Basil สำหรับสายพันธุ์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กลิ่นหอมฉุนจัด นิยมใช้มากในอาหารไทยปักษ์ใต้ ทางภาคใต้เรียกใบราใส่ในแกง เช่น แกงพริกปลาดุก.

ดู พืชและกะเพราควาย

กะเรกะร่อนปากเป็ด

กะเรกะร่อนปากเป็ด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cymbidium finlaysonianum เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกยาวมากและห้อยลง สีเหลืองเข้ม มีเส้นแดงที่กลางกลีบออกดอกช่วงมีนาคมถึงพฤษภาคม ในไทยพบที่นครศรีธรรมราช ตรัง และนราธิว.

ดู พืชและกะเรกะร่อนปากเป็ด

กัญชา

กัญชา หรือในภาษาไทยเรียกว่า ปุ๊น หรือเนื้อ เป็นชื่อของพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Cannabidaceae ใบมนแฉกลึกเข้าไปทางก้านหลายแฉก ดอกสีเขียว ช่อดอกเพศผู้และช่อดอกเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน ใบและช่อดอกเพศเมียที่แห้งใช้สูบมีสรรพคุณทำให้มึนเมา เปลือกลำต้นใช้ทำเชือกป่านและทอผ้.

ดู พืชและกัญชา

กัญชง

กัญชง เป็นไม้ล้มลุกมีลักษณะทางพฤกษศาสตร์คล้ายกัญชา แตกต่างกัน คือ ต่อมน้ำมันของกัญชงมีน้อยกว่า จัดอยู่ในพืชซึ่งให้ประโยชน์หลักทางด้านสิ่งทอเป็นสำคัญ ในเดิมทีนั้นกัญชงเคยเป็นพืชล้มลุกที่ได้รับการจัดให้อยู่ในวงศ์เดียวกับพืชตระกูลตำแย (Urticaceae) แต่ว่าในตอนหลังนั้นพบว่ามันมีคุณสมบัติและลักษณะเฉพาะหลายอย่างที่ต่างออกไปจากพืชตระกูลตำแยเป็นอย่างมาก จึงได้รับการแบ่งเป็นอีกวงศ์หนึ่งโดยเฉพาะนั้นคือวงศ์ Cannabidaceae.

ดู พืชและกัญชง

กัลปพฤกษ์

กัลปพฤกษ์ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง พบได้มากทางภาคอีสานและภาคเหนือ พุ่มใบแบนกว้าง ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อระหว่างทิ้งใบหรือผลิใบใหม่ ชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น ชัยพฤกษ์ (ภาคเหนือ), กานล์ (เขมร-สุรินทร์), เปลือกขม (ปราจีนบุรี), กาลพฤกษ์ เป็นต้น.

ดู พืชและกัลปพฤกษ์

กันภัยมหิดล

กันภัยมหิดล หรือ กันภัย เป็นชื่อไม้เถาชนิด Afgekia mahidolae Burtt et Chermsir.

ดู พืชและกันภัยมหิดล

กันเกรา

ต้นกันเกรา กันเกรา เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ขึ้นโดยทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายนจะออกดอกเป็น ช่อสีเหลือง มีกลิ่นหอมขจรขจาย ต้นกันเกรามีชื่อเรียกอื่นว่า มันปลา ตำเสา มะซูไม้ต้น กันเกรามีชื่อเรียกต่างกันไปคือ ภาคกลางเรียก กันเกรา ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียก มันปลา ส่วนภาคใต้เรียก ตำแสง หรือตำเสา ซึ่งถือเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง อันมีชื่อเป็นมงคลและมีคุณสมบัติที่ดีในการใช้ประโยชน์ คือชื่อกันเกราหมายถึง กันสิ่งชั่วร้ายทั้งหลายไม่ให้มาทำอันตรายใด ๆ ชื่อตำเสาคือ เป็นมงคลแก่เสาบ้านไม่ให้ปลวก มอด แมลงต่าง ๆ เจาะกิน ชื่อมันปลา น่าจะเป็นลักษณะของดอกที่เหมือนกับไขมันของปลาเมื่อลอยน้ำไขมันของปลาในถ้วยน้ำแกง โดยเฉพาะช่วงข้าวใหม่ปลามันที่ปลาจะมีความมันและเอร็ดอร่อยเป็นที่สุด ต้นกันเกรามีลักษณะต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15 - 25 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องลึกไม่เป็นระเบียบ ใบเดี่ยวออกตรงกันข้าม แผ่นใบรูปมนขนาดกว้าง 2.5 - 3.5 เซนติเมตร ยาว 8 - 11 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือยาวเรียว ฐานใบแหลม โคนมน ใบเขียวมันวาว มีทรงพุ่งเป็นทรงฉัตรแหลมสวยงาม ดอก เริ่มบานสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอม ผลกลมเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 มม.

ดู พืชและกันเกรา

การรับรู้รส

ตุ่มรับรส (Taste bud) รส หรือ รสชาติ (Taste, gustatory perception, gustation) เป็นเรื่องเกี่ยวกับประสาทสัมผัสหนึ่งในห้า (นับตามโบราณ) โดยเป็นความรู้สึกที่ได้จากระบบรู้รส (gustatory system) รสเป็นความรู้สึกที่ได้เมื่อสารในปากก่อปฏิกิริยาเคมีกับเซลล์รับรส (taste receptor cell) ที่อยู่ในตุ่มรับรส (taste bud) ในช่องปากโดยมากที่ลิ้น รสพร้อม ๆ กับกลิ่น และการกระตุ้นที่ประสาทไทรเจมินัล (ซึ่งทำให้รู้เนื้ออาหาร ความเจ็บปวด และอุณหภูมิ) จะเป็นตัวกำหนดความอร่อยของอาหารหรือสารอื่น ๆ กล่าวอีกอย่างก็คือ ระบบรู้รสจะตรวจจับโมเลกุลอาหารและเครื่องดื่มเป็นต้น โดยมากที่ละลายในน้ำหรือไขมันได้ ซึ่งเมื่อรวมกับข้อมูลจากระบบรู้กลิ่นและระบบรับความรู้สึกทางกาย จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสารอาหาร ปริมาณ และความปลอดภัยของสิ่งที่เข้ามาในปาก มีรสชาติหลัก ๆ 5 อย่างคือ หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม และอุมะมิ ซึ่งรู้ผ่านวิถีประสาทที่แยกจากกัน ส่วนการรับรู้รสแบบผสมอาจเกิดขึ้นที่เปลือกสมองส่วนการรู้รสโดยประมวลข้อมูลที่ได้ในเบื้องต้นจากหน่วยรับรสหลัก ๆ การรับรู้รสจะเริ่มตั้งแต่สารที่มีรสทำปฏิกิริยากับน้ำลายซึ่งท่วมตุ่มรับรสที่อยู่บนโครงสร้างต่าง ๆ เช่นปุ่มลิ้น ทำให้โมเลกุลรสมีโอกาสทำปฏิกิริยากับหน่วยรับรสที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรสซึ่งอยู่รวมตัวกันที่ตุ่มรับรส รสหวาน อุมะมิ และขม จะเริ่มจากการจับกันของโมเลกุลกับ G protein-coupled receptors ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์รับรส ส่วนความเค็มและความหวานจะรู้ได้เมื่อโลหะแอลคาไลหรือไอออนไฮโดรเจน (ตามลำดับ) ไหลเข้าไปในเซลล์รับรส ในที่สุดเซลล์รับรสก็จะลดขั้วแล้วส่งสัญญาณกลิ่นผ่านใยประสาทรับความรู้สึกไปยังระบบประสาทกลาง สมองก็จะประมวลผลข้อมูลรสซึ่งในที่สุดก็ทำให้รู้รส รสพื้นฐานจะมีส่วนต่อความรู้สึกอร่อยของอาหารในปาก ปัจจัยอื่น ๆ รวมทั้งกลิ่น ที่ตรวจจับโดยเยื่อบุผิวรับกลิ่นในจมูก, เนื้ออาหาร ที่ตรวจจับโดยตัวรับแรงกล และประสาทกล้ามเนื้อต่าง ๆ เป็นต้น, อุณหภูมิที่ตรวจจับโดยปลายประสาทรับร้อน, ความเย็น (เช่นที่ได้จากเมนทอล) กับรสเผ็สที่ได้จากตัวรับรู้สารเคมี, รูปลักษณ์ที่ปรากฏของอาหาร ที่เห็นได้ผ่านเซลล์รับแสงในจอตา, และสภาพทางจิตใจเอง เพราะเรารู้ทั้งรสที่เป็นอันตรายและมีประโยชน์ รสพื้นฐานทั้งหมดสามารถจัดเป็นไม่น่าพอใจ (aversive) หรือทำให้อยากอาหาร (appetitive) ความขมช่วยเตือนว่าอาจมีพิษ ในขณะที่ความหวานช่วยระบุอาหารที่สมบูรณ์ด้วยพลังงาน สำหรับมนุษย์ การรู้รสจะเริ่มลดลงราว ๆ อายุ 50 ปี เพราะการเสียปุ่มลิ้นและการผลิตน้ำลายที่น้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุมักทานรสจัดขึ้นเทียบกับเด็ก เช่น ต้องเติมเกลือ เติมพริกเป็นต้น ซึ่งอาจเป็นปัญหาต่อผู้มีความดันโลหิตสูงหรือมีปัญหาธำรงดุลอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย มนุษย์สามารถรู้รสแบบผิดปกติเพราะเป็นโรค dysgeusia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมดไม่ได้รู้รสได้เหมือน ๆ กัน สัตว์ฟันแทะบางชนิดสามารถรู้รสแป้ง (ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถ) แมวไม่สามารถรู้รสหวาน และสัตว์กินเนื้อหลายอย่างรวมทั้งหมาไฮยีน่า ปลาโลมา และสิงโตทะเลต่างก็ได้เสียการรู้รสชาติอาจถึง 4 อย่างจาก 5 อย่างที่บรรพบุรุษของพวกมันรู้.

ดู พืชและการรับรู้รส

การสังเคราะห์ด้วยแสง

ใบไม้เป็นแหล่งที่มีการสังเคราะห์ด้วยแสง การสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) เป็นกระบวนการทางชีวเคมีที่สำคัญอย่างหนึ่ง ซึ่งทำให้พืช สาหร่าย และแบคทีเรียบางชนิดสามารถเปลี่ยนพลังงานจากแสงอาทิตย์ให้กลายเป็นพลังงานทางเคมีได้ สิ่งมีชีวิตแทบทั้งหมดล้วนอาศัยพลังงานที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อการเจริญเติบโตทั้งทางตรงและทางอ้อม นอกจากนี้ยังมีการผลิตออกซิเจน ซึ่งมีเป็นองค์ประกอบในสัดส่วนที่มากของบรรยากาศโลกด้วย สิ่งมีชีวิตที่สร้างพลังงานจากกระบวนการสังเคราะห์แสงได้ เรียกว่า "phototrophs" โดยโมเลกุลที่มีความสามารถในการดูดกลืนแสงที่มีอยู่ในพืชและสิ่งมีชีวิตนี้คือ รงควัตถุ (pigment).

ดู พืชและการสังเคราะห์ด้วยแสง

การจัดสวน

การจัดสวน คือกิจกรรมที่เป็นศาสตร์ศิลป์และงานฝีมือที่เกี่ยวกับการปลูกและดูแลพืชรวมถึงสภาพแวดล้อมเพื่อสร้างบรรยากาศที่สวยงาม โดยทั่วไปแล้วจะเป็นกิจกรรมในบริเวณที่อยู่อาศัย ในบริเวณที่เรียกว่าสวน การจัดสวนอาจทำนอกบริเวณที่อยู่อาศัยก็ได้เช่น สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ บริเวณสถานที่ท่องเที่ยว บริเวณโรงแรม/ห้างร้าน/บริษัท/หน่วยงานต่างๆ โดยทั่วไปจะทำกลางแจ้งและทำบนดินแต่ก็อาจทำในร่มได้เช่น การจัดสวนในเรือนกระจก หรืออาจทำในน้ำได้การปลูกเลี้ยงสระบัว หรือแม้แต่การทำสวนพืชรากอากาศ อาจทำได้หลายรูปแบบ เช่น สวนดอกไม้ สวนหิน สวนที่มีลักษณะที่สมดุลเช่นการจัดสวนแบบยุโรป หรือ ลักษณะการผสมผสานความไม่สมดุลเช่นการจัดสวนแบบญี่ปุ่น เป็นต้น นอกเหนือจากการตกแต่งบ้านให้สวยงามแล้ว การจัดสวนก็มีส่วนสำคัญที่ช่วยให้บ้านน่าอยู่น่าอาศัย เพราะการที่เรามีสวนที่สวยงามจะทำให้เรารุ้สึกว่าบ้านของเรานั้นหน้าอยู.

ดู พืชและการจัดสวน

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ หรือ การจำแนกชั้นทางชีววิทยา (Systematics) หมายถึงการจัดกลุ่มและหมวดหมู่สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิต ทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่สูญพันธุ์ไปแล้ว การจำแนกในยุคปัจจุบันอาศัยรากฐานจากระบบการจำแนกของ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ผู้จัดกลุ่มสปีชีส์ต่าง ๆ โดยดูจากลักษณะเฉพาะทางกายภาพ การจัดกลุ่มแบบนี้ได้มีการปรับปรุงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับหลักดาร์วิน ส่วนมากเป็นผลมาจากการศึกษาอนุกรมวิธานระดับโมเลกุลด้วยการวิเคราะห์จีโนม ในการแบ่งอย่างกว้างๆจะแบ่งได้ 2 ระดับ คือ ลำดับขั้นสูง และ ลำดับขั้นต่ำ.

ดู พืชและการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

การคายน้ำ

ปากใบของมะเขือเทศที่ใช้ในการคายน้ำ ภาพแต่งสีจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด การคายน้ำ เป็นการแพร่ของน้ำออกจากใบของพืชโดยผ่านทางปากใบ โดยทั่วไปปากใบปิดเวลากลางคืนและเปิดในเวลากลางวัน การคายน้ำมีความสำคัญต่อพืชในด้านการควบคุมการเคลื่อนที่ของน้ำในพืช ทำให้น้ำเคลื่อนที่จากด้านล่างขึ้นไปด้านบนมากขึ้นเรื่อยๆ ควบคุมการดูดซึมธาตุอาหารของพืช เพราะธาตุอาหารที่พืชนำไปใช้ได้ต้องอยู่ในรูปที่ละลายน้ำ ทำให้อุณหภูมิของใบลดลง โดยลดความร้อนที่เกิดจากแสงแดดที่ใบ ในกรณีที่ในอากาศอิ่มตัวด้วยน้ำ มีความชื้นสูง การคายน้ำเกิดขึ้นได้น้อย แต่การดูดน้ำของรากยังเป็นปกติ พืชจะเสียน้ำในรูปของหยดน้ำเรียกว่ากัตเตชัน (guttation)พืชไม่สามารถคายน้ำในสภาพที่แดดจัดเพราะอาจเสียน้ำมากเกินไปและเหี่ยวก่อนที่รากจะลำเลียงน้ำได้ทัน ตารางต่อไปนี้สรุปสิ่งที่มีผลต่อการคายน้ำ.

ดู พืชและการคายน้ำ

การเวก (พืช)

การเวก (climbing ylang-ylang, climbing ilang-ilang, manorangini, hara-champa หรือ kantali champa) เป็นชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Artabotrys siamensis Miq.

ดู พืชและการเวก (พืช)

กาหลง

กาหลง เป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นดอกไม้ประจำจังหวัดสตูล ปลูกขึ้นง่ายในดินร่วนทั่วไป ที่มีความชื้นและอุดมสมบูรณ์ นิยมปลูกเป็นปลูกเป็นไม้ประดับ ทางสมุนไพรมีฤทธิ์เป็นยาแก้ไอ กาหลงมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ กาแจ๊ะกูโด (มลายู-นราธิวาส), ส้มเสี้ยว (ภาคกลาง), เสี้ยวน้อย (เชียงใหม่), เสี้ยวดอกขาวเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและกาหลง

กาฬพฤกษ์

กาฬพฤกษ์ เป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง กึ่งผลัดใบ สูง 10-20 เมตร เรือนยอดทรงกลมหรือคล้ายรูปร่มแผ่กว้าง โคนมีพูพอน เปลือกมีสีน้ำตาลเข้มเกือบดำแตกเป็นร่องลึก กิ่งอ่อนหรือช่อดอกมีขนนุ่มสีน้ำตาล ใบประกอบรูปขนนกเรียงสลับ ใบย่อย 10-20 คู่ ใบอ่อนสีแดง แผ่นใบย่อยรูปรีแกมรูปขอบขนานกว้าง 1-2 เซนติเมตร ยาว 3-5 เซนติเมตร ปลายใบมนโคนใบเบี้ยวใต้ใบมีขนนุ่ม ดอกออกเป็นช่อพร้อมใบอ่อนตามกิ่ง ช่อดอกยาว 10-20 เซนติเมตร เริ่มบานสีแดงแล้วเปลี่ยนเป็นชมพูตามลำดับ ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอก กว้างประมาณ 3-4 เซนติเมตร ยาว 20-40 เซนติเมตร สีค่อนข้างดำ ผิวมีรอยแตกและมีสันทั้งสองข้างเมล็ดรูปรี รูปไข่ หรือรูปขอบขนานมี 20-40 เมล็ด สีเหลือง มีรสขม และมีกลิ่นเหม็น มีถิ่นกำเนิดอเมริกาเขตร้อน นิยมปลูกอยู่ทั่วไป ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ขยายพันธุ์โดยเมล็.

ดู พืชและกาฬพฤกษ์

กานพลู

กานพลู เป็นไม้ยืนต้น สูง 5 - 10 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือรูปใบหอก กว้าง 2.5 - 4 ซม.

ดู พืชและกานพลู

กำลังช้างสาร

กำลังช้างสาร (ชื่อวิทยาศาสตร์:Acacia craibii Nielsen) ชื่อพื้นเมือง: กำลังช้างสาร (ภาคกลาง) เครือง้วนเห็น ศาลาน่อง (อุดรธานี) เถาจักรลาช (ประจวบคีรีขันธ์) ไส้ตันใหญ่ (ปราจีนบุรี) เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ทอดยอดเกาะพันไม้อื่น กิ่งอ่อนและช่อดอกมีขนประปราย กิ่งแก่เกลี้ยง ใบ เป็น ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ หูใบแปลงรูปเป็นหนามแหลมโค้งค่อนข้างกลมขนาดเล็ก 1 คู่ ใบประกอบแยกแขนง 6-11 คู่ แต่ละแขนงมีใบย่อย 21-29 คู่ เล็กมาก ดอก ออกเป็นช่อดอกกลม ออกตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกเล็ก ฝักรูปขอบขนาน แบน โค้งเล็กน้อย โคนสอบ ปลายแหลม มีเส้นนูนขนานห่างจากขอบฝักทั้ง 2 ด้าน ด้านละ 1 เส้น มีเส้นร่างแหปรากฏชัด ฝักแก่และแห้งจะแตกออกเป็น 2 ซีก เมล็ดแบน รูปรี โค้งเล็กน้อย มีเยื่อนุ่มสีแดง.

ดู พืชและกำลังช้างสาร

กำแพงเงิน

กำแพงเงิน (flax lily) Sims เป็นไม้ล้มลุก ใบยาวแหลม ตรงกลางสีเขียวเข้ม ริมขอบสีเขียวอ่อน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ กำแพงเงินรูปใบคล้ายรางเงินแต่ต้นเล็กกว่า และคล้ายเศรษฐีเรือนใน แต่ใหญ่กว่า ใบแข็งกว่า น่าจะเป็นไม้ตระกูลเดียวกัน แต่ได้รับการผสมที่แตกต่างกันเล็กน้อย คนนิยมปลูกเพราะสีสวย ค่อนข้างทนสภาพดินได้ดี แต่ถ้าบำรุงดี ๆ รดน้ำสม่ำเสมอกอจะใหญ่และสวยมาก หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:วงศ์ลิลี.

ดู พืชและกำแพงเงิน

กุยช่าย

''Allium tuberosum'' กุยช่าย (韭菜; Rottl. ex Spreng) อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae วงศ์ย่อย Allioideae เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าเล็กและแตกกอ ใบแบน เรียงสลับ รูปขอบขนาน โคนเป็นกาบบางซ้อนสลับกัน ช่อดอกแบบซี่ร่ม ก้านช่อดอกกลมโดยปรกติจะยาวกว่าใบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ออกในระดับเดียวกันที่ปลายก้านช่อดอก ก้านดอกยาวเท่ากัน มีใบประดับหุ้มช่อดอก เมื่อดอกเจริญขึ้นจะแตกออกเป็นริ้วสีขาว กลีบดอก 6 กลีบ สีขาว โคนติดกัน ปลายแยก กลางกลีบดอกด้านนอกมีสันหรือเส้นสีเขียวอ่อนจากโคนกลีบไปหาปลาย เกสรเพศผู้ 6 อัน อยู่ตรงข้ามกับกลีบดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ผลกลม ภายในมี 3 ช่อง มีผนังกั้นตื้นๆ เมื่อแก่แตกตามตะเข็บ มีเมล็ดช่องละ 1-2 เมล็ด เมล็ดสีน้ำตาลแบน ขรุขระ กระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกแถบภูเขาหิมาลัย อินเดีย จีน และญี่ปุ่น ในไต้หวันมีปลูก 2 พันธุ์ คือ พันธุ์สีเขียวที่ปลูกทั่วไป และพันธุ์ใบใหญ่สีขาวซึ่งเกิดจากการบังร่ม.

ดู พืชและกุยช่าย

กุหลาบ

กุหลาบ (rose) คือดอกไม้ในสกุล Rosa ในวงศ์ Rosaceae ที่ได้รับความนิยมปลูกมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลกที่มีต้นกำเนิดจากทวีปเอเชีย ผู้คนนิยมปลูกเพื่อความสวยงาม ตกแต่งสวน, ประดับตกแต่งบ้าน, ประดับสถานที่, ปลูกเพื่อการพาณิชย์ อาทิ เพื่อนำไปสกัดน้ำหอม นำไปทำเป็นส่วนประกอบของสปา เป็นต้น.

ดู พืชและกุหลาบ

กุหลาบกระเป๋าปิด

กุหลาบกระเป๋าปิด หรือ เอื้องกุหลาบกระเป๋าปิดเป็นกล้วยไม้ที่มีลำต้นเจริญทางปลายยอด ช่อดอกแบบกระจะ สีขาวหรือสีขาวแกมม่วงอ่อน ดอกมีกลิ่นหอมมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aerides odoratum Lour.

ดู พืชและกุหลาบกระเป๋าปิด

กุหลาบมอญ

กุหลาบมอญ หรือ ยี่สุ่นเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและกุหลาบมอญ

กุหลาบอินทจักร

กุหลาบอินทจักร หรือ เอื้องอินทจักร หรือเอื้องนกพิราบ เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่งในประเทศไทย พบที่ เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอนและเลย ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม.

ดู พืชและกุหลาบอินทจักร

กุหลาบควีนสิริกิติ์

กุหลาบควีนสิริกิติ์ (Queen Sirikit Rose) เป็นกุหลาบดอกใหญ่สีเหลือง เมื่อต้องแสงอาทิตย์ปลายกลีบจะมีสีส้ม ดอกมีกลิ่นหอม บางครั้งกิ่งหนึ่งอาจมีถึง 3 ดอก นายอองเดร อองดริก ผู้อำนวยการไร่กุหลาบกร็องด์ โรเซอเร ดู วาล เดอ ลัวร์ (Grandes Roseraies Du Val de Loire) แห่งลุ่มแม่น้ำลัวร์ในฝรั่งเศส เป็นผู้ตั้งชื่อดอกกุหลาบชนิดนี้ ตามพระนามของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ.

ดู พืชและกุหลาบควีนสิริกิติ์

กุหลาบน่าน

กุหลาบน่าน หรือในชื่อพื้นเมืองอื่น กุหลาบเอราวัณ หรือ กุหลาบไอยรา ออกดอกในช่วง มีนาคม - มิถุนายน หมวดหมู่:สกุลกุหลาบ (กล้วยไม้).

ดู พืชและกุหลาบน่าน

กุหลาบเมาะลำเลิง

ลำต้นและหนาม ดอก กุหลาบเมาะลำเลิง หรือ กุหลาบเทียม (Rose cactus) เป็นพืชพื้นเมืองของบราซิลทางตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้เป็นพืชสมุนไพร และใบรับประทานได้ แม้ว่าจะเป็นพืชกลุ่มเดียวกับกระบองเพชร แต่แตกกิ่งเป็นพุ่มเล็ก ๆ สูง 2-5 เมตร มีลำต้นสีน้ำตาลอมเทาหนา 20 เซนติเมตร หนามสีดำหรือน้ำตาล ใบยาว 9-23 เซนติเมตร ช่อดอกเกิดที่ปลายกิ่ง มี 10-15 ดอก ดอกมีรูปร่างคล้ายกุหลาบ กุหลาบเมาะลำเลิงมีหลายพันธุ์ พันธุ์ grandifolia มีริ้วประดับสีเขียวและดอกสีชมพู เป็นไม้พื้นเมืองของบราซิลตะวันออกและแพร่หลายไปทั่วเขตร้อนของทวีปอเมริกา พันธุ์ violacea มีสีม่วงอมชมพูหรือสีม่วง เป็นพืชพื้นเมืองของเอสปิริโต ซันโต และมินาส เฆราอ.

ดู พืชและกุหลาบเมาะลำเลิง

กุหลาบเหลืองโคราช

กุหลาบเหลืองโคราช หรือ เอื้องกุหลาบเหลืองโคราช Rchb.

ดู พืชและกุหลาบเหลืองโคราช

ก้ามปู

ก้ามปู, ฉำฉา หรือ จามจุรีแดง (มักเรียกสั้น ๆ ว่า จามจุรี) เป็นพืชในวงศ์ถั่ว (Leguminosae) ในวงศ์ย่อย Minosoideae เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีกิ่งก้านสาขามาก มีใบขนาดเล็ก ดอกสีชมพู มีผลเป็นฝัก เมล็ดแข็ง ผลมีเนื้อสีชมพู รสหวานสัตว์เคี้ยวเอื้องชอบกินเป็นอาหาร เป็นพืชพื้นเมืองของเม็กซิโก, บราซิล และเปรู ต่อมาได้ถูกนำเข้ามาเผยแพร่ในเอเชียใต้, เอเชียอาคเนย์, หมู่เกาะแปซิฟิก และฮาวาย เมล็ดเมื่อรับประทานทำให้ปวดศีรษะ อาเจียน ถ้าเป็นพิษรุนแรง ทำให้ระบบไหลเวียนเลือดไม่สม่ำเสมอ ทำให้ชักได้ ก้ามปูต้นแรกในประเทศไทยปลูกอยู่ภายในโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยบาทหลวงรอมิเอล ซึ่งเป็นนักบวชที่อยู่ในวัดอัสสัมชัญ เป็นผู้นำพันธุ์มาจากเมืองไซ่ง่อน ประเทศเวียดนาม ต่อมาภายหลังก็เป็นที่แพร่หลายและนิยมนำมาปลูกเป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่เพื่อให้ร่มเงา ดอกก้ามปู ก้ามปูหรือจามจุรีแดงเป็นต้นไม้ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา, โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย และเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลประจำจังหวัดลำพูน นอกจากจามจุรีแดงและฉำฉาแล้ว ก้ามปูยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกตามแต่ละพื้นที่ ได้แก่ "ก้ามกราม" (กลาง), "ก้ามกุ้ง" (กทม., อุตรดิตถ์), "ตุ๊ดตู่" (ตราด), "ลัง" (เหนือ), "สารสา" (เหนือ), "สำสา" (เหนือ) และ "เส่คุ่" (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) เป็นต้นเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและก้ามปู

ก้ามปูหลุด

ก้ามปูหลุด (hort. ex Bosse)หรือชื่อเดิมคือ Zebrina pendula, เป็นสปีชีส์หนึ่งของ spiderwort โดยทั่วไปรู้จักกันในชื่อสามัญภาษาอังกฤษว่า inch plant เป็นพืชพื้นเมืองในบริเวณชายฝั่งของเม็กซิโกตะวันออก ชื่อสามัญของสปีชีส์นี้เหมือนกับอีก 2 สปีชีส์ในสกุลเดียวกันคือ T.

ดู พืชและก้ามปูหลุด

ฝรั่ง

ปลือกต้นฝรั่ง ดอกฝรั่ง ฝรั่ง (Linn.) เป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ในวงศ์ Myrtaceae ฝรั่งเป็นพืชที่มีจุดกำเนิดอยู่ในอเมริกากลางและหมู่เกาะอินดีสต์ตะวันตก หลักฐานทางโบราณคดีในเปรูชี้ให้เห็นว่า มีฝรั่งมาตั้งแต่ 800 ปีก่อนครืสตกาล พ่อค้าชาวสเปนและโปรตุเกสเป็นผู้นำผลไม้ชนิดนี้ไปยังถิ่นต่างๆทั่วโลก เข้ามาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 ส่วนในประเทศไทย คาดว่าเข้ามาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช คำว่าฝรั่งในภาษาอังกฤษคือ Guava ซึ่งมาจากภาษาสเปน คำว่า Guayaba และ ภาษาโปรตุเกส คำว่า Goiaba ฝรั่งมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ ย่าหมู (สุราษฎร์ธานี) ชมพู่ (ตรัง, ปัตตานี) มะก้วย (เชียงใหม่,เหนือ) มะก้วยกา (เหนือ) มะกา (กลาง,แม่ฮ่องสอน) มะจีน (ตาก) มะมั่น (เหนือ) ยะมูบุเตบันยา (มลายู นราธิวาส) ยะริง (ละว้า เชียงใหม่) ยามุ หรือ ย่าหมู หรือ ย่าหวัน (ใต้) และ สีดา (นครพนม,นราธิวาส).

ดู พืชและฝรั่ง

ฝ้าย

การเก็บเกี่ยวฝ้ายในรัฐโอคลาโฮมา สหรัฐอเมริกา เมื่อราว พ.ศ. 2433 ฝ้าย เป็นพันธุ์ไม้สกุลกอสไซเพียมในวงศ์ชบา เป็นไม้ขนาดเล็ก ถิ่นเดิมอยู่ในแถบทวีปอเมริกาใต้ ต่อมามีการนำไปปลูกในทวีปแอฟริกา เอเชีย และที่ที่อยู่ในโซนร้อนทั่ว ๆ ไป ฝ้ายเป็นพืชที่ให้เส้นใยโดยเส้นใยของฝ้ายเกือบทั้งหมดเป็นเซลลูโลส คำว่า Cotton ซึ่งหมายถึงฝ้ายในภาษาอังกฤษมาจากคำภาษาอาหรับว่า (al) qutn قُطْن เปลือกหุ้มเมล็ดฝ้ายมีเพกทินซึ่งประกอบด้วยกรดกาแลกทูโรนิกและเมทิลเอสเทอร์เป็นองค์ประกอบ สามารถใช้เป็นตัวดูดซับตะกั่วในน้ำเสียได้ โดยถ้าล้างด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ก่อนใช้จะดูดซับได้มากขึ้น.

ดู พืชและฝ้าย

ฝ้ายคำ

ฝ้ายคำ เป็นไม้ผลัดใบ มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาหิมาลัยในอินเดีย โดยได้นำเข้ามาประเทศไทยเป็นเวลากว่า 50 ปีมาแล้ว นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ดู พืชและฝ้ายคำ

ภูมิศาสตร์

แผนที่โลก ภูมิศาสตร์ (geography) เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่ทำการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะ ของสถานที่ที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลก ภูมิศาสตร์จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดวางสิ่งต่าง ๆ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่แบ่งแยกสิ่งหนึ่งออกจากสิ่งอื่น ๆ โดยภูมิศาสตร์พยายามค้นหาเพื่อที่จะตีความให้กระจ่างถึงความสำคัญ ของสิ่งที่เหมือนและแตกต่างกันระหว่างพื้นที่ในรูปของสาเหตุและความเกี่ยวเนื่อง ปัจจุบันการศึกษาด้านภูมิศาสตร์ จะมุ่งเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดเบื้องต้นที่เกี่ยวกับพื้นที่มากกว่าที่จะศึกษาลักษณะเฉพาะและสถานที่ต่าง ๆ ของโลกอย่างคร่าว ๆ อย่างที่เคยปฏิบัติขึ้นมาในระยะแรก ๆ ภูมิศาสตร์ได้เปลี่ยนแนวทางมาสู่การศึกษารายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้น ๆ โดยเฉพาะ ซึ่งจะใช้การศึกษานี้พิจารณาว่า "มีสิ่งใดบ้างที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดสิ่งนั้นสิ่งนี้ขึ้น และแต่ละสิ่งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร" โดยถือรูปแบบและวิธีการดังกล่าวว่า เป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ ภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือเกิดปรากฏการณ์พิเศษในพื้นที่นั้น ๆ ขึ้น และถือว่าเป็น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ ที่เกิดขึ้น ซึ่งมีหลายลักษณะ เช่น ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยาของโลก ลักษณะทางสภาพภูมิอากาศ เป็นต้น โดยจะมีความเกี่ยวเนื่องและมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในแต่ละลักษณะที่กล่าวถึง.

ดู พืชและภูมิศาสตร์

มหาพรหมราชินี

มหาพรหมราชินี เป็นไม้วงศ์กระดังงา ชนิดใหม่ของโลก พบในประเทศไทยที่เขตอุทยานแห่งชาติน้ำตกแม่สุรินทร์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน สภาพนิเวศวิทยา พบในเขตป่าดิบเขา ที่สูงชัน ในระดับความสูงมากว่า 1,100 เมตร ที่มีสภาพลมแรง และอากาศหนาวเย็นจัดในฤดูหนาว ที่ความชื้นสัมพัทธิ์ค่อนข้างสูง ลักษณะของต้นมหาพรหมราชินีเป็นต้นไม้ขนาดเล็กสูงประมาณ 4-6 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-8 เมตร ลำต้นมีสีน้ำตาล กิ่งอ่อนจะมีขนอ่อนปกคลุมอยู่ ใบเป็นรูปหอก กว้าง 4-9 เซนติเมตร ยาว 11-19 เซนติเมตร เนื้อใบหนา ผิวใบเรียบเป็นมันทั้งสองด้าน โค่นใบและปลายใบแหลม มีแขนงใบ 8-11 คู.

ดู พืชและมหาพรหมราชินี

มหาหงส์

มหาหงส์ (J.G. Koenig;White Ginger) เป็นพันธุ์ไม้พวกเดียวกัน ขิง ข่า และขมิ้น อยู่ในวงศ์ Zingiberaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ หรือตามชายป่าใกล้ลำธาร เจริญเติบโตได้ดีในที่มีแสงแดดรำไร พบขึ้นมากในภาคเหนือ มีชื่ออื่นๆ ได้แก่ สะเลเต หางหงส์ กระทายเหิน ตาห่าน เหินแก้ว และเหินดำ ขยายพันธุ์โดยใช้เหง้า ส่วนที่อยู่เหนือดินเป็นลำตรง สูง ๑-๒ ม.

ดู พืชและมหาหงส์

มอสส์

มอสส์เป็นพืชขนาดเล็ก, พุ่มสูงประมาณ 1–10 เซนติเมตร (0.4-4 นิ้ว) แต่อาจมีบางชนิดที่มีขนาดใหญ่กว่ามาก ปกติจะเจริญเติบโตในหมู่ต้นไม้หรือบริเวณที่เปียกชื้นใต้ร่มเงาไม้ใหญ่ ไม่มีดอกและเมล็ด โดยทั่วไปใบที่ปกคลุมลำต้นจะบางเล็กคล้ายลวด มอสส์แพร่พันธุ์ด้วยสปอร์ ซึ่งสร้างขึ้นที่จะงอยปลายก้านเล็กๆ คล้ายแคปซูล มอสส์มีประมาณ 12,000 สปีชีส์และถูกจัดอยู่ในส่วนไบรโอไฟตา ใน ไบรโอไฟตา นั้นปกติไม่ได้มีแค่มอสส์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงลิเวอร์เวิร์ตและฮอร์นเวิร์ตด้วย แล้วยังมีไบรโอไฟต์อีก 2 กลุ่มที่มักถูกจัดอยู่ในส่วนเดียวกัน.

ดู พืชและมอสส์

มะพร้าว

มะพร้าว เป็นพืชยืนต้นชนิดหนึ่ง อยู่ในตระกูลปาล์ม มะพร้าว เป็นพืชซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ได้ในหลายทาง เช่น น้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อนใช้รับประทาน เนื้อในผลแก่นำไปขูดและคั้นทำกะทิ กะลานำไปประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ เช่น กระบวย โคมไฟ ฯลฯ นอกจากนี้มะพร้าวจัดเป็นพรรณไม้มงคลชนิดหนึ่ง ตามตำราพรหมชาติฉบับหลวง ได้กำหนดให้ปลูกมะพร้าวไว้ทางทิศตะวันออกของบ้าน เพื่อความเป็นสิริมงคล.

ดู พืชและมะพร้าว

มะพร้าวแฝด

มะพร้าวแฝด, ตาลทะเล, มะพร้าวตูดนิโกร หรือ มะพร้าวทะเล มีชื่อในภาษาฝรั่งเศสว่า Coco de mer แปลว่า "มะพร้าวทะเล" สาเหตุที่ถูกขนานอย่างนี้ก็เพราะว่า พวกเดินเรือในอดีตจะพบลูกมะพร้าวทะเลอยู่ในมหาสมุทร แต่ไม่มีใครเห็นพบเห็นต้นของมัน จึงสันนิษฐานว่าคงมีต้นอยู่ใต้ทะเล บ้างก็ไปไกลยิ่งกว่านั้น คือเชื่อว่าคงเป็นผลไม้จากสวรรค์แน่ ๆ และอาจจะเป็นผลไม้แห่งความอมตะที่อีฟ ภรรยาอาดัม ถูกหลอกให้กินก็ได้ นาน ๆ ครั้งจะมีผู้พบเห็นมะพร้าวทะเลถูกคลื่นซัดเข้าฝั่ง มะพร้าวทะเลจึงกลายเป็นของแปลกและหายากยิ่งกว่าเพชรพลอย และแน่นอนผลไม้พิสดารนี้ก็จะถูกนำไปถวายให้แก่คนที่สำคัญที่สุดในแผ่นดิน นั่นคือกษัตริย์หรือสุลต่าน ไว้ประดับบารมีหรือเป็นยาวิเศษรักษาสารพัดโร.

ดู พืชและมะพร้าวแฝด

มะพลับ

มะพลับ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Diospyros malabarica (Desr.) Kostel) เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางใบเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ Ebenaceae ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกับต้นตะโก ต้นมะพลับนั้นมีดอกขนาดเล็กและก็มีผลที่ค่อนข้างกลมแต่ถ้าสุกแล้วสามารถกินได้มีรสชาติอร่อย ต้นมะพลับนอกจากมีผลที่กินได้แล้วยังมีคุณค่าในทางสมุนไพรสูงมากด้วย มะพลับเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งของคนไทย กำหนดปลูกไว้ทางทิศใต้ เชื่อกันว่าการปลูกต้นมะพลับในบริเวณบ้านจะทำให้ร่ำรวยยิ่งขึ้น.

ดู พืชและมะพลับ

มะกรูด

มะกรูด เป็นพืชในสกุลส้ม (Citrus) มีถิ่นกำเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมใช้ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้ว ยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย (โดยเฉพาะบาหลี).

ดู พืชและมะกรูด

มะกล่ำตาช้าง

มะกล่ำตาช้าง, มะกล่ำต้น, มะแค้ก, หมากแค้ก, มะแดง, มะหัวแดง หรือ มะโหกแดง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Leguminasae วงศ์ย่อย Mimosoideae โคนต้นมีพูพอน ผิวเรียบ สีเทาอมน้ำตาล ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อยรูปไข่ ดอกช่อแบบแตกแขนง เกสรตัวผู้สีเหลืองจำนวนมาก เห็นเป็นพู่ ผลเดี่ยว เป็นฝักแบน ยาวขดเป็นวง เมื่ออ่อนสีเขียวอ่อน สุกแล้วสีน้ำตาล เป็นผลแห้ง แตกตามตะเข็บ เมล็ดแบนสีแดง เป็นพืชที่ตรึงก๊าซไนโตรเจน ใช้เป็นอาหารสัตว์ สมุนไพร และยังเป็นไม้ประดับได้ เนื้อไม้มีความแข็งแกร่งมากใช้ทำเรือและใช้ทำเครื่องเรือน มะกล่ำตาช้างเป็นพืชที่มีพิษ โดยเฉพาะส่วนเมล็ดสีแดงมีพิษสูงมาก หากรับประทานเข้าไป อาจทำให้เสียชีวิตได้ รากมีรสเปรี้ยว ใช้เป็นยาแก้ร้อนใน เมล็ดและใบแก้ริดสีดวงทวารหนัก ใช้เป็นยาเบื่อพยาธิ เมล็ดมะกล่ำ 1 เมล็ดใช้เทียบเป็นหน่วยกล่ำในมาตราชั่งตวงวัดโบราณ โดย 2 กล่อมเป็น 1 กล่ำ และ 2 กล่ำเป็น 1.

ดู พืชและมะกล่ำตาช้าง

มะกล่ำตาหนู

''Abrus precatorius'' มะกล่ำตาหนู มะกล่ำเครือ หรือ ก่ำเคือ (Jequirity) เป็นพืชไม้เถาในวงศ์ถั่ว เมล็ดมีพิษ หรือที่รู้จักกันในชื่อ "Gunja" ในภาษาสันสกฤต เป็นพื้นพื้นเมืองของประเทศอินโดนีเซีย เติบโตได้ดีในเขตร้อนและใกล้เขตร้อน ทำให้มีแนวโน้มที่จะกลายเป็นวัชพืชต่างถิ่นที่รุกรานในพื้นที่ที่มะกล่ำตาหนูถูกนำเข้ามา มะกล่ำตาหนูยังมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: กล่ำเครือ กล่ำตาไก่ มะกล่ำเครือ มะกล่ำแดง มะแค๊ก (เชียงใหม่) เกมกรอม (สุรินทร์) ชะเอมเทศ ตากล่ำ (กลาง) มะขามเถา ไม้ไฟ (ตรัง) หมากกล่ำตาแดง (ตะวันออกเฉียงเหนือ).

ดู พืชและมะกล่ำตาหนู

มะกอก

มะกอก หรือ มะกอกป่า ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ได้แก่ กอกกุก, กูก (เชียงราย); กอกหมอง (เงี้ยว – ภาคเหนือ); ไพแซ (กะเหรี่ยง – เชียงใหม่) เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชีย ตั้งแต่อินเดีย มาเลเซียจนถึงอินโดนีเซีย เป็นไม้ยืนต้น ขนาดกลาง สูงถึง 25 เมตร ลำต้นและกิ่งก้านเลี้ยงไม่มีขน เปลือกเรียบสีเทาแตกเป็นร่องเล็กน้อย เปลือกข้างในมีริ้วสีชมพูสลับขาว ใบประกอบ มีใบย่อย 3 – 5คู่ ปลายสุดเป็นใบเดี่ยว ลักษณะใบรุปขอบขนาน หรือรูปหอก ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบแหลมหรือเบี้ยว ดอกออกเป็นช่อสีขาวตามปลายกิ่ง แต่ละดอกมีขนาดเล็ก มี 5 กลีบเกสรมีตัวเมียแยกเป็นสี่แฉก ผลสดมีเนื้อฉ่ำน้ำ ลักษณะรูปไข่หรือรูปรี เมื่อสุกผลสีเหลืองหม่น มีรอยแต้มสีน้ำตาลทั่วผล มะกอกเป็นพืชที่ให้ผลตลอดปี ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค เป็นไม้กลางแจ้ง สามารถขึ้นได้โดยทั่วไป พบในป่าเบญจพรรณและป่าแดงทั่วไป ขึ้นได้ดินแทบทุกชนิด และเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุยที่ชุมชื่น ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ซึ่งอาจปลุกลงหลุมได้.

ดู พืชและมะกอก

มะกอกโคก

มะกอกโคก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Shrebera swieteniodes) มีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น โยนีปีศาจ หีผี มะกอกดอน สำโรง มะกักป่า มะกอกเผือก เป็นต้น มะกอกโคก เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ สูงประมาณ 10 – 15 เมตร เป็นพืชถิ่นเดียว พบตามภูเขาไฟเก่า เช่นแถบเขากระโดง เขาอังคาร เขาพนมรุ้งซึ่งเคยเป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทนานแล้ว ใบ ประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายคี่ เรียงตรงข้าม ช่อใบยาว ใบย่อย 2 – 3 คู่ เรียงตรงข้ามรูปไข่ รูปใบหอก หรือรูปขอบขนาน แกมรูปรี ปลายแหลม โคนสอบเรียวปลายแคบไปตามก้าน ขอบเรียบ ด้านบนเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ด้านล่างมีขนนุ่ม ดอก ดอกเล็กออกเป็นช่อกระจะที่ปลายกิ่ง ผลของมะกอกโคกเป็นรูปไข่กลับ เปลือกแข็ง แตกเป็นสองซีกเมื่อแห้ง เมล็ดมีปีก ผลที่แก่จัดจะแตกเป็น 2 ซีก มองเห็นเมล็ดข้างในได้ตามชื่อที่เรียกกัน หากนำไปกดบนดินทราย จะยิ่งดูแปลกคล้ายอวัยวะเพศหญิงมาก.

ดู พืชและมะกอกโคก

มะม่วย

มะม่วย เป็นพืชเมล็ดเปลือยในสกุลมะเมื่อย ลักษณะเป็นไม้เถาเนื้อแข็ง สตรอบิลัสเกิดตามลำต้น ใบออกที่ยอด เมล็ดสุกแก่สีส้ม ติดเมล็ดช่วงเดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ เมล็ดมักถูกหนอนแมลงเจาะทำลายเสียหายจนไม่สามารถงอกได้.

ดู พืชและมะม่วย

มะม่วง

มะม่วงเป็นไม้ยืนต้นในสกุล Mangifera ซึ่งเป็นไม้ผลเมืองร้อนในวงศ์ Anacardiaceae (กลุ่มเดียวกับถั่วพิสตาชีโอและมะม่วงหิมพานต์)  เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย เพราะการที่ภูมิภาคนั้นมีความหลากหลายทางพันธุกรรมและร่องรอยฟอสซิลที่หลากหลาย นับย้อนไปได้ถึง 25-30 ล้านปีก่อน มะม่วงมีความแตกต่างประมาณ 49 สายพันธุ์กระจายอยู่ตามประเทศในเขตร้อนตั้งแต่อินเดียไปจนถึงฟิลิปปินส์ จากนั้นจึงแพร่หลายไปทั่วโลก เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ใบโต ยาว ปลายแหลม ขอบใบเรียบ ใบอ่อนสีแดง ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาว ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีเหลือง เมล็ดแบน เปลือกหุ้มเมล็ดแข็ง มะม่วงเป็นผลไม้เศรษฐกิจ ปลูกเป็นพืชสวน ประเทศไทยส่งออกมะม่วงเป็นอันดับ 3 รองจากฟิลิปปินส์ และเม็กซิโก เป็นผลไม้ประจำชาติของอินเดีย ปากีสถาน และฟิลิปปินส์ รวมทั้งบังกลาเท.

ดู พืชและมะม่วง

มะม่วงหิมพานต์

มะม่วงหิมพานต์ เป็นไม้ดอกยืนต้น ในวงศ์ Anacardiaceae กลุ่มเดียวกับมะม่วง (mango) และถั่วพิสตาชีโอ มะม่วงหิมพานต์เป็นพืชพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของบราซิล ซึ่งเรียกเป็นภาษาโปรตุเกสว่า "กาฌู" (caju - ผล) หรือ "กาฌูเอย์รู" (cajueiro - ต้น) ปัจจุบันเติบโตแพร่หลายทั่วไปในภูมิภาคเขตร้อน เพื่อใช้ประโยชน์จากเมล็ด และผล นำเข้ามาปลูกครั้งแรกที่ภาคใต้ของประเทศไทย เมื่อปี..

ดู พืชและมะม่วงหิมพานต์

มะยม

มะยม ภาคอีสานเรียกว่า หมากยม ภาคใต้เรียกว่า ยม เป็นไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 3 – 10 เมตร ลำต้นตั้งตรง เปลือกต้นขรุขระสีเทาปนน้ำตาล แตกกิ่งที่ปลายยอด กิ่งก้านจะเปราะและแตกง่าย ใบประกอบ มีใบย่อยออกเรียงแบบสลับกันเป็น 2 แถว แต่ละก้านมีใบย่อย 20 – 30 คู่ ใบรูปขอบขนานกลมหรือค่อนข้างเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนปลายใบแหลม ฐานใบกลมหรือมน ขอบใบเรียบ ดอก ออกเป็นช่อตามกิ่ง ดอกย่อยสีเหลืองอมน้ำตาลเรื่อๆ ติดผลเป็นพวง ผลมีสามพูชัดเจน เมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลืองหรือขาวแกมเหลือง เนื้อฉ่ำน้ำ เมล็ดรูปร่างกลม แข็ง สีน้ำตาลอ่อน 1 เมล็ด มีทั้งพันธุ์เปรี้ยวและพันธุ์หวาน ซึ่งมีรสหวานอมฝาดนิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ดู พืชและมะยม

มะระ

มะระ หรือ ผักไห่ เป็นไม้เลื้อยเขตร้อนในวงศ์แตง (Cucurbitaceae) นิยมปลูกเพื่อใช้ผลและยอดเป็นอาหาร มีรสขม ที่รู้จักกันดีมี 2 สายพันธุ์ คือ มะระขี้นกและมะระจีน ซึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกันคือ Momordica charantia สำหรับชื่อในภาษาอังกฤษมีหลายชื่อ เช่น balsam apple, balsam pear, bitter cucumber, bitter gourd, bitter melon (สำหรับชื่อ bitter gourd หรือ biiter melon นี้มีที่มาจากชื่อจีนที่เรียกว่า 苦瓜).

ดู พืชและมะระ

มะรุม

มะรุม จัดเป็นพืชผักพื้นบ้านของไทย มีประโยชน์อเนกประสงค์ ทั้งทางด้านอาหาร ยาและอุตสาหกรรม เป็นไม้ยืนต้นที่โตเร็ว ทนแล้ง ปลูกง่ายในเขตร้อน อาจจะเติบโตมีความสูงถึง 4 เมตรและออกดอกภายในปีแรกที่ปลูก ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ชนิดที่แตกใบย่อย 3 ชั้น ยาว 20 - 40 ซม.

ดู พืชและมะรุม

มะละกอ

มะละกอ เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง สูงประมาณ 5-10 เมตร มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง ถูกนำเข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วเนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม นิยมนำมารับประทานทั้งสดและนำไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตำ ฯลฯ หรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ก็ได้.

ดู พืชและมะละกอ

มะลิ

มะลิ เป็นไม้พุ่มหรือไม้เถาในวงศ์มะลิ มีประมาณ 200 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในพื้นที่เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแถบทวีปยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ลักษณะดอกและกลิ่นมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดหรือพัน.

ดู พืชและมะลิ

มะลิลา

มะลิลา หรือ มะลิซ้อน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Jasminum sambac) เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อย สูง 15-25 ซม. ใบออกตรงข้าม รูปไข่กว้าง 3.5 - 4.5 ซม. ยาว 4-7 ซม.

ดู พืชและมะลิลา

มะลิวัลย์

มะลิวัลย์ หรือผักแส้ว Wall.

ดู พืชและมะลิวัลย์

มะลุลี

มะลุลี เป็นไม้เถาเลื้อยที่มีดอกสีขาวคล้ายมะลิ มีกลิ่นหอมตลอดทั้งวัน เลื้อยไกลราว 1-2 เมตร.

ดู พืชและมะลุลี

มะหลอด

มะหลอด จังหวัดราชบุรีเรียกสลอดเถา ภาคใต้เรียกส้มหลอด เป็นไม้ผลในวงศ์ Elaeagnaceae ในไทยพบมากทางภาคเหนือ เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง มีเกล็ดละเอียดสีเทาหรือสีเงินอยู่ทั่วไป แผ่นใบสีเขียว ด้านล่างสีน้ำตาล มีเกล็ดเงินติดอยู่ ดอกออกเป็นช่อกระจุก ดอกย่อยสีเหลืองอ่อน ผลทรงรีหรือรูปไข่ เมื่ออ่อนสีเขียว มีจุดสีขาวหรือสีเงินบนผล เมื่อสุกสีแดงหรือส้มแดง มีสองชนิดคือ ชนิดเปรี้ยว ผลใหญ่ สุกเป็นสีเหลืองส้ม มีรสเปรี้ยว และชนิดหวาน ผลเล็กกว่า สีอ่อนกว่า รสหวานอมฝาด เมล็ดสีน้ำตาลเป็นพู มะหลอดชนิดเปรี้ยวนิยมบริโภคสดเป็นผลไม้ การนำไปแปรรูปมีน้อย ทางภาคเหนือนำไปทำส้มตำ นอกจากนั้น ยังมีสรรพคุณเป็นยาฝาดสมาน ยาระบาย แก้ท้องผูก เถาใช้แก้ไข้พิษ เปลือกต้นช่วยขับเสมหะ ดอกใช้แก้ริดสีดวงจมูก แก้ปวดศีรษะ และใช้ร่วมกับสมุนไพรอื่นใช้ทำยาแก้ปวด แก้นิ่วได้ ไฟล์:Gardenology.org-IMG 8011 qsbg11mar.jpg ไฟล์:Gardenology.org-IMG 8012 qsbg11mar.jpg ไฟล์:Gardenology.org-IMG 8015 qsbg11mar.jpg.

ดู พืชและมะหลอด

มะหาด

มะหาด เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Moraceae ต้นกำเนิดจากภูมิภาคเอเชียใต้ นิยมปลูกเอาไว้ใช้ประโยชน์ทุกส่วนของต้น สามารถเจริญเติบโตได้ในดินทราย, ดินร่วนปนทราย, ดินร่วน และ ดินเหนียว มีความทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดีมาก ชอบบริเวณที่มีความชื้นสูงและแสงแดดเข้าถึงได้น้อย มักขึ้นกระจายตามป่าดิบทั่วไป.

ดู พืชและมะหาด

มะฮอกกานีใบใหญ่

มะฮอกกานีใบใหญ่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Swietenia macrophylla King), big leaf, Brazillian, Hondurus(English), caoba/aguono/mara(Spanish), mogno/aguano(Portuguese), mahogani grands feuillis(French), Echtes mahagoni(German), mogano(Italian), cheria mahogany(Malay).

ดู พืชและมะฮอกกานีใบใหญ่

มะจอเต๊ะ

วามหมายอื่น ดูที่: สาลิกาลิ้นทอง มะจอเต๊ะ หรือ ไทรไข่มุก หรือ สาริกาลิ้นทอง เป็นไม้ทรงพุ่มขนาดเล็ก อยู่ในวงศ์ไทร (Moraceae) โดยที่ชื่อ "มะจอเต๊ะ" เป็นภาษายาวี ทั้งนี้เนื่องจากยังไม่มีการกำหนดชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาไท.

ดู พืชและมะจอเต๊ะ

มะขวิด

ผลแห้งของมะขวิดที่ขายในประเทศอินเดีย ผลมะขวิดอยู่บนต้น เปลือกต้นมะขวิด มะขวิด ภาคอีสานเรียกมะยม ภาคเหนือเรียกมะฟิด เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลาง อยู่ในกลุ่มไม้ยืนต้นผลัดใบ มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย สูงถึง 12 เมตร กิ่งแขนงมีหนามเรียวแหลมตรง ยาว 4 เซนติเมตร ใบประกอบ แบบขนนกปลายคี่ ใบออกตรงข้าม มี 2-3 คู่ รูปไข่กลับ ยาวถึง 4 ซม.

ดู พืชและมะขวิด

มะขาม

วามหมายอื่น ดูที่ อำเภอมะขาม มะขาม เป็นไม้ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาแถบประเทศซูดาน ต่อมามีการนำเข้ามาในประเทศแถบเขตร้อนของเอเชียและประเทศแถบลาตินอเมริกา และในปัจจุบันมีมากในเม็กซิโก ชื่อมะขามในภาคต่าง ๆ เรียก มะขามไทย ภาคกลาง ขาม ภาคใต้ ตะลูบ โคราช ม่วงโคล้ง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) อำเปียล เขมร จังหวัดสุรินทร์ ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า tamarind ซึ่งมาจากภาษาอาหรับ:تمر هندي (tamr hindī) แปลว่า Indian date มะขามเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดเพชรบูรณ์ มะขามในไทยมีสองชนิดคือมะขามเปรี้ยวและมะขามหวาน โดยมะขามหวานมีหลายพันธุ์เช่น พันธุ์น้ำผึ้ง อินทผลัม หมื่นจง สีทอง ในบางครั้งจะเรียกมะขามตามลักษณะของฝัก เช่น มะขามขี้แมว คือมะขามฝักกลม มะขามกระดาน คือมะขามฝักแบน มะขามข้อเดียวคือมะขามที่ฝักมีข้อเดียวออกกลมป้อม.

ดู พืชและมะขาม

มะขามป้อม

มะขามป้อม หรือ มะขามป้อมอินเดีย เป็นต้นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Phyllanthaceae เป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง และมีคุณค่าทางสมุนไพรด้วย มะขามป้อมเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดสระแก้ว มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ กันโตด (เขมร - กาญจนบุรี) กำทวด (ราชบุรี) มะขามป้อม (ทั่วไป) มั่งลู่, สันยาส่า (กะเหรี่ยง - แม่ฮ่องสอน) ศูนย์ปฏิบัติการพืชเศรษฐกิจ มะขามป้อมจัดเป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูงที่สุด ในบรรดาผลไม้ทั้งหมด เพราะมะขามป้อมลูกเล็กๆเพียงลูกเดียว ให้วิตามินซีสูงกว่าวิตามินซีสังเคราะห์ถึง 12 เท่า และมากกว่าน้ำส้มคั้นถึง20 เท.

ดู พืชและมะขามป้อม

มะดัน

มะดัน (pierre.)หรือส้มไม่รู้ถอย หรือส้มมะดัน เป็น ผลไม้ที่เป็นประเภทไม้ยืนต้น ไม่ผลัดใบ อยู่ในวงศ์ GUTTIFERAE มีกิ่งก้านเล็กๆจำนวนมาก โคนกิ่งเล็กเป็นเต้านูน บางต้นมีกิ่งเล็กๆงอกสานกันคล้ายรังนก เรียกรกมะดัน ใบเดี่ยวรูปไข่ ปลายแหลม ดอกสีเขียว ผลมะดันนั้นมีลักษณะที่ยาวรีสีเขียวและเปรี้ยวจัด เป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง เปลือกหุ้มเมล็ดแข็งและขรุขร.

ดู พืชและมะดัน

มะคำดีควาย

มะคำดีควาย (A.DC.) หรือเรียกว่า มะซัก ประคำดีควาย เป็นชื่อต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ SAPINDACEAE มีลักษณะของใบประกอบที่เรียงสลับกัน ผลออกเป็นพวง ค่อนข้างกลม ผลแก่จะแห้ง ค่อนข้างกลม ผิวย่น เปลือกแห้งสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ ผลมี 3 พู ส่วนใหญ่จะฝ่อไป 1 หรือ 2 พู เนื้อเหนียว ใส สีน้ำตาล เมล็ดกลมสีดำ เป็นมัน.

ดู พืชและมะคำดีควาย

มะค่าโมง

มะค่า เป็นชื่อของไม้เนื้อแข็งยืนต้นที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่สามารถปลูกเป็นไม้ทางเศรษฐกิจได้ เป็นต้นไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดสุโขทัย ผลัดใบช่วงสั้น ๆ สูงได้ถึง 30 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มกว้าง เปลือกต้นสีเทาอ่อน หรือสีชมพูอมน้ำตาล ผิวต้นขรุขระ กิ่งอ่อนมีขนประปราย ต้นแก่มักมีปุ่มปม เนื้อไม้มีลวดลายสวยงามสีน้ำตาลอมเหลือง ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายใบคู่ ออกเรียงสลับ ใบกว้าง 4-5 เซนติเมตร ยาว 5-9 เซนติเมตร แกนกลางใบประกอบยาว 18-30 ซม.

ดู พืชและมะค่าโมง

มะตาด

มะตาด เป็นพืชในสกุลส้าน มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และทางตะวันออกของศรีลังกาจรดทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน (มณฑลยูนนาน) และเวียดนาม และทางตอนใต้ของไทยถึงมาเลเซีย และอินโดนีเซียGermplasm Resources Information Network: มะตาดมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: ส้มปรุ ส้านกว้าง ส้านท่า ส้านใหญ่ (สุราษฎร์ธานี) ส้านป้าว (เชียงใหม่) แส้น (ตรัง, สงขลา).

ดู พืชและมะตาด

มะตูม

ผลมะตูมผ่าครึ่ง มะตูม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aegle marmelos ภาคเหนือเรียกว่า มะปิน ภาคใต้เรียกว่า กะทันตาเถร, ตูม และตุ่มตัง ภาคอีสานเรียกว่า หมากตูม ภาษาเขมรเรียกว่า พะโนงค์ ชาวกะเหรี่ยงเรียกว่า มะปีส่า นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ดู พืชและมะตูม

มะปราง

มะปราง เป็นชื่อของผลไม้เมืองร้อนชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Anacardiaceae (วงศ์เดียวกับ มะม่วง มะกอก ฯลฯ) มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มะปรางมีทรงต้นค่อนข้างแหลม มีใบมาก ไม่มีผลัดใบนอก กิ่งก้านแตกแขนงจนทึบ รากแก้วค่อนข้างแข็งแรงมากจึงสามารถทนความแห้งแล้งได้ดี ดอกออกเป็นช่อและก็มีสีเหลืองเมื่อบาน ผลของมะปรางจะมีขนาดพอๆ กับไข่ของนกพิราบและก็มีสีเหลืองหรือสีเหลืองอมส้มเวลาสุก.

ดู พืชและมะปราง

มะป่วน

มะป่วน หรือนมหนู (Kurz) มีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น กระโปกกระจ้อน (จันทบุรี) กล้วยขี้เห็น ขี้เห็น (อุดรธานี) กล้วยเห็น (สกลนคร) แดงดง (เลย) นมหนู (กรุงเทพฯ) นางนวล (ลำปาง) ปอแฮด แฮด (เชียงใหม่) มะดัก (สระบุรี) ลำดวนดง (ขอนแก่น) มะป่วน เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 4-8 เมตร ใบลักษณะเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับสองด้านในระนาบเดียวกันของกิ่ง รูปรี กว้าง 4-6 เซนติเมตร ยาว 8-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ใบด้านบนเรียบเป็นมัน ด้านล่างมีขนสาก ส่วนดอกออกเป็นกระจุก 2-3 ดอก ตรงข้ามใบ กลีบดอกเรียง 2 ชั้น ๆ ละ 3 กลีบ สีชมพูอมเหลือง รูปขอบขนาน ปลายแหลมและโค้ง ขอบกลีบเป็นคลื่น กลีบดอกชั้นในประสานกันคล้ายยอดโดม ผล ออกเป็นกลุ่มๆ เมื่อสุกสีเหลือง มีขนสีน้ำตาลคลุม มีกลิ่นหอมตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน แต่หอมแรงในช่วงกลางคืน ออกดอกพร้อมกันเกือบทั้งต้นในช่วงเดือน มีนาคม - พฤษภาคม.

ดู พืชและมะป่วน

มะนาว

มะนาว(Lime) เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง ผลมีรสเปรี้ยวจัด จัดอยู่ในสกุลส้ม (Citrus) ผลสีเขียว เมื่อสุกจัดจะเป็นสีเหลือง เปลือกบาง ภายในมีเนื้อแบ่งกลีบๆ ชุ่มน้ำมาก นับเป็นผลไม้ที่มีคุณค่า นิยมใช้เป็นเครื่องปรุงรส นอกจากนี้ยังถือว่ามีคุณค่าทางโภชนาการและทางการแพทย์ด้ว.

ดู พืชและมะนาว

มะนาวไม่รู้โห่

ผลมะนาวไม่รู้โห่ มะนาวไม่รู้โห่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Carissa carandas L.; ชื่อสามัญ: Karanda; Carunda; Christ's thorn) หรือชื่อพื้นเมืองอื่นเช่น มะนาวโห่, หนามแดง, หนามขี้แฮด (เชียงใหม่) เป็นพืชที่มีลักษณะเป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดย่อม สูง 2-3 เมตร ตามกิ่งก้านมีหนามค่อนข้างยาวและแหลม ลักษณะใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่รี ปลายและโคนมน ขอบเรียบ ดอกมีขนาดเล็กมีสีขาวเป็นช่อ หอมกลีบดอกเป็นรูปหอก ผลขนาดเท่าหัวแม่มือ เป็นพวงสีแดงสดแก่สีดำรับประทานได้ ชื่อ "มะนาวไม่รู้โห่" นั้นเป็นชื่อพืชที่มีปรากฏเรียกกันมาแต่โบราณ ซึ่งเห็นได้จากที่ปรากฏอยู่ในวรรณคดีเช่นในเรื่อง พระรถเมรี นิเวศวิทยาและการแพร่กระจายเป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ที่ขึ้นได้ดีในดินเกือบทุกชน.

ดู พืชและมะนาวไม่รู้โห่

มะแว้งต้น

มะแว้งต้น เป็นไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร ลำต้นมีขนนุ่ม ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 4-10 ซม.

ดู พืชและมะแว้งต้น

มะไฟ

มะไฟ (วงศ์: Phyllanthaceae) ภาคใต้เรียกส้มไฟ เพชรบูรณ์เรียกหัมกัง เป็นพืชพื้นเมืองของอินโดนีเซีย ต่อมาจึงแพร่หลายไปทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบเดี่ยว รูปไข่ ดอกเป็นช่อสีชมพูอ่อนหรืออมเหลือง มีกลิ่นหอมอ่อน ผลออกเป็นช่อ ผลอ่อนมีขนคล้ายกำมะหยี่ พอแก่ผิวเกลี้ยง เปลือกสีเหลือง เนื้อสีขาวขุ่นหรือขาวใสอมชมพู แล้วแต่พันธุ์ เมล็ดแบนสีน้ำตาล พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก.

ดู พืชและมะไฟ

มะเฟือง

มะเฟือง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Averrhoa carambola L.; ชื่อสามัญ: Carambola) เป็นไม้ต้นพื้นเมืองของอินโดนีเซีย อินเดีย และศรีลังกา และเป็นที่นิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทย มาเลเซีย และบางส่วนของเอเชียตะวันออก รวมทั้งมีเพาะปลูกในสาธารณรัฐโดมินิกัน บราซิล เปรู กานา Guyana ซามัว ตองกา ไต้หวัน French Polynesia คอสตาริกา และ ออสเตรเลีย ในสหรัฐอเมริกามีแหล่งเพาะปลูกเชิงพาณิชย์อยู่ที่ฟลอริดาตอนใต้และฮาว.

ดู พืชและมะเฟือง

มะเกลือ

มะเกลือ เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Ebenaceae พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป เรือนยอดเป็นพุ่มกลมกิ่งอ่อนมีขนนุ่ม ผลดิบของมะเกลือมีสรรพคุณเป็นยา จัดเป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง สมัยก่อนนิยมใช้ยางผลมะเกลือไปย้อมผ้า ผลที่เปลือกเป็นสีดำ เมื่อรับประทานทำให้หน้ามืด ตาลายตาพร่ามัว อาเจียน ท้องเดินและตาบอดได้ มะเกลือเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลของจังหวัดสุพรรณบุรี ในภาคเหนือเรียกต้นไม้ชนิดนี้ว่า มะเกีย มะเกือ หรือ ผีผา ทางใต้เรียกว่า เกลือ แถบเขมร-ตราดเรียก มักเกลือ.

ดู พืชและมะเกลือ

มะเขือยาว

หมวดหมู่:สกุลมะเขือ หมวดหมู่:ผัก มะเขือยาว เป็นพืชข้ามปี สามารถเจริญ เติบโตในดิน ทุกสภาพ ดินมีความเป็น กรดเป็นด่าง อยู่ระหว่าง 5.5-6.5 ปลูกได้ ตลอดปี และทั่วทุกภาค ของไปประเทศไทย มะเขือยาว เป็นพืชที่เรา ใช้ส่วนผล ในการบริโภค ใช้เป็นผักสด หรือประกอบ อาหารได้หลายชนิด การเตรียมแปลงและเพาะกล้ามะเขือยาว ขุดดินลึก 15-20 เซนติเมตร (1 หน้าจอบ) ใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักที่สลาย ตัวดีแล้วพรวนดิน และย่อยดินให้ละเอียด ยกเป็นแปลง ตามขนาดและตามความต้องการ ปรับหน้าดินให้เรียบหว่าน เมล็ดพันธุ์ให้กระจายให้ทั่วแปลง แล้วหว่านกลบด้วย ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก คลุดด้วยฟางข้าวกลบหน้าบางๆ รดน้ำให้ชุ่ม ดูแลรักษากล้านาน 25-30 วัน ต้นกล้ามีใบจริง 2-3 ใบ จึงย้ายลงแปลงปลูก การเตรียมแปลงปลูกและการย้ายปลูก มะเขือยาว เป็นพืชที่มีรากค่อนข้างลึก ในแปลงปลูกควรโรยปุ๋ยหมักที่สลายตัวดีแล้วคลุกเคล้าให้เข้ากับดิน ยกแปลงให้สูง 20-30 เซนติเมตร กว้างประมาณ 1.5 เมตร ความยาวแปลงแล้วแต่พื้นที่ ขุดหลุมปลูกลึก 15-20 เซนติเมตร (1 หน้าจอบ) ใช้ระยะ ระหว่างต้น 50 เซนติเมตร ระหว่างแถว 10 เซนติเมตร รองกันหลุมด้วยปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตราหลุมละ 1/2 ช้อนชา ทับหน้าปุ๋ยเคมีด้วยปุ๋ยคอก หลุมละ 1 กะลามะพร้าว เสร็จแล้วให้นำต้นกล้าลงปลูกในหลุม แล้วรดน้ำให้ชุ่ม การดูแลรักษามะเขือยาว การใส่ปุ๋ย ใส่ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 13-13-21 อัตรา 1 ช้อนชา/ต้น ทุกๆ 15-20 วัน โรยห่างโคนต้น 5-10 เซนติเมตร (บริเวณชายทรงพุ่ม) หรือใช้ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักอย่างสม่ำเสมอโดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์น้อยลงก็ได้ การให้น้ำ ควรทำอย่างสม่ำเสมอทุกวัน การพรวนดินกำจัดวัชพืช หลังจากปลูกแล้ว ถ้ามีวัชพืชให้รีบกำจัดอย่างปล่อยให้รบกวน เพราะจะทำให้แย่งน้ำอาหาร และควรพรวนดินไปด้วยเพื่อให้ดินร่วน การเก็บเกี่ยวมะเขือยาว อายุการเก็บเกี่ยวของมะเขือยาวประมาณ 60-80 หลังย้ายกล้าลงปลูกสามารถเก็บได้ ให้เลือกเก็บผลที่มีขนาดพอเหมาะ.

ดู พืชและมะเขือยาว

มะเขือเทศ

มะเขือเทศ (Mill.) เป็นพืชชนิดหนึ่งที่อุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหาร มะเขือเทศขนาดปานกลางจะมีปริมาณวิตามินซีครึ่งหนึ่งของส้มโอทั้งผล มะเขือเทศผลหนึ่งจะมีวิตามินเอราว 1 ใน 3 ของวิตามินเอที่ร่างกายต้องการในหนึ่งวัน นอกจากนี้มะเขือเทศยังมีโปแตสเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียมและแร่ธาตุอื่นๆ อีกหลายชน.

ดู พืชและมะเขือเทศ

มะเขือเทศราชินี

มะเขือเทศราชินี เป็นมะเขือเทศที่ผลเล็ก รสชาติหวาน เนื้อแน่นมีกลิ่นหอมต่าง และมีสารบีตา-แคโรทีน วิตามินซี และวิตามินอีสูง การปลูกจะเก็บเกี่ยวได้ภายใน 90 วัน ผลผลิตเฉลี่ย 2,000-4,000 กิโลกรัม/ไร่ การแปรรูป สามารถนำผลไปทำมะเขือเทศราชินีอบแห้ง และมะเขือเทศราชินีแช่อิ่ม.

ดู พืชและมะเขือเทศราชินี

มะเดื่อ

มะเดื่อ หรือ มะเดื่อฝรั่ง หรือ มะเดื่อญี่ปุ่น เป็นไม้ยืนต้นที่แยกดอกแยกต้นเจริญได้ดีในที่สูงถึง 6 เมตร หรือ 19 ฟุต อยู่ในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบตะวันออกกลาง เป็นพืชคนละชนิดกับมะเดื่ออุทุมพรหรือมะเดื่อชุมพร (F.

ดู พืชและมะเดื่อ

มะเดื่อชุมพร

มะเดื่อชุมพร หรือ มะเดื่ออุทุมพร เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ Moraceae ลำต้นตรงสูงเต็มที่ 20 เมตร เปลือกต้นสีเทา มีถิ่นกำเนิดที่ภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และออสเตรเลีย และเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานและเป็นพันธุ์ไม้ประจำจังหวัดชุมพร.

ดู พืชและมะเดื่อชุมพร

มังกรคาบแก้ว

มังกรคาบแก้ว (bagflower) เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยสูง 3 - 6 เมตร มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาตะวันตกจากประเทศแคเมอรูนถึงประเทศเซเนกัล เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ออกดอกเป็นช่อ กลีบดอกมีสีแดงเข้ม 5 กลีบ หลอดดอกเชื่อมติดกับกลีบเลี้ยงสีขาวคล้ายรูปหัวใจ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับเป็นไม้ที่ชอบแสงแดด วิลเลียม คูเปอร์ ธอมสัน มิชชันนารีและนายแพทย์ในไนจีเรียเป็นผู้ตั้งชื่อไม้ดอกชนิดนี้ว่า Bleeding heart.

ดู พืชและมังกรคาบแก้ว

มังคุด

มังคุด Linn.

ดู พืชและมังคุด

มังเคร่ช้าง

ื่อสามัญ โคลงเคลงขน ชื่อท้องถิ่น เหมรฺช้าง หรือ มังเครช้าง(กระบี่) ลำต้น เป็นไม้พุ่ม (S) สูง 1-5 เมตร สีน้ำตาลอมม่วง แตกกิ่งก้านในระดับต่ำและแตกเป็นจำนวนมาก ทรงพุ่มกว้างครึ่งทรงกลม ใบเป็นใบเดี่ยวแตกตรงข้าม รูปร่างเป็นใบหอก ปลายใบเรียวแหลม ส่วนฐานใบโค้งมน ขอบใบเรียบ ตวใบสากมีขนปกคลุม ขนาดของใบ กว้าง3-5 เซนติเมตร ยาว 5-10 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกช่อ กระจกที่ปลายกิ่ง ประกอบด้วยดอก 3-6ดอก กลีบดอกมี 5กลีบ เป็นสีชมพู ม่วง เส้นผ่าศูนย์กลางของดอกประมาณ 5-6 เซนติเมตร ผล เป็นผลเดี่ยวเกิดแต่ฐานรองดอกมีรูปร่างคล้ายคนโท มีขนจำนวนมาก ผลสีน้ำตาลอมเขียว เมื่อแก่จะเป็นสีม่วง เนื้อในแบบเปียกสีน้ำเงินเข้ม ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก ผลแตกออกตามขวาง ที่อยู่ บริเวณป่าชายเลน ดินค่อนข้างแข็ง สูงกว่าระดับน้ำทะเล 5-10 เมตร ประโยชน์น้ำต้มใบหรือน้ำคั้นจากใบใช้แก้โรคท้องร่วง โรคบิด และระดูขาว ราก ช่วยบำรุงธาตุเ เจริญอาหาร บำรุงกำลัง บำรุงตับ แก้อ่อนเพลีย และ เพิ่มภูมิคุ้มกันโร.

ดู พืชและมังเคร่ช้าง

มันฝรั่ง

มันฝรั่ง (Solanum tuberosum) เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก เดิมเป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริก.

ดู พืชและมันฝรั่ง

มันสำปะหลัง

''Manihot esculenta'' มันสำปะหลัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Manihot esculenta (L.) Crantz) เป็นพืชหัวชนิดหนึ่ง เป็นพืชอาหารที่สำคัญอันดับ 5 รองจากข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าว และมันฝรั่ง ชื่อสามัญเรียกหลายชื่อเช่น Cassava, Yuca, Mandioa, Manioc, Tapioca ชาวไทยเดิมเรียกกันว่า มันสำโรง มันไม้ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกว่า มันต้นเตี้ย ภาคใต้เรียกมันเทศ (แต่เรียกมันเทศว่า "มันหลา") คำว่า "สำปะหลัง" ที่นิยมเรียกอาจมาจากคำว่า "ซำเปอ (Sampou)" ของชวาตะวันตก มันสำปะหลังมีแหล่งกำเนิดแถบที่ลุ่มเขตร้อน (Lowland tropics) มีหลักฐานแสดงว่าปลูกกันในโคลัมเบีย และเวเนซูเอลา มานานกว่า 3,000-7,000 ปีมาแล้ว นิยมใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ สามารถปลูกได้ง่ายในพื้นที่ร้อน และร้อนชื้น จึงได้มีการสนับสนุนแก่ประเทศที่กำลังพัฒนาที่มีสภาพภูมิอากาศดังกล่าวปลูกเป็นพืชเศรษฐก.

ดู พืชและมันสำปะหลัง

มันแกว

มันแกว (Jícama) เป็นพืชตระกูลถั่ว มีชื่อทวินามว่า "Pachyrhizus erosus (L.) Urbar" ลักษณะต้นเป็นเถาเลื้อย หัวอวบใหญ่ โคนตันเนื้อแข็ง ใบประกอบด้วย 3 ใบย่อยมีจักใหญ่ ดอกมีสีขาวหรือชมพูเป็นช่อ เมล็ดมีสีเหลือง สีน้ำตาล หรือสีแดงลักษณะสี่เหลี่ยมจตุรัสแบน โดยต้นมันแกว 1 ต้นมีเพียงหัวเดียว ส่วนที่ใช้รับประทานคือส่วนของรากแก้ว ชาวเม็กซิโกชอบรับประทานมันแกวตั้งแต่สมัยอารยธรรมมายาและแอซเต็ก นิยมใช้เป็นอาหารว่าง ใส่น้ำมะนาว พริกผง และเกลือ มันแกวเป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในหลายพื้นที่เช่นในแถบอเมริกากลาง แอฟริกาตะวันออก และในประเทศแถบทวีปเอเชียคือ ฟิลิปปนส์ อินเดีย จีน อินโดจีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ในประเทศไทยมันแถวมีอยู่ 2 ชนิดคือ พันธุ์หัวใหญ่ และพันธุ์หัวเล็ก อาจจะมีชื่อเรียกต่างกันไปตามแต่ภูมิภาคได้แก่ ภาคใต้เรียกว่า "หัวแปะกัวะ" ภาคเหนือเรียกว่า "มันละแวก" "มันลาว" ส่วนภาคอีสานเรียกว่า "มันเพา" นอกจากนี้ยังอาจเรียกด้วยชื่ออื่นๆ เช่น "เครือเขาขน" "ถั้วบ้ง" และ"ถั่วกินหัว" ส่วนหัวของมันแกว (รากแก้ว) เป็นส่วนที่ใช้รับประทาน ลักษณะภายนอกมีสีน้ำตาลอ่อนภายในมีสีขาว เมื่อเคี้ยว รู้สึกกรอบคล้ายลูกสาลี่สด อีกทั้งยังมีรสคล้ายแป้งแต่ออกหวาน โดยทั่วไปจะรับประทานสดๆ หรือจิ้มกับพริกเกลือ แล้วยังสามารถนำไปประกอบอาหารได้ทั้งคาวและหวานอีกด้วย เช่น แกงส้ม แกงป่า ผัดเปรี้ยวหวาน ผัดไข่ เป็นส่วนผสมของไส้ซาลาเปา และทับทิมกรอบ แต่ในทางกลับกัน ต้นมันแกวสามารถใช้เป็นยากำจัดศัตรูพืช โดยใช้ส่วนของเมล็ด ฝักแก่ ลำต้น และราก แต่ส่วนเมล็ดจะมีสารพิษมากที่สุด ทำให้มีประสิทธิภาพในการกำจัดแมลงดีที่สุด นอกจากนั้นถ้ามนุษย์รับประทานเมล็ดเข้าไปจะทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ซึ่งถ้าได้รับในปริมาณมาก สารพิษ Routinone จะกระตุ้นระบบหายใจ แล้วกดการหายใจ ชัก และอาจเสียชีวิตได้ คุณค่าทางอาหารของมันแกวนั้นประกอบด้วยน้ำ 90.5% โปรตีน 0.9% คาร์โบไฮเดรต 7.6% โดยรสหวานนั้นมาจาก oligofructose ซึ่ง inulin ในร่างกายของมนุษย์ ไม่สามารถเผาผลาญได้ ดังนั้นมันแกวจึงเหมาะสำหรับผู้เป็นโรคเบาหวาน หรือผู้ควบคุมน้ำหนัก มันแกวควรเก็บในที่แห้ง อุณหภูมิระหว่าง 12 - 16 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิต่ำกว่านี้จะทำให้ส่วนรากช้ำได้ ถ้าเก็บรักษาถูกวิธีสามารถอยู่ได้นานถึง 1-2 เดือน.

ดู พืชและมันแกว

มันเทศ

ต้นมันเทศในไร่ หัวมันเทศสีม่วงที่พบในเอเชีย มันเทศ (sweet potato) เป็นพืชหัวเกรียนใต้ดินเถาเลื้อยราบไปบนพื้นดิน ปลูกเป็นพืชไร่ มีเนื้อสีหลายสีตามสายพันธุ์ ใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน เช่น เถา ใบ หัว นิยมนำมารับประทานโดย ต้ม หรือ เผา ทำเป็นอาหารคาวหวาน ส่วนผสมของอาหารสำหรับเด็ก ใช้เป็นอาหารสัตว์ เป็นต้น.

ดู พืชและมันเทศ

มามอนซีโย

มามอนซีโย (Mamoncillo) หรือ มามันซีโอ ตามการออกเสียงในภาษาอังกฤษ เป็นไม้ผลอยู่ในวงศ์ Sapindaceae (วงศ์เดียวกับลิ้นจี่และลำไย) เป็นผลไม้เมืองร้อน ตามธรรมชาติจะมีในเขตร้อนเหนือเส้นศูนย์สูตรและมีในทวีปอเมริกาเท่านั้น เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ลำต้นมีความสูงถึง 30 เมตร ใบยาว 5-8 เซนติเมตร.

ดู พืชและมามอนซีโย

มาลัยแดง

มาลัยแดง หรือ เอื้องมาลัยแดง เป็นกล้วยไม้ในประเทศไทยมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aerides multiflora Roxb.

ดู พืชและมาลัยแดง

มิญชวิทยา

A stained histologic specimen, sandwiched between a glass microscope slide and coverslip, mounted on the stage of a light microscope. ภาพเนื้อเยื่อปอดย้อมด้วยสีฮีมาทอกซีลิน (Hematoxylin) และอีโอซิน (Eosin) ผู้ป่วยรายนี้มีอาการของโรคถุงลมโป่งพอง (emphysema) มิญชวิท.

ดู พืชและมิญชวิทยา

ม้ากระทืบโรง

ม้ากระทืบโรง (Wall) เป็นไม้ในวงศ์ MORACEAE มีชื่อท้องถิ่นอื่นว่า เช่น เดื่อเครือ ม้าทะลายโรง ม้าคอกแตก มันฤๅษี เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย เลื้อยเกาะไปตามพรรณไม้อื่นมีน้ำยางขาว สูงถึง 25 เมตร กิ่งอ่อน ก้านใบผิวใบด้ายล่าง และฐานรองดอกอ่อนมีขน ใบเดี่ยว เรื่องสลับ รูปใบหอก รูปไข่หรือรูปของขนานแกมวงรี กว้าง 7-9 ซม.

ดู พืชและม้ากระทืบโรง

ยาสูบ (พืช)

ูบ (common tobacco ชื่อวิทยาศาสตร์: Nicotiana tabacum L.) หรือ จะวั้ว มีแหล่งกำเนิดในบริเวณตอนกลางของทวีปอเมริกา แม้มนุษย์จะรู้จักใบยาสูบมาประมาณสองพันปีแล้ว แต่ก็มิได้สูบกันอย่างจริงจังจนเป็นนิสัย จนกระทั่งพวกอินเดียแดง ซึ่งเป็นชาวพื้นเมืองของอเมริกา รู้จักใช้ยาสูบกันอย่างแพร่หลาย จึงได้มีการทำไร่ยาสูบกันทั่วไป การบันทึกประวัติของยาสูบ มีขึ้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ดู พืชและยาสูบ (พืช)

ยางพารา

งพารา เป็นไม้ยืนต้น มีถิ่นกำเนิดบริเวณลุ่มน้ำแอมะซอน ประเทศบราซิลและประเทศเปรู ทวีปอเมริกาใต้ โดยชาวพื้นเมืองเรียกว่า "เกาชู" (cao tchu) แปลว่า ต้นไม้ร้องไห้ จนถึงปี..

ดู พืชและยางพารา

ยาปฏิชีวนะ

การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".

ดู พืชและยาปฏิชีวนะ

ยูคาลิปตัส

ูคาลิปตัส (Eucalyptus) เป็นพรรณไม้มีถิ่นกำเนิดในทวีปออสเตรเลีย เกาะแทสเมเนีย มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่หมู่เกาะมินดาเนา เซลีเบส ปาปัวนิวกินี ในพื้นที่ชุ่มที่มีน้ำขังในเขตร้อน มีมากกว่า 700 ชนิด ในประเทศไทยเริ่มมีการนำเข้ามาปลูกครั้งแรกที่ พระที่นั่งวิมานเมฆ สมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อปี..

ดู พืชและยูคาลิปตัส

ยูแคริโอต

ูแคริโอต (eukaryote) คือ สิ่งมีชีวิตที่เซลล์มีนิวเคลียสและโครงสร้างอื่น (ออร์แกเนลล์) อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ ยูแคริโอตเป็นหน่วยอนุกรมวิธาน ยูคาร์ยาหรือยูแคริโอตา อย่างเป็นทางการ เยื่อหุ้มนิวเคลียสเป็นโครงสร้างที่นิยามเซลล์ยูแคริโอตแยกจากเซลล์โปรแคริโอต โดยภายในเยื่อหุ้มนิวเคลียสมีสารพันธุกรรม การมีนิวเคลียสเป็นที่มาของชื่อยูแคริโอต ซึ่งมาจากภาษากรีก ευ (eu, "ดี") และ κάρυον (karyon, "ผลมีเมล็ดเดียว" หรือ "เมล็ด") เซลล์ยูแคริโอตส่วนใหญ่ยังมีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มอื่นด้วย เช่น ไมโทคอนเดรียหรือกอลจิแอพพาราตัส นอกเหนือจากนี้ พืชและสาหร่ายยังมีคลอโรพลาสต์ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหลายชนิดเป็นยูแคริโอต เช่น โปรโตซัว แต่สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ทุกชนิดเป็นยูแคริโอต ซึ่งได้แก่ สัตว์ พืชและเห็ดรา การแบ่งเซลล์ในยูแคริโอตแตกต่างจากสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีนิวเคลียส (โปรแคริโอต) มีกระบวนการแบ่งตัวสองประเภท คือ ไมโทซิสและไมโอซิส ไมโทซิสเป็นการที่เซลล์หนึ่งแบ่งตัวได้เซลล์ที่มีพันธุกรรมเหมือนกันสองเซลล์ ในไมโอซิสซึ่งจำเป็นในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เซลล์ดิพลอยด์หนึ่ง (ซึ่งมีโครโมโซมสองชุด ชุดหนึ่งมาจากพ่อ อีกชุดหนึ่งมาจากแม่) มีการจับคู่โครโมโซมจากพ่อแม่แต่ละคู่ใหม่ แล้วผ่านการแบ่งเซลล์อีกสองขั้นตอน จนได้เซลล์แฮพลอยด์สี่เซลล์ (เซลล์สืบพันธุ์) เซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์มีโครโมโซมชุดเดียว ซึ่งเป็นการผสมโครโมโซมจากพ่อแม่คู่เดียวกัน โดเมนยูแคริโอตาดูเหมือนมาจากชาติพันธุ์เดียว (monophyletic) จึงเป็นหนึ่งในสามโดเมนของสิ่งมีชีวิต อีกสองโดเมน ได้แก่ แบคทีเรียและอาร์เคีย เป็นโปรแคริโอตและไม่มีคุณสมบัติที่กล่าวมาข้างต้น ยูแคริโอตเป็นสิ่งมีชีวิตส่วนน้อยมาก อย่างไรก็ดี เนื่องจากยูแคริโอตมีขนาดใหญ่กว่ามาก มวลชีวภาพรวมทั่วโลกจึงประมาณว่าเท่ากับมวลชีวภาพของโปรแคริโอตWhitman, Coleman, and Wiebe,, Proc.

ดู พืชและยูแคริโอต

ยี่โถ

ี่โถ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Nerium oleander L.) มีถิ่นกำเนิดแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เช่น แถบโปรตุเกสไปจนถึง อินเดีย อิหร่าน โดยสันนิษฐานว่ามีการแพร่เข้ามาในไทยโดยชาวจีน ในปี..

ดู พืชและยี่โถ

ยี่โถปีนัง

ี่โถปีนัง เป็นกล้วยไม้ดินมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arundina graminifolia (D. Don) Hochr.

ดู พืชและยี่โถปีนัง

ย่าหยา (พืช)

หยา มีชื่ออื่นๆคือ ต้นอ่อมแซบ เบญจรงค์ ๕ สี บุษบาริมทางหรือ ตำลึงหวาน (Chinese violet; Coromandel; Ganges primrose; Philippine violet); (L.) T. Anders.) คล้ายต้นต้อยติ่ง แต่ไม่มีขน ใบสากไม่แหลม ดอกมีห้าสี ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำ ควรปลูกให้โดนแดดพอสมควร ประโยชน์ใช้เป็นไม้ประดับ มีสรรพคุณบำรุงเลือด บำรุงกำลัง บำรุงสายต.

ดู พืชและย่าหยา (พืช)

ย่านลิเภา

นลิเภา หรือ ลิเภา เป็นเฟิร์นเถาชนิดหนึ่งในสกุล Lygodium เช่น Lygodium flexuosum (ลิเภาใหญ่) และ Lygodium circinatum (ลิเภาหางไก่) เป็นต้น พบได้มากทางภาคใต้ของไทย ย่านลิเภาเป็นวัสดุสำคัญสำหรับงานสาน เช่น กระเป๋าย่านล.

ดู พืชและย่านลิเภา

รสสุคนธ์

รสสุคนธ์ เป็นพืชดอกชนิดหนึ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Tetracera loureiri Pierre และมีชื่อพื้นเมืองอื่นเช่น เถาะปดใบเลื่อม (ประจวบคีรีขันธ์) บอระคน อรคนธ์ (ตรัง) ปดคาย ปดเลื่อน (สุราษฎร์ธานี) ปดน้ำมัน (ปัตตานี) ปะละ สะปัลละ (มลายู-นราธิวาส) มะตาดเครือ รสสุคนธ์ขาว สุคนธรส เสาวรส (กรุงเทพฯ) ย่านปด (นครศรีธรรมราช).

ดู พืชและรสสุคนธ์

รองเท้านารีฝาหอย

รองเท้านารีฝาหอย เป็นกล้วยไม้ในประเทศไทย อยู่ในสกุลรองเท้านารี ค้นพบโดย Messrs Low และ Co.

ดู พืชและรองเท้านารีฝาหอย

รองเท้านารีอินทนนท์

รองเท้านารีอินทนนท์ เป็นกล้วยไม้อยู่ในสกุลรองเท้านารี มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่รัฐอัสสัม สาธารณรัฐอินเดีย จนถึงทางตอนใต้ของประเทศจีน.

ดู พืชและรองเท้านารีอินทนนท์

รองเท้านารีอินทนนท์ลาว

รองเท้านารีอินทนนท์ลาว เป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี พบในประเทศลาวไปจนถึงประเทศเวียดนาม ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน.

ดู พืชและรองเท้านารีอินทนนท์ลาว

รองเท้านารีดอยตุง

รองเท้านารีดอยตุงเป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี ค้นพบโดย Mr.R.Moore ในปี..

ดู พืชและรองเท้านารีดอยตุง

รองเท้านารีเหลืองกระบี่

รองเท้านารีเหลืองกระบี่เป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี ค้นพบโดย Mr.H.Ridley ในปี..

ดู พืชและรองเท้านารีเหลืองกระบี่

รองเท้านารีเหลืองตรัง

รองเท้านารีเหลืองตรัง หรือ รองเท้านารีเหลืองพังงา เป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี ถูกค้นพบโดยชาวอังกฤษชื่อ Mr.Murton แห่งสวนพฤกษศาสตร์หลวงเมืองคิว ประเทศอังกฤษ รองเท้านารีเหลืองตรังเป็นสายพันธุ์หนึ่งของรองเท้านารีขาวชุมพร.

ดู พืชและรองเท้านารีเหลืองตรัง

รองเท้านารีเหลืองปราจีน

รองเท้านารีเหลืองปราจีน เป็นกล้วยไม้ในสกุลรองเท้านารี ถูกค้นพบโดย Mr.C. Parish ในปี..

ดู พืชและรองเท้านารีเหลืองปราจีน

ระบบหายใจ

ระบบทางเดินหายใจของมนุษย์ ระบบทางเดินหายใจมีหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซให้กับสิ่งมีชีวิต ในมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมระบบทางเดินหายใจประกอบไปด้วย จมูกหลอดลม ปอด และกล้ามเนื้อระบบทางเดินหายใจ ออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์จะถูกแลกเปลี่ยนที่ปอดด้วยกระบวนการแพร่ สัตว์ประเภทอื่นๆ เช่น แมลงมีระบบทางเดินหายใจที่คล้ายคลึงกับมนุษย์แต่มีลักษณะทางกายวิภาคที่ง่ายกว่า ในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำผิวหนังของสัตว์ก็ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซได้ด้วย พืชก็มีระบบทางเดินหายใจเช่นกัน แต่ทิศทางการแลกเปลี่ยนก๊าซเป็นไปในทางตรงกันข้ามกับสัตว์ ระบบแลกเปลี่ยนก๊าซของพืชประกอบไปด้วยรูเล็กๆ ใต้ใบที่เรียกว่าปากใ.

ดู พืชและระบบหายใจ

ระกำ

ระกำ เป็นพืชตระกูลปาล์ม ซึ่งมีต้นหรือเหง้าเตี้ย ยอดแตกเป็นกอ ใบมีลักษณะยาวเป็นทาง ยาวประมาณ 2-3 เมตร ลำต้นมีหนามแหลมยาวประมาณ 1 นิ้ว ออกผลเป็นทะลาย ทะลายหนึ่งมีตั้งแต่ 2-5 กระปุก เปลือกผลมีหนามแข็งเล็ก ๆ อุ้มไปทางท้ายผล ผลหนึ่ง ๆ มี 2-3 กลีบ เป็นส่วนมากเมื่อดิบมีรสฝาดและเปรี้ยว เมื่อสุกจะมีรสหวานอมเปรี้ยว เนื้ออ่อน บาง กลิ่นหอม ฉ่ำน้ำ ลักษณะใกล้เคียงกับสละ แต่ผลป้อมกว่า เมล็ดใหญ่กว่า สีจางกว่า เนื้อจะออกสีอมส้มมากกว่านิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ดู พืชและระกำ

ระฆังแคนเตอร์บรี

ระฆังแคนเตอร์บรี หรือเรียกง่ายๆ ว่า ดอกระฆัง (Canterbury Bells หรือ Campanula medium) เป็นไม้ดอกวงศ์พระจันทร์ครึ่งซีก สกุล Campanula ระฆังแคนเตอร์บรีอาจจะเป็นได้ทั้งทั้งพืชปีเดียว หรือ พืชสองปี ดอกมีลักษณะเป็นรูประฆังหรือกระดิ่งซึ่งทำให้ได้รับการขนานนามว่า “Campanula” ที่แปลว่าระฆังในภาษาอิตาลี สีของดอกก็อาจจะเป็นสีน้ำเงิน, ม่วง, ม่วงแดง หรือขาว แต่สีที่พบบ่อยจะเป็นสีม่วงน้ำเงิน ความสูงประมาณ 2 ถึง 3 ฟุต ถ้าปลูกในสวนให้สวยก็ควรจะปลูกเป็นกลุ่มใหญ่ตามขอบหรือท่ามกลางพุ่มไม้ ชอบอากาศเย็นหรืออุ่นไม่เหมาะกับอากาศร้อนหรือแห้ง ในภาษาดอกไม้ระฆังแคนเตอร์บรีเป็นสัญลักษณ์ของความรู้สึกในบุญคุณ.

ดู พืชและระฆังแคนเตอร์บรี

รัก (ไม้พุ่ม)

รัก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Calotropis gigantea (Linn.) R.Br.ex Ait.) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กในวงศ์ Apocynaceae วงศ์ย่อย Asclepiadoideae ลำต้นสูง 1.5–3 เมตร ดอกมีสีขาวหรือม่วง มีรยางค์เป็นคล้ายมงกุฎ รักเป็นพืชพื้นเมืองของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย ศรีลังกา อินเดีย และจีน ดอกของพืชชนิดนี้เรียกว่า ดอกรัก.

ดู พืชและรัก (ไม้พุ่ม)

รักเร่

รักเร่ เป็นพันธุ์ไม้ดอกในสกุล Dahlia ที่มีถิ่นกำเนิดในเม็กซิโก โคลัมเบีย และทั่วไปในทวีปอเมริกากลาง ดอกมีรูปทรงและสีสันสวยงามสะดุดตา ก้านดอกแข็งแรง นิยมปลูกเป็นไม้ตัดดอก เช่นเดียวกับกุหลาบ แต่ในประเทศไทยไม่นิยมปลูก เนื่องมาจากมีชื่อที่ไม่เป็นมงคล.

ดู พืชและรักเร่

รัง

รัง (Burmese sal, Ingyin, Dark red meranti, Light red meranti, Red lauan) เป็นไม้ยืนต้นประเภทใบเดียวชนิดหนึ่งที่มีอยู่ตามป่าเบญจพรรณแล้งและป่าแดงทั่วไป มีคุณสมบัติในการทนแล้งและทนไฟได้ดีมาก พบในประเทศอินโดนีเซีย, มาเลเซีย, พม่า และไทย เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ มีความสูง 15–20 เมตร เปลือกต้นสีเทาแตกเป็นร่องตามความยาวลำต้น ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปไข่ ปลายใบมน โคนใบหยักเว้า ดอกสีเหลืองออกเป็นช่อ กลิ่นหอมอ่อน ออกดอกเดือนมีนาคม-เมษายน ผลรูปกระสวย มีปีกยาว 3 ปีก ปีกสั้น 2 ปีก เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดอุดรธานี มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "เปา, เปาดอกแดง" ในภาษาเหนือ หรือ "เรียง, เรียงพนม" ในภาษาเขมร.

ดู พืชและรัง

ราชพฤกษ์

ผลของต้นราชพฤกษ์ ราชพฤกษ์ หรือ คูน ลมแล้ง ชัยพฤกษ์ เป็นไม้ดอกในตระกูล Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียใต้ ตั้งแต่ทางตอนใต้ของปากีสถาน ไปจนถึงอินเดีย ศรีลังกา พม่า และ ไทย ดอกราชพฤกษ์เป็นดอกไม้ประจำชาติไท.

ดู พืชและราชพฤกษ์

รางจืด

รางจืด (Laurel clock vine, Blue trumpet vine) เป็นชื่อของพืชสมุนไพรประเภทไม้เลื้อยหรือไม้เถา มีลักษณะเนื้อแข็ง เลื้อยพาดพันไปตามต้นไม้ เถาจะมีลักษณะเป็นข้อปล้องกลมมีสีเขียวสดหรือสีเขียวเข้ม ดอกจะเป็นสีม่วงอ่อนๆหรือสีคราม ออกดอกเป็นช่อห้อยลงตามซอกใบ มีสรรพคุณทางยาในด้านการถอนพิษต่างๆ หรือใช้เป็นยาพอกบาดแผล น้ำร้อนลวก ไฟไหม้ รวมถึงใช้เป็นยารับประทานเป็นยาแก้ร้อนในกระหายน้ำ รางจืดมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ได้แก่ กำลังช้างเผือก เครือเขาเขียว ขอบชะนาง ยาเขียว(ภาคกลาง)คาย รางเย็น (ยะลา) จอลอดิเออ ซั้งกะ ปั้งกะล่ะ พอหน่อเตอ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ดุเหว่า (ปัตตานี) ทิดพุด (นครศรีธรรมราช) น้ำนอง (สระบุรี) ย่ำแย้ แอดแอ (เพชรบูรณ์).

ดู พืชและรางจืด

ราตรี (พรรณไม้)

ราตรี หรือ หอมดึก มีถิ่นกำเนิดในแคริบเบียนเป็นพืชในวงศ์ Solanaceae เป็นไม้ไม่ผลัดใบ เป็นไม้พุ่ม เปลือกสีเทาอ่อนเกือบขาว ใบเดี่ยวรูปหอกแคบเรียบเป็นมัน ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาว วงกลีบดอกรูปหลอดผอม บานตอนกลางคืน กลิ่นหอมแรง มักส่งกลิ่นในตอนกลางคืน ผลค่อนข้างกลม สีขาวขุ่น มีหลายเมล็ด ผลสุกถ้ารับประทานทำให้คลื่นไส้ ปวดศีรษะ อาเจียน ประสาทหลอน ใจสั่น ระคายเคืองเยื่อบุลำไส้เล็ก นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ดู พืชและราตรี (พรรณไม้)

รำเพย

รำเพย (Yellow oleander; Lucky nut; Juss. ex Steud.) ชื่ออื่น ๆ คือ ยี่โถฝรั่ง กระบอก เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีความสูง 2 - 3 เมตร มียางสีขาวเป็นพิษระคายเคืองผิวหนัง ทำให้เกิดผื่นคัน ใบเป็นใบเดี่ยวมีลักษณะใบแคบเรียวยาวคล้ายใบยี่โถ หนาแต่ไม่แข็ง ใบกว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 8-12 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อ ออกทีละ 3-4 ดอกที่ปลายกิ่ง ดอกมีลักษณะเป็นกรวย มีกลีบ 5 กลีบเรียงซ้อนทับกัน โคนดอกเป็นหลอดมีสีอมเขียว มีกลีบเลี้ยง ยาวแหลม 5 กลีบเช่นกัน ดอกมีหลายสี เช่น สีเหลือง ส้ม ขาว เมื่อดอกโรยจะติดผล ผลมีลักษณะกลม ปลายผลแบนมีรอยหยักเป็น 2 แฉก เมื่อสุกมีสีดำ มีเมล็ดข้างใน 1-2 เมล็ด ออกดอกในฤดูฝนถึงฤดูหนาว ขึ้นได้ดีในดินทั่วไป โดยเฉพาะดินปนทราย และชอบแสงแดดจัด ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด และตอนกิ่ง ปลูกเป็นไม้ประดับสวน ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ออกดอกตลอดปี เป็นดอกไม้ประจำโรงเรียนเทพศิรินทร์ รำเพยเป็นพืชมีพิษ ยางเมื่อถูกผิวหนังทำให้ระคายเคือง รับประทานเข้าไปทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ชัก หมดสติ หัวใจเป็นอัมพาต ไฟล์:ramphei1.jpg|รำเพยขาว ไฟล์:ramphei2.jpg|รำเพยเหลือง ไฟล์:ramphei3.jpg|รำเพยส้ม ไฟล์:Thevetia peruviana 05.JPG|ผลสุกเป็นสีดำ ไฟล์:Thevetia peruviana MHNT.BOT.2007.27.24.jpg|ตัวอย่างชนิด Thevetia peruviana.

ดู พืชและรำเพย

รุทรักษะ

รุทรักษะ หรือเรียกกันว่า น้ำตาพระศิวะ เป็น เครื่องรางคล้ายเมล็ดพุทรา ที่เชื่อว่า ช่วยรักษาสุขภาพ ให้ดีและแข็งแรง เสริมงาน-ความรัก ให้ราบรื่น สำเร็จ นิยมร้อยรวมกับหินธิเบต น้ำตาพระศิว.

ดู พืชและรุทรักษะ

รูปหลายเหลี่ยม

ในทางเรขาคณิต รูปหลายเหลี่ยม (อังกฤษ: polygon) ตามความหมายดั้งเดิม หมายถึงรูปร่างอย่างหนึ่งที่เป็นรูปปิดหรือรูปครบวงจรบนระนาบ ซึ่งประกอบขึ้นจากลำดับของส่วนของเส้นตรงที่มีจำนวนจำกัด ส่วนของเส้นตรงเหล่านั้นเรียกว่า ขอบ หรือ ด้าน และจุดที่ขอบสองข้างบรรจบกันเรียกว่า จุดยอด หรือ เหลี่ยม (corner) ภายในรูปหลายเหลี่ยมบางครั้งก็เรียกว่า เนื้อที่ (body) รูปหลายเหลี่ยมเป็นวัตถุในสองมิติ ซึ่งเป็นตัวอย่างหนึ่งของพอลิโทป (polytope) ที่อยู่ใน n มิติ ด้านสองด้านที่บรรจบกันเป็นเหลี่ยม เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการเกิดมุมที่ไม่เป็นมุมตรง (180°) ถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว ส่วนของเส้นตรงทั้งสองจะถูกพิจารณาว่าเป็นด้านเดียวกัน ความคิดทางเรขาคณิตพื้นฐานได้ถูกดัดแปลงไปในหลากหลายทาง เพื่อที่จะทำให้เข้ากับจุดประสงค์เฉพาะ ตัวอย่างเช่นในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ คำว่า รูปหลายเหลี่ยม ถูกนำไปใช้และมีการเปลี่ยนแปลงความหมายไปโดยเล็กน้อย ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการบันทึกและจัดการรูปร่างภายในคอมพิวเตอร์มากขึ้น รูปหลายเหลี่ยม หลายชน.

ดู พืชและรูปหลายเหลี่ยม

ลองกอง

ลองกอง เป็นลางสาดพันธุ์หนึ่งชนิดที่เปลือกหนาและยางน้อย โดยลางสาดเป็นไม้ต้นชนิด Lansium domesticum Corrêa ในวงศ์ Meliaceae ผลกลม ๆ ออกเป็นพวง กินได้ เม็ดในขม ลางสาดนั้นเชื่อว่าเป็นผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดมาจากบริเวณหมู่เกาะมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และภาคใต้ของไทย มีหลายชื่อ อาทิ ลังสาด, ดูกู โดยชื่อ "ลางสาด" หรือ "ลังสาด" นั้นมาจากภาษามลายูว่า "langsat", ชื่อ "ดูกู" มาจากภาษาอินโดนีเซียว่า "duku" และชื่อ "ลองกอง" มาจากภาษายาวีว่า "ดอกอง".

ดู พืชและลองกอง

ละมุด

ละมุด (Sapodilla) เป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบชนิดหนึ่ง ผลมีรสหวานหอมนิยมรับประทานเป็นอาหารว่างและนิยมรับประทานในประเทศไทย ผลละมุดสุกมีน้ำตาลสูง และประกอบไปด้วย วิตามินเอและซี ธาตุแคลเซียม ฟอสฟอรัส ละมุดดิบมียางสีขาวเหมือนน้ำนม มีสารที่ชื่อว่า “gutto” ละมุดมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ ชวานิลอ (ปัตตานี,มลายู ยะลา).

ดู พืชและละมุด

ลั่นทม

ลั่นทม หรือ ลีลาวดี เป็นไม้ดอกยืนต้นในวงศ์ตีนเป็ด หรือ วงศ์ไม้ลั่นทม (Plumeria) มีหลายชนิดด้วยกัน บางคนมีความเชื่อว่า ไม่ควรปลูกต้นลั่นทมในบ้านเพราะมีความเชื่อว่า เนื่องจากมีชื่อเป็นอัปมงคล คือไปพ้องกับคำว่า 'ระทม' ซึ่งแปลว่า เศร้าโศก ทุกข์ใจ นิยมปลูกกันแพร่หลายอย่างมาก ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ได้แก่ จำปา, จำปาลาว และจำปาขอม เป็นต้น (สำหรับชื่อภาษาอังกฤษ ได้แก่ Frangipani, Plumeria, Temple Tree, Graveyard Tree) ต้นลีลาวดีเป็นพืชนิยมปลูกเพราะดอกมีสีสันหลากหลาย สวยงาม ได้แก่ขาว เหลืองอ่อน แดง ชมพู สีขาวขุ่น ฯลฯ บางดอกมีมากกว่า 1 สี อาจมีมากถึงหลายสีในดอกเดียว ดอกลีลาวดียังเป็นดอกไม้ประจำชาติของประเทศลาว โดยเรียกว่า "ดอกจำปา" และพบได้มากบริเวณทางขึ้นพระธาตุที่เมืองหลวงพระบาง สำหรับในประเทศไทยนั้นมักพบต้นลั่นทมตามธรรมชาติทางภาคเหนือเป็นส่วนใหญ.

ดู พืชและลั่นทม

ลานไพลิน

ลานไพลิน (Giant bacopa; ชื่อวิทยาศาสตร์: Bacopa caroliniana (Walt) Rob.) เป็นพืชสะเทินน้ำสะเทินบกอายุข้ามปี มีลำต้นกลมใหญ่มีขน อาจขึ้นใต้น้ำหรือเลื้อยทอดไปตามพื้น แล้วชูยอดตั้งขึ้น ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่ ส่วนโคนใบกว้างกว่าปลายใบ ขอบใบเรียบ แตกจากลำต้นแบบตรงกันข้าม ใบเหนือน้ำหนาและแข็งกว่าใบใต้น้ำ ดอกเป็นดอกเดี่ยวออกตามซอกใบ เจริญเหนือน้ำ มีก้านดอกสั้น กลีบดอกสีฟ้าคราม โคนกลีบติดกันเป็นรูปกรวย ปลายกลีบดอกมี 5 แฉก ภายในมีขน เกสรตัวผู้มี 4 อัน หมวดหมู่:วงศ์มณเฑียรทอง หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ.

ดู พืชและลานไพลิน

ลำดวน

ลำดวน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Melodorum fruticosum Lour.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมนวล (ภาคเหนือ) ลำดวน (ภาคอีสาน) เป็นไม้ดอกชนิดหนึ่งมีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดศรีสะเกษ นอกจากนี้ ดอกหอมนวลยังเป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษด้ว.

ดู พืชและลำดวน

ลำแพน

ลำแพน วงศ์ SONNERATIACEAE เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลาง สูง 4- 12 เมตร กิ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยม เปราะ รากหายใจรูปคล้ายหมุด ยาว 15- 30 ซม.

ดู พืชและลำแพน

ลำโพงกาสลัก

ลำโพงกาสลัก (Thorn Apple; L.) หรือ มะเขือบ้าอินเดีย หรือ ลำโพงดอกชมพู เป็นพืชล้มลุก ประเภทเดียวกับมะเขือ ชื่อพื้นเมืองเช่น มะเขือบ้าดอกดำ เมื่อโตเต็มที่มีความสูงประมาณ 1-1.5 เมตร ลำต้น กิ่ง และก้านใบมีสีม่วงเข้มดำมัน ใบเดี่ยว รูปไข่ สีเขียวเข้ม เรียงสลับกัน กว้าง 8-15 เซนติเมตร ยาว 10-20 เซนติเมตร ขอบใบหยักเป็นซี่ฟันหยาบ ๆ ฐานหรือโคนใบมักไม่เสมอกัน ดอกมีสีม่วง ขนาดของดอกยาวประมาณ 12-16 เซนติเมตร ก้านดอกสั้น เมื่อดอกโตเต็มที่ปากดอกจะบานออกดูคล้ายรูปแตร ขนาดของดอกยาวประมาณ 12-16 เซนติเมตร ก้านดอกสั้น ดอกมักจะซ้อนกัน 3 ชั้น เป็นส่วนใหญ่ ถ้าเป็นพันธุ์ผสม ดอกจะซ้อนกัน 2 และ 4 ชั้น ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ลำโพงจัดอยู่ในประเภทเป็นพืชที่มีพิษ มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย และชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีฤทธิ์หลอนประสาท.

ดู พืชและลำโพงกาสลัก

ลำไย

ลำไย (มักเขียนผิดเป็น ลำใย) มีชื่อเรียกทางพื้นบ้านภาคเหนือว่า "บ่าลำไย" ชื่อภาษาอังกฤษว่า Longan อยู่ในวงศ์ Sapindaceae เป็นพืชไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสีน้ำตาล ออกดอกเป็นช่อ สีขาวครีม ผลทรงกลมเป็นช่อ ผลดิบเปลือกสีน้ำตาลอมเขียว ผลสุกสีน้ำตาลล้วน เนื้อลำไยสีขาวหรือชมพูอ่อน เมล็ดสีดำเป็นมัน เนื้อล่อนเม็.

ดู พืชและลำไย

ลิลี

ลิลี (lily; ชื่อวิทยาศาสตร์: Lilium) เป็นไม้ดอกประเภทหัว (bulbhttps://en.wikipedia.org/wiki/Bulb) ที่มีการชื้อขายกันมากเป็นอันดับห้า รองจากกุหลาบ เบญจมาศ ทิวลิป และคาร์เนชัน ส่วนใหญ่จะปลูกบนที่สูง ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และจังหวัดเลย เนื่องจากมันเป็นพืชที่เจริญเติบโตในสภาพอากาศที่หนาวเย็น มีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศจีน และบริเวณตอนเหนือของญี่ปุ่น มีฉายาว่า "ดอกไม้ของเจ้าหญิงhttp://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-111web/510-482web/510-482web-1-10-46/Lily.htm" ดอกลิลี่เป็นตัวแทนของความบริสุทธิ์ สดใส ไร้เดียงสา จึงมักนำมาใช้ประดับในงานสังสรรค์รื่นเริง เป็นตัวกลางในการสื่อความหมาย โดยจะมีความหมายจำเพาะตามสีของดอก.

ดู พืชและลิลี

ลิงลมใต้

ลิงลมใต้ หรือ นางอายใต้ (Sunda slow loris, Southern loris) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับวานร (Primates) ขนาดเล็ก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Nycticebus coucang.

ดู พืชและลิงลมใต้

ลิงจมูกยาว

ลิงจมูกยาว หรือ ลิงจมูกงวง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในอันดับวานรชนิดหนึ่ง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล NasalisWilson, D.

ดู พืชและลิงจมูกยาว

ลิ้นมังกร

ลิ้นมังกร วงศ์ Dracaenaceae เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน ใบเดี่ยว สีเขียวเข้มแกมเทา อวบน้ำ ดอกช่อ สีขาวมีกลิ่นหอม เป็นพืชท้องถิ่นในแอฟริกาตะวันตกตั้งแต่ไนจีเรียถึงคองโก ใช้เป็นไม้ประดับ ใบใช้ตำละเอียด แก้พิษตะขาบ แมงป่อง.

ดู พืชและลิ้นมังกร

ลิ้นจี่

ลิ้นจี่ เป็นชื่อของผลไม้ประเภทผลเดี่ยวซึ่งมีลักษณะเปลือกสีแดงชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ SAPINDACEAE (ซึ่งก็คือวงศ์เดียวกับเงาะและลำไยนั้นเอง) ลิ้นจี่นั้นเป็นผลไม้ที่มีรสชาติอร่อยให้ผลผลิตคุ้มค่ากับการลงทุนจึงถือว่าเป็นผลไม้ทางเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทยที่สามารถนำผลผลิตที่ได้มาจำหน่ายในรูปของผลไม้สดและผลไม้แปรรูป ปัจจุบันนี้ลิ้นจี่ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีความหลากหลายขึ้นเรื่อยๆจากสายพันธุ์ดั้งเดิมที่มีอยู่แล้ว ลิ้นจี่ถูกกล่าวถึงในประวัติศาสตร์จีนในสมัยราชวงศ์ถัง โดยเป็นผลไม้โปรดของหยางกุ้ยเฟย พระสนมของจักรพรรดิถังเสวียนจง ทรงบัญชาให้ทหารม้านำลิ้นจี่จากแหล่งปลูกทางตอนใต้ของจีน เดินทางข้ามวันข้ามคืนมาถวายที่ฉางอาน เปลือกผลของลิ้นจี่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสร.

ดู พืชและลิ้นจี่

ลูพิน

''Lupinus polyphyllus '' ลูพิน (Lupin หรือ lupine) เป็นพืชดอกที่อยู่ในสกุลลูพินนัส (Lupinus) ในวงศ์ถั่วที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 200 ถึง 600 สปีชีส์ขึ้นอยู่กับแหล่งข้อมูล มีศูนย์กลางอยู่ในอเมริกาใต้, ทางตะวันตกของอเมริกาเหนือ, บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน และ แอฟริกา ลูพินส่วนใหญ่เป็นพืชยืนต้นสูงราว 0.3 ถึง 1.5 เมตร แต่บางชนิตก็เป็นพืชปีเดียว และบางชนิดก็เป็นไม้พุ่มที่สูงถึง 3 เมตร (ลูพินพุ่ม) และมีอยู่สปีชีส์หนึ่งจากเม็กซิโกที่สูงถึง 8 เมตรและมีลำต้นที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร ใบมีลักษณะเด่นที่จำได้ง่ายสีเขียวออกไปทางเขียวอมเทาเล็กน้อย บางสปีชีส์ก็มีขนหนาสีเงินบนใบ ใบมีลักษณะเหมือนใบปาล์มที่แยกออกเป็น 5 ถึง 28 แฉก แต่บางสปีชีส์ก็ไม่มีแฉกเช่นที่พบทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ทรงดอกเหมือนข้าวโพดที่เป็นดอกเหมือนดอกถั่วกระจายออกไปรอบแกนกลางแต่ละดอกก็ยาวราว 1 ถึง 2 เซนติเมตร เมล็ดออกจากฝักแต่ละฝักก็มีหลายเมล็ด ลูพินก็เช่นเดียวกับพืชวงศ์ถั่วอื่นๆ ที่สามารถเปลี่ยนไนโตรเจนจากบรรยากาศให้เป็นไนโตรเจนให้เป็นแอมโมเนียได้ ซึ่งเป็นการเพิ่มปุ๋ยให้แก่พืชอื่นสกุลลูพินนัสมีไรโซเบียมแบบที่เรียกว่า Bradyrhizobium ลูพินเป็นทั้งดอกไม้ป่าและไม้บ้าน โครงสร้างของพุ่มและดอกมีลักษณะเด่นเหมาะแก่การปลูกตกแต่งสวน สีก็มีแทบทุกสีที่รวมทั้งเหลือง ชมพู แดง ม่วงน้ำเงิน ม่วงแดง และขาว.

ดู พืชและลูพิน

ลูกปืนใหญ่ (พืช)

ผลลูกปืนใหญ่ ลูกปืนใหญ่ หรือ สาละลังกา (Cannonball tree) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดใหญ.

ดู พืชและลูกปืนใหญ่ (พืช)

ลูกใต้ใบ

ลูกใต้ใบ (L.) เป็นพืชล้มลุก ต้นเล็ก ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตัวคล้ายใบประกอบ ทำให้บางครั้งเกิดความสับสนว่าเป็นใบประกอบ ออกดอกตามข้อ หนึ่งข้อมีหนึ่งใบ โคนก้านใบติดกับลำต้น สีม่วงแดง ดอกสีเขียว ดอกออกตามซอกก้านใบย่อยและห้อยลง ผลกลมเรียบ เมื่อแก่แตกเป็นสามพู ในทางยาสมุนไพร ลูกใต้ใบมีฤทธิ์แก้โรคเบาหวาน ขับปัสสาวะ เป็นยาบำรุงธาตุ ขับประจำเดือน มีการศึกษาวิจัยทางการแพทย์เกี่ยวกับการนำไปใช้ประโยชน์ทางยาและอาจจะมีฤทธิ์ต้านไวรัสเอดส์และไวรัสตับอักเสบบี ลดความดันโลหิต ลดความเป็นพิษต่อตับ ในบราซิลและเปรูใช้เป็นยารักษาโรคนิ่วในไต และสามารถยับยั้งการเกิดก้อนนิ่วในหนูที่กินน้ำคั้นของพืชนี้ได้ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเปรัก ประเทศมาเลเซีย ใช้ทั้งต้นนำไปต้มใช้รักษาดีซ่าน.

ดู พืชและลูกใต้ใบ

ลูกเดือย

ลูกเดือย เป็นธัญพืชประเภทคาร์โบไฮเดรตเดือยเป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีเส้นใยอาหารสูง เป็นพืชตระกูลเดียวกับข้าว โดยมีลักษณะเป็นเม็ดสีขาว เม็ดจะออกกลม ๆ รี ๆ รสชาติออกมันเล็กน้อ.

ดู พืชและลูกเดือย

วอลนัต

มล็ดวอลนัต วอลนัต (walnut) เป็นพืชในตละกูล Juglandaceae ขนาดของต้นมีหลายขนาดสูงตั้งแต่ 10-40 และใบมีขนาดยาวตั้งแต่ 200-900 มม.

ดู พืชและวอลนัต

วาซาบิ

วาซาบิ เป็นเครื่องปรุงที่ทำมาจากการบดลำต้นของพืช Canola (Japanese horseradish) จัดเป็นไม้ล้มลุกที่อยู่ในตระกูลเดียวกับพวกบรอกโคลีและกะหล่ำ เป็นสมุนไพรดั้งเดิมของญี่ปุ่น สามารถปลูกได้ทั้งบนดิน และพื้นน้ำ โดยปลูกบนพื้นน้ำจะให้คุณภาพที่ดีกว่า ในหลายประเทศมักจะเรียกวาซาบิกันผิด ๆ ว่าฮอร์สแรดิชญี่ปุ่น ฮอร์สแรดิชสีเขียว หรือแม้แต่มัสตาร์ดญี่ปุ่น.

ดู พืชและวาซาบิ

วิลเลียม เคนท์

วิลเลียม เคนท์ ผู้บุกเบิกสวนอังกฤษแบบธรรมชาติ วิลเลียม เคนท์ (William Kent พ.ศ. 2228-2291) จิตรกร นักออกแบบเฟอร์นิเจอร์ นักจัดภูมิทัศน์และสถาปนิก เกิดที่เมืองบริดลิงตันไรดิงตะวันออกของยอร์กไชร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอังกฤษ เคนท์ได้ไปทัศนศึกษาที่อิตาลีกับผู้อุปถัมภ์และกลับมาทำงานกับลอร์ดเบอร์ลิงตันในงานสร้างตำหนักชิสวิก ต่อมาเคนท์ได้กลายเป็นผู้สนับสนุนสถาปัตยกรรมแบบพาเลเดียนในอังกฤษ อาคารที่เคนท์ออกแบบได้แก่กลุ่มอาคารฮอร์สการ์ดที่ไวท์ฮอลล์ อาคารรอแยลมิวส์ที่จตุรัสทราฟัลกาและอาคารกระทรวงการคลัง อย่างไรก็ดี เคนท์ประสบความสำเร็จในงานออกแบบอาคารน้อยกว่างานภูมิทัศน์ สะพานและอาคารแบบพาลลาเดียนในสโตว์ โดยเคนท์ ตัวอย่างงานออกแบบภูมิทัศน์ที่สำคัญคือสวนที่ สโตว์ในบัคคิงแฮมเชอร์ เคนท์นับเป็น “เจ้าตำหรับสวนอังกฤษ” (English School of Landscape Gardening) ที่ได้รับอิทธิพลจากการไปศึกษาที่อิตาลีซึ่งเคนท์ได้ชื่นชมภาพเขียนภูมิทัศน์ของโคลด ลอร์แรน (Claude Lorrain) นิโคลาส์ ปูแซน และซัลวาตอเร โรซา โดยถือเป็นการ “ปฏิรูปสวนอังกฤษ” ให้เป็นรูปแบบ “ธรรมชาติ” ที่มีเนินทุ่งหญ้าและน้ำ นับเป็นการบุกเบิกงานภูมิทัศน์ธรรมชาติที่เปิดกว้างขึ้นให้แก่ “บราวน์ผู้สามารถ” ซึ่งมีโอกาสได้พบเคนท์ในขณะฝึกงานที่สวนสโตว์ และบราวน์ได้ยึดแนวและปรับปรุงรูปแบบ “สวนอังกฤษให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นในชั่วคนต่อมา กล่าวกันว่าจุดอ่อนของตัวเคนท์ในงานจัดภูมิทัศน์คือการขาดความรู้ในด้านพืชพรรณและทักษะด้านเทคนิคภูมิทัศน์ แต่ความสามารถในการนำศิลปะสถาปัตยกรรมมาผสมกลมกลืนธรรมชาติได้อย่างดีเยี่ยมสามารถชดเชยจุดอ่อนนี้ได้ เคนท์เคยกล่าวไว้ว่า “งานสร้างสวนทั้งหมดแท้จริงก็คืองานสร้างภาพเขียนภูมิทัศน์” ตัวอย่างงานศิลปะบางส่วนโดยเคนท์ได้แก่ฉาก กอธิก ห้องโถงในวิหารเวสมินสเตอร์ โบสถ์กลอสเซสเตอร์ งานภายในตำหนักเบอร์ลิงตัน และตำหนักชิสวิกในลอนดอน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู พืชและวิลเลียม เคนท์

วิตามินบี12

วงแหวง corrin ที่เป็นโครงสร้างประกอบของวิตามิน methylcobalamin (ดังที่แสดง) เป็นรูปแบบของวิตามินบี12 อย่างหนึ่ง แต่ก็ยังคล้ายกับรูปแบบอื่น ๆ ของวิตามิน ปรากฏเป็นผลึกสีแดงซึ่งละลายน้ำเป็นสีแดงเข้ม วิตามินบี12 (12, cobalamin) เป็นวิตามินละลายน้ำได้ที่เป็นกุญแจสำคัญในการทำงานเป็นปกติของสมองกับระบบประสาท และการสร้างเม็ดเลือดแดง เป็นรูปแบบหนึ่งของวิตามินบี 8 อย่าง ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซึมในเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายมนุษย์ โดยมีผลเฉพาะต่อการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ เมแทบอลิซึมของกรดไขมันและกรดอะมิโน ไม่มีเห็ดรา พืช หรือสัตว์ (รวมทั้งมนุษย์) ที่สามารถสร้างวิตามินบี12ได้ มีแต่สิ่งมีชีวิตประเภทแบคทีเรียและอาร์เคียที่มีเอนไซม์เพื่อสังเคราะห์มันได้ แหล่งของวิตามินที่ได้พิสูจน์แล้วเป็นผลิตภัณฑ์สัตว์รวมทั้งเนื้อ ปลา ผลิตภัณฑ์นม และอาหารเสริม แต่ก็มีงานวิจัยที่แสดงว่า ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่มาจากสัตว์บางอย่างอาจเป็นแหล่งธรรมชาติของวิตามินได้ เพราะอยู่ร่วมกับแบคทีเรีย (bacterial symbiosis) วิตามินบี12 เป็นวิตามินที่ใหญ่ที่สุด มีโครงสร้างซับซ้อนที่สุด และสามารถสังเคราะห์โดยหมักแบคทีเรีย (bacterial fermentation-synthesis) แล้วใช้เสริมอาหารและเป็นวิตามินเสริม วิตามินบี12 เป็นกลุ่มสารประกอบที่มีโครงสร้างเคมีเกี่ยวข้องกัน (หรือที่เรียกว่า vitamer) ซึ่งมีฤทธิ์ทางชีวภาพ และมีธาตุโคบอลต์ (Co) ที่ไม่สามัญทางเคมี-ชีวภาพ อยู่ตรงกลางวงแหวนเชิงระนาบแบบ tetra-pyrrole ที่เรียกว่าวงแหวน corrin (ดูรูป) ซึ่งสามารถผลิตได้โดยแบคทีเรีย hydroxocobalamin แต่ร่างกายสามารถแปรรูปแบบวิตามินไปในแบบต่าง ๆ ได้ วิตามินค้นพบโดยความสัมพันธ์ของมันกับโรคภาวะเลือดจางเหตุขาดวิตามินบี12 (pernicious anemia) ซึ่งเป็นโรคภูมิต้านตนเอง และมีผลทำลายเซลล์ผนัง (parietal cell) ที่มีหน้าที่หลั่งไกลโคโปรตีน คือ intrinsic factor ในกระเพาะอาหาร เซลล์เหล่านี้ยังมีหน้าที่หลั่งกรดย่อยอาหารในกระเพาะอีกด้วย เพราะว่า intrinsic factor จำเป็นต่อการดูดซึมวิตามินตามปกติ การขาดโปรตีนนี้เพราะโรค จึงทำให้ขาดวิตามินบี12 ยังมีรูปแบบการขาดวิตามินแบบเบากว่าอื่น ๆ ที่ผลติดตามทางชีวเคมีก็ปรากฏชัดแล้ว.

ดู พืชและวิตามินบี12

วงศ์ชบา

ืชวงศ์ฝ้ายหรือวงศ์ชบา เป็นวงศ์พืชดอกที่ประกอบไปด้วย 200 สกุล ประมาณ 2,300 ชนิด Judd & al.

ดู พืชและวงศ์ชบา

วงศ์ชะมดและอีเห็น

มดและอีเห็น เป็นสัตว์จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอันดับสัตว์กินเนื้อจำพวกหนึ่ง.

ดู พืชและวงศ์ชะมดและอีเห็น

วงศ์บัวสาย

วงศ์บัวสาย หรือ Nymphaeaceae เป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่เป็นไม้น้ำ มีไรโซม มีสมาชิกประมาณ 70 สปีชีส์ สกุล Nymphaea ประกอบด้วย 35สปีชีส์ในซีกโลกเหนือ สกุลVictoria มีสองสปีชีส์ที่เป็นพืชท้องถิ่นในอเมริกาใต้ ขึ้นในดินโคลนที่มีน้ำท่วมขัง ใบลอยบนผิวน้ำ ใบกลม มีส่วนขาดไปเล็กน้อยในสกุล Nymphaea และ Nuphar แต่จะกลมสมบูรณ์ในสกุล Victoria..

ดู พืชและวงศ์บัวสาย

วงศ์กก

ืชวงศ์กก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cyperaceae; Sedge) เป็นไม้ล้มลุก มีประมาณ 4,000 ชนิดแพร่พันธุ์กระจายทั่วโลก ชอบที่ชื้นแฉะ ขึ้นในที่ระดับต่ำตามหนอง บึง ทางระบายคันคูน้ำและโคลนเลน ใน 46 ประเทศจัดพืชวงศ์กกเป็นวัชพืช มีหลายชนิดใช้เป็นอาหารเช่น Eleocharis toberosa และ Scirpus toberosus และหลายชนิดนำมาทำเครื่องจักสานได้อย่าง เสื่อ กระจาด กระเช้า หมวก เช่นกกชนิด Scirpus mucronatus, Lepironia mucronata, Carex brizoides เป็นต้น.

ดู พืชและวงศ์กก

วงศ์กะเพรา

วงศ์กะเพรา หรือ วงศ์มินต์ (Lamiaceae เดิมคือ Labiatae) เป็นชื่อของวงศ์พรรณไม้ของพืชดอกในอันดับแลเมียลิส ที่มีลักษณะเด่นคือ เป็นไม้พุ่มหรือไม้เถา ลำต้นเหลี่ยม ดอกออกเป็นช่อยกสูงคล้ายฉัตร หรือบ้างก็ไม่ยกสูงมาก เป็นวงศ์ของ กะเพรา โหระพา แมงลัก สะระแหน่ ยี่หร่า ลาเวนเดอร์ โรสแมรี บลูซัลเวีย ซัลเวียฮัมมิ่งเบิร์ดแดง ออริกาโน เดิมวงศ์มินต์ (Labiatae) หมายความรวมถึงพืชจำพวก สัก ผกากรอง มังกรคาบแก้ว ตรีชะวา พัดโบก และพืชอื่นๆในวงศ์สัก (Verbenaceae) ด้วย แต่ภายหลังมีการแยกเอาพืชกลุ่มนี้ไปตั้งวงศ์ใหม่เป็นวงศ์สัก.

ดู พืชและวงศ์กะเพรา

วงศ์ก่วม

วงศ์ก่วม (Aceraceae) เป็นวงศ์พืชของไม้ดอก ประกอบด้วย 2 ถึง 4 สุกลขึ้นกับขอบเขต มีประมาณ 120 ชนิดที่เป็นไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม ทั่วไปมีลักษณะใบเป็นแฉกและผลแยกแล้วแตก วงศ์ก่วมเป็นญาติใกล้ชิดกับวงศ์เงาะ นักอนุกรมวิธานหลายคน (รวมถึงกลุ่มวิวัฒนาการชาติพันธุ์พืชดอก) ได้รวมวงศ์ก่วมและ Hippocastanaceae ไว้ใน Sapindaceae งานวิจัยเมื่อเร็วๆนี้ (Harrington et al.

ดู พืชและวงศ์ก่วม

วงศ์ส้ม

วงศ์ส้ม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Rutaceae) เป็นวงศ์ของของพืชที่ปกติแล้วจะถูกจัดให้อยู่ในอันดับ Sapindales โดยทั่วไปแล้วพืชในวงศ์นี้จะมีดอกที่แบ่งออกเป็น 4 หรือ 5 ส่วน ปกติจะมีกลิ่นแรง ลักษณะของต้นมีตั้งแต่ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม ไปจนถึงไม้ต้นขนาดเล็ก สกุลที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจมากที่สุดคือ Citrus ซึ่งมีทั้งส้ม (C.

ดู พืชและวงศ์ส้ม

วงศ์จำปา

วงศ์จำปี หรือ วงศ์จำปา (Magnoliaceae) ลักษณะที่เด่นชัดของวงศ์นี้คือ มีหูใบที่เด่นชัด และจะมีรอยแผลของหูใบตามโคนของใบ (เกิดจากการหลุดร่วงของหูใบ) ชัดเจน พืชในวงศ์นี้แบ่งได้เป็น.

ดู พืชและวงศ์จำปา

วงศ์ถั่ว

ืชตระกูลถั่ว เป็นพืชที่อยู่ในวงศ์ Fabaceae หรือ Leguminosae เป็นพืชกลุ่มใหญ่เป็นอันดับ 3 รองจากพืชวงศ์ทานตะวัน (Compositae) และพืชวงศ์กล้วยไม้ มีสมาชิกประมาณ 550 สกุล 18,000 สปีชีส์ พบกระจายไปทั่วโลก.

ดู พืชและวงศ์ถั่ว

วงศ์ขิง

ืชวงศ์ขิง (Zingiberaceae) เป็นพืชที่มีเหง้า มีด้วยกัน 47 สกุล ประมาณ 1,000 ชนิดพืชตระกูลขิงหลายชนิดมีความสำคัญในฐานะเป็นไม้ดอกไม้ประดับ บ้างก็ใช้เป็นเครื่องเทศ หรือยาสมุนไพร พืชสำคัญได้แก่ ขิง ข่า ดาหลา กร.

ดู พืชและวงศ์ขิง

วงศ์ตีนเป็ด

วงศ์ตีนเป็ด หรือ วงศ์ไม้ลั่นทม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Apocynaceae‎) เป็นชื่อวงศ์พรรณไม้ของพืชตระกูล ลั่นทม ลีลาวดี ตีนเป็ด ลักษณะเด่นคือทุกส่วนของต้นพืชมีน้ำยางขาวมี ใบเป็นเดี่ยวติดตรงข้ามหรือติดเป็นวงรอบข้อ ขอบใบเรียบเส้นแขนงใบเป็นร่างแห กลีบดอกเชื่อมติดกัน เกสรเพศผู้มี 5 อันติดบนท่อกลีบดอก มีเกสรเพศเมีย 2 อันเชื่อมติดกัน รังไข่ติดเหนือวงกลีบ รังไข่มี 2 ช่อง ผลเป็นฝักคู่ หรือเดี่ยวแตกตามแนวเดียว เมล็ดมีขนเป็นกระจุกที่ปลาย ในวงศ์นี้เป็นไม้หวงห้าม 4 สกุล คือ สกุลตีนเป็ด สกุลไยลูตง สกุลโมกหลวง และสกุลโมกมัน ไม้ตีนเป็ด จัดเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดไม้หวงห้าม..

ดู พืชและวงศ์ตีนเป็ด

วงศ์ปลาซักเกอร์

วงศ์ปลาซักเกอร์ (Sucker, Armored catfish) เป็นปลาที่มีวงศ์ใหญ่มากชนิดหนึ่งในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) มีถิ่นกำเนิดในลุ่มแม่น้ำในทวีปอเมริกาใต้ มีรูปร่างโดยรวมคือ หัวโต ตาเล็ก มีจุดเด่นคือ ปากขนาดใหญ่ที่อยู่ด้านล่างที่สามารถเกาะหรือดูดกับวัสดุต่าง ๆ ในน้ำได้ มีลำตัวแข็งและหยาบกร้านดูเหมือนมีเกล็ด แต่ความเป็นจริงแล้ว นั่นคือ ผิวหนังที่พัฒนาจนแข็ง ครีบหลังและครีบหางมีขนาดใหญ่ มีหนวดสั้น บางชนิดไม่มีครีบไขมัน ที่มีครีบไขมันจะมีเงี่ยงแข็งหนึ่งอันอยู่หน้าครีบ มีลำไส้ยาว มีกระดูกสันหลัง 23-38 ข้อ หากินตามพื้นน้ำ โดยกินซากพืชซากสัตว์และสัตว์น้ำขนาดเล็กต่าง ๆ เป็นอาหาร ใช้ชื่อวงศ์ว่า Loricariidae (/ลอ-ริ-คา-ริ-ดี/) ตัวผู้จะมีเงี่ยงแหลมยื่นออกมาเห็นได้ชัดบริเวณข้างส่วนหัวและครีบอก เรียกว่า odontodes ในขณะที่ตัวเมียท้องจะอูมกว่า เป็นปลาที่รู้จักกันดีในฐานะที่เป็นปลาสวยงาม เช่น ปลาซักเกอร์ธรรมดา (Hypostomus plecostomus) ที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาที่เก็บเศษอาหารที่ปลาอื่นกินเหลือ จนได้อีกชื่อนึงว่า "ปลาเทศบาล" และหลายชนิดก็มีสีสันและรูปร่างที่แปลกตา เช่น ปลาซักเกอร์พานากิ้วลาย (Panaque nigrolineatus), ปลาซักเกอร์บลูพานากิ้ว (Baryancistrus beggini), ปลาซักเกอร์ม้าลาย (Hypancistrus zebra) เป็นต้น ซึ่งผู้ที่นิยมเลี้ยงจะเลี้ยงเพื่อเป็นความสวยงาม ในแวดวงการค้าปลาสวยงามแล้ว ปลาในวงศ์นี้ถูกตั้งชื่อเป็นรหัสต่าง ๆ เพื่อความสะดวกในการเรียกขาน ทั้งนี้เนื่องจากได้มีการค้นพบปลาในวงศ์นี้กว่า 700 ชนิด แต่หลายชนิดยังมิได้ทำการอนุกรมวิธาน จึงมีการตั้งรหัสเรียกแทน โดยใช้ตัวอักษร L (ย่อมาจากชื่อวงศ์) นำหน้าหมายเลข เช่น L-46 เป็นต้น โดยเริ่มจากนิตยสารปลาสวยงามฉบับหนึ่งของเยอรมนีในปี ค.ศ.

ดู พืชและวงศ์ปลาซักเกอร์

วงศ์แคหางค่าง

วงศ์แคหางค่าง หรือ วงศ์ไม้ปีบ (ชื่อวิทยาศาสตร์:Bignoniaceae) เป็นชื่อวงศ์พรรณไม้ของพืชในตระกูล ปีบ เพกา แคสันติสุข แคแสด ศรีตรัง ชมพูพันธุ์ทิพย์ เหลืองปรีดียาธร ลักษณะเด่นคือ สัณฐานดอกลักษณะปากแตร ส่วนลักษณะเด่นอื่น ๆ ใบเดี่ยวติดเป็นวงรอบข้อ หรือใบประกอบติดตรงข้ามแต่ละคู่ตั้งฉากกัน ใบด้านล่างมีต่อม ดอกใหญ่บานเด่นชัด เกสรเพศผู้มี 4 อัน สั้น 2 ยาว 2 มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 1 อัน ผลแห้งแตก แข็ง ผิวเรียบ เมล็ดมีปีก และมีจำนวนมาก เดิมทีวงศ์แคหางค่างอยู่ในอันดับ Scrophulariales แต่ภายหลังยุบรวม อันดับ Scrophulariales เข้ากับอันดับกะเพรา (Lamiales) จึงทำให้วงศ์แคหางค่างถูกจัดอยู่ในอันดับแลเมียลิส ไปด้วยโดยปร.

ดู พืชและวงศ์แคหางค่าง

วงศ์โคกกระสุน

วงศ์โคกกระสุน เป็นวงศ์ของพืชดอกที่มีอยู่ราว 250 ชน.

ดู พืชและวงศ์โคกกระสุน

วงศ์โคลงเคลง

วงศ์โคลงเคลง เป็นชื่อวงศ์พรรณไม้ จำพวก โคลงเคลง จุกนารี และแปร้น้ำเงิน ซึ่งมีลักษณะเด่นคือ ใบเป็นใบเดี่ยวติดตรงข้าม กลีบดอกเด่นชัด รังไข่เชื่อมติดกับฐานดอก มีระยางค์ยื่นออกมาตรงโคนอับเรณู.

ดู พืชและวงศ์โคลงเคลง

วงศ์เหงือกปลาหมอ

วงศ์เหงือกปลาหมอ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Acanthaceae) เป็นชื่อของวงศ์พรรณไม้วงศ์หนึ่ง เป็นพืชดอกมีใบเลี้ยงคู่ มีประมาณ 250 สกุลและ 2500 ชน.

ดู พืชและวงศ์เหงือกปลาหมอ

วงศ์เงาะ

วงศ์เงาะ หรือ วงศ์ไม้ลำไย (Sapindaceae) เป็นวงศ์ของพืชดอกในอันดับ Sapindales มีอยู่ประมาณ 140-150 สกุล หรือ 1400-2000 ชนิด เช่น เมเปิล Horse chestnut และลิ้นจี่ สมาชิกของวงศ์ Sapindaceae พบได้ในภูมิภาคเขตอบอุ่นไปจนถึงเขตร้อนทั่วโลก.

ดู พืชและวงศ์เงาะ

ว่านหางช้าง

ว่านหางช้าง เป็นพืชล้มลุก ในวงศ์ IRIDACEAE ป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีลำต้นใต้ดินและรากมาก ใบเดี่ยว ออกหนาแน่นที่โคนต้น ใบส่วนบนมักมีขนาดเล็ก แผ่นใบรูปดาบ โคนเป็นกาบ ดอกออกเป็นช่อ ดอกด้านนอกสีเหลือง ขอบกลีบและด้านในสีส้ม มีประสีแดงเข้ม ผลมีสามพู เปลือกบาง แก่แล้วแตกเป็นสามซีก เมล็ดสีดำ ผิวเป็นมัน เป็นไม้ประดับ ใช้เป็นยาขับลม ขับเสมหะ ใบใช้ต้มเป็นยาระบาย แก้ระดูพิการ ใบ ดอก ต้น และราก มีฤทธิ์แก้คุณไสย พืชที่ใกล้เคียงกับว่านหางช้างคือว่านดาบนารายณ์ โดยว่านหางช้างมีดอกและใบเล็กกว่า และว่านดาบนารายณ์ไม่มีฤทธิ์เป็น.

ดู พืชและว่านหางช้าง

ว่านหางจระเข้

ว่านหางจระเข้ เป็นต้นพืชที่มีเนื้ออิ่มอวบ จัดอยู่ในตระกูลลิเลี่ยม (Lilium) แหล่งกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและบริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกา พันธุ์ของว่านหางจระเข้มีมากมายกว่า 300 ชนิด ซึ่งมีทั้งพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่มากจนไปถึงพันธุ์ที่มีขนาดเล็กกว่า 10 เซนติเมตร ลักษณะพิเศษของว่านหางจระเข้ก็คือ มีใบแหลมคล้ายกับเข็ม เนื้อหนา และเนื้อในมีน้ำเมือกเหนียว ว่านหางจระเข้ผลิดอกในช่วงฤดูหนาว ดอกจะมีสีต่างๆกัน เช่น เหลือง ขาว และแดง เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุ์ของมัน คำว่า "อะโล" (Aloe) เป็นภาษากรีซโบราณ หมายถึงว่านหางจระเข้ ซึ่งแผลงมาจากคำว่า "Allal" มีความหมายว่า ฝาดหรือขม ในภาษายิว ฉะนั้นเมื่อผู้คนได้ยินชื่อนี้ ก็จะทำให้นึกถึงว่านหางจระเข้ ว่านหางจระเข้เดิมเป็นพืชที่ขึ้นในเขตร้อนต่อมาได้ถูกนำไปแพร่พันธุ์ในยุโรปและเอเชีย และทุกวันนี้ทั่วโลกกำลังเกิดกระแสนิยมว่านหางจระเข้กันเป็นการใหญ.

ดู พืชและว่านหางจระเข้

ว่านจูงนาง

ว่านจูงนาง หรือ ว่านเขียด (ภาคเหนือ) หรือ อึ่งเปราะ Griff.

ดู พืชและว่านจูงนาง

ว่านนางคำ

ว่านนางคำ เป็นพืชในวงศ์ขิง มีเหง้าขนาดใหญ่ หัวทรงกระบอก มีสีเหลืองทั้งข้างนอกและข้างในใบรูปใบหอก ผิวใบด้านล่างมีขนละเอียดปกคลุม ช่อดอกอยู่แยกจากต้น แทงช่อดอกออกจากเหง้าก่อนแตกใบ ดอกช่อแบบช่อเชิงลด ดอกสั้นกว่าริ้วประดับ ริ้วประดับสีเขียวอ่อน ส่วนปลายสีชมพู กลีบดอกสีขาวแกมชมพู เกสรตัวผู้ฝ่อ สีเหลืองเข้ม กลีบปากรูปกลม กระจายพันธุ์ตั้งแต่อินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีปลูกในอินเดียแถบเชิงเขาหิมาลัย ศรีลังกา มีพบในอินโดจีน ญี่ปุ่น ว่านนางคำใช้ผลิตแป้ง สีย้อม เครื่องสำอางและยา ดอกมีกลิ่นหอม เหง้าสดและหัวมีกลิ่นหอม ใช้รักษาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ใช้เป็นไม้ประดับ มีน้ำมันหอมระเหยหลายชนิด มีสารกลุ่ม curcuminoids ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ เป็นยาสมุนไพร เพื่อลดกรด ขับลม ตำรายาจีนใช้เป็นยาฆ่าเชื้อ นอกจากนั้น ยังมีผู้ใช้ว่านนางคำในรูปผงแห้งเป็นยาบำรุงผิวเพื่อเสริมความงาม และยากันยุงด้วย ขยายพันธุ์โดยการแยกหัวไปปลูก ในจีนเรียกพืชชนิดนี้ว่ายวี่จิน (ภาษาจีนกลาง) หรืออิกกิม (ภาษาจีนแต้จิ๋ว) รากเป็นยากระตุ้นการหมุนเวียนของเลือด ระงับปว.

ดู พืชและว่านนางคำ

ว่านน้ำ

ลักษณะดอกมีขนาดเล็กเป็นช่อ ว่านน้ำ เป็นพืชสมุนไพรที่มีพลังร้อน มีลำต้นเป็นเหง้าอยู่ใต้ดินเป็นแท่งค่อนข้างแบน ใบมีลักษณะแข็งตั้งตรง ปลายใบจะแหลม ใบเรียงสลับกันซ้ายขวาเป็นแผง ดอกมีสีเขียวขนาดเล็กจะออกดอกเป็นช่อ มีจำนวนมากอัดกันแน่นเป็นแท่งรูปทรงกระบอก ชอบขึ้นตามที่น้ำขัง หรือที่ชื้นแฉะส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์ได้เช่น.

ดู พืชและว่านน้ำ

ว่านน้ำทอง

ว่านน้ำทอง (black jewel orchid)เป็นพืชพื้นเมืองในไทย พม่า มาเลเซียและอินโดนีเซีย ออกดอกช่วงธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ ชอบอากาศชื้นและอุณหภูมิอบอุ่น ในประเทศไทยพบทางภาคใต้ เช่น สตูล ยะลา ภาคอีสาน ที่ ชัยภูมิ และภาคตะวันออกที่จันทบุรี ใช้เป็นไม้ประดับ ต้นและรากใช้เป็นยาแก้ไอ ดอกเป็นยาขับเหงื่อ.

ดู พืชและว่านน้ำทอง

ศุภโชค

() เป็นไม้ยืนต้น พืชเขตร้อน มีถิ่นกำเนิดแถบทวีปอเมริกาใต้ เช่น ประเทศเม็กซิโก บราซิล หมู่เกาะฮาวาย นิยมนำมาถักเป็นไม้แคระกระถาง และมีความเชื่อว่าเป็นไม้มงคลhttp://www.maithip.com/plantofweek_002.htm ภาษาจีนเรียกว่า “เหยาเฉียนซู่” แปลว่า เรียกเงิน หรือ เขย่าเงิน ถ้าปลูกลงดินโตเต็มที่สูง 15-20 ฟุต ทรงพุ่มกว้าง 2-3 เมตร แตกกิ่งเป็นชั้นๆ เป็นไม้เนื้ออ่อนขึ้นได้ดีในเขตที่มีอากาศอบอุ่น ทนต่อสภาพแห้งแล้ง ขยายพันธุ์โดยตอนกิ่งปักชำ มีระบบรากใหญ่ และลึกเหมาะสำหรับที่จะส่งเสริมปลูกเป็นพืชในเชิงอนุรักษ์ต้นน้ำ http://www.doae.go.th/library/html/detail/supashok/page01.html.

ดู พืชและศุภโชค

สบู่ดำ

ู่ดำ เป็นพืชน้ำมันชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ชาวโปรตุเกสนำเข้ามาปลูกในประเทศไทย ในช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันมีการสกัดน้ำมันจากเมล็ดสบู่ดำใช้ทดแทนน้ำมันดีเซล ในหลายประเทศได้มีความเห็นคัดค้านการปลูกสบู่ดำเพื่อสกัดน้ำมัน โดยเสนอแนะให้นำพื้นที่เหล่านั้นไปปลูกพืชสำหรับบริโภคแทน และนอกจากนี้ปัญหาการใช้น้ำเป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อคิดเทียบเท่าต่อพลังงานที่ได้จากพืชชนิดอื่นเช่นอ้อยหรือข้าวโพด สบู่ดำใช้น้ำเป็นปริมาณ 5 เท.

ดู พืชและสบู่ดำ

สกุล (ชีววิทยา)

ในทางชีววิทยา สกุล (อังกฤษ genus) เป็นการจัดกลุ่มเอาสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ที่มีลักษณะใกล้เคียงเข้ามารวมกัน ในการตั้งชื่อแบบทวินาม ชื่อสิ่งมีชีวิตประกอบขึ้นจากสองส่วน คือ สกุล ซึ่งต้องขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ และ สปีชีส์ ตัวอย่างหนึ่งคือ Homo sapiens เป็นชื่อเรียกมนุษย์ อยู่ในสกุล Homo ชื่อสกุลในอาณาจักรหนึ่งสามารถซ้ำกับชื่อสกุลหรือชื่อในอนุกรมวิธานของอาณาจักรอื่นได้ ตัวอย่างเช่น Anura เป็นชื่อสกุลของพืชในวงศ์ และเป็นชื่ออันดับของกบ Aotus เป็นชื่อสกุลของถั่วและลิง เป็นต้น แต่ชื่อสกุลในอาณาจักรหนึ่ง ๆ ต้องห้ามซ้ำกัน หมวดหมู่:ชีววิทยา หมวดหมู่:การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์.

ดู พืชและสกุล (ชีววิทยา)

สกุลชบา

กุลชบา (Hibiscus) เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ Malvaceae เป็นสกุลขนาดใหญ่ มีด้วยกันราว 200 ถึง 230ชนิด พบในเขตอากาศอุ่นในกึ่งเขตร้อนและเขตร้อนทั่วโลก ไม้สกุลนี้มีทั้งพืชปีเดียวและพืชหลายฤดู มีทั้งไม้ล้มลุกและพืชที่มีเนื้อไม้ ชื่อสกุลนี้มาจากภาษากรีก ἱβίσκος (hibískos) ซึ่งเป็นชื่อที่นักปรัชญาและนักพฤกษศาสตร์ชาวกรีก พีดาเนียส ไดออสคอริดีส ตั้งให้กับ Althaea officinalis.

ดู พืชและสกุลชบา

สกุลบัวหลวง

ัวหลวง ชื่อสกุล Nelumbo มีชื่อเรียกกันทั่วไปว่า ปทุมชาติ หรือ บัวหลวง มีถิ่นกำเนิดแถบเอเชีย เช่น จีน อินเดีย และไทย มีลำต้นใต้ดินแบบเหง้า และไหล ใบเมื่อยังอ่อนจะลอยปิ่มน้ำ ส่วนใบแก่จะโผล่พ้นน้ำ ก้านใบ และก้านดอกมีหนาม ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ชูสูงพ้นผิวน้ำ มีทั้งดอกทรงป้อมและแหลม กลีบดอกมีทั้งชนิดซ้อนและไม่ซ้อน สีขาว ชมพู หรือเหลือง แล้วแต่ชนิดพันธุ์ บัวในสกุลนี้เป็นบัวที่รู้จักกันดีเพราะเป็นบัวที่มีดอกใหญ่นิยมนำมาไหว้พระ และใช้ในพิธีทางศาสนา เหง้าหรือที่มักเรียกกันว่ารากบัว และไหลบัว รวมทั้งเมล็ดสามารถนำมาเป็นอาหารได้ บัวหลวงเป็นไม้ล้มลุก ซึ่งเจริญเติบโตอยู่ใต้ดิน ลำต้นสีเขียวอ่อนจนถึงเหลือง แข็งเล็กน้อย ใบเป็นใบเดี่ยวรูปกลม แผ่นใบจะชูเหนือน้ำ รูปใบเกือบกลมขนาดใหญ่ ใบมีสีเขียว ผิวใบมีนวล ก้านใบแข็งเป็นหนาม ถ้าตัดตามขวาง จะเห็นเป็นรูภายใน ก้านใบมีน้ำยางขาว เมื่อหักจะมีสายใยสีขาว ใบอ่อนสีเทานวล ปลายม้วนงอขึ้นทั้งสองด้าน ก้านใบจะติดตรงกลางแผ่นใบ ดอก เดี่ยวมีสีขาว สีชมพู กลิ่นหอม บัวหลวงจะเริ่มบานตั้งแต่ตอนเช้า ก้านดอกยาวมีหนามเหมือนก้านใบ ชูดอกเหนือน้ำ และชูสูงกว่าใบเล็กน้อย กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียวหรือสีชมพู ร่วงง่าย กลีบดอกจำนวนมากเรียงซ้อนหลายชั้น นฐานรองดอกรูปกรวย สีเหลืองนวล ผล รูปกลมรีสีเขียวนวล มีจำนวนมากฝังอยู่ในส่วนที่เป็นรูปกรวย เมื่ออ่อนมีสีเหลือง รูปกรวยนี้เมื่อเป็นผลแก่จะขยายใหญ่ขึ้นมีสีเทาอมเขียวที่เรียกว่า "ฝักบัว" มีผลสีเขียวอ่อนฝังอยู่เป็นจำนวนมาก รูปดอกจะเป็นพุ่มทรงสูงกลีบดอกสีชมพู ซ้อนกันหลายชั้น แต่ละกลีบโค้ง มีเกสรตัวผู้สีเหลืองเป็นจำนวนมาก ถัดเข้าไปตรงกลางเป็นส่วนฐานรองดอก จะขยายเป็นรูปกรวยสีเหลืองเป็นส่วนที่ไข่จะฝังอยู่และไข่จะเจริญไปเป็นผลบัวและฝังอยู่บนฝักบัว บัวชนิดนี้ มีชื่อเรียกว่า ปทุม ปัทมา โกกระนต โกกนุต.

ดู พืชและสกุลบัวหลวง

สกุลช้าง

กุลช้าง (Rhynchostylis, Rhy) เป็นพืชในวงศ์กล้วยไม้ (Orchidaceae) มี 6 ชนิด เป็นพืชถิ่นเดียวในอินเดีย, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย และฟิลิปปิน.

ดู พืชและสกุลช้าง

สกุลกระโถนฤๅษี

กระโถนฤๅษี เป็นสกุลพืชไม้ดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียน ขึ้นอาศัยบนเถาองุ่นและพืชสกุลเครือเขาน้ำ (Tetrastigma) พืชสกุลนี้พบแค่ในป่าร้อนชื้นของเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดอกของพืชสกุลกระโถนฤๅษีมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 ซม.

ดู พืชและสกุลกระโถนฤๅษี

สกุลกล้วย

กุลกล้วย (Musa) เป็นหนึ่งในสามสกุลของวงศ์กล้วย (Musaceae) ประกอบด้วยกล้วยและกล้าย มีมากกว่า 50 ชนิด มีการนำไปใช้งานหลากหลาย พืชสกุลนี้แม้จะเติบโตสูงเหมือนต้นไม้ แต่กล้วยและกล้ายไม่มีเนื้อไม้และที่ปรากฏให้เห็นเป็นลำต้นนั้น เป็นเพียงก้านใบที่มีขนาดใหญ่ ทำให้มันกลายเป็นพืชโตชั่วฤดูขนาดยักษ.

ดู พืชและสกุลกล้วย

สกุลกุหลาบ (กล้วยไม้)

กุลกุหลาบ (Aerides ตัวย่อทางการค้า Aer.) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กล้วยไม้ ตั้งขึ้นโดย Jado de Loureiro นักพฤกษศาสตร์ชาวโปรตุเกส เมื่อ..

ดู พืชและสกุลกุหลาบ (กล้วยไม้)

สกุลมะกอก

กุลมะกอก (Spondias) เป็นสกุลของพืชดอกในวงศ์ Anacardiaceae ประกอบด้วยพืช 17 สปีชีส์ โดย 7 ชนิดอยู่ในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ และ 10 ชนิดอยู่ในเอเชีย แต่มีเพียง 10 ชนิดเท่านั้นที่ผลสามารถรับประทานได้และมีการนำไปเพาะปลูก ได้แก.

ดู พืชและสกุลมะกอก

สกุลมะม่วง

Mangifera เป็นสกุลของพืชใบเลี้ยงคู้ในวงศ์ Anacardiaceae ประกอบด้วย 69 สปีชีส์ ที่รู้จักกันดีได้แก่ มะม่วง (Mangifera indica) ซึงมีการแพร่กระจายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยแหล่งที่หลากหลายที่สุดอยู่ที่คาบสมุทรมลายู เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตร.

ดู พืชและสกุลมะม่วง

สกุลมะเมื่อย

กุลมะเมื่อย (Gnetum) เป็นสกุลหนึ่งของกลุ่มพืชเมล็ดเปลือย ซึ่งมีวิวัฒนาการใกล้เคียงกับพืชดอกมากที่สุด ทุกชนิดในสกุลนี้พบเป็นพืชพื้นเมืองของอินโดนีเซีย ส่วนใหญ่เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง ลักษณะเด่นของพืชสกุลนี้คือ กิ่งเป็นข้อและพองบวมามข้อ สตรอบิลัสทำหน้าที่คล้ายช่อดอก แยกเพศ เมล็ดของพืชกลุ่มนี้งอยากมาก ทำให้มีความเสี่ยงที่จะสูญพันธุ์ ในไทยพบ 8 ชนิดคือ เมื่อยดำ ปีแซ ผักเหมียง มะม่วย เมื่อยดูกหรือม่วยเลือด เมื่อยนก เมื่อย และเมื่อยนก พืชในสกุลนี้นิยมนำเมล็ดไปอบ ใช้ใบเป็นผัก บางชนิดเป็นยาสมุนไพร.

ดู พืชและสกุลมะเมื่อย

สกุลรองเท้านารี

กุลรองเท้านารี (Paphiopedilum) เป็นพันธุ์ไม้ประเภทกล้วยไม้ ตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู พืชและสกุลรองเท้านารี

สกุลลัดวิเจีย

กุลลัดวิเจีย หรือ Ludwigia(primrose-willow, water-purslane, หรือ water-primrose) เป็นพืชตระกูลพืชน้ำ มีประมาณ 75 ชนิด สามารถพบได้ทุกพื้นที่ แต่ส่วนมากจะกระจายอยู่ในเขตร้อน;ตัวอย่างสปีชี.

ดู พืชและสกุลลัดวิเจีย

สกุลส้ม

กุลส้ม (Citrus) อยู่ในวงศ์ Rutaceae มีต้นกำเนิดในเขตร้อนและเขตร้อนชื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นไม้พุ่มขนาดใหญ่หรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 5-15 เมตร มีหนามที่ต้น มีใบแบบสลับและเป็นไม้ไม่ผลัดใบ ออกดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อดอกขนาดเล็ก แต่ละดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 ซม.

ดู พืชและสกุลส้ม

สกุลหวาย

กุลหวาย (Calamus) เป็นสกุลของปาล์มในวงศ์ Arecaceae.

ดู พืชและสกุลหวาย

สกุลหวาย (กล้วยไม้)

กุลหวาย (Dendrobium; /เดน-โด-เบียม/) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กล้วยไม้ ตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู พืชและสกุลหวาย (กล้วยไม้)

สกุลขิง

กุลขิง หรือ Zingiber เป็นสกุลของพืชพื้นเมืองในจีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิวกินี และอินเดีย ตัวอย่างที่สำคัญได้แก่ ขิง ขิงญี่ปุ่น กระทือ เป็นต้น.

ดู พืชและสกุลขิง

สกุลข้าวฟ่าง

้าวฟ่าง เป็นกลุ่มพืชตระกูลหญ้าในจีนัส Sorghum บางชนิดเพาะปลูกเพื่อเป็นอาหารทั้งของมนุษย์และสัตว์ มีแหล่งเพาะปลูกอยู่ในเขตอบอุ่นทั่วโลก และจัดว่าเป็นพืชท้องถิ่นในภูมิภาคเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในทุกทวีป ยกเว้นออสเตรเลียและโอเชียเนี.

ดู พืชและสกุลข้าวฟ่าง

สกุลแคทลียา (กล้วยไม้)

แคทลียา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cattleya John Lindley; ชื่อสามัญ: Cattleya) เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์กล้วยไม้ 'มี 113 สปีชีส์ แพร่กระจายจากคอสตาริกาไปจนถึงเขตร้อนของอเมริกาใต้ สกุลนี้ตั้งชื่อเมื่อ..

ดู พืชและสกุลแคทลียา (กล้วยไม้)

สกุลแคตนิป

แคตนิป (catnip) คือชื่อเรียกรวมทั้งหมดของพืชประมาณ 250 สปีชีส์ในสกุล เนเพต้า (Nepeta) ในวงศ์มินต์ พืชกลุ่มนี้มีน้ำมันชื่อว่า เฮพาตาแล็กโตน (Hepetalactone) เป็นสารประกอบของแล็กโตน (Lactone) ชนิดไม่อิ่มตัว มีฤทธิ์คล้ายกัญชา เมื่อแมวได้กลิ่นน้ำมันนี้จะเคลิบเคลิ้มเป็นเวลาประมาณ 10 นาที พืชกลุ่มนี้จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แคตมินต์ (catmint).

ดู พืชและสกุลแคตนิป

สกุลเพชรหึง

กุลเพชรหึง (Grammatophyllum) เป็นสกุลหนึ่งของกล้วยไม้ ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2368 มาจากรากศัพท์ภาษากรีก gramma หมายถึงระบุด้วยสัญลักษณ์ กับ phyllon หมายถึงใบ เป็นการระบุถึงเอกลักษณ์ที่เป็นจุดขนาดใหญ่บนกลีบเลี้ยงและกลีบดอก พบในประเทศไทยเพียงชนิดเดียวคือ เพชรหึง.

ดู พืชและสกุลเพชรหึง

สกุลเจินจูฉ่าย

กุลเจินจูฉ่าย (珍珠菜, 真珠菜) ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียกเตียวจูฉ่าย เป็นคนละชนิดกับจิงจูฉ่ายที่ชาวจีนแต้จิ๋วนิยมนำไปใส่ในเกาเหลาเลือดหมูเป็นกลุ่มพืชสกุล Lysimachia ถือเป็นสมุนไพรจีน เการแพทย์แผนจีนโบราณถือว่าผักชนิดนี้มีคุณสมบัติเป็นยาเย็น(หยิน)มีรสขม ลักษณะต้นขึ้นเป็นกอคล้ายต้นใบบัวบก เจริญงอกงามในที่แดดรำไร ชื้น ดินโปร่งแต่ไม่แฉ.

ดู พืชและสกุลเจินจูฉ่าย

สกุลเข็ม (กล้วยไม้)

กุลเข็ม (Ascocentrum) เป็นกล้วยไม้สกุลหนึ่งตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู พืชและสกุลเข็ม (กล้วยไม้)

สมอไทย

ปลือกต้นสมอในเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย สมอไทย หรือสมออัพยา (Retz.) กะเหรียงเรียกว่าม่าแนหรือหมากแหน่ะ อยู่ในวงศ์ Combretaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียใต้ ภาคอีสานเรียกหมากแน่ะ หรือม่าแน่ เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลาง เปลือกลำต้นสีเทาอมน้ำตาล แตกเป็นร่องตามยาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ ปลายแหลม ใบใหญ่ขนาดประมาณใบกระท้อนสีเขียวเข้ม มีขนอ่อนสีน้ำตาลปกคลุม ปลายใบเป็นติ่งแหลม ดอกสีขาวนวลขนาดเล็กกลิ่นหอม ออกเป็นช่อ ผลค่อนข้างกลมหรือรูปไข่ ผิวเรียบ สีเขียวอมเหลืองหรืออมแดง มีเมล็ดเดียว แห้งแล้วเป็นสีดำ ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็.

ดู พืชและสมอไทย

สมุนไพร

ต้นหอม สมุนไพรที่ใช้ในการปรุงอาหาร สมุนไพร หมายถึง "ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตำรับยา เพื่อบำบัดโรค บำรุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ" หากนำเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า ยา ในตำรับยา นอกจากพืชสมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวาน กานพลู และจันทน์เทศ เป็นต้น.

ดู พืชและสมุนไพร

สร้อยอินทนิล

ร้อยอินทนิล หรือ ช่ออินทนิล ช่องหูปากกา น้ำผึ้ง ปากกา ย่ำแย้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Thunbergia grandiflora Roxb.ชื่อสามัญคือ Bengal Trumpet มีถิ่นกำเนิดในอินเดียตอนเหนือ พม่า และไทย ชอบขึ้นตามป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ เป็นไม้เถาเลื้อย เนื้อแข็ง อายุหลายปี ใช้ยอดเลื้อยพันได้ไกล 15-20 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปหัวใจหรือเว้าตื้น 5-7 แฉก กว้าง 8-10 เซนติเมตร ยาว 10-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบเว้า ขอบหยักฟันเลื่อย ผิวใบสาก ดอกสีฟ้าอมม่วง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจะตามซอกใบ ช่อดอกห้อยลงยาว 0.8-1 เมตร ใบประดับสีเขียวและมีสีแดงเรื่อ ดอกรูปแตร โคนกลีบเป็นหลอดสั้นสีเหลืองปลายแยก 5 แฉก รูปกลม โคนกลีบล่างอันกลางมีแต้มสีม่วงเข้ม ดอกบานเต็มที่กว้าง 6-8 เซนติเมตร ปลูกได้ในดินทั่วไป ความชื้นปานกลาง แสงแดดเต็มวัน ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำเถา หรือหน่อ เปลือกและรากนำมาตำพอกแก้อาการช้ำบวมและแผลอักเสบ ใบนำมาชงเป็นชาแก้ปวดท้อง.

ดู พืชและสร้อยอินทนิล

สวาด

วาด หรือภาษาถิ่นทางภาคใต้เรียกว่า หวาด หรือ ตามั้ด มะกาเลิง เป็นไม้เลื้อย พบทั่วไปในเขตร้อน ประเทศไทยพบมากตามป่าละเมาะใกล้ทะเล ลักษณะลำต้นและกิ่งก้านของเถาสวาดมีหนามแหลมอยู่ทั่วไป เลื้อยพันต้นไม้อื่นโดยใช้หนามช่วยประคอง ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ขนาดใหญ่ ยาว 30-50 ซม.

ดู พืชและสวาด

สวนแสนปาล์ม

วนแสนปาล์ม เป็นสวนพฤกษศาสตร์ของพืชเฉพาะวงศ์ปาล์ม นับเป็นแหล่งรวบรวมปาล์มที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย ตั้งอยู่ภายในศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม โดยมีเนื้อที่ประมาณ 40 ไร.

ดู พืชและสวนแสนปาล์ม

สะระแหน่

ระแหน่ เป็นพืชในตระกูลมินต์ วงศ์กะเพรา มีแหล่งกำเนิดมาจากแถบยุโรปตอนใต้และแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 70 - 150 เซนติเมตร ส่วนใบจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับใบพืชในตระกูลมิ้นต์ มีกลิ่นหอมคล้ายใบมะนาว และทุก ๆ ปลายฤดูร้อนต้นสะระแหน่จะออกดอกสีขาว ๆ ที่เต็มไปด้วยน้ำหอมและน้ำหวานอยู่ภายใน นี้ดึงดูดใจให้ผึ้งมาดูดน้ำหวาน จากเหตุนี้ทำให้สะระแหน่อยู่ในสกุลเมลิสซา (Melissa: ภาษากรีก แปลว่าน้ำผึ้ง) และยังมีรสชาติคล้ายคลึงกับ ตะไคร้หอม, มะนาวและแอลกอฮอล.

ดู พืชและสะระแหน่

สะตอ

ตอ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Parkia speciosa) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ถั่ว (Fabaceae) มีกิ่งก้านที่มีขนละเอียดใบประกอบแบบขนนกสองชั้น จะออกช่อที่ปลายของกิ่งตามตำราแพทย์แผนไทย จะใช้เมล็ด ขับลมในลำไส้ แก้ปัสสาวะพิการ ไตพิการ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียใช้เมล็ดสดรับประทาน แก้อาการผิดปกติของไต สะตอ มีเมล็ดที่มีกลิ่นเหม็นเขียวรุนแรง แต่นิยมนำมารับประทานกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอาหารไทยปักษ์ใต้ หลังจากรับประทานสะตอเข้าไปจะมีกลิ่น สามารถดับกลิ่นสะตอ ด้วยการรับประทานมะเขือเปราะตามสักสองสามลูก สะตอเมื่อสุกจนฝักเป็นสีดำ เนื้อสะตอเป็นสีเหลืองบางๆ รับประทานได้ทั้งเม็ด เมล็ดในระยะนี้รสมัน เนื้อมีรสหวาน ถ้าแก่กว่าระยะนี้ ฝักจะแห้ง เมล็ดเป็นสีดำ แข็งและมีกลิ่นฉุนจัด กินไม่ได้.

ดู พืชและสะตอ

สะเดา

''Azadirachta indica'' สะเดา เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย เจริญได้ดีในที่แล้ง ใช้ประโยชน์ได้มากมายทั้งเป็นอาหารและสร้างที่อยู่อาศัย ในใบและเมล็ดสะเดามีสารอาซาดิเรซติน (Azadirachtin) ซึ่งมีฤทธิ์เป็นสารฆ่าแมลง ในเมล็ดมีน้ำมันที่เรียกว่า margosa oil ใช้เป็นสีย้อมผ้าและยาฆ่าพยาธิในสัตว์เลี้ยง ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด แต่ต้องรีบนำไปเพาะทันทีหลังจากเมล็ดร่วง มิฉะนั้น จะสูญเสียความสามารถในการงอกไปอย่างรวดเร็ว.

ดู พืชและสะเดา

สะเดาเทียม

ทียม, สะเดาช้าง หรือ เทียม เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานประจำจังหวัดสงขลา เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูงราว 20-35 เมตร ชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า Azadirachta excelsa (Jack) Jacobs.

ดู พืชและสะเดาเทียม

สับปะรด

ับปะรด (ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Ananas comosus) เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่งที่มีต้นกำเนิดมาจากบริเวณทวีปอเมริกาใต้ ลำต้นมีขนาดสูงประมาณ 80-100 เซนติเมตร การปลูกสามารถปลูกได้ง่ายโดยการฝังกลบหน่อหรือส่วนยอดของผลที่เรียกว่า จุก เปลือกของผลสับปะรดภายนอกมีลักษณะคล้ายตาล้อมรอบผล แต่ละท้องถิ่นเรียกสับปะรดแตกต่างกันออกไปเช่น.

ดู พืชและสับปะรด

สัก (พรรณไม้)

ัก เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน ลำต้นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็ก ๆ สีเทา โคนเป็นพูพอนต่ำ ๆ เรือนยอดเป็นพุ่มทรงกลมค่อนข้างทึบ เปลือกสีเทา เรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้นตามความยาวลำต้น ขึ้นเป็นหมู่ในป่าเบญจพรรณทางภาคเหนือ บางส่วนในภาคกลางและภาคตะวันตก มีอยู่บ้างทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สักมักจะได้รับความเข้าใจผิดเสมอว่าเป็นไม้เนื้อแข็งเนื่องจากว่ามันมีลักษณะพิเศษที่เป็นไม้เนื้ออ่อนที่มีความทนทานกว่าไม้เนื้อแข็งหลาย ๆ ชนิด ชื่อสามัญอื่นอื่น: เซบ่ายี้, ปีฮือ, ปายี้, เป้อยี.

ดู พืชและสัก (พรรณไม้)

สัตว์เลื้อยคลาน

ัตว์เลื้อยคลาน (reptile) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Reptilia มาจากคำว่า Repera ที่มีความหมายว่า "คลาน" เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่จัดเป็นสัตว์ในกลุ่มแรก ๆ ของโลกที่มีการดำรงชีวิตบนบกอย่างแท้จริง สัตว์เลื้อยคลานในยุคดึกดำบรรพ์ที่รอดชีวิตจากการสูญพันธุ์และยังดำรงชีวิตในปัจจุบัน มีจำนวนมากถึง 7,000 ชนิดชนิดของสัตว์เลื้อยคลาน, สัตววิทยา, บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 364 กระจายอยู่ทั่วโลกทั้งชนิดอาศัยในแหล่งน้ำและบนบก จัดเป็นกลุ่มของสัตว์ที่ประสบความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนสภาพร่างกายในการเอาตัวรอดจากเหตุการณ์หินอุกกาบาตพุ่งชนโลกมามากกว่า 100 ล้านปีมาแล้ว ในยุคจูแรสซิกที่อยู่ในมหายุคมีโซโซอิก ซึ่งมีอายุของยุคที่ยาวนานถึง 100 ล้านปี จัดเป็นยุคที่สัตว์เลื้อยคลานมีวิวัฒนาการจนถึงขีดสุด มีสัตว์เลื้อยคลานมากมายหลากหลายขนาด ตั้งแต่กิ้งก่าตัวเล็ก ๆ จนถึงไทรันโนซอรัส เร็กซ์ซึ่งเป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ ที่มีจำนวนมากมายครอบครองพื้นที่ทั่วทุกแห่งในโลก ยุคจูแรสซิกจึงถือเป็นยุคของสัตว์เลื้อยคลานอย่างแท้จริง ต่อมาภายหลังเกิดเหตุการณ์อุกกาบาตพุ่งชนโลก ทำให้กลุ่มสัตว์บกที่อาศัยในยุคจูแรสซิก เกิดล้มตายและสูญพันธุ์อย่างกะทันหันโดยไม่ทราบสาเหตุของการสูญพันธุ์ที่ชัดเจนและแน่นอน.

ดู พืชและสัตว์เลื้อยคลาน

สันโสก

ันโสก หรือ สามโสก หรือ เพี้ยฟาน (Burm. f.) อยู่ในวงศ์ Rutaceae ที่มีน้ำมันหอมระเหยในใบและส่วนต่างๆ ของต้น เป็น พืชสมุนไพรที่เชื่อว่ามีสรรพคุณในการรักษาโรคเอดส์และโรคมะเร็ง.

ดู พืชและสันโสก

สาบเสือ

ือ (Bitter bush, Siam weed) เป็นสมุนไพรอย่างหนึ่งที่หาง่ายมากมีอยู่ทั่วไป จัดว่าเป็นวัชพืชที่มีสรรพคุณทางยาที่ใช้ประโยชน์ได้ดีที่เดียว เราใช้" ต้นสาบเสือ" เป็นดรรชีชี้วัดอุณหภูมิความแห้งแล้งของอากาศ เพราะหากอากาศไม่แล้งต้นสาบเสือก็จะไม่ออกดอก สาเหตุที่ได้ชื่อว่า สาบเสือ ก็เพราะว่าดอกของมันไม่มีกลิ่นหอมเลยแต่กลับมีกลิ่นสาบ คนโบราณเวลาหนีสัตว์ร้ายอื่นเข้าดงสาบเสือจะปลอดภัย เพราะสัตว์อื่นนั้นจะไม่ได้กลิ่นคน.

ดู พืชและสาบเสือ

สายหยุด

หยุด หรือ สาวหยุด หรือ กาลัด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Desmos chinensisเป็นพืชมีดอกในวงศ์ Annonaceae เป็นไม้เลื้อยหรือไม้รอเลื้อยสูงได้ถึง 4 เมตร ดอกสีเขียวอมเหลือง คล้ายกับดอก Cananga odorata หรืออีลางอีลาง บางครั้งจึงเรียกอีลางอีลางแคร.

ดู พืชและสายหยุด

สายน้ำผึ้ง (พรรณไม้)

น้ำผึ้ง (Japanese honeysuckle; スイカズラ/吸い葛Suikazura Jinyinhuaใน ภาษาจีน)เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี เป็นไม้เลื้อย ดอกสีขาว ผลแบบเบอร์รีสีดำ มีเมล็ดไม่มากเกสรเป็นสีเหลืองอ่อน มีขนเล็กๆอยู่ด้านบน เกสรดอกไม้ใช้ทำยา มีฤทธิ์ขับร้อน ขับพิษ ใช้เป็นยาจีนเรียกจินหยิงฮวา (ภาษาจีนกลาง)หรือกิมหงึ่งฮวย (ภาษาจีนแต้จิ๋ว).

ดู พืชและสายน้ำผึ้ง (พรรณไม้)

สารภี (พรรณไม้)

รภี เป็นไม้ดอกยืนต้นพบในประเทศไทย ลาว เวียดนามและกัมพูชา เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลจังหวัดพะเยา สารภียังมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้: ทรพี (จันทบุรี) สร้อยพี (ใต้) สาหละปี (เชียงใหม่, เหนือ).

ดู พืชและสารภี (พรรณไม้)

สารอาหาร

วงจรของสารอาหารในมหาสมุทร สารอาหาร เป็น สารเคมีที่ สิ่งมีชีวิต ต้องการเพื่อการดำรงชีพ และ เติบโต หรือ เป็น สารที่ที่ใช้ในกระบวนการสร้างและสลาย โดยที่สิ่งมีชีวิตนั้นจะรับสารอาหารจากสิ่งแวดล้อมของมันWhitney, Elanor and Sharon Rolfes.

ดู พืชและสารอาหาร

สาละ

ละ เป็นพืชในวงศ์ Dipterocarpaceae เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาฮินดู เป็นที่ประทับของพระเจ้า และเป็นสัญลักษณ์แห่งอินทรา ในทางพุทธศาสนา ต้นสาละคือต้นที่พระพุทธมารดายืนเหนี่ยวกิ่งในขณะประสูติไม่ใช่ต้นสาละลังกา เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความสำคัญในอินเดีย ใช้ในการก่อสร้างโดยเฉพาะกรอบประตูและหน้าต่าง ใบอ่อนและตาดอกในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดี.

ดู พืชและสาละ

สาลี่ (ผลไม้)

left ดอกบานเต็มที่ สาลี่ หรือสาลี่จีน (Chinese pear; L.) มีชื่ออื่นๆอีกหลายชื่อ เช่น nashi pearในญี่ปุ่นเรียก nashi ภาษาเกาหลีเรียก shingo เป็นชื่อไม้ต้นชนิดหนึ่งในวงศ์ Rosaceae เป็นพืชเมืองหนาว ถิ่นกำเนิดในภาคตะวันตกของจีน พบขึ้นตามธรรมชาติในมณฑลเสฉวน ประเทศจีน ลักษณะเป็นไม้ยืนต้น ต้นชะลูด ทรงพีระมิด ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ ผลมีหลายสี ตั้งแต่เหลือง แดงอมส้ม น้ำตาล เขียว เนื้อกรอบ ฉ่ำน้ำ บางพันธุ์เนื้อเป็นทราย รสหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย กลิ่นหอม เมล็ดขนาดเล็ก แบนรี สีดำหรือสีน้ำตาลเกือบดำ.

ดู พืชและสาลี่ (ผลไม้)

สาหร่าย

หร่ายทะเลที่เกาะอยู่ตามหินชายฝั่ง สาหร่าย เป็นชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตหลายชนิดในอาณาจักรโครมาลวีโอลาตา เอกซ์คาวาตา ไรซาเรีย มีลักษณะคล้ายพืช แต่ไม่มีส่วนที่เป็นราก ลำต้น และใบที่แท้จริง มีขนาดตั้งแต่เล็กมากมีเซลล์เดียว ไปจนถึงขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมาก อาจเป็นเส้นสายหรือมีลักษณะคล้ายพืชชั้นสูงก็มี การแบ่งพวกสาหร่ายแบ่งตามรูปร่างลักษณะภายนอกหรือดูตามสี จึงมีสาหร่ายสีเขียว เขียวแกมน้ำเงิน น้ำตาล และสีแดง สาหร่ายสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศก็มี อาศัยเพศก็มี อย่าสับสนกับสาหร่ายบางชนิด เช่น สาหร่ายหางม้า สาหร่ายหางกระรอก สาหร่ายข้าวเหนียว สาหร่ายเหล่านี้ คือพืชดอกไม่ใช่โพรทิสต์ แหล่งที่อยู่ของสาหร่ายมีต่าง ๆ กัน ส่วนใหญ่อยู่ในน้ำ ทั้งน้ำจืด น้ำกร่อย น้ำเค็ม คุณค่าทางอาหารของสาหร่ายพบว่าไม่สูงมากนัก คาร์โบไฮเดรตที่มีอยู่เป็นพวกที่ย่อยยากในตัวคน โปรตีนก็มีน้อยแต่สิ่งที่ได้จากสาหร่าย คือ แร่ธาตุและวิตามินหลายชนิด นอกจากเป็นอาหารคน เช่น สาหร่ายอบกรอบ และปัจจุบันนำมาประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ แล้วยังใช้เป็นอาหารสัตว์ เป็นปุ๋ยและเป็นยา สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน สามารถจับไนโตรเจนในอากาศได้อย่างอิสระ (Nonsymbiotic Nitrogen Fixer) Anabaena, Oscillatoria, nostoc.

ดู พืชและสาหร่าย

สาหร่ายไก

หร่ายไก เป็นสาหร่ายน้ำจืดสีเขียวสกุล Cladophora และ Rhizocronium ที่พบทางภาคเหนือของประเทศไทย โดยเฉพาะแถบ แม่น้ำน่าน ในอำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน และแม่น้ำโขง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ซึ่งสาหร่ายชนิดนี้สามารถนำมารับประทานได้.

ดู พืชและสาหร่ายไก

สาธร (พรรณไม้)

ร เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลของจังหวัดนครราชสีมาและต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเท.

ดู พืชและสาธร (พรรณไม้)

สาเก (พรรณไม้)

ก หรือขนุนสำปะลอ (Breadfruit, มาลายาลัม: kada-chakkai, ฮาวาย: อุลุ, อินโดนีเซีย: สุกุน ตากาลอก: โคโล) เป็นไม้ผลพื้นเมืองของหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ต่อมาจึงแพร่หลายไปยังหมู่เกาะอินดีสตะวันตก และปลูกแพร่หลายทั่วไปในภูมิภาคเขตร้อน ต้นสาเกที่ปลูกในฮอโนลูลู รัฐฮาวาย สหรัฐอเมริก.

ดู พืชและสาเก (พรรณไม้)

สิงโตพัดเหลือง

งโตพัดเหลือง หรือ สิงโตพัดสีทอง ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า: Cirrhopetalum skeateanum (Ridl.) Garay / Bulbophyllum skeateanum Ridl.

ดู พืชและสิงโตพัดเหลือง

สิงโตพู่รัศมี

งโตพู่รัศมี (Bulbphyllum gracillimum) หรือสิงโตเคราแดง เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกยาวกว่าใบ ดอกสีม่วงแดง ขอบกลีบดอกมีขน ออกดอกช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม ในไทยพบที่ระนอง สุราษฎร์ธานีและนราธิว.

ดู พืชและสิงโตพู่รัศมี

สิงโตก้ามปูแดง

งโตก้ามปูแดง หรือสิงโตก้ามกาง ในประเทศไทยพบทางภาคใต้ ได้แก่ นครศรีธรรมราช ตรัง ปัตตานี นราธิวาส สิงโตกล้ามปูแดงเป็นกล้วยไม้อิงอาศัยขนาดกลาง มักเจริญเติบโตตามต้นไม้ในป่าที่ระดับความสูง 200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล (พบตามป่าดิบเขาทางภาคใต้ของไทย) เหง้ายาวและมีขน ลำลูกกล้วย รูปทรงกระบอก กว้างประมาณ 1 ซม.

ดู พืชและสิงโตก้ามปูแดง

สิงโตรวงข้าวฟ่าง

งโตรวงข้าวฟ่าง (Bulbphyllum crassipes) เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกอวบสั้น ดอกขนาดเล็กเรียงอัดแน่น ดอกสีส้มแดง กลีบปากสีส้มอมเหลือง ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ในไทยพบที่พิษณุโลกและระนอง.

ดู พืชและสิงโตรวงข้าวฟ่าง

สิงโตลินด์เลย์

งโตลินด์เลย์ (Bulbphyllum lindleyanum) หรือสิงโตขนปุย เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกโค้งลงมีดอกย่อยจำนวนมาก กลีบเลี้ยงสีครีม มีเส้นพาดสีส่วง ปลายกลีบสีม่วง ทั้งกลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีขนปุยขึ้นปกคลุม ดอกมีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงพฤศจิกายนถึงมกราคม ในไทยพบที่ระนอง.

ดู พืชและสิงโตลินด์เลย์

สิงโตหลอดไฟ

งโตหลอดไฟ หรือ สิงโตโคมไฟ (Bulbphyllum odoratissimum) เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ดอกขนาดเล็กเรียงอัดแน่น กลีบเลี้ยงสีขาวหรือขาวนวล ปลายกลีบสีส้ม กลีบดอกสีขาวหรือขาวนวล ดอกบานเต็มที่มีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงมิถุนายนถึงกรกฎาคม ในไทยพบที่ เชียงใหม่ จันทบุรี และกาญจนบุรี.

ดู พืชและสิงโตหลอดไฟ

สิงโตดอกไม้ไฟ

งโตดอกไม้ไฟ เป็นกล้วยไม้ขนาดเล็กในสกุลสิงโต ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกแบบกระจุก มีดอกจำนวนมากอยูปลายท่อ สีขาว ผิวกลีบไม่เรียบ ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายนพบในประเทศไทย คาบสมุทรมลายู และบอร์เนียว ในไทยพบที่สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และนราธิว.

ดู พืชและสิงโตดอกไม้ไฟ

สิ่งมีชีวิต

งมีชีวิต จะมีคุณลักษณะ (properties) ที่ไม่พบในสิ่งไม่มีชีวิต อันได้แก่ความสามารถในการใช้สสารและพลังงานเป็นสำคัญ ซึ่งได้รับถ่ายทอดจากบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตแรกเริ่ม อย่างไรก็ตามสิ่งมีชีวิตเริ่มแรกหรือบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตซึ่งถือกำเนิดมาบนโลกกว่า 4 พันล้านปี เมื่อผ่านการวิวัฒนาการและการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมในแต่ละช่วงเวลา ก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตเป็นจำนวนมากดังที่ปรากฏในปัจจุบัน.

ดู พืชและสิ่งมีชีวิต

สุพรรณิการ์

อกสุพรรณิการ์แบบชั้นเดียวในบราซิล กำลังแก้ไข สุพรรณิการ์ สุพรรณิการ์ เป็นไม้ผลัดใบที่มีถิ่นกำเนิดในแถบทุ่งหญ้าเขตร้อนแซราดู (Cerrado) ในทวีปอเมริกาใต้ (บริเวณประเทศบราซิล, โบลิเวีย, ปารากวัย) แต่ปัจจุบันพบได้ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เช่นกัน สุพรรณิการ์มีลักษณะทางพฤกษศาสตร์ใกล้เคียงกับฝ้ายคำมาก ข้อแตกต่างที่สำคัญประการหนึ่งคือ ฝ้ายคำจะออกดอกเพียงชั้นเดียว มี 5 กลีบ และบานทีละดอก ในขณะที่สุพรรณิการ์จะมีทั้งชนิดที่ออกดอกชั้นเดียวและชนิดที่ออกดอกซ้อนกันเป็นกระจุกแน่น โดยบานพร้อม ๆ กัน ในประเทศไทยนิยมปลูกสุพรรณิการ์เป็นไม้ประดับ โดยได้รับการกำหนดให้เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดนครนายก และเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดนครนายก สระบุรี บุรีรัมย์ สุพรรณบุรี และอุทัยธานี.

ดู พืชและสุพรรณิการ์

สุคนธบำบัด

นธบำบัด (aromatherapy) คือ การบำบัดโดยการใช้กลิ่น ซึ่งได้มาจากพืชโดยวิธีการสกัดเอาสารสำคัญที่เรียกว่า น้ำมันหอมระเหย (essential oil) มาใช้ในการบำบัด ซึ่งมีหลายวิธี แต่หลักการสำคัญคือ เมื่อร่างกายได้รับสารสำคัญจากน้ำมันหอมระเหยแล้วจะมีผลต่อระบบการทำงานในร่างกาย ที่ควบคุมระบบประสาท ระบบฮอร์โมนในร่างก.

ดู พืชและสุคนธบำบัด

สตรอว์เบอร์รี

ตรอว์เบอร์รี (strawberry) เป็นสกุลไม้ดอกในวงศ์กุหลาบ ผลสามารถรับประทานได้ ในอดีตปลูกเป็นพืชคลุมดินให้กับต้นไม้ปลูกเลี้ยงอื่น ซึ่งอาจเป็นที่มาของชื่อก็เป็นได้ มีมากกว่า 20 สปีชีส์ และมีลูกผสมมากมาย แต่สตรอว์เบอร์รีที่นิยมปลูกมากในปัจจุบันก็คือสตรอว์เบอร์รีสวน (Fragaria × ananassa) ผลของสตรอว์เบอร์รีมีรสชาติหลากหลายขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ มีตั้งแต่รสหวานจนถึงเปรี้ยว สตรอเบอร์รีเป็นผลไม้ทางการค้าที่สำคัญ มีปลูกกันเป็นวงกว้างหลายสภาพอากาศทั่วโลก.

ดู พืชและสตรอว์เบอร์รี

สปอร์

ปอร์ของเฟิร์น สปอร์ของเห็ดรา ในทางชีววิทยา สปอร์เป็นโครงสร้างการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตในสภาวะที่ไม่เหมาะสม เช่น เกิดความแห้งแล้ง พบในสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เช่น พืช สาหร่าย เห็ดรา และโพรโทซัว การเกิดสปอร์เป็นได้ทั้งการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ และการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ พบในเห็ดรา มอส เฟิร์น และ พืชตระกูลที่อยู่ในวงศ์ Fabaceae หรือ Leguminosae เป็นพืชกลุ่มใหญ่เป็นอันดับ 3 รองจากพืชวงศ์ทานตะวัน และพืชวงศ์กล้วยไม้ มีสมาชิกประมาณ 550 สกุล 18,000 สปีชีส์ พบกระจายไปทั่วโลก และสปอร์ ยังพบได้ในพืชกลุ่มที่มี สปอโรไฟต์ โดยศาสตรจารย์ Toukanong.Tkn ได้ค้นพบ สิ่งสำคัญทางชีวะวิทยา คือ พืชที่มี สปอร์ ที่ชื่อว่า เต่าคะนอง โดยพืชนี้ได้รับการลงความเห็นจากสหประชาชาติว่า อาจเป็นพืชต้นกำเนิดของพืชทั่วโลก ชื่อวิทยาศาสตร์: Fabaceae สายพันธุ์ที่เหนือกว่า: อันดับถั่ว ชั้น: วง.

ดู พืชและสปอร์

สนวอลลีเมีย

นวอลลีเมีย หรือ Wollemia เป็นสกุลของพืชเมล็ดเปลือยจำพวกสนในวงศ์ Araucariaceae แต่เดิม พืชในสกุล Wollemia พบเพียงแต่ที่เป็นฟอสซิล จนกระทั่งพบต้นที่ยังมีชีวิตในออสเตรเลีย Wollemia nobilis ใน..

ดู พืชและสนวอลลีเมีย

สนดำญี่ปุ่น

สนดำญี่ปุ่น (Japanese black pine) เป็นสนพื้นเมืองในพื้นที่ชายฝั่งของญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ สามารถเติบโตได้สูงถึง 40 เมตร แต่พบที่มีความสูงเท่านี้ได้น้อยมาก ใบมีลักษณะยาวแหลมเหมือนเข็มอยู่เป็นคู่กัน ยาวประมาณ 7-12 เซนติเมตร ลูกสนยาว 4-7 เซนติเมตร เนื่องจากสนชนิดนี้มีความทนทานต่อมลพิษและความเค็มของดิน จึงนิยมนำไปปลูกประดับภายในสวน และยังถือว่าเป็นหนึ่งในพืชชนิดแรกๆที่ถูกนำมาทำเป็นบอนไซ ในทวีปอเมริกาเหนือ สนชนิดนี้กำลังประสบปัญหาถูกคุกคามจากหนอนไม้สน ซึ่งเป็นปรสิตท้องถิ่นที่มีแมลงปีกแข็งเป็นพาหะ และยังมีเห็ดราสีฟ้าชนิดหนึ่งที่คอยเบียดเบียนและแย่งอาหารสนชนิดนี้ ทำให้สนดำญี่ปุ่นล้มตายเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ หนอนไม้สนยังได้แพร่พันธุ์เข้าไปในญี่ปุ่น ส่งผลให้สนดำญี่ปุ่นอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์ไปจากถิ่นกำเนิด หมวดหมู่:วงศ์สนเขา.

ดู พืชและสนดำญี่ปุ่น

สนเกรวิลเลีย

นเกรวิลเลีย (Grevillea;ชื่อสามัญ: Grevillea;; Spider Flower; Silky-oak; Toothbrush) เป็นสกุลที่หลากหลายมีสามชิกประมาณ 360 ชนิด อยู่ในวงศ์ Proteaceae เป็นพืชพื้นเมืองในออสเตรเลีย เกาะนิวกินี เกาะนิวคาลาโดเนียและเกาะสุลาเวสี ตั้งชื่อตาม Charles Francis Greville.

ดู พืชและสนเกรวิลเลีย

ส้ม

'ส้ม' เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิด เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ สกุล Citrus วงศ์ Rutaceae มีด้วยกันนับร้อยชนิด เติบโตกระจายอยู่ทั่วโลก โดยมากจะมีน้ำมันหอมระเหยในใบ ดอก และผล และมีกลิ่นฉุน หากนำใบขึ้นส่องกับแสงแดด จะเห็นจุดเล็กๆ เต็มไปหมด ซึ่งจุดเหล่านั้นก็คือแหล่งน้ำมันนั่นเอง ส้มหลายชนิดรับประทานได้ ผลมีรสเปรี้ยวหรือหวาน มักจะมีแคลเซียม โปแทสเซียม วิตามินเอ และ วิตามินซี มากเป็นพิเศษ ถ้าผลไม้จำพวกนี้มี มะ อยู่หน้า ต้องตัดคำ ส้ม ออก เช่น ส้มมะนาว ส้มมะกรูด เป็น อนุกรมวิธานของส้มนั้น มีความยุ่งยากและสับสนมาช้านาน และเป็นที่ถกเถียงในการจำแนกและตั้งชื่อชนิด (สปีชีส์) ของส้มอยู่เสมอ และการจำแนกกลุ่มยังขึ้นกับนักอนุกรมวิธานด้วย เช่น สวิงเกิล (Swingle) จำแนกได้ 16 ชนิด, ทานาคา (Tanaka) จำแนกได้ 162 ชนิด และฮอจสัน (Hodgson) จำแนก 36 ชนิด ขณะที่บางท่านเสนอว่าส้มทั้งหลายจัดเป็นพืชชนิดเดียวกัน ที่สามารถผสมพันธุ์ระหว่างกันได้ ขณะเดียวกัน การจำแนกอย่างละเอียดของทานาคา ก็สร้างความสำเร็จได้ เนื่องจากพบในภายหลังว่า บางชนิดเป็นเพียงการผสมข้ามสายพันธุ์เท่านั้น ด้วยเหตุนี้จึงไม่แปลกหากเราจะพบชื่อวิทยาศาสตร์ของส้มหลายชนิดที่แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อความแน่นอน จึงมักจะระบุถึงนักอนุกรมวิธานผู้จำแนกเอาไว้ด้วยพืชตระกูลส้ม ปัจจุบันนี้ มีการใช้เทคนิคในการระบุเอกลักษณ์ด้วยดีเอ็นเอ (DNA) และมีการเสนอว่าอาจจะมีชนิดพื้นฐานของส้มอย่างกว้างๆ 4 ชนิด ด้วยกัน คือ.

ดู พืชและส้ม

ส้มมือ

้มมือ หรือ ส้มโอมือ เป็นผลไม้ชนิดหนึ่งจำพวกส้ม เป็นส้มที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง พบได้ทั่วไปในภูมิภาคเขตร้อน ส้มชนิดนี้มีชื่อต่าง ๆ กันในหลากหลายภาษา แต่โดยมากมีความหมายคล้ายกันว่า นิ้วมือ เช่น ภาษาจีนเรียก ฝอโส่ว ซึ่งแปลว่า นิ้วพระหัตถ์ของพระพุทธเจ้า ภาษาอังกฤษเรียก Buddha's Hand ซึ่งแปลว่า พระหัตถ์ของพระพุทธเจ้า หรือ fingered citron ซึ่งแปลว่า ส้มนิ้ว ส้มมือเป็นไม้พุ่ม มีหนามยาวแข็ง ใบประกอบลดรูปเหลือใบเดียว ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกสีขาว กลิ่นหอม ผลรูปร่างแปลกกว่าส้มอื่น ๆ กล่าวคือ มีรูปร่างเรียวยาวห้อยลงมาเป็นแฉก ๆ คล้ายนิ้วมือ ขนาดใกล้เคียงหรือใหญ่กว่านิ้วมือผู้ใหญ่ และอาจมีความยาวได้ถึง 12 นิ้ว เมื่อสุกผลมีสีเหลืองสด เปลือกหนาคล้ายฟองน้ำอย่างส้มโอ เนื้อแห้งไม่ชุ่มน้ำ มีกลิ่นหอมอย่างมะนาว นิยมใช้ทำยาดมส้มโอมือ เครื่องหอม ผสมน้ำยาทำความสะอาด ไม่ใช้ผลรับประทาน แต่อาจนำเปลือกมาใช้ผสมอาหารได้ ในประเทศจีนและญี่ปุ่นนิยมนำไปไว้ในห้องนอนและห้องน้ำเพื่ออบกลิ่น.

ดู พืชและส้มมือ

ส้มจี๊ด

ผลส้มจี๊ดผ่าครึ่ง พายส้มจี๊ด ส้มจี๊ด หรือ ส้มกิมจ๊อ ชื่อวิทยาศาสตร์: Citrus Japonica Thunb ชื่อวงศ์: RUTACEAE ไม้พุ่มขนาดกลาง แตกแขนงเป็นพุ่มแน่น ใบรูปไข่ สีเขียวสดเป็นมัน มีหูใบขนาดเล็ก ดอกออกดอกเดี่ยว แต่มักออกรวมกันเป็นกลุ่ม มีสีขาว ติดผลดก ผลกลมเหมือนส้มทั่วไป แต่มีขนาดเล็ก เป็นส้มชนิดที่กินเปลือก ผลขนาดเล็ก มีทั้งกลมและรี เปลือกสีเหลือง เหลืองอมเขียว หรือเหลืองทอง ผลดก ผิวที่หนา มีรสเปรี้ยว อมหวานเฝื่อนนิดๆ จึงนิยมนำเปลือกไปดองเค็มเรียกกิมจ๊อ เป็นพืชท้องถิ่นในประเทศจีน แล้วจึงแพร่หลายไปสู่ญี่ปุ่น ไต้หวัน และเกาหลี ภาษาจีนกวางตุ้งเรียกว่าก่ำควิด ซึ่งเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษ kumquat เป็นได้ทั้งไม้กินผลและไม้ประดับ เปลือกส้มมีสรรพคุณช่วยขับลม ช่วยย่อย ทำให้เจริญอาหาร ขับเสมหะ ดองเกลือและทำให้แห้ง อมแก้เจ็บคอ แต่งรสเปรี้ยวในการทำน้ำผลไม้ ใช้ทำแยม.

ดู พืชและส้มจี๊ด

ส้มโอ

้มโอ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในตระกูลเดียวกับส้ม มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือ โกร้ยตะลอง (ภาษาเขมร) มะขุน (เหนือ) มะโอ (เหนือ) ลีมาบาลี (มลายู ยะลา) และ สังอู (กะเหรี่ยง มลายู) มีชื่อสามัญในภาษาอังกฤษว่า Pomelo ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาดัตช์ pompelmoes ซึ่งแปลตรงตัวว่า "ส้มที่ลูกเท่าฟักทอง" นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ดู พืชและส้มโอ

สเตอรอยด์

ตอรอยด์ (อังกฤษ: steroid) เป็นลิพิดที่มีคุณสมบัติพิเศษ โดยที่โครงสร้างคาร์บอนจะเป็นวงแหวน 4 วงเชื่อมต่อกัน ความแตกต่างของชนิดสเตอรอยด์จะผันแปรไปตามฟังก์ชันนัลกรุป (functional group) ที่ติดอยู่กับวงแหวนเหล่านี้ มีสเตอรอยด์แตกต่างกันนับร้อยชนิดที่สามารถตรวจพบในพืชและสัตว์ ตัวอย่างบทบาทสำคัญของสเตอรอยด์ในสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่คือ ฮอร์โมน Steroid skeleton.

ดู พืชและสเตอรอยด์

หญ้า

หญ้า เป็นพืชล้มลุกหลายชนิด หลายสกุล ในชั้น Liliopsida วงศ์ Poaceae หรือเป็นที่รู้จักกันดีว่าวงศ์ Gramineae เช่น หญ้าคา (Imperata cylindrica Beauv.) หญ้าตีนกา (Eleusine indica Gaertn.) หญ้าแพรก (Cynodon dactylon Pers.) หญ้าที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ชื่อว่า ธูปฤาษี มีพืชชนิดนี้ประมาณ 600 สกุล และมีประมาณ 10,000 ชนิด มีการประเมินกันว่าหญ้าเป็นพืชที่ปกคลุมผิวโลกกว่า 20% ของพืชทั้งหมดบนโลก พืชในวงศ์นี้เป็นพืชที่มีความสำคัญที่สุดต่อเศรษฐกิจมนุษย์ รวมไปถึง ใช้เป็นสนามหญ้า, อาหารหลักที่ปลูกทั่วโลก, และไม้ไผ่ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในการสร้างในเอเชีย แต่บางชนิดจัดเป็นวัชพืช ปัจจุบัน หญ้าเริ่มมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในด้านการนำมาใช้ผลิตพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนอีกด้วย เช่นหญ้ามิสแคนทัส และ หญ้ามิสแคนทัสช้าง พืชในวงศ์หญ้าที่เรารู้จักดี เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่าง ข้าวโอ้ต ข้าวไรย์ ลูกเดือย หญ้าไรย์ อ้อย ไผ่ ตะไคร้ เป็นต้น.

ดู พืชและหญ้า

หญ้ากุศะ

หญ้ากุศะ (ชื่อวิทยาศาสตร์ Desmostachya bipinnata) เป็นหญ้าในวงศ์ Gramineae (Poaceae) มีถิ่นกำเนิดที่ประเทศอินเดียและเนปาล ชอบขึ้นในที่แห้งแล้งริมฝั่งแม่น้ำ โดยจะขึ้นเป็นกอเหง้าใหญ่ ใบอวบรูปยาวเหมือนหอก ขอบใบคม ดอกเป็นช่อรูปพีระมิด หรือเป็นแท่งตั้งตรง แข็ง สีน้ำตาลอ่อน ออกดอกตลอดฤดูฝน ขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ด และแยกกอ หญ้ากุศะเป็นหญ้าชนิดหนึ่งซึ่งถือกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มาก เนื่องจากเป็นหญ้าที่ปรากฏในพุทธประวัติว่า ในวันก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้ เจ้าชายสิทธัตถะได้รับถวายหญ้าชนิดนี้จำนวน 8 กำมือจากพราหมณ์โสตถิยะ และเจ้าชายสิทธัตถะได้นำหญ้ากุศะไปปูรองนั่งเป็นพุทธบัลลังก์ในวันที่พระองค์ตรัสรู้ ทำให้ชาวพุทธถือว่าหญ้านี้มีความสำคัญมาก และจัดให้หญ้านี้เป็นต้นไม้สำคัญชนิดหนึ่งในพุทธประวัติ ชาวฮินดูนับถือว่าหญ้านี้มีความศักดิ์สิทธิ์เช่นกัน โดยนำหญ้านี้มาประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ในวันแรม 15 ค่ำ​เดือน 9 หรือที่เรียกว่า กุโศตปาฎนีอมาวสยา เพื่อเป็นการบูชาพระกฤษณะ เทพเจ้าองค์หนึ่งของศาสนาฮินดู หญ้ากุศะยังมีสรรพคุณทางยาสมุนไพร คือ ใช้ทั้งต้นเป็นยาฝาดสมาน​ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ รากมีรสหวาน เป็นยาเย็น แก้อาการกระหายน้ำได้อีกด้ว.

ดู พืชและหญ้ากุศะ

หญ้าฝรั่น

หญ้าฝรั่น หรือ สรั่น บรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ดู พืชและหญ้าฝรั่น

หญ้ามิสแคนทัส

หญ้ามิสแคนทัส (ชื่อสกุลทางวิทยาศาสตร์ Miscanthus) เป็น สกุล (genus) ของหญ้าพืชหลายปี ประมาณ 15 ชนิด มีถิ่นกำเนิดในถิ่นกึ่งโซนร้อนของแอฟริกาและเอเซียใต้ โดยมีหญ้ามิสแคนทัสชนิดไซเนนซิส หรือ "หญ้าซูซูกิ" (M.

ดู พืชและหญ้ามิสแคนทัส

หญ้ามิสแคนทัสช้าง

หญ้ามิสแคนทัสช้าง (Miscanthus giganteus) เป็นหญ้ามิสแคนทัสชนิดพืชหลายฤดูชนิดหนึ่ง (perennial grass) ขนาดใหญ่ (ที่สามารถสูงได้ถึง 4 เมตร) ที่นำมาใช้ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ ปัจจุบันมีการผลิตเชิงการค้าในสหราชอาณาจักรซึ่งกำลังเป็นที่ต้องการของตลาดที่เพิ่มกำลังเพิ่มอย่างรวดเร็ว นอกจากการใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับผลิตไฟฟ้าและความร้อนที่มีราคาประหยัดแล้ว หญ้ามิสแคนทัสช้างยังเป็นพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ด้วยระบบรากที่มีขนาดใหญ่มันจึงสามารถหาอาหารได้ดีกว่า นอกจากนี้ลำต้นส่วนล่างที่สูงยังใช้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ต่างๆ ตามธรรมชาติได้ดีด้วย การให้ผลผลิตต่อไร่ที่สูงและไม่ต้องการการดูแลมาก หญ้ามิสแคนทัสช้างจึงมีความเหมาะสมมากในการเก็บกักคาร์บอนและใช้ในการสร้างดิน.

ดู พืชและหญ้ามิสแคนทัสช้าง

หญ้าลอยลม

หญ้าลอยลม เป็นหญ้าที่ขึ้นตามชายหาด ลำต้นทอดเกาะติดกับผืนทราย ลำต้นเหนียวขึ้นทอดต่อกันเป็นร่างแหคลุมพื้นทราย โดยหยั่งรากยึดเป็นจุด ๆ ใบงอกจากต้นเป็นรูปดาวกระจาย เมื่อถูกทรายกลบจะแทงยอดใหม่ขึ้นมาใหม่ได้ และใบที่หลุดออกจากต้นก็จะปลิวตามลมแล้วไปงอกเป็นต้นใหม่ได้เช่นกัน ใบแข็ง ป้องกันการสูญเสียน้ำ ระบบรากและลำต้นแบบร่างแหช่วยยึดผืนทรายและหาน้ำ และคอยดักเศษไม้เศษใบไว้ย่อยสลายสะสมเป็นสารอินทรีย์หน้าผิวดิน ช่อดอกออกเป็นรัศมีทุกทาง เมื่อผลแก่ ช่อผลจะหลุดจากต้น.

ดู พืชและหญ้าลอยลม

หญ้าละออง

หญ้าละออง Less.

ดู พืชและหญ้าละออง

หญ้าหวาน

หญ้าหวาน หรือ สเตเวีย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Stevia rebaudiana Bertoni อยู่ในวงศ์ Asteraceae เป็นพืชพื้นเมืองทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศปารากวัยในทวีปอเมริกาใต้ ความพิเศษของหญ้าหวาน คือ ส่วนของใบให้ความหวานมากกว่าน้ำตาลถึง 10-15 เท่า แต่ความหวานนี้ไม่ก่อให้เกิดพลังงานแต่อย่างไร (0 แคลอรี/กรัม) นอกจากนี้ยังมีสารสกัดที่เกิดจากหญ้าหวานชื่อว่า สตีวิโอไซด์ (stevioside) เป็นสารที่ให้ความหวานมากกว่า 200-300 เท่าของน้ำตาล ด้วยความพิเศษของหญ้าหวานนี้ หญ้าหวานจึงเป็นพืชที่ได้รับความสนใจทั้งทางด้านอุตสาหกรรม การแพทย์ ยาสมุนไพร เครื่องดื่ม เป็นต้น มนุษย์รู้จักนำสารสกัดที่มีรสหวานจากหญ้าหวานมาบริโภคหลายศตวรรษแล้วโดยชาวพื้นเมืองในประเทศปารากวัย โดยนำหญ้าหวานมาผสมกับเครื่องดื่ม เช่น ชา นอกจากนี้ชาวญี่ปุ่นยังนำสารให้ความหวานมาผสมกับผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น ผักดอง ซีอิ๊ว เต้าเจี้ยว เนื้อปลาบด เป็นต้น หญ้าหวานเริ่มเข้าสู่ประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.

ดู พืชและหญ้าหวาน

หญ้าหนวดแมว

หญ้าหนวดแมว (ชื่อพ้อง: O. grandiflorus Bold, O. stamineus Benth.) หรือ พยับเมฆ (กรุงเทพฯ), อีตู่ดง (เพชรบูรณ์), บางรัก (ประจวบคีรีขันธ์) อยู่ในวงศ์ Lamiaceae (Labiatae) ซึ่งเป็นพืชที่จัดอยู่ในพวกเดียวกับกะเพราและโหร.

ดู พืชและหญ้าหนวดแมว

หญ้าน้ำค้าง

หญ้าน้ำค้าง หรือ หยาดน้ำค้าง เป็นพืชกินแมลงในสกุลหยาดน้ำค้าง กระจายพันธุ์ในเขตร้อน พบได้ในประเทศออสเตรเลียและทวีปเอเชียจนถึงทวีปแอฟริกาแต่ไม่พบในเขตนีโอทรอป.

ดู พืชและหญ้าน้ำค้าง

หญ้าแพรก

หญ้าแพรก เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และยุโรปใต้ ส่วนชื่อ หญ้าเบอร์มิวดา มาจากการที่หญ้าแพรกเป็นพืชต่างถิ่นรุกรานในเบอร์มิวดา แต่ไม่ได้เกิดขึ้นที่นั่น ในประเทศไทย ชาวเหนือ เรียกว่า "หญ้าเป็ด" ส่วนชาวกะเหรี่ยง เรียกว่า "หน่อเก่เด".

ดู พืชและหญ้าแพรก

หญ้าแฝก

หญ้าแฝก เป็นพืชที่มีระบบรากลึกและแผ่กระจายลงไปในดินตรงๆ เป็นพืชที่มีอายุได้หลายปี ขึ้นเป็นกอแน่น มีใบเป็นรูปขอบขนานแคบปลายขอบแหลม ยาว 35-80 เซนติเมตร มีส่วนกว้าง 5-9 มิลลิเมตร สามารถขยายพันธุ์ที่ได้ผลรวดเร็ว โดยการแตกหน่อจากลำต้นใต้ดิน ในบางโอกาสสามารถแตกแขนงและรากออกในส่วนของก้านช่อดอกได้ เมื่อหญ้าแฝกโน้มลงดินทำให้มีการเจริญเติบโตเป็นกอหญ้าแฝกใหม่ได้ หญ้าแฝกมีอยู่ 2 สายพันธุ์คือ.

ดู พืชและหญ้าแฝก

หญ้าไฟตะกาด

หญ้าไฟตะกาด (shield sundew) เป็นพืชในสกุลหยาดน้ำค้างที่มีหัวใต้ดิน มีการกระจายพันธุ์เป็นวงกว้าง ชื่อในภาษาละติน peltata แปลว่า รูปโล่ ซึ่งหมายถึงรูปทรงของก้านใบBruce Salmon, "Carnivorous Plants of New Zealand", Ecosphere publications, 2001โดยทั่วไปหยาดน้ำค้างชนิดมีหัวใต้ดินส่วนมากจะเป็นใบกระจุกแนบดิน แต่หญ้าไฟตะกาดลำต้นจะตั้งขึ้น ช่อดอกเป็นกิ่งแขนง หญ้าไฟตะกาดยังมีชื่อท้องถิ่นอื่นๆอีกดังนี้: หยาดน้ำค้าง (เลย) ปัดน้ำ (ตะวันออกเฉียงเหนือ,เลย).

ดู พืชและหญ้าไฟตะกาด

หมากสง

หมากสง หรือที่เรียกทั่วไปว่า "หมาก" (พืชที่เรียกว่า "หมาก" นั้น มีด้วยกันหลายชนิด นักพฤกษศาสตร์จึงเรียกหมากที่ใช้กินกับใบพลูว่า "หมากสง") เป็นพืชจำพวกปาล์ม เป็นชนิดหนึ่งในสกุล Arecaceae นับว่ามีความสำคัญมากทั้งในด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในหลายท้องถิ่น ในทวีปเอเชีย รวมทั้งประเทศไทยด้วย ส่วนสำคัญของพืชชนิดนี้ คือ เมล็ด ซึ่งมีสารจำพวก อัลคาลอยด์ (alkaloid) อันประกอบด้วย อาเรเคน (arecaine) และ อาเรโคลีน (arecoline) นิยมนำมาเคี้ยวกับหมากใบและใบพลู ซึ่งนับว่าเป็นสารเสพติดอย่างอ่อน หมากพบได้ในหลายประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ แถบมหาสมุทรแปซิฟิกในส่วนที่เป็นเขตร้อน และบางส่วนของทวีปแอฟริกา ในภาษาอังกฤษ เรียกหมากว่า "Betel palm" หรือ "Betel nut" ทั้งๆ ที่ คำว่า " betel" แปลว่า พลู ที่เรียกเช่นนี้ เพราะชาวอังกฤษ (ในสมัยโบราณ) เห็นว่าหมากนิยมเคี้ยวกับพลูนั่นเอง.

ดู พืชและหมากสง

หมากแดง

หมากแดง เป็นปาล์มกอ ขนาดลำต้นประมาณ 2 -2.5 นิ้ว สูงได้ถึงประมาณ 4 เมตร ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ดินมีอินทรีย์วัตถุมากๆ เช่นป่าพรุในภาคใต้ ในธรรมชาติพบได้แถวป่าพรุโต๊ะเด็งในจังหวัดนราธิวาส แต่ปัจจุบันหายากมาก แต่จะหาได้ตามร้านขายไม้ประดับ เพราะปัจจุบันนียมขยายพันธุ์เป็นไม้ประดับ สำหรับจัดสวนทั่วไป ลักษณะเด่นคือกาบที่หุ้มใบเป็นสีส้มเข้มจนถึงสีแดง ใบเป็นรูปก้างปลาสีเขียวเข้ม ลักษณะผลเป็นทะลาย ผลเมื่ออ่อนจะเป็นสีเขียว เมื่อแก่จะเป็นสีน้ำตาล เมื่อสุกเต็มที่พร้อมที่จะเพาะพันธุ์ได้จะมีเปลือกสีดำ ขยายพันธุ์ได้ทั้งวิธีการแยกหน่อและเพาะเมล็ด left.

ดู พืชและหมากแดง

หมามุ้ย

หมามุ้ย หรือ หมามุ่ย ชื่อวิทยาศาสตร์ Mucuna pruriens DC.

ดู พืชและหมามุ้ย

หมาจิ้งจอกทอง

หมาจิ้งจอกทอง หรือ หมาจิ้งจอกเอเชีย (pmc Reed wolf) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Canis aureus ในวงศ์สุนัข (Canidae) และถึงแม้ว่าจะได้ชื่อสามัญว่าในภาษาไทยว่า "หมาจิ้งจอก" แต่ก็มิได้เป็นหมาจิ้งจอกแท้ ๆ เพราะมิได้อยู่ในสกุล Vulpini แต่จัดเป็นหมาป่าที่มีขนาดเล็ก (แจ็กคัล) กว่าหมาใน.

ดู พืชและหมาจิ้งจอกทอง

หมาไม้

หมาไม้ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่งในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีรูปร่างคล้ายพญากระรอกดำ (Ratufa bicolor) มีลักษณะเด่นคือ ตั้งแต่ใต้คอลงไปถึงหน้าอกมีสีเหลือง ส่วนหัวด้านบนมีสีดำ ขาสั้นเมื่อเทียบกับขนาดตัว ตัวผู้มีฟันเขี้ยวขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย หางยาวพอ ๆ กับความยาวลำตัว หมาไม้ชนิดย่อยที่อาศัยอยู่ทางภาคเหนือของทวีปเอเชียจะมีขนาดใหญ่กว่าชนิดที่อาศัยอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีความยาวลำตัวและหัว 45–60 เซนติเมตร ความยาวหาง 38–43 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–3 กิโลกรัม หมาไม้เป็นสัตว์ที่มีกลิ่นตัวแรงมาก มีความคล่องแคล่วปราดเปรียวมาก สามารถหากินได้ทั้งบนต้นไม้และพื้นดิน กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งพืชและสัตว์ ทั้งสัตว์ฟันแทะ, แมลง, สัตว์เลื้อยคลาน, นก หรือ ไข่นก บางครั้งอาจเข้ามาหาอาหารที่นักท่องเที่ยวป่าทิ้งไว้ตามเต๊นท์ นอกจากนี้ยังสามารถกินผึ้งและน้ำผึ้งเหมือนหมีได้อีกด้วย มักหากินในเวลากลางวัน แต่บางครั้งอาจหากินในเวลากลางคืน มักจะหากินแต่เพียงลำพังหรือเป็นคู่ไม่มากกว่านั้น หมาไม้ตัวเมียจะตั้งท้องนาน 220–290 วัน ออกลูกครั้งละ 3–5 ตัว อายุขัยในสถานที่เลี้ยงประมาณ 14 ปี เป็นสัตว์ที่มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทางตะวันออกของอัฟกานิสถาน, ภาคเหนือของปากีสถาน, รัฐแคชเมียร์และรัฐอัสสัมของอินเดีย, ภาคเหนือของพม่า, ภาคใต้และภาคตะวันออกของจีน, ไต้หวัน, ไทย, ลาว, ตอนเหนือของกัมพูชา, ภาคเหนือและภาคกลางของเวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียว สถานะของหมาไม้ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ดู พืชและหมาไม้

หมูป่า

หมูป่า เป็นสัตว์จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ เป็นต้นสายพันธุ์ของหมูบ้านในปัจจุบัน.

ดู พืชและหมูป่า

หมี

หมี จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ จัดอยู่ในวงศ์ Ursidae ออกลูกเป็นตัว ตาและใบหูกลมเล็ก ริมฝีปากยื่นแยกห่างออกจากเหงือก สามารถยืนและเดินด้วยขาหลังได้ ประสาทการดมกลิ่นดีกว่าประสาทตาและหู กินได้ทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร.

ดู พืชและหมี

หมีกริซลี

หมีกริซลี (grizzly bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) จัดเป็นชนิดย่อยของหมีสีน้ำตาล (U.

ดู พืชและหมีกริซลี

หมีสีน้ำตาล

หมีสีน้ำตาล (Brown bear) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อ (Carnivora) ขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมีที่มีขนาดใหญ่มาก โดยตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย เมื่อยืน 4 เท้ามีความสูงถึง 5 ฟุต และเมื่อยืนด้วย 2 เท้า อาจสูงถึง 9 ฟุต แต่ยืนได้ในระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่อาจมีน้ำหนักมากถึง 1,000 ปอนด์ ส่วนตัวเมียอาจมีน้ำหนักมากกว่า 450 ปอนด์ มีขนสีน้ำตาลตลอดทั้งลำตัว อันเป็นที่มาของชื่อ ปุ่มหรือเนินตรงหัวไหล่ มีขนและเล็บยาว มีจมูกที่ใหญ่ แต่มีใบหูขนาดเล็ก แต่จะมีขนสีเข้มหรืออ่อนไปตามสภาพแวดล้อมและภูมิประเทศที่อาศัย รวมถึงขนาดตัวด้วย ซึ่งถือเป็นชนิดย่อย (ดูในตาราง) โดยกระจายพันธุ์ไปในพื้นที่ ๆ กว้างไกลมาก ตั้งแต่อะแลสกา, แคนาดา, รัสเซีย, หลายพื้นที่ในยุโรป และตามแนวเทือกเขาหิมาลัยในอินเดีย, เนปาล และจีน และตะวันออกกลาง หมีสีน้ำตาลกินอาหารได้หลากหลายมาก ทั้งพืชและสัตว์ โดยหากเป็นพืชมักจะเป็นผลไม้ประเภทเบอร์รี่ บางครั้งกินสัตว์ขนาดเล็ก เช่น แมลง หรือ หนู แต่บางครั้งก็กินสัตว์ใหญ่ เช่น ม้า, วัวป่า, กวาง รวมถึงซากสัตว์ ในช่วงฤดูกาลที่มีอาหารสมบูรณ์ อาหารที่หมีสีน้ำตาลชอบมาก คือ ปลาแซลมอน และปลาเทราท์ หมีสีน้ำตาลตัวเมียต้องมีอายุ 4 ถึง 10 ปี จึงจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ และให้กำเนิดลูกโดยเฉลี่ย 2 ตัว ในระยะเวลา 4 ปี ฤดูกาลผสมพันธุ์อยู่ในช่วงปลายฤดูใบไม้ผลิถึงต้นฤดูร้อน แม่หมีจะให้กำเนิดลูกในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม ปกติ 2-3 ตัว โดยลูกหมีที่เกิดใหม่จะยังไม่ลืมตา และยังไม่มีขน ลูกหมีจะอาศัยอยู่ในถ้ำที่แม่หมีขุดขึ้นมาจนกระทั่งถึงเดือนเมษายน หรืออาจถึงเดือนมิถุนายน และเริ่มหย่านมเมื่ออายุประมาณ 5 เดือน และเริ่มเรียนรู้ว่า พืชหรือสัตว์ประเภทไหนที่ใช้เป็นอาหาร ลูกหมีจะอยู่กับแม่อย่างน้อยอีก 1 ปี หรือมากกว่านั้น จากนั้นจึงเริ่มแยกตัวออกไป ส่วนในฤดูหนาว หมีสีน้ำตาลจะจำศีลในถ้ำเป็นระยะเวลาราว 2 เดือน โดยใช้พลังงานจากไขมันที่สะสมไว้.

ดู พืชและหมีสีน้ำตาล

หมีเหม็น

หมีเหม็น, หมี่ หรือ หมูทะลวง (จันทบุรี) (ภาษาชอง: กำปรนบาย; ภาษามลายูปัตตานี: มือเบาะ) เป็นพืชในวงศ์ Lauraceae พบในป่าดงดิบตั้งแต่ อินเดีย เนปาล ไปจนถึงเกาะบอร์เนียว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกสีขาวอมเหลือง ออกตามง่ามใบ ผลอ่อนสีเขียวผลแก่สีแดง-ดำ รับประทานได้ ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ทางยาสมุนไพรใช้ได้หลายส่วน เช่น ใช้รากแก้ปวดกล้ามเนื้อ เปลือกแก้ปวดมดลูก เมล็ดตำพอกฝี เป็นต้น.

ดู พืชและหมีเหม็น

หม่อน

หม่อน หรือ มัลเบอร์รี (Mulberry) ภาคอีสานเรียก มอน ภาษาจีนแต้จิ๋วเรียก เก้ซิวเอียะ เป็นพืชอาหารตามธรรมชาติชนิดเดียวของหนอนไหม และเป็นหัวใจสำคัญของการประกอบอาชีพการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปริมาณผลผลิตและคุณภาพรังไหมจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับคุณภาพใบหม่อน หม่อนเป็นพืชที่มีอายุนาน 80-100 ปี ถ้าไม่ได้รับความกระทบกระเทือน จากการเก็บเกี่ยวหรือโรค แมลงศัตรู สามารถเจริญได้ดีตั้งแต่เขตอบอุ่นถึงเขตร้อน หม่อนที่เกิดในเขตอากาศหนาว จะหยุดพักไม่เจริญเติบโต นับตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ร่วงจนถึงฤดูใบไม้ผลิ ผลหม่อนสามารถรับประทานได้ สารสกัดด้วยเมทานอลจากกากหม่อนที่เหลือจากการทำน้ำผลไม้มีฤทธิ์กำจัดอนุมูลอิสร.

ดู พืชและหม่อน

หม้อข้าวหม้อแกงลิง

ทความนี้เป็นบทความสำหรับชื่อวงศ์ และสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง (nepenthes; ชื่อสามัญ: tropical pitcher plants หรือ monkey cups) (nə'pεnθiːz / มาจากภาษากรีก: ne.

ดู พืชและหม้อข้าวหม้อแกงลิง

หม้อแกงลิง

หม้อแกงลิง (Nepenthes ampullaria) (มาจากภาษาละติน: ampulla.

ดู พืชและหม้อแกงลิง

หยาดหิมะ

กาแลนธัส (Galanthus หรือ Snowdrop) เป็นพืชดอกที่อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae ที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 20 สปีชีส์ ที่รู้จักกันในชื่อง่ายๆ ว่า หยาดหิมะ เป็นดอกไม้หนึ่งในดอกไม้ชนิดแรกที่บานในฤดูใบไม้ผลิ แต่ก็มีบางสายพันธุ์ที่บานตอนปลายฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาว “หยาดหิมะ” บางครั้งก็สับสนกับ “เกล็ดหิมะ” (Spring Snowflake) ที่อยู่ในสปีชีส์ “Galanthus nivalis” ซึ่งเป็นสปีชีส์ที่แพร่หลายที่สุดในสกุลนี้ ถิ่นกำเนิดอยู่ในบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรป ตั้งแต่เทือกเขาพิเรนีสทางตะวันตกไปยังฝรั่งเศส เยอรมนี โปแลนด์ อิตาลี ตอนเหนือของกรีซ และตุรกีในยุโรป กาแลนธัสถูกนำไปปลูกในบริเวณอื่นและขึ้นงามดี แม้ว่ามักจะคิดกันว่าเป็นดอกไม้ป่าท้องถิ่นของอังกฤษแต่อันที่จริงแล้วเป็นสายพันธุ์ที่อาจจะนำเข้ามาในอังกฤษโดยโรมัน หรืออาจจะราวประมาณต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 สปีชีส์ส่วนใหญ่มาจากทางตะวันออกของเมดิเตอเรเนียน แต่ก็มีบ้างที่มาจากทางใต้ของรัสเซีย จอร์เจีย และ อาเซอร์ไบจาน ส่วน “Galanthus fosteri” มาจาก จอร์แดน เลบานอน ซีเรีย ตุรกี และอาจจะจากอิสราเอล หยาดหิมะทุกสายพันธุ์เป็นพืชยืนต้นที่ปลูกจากหัว.

ดู พืชและหยาดหิมะ

หยาดน้ำค้าง (สกุล)

หยาดน้ำค้าง (Sundew) เป็นพืชกินสัตว์สกุลใหญ่สกุลหนึ่ง ในวงศ์หญ้าน้ำค้าง มีประมาณ 194 ชนิด สามารถล่อ จับ และย่อยแมลงด้วยต่อมเมือกของมันที่ปกคลุมอยู่ที่ผิวใบ โดยเหยื่อที่จับได้จะใช้เป็นสารเสริมทดแทนสารอาหารที่ขาดไป พืชในสกุลหยาดน้ำค้างมีหลายรูปแบบและหลายขนาดต่างกันไปในแต่ละชนิด สามารถพบได้แทบทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา ชื่อวิทยาศาสตร์ของหยาดน้ำค้าง คือ Drosera มาจากคำในภาษากรีก δρόσος: "drosos" แปลว่า "หยดน้ำ หรือ น้ำค้าง" รวมทั้งชื่อในภาษาอังกฤษ "sundew" กลายมาจาก ros solis ซึ่งเป็นภาษาละตินแปลว่า "น้ำตาพระอาทิตย์" โดยมีที่มาจากเมือกบนปลายหนวดแต่ละหนวดที่แวววาวคล้ายน้ำค้างยามเช้า ในประเทศไทยพบหยาดน้ำค้างอยู่ 3 ชนิดคือ จอกบ่วาย (Drosera burmannii Vahl), หญ้าน้ำค้าง (Drosera indica L.) และ หญ้าไฟตะกาด (Drosera peltata Sm.).

ดู พืชและหยาดน้ำค้าง (สกุล)

หลังคาเขียว

้านในรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ที่สร้างขึ้นใหม่ตามแบบบ้านไวกิง หลังคาปลูกหญ้ของบ้านหลายพลังที่เห็นในหม่บ้าน Bøur และเกาะฟาโร(Faroe Islands) หลังคาเขียว (green roof) คือหลังคาของอาคารที่ปิดทับบางส่วนหรือทั้งหมดด้วยพืชพรรณและดิน หรือเครื่องปลูกอย่างอื่นบนชั้นแผ่นกันน้ำ ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงหลังคาที่ทาด้วยสีเขียว หรือวัสดุมุงสีเขียวใดๆ หลังคาเขียวอาจรวมส่วนประกอบอื่น เช่นแผ่นชั้นกันราก ระบบระบายน้ำและระบบรดน้ำต้นไม้ สวนกระถางที่จัดบนหลังคาซึ่งต้นไม้ปลูกในกระถางอิสระไม่นับเป็น “หลังคาเขียว” ที่แท้จริงในความหมายนี้ แม้จะยังเป็นที่ถกเถียงกันได้อยู่ คำว่า “หลังคาเขียว” อาจใช้กับหลังคาที่ใช้เทคโลโลยี “เขียว” บางรูปแบบ เช่นแผงผลิตไฟฟ้าจากพลังสุริยะด้วยก็ได้ หลังคาเขียวอาจหมายถึงหลังคาแบบอื่น เช่น หลังคานิเวศ (eco-roofs) หลังคามีชีวิต (living roofs) ที่มีเป้าหมายของแนวคิดเดียวกัน ปัจจุบัน ประโยชน์ของหลังคาเขียวได้ถูกนำมาใช้เป็นมาตรการหนึ่งทางสถาปัตยกรรมและการผังเมืองเพื่อช่วยบรรเทาปรากฏการณ์โลกร้อน.

ดู พืชและหลังคาเขียว

หลาวชะโอนทุ่ง

หลาวชะโอนทุ่ง หรือ หลาโอน หรือ นิบง เป็นพรรณไม้ชนิดหนึ่งในวงศ์ปาล์ม โดยทั่วไป เมื่อพูดถึงหลาวชะโอน จะหมายถึงหลาวชะโอนทุ่ง ส่วนอีกชนิดพันธุ์จะเรียกว่าหลาวชะโอนเขา ชื่อหลาวชะโอน เป็นชื่อเรียกในภาษาไทยกลาง ขณะที่มักจะย่อเหลือ หลาโอน และในภาษามลายู เรียกว่า นิบง.

ดู พืชและหลาวชะโอนทุ่ง

หลุมพี

หลุมพี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Eleiodoxa conferta (Griff.) Burr.) เป็นปาล์มชนิดหนึ่ง พวกปาล์มลำต้นสั้นแตกหน่อเป็นกอใหญ่ออกดอกผลแล้วตายไป ขึ้นในที่ลุ่มน้ำขังและป่าพรุ ออกดอกตั้งแต่เดือนมิถุนายน - กันยายน ออกผลตั้งแต่ดือนพฤศจิกายน - มีนาคม ตั้งแต่เริ่มออกช่อดอกจนถึงผลสุก ใช้ระยะเวลา ประมาณ 18 - 20 เดือน หลุมพี เป็นพืชที่มีความสัมพันธ กับระบบนิเวศ ในป่าพรุอย่างเหนียวแน่น โดยสภาพทางธรรมชาติเป็นไม้ชั้นล่างในป่าพรุขึ้นได้และเจริญเติบโตได้ดีในที่มีร่มเงา และต้องมีน้ำขังตลอดปี ลักษณะของต้นหลุมพีออกเป็นกอใหญ่ แต่ละต้นออกผล แต่ละต้นออกผลครั้งเดียวแล้วตาย ต้นอื่นซึ่งเป็นหน่อในกอเดียวกัน จะออกผลหมุนเวียน กันต่อไป ทำให้พื้นที่ยึดครองของหลุมพี ขยายกว้างขึ้นตลอด สามารถเก็บความชื้นและน้ำไว้ได้ ซึ่งเอื้อต่อการดำรงชีวิต ของพืชและสัตว์ชนิดอื่นๆในป่าพรุ ที่ผูกพันเป็น ห่วงโซ่อาหาร เกิดผลดี ต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมโดยรวม อันเป็นปัจจัยหลักในการ ดำรงชีวิตของชุมชนรอบป่าพร.

ดู พืชและหลุมพี

หว้า

หว้า เป็นไม้ประเภทไม้ยืนต้น มีถิ่นกำเนิดจากอินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยพบทั่วไปตามป่าดิบชื้นและป่าผลัดใบ ตั้งแต่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,100 เมตร เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำเพชรบุรี.

ดู พืชและหว้า

หอมต้นเดี่ยว

หอมต้นเดี่ยว มักเรียกว่า ต้นหอม เป็นพืชในสกุล Allium ที่สามารถรับประทานได้.

ดู พืชและหอมต้นเดี่ยว

หอมแดง

หอมแดง เป็นพืชในวงศ์ Alliaceae โดยยึดเอา French grey challot หรือ griselle เป็นหอมที่แท้จริง จัดอยู่ในสปีชีย์นี้ มีการเพาะปลูกในเอเชียกลางและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนความหลากหลายอื่นที่มีคือ Allium cepa var.

ดู พืชและหอมแดง

หอมใหญ่

หอมใหญ่ เป็นพืชหัว (bulb) ปลูกได้ในช่วงฤดูหนาว สามารถปลูกได้ในดินทุกชนิดที่มีการระบายน้ำและอากาศดี เจริญได้ดีที่ค่าความเป็นกรด-เบสช่วง 6.0–6.8 อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 15–24 องศาเซลเซียส และมีความเค็มของดินปานกลาง เป็นพืชล้มลุก ตระกูลเดียวกับหอมแดง ต้นสูงประมาณ 30-40 เซนติเมตร ลำต้นเป็นหัวอยู่ใต้ดิน มีลักษณะกลม มีเปลือกนอกบางๆหุ้มอยู่ เมื่อแห้งจะมีสีน้ำตาลอ่อน ภายในเป็นกาบสีขาวซ้อนกัน ลักษณะของดอกมีสีขาว เป็นช่อ มีดอกย่อยเป็นจำนวนมาก ก้านช่อดอกยาว แทงออกจากลำต้นใต้ดิน ช่วงเวลาในการเพาะปลูกและเก็บผลผลิต: ให้ผลผลิต 2 ครั้งใน 1 ปี คือ ช่วงเดือน มกราคม ถึง เมษายน และในช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึง กุมภาพันธ์http://www.adirek.com/stwork/fruitvet/hom.htm.

ดู พืชและหอมใหญ่

หิรัญญิการ์

หิรัญญิการ์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Beaumontia grandiflora Wall., ชื่อสามัญอื่น: Herald's Trumpet, Easter Lily Vine) เป็นไม้เถาขนาดใหญ่เนื้อแข็ง ทุกส่วนของต้นเมื่อรับประทานทำให้หัวใจถูกกระตุ้น เร่งการทำงานของหัวใจ ทำให้หัวใจวายได้.

ดู พืชและหิรัญญิการ์

หูกระจง

หูกระจง หรือ แผ่บารมี (Terminalia ivorensis Chev.) มีถิ่นกำเนิดในป่าแอฟริกาตะวันตก แถบเส้นศูนย์สูตร ตั้งแต่ประเทศกินีไปจนถึงประเทศแคเมอรูน เป็นพืชเศรษฐกิจ มีการปลูกเพื่อใช้เนื้อไม้ ในแถบถิ่นกำเนิด เป็นไม้ที่มีการเจริญเติบโตเร็ว และมีอายุยืน.

ดู พืชและหูกระจง

หูปลาช่อน

หูปลาช่อน เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นตั้งตรงสูง 10 -45 เซนติเมตร ปลายใบแหลมเรียว โคนใบกว้างรูปไข่ ขอบใบหยักเว้า หลังใบสีเขียวเข้ม ท้องใบสีม่วงแดง ดอกออกเป็นช่อกลางลำต้น ช่อหนึ่งแยกเป็น 2 แขนง ดอกสีแดง ขนาดเล็ก ผลมีเปลือกแข็ง ในทางสมุนไพร รากสดนึ่งกับเนื้อหมูแก้ตานขโมย ต้นสดต้มน้ำดื่มเป็นยาแก้เจ็บคอ ทอนซิลอักเสบ ต้นสดตำคั้นน้ำพอกบริเวณที่เป็นฝี แก้บวมน้ำ ยานี้ห้ามใช้ในหญิงมีครร.

ดู พืชและหูปลาช่อน

หีบไม้งาม

หีบไม้งาม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Carissa macrocarpa (Eckl.) A.DC.,ชื่อสามัญ: Natal Plum) ที่มีถิ่นกำเนิดในแอฟริกาใต้ เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กในวงศ์ตีนเป็ดที่สูงถึง 20 เมตร ลำต้นและกิ่งก้านมีหนามปลายแหลมแยกเป็น 2 แฉก ยาวได้ถึง 3 ซม.ทุกส่วนของต้นมีน้ำยางขาว ด้วยทรงพุ่มสวยจึงใช้ปลูกในสวนหย่อม ทำเป็นรั้ว ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากซ้อนกันถี่ ใบรูปไข่ กว้าง 3-5 ซม.

ดู พืชและหีบไม้งาม

หงส์เหิร

หงส์เหิรเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและหงส์เหิร

หนามแดง (พืช)

หนามแดง (Maytenus marcanii) เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Celastraceae สูงประมาณสามถึงสี่เมตร ลำต้นตรง มีหนามตามกิ่ง ลักษณะใบเป็นใบเดียว กว้างราวสองถึงสี่เซนติเมตร และยาวสี่ถึงเก้าเซนติเมตร ดอกสีขาวนวล ออกตามปลายกิ่งและซอกใบ ผลเมื่อแก่มีสีแดงเข้มถึงสีม่วง เมื่อบีบแตกจะมีสีแดงเข้มติดมือแต่สามารถล้างออกได้ ต้นหนามแดงนั้นจัดเป็นพืชสมุนไพร รากหนามแดงมีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้ ส่วนแก่นสามารถใช้เป็นยาบำรุงร่างก.

ดู พืชและหนามแดง (พืช)

หน้าวัว

หน้าวัว (Flamingo Flower หรือ Boy Flower) เป็นสกุลของพืชในวงศ์หน้าวัว (ARACEAE) มีถิ่นกำเนิดในฮาวาย ปัจจุบันกระจายพันธุ์ได้เกือบทุกทวีป แต่จะเจริญดีในภูมิอากาศแบบร้อนหรือร้อนชื้น (15 - 30 องศาเซลเซียส) จากฐานข้อมูลพืช ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันท์ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.

ดู พืชและหน้าวัว

ห้อม

ห้อม หรือ ฮ่อม มีชื่ออื่นๆคือ ฮ่อมเมือง ครามหลอย ครามเหล็กขูด ครามย่าน ใบเบิก เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก ลักษณะเป็นไม้พุ่มลำต้นกลมและตั้งตรง สูง 50-80 เซนติเมตร ลำต้นและเหง้าเป็นรูปทรงกระบอก บริเวณข้อเป็นปล้องคล้ายขาไก่ แตกกิ่งก้านตามข้อ ลักษณะใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม โคนใบเรียวปลายใบแหลม ขอบใบหยักฟันเลื่อยละเอียด กว้าง 2.5 – 6 ซม.

ดู พืชและห้อม

อวัยวะ

อวัยวะ เป็นกลุ่มของเนื้อเยื่อที่มีหน้าที่คล้ายกัน พืชและสัตว์ต้องพึ่งอวัยวะหลายชิ้นในระบบอวัยวะ หน้าที่ของระบบอวัยวะมักจะมีหน้าที่ทับซ้อนกัน เช่น ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ทั้งในระบบประสาท (nervous system) และระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ทำให้การศึกษาทั้งสองระบบมักจะทำร่วมกันเรียกว่า ระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ (neuroendocrine system) เช่นเดียวกันกับ ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (musculoskeletal system) ซึ่งเป็นความเกี่ยวข้องกันระหว่างระบบกล้ามเนื้อ (muscular system) และ ระบบโครงกระดูก (skeletal system).

ดู พืชและอวัยวะ

ออมนิทริกซ์

ออมนิทริกซ์ (Omnitrix) เป็นอุปกรณ์ของมนุษย์ต่างดาว จากการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกาเรื่องเบ็นเท็น มีลักษณะคล้ายๆกับกำไลข้อมือ ซึ่งเบ็น ตัวเอกของเรื่องหรือตัวละครอื่นๆในเรื่อง ใช้มันเปลี่ยนร่างเป็นเอเลี่ยนที่ถูกเก็บอยู่ข้างใน ซึ่งนิสัยมักจะนึกคิดของตัวเองอยู่เสมอ.

ดู พืชและออมนิทริกซ์

ออมนิทริกซ์ 2

ออมนิทริกซ์ ในภาคนี้เป็นอันเดียวกันกับภาคก่อน (ดูเพิ่มที่ออมนิทริกซ์) แต่ภาคนี้มันได้เปลี่ยนรูปร่างและเอเลี่ยนภายใน เขาจึงได้เอเลี่ยนชุดใหม่มาอีก 10 ตัว.

ดู พืชและออมนิทริกซ์ 2

อะกาเว

อะกาเว (Agave, หรือ) เป็นสกุลของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว อยู่ในวงศ์ย่อย Agavoideae วงศ์ AsparagaceaeMark W. Chase, James L. Reveal, and Michael F. Fay.

ดู พืชและอะกาเว

อัญชัน

อัญชัน (L.) เป็นไม้เถา ลำต้นมีขนนุ่ม มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ ปลูกได้ทั่วไปในเขตร้อน มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือแดงชัน (เชียงใหม่) และเอื้องชัน,เองชัญ (เหนือ)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและอัญชัน

อัลมอนด์

อัลมอนด์ หรือ แอลมอนด์ ในภาษาอังกฤษ almond อ่านว่า อามึนด์ หรือ แอมึนด์ โดยไม่ออกเสียง l แต่ในภาษาไทยนิยมสะกดว่า อัลมอนด์ หรือ แอลมอนด์ (almond) เป็นพืชชนิดหนึ่งในสกุล Prunus เมล็ดรับประทานได้ เป็นพืชพื้นเมืองในตะวันออกกลางและเอเชียใต้ ผลของอัลมอนด์เป็นผลแบบมีเมล็ดเดียว มีเปลือกชั้นนอกและและเปลือกแข็งหุ้มเมล็ดโดยที่ไม่จัดเป็นผลแบบนัท อัลมอนด์จะขายทั้งแบบที่เอาเปลือกออกแล้วหรือขายทั้งเปลือก หรือนำไปผ่านน้ำร้อนเพื่อทำให้เปลือกอ่อนลง และเอ็มบริโอยังคงเป็นสีขาว ไฟล์:Green almonds.jpg|อัลมอนด์เขียว ไฟล์:Mandel Gr 99.jpg| อัลมอนด์มีเปลือก (ซ้าย) และไม่มีเปลือก (ขวา) ไฟล์:Blanched_almonds.jpg|อัลมอนด์ที่ผ่านน้ำร้อน.

ดู พืชและอัลมอนด์

อัคคีทวาร

อัคคีทวาร หรือ ตรีชะวา (Moon var. wallichii Clarke)ในวงศ์.

ดู พืชและอัคคีทวาร

อังกาบ

อังกาบ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Barleria cristata L.) มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย เป็นพรรณไม้พุ่มเตี้ย มีลำต้นเป็นข้อ สูงประมาณ 3 ฟุต ใบเป็นรูปหอก โคนและปลายเรียวแหลม ขนาดกว้างประมาณ 4 ซม.

ดู พืชและอังกาบ

อังกาบสีปูน

อังกาบสีปูน (หรือ ไม้พุ่มคลุมดินขนาดเล็ก เป็นกิ่งทอดเลื้อย สูง 15 - 40 ซม. ใบรูปไข่ ปลายแหลม ยาว 2 - 4 ซม. มีสีเขียวเป็นมัน ดอกมีสีแดงอมส้ม คล้ายสีปูนแดงที่กินกับหมาก กลีบดอกกลมมน ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ ปลูกเป็นไม้ประดับสวยงามได้ทั้งในที่ร่มรำไร และกลางแจ้ง.

ดู พืชและอังกาบสีปูน

อันดับบ่าง

อันดับบ่าง (Colugo, Flying lemur) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในชั้นย่อยยูเทอเรีย (Eutheria) อันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dermoptera (/เดอ-มอป-เทอ-รา/ แปลว่า "ปีกหนัง") และถือเป็นอันดับที่อยู่ถัดมาจากอันดับโพรซีเมียน (Prosimian) ถือว่า บ่างเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ใกล้เคียงกับสัตว์ในอันดับไพรเมต อันได้แก่ ทาร์เซีย, ลิงและเอป ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ด้วย และเชื่อกันว่า บ่างเป็นต้นบรรพบุรุษของค้างคาว ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงจำพวกเดียวที่บินได้ ซึ่งอยู่ในอันดับ Chiroptera ด้วย ลักษณะของสัตว์ในอันดับนี้ คือ มีรูปร่างคล้ายกับกระรอกบินหรือค้างคาวหรือลีเมอร์ แต่มีจุดเด่น คือ มีแผ่นหนังบาง ๆ ที่เชื่อมติดกันระหว่างคอ, ขาหน้า, ขาหลัง และหาง รวมถึงนิ้วทุกนิ้วอีกด้วย โดยที่ไม่มีหัวแม่มือ ซึ่งเมื่อกางออกจะเป็นแผ่นคล้ายว่าว ทำให้สามารถร่อนถลาได้เหมือนกระรอกบินหรือชูการ์ไกลเดอร์ ซึ่งเป็นสัตว์ต่างอันดับกัน บ่าง เป็นสัตว์ที่มีดวงตากลมโตสีแดง ส่วนจมูกและใบหน้าแหลม รวมทั้งมีสีขนที่เลอะ เพื่อแฝงตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดี ทำให้แลดูน่าเกลียดน่ากลัว แต่เป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร ได้แก่ ยอดไม้, ดอกไม้ รวมถึงแมลง และลูกไม้เนื้ออ่อน เป็นอาหาร มีฟันที่เขียนเป็นสูตรได้ว่า มีส่วนหางที่สั้น มีเล็บที่นิ้วที่แหลมคมใช้สำหรับในการปีนต้นไม้และเกาะเกี่ยวกับกิ่งไม้ รวมถึงสามารถห้อยหัวลงมาได้เหมือนค้างคาว บ่างจะหากินในเวลากลางคืนหรือโพล้เพล้ ส่วนในเวลากลางวันจะนอนหลับอยู่ตามโพรงไม้หรือคอมะพร้าว บ่าง ออกลูกครั้งละ 1 ตัว เนื่องจากแม่บ่างสามารถรับน้ำหนักได้เพียงแค่นี้ ลูกบ่างจะเกาะติดกับหน้าอกแม่ดูดนมจากเต้านมแม่ซึ่งมี 2 คู่ แม้แต่เมื่อหากินหรือระหว่างร่อน ใช้เวลาโตเต็มที่ประมาณ 2-3 ปี บ่างแรกเกิดมักมีการพัฒนาไม่มากนักคล้ายสัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้อง (Marsupialia) แม่บ่างจะเลี้ยงลูกไว้โดยให้เกาะที่ท้อง เวลาเกาะอยู่กับต้นไม้ โดยใช้ผังผืดระหว่างขาช่วงล่างสุดห่อคล้ายร่มหรือถุงเหมือนสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง ในช่วงที่แม่บ่างเลี้ยงลูกจะยังไม่มีลูกใหม่ จนกว่าลูกตัวเดิมจะแยกตัวออกไปหากินเอง ซึ่งใช้เวลาประมาณ 2-3 ปี แม่บ่างจะเลียฉี่และมูลของลูก ขณะที่ลูกบ่างจะกินมูลของแม่ด้วย ซึ่งภายในมีแบคทีเรียที่ช่วยในการย่อยอาหารซึ่งได้แก่ พืช ส่วนต่าง ๆ แต่พฤติกรรมการผสมพันธุ์ยังไม่เป็นที่ทราบอย่างแน่ชัดบ่าง, "สีสันสัตว์โลก สเปเชี่ยล", สารคดีทางช่อง 9: 17 ธันวาคม 2556 บ่างอาศัยอยู่ในป่าดิบที่มีความอุดมสมบูรณ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด ใน 2 สกุล และมีอีก 1 สกุล ซึ่งมี 2 ชนิด ที่ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว.

ดู พืชและอันดับบ่าง

อันดับปลาตะเพียน

อันดับปลาตะเพียน หรือ อันดับปลากินพืช (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cypriniformes, Carp, Barb, Loach, Minnow, Chinese suckerfish, Garra) เป็นอันดับของปลาจำพวกหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยปลาตะเพียน, ปลาทอง, ปลาคาร์ป, ปลาซิว เป็นต้น ส่วนใหญ่เป็นปลาที่อยู่ในวงศ์ Cyprinidae มีลักษณะโดยรวมคือ ลำตัวมีเกล็ด ส่วนใหญ่แบนข้าง สันท้องกลมหรือเป็นสันคม ไม่มีหนามที่สันท้อง ตาไม่มีหนังคลุม ปากมีหลายตำแหน่งทั้งอยู่ตรงด้านหน้า เฉียงขึ้น หรืออยู่ทางด้านล่าง บางชนิดยืดหดได้เล็กน้อย บางชนิดมีลักษณะคล้ายปากดูด ส่วนใหญ่ไม่มีฟันบนขากรรไกรหรือบางชนิดที่มีก็มีไม่เกิน 8 ซี่ รอยต่อส่วนปลายของขากรรไกรล่างมีปมยื่นออกมาเรียกว่า ซิมไซซีล นอบ ริมฝีปากบางอาจมีหรือไม่มีติ่งเนื้อ บางชนิดไม่มีริมฝีปาก ไม่มีหนามใต้ตา หรือหน้าตา ช่องเปิดเหงือกกว้างกระดูกโอเพอร์เคิล เจริญดี มีหนวด 1-2 คู่ หรือไม่มี ก้านครีบเดี่ยวก้านสุดท้ายของครีบหลังอาจแข็ง หรือไม่แข็ง อาจมีหยักด้านในหรือไม่มี ไม่มีครีบไขมัน มีฟันที่หลอดคอ 1-3 แถว ขอบปากเป็นกระดูกพรีแมคซิลลา ขากรรไกรบนยืดหดได้ บางชนิดครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยว มีครีบหลังตอนเดียว ถุงลมมีขนาดค่อนข้างใหญ่ส่วนใหญ่แบ่งออกเป็นสองตอน ไม่ถูกแผ่นกระดูกปกคลุมไว้ เป็นปลาที่กระจายอยู่ทั่วไปในทุกภูมิภาคของโลก ทั้งอเมริกาเหนือ, ทวีปยูเรเชียและทวีปเอเชีย มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ พบในน้ำจืดมากกว่าทะเล ส่วนใหญ่เป็นปลาที่กินพืชเป็นอาหาร ไม่มีกระเพาะอาหาร แต่ก็มีหลายชนิดที่กินเนื้อหรือแพลงก์ตอน เป็นปลาที่มนุษย์คุ้นเคยมานานเพราะใช้เป็นอาหาร นอกเหนือจากปลาในวงศ์ Cyprinidae แล้ว ยังมีปลาในวงศ์อื่นอีกที่อยู่ในอันดับนี้ประมาณ 5-6 วงศ์ ได้แก.

ดู พืชและอันดับปลาตะเพียน

อั้วนวลจันทร์

อั้วนวลจันทร์ หรือในชื่ออื่นคือ อั้วพวงมณี มีลักษณะเป็นกล้วยไม้ดินเป็นหัว หน้าร้อนจะเหลือแต่หัว หน้าฝนจะแตกหน่อเพื่อมีดอก.

ดู พืชและอั้วนวลจันทร์

อาร์ทิโชก

อาร์ทิโชก (artichoke) เป็นพืชเมืองหนาว มีถิ่นกำเนิดในยุโรปเขตเมดิเตอร์เรเนียน มีสรรพคุณทางยา สามารถบริโภคสดหรือปรุงเป็นอาหาร ซึ่งเป็นเมนูสำคัญของงานเลี้ยงทางยุโรป และยังมีการนำมาสกัดสารไซนาริน ลักษณะทรงต้นและใบจะมีขนาดใหญ่โตเต็มที่จะมีขนาด 1.80 เมตร ใบหยักเป็นแฉกลึกสีเขียวอมเทาหรือขาวอมเทา ดอกประกอบไปด้วยกลุ่มของกลีบดอกจำนวนมากเรียงซ้อนกันเป็นชั้น ๆ บนก้านดอกลักษณะของดอกทรงแตกต่างกันไปตามลักษณะสายพันธุ์ ออกดอกในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม.

ดู พืชและอาร์ทิโชก

อาร์เคีย

อาร์เคีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้ายแบคทีเรีย แต่เชื่อว่ามีวิวัฒนาการแยกมา เพราะมีเยื่อหุ้มเซลล์ที่แปลกออกไป เป็นโปรคาริโอตที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เลวร้ายและในมหาสมุทร ผนังเซลล์ไม่มีเปบทิโดไกลแคน กรดไขมันในเยื่อหุ้มแตกกิ่ง ไม่ไวต่อยาปฏิชีวนะ ยีนไม่มีอินทรอน RNA polymerase มีหลายชนิด บางส่วนเหมือนยูคาริโอต rRNA บางส่วนคล้ายกับของยูคาริโอตด้วยเช่นกัน กลุ่มของอาร์เคียที่สำคัญได้แก.

ดู พืชและอาร์เคีย

อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง

อาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง (อังกฤษ: Weapon of Mass Destruction, WMD) คืออาวุธที่สามารถสังหารมนุษย์, สัตว์หรือพืชในจำนวนมาก และอาจทำลายสภาพแวดล้อมของโลกอย่างมหาศาล ซึ่งจำแนกได้เป็นอาวุธหลายประเภทด้วยกันได้แก่ อาวุธปรมาณู, อาวุธชีวภาพ, อาวุธเคมี รวมไปถึงอาวุธกัมมันตภาพรังสี (ต่างจากอาวุธปรมาณูตรงที่ให้แรงระเบิดน้อยกว่ามาก แต่แพร่กัมมันตรังสีในปริมาณที่เทียบเท่าหรือใกล้เคียงกับอาวุธปรมาณู) ที่กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นจากกองกำลังที่มีอำนาจทางการเงินและเทคโนโลยีที่ด้อยกว่า (เช่น ผู้ก่อการร้าย) เป็นที่โต้เถียงกันว่าศัพท์นี้ (ในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาไทยนั้น ไม่ค่อยพบเห็นการใช้คำนี้มากนัก) ถูกใช้ครั้งแรกเมื่อใด โดยนิยามนี้อาจถูกใช้ครั้งแรกใน พ.ศ.

ดู พืชและอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง

อาหาร

อาหาร หมายถึงสิ่งที่รับประทานเข้าไป ซึ่งบริโภคเพื่อเสริมโภชนาการให้แก่ร่างกาย อาหารมักมาจากพืชหรือสัตว์ และมีสารอาหารสำคัญ เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน หรือแร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึมสสารที่เป็นอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงาน คงชีวิต และ/หรือ กระตุ้นการเจริญเติบโต ในอดีต มนุษย์ได้มาซึ่งอาหารด้วยสองวิธีการ คือ การล่าสัตว์และเก็บเกี่ยว (hunting and gathering) และเกษตรกรรม ปัจจุบัน พลังงานจากอาหารส่วนใหญ่ที่ประชากรโลกบริโภคนั้นผลิตจากอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งดำเนินการโดยบริษัทข้ามชาติซึ่งใช้เกษตรประณีต และอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตของระบบให้ได้มากที่สุด สมาคมระหว่างประเทศเพื่อคุ้มครองอาหาร สถาบันทรัพยากรโลก โครงการอาหารโลก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ และสภาข้อมูลอาหารระหว่างประเทศเป็นหน่วยงานเฝ้าสังเกตความปลอดภัยของอาหารและความมั่นคงทางอาหาร องค์การทั้งหลายนี้จัดการกับประเด็นปัญหาอย่างความยั่งยืน ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เศรษฐศาสตร์สารอาหาร การเติบโตของประชากร ทรัพยากรน้ำ และการเข้าถึงอาหาร สิทธิในการได้รับอาหารเป็นสิทธิมนุษยชนซึ่งกำหนดขึ้นจากกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) โดยตระหนักถึง "สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพอย่างพอเพียง รวมทั้งอาหารที่เพียงพอ" เช่นเดียวกับ "สิทธิขั้นพื้นฐานที่จะปลอดจากความหิวโหย".

ดู พืชและอาหาร

อาหารสัตว์

ตัวอย่างอาหารสัตว์ที่ผลิตขึ้นเอง อาหารสัตว์มีความสำคัญ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของสัตว์ อาหารของสัตว์อาจได้มาทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและหรือเกิดขึ้นจากการแปรรูปที่ได้จากพืช หรือสัตว์ เป็นสิ่งที่มีสารอาหารและเป็นประโยชน์ในการบำรุงร่างกายแก่สัตว์ ซึ่งอาหารสัตว์ส่วนมากจะได้มาจากพืช ได้แก่ มันสำปะหลัง รำ ปลายข้าว เป็นต้น อาหารสัตว์มี 2 ประเภท ได้แก่ แบ่งตามส่วนประกอบทางเคมีของสารอาหารและแบ่งตามปริมาณเยื่อใย อาหารสัตว์มี 2 แบบ คือ แบบหยาบและแบบข้น เมื่อสัตว์ได้กินอาหารเข้าไปแล้วและอาหารก็เปลี่ยนเป็นพลังงาน และพร้อมที่จะนำไปใช้ในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ได้แก่ การเจริญเติบโต อาหารสัตว์ถูกใช้ในการสร้างเนื้อเยื่อในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นส่วนของหนัง โครงกระดูก และอวัยวะภายใน สัตว์แต่ละวัยมีความต้องการของจำนวนและปริมาณของอาหารที่ต่างกัน จึงควรจัดหาอาหารให้ถูกต้องและประหยัด การดำรงชีพ การให้พลังงานในการทำงานของอวัยวะส่วนต่าง ๆ เพื่อสามารถให้มีชีวิตอยู่ต่อไปได้ เช่น การหายใจ การเคลื่อนไหว การสืบพันธุ์ สัตว์ที่มีวัยที่เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ จำเป็นต้องการอาหารเพื่อให้กระบวนการของอวัยวะสืบพันธุ์ทำงานได้เป็นปกติ ทั้งสัตว์เพศผู้และเพศเมีย การให้ผลผลิต เมื่ออาหารเข้าสู่ร่างกายแล้วจะส่งเสริมให้สุขภาพ ร่างกายของสัตว์มีความเจริญเติบโต ไม่ว่าจะเป็นเนื้อของสัตว์ ปริมาณนมจากสัตว์ เป็นต้น ดังนั้นอาหารสัตว์จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง จึงต้องมีการพัฒนาอาหารสัตว์ให้มีคุณค่าแก่สัตว์มากที่สุด เช่น การนำมันสำปะหลังมาทำเป็นมันหมัก หมวดหมู่:อาหาร หมวดหมู่:อาหารสัตว์.

ดู พืชและอาหารสัตว์

อาหารหมา

อาหารสุนัข คือวัตถุจากพืชหรือสัตว์ที่มีไว้เพื่อจุดประสงค์ในการให้สุนัขหรือสัตว์จำพวกสุนัขอื่นๆ กิน อาหารสุนัขพิเศษที่ใช้ในการให้เป็นรางวัลให้กับสุนัขนั้นไม่ใช่อาหารสุนัขและมักเรียกกันว่าขนมสุนัข คนบางคนทำอาหารสุนัขเองโดยการนำวัตถุดิบที่หาได้ง่ายในร้านค้าทั่วไปนำมาผสมกันให้สุนัขกิน และคนบางกลุ่มคงยังใช้อาหารสุนัขแบบผลิตขายอยู่ มีการถกเถียงกันหลายครั้งหลายคราว่าอาหารของสุนัขที่ดีที่สุดควรจะเป็นอย่างไร บางคนเผยว่าสุนัขได้กินอาหารเหลือของมนุษย์มาเป็นล้านๆ ปีแล้วซึ่งก็ทำให้สุนัขมีสุขภาพดีไม่มีปัญหาและยังบอกอีกว่าอาหารสุนัขแบบผลิตหรือแบบเม็ดนั้นมีเนื้อคุณภาพต่ำ สารเจือปนอาหาร และส่วนประกอบอื่นๆ ที่สุนัขไม่ควรได้รับและไม่ได้สร้างมาตามธรรมชาติเพื่อสุนัขอย่างแท้จริง.

ดู พืชและอาหารหมา

อาหารแมว

แมวกำลังกินอาหารแมวชนิดเม็ด อาหารแมว คืออาหารที่ผลิตหรือปรุงแต่งขึ้นให้แมวกิน แมวมีความต้องการสารอาหารเฉพาะทาง ในกระบวนการผลิตนั้น สารอาหารบางอย่าง เช่น วิตามินหลายชนิด และกรดอะมิโน ลดคุณภาพได้จากอุณหภูมิ ความดัน และการปรุงแต่งด้วยสารเคมี ดังนั้นสารอาหารนี้จึงถูกเพิ่มหลังผลิตเสร็จเพื่อไม่ให้แมวขาดสารอาหาร | Perry T.

ดู พืชและอาหารแมว

อาณาจักร (ชีววิทยา)

ในชีววิทยา, อาณาจักร เป็นระดับหรือหมู่ที่ใหญ่เกือบที่สุดของสิ่งมีชีวิต ใช้ในการการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตในโลก นักอนุกรมวิธานมีความเห็นในการจัดหมวดหมู่แตกต่างกันไป เช่น แบ่งออกเป็น 5 อาณาจักร 6 อาณาจักร หรือ 8 อาณาจักร (แคมป์เบลล์, 1996) ซึ่งระบบที่เป็นที่นิยมใช้ในอดีตและปัจจุบันระบบหนึ่งคือระบบ 5 อาณาจักร ส่วนอีกระบบที่เริ่มแพร่หลายและคาดว่าจะได้รับความนิยมต่อไป คือระบบ 6 อาณาจักร 3 โดเมน.

ดู พืชและอาณาจักร (ชีววิทยา)

อาเคเชีย

''Acacia drepanolobium'' ''Acacia sp.'' อาเคเชีย (Acacia) เป็นไม้สกุลของไม้พุ่มหรือไม้ต้นที่อยู่ในวงศ์ย่อย Mimosoideae ของวงศ์ถั่ว บันทึกเป็นครั้งแรกในแอฟริกาโดยนักชีววิทยาชาวสวีเดนคาโรลัส ลินเนียส ในปี..

ดู พืชและอาเคเชีย

อิกัวโนดอน

อิกัวโนดอน (Iguanodon) เป็นสิ่งมีชีวิตสกุลหนึ่งในกลุ่มของไดโนเสาร์กินพืช มีขาหลังใหญ่และแข็งแรง ค้นพบซากดึกดำบรรพ์ในปลายยุคจูแรสซิกและต้นยุคครีเทเชียส (ประมาณ 135 ถึง 110 ล้านปีมาแล้ว) ในพื้นที่กว้างใหญ่ตั้งแต่ทวีปยุโรป ไปจนถึงตอนเหนือของทวีปแอฟริกา และเอเชียตะวันออก กิเดียน แมนเทล แพทย์และนักธรณีวิทยาชาวอังกฤษ ค้นพบอิกัวโนดอนเมื่อ พ.ศ.

ดู พืชและอิกัวโนดอน

อินทผลัม

อินทผลัม เป็นปาล์มชนิดหนึ่ง.

ดู พืชและอินทผลัม

อุทยานแห่งชาติไซออน

หุบเขาไซออน มองจากยอดของ Angels Landing ยามดวงอาทิตย์ตก อุทยานแห่งชาติไซออน (Zion National Park) เป็นอุทยานแห่งชาติทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ใกล้กับ Springdale รัฐยูทาห์ เมื่อ พ.ศ.

ดู พืชและอุทยานแห่งชาติไซออน

อีเห็นข้างลาย

อีเห็นข้างลาย หรือ อีเห็นธรรมดา หรือ มูสังหอม ในภาษาใต้ (Asian palm civet) เป็นอีเห็นขนาดเล็ก สีขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้มจนเกือบดำ ยกเว้นบริเวณรอบจมูก หู ขา และปลายหางมีสีดำมีลายสีขาวพาดขวางบริเวณหน้าผาก หลังมีจุดเล็ก ๆ สีดำเรียงตัวเป็นแนวยาว 3 เส้น จากไหล่ถึงโคนหาง หางมีความยาวพอ ๆ กับลำตัว ขนปลายหางบางตัวอาจมีสีขาว มีต่อมน้ำมันและจะส่งกลิ่นออกมาเมื่อเวลาตกใจ ซึ่งต่อมน้ำมันนี้จะแตกต่างจากชะมดหรืออีเห็นชนิดอื่น ๆ ตัวเมียมีเต้านม 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 43–71 เซนติเมตร ความยาวหาง 40.6–66 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–5 กิโลกรัม อีเห็นข้างลายมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบตั้งแต่รัฐชัมมูและกัศมีร์ และภาคใต้ของอินเดีย, ศรีลังกา, เนปาล, รัฐสิกขิม, ภูฏาน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะซูลาเวซี และหมู่เกาะซุนดาน้อย และมีชนิดย่อยมากถึง 30 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมมักอาศัยและหากินตามลำพัง สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ ป่าดิบชื้น, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ใกล้กับพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น สัตว์ขนาดเล็กจำพวกแมลง และน้ำหวานของเกสรดอกไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน นอนหลับในเวลากลางวัน ใช้เวลาส่วนมากตามพื้นดินและจะใช้เวลาน้อยมากอยู่บนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 2–4 ตัว โดยจะเลี้ยงลูกอ่อนไว้ตามโพรงไม้หรือโพรงหิน อีเห็นข้างลายไม่ได้ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2546 ปัจจุบันทางสวนสัตว์เชียงใหม่ได้มีโครงการในการเพาะเลี้ยงอีเห็นข้างลาย เพื่อผลิต "กาแฟขี้ชะมด" ซึ่งเป็นกาแฟที่ได้จากมูลของอีเห็นข้างลาย มีราคาซื้อขายที่สูงมาก และในการเพาะเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์ในการนี้ที่จังหวัดตรังโดยเอกชนด้วยหน้า 27, อะเมซซิง..."กาแฟขี้ชะมดตรัง" โดย มนตรี สังขาว.

ดู พืชและอีเห็นข้างลาย

อีเห็นเครือ

อีเห็นเครือ (Masked palm civet) สัตว์จำพวกชะมดและอีเห็นชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Paguma larvata จัดเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ในสัตว์จำพวกนี้ ขนตามลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ไม่มีจุดหรือลวดลายใด ๆ บริเวณท้องมีสีอ่อนกว่าส่วนหลัง หลังหูและหลังคอมีสีเข้ม ม่านตามีสีน้ำตาลแดง มีหนวดเป็นเส้นยาวบริเวณจมูกและแก้ม ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ตัวเมียมีเต้านม 2 คู่ ขนาดลำตัวและหัวยาว 50.8-76.2 เซนติเมตร ความยาวหาง 50.8-63.6 เซนติเมตร น้ำหนัก 3-5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ภาคเหนือของอินเดีย, ปากีสถาน, ตะวันออกของอัฟกานิสถาน, ไต้หวัน, ตะวันออกของจีน, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว, ตะวันตกของพม่า, สิกขิม, ภูฐาน, เนปาล มีชนิดย่อยทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ป่าเบญจพรรณ, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ติดกับพื้นที่ทำการเกษตรกรรม สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และจะใช้เวลาส่วนใหญ่บนต้นไม้ โดยจะกินทั้งพืชและสัตว์ แต่ในบางครั้งอาจมาหากินบนพื้นดินด้วย จากการศึกษาในเนปาลพบว่า มีการผสมพันธุ์กันในฤดูร้อน โดยในช่วงปลายฤดูฝนอีเห็นเครือตัวเมียจะสร้างรังในโพรงไม้ เพื่อใช้เลี้ยงดูลูกอ่อน ใช้เวลาตั้งท้องนาน 2 เดือน ออกลูกครั้งละ 2-4 ตัว อีเห็นเครือถูกสันนิษฐานว่าเป็นสัตว์ที่เป็นต้นตอแพร่เชื้อของโรคซาร์สที่ระบาดในฮ่องกงและจีนแผ่นดินใหญ่ ในช่วงปี พ.ศ.

ดู พืชและอีเห็นเครือ

องุ่น

องุ่น เป็นพืชยืนต้น มีลักษณะเป็นไม้พุ่มเลื้อย มีลักษณะเนื้อแข็งและมีลำต้น กิ่งถาวรอายุเกิน 1 ฤดู ถ้าปล่อยให้เจริญเติบโตตามธรรมชาติจะเลื้อยเกาะกิ่งไม้ ใบกลมขอบหยักเว้าลึก 5 พู โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ดอกออกเป็นช่อแยกแขนง ดอกย่อยขนาดเล็กสีเขียวมีหมวก จะหลุดออกเมื่อดอกบานกลีบดอกเมื่อบานสีขาว โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 กลีบ เป็นผลเดี่ยวที่ออกเป็นพวง (เป็นผลเดี่ยวที่เกิดจากดอกช่อแต่ดอกไม่หลอมรวมกัน) ผลย่อยรูปกลมรีและฉ่ำน้ำ มีผิวนวลเกาะและรสหวาน มีสีเขียว, ม่วงแดงและม่วงดำแล้วแต่พันธุ์ ในผลมีเมล็ดประมาณ 1 - 4 เมล็.

ดู พืชและองุ่น

อนุกรมวิธาน

อนุกรมวิธานวิทยา (อังกฤษ: Taxonomy) เป็นการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ตามสายวิวัฒนาการ อนุกรมวิธานเป็นวิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ ในการศึกษาอนุกรมวิธานจะมีศัพท์ที่ใช้เรียกแตกต่างกันออกไป ถ้าหากการศึกษาเป็นไปในทางรวบรวมตัวอย่าง (specimen) บิดาแห่งอนุกรมวิธานวิทยา คือ คาโรลัส ลินเนียส นักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน.

ดู พืชและอนุกรมวิธาน

อโศกอินเดีย

อโศกอินเดีย หรือ อโศกเซนต์คาเบรียล เป็นไม้ยืนต้นสูง ในวงศ์ Annonaceae มีลักษณะเป็นไม้ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มเป็นรูปปิรามิดแคบ ๆ สูงเต็มที่ได้ถึง 25 เมตร กิ่งโน้มลู่ลงทั้งต้น ทำให้แลดูต้นสูงชลูดมาก เปลือกต้นเกลี้ยงสีเทาเข้ม หรือเทาปนน้ำตาล ใบเดี่ยวรูปใบหอกแคบ ๆ ปลายแหลมยาว 15 - 20 เซนติเมตร สีเขียวเป็นมันเงางาม ขอบใบเป็นคลื่น ออกดอกในระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน จะออกดอกสีเขียวอ่อนเป็นกระจุกตามข้างๆ กิ่ง แต่ละดอกเป็นรูปดาว 6 แฉก กลีบดอกเป็นคลื่นน้อย ๆ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 - 2 เซนติเมตร ดอกบานอยู่นาน 3 สัปดาห์ ผลรูปไข่ ยาว 2 เซนติเมตร เมื่อสุกมีสีดำ เป็นไม้ต้นทรงสูงชะลูด สามารถสูงได้เกินกว่า 30 ฟุต เป็นแท่งกลมปลายแหลม ทรงพุ่มแผ่นทึบ ใบรูปหอก แนว ยาวสีเขียวเข้ม ขอบใบเป็นคลื่น ดอกออกเป็นช่อสีเขียวอ่อน รูปดาว 6 แฉก ดอกมีกลิ่นอ่อน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับและเป็นร่มเงา มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ประเทศอินเดียและศรีลังก.

ดู พืชและอโศกอินเดีย

อ้อย

อ้อย (อังกฤษ: Sugar-cane; ชื่อวิทยาศาสตร์: Saccharum officinarum  L.) เป็นพืชวงศ์ POACEAE วงศ์เดียวกับ ไผ่ หญ้าและธัญพืช เช่น ข้าวสาลี ข้าว ข้าวโพด และ ข้าวบาร์เลย์ มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในลำต้นอ้อยที่นำมาใช้ทำน้ำตาลมีปริมาณซูโครสประมาณ 17-35% ชานอ้อย (bagasse) ที่ถูกบีบเอาน้ำอ้อยออกไปแล้ว สามารถนำมาใช้ทำกระดาษ พลาสติก เป็นเชื้อเพลิง และอาหารสัตว์ ส่วนกากน้ำตาล (molasses) ที่แยกออกจากน้ำตาลในระหว่างการผลิต สามารถนำไปหมักเป็นเหล้ารัม (rum) ได้อีกด้วย อ้อยเป็นพืชชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากเมื่อพิจารณาในแง่ของผลผลิต เพราะอ้อยสามารถใช้ปัจจัยสำหรับการเจริญเติบโต เช่น แสงแดด น้ำ อากาศ และธาตุอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้อ้อยยังเป็นพืชที่ปลูกง่าย และเมื่อปลูกครั้งหนึ่งแล้ว สามารถเก็บเกี่ยวได้หลายครั้ง อ้อยชอบอากาศร้อนและชุ่มชื้น ดังนั้นประเทศที่ปลูกอ้อย ซึ่งมีประมาณ 70 ประเทศจึงอยู่ในแถบร้อนและชุ่มชื้นในระหว่างเส้นรุ้งที่ 35 องศาเหนือ และ 35 องศาใต้ ประเทศผู้ปลูกอ้อยที่สำคัญ ได้แก่ บราซิล คิวบา อินเดี.

ดู พืชและอ้อย

ฮวานง็อก

ว่านง็อก (เวียดนาม: Xuân hoa) ประวัติฮว่านง็อก (Pseuderanthemum Palatiferum) ถูกค้นพบในช่วงปลายปี..1990 ในป่า Cuc Phuong ทาง ตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ถือเป็นพืชชนิดใหม่ ที่ใช้ในการ รักษาโรค เนื่องจากไม่ปรากฏใน NAPRALERT (1995) ซึ่งเป็น ฐานข้อมูลพืชที่ใช้ในทางการแพทย์ท่วโลกของมหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา หลังจากท่พืชชนิดนี้ถูกค้นพบ พืชชนิด นี้ได้รับการปลูกอย่างกว้างขวางในประเทศเวียดนาม โดย ในประเทศไทย จากข้อมูลการบอกเล่า ถูกนำเข้ามาโดยกลุ่ม ทหารผ่านศึกสมัยสงครามเวียดนาม และต้นฮว่านง็อกได้ถูก นำเข้ามาในประเทศไทยกว่า 30 ปี ฮว่านง็อก ท่เริ่มเข้ามาแพร่หลายในประเทศไทย เร่มจากพื้นที่ในแถบภาคอีสาน ต้งแต่ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ สุรินทร์ และเมื่อเร่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น ได้มีการต้งช่อเพื่อสะดวกในการเรียกมากข้น เป็นช่อไทยว่า พญาวานร ว่านลิง ว่านพญาวานร หรือต้นลิง ลักษณะต้นฮว่านง็อก เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 1-3 ม.

ดู พืชและฮวานง็อก

ฮิอิรากิ (พืช)

อิรากิ (มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Osmanthus heterophyllus หรือรู้จักกันในชื่อ Holly Osmanthus เป็นพืชชนิดหนึ่งที่พบในแถบเอเชียตะวันออก.

ดู พืชและฮิอิรากิ (พืช)

ผกากรอง

ผกากรอง เป็นพืชในวงศ์ Verbenaceae เป็นพืชพื้นเมืองในทวีปอเมริกา นำไปปลูกเป็นไม้แต่งสวนในบริเวณจนอาจกลายเป็นพืชรุกรานในเขตร้อนได้ เป็นไม้พุ่มหรือไม้พุ่มกึ่งเลื้อย ปลายใบแหลม ขอบใบจักฟันเลื่อย เส้นใบเห็นเป็นร่องชัดเจน ดอกเป็นช่อกระจุก มีหลายสี ดอกย่อยเป็นทรงปากแตร ดอกมีกลิ่นฉุน ขนตามลำต้นเมื่อถูกผิวหนังทำให้คัน ถ้ารับประทาน ทำให้ปวดท้อง อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง หายใจขัด หมดสติ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซียนำใบไปต้มกับน้ำ ใช้ฉีดพ่นไล่แมลง ผลดิบของผกากรอง.

ดู พืชและผกากรอง

ผลไม้

แผงขายผลไม้ ผลไม้ (อีสาน: หมากไม้, บักไม้, ถิ่นเหนือ: หน่วยไม้) หมายถึง ผลที่เกิดจากการขยายพันธุ์โดยอาศัยเพศของพืชบางชนิด ซึ่งมนุษย์สามารถรับประทานได้ และส่วนมากจะไม่ทำเป็นอาหารคาว.

ดู พืชและผลไม้

ผัก

ผักในตลาด ผัก คือพืชที่มนุษย์นำส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชอาทิ ผล ใบ ราก ดอก หรือลำต้น มาประกอบอาหาร ซึ่งไม่นับรวมผลไม้ ถั่ว สมุนไพร และเครื่องเทศ แต่เห็ด ซึ่งในทางชีววิทยาจัดเป็นพวกเห็ดรา ก็นับรวมเป็นผักด้วย หลายบ้านมักจะปลูกผักไว้เพื่อบริโภคภายในครัวเรือน เรียกว่าเป็นผักสวนครัว หรือบางครั้งก็เพื่อเป็นไม้ประดับ ใช้พื้นที่ในการปลูกไม่มาก พืชผักส่วนใหญ่เป็นพืชที่มีอายุสั้นเพียงฤดูเดียว แต่ผักบางชนิดอาจมีอายุมากกว่า 1 ปี หากมีจำนวนมากเหลือจากการบริโภค ก็สามารถนำไปจำหน่ายได้.

ดู พืชและผัก

ผักบุ้งรั้ว

ผักบุ้งรั้ว หรือ บ้องเลน, มันจระเข้, มันหมู เป็นพืชในวงศ์ Convolvulaceae ลักษณะเป็นไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 5 เมตร ใบรูปรี รูปไข่ถึงแกมใบหอก ยาว 2.5-5 เซนติเมตร แฉกกลางขนาดใหญ่กว่าแฉกข้าง ก้านใบยาว 2-8 เซนติเมตร ดอกออกเป็นช่อรูปกรวยสีม่วงอมชมพู 1-3 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-2 เซนติเมตร ก้านช่อดอกยาว 2-8 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงสีเขียว กลีบดอกสีม่วงอ่อน ด้านในสีม่วงเข้ม ผลกลมเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร เมล็ดขนาดประมาณ 5 มิลลิเมตร สีดำ มีขนสั้นนุ่มสารานุกรมพืชในประเทศไทย (ฉบับย่อ), ราชันย์ ภู่มา และคณะ, หน้า 279,..

ดู พืชและผักบุ้งรั้ว

ผักบุ้งทะเล

ผักบุ้งทะเลริมหาด อ่าวต้นไทร เกาะพีพีดอน ผักบุ้งทะเล เป็นไม้ล้มลุกเถาเลื้อย ลำต้นทอดไปตามยาวบนพื้นดิน มักขึ้นใกล้ทะเล ผิวเถาเรียบสีเขียวและม่วง ใบเป็นรูปหัวใจปลายเว้าเข้าหากัน ตามเถาและใบมียางสีขาว ดอกจะออกเป็นช่ออยู่ตามง่ามใบ ช่อหนึ่งจะมีดอกอยู่ประมาณ 2 - 6 ดอก แต่จะทยอยกันบานทีละดอกเท่านั้น ลักษณะของดอกเป็นรูปปากแตรยาวประมาณ 2.5 นิ้ว มีสีม่วงอมชมพู ม่วงอมแดง ชมพูหรือม่วง ผักบุ้งทะเลมีพิษ ถ้ารับประทานจะเกิดอาการเมา คลื่นไส้ วิงเวียน และ เสียชีวิตได้.

ดู พืชและผักบุ้งทะเล

ผักชีช้าง

ผักชีช้าง หรือ จ๋วงเครือ (คำเมือง) สามร้อยราก (กาญจนบุรี) หรือ สามสิบ หรือ รากสามสิบ เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบในแอฟริกา จีน อินโดจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงทางเหนือของออสเตรเลีย เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน ปลายรากเป็นหัวยาว ลำต้นเกลี้ยงมีหนามยาว เลื้อยพันได้ ใบจริงลดรูปเป็นใบเกล็ดขนาดเล็ก ดอกมีกลิ่นหอม ดอกสีขาวมีแถบสีเขียว เกสรตัวผู้ยาวเท่ากลีบดอก ผลมีเนื้อหลายเมล็ด ผลสุกสีแดงมี 1-3 เมล็ด ทนต่อความแห้งแล้งได้ดี ต้นรากสามสิบมีสรรพคุณในเรื่องการฟื้นฟูความสาว เป็นสมุนไพรที่ได้กล่าวไว้ในคัมภีร์พระเวท ของประเทศอินเดีย มีชื่อเป็นภาษาบาลีสันสกฤตว่า ศตาวรี (Shatawari) หมายความว่า ต้นไม้ที่มีรากเป็นร้อยๆ หรือบางตำราหมายถึงผู้หญิงที่มีสามีเป็นคนร้อยคน เรียกได้ว่ามีการใช้สมุนไพรชนิดนี้มานานเป็นพันๆ ปี มีสารสำคัญในรากคือ อัลคาลอยด์ แอสพาราจีน จึงนำรากมาใช้เป็นยาสมุนไพร ทั้งยาบำรุงครรภ์ ขับปัสสาวะ บำรุงกำลัง แก้ท้องเสีย และโรคเกี่ยวกับลำไส้ ในอินโดนีเซียนำรากที่มีลักษณะเป็นหัวใบเคลือบน้ำตาลใช้เป็นของหวาน ในอินเดียใช้หัวเคลือบน้ำตาลรับประทานเป็นยากระตุ้นสมรรถภาพทางเพศ ใช้กระตุ้นน้ำนมในวัวนม และใช้เป็นไม้ประดับ ในไทยนำรากไปเชื่อมหรือแช่อิ่มรับประทาน ทางภาคใต้นำส่วนเหนือดินมาใส่ในแกงส้มและแกงเลียง.

ดู พืชและผักชีช้าง

ผักชีล้อม

''Foeniculum vulgare'' ผักชีล้อม (ชื่อวิทยาศาสตร์ Foeniculum vulgare Mill.) เป็นเครื่องเทศที่มีลักษณะใบสีเขียวสด ขี้นในน้ำหรืออาจปลูกในอ่างบัวก็ได้ นิยมใช้แพร่หลายมาช้านาน ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก กล่าวกันว่าเดิมนั้นเป็นพืชประจำท้องถิ่นของแถบเมดิเตอร์เรเนียน นับเป็นพืชที่ให้น้ำมันระเหย ซึ่งมีกล่าวไว้ในนิทานปรัมปราของกรีก และนิทานพื้นบ้านของอิตาลีด้วย ในช่วงขณะหนึ่งที่ยังเรียกกันอย่างสับสนนั้น เรียกผักชีล้อมว่า ยี่หร่าบ้าง ผักชีฝรั่งบ้าง เพื่อความเป็นกลาง กรมวิชาการเกษตร จึงประกาศไว้ใน บัญชีแนบท้ายประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง ทะเบียนพันธุ์พืชในประเทศไทย กำหนดให้เรียกเครื่องเทศชนิดนี้ ว่า ผักชีล้อม เป็นชื่ออย่างเป็นทางการในภาษาไทย อันหมายถึง fennel ในภาษาอังกฤษ ส่วนชื่อในท้องถิ่นอื่นของไทยเรียกว่า เทียนแกลบ ผักชีเดือนห้า หรือเรียกแค่ ผักชี ก็มี ในภาษาอังกฤษเรียกว่า fennel มีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า fenum อันเป็นคำศัพท์ที่ใช้บรรยายกลิ่นที่หอมหวาน เล่ามาว่าสตรีชาวโรมันนิยมรับประทานผักชีล้อมเพื่อลดความอ้วน ปัจจุบันมีการใช้ผักชีล้อมมากมายในตำรับอาหาร ซึ่งมีส่วนช่วยให้อาหารที่มีมันมากไม่เลี่ยน และย่อยได้ง่าย เชื่อกันว่าผักชีล้อมนั้นช่วยเสริมความแข็งแกร่งและความกล้าหาญ และยังทำให้มีชีวิตยืนยาวด้วย เชื่อกันว่างูนั้นกินผักชีล้อมเพื่อช่วยให้ลอกคราบ ในสมัยกลางนั้น มีการห้อยผักชีล้อมไว้เหนือประตูเพื่อขจัดวิญญาณชั่วร้าย ดอกผักชีล้อมนั้นสีขาว เป็นพืชปรุงรสที่สำคัญอย่างหนึ่ง มีกลิ่นฉุนรสร้อนแรง ใช้ปรุงอาหารหลายชนิด เชื่อว่ายังช่วยรักษาโรคตา และรักษาสายตาด้ว.

ดู พืชและผักชีล้อม

ผักกาดหอม

ผักกาดหอม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Lactuca sativa) เป็นพืชในวงศ์ Asteraceae ลำต้นเตี้ย แต่ส่วนที่เจริญมากที่สุดคือใบ แต่ละสายพันธุ์ก็มีช่วงฤดูกาลที่เหมาะสมไม่เหมือนกัน มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชียและยุโรป ประเทศจีนปลูกผักกาดหอมมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ผักกาดหอมมีชื่อเรียกอื่นๆ อีกเช่น ผักสลัด ผักกาดยี พังฉ้าย เป็นต้น มนุษย์นำใบของผักกาดหอมมาบริโภค มักใช้เป็นส่วนประกอบของสลัด แซนด์วิช แฮมเบอร์เกอร์ ทาโก้ หรือรับประทานเป็นผักสด แกล้มกับอาหารรสจัดจำพวกยำหรือลาบ สาคูไส้หมู หรือข้าวเกรียบปากหม้อ หรือแม้แต่ใช้เป็นผักตกแต่งเพื่อความสวยงาม ผักกาดหอมมีคุณค่าทางโภชนาการสูง ความต้องการใช้ผักกาดหอมของผู้บริโภคมีอยู่ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะช่วงที่มีเทศกาลงานต่าง ๆ เช่น งานปีใหม่ จะขายดีเป็นพิเศษ.

ดู พืชและผักกาดหอม

ผักกาดหัว

ผักกาดหัว (subsp. longipinnatus) หรือชื่ออื่น ๆ เช่น หัวผักกาด, หัวไช้เท้า หรือ หัวไชเท้า เป็นสปีชีส์ย่อยของ ผักกาดหัวสีแดง (R.

ดู พืชและผักกาดหัว

ผักกูด

ผักกูด เป็นชื่อของผักชนิดหนึ่งที่อยู่ในตระกูลเฟิร์นที่อยู่ในวงศ์ Athyriaceae ซึ่งมนุษย์สามารถนำมาปรุงเป็นอาหารได้ นอกจากจะนำมาเป็นอาหารได้แล้วยังนำมาเป็นสมุนไพรได้อีกด้วย ผักกูดมักจะขึ้นอยู่ตามริมน้ำหรือพื้นที่ชุ่มน้ำ มากกว่าในป่าทึบ มักพบบ่อยเพราะเป็นช่วงเจริญเติบโตในฤดูฝน มีเหง้าสูงได้ 1 เมตร ใบเป็นแผงรูปขนนก ตอนอายุยังน้อยจะแตกเป็นรูปขนนกชั้นเดียวคู่ขนานกันไปตั้งแต่โคนใบถึงปลายใบ เมื่ออายุมากขึ้นใบจะเปลี่ยนเป็นรูปขนนก 2 ชั้น ยอดอ่อนและปลายยอดม้วนงอแบบก้นหอย พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทวีปเอเชียและโอเชียเนีย ใบของผักกูดใช้ต้มน้ำดื่มหรือกินสด ช่วยแก้ไข้ตัวร้อน, แก้พิษอักเสบ, บำรุงสายตา, บำรุงโลหิต, แก้โลหิตจาง ป้องกันเลือดออกตามไรฟันและขับปัสสาวะเด็ดขาดมาก ลดความดันโลหิตสูง ลดคอเลสเตอรอลในเม็ดเลือด มีสารบีตา-แคโรทีนและธาตุเหล็กสูง ส่วนใหญ่จะนำใบอ่อน ช่ออ่อน ทำแกงกับปลาเนื้ออ่อนน้ำจืด เช่นปลาช่อนหรือลวกจิ้มน้ำพริกชนิดต่างๆ ยำผักกูด, ผักกูดผัดน้ำมันหอย, แกงกะทิกับปลาย่าง, ลวกกะทิ แต่ไม่นิยมกินสด ๆ กันเพราะจะมียางเป็นเมือกอยู่ที่ก้าน นอกจากนี้แล้ว ผักกูดยังเป็นดัชนีชี้วัดถึงสภาพแวดล้อมให้ได้รู้ว่า บริเวณไหนอากาศไม่ดี ดินไม่บริสุทธิ์ มีสารเคมีเจือปนอยู่ ผักกูดจะไม่ขึ้นหรือแตกต้นในบริเวณนั้นเด็.

ดู พืชและผักกูด

ผักหวานบ้าน

ผักหวานบ้าน ภาษากะเหรี่ยงเรียก ตาเชอเด๊าะ เป็นผักพื้นเมืองที่เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง แตกกิ่งโน้มลงด้านล่าง ใบเดี่ยว ก้านใบสั้น ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ ก้านดอกห้อยลง ดอกแยกเพศ กลีบรวมอวบน้ำ ใบผักหวานบ้านนั้นมีส่วนที่คล้ายใบมะยม แต่ว่าแตกต่างจากใบมะยมตรงที่ผักหวานบ้านจะมีนวลสีขาว ๆ บนหน้าใบ ผักหวานบ้านเป็นผักชนิดหนึ่งที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงมาก นอกจากนั้น สารสกัดด้วยเอทานอลยังมีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาที สามารถยับยั้งการเจริญของคะน้าได้ ชาวกะเหรี่ยงนำยอดอ่อนและใบอ่อนลวกหรือต้ม รับประทานกับน้ำพริก หรือใส่ในแกงปลาแห้ง.

ดู พืชและผักหวานบ้าน

ผักหวานป่า

ผักหวานป่า เป็นพืชในวงศ์ Opiliaceae ป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ต้นที่โตเต็มที่อาจสูงถึง 13 เมดร ที่พบโดยทั่วไปมักมีลักษณะเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก หรือเป็นไม้พุ่ม เนื่องจากมีการหักกิ่งเด็ดยอดเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิ่งและยอดอ่อนซึ่งเป็นส่วนที่ใช้บริโภค ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกัน ใบอ่อนรูปร่างแคบรี ปลายใบแหลม สีเขียวอมเหลือง ใบแก่เต็มที่รูปร่างรีกว้าง ถึงรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ใบสีเขียวเข้ม เนื้อใบกรอบ ขอบใบเรียบ ปลายใบมน ขนาดของใบประมาณ 2.5-5 ซม.

ดู พืชและผักหวานป่า

ผักหนาม

ผักหนาม หรือกะลี เป็นพืชล้มลุกที่อยู่ในวงศ์ Araceae มันเป็นพืชที่มีเหง้าอยู่ใต้ดินโดยมีหนามเกาะอยู่เต็มลำต้น ใบเดี่ยว ผิวใบด้านล่างและก้านใบมีหนาม ดอกช่อมีกาบหุ้มช่อดอกขนาดใหญ่รองรับช่อดอก สีเหลือง ดอกย่อยจำนวนมาก ผลมีเมล็ดเดียว พบทั่วไปบริเวณริมน้ำหรือพื้นที่ชื้น ชาวขมุใช้ดอกและยอดอ่อนใส่แกงหรือต้มจิ้มน้ำพริก ยอดอ่อนใช้ทานเป็นผัก เหง้าใช้เป็นยาแก้ไอ ขับเสมหะ ต้มน้ำอาบแก้คัน ใบแก้ปวดท้อง รากต้มน้ำดื่มแก้เจ็บคอ นักวิจัยจากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีการทดลองนำผักหนามมาบดผสมไปในอาหารเลี้ยงไก่ ทำให้ไก่มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นทดแทนการใช้ยาปฏิชีวน.

ดู พืชและผักหนาม

ผักตบชวา

ผักตบชวา เป็นพืชน้ำล้มลุกอายุหลายฤดู สามารถอยู่ได้ทุกสภาพน้ำ มีถิ่นกำเนิดในแถบลุ่มน้ำแอมะซอน ประเทศบราซิล ในทวีปอเมริกาใต้ มีดอก สีม่วงอ่อน คล้ายช่อดอกกล้วยไม้ และแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วจนกลายเป็นวัชพืชที่ร้ายแรงในแหล่งน้ำทั่วไป มีชื่อเรียกในแต่ละท้องถิ่นดังนี้: ผักปอด, สวะ, ผักโรค, ผักตบชวา, ผักยะวา, ผักอีโยก, ผักป่อง.

ดู พืชและผักตบชวา

ผักแพว

ผักแพว หรือ ผักไผ่ เป็นผักพื้นบ้านจำพวกพืชล้มลุกที่มีลักษณะใบเรียวยาวและมีกลิ่นแรงชนิดหนึ่ง ผักแพวเป็นผักที่อยู่ในวงศ์ Polygonaceae มีลักษณะลำต้นคล้ายต้นไผ่ มีข้อตามต้นเหมือนเป็นปล่องไผ่ มีใบยาวรี ปลายแหลมเหมือนใบไผ่ เกิดเองตามธรรมชาติตามที่ชื้นพื้นราบ ตามแอ่งน้ำต่าง ๆ นอกจากนั้นยังพบขึ้นตามป่า ตามโคนกอไผ่อีกด้วย มีอายุเพียงปีเดียว กินยอด กินใบได้ตลอดลำต้น เพราะใบอ่อน เส้นใยไม่หยาบกระด้าง ขยายพันธุ์ด้วยการชำกิ่งเท่านั้น.

ดู พืชและผักแพว

ผักเหมียง

ผักเหมียง ผักเหลียง เป็นพืชเมล็ดเปลือยในสกุลมะเมื่อย ลักษณะเป็นไม้พุ่ม เมล็ดแก่สีส้ม ติดเมล็ดช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และทางตะวันตกของหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก แพร่กระจายจากรัฐอัสสัมผ่านอินโดนีเซีย มาเลเซียไปจนถึงฟิลิปปินส์และฟีจี ในไทยพบทางภาคใต้ เช่น พบในจังหวัดพังงา ภูเก็ต ชื่อในภาษาต่าง ๆ ได้แก่ เมอลินโจ หรือ เบอลินโจ (ภาษาอินโดนีเซีย), บาโก (ภาษามลายู, ภาษาตากาล็อก), ปีแซ (ภาษามลายูปัตตานี), แด (ภาษากวาราแอ) และ Bét, Rau bép, Rau danh หรือ Gắm (ภาษาเวียดนาม).

ดู พืชและผักเหมียง

ผำ

แหน, ไข่น้ำ, ไข่ขำ หรือ ผำ เป็นพืชมีดอกที่มีขนาดเล็กที่สุด จัดอยู่ในวงศ์ Lemnaceae สกุล Wolffia อาศัยลอยอยู่บนผิวน้ำ อาจลอยอยู่เป็นกลุ่มล้วน ๆ หรือลอยปนกับพืชชนิดอื่น ๆ เช่น แหน แหนแดง ก็ได้ มีรูปร่างรี ๆ ค่อนข้างกลม มีขนาดยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร แต่ละต้นมีสีเขียว ไม่มีราก ไม่มีใบ ต้นประกอบด้วยเซลล์ชนิดพาเรงคิมาเป็นส่วนใหญ่ มีช่องอากาศแทรกอยู่ระหว่างเซลล์ ทำให้เห็นเป็นฟองน้ำ และช่วยให้มีการลอยตัวอยู่ในน้ำได้ ไม่มีเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่นำน้ำและอาหาร มีช่องให้อากาศเข้าออกได้อยู่ทางบนของต้น ไข่แหนกระจายอยู่ในประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ในทวีปแอฟริกากลาง ทางใต้ในเกาะมาดากัสการ์ และในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะบริเวณเขตศูนย์สูตรใต้ และตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ยังพบในประเทศบราซิล ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศออสเตรเลียด้ว.

ดู พืชและผำ

ผึ้ง

ำหรับผึ้งในความหมายอื่น ดูที่: ผึ้ง ผึ้ง จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมอาร์โธรพอด จัดเป็นแมลงชนิดหนึ่งอาศัยรวมกันอยู่เป็นฝูง โดยส่วนใหญ่จะออกหาอาหารเป็นน้ำหวานจากเกสรของดอกไม้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อพืชในการผสมพันธุ์ ผึ้งทำงานกันเป็นระบบ มีผึ้งนางพญาเป็นหัวหน้าใหญ่ มนุษย์รู้จักผึ้งมานาน 7000 ปีแล้ว ฟาโรห์เมเนสของอียิปต์โปรดให้ผึ้งเป็นสัญลักษณ์แห่งอาณาจักรของพระองค์ คาดว่าผึ้งมีมากกว่า 30,000 ชนิด ซึ่งมากกว่ามนุษย์, ปลา และสัตว์เลื้อยคลานรวมกันเสียอีก ลักษณะทั่วไปของผึ้ง แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ.

ดู พืชและผึ้ง

ผีเสื้อราตรี (ไม้ล้มลุก)

ผีเสื้อราตรี หรือ ปีกผีเสื้อ เป็นไม้ล้มลุก มีหัว มีใบประกอบคล้ายนิ้วมือ มักจะหุบใบในเวลากลางคืน ใบมีลักษณะประกอบคล้ายสามเหลี่ยม โดยมีมุมแหลมชนกัน มีสีชมพู - ม่วง ออกดอกเป็นดอกเดี่ยว โดยก้านดอกออกจากก้านลำต้น มีสีชมพูม่วง มีกลีบดอก 5 กลีบ เป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีเกสรตัวผู้ 5-6 ตัว.

ดู พืชและผีเสื้อราตรี (ไม้ล้มลุก)

ผีเสื้อแสนสวย

ผีเสื้อแสนสวย เป็นไม้พุ่ม จะสูงประมาณ 1 - 1.5 เมตร พุ่มโปร่ง รูปทรงพุ่มกลม ขนาดพุ่มเป็นกอใหญ่ประมาณ 1 เมตร ลำต้นเมื่อแก่แล้วมีสีน้ำตาลเข้มไปสู่น้ำตาลอ่อน ลำต้นอ่อนออกเป็นสีเขียว ใบเขียวตลอดทั้งใบ ผิวสัมผัสหยาบ ดอกเป็นสีฟ้า กับสีฟ้าอ่อนจนแทบขาว เมื่อดอกบานออกมาจะเหมือนผีเสื้อ มีทั้งปีกบนสองปีก ปีกล่างสองปีกข้างลำตัว มีหนวดเป็นเกสรตัวผู้ที่ยาวอย่างอ่อนช้อย มีดอกตลอดทั้งปี ไม่มีกลิ่นหอม ผีเสื้อแสนสวย ชอบดินร่วนเหนียว ความชื้นปานกลาง แสงแดดเต็มวันขยายพันธุ์โดยการปักชำกิ่ง เพาะเมล็ดและการตอนกิ่ง ควรปลูกเป็นกอละ 6 ต้นต่อตารางเมตร หรือ 3 ต้นต่อตารางเมตร หรือปลูกเป็นลำต้นเดี่ยวๆ เป็นแถวยาว.

ดู พืชและผีเสื้อแสนสวย

ผนังเซลล์

แผนภูมิเซลล์พืช แสดงผนังเซลล์ด้วยสีเขียว ผนังเซลล์ (Cell wall) คือ ชั้นที่ล้อมเซลล์ซึ่งอยู่ถัดจากชั้นของเยื่อหุ้มเซลล์ มักพบอยู่ในพืช แบคทีเรีย อาร์เคีย เห็ดรา สาหร่าย แต่ไม่พบในสัตว์และโพรทิสต์ ผนังเซลล์ทำหน้าที่เป็นตัวค้ำจุนโครงสร้าง ปกป้องเซลล์ คัดกรองสาร และยังมีหน้าที่ป้องกันการขยายตัวมากเกินไปหากน้ำไหลผ่านเข้าสู่ภายในเซลล.

ดู พืชและผนังเซลล์

จอกบ่วาย

อกบ่วาย เป็นพืชกินสัตว์ขนาดเล็กอยู่ในสกุลหยาดน้ำค้างเป็นพืชฤดูเดียว มีลักษณะลำต้นแนบไปกับพื้น ใบเป็นแผ่นมนรี ค่อนข้างหนา ลักษณะคล้ายช้อน เรียงกันเป็นรูปวงกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 ถึง 3 ซม.

ดู พืชและจอกบ่วาย

จอกหูหนู

อกหูหนู Roxb.

ดู พืชและจอกหูหนู

จันทร์กระจ่างฟ้า

ันทร์กระจ่างฟ้า เป็นไม้เถาเลื้อย เนื้อแข็ง มีสีน้ำตาล กิ่งอ่อนสีเขียว และมีสีแดงเรื่อ มีดอกสีเหลืองสด ขยายพันธุ์ด้วยการการปักชำ และตอนกิ่ง นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ดู พืชและจันทร์กระจ่างฟ้า

จันทน์กะพ้อ

ันทน์กะพ้อ เป็นพันธุ์ไม้ในวงศ์ Dipterocarpaceae พวกเดียวกับยางนาและพะยอม บางพื้นที่ทางภาคใต้เรียก จันทน์พ้อ หรือ จันพอและที่จังหวัดพังงาเรียก เขี้ยวงู.

ดู พืชและจันทน์กะพ้อ

จั๋งญี่ปุ่น

ั๋งญี่ปุ่น (lady palm หรือ Bamboo palm) เป็นไม้พุ่มสูง 10-15 ฟุต ลำต้นมีขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 2 นิ้ว มีการแตกหน่อ มองดูเป็นกอเหมือนกอไผ่ ลำต้นแข็งเหนียว คล้ายหวาย มีแผ่นใบหยาบ ๆ สีน้ำตาลเข้มคลุมบาง ๆ ใบเป็นใบประกอบ รูปฝ่ามือ มีใบย่อย 8-10 ใบ สีเขียวเป็นมัน แผ่เป็นครึ่งวงกลม ก้านใบเรียบเป็นมัน ปลายใบทู่ ดอกช่อ ออกตามซอกใบบริเวณปลายยอด แยกเป็นช่อดอกตัวผู้และช่อดอกตัวเมีย แยกคนละต้น ผลขนาดเล็กกลม สีเขียวอ่อนอมเหลือง เมล็ดมี 1 เมล็ดใน 1 ผล การขยายพันธุ์เพาะเมล็ด แยกหน่อ ใช้จัดสวนหย่อม หรือปลูกเป็นกอเดี่ยวตามมุมอาคารที่ไม่มีชายคา ปลูกเป็นไม้ประธานในการจัดสวน ใช้ประดับอาคารหรือที่ได้รับแสงรำไร.

ดู พืชและจั๋งญี่ปุ่น

จาก

ลำต้นของจากอยู่ใต้ดิน ส่วนที่โผล่ขึ้นคือใบ ช่อดอกของจาก เกาะเป็นก้อนกลม จาก เป็นพืชจำพวกปาล์ม โดยมีการจัดอยู่ที่ในวงศ์ย่อย Nypoideae ซึ่งมีสกุลเดียว และเป็นปาล์มเพียงชนิดเดียวที่เป็นพืชในป่าชายเลน และมีลำต้นอยู่ใต้ดิน นับเป็นพืชเก่าแก่มากชนิดหนึ่ง ที่มีซากดึกดำบรรพ์อายุถึง 70 ล้านปี จากพบได้ทั่วไปในเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งในบริเวณน้ำจืด และน้ำกร่อย ที่มีน้ำเค็มขึ้นถึง มักจะขึ้นเป็นดงขนาดใหญ่ เรียกว่า ป่าจาก หรือดงจาก จากสามารถเติบโตได้ดีในดินโคลน ตามป่าชายเลน หรือบริเวณริมคลองที่มีไม้ให้ร่มเงาปะปนอยู่ด้วย มักอยู่ในช่วงที่มีน้ำจืดและน้ำกร่อยปนกัน แต่บนบกที่น้ำท่วมถึงก็พบจากได้บ้างเช่นกัน หากดินไม่แห้งแล้งนานจนเกินไป มีคุณสมบัติกันยุงได้.

ดู พืชและจาก

จารุจินต์ นภีตะภัฏ

ร.จารุจินต์ นภีตะภัฏ (22 มกราคม พ.ศ. 2493 - 12 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ หรือ อพว.

ดู พืชและจารุจินต์ นภีตะภัฏ

จำปาดะ

ำปาดะ (cempedak, เจิมเปอดะก์) คือชื่อของไม้ยืนต้นชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ Moraceae ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกับขนุน ถิ่นกำเนิดอยู่ในคาบสมุทรมลายู อินโดนีเซีย และเกาะนิวกินี ลักษณะเป็นไม้ยืนต้น มียางสีขาวขุ่น ใบเป็นมัน ผลคล้ายขนุนแต่เล็กกว่า ผลดิบเปลือกแข็ง มียางมาก พอสุก เปลือกนิ่มลง ยางน้อยลง เนื้อมีกลิ่นหอมและรสหวานจัด ผลจำปาดะผ่าครึ่ง จำปาดะในตลาดที่ประเทศจีน ผลจำปาดะสามารถทำอาหารได้หลากหลาย มีกลิ่นเฉพาะตัว ทั้งกินเป็นผลไม้สด ชุบแป้งข้าวเจ้าแล้วทอดซึ่งเป็นที่นิยมในภาคใต้ของไทย สิงคโปร์และมาเลเซีย เมล็ดอย่างเดียวนำไปต้มให้สุก หรือใส่ในกับข้าวเช่นแกงไตปลา ผลอ่อนต้มกับกะทิใช้เป็นผัก ผลอ่อนนำไปแกงได้ เนื้อไม้สีเหลืองหรือน้ำตาลใช้ทำเครื่องเรือนและต่อเรือ เปลือกลำต้นใช้ฟั่นเชือก.

ดู พืชและจำปาดะ

จำปาเทศ

ำปาเทศ หรือ กระหนาย เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในสกุลกะหนานปลิง เปลือกลำต้นสีเทาแตกเป็นร่องเป็นสะเก็ดบิดเวียนตามยาว โคนลำต้นมักเป็นปุ่มเป็นโพรง แตกกิ่งจำนวนมาก กิ่งอ่อนยาว ปลายกิ่งห้อยลู่ กิ่งและก้านใบมีขนสีน้ำตาลปกคลุมทั่วไป ใบเดี่ยว เรียงระนาบเดียวกัน รูปขอบขนาน แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีขาว ผิวใบด้านบนเป็นมัน หลังใบมีขนละเอียดสีเทาหนาแน่น เส้นกลางใบและเส้นแขนงใบเป็นสันนูนเด่นชัด โคนใบเว้าตื้นและเบี้ยวปลายใบแยกเป็นแฉก ออกดอกตามซอกใบบริเวณใกล้ปลายยอด กลีบเลี้ยงเป็นแผ่นหนาแข็ง กลีบดอกบาง สีขาว หอมเย็นตลอดวัน ออกดอกตลอดปี ผลเป็นทรงกระบอกสั้น เป็นเหลี่ยม มีขนบาง แก่แล้วแตก เมล็ดมีปีกเป็นแผ่นสีขาวออกดอกช่วงเมษายน – ตุลาคม พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก เป็นไม้ถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดยหมอคาร์ที่บริเวณใกล้ชายหาด อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ปัจจุบันใช้เป็นไม้ประดับ การขยายพันธุ์ใช้วิธีตอนกิ่ง เพาะเมล็ด เปลือกใช้เป็นยาลดไข้.

ดู พืชและจำปาเทศ

จำปูน

ำปูน เป็นพรรณไม้ดอกชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมหวาน ดอกมีขนาดเล็ก กลีบหนา อูม ดอกมีลักษณะคล้ายดอกบัวตูม ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Anaxagorea javanica Blume.

ดู พืชและจำปูน

จำปี

ำปี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Michelia alba DC.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า จุมปี, จุ๋มปี๋ (ภาคเหนือ) มีถิ่นกำเนิดทางตอนใต้ของจีน มาเลเซียและอินโดนีเซีย แบ่งเป็นสปีชีส์ได้ประมาณ 50 ชน.

ดู พืชและจำปี

จำปีแขก

ำปีแขก หรือ จำปาแขก (Banana Shrub, Port Wine Magnolia, Dwarf Chempaka) เป็นไม้พุ่มที่มีขนสีน้ำตาลอยู่ทั่วไป โดยเฉพาะตามกิ่งก้าน และดอกตูมออกออกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ มีขนคลุมทางด้านนอก กลีบดอก 2 วง วงละ 3 กลีบ สีขาวนวล กลีบหนาแข็ง ยาว 2 - 3 ซม.

ดู พืชและจำปีแขก

จิ้งหรีด

้งหรีด หรือ จังหรีด (Cricket; วงศ์: Gryllidae) เป็นแมลงจำพวกหนึ่ง อยู่ในวงศ์ Gryllidae ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อยต่าง ๆ อีกจำนวนหนึ่ง (ดูในตาราง) จิ้งหรีดถือเป็นแมลงที่มีขนาดลำตัวปานกลางเมื่อเทียบกับแมลงโดยทั่วไป มีปีก 2 คู่ คู่หน้าเนื้อปีกหนากว่าคู่หลัง ปีกเมื่อพับจะหักเป็นมุมที่ด้านข้างของลำตัว ปีกคู่หลังบางพับได้แบบพัดสอดเข้าไปอยู่ใต้ปีกคู่หน้า ปากเป็นชนิดกัดกิน หัวกับอกมีขนาดกว้างไล่เลี่ยกัน ขาคู่หลังใหญ่และแข็งแรงใช้สำหรับกระโดด ตัวผู้มีอวัยวะพิเศษสำหรับทำเสียงเป็นฟันเล็ก ๆ อยู่ตามเส้นปีกบริเวณกลางปีก ใช้กรีดกับแผ่นทำเสียงที่อยู่บริเวณท้องปีกของปีกอีกข้างหนึ่ง อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่เป็นที่รู้จักกันดีของจิ้งหรีด ขณะที่ตัวเมียจะไม่สามารถทำเสียงดังนั้นได้ และจะมีอวัยวะสำหรับใช้วางไข่เป็นท่อยาว ๆ บริเวณก้นคล้ายเข็ม เห็นได้ชัดเจน จิ้งหรีดสามารถพบได้ในทั่วโลก โดยเฉพาะในเขตร้อนชื้น พบแล้วประมาณ 900 ชนิด ในประเทศไทยก็พบได้หลายชนิด จิ้งหรีดเป็นแมลงที่กัดกินพืชชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร สามารถกินได้หลายชนิด มักออกหากินในเวลากลางคืน มักจะอาศัยโดยการขุดรูอยู่ในดินหรือทราย ในที่ ๆ เป็นพุ่มหญ้า แต่ก็มีจิ้งหรีดบางจำพวกเหมือนกันที่อาศัยบนต้นไม้เป็นหลัก สำหรับในประเทศไทย พบจิ้งหรีดได้ทั่วทุกภูมิภาค ชนิดของจิ้งหรีดที่พบ ได้แก่ จิ้งหรีดทองดำ (Gryllus bimaculatus), จิ้งหรีดทองแดง (G.

ดู พืชและจิ้งหรีด

จุกนารี

อดอก มองเห็นเกสรตัวผู้ โค้งเป็นรูปตัว s ชัดเจน (ภาพ: สะเมิง เชียงใหม่) จุกนารี หรือ เอ็นอ้าขน หรือ โคลงเคลงขนเป็นพืชมีดอกในวงศ์ Melastomataceae เป็นพืชท้องถิ่นในเขตภูเขาของจีน ภูฏาน พม่า กัมพูชา ลาว อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ เนปาล ไทยและเวียดนาม.

ดู พืชและจุกนารี

ธรรมชาติวิทยา

ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ธรรมชาติวิทยา หรือ ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ หมายถึงคำรวมที่ใช้เรียกสรรพสิ่งทั้งหลายที่ปัจจุบันมองว่าเป็นศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีความเฉพาะชัดเจน นิยามเกือบทั้งหมดรวมถึงการศึกษาสิ่งมีชีวิต (เช่น ชีววิทยา รวมทั้งพฤกษศาสตร์และสัตววิทยา) นิยามอื่นได้ขยายเนื้อหารวมไปถึง บรรพชีวินวิทยา นิเวศวิทยา ดาราศาสตร์ หรือชีวเคมี รวมทั้งธรณีวิทยาและฟิสิกส์ หรือแม้แต่อุตุนิยมวิทยา บุคคลผู้สนใจในธรรมชาติวิทยาเรียกว่า "นักธรรมชาติวิทยา".

ดู พืชและธรรมชาติวิทยา

ธาตุ

ในทางเคมี ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ ปรอทและตะกั่ว จนถึงเดือนพฤษภาคม..

ดู พืชและธาตุ

ถังทอง

อกของถังทอง ถังทอง เป็นพืชในกลุ่มกระบองเพชร มีถิ่นกำเนิดในแถบเม็กซิโก ตั้งชื่อโดย Heinrich Hildmann ในปี ค.ศ. 1891 แม้ว่าจะเป็นกระบองเพชรชนิดที่นิยมปลูกกันมาก หาซื้อได้ทั่วไปตามร้านขายพันธุ์ไม้ แต่ในธรรมชาติที่ประเทศถิ่นกำเนิดนั้นหาได้ยาก จนขึ้นบัญชีเป็นพันธุ์พืชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการสูญพันธุ์จากพื้นที่ธรรมชาติ ลักษณะการเจริญเติบโตจะมีรูปร่างเป็นทรงกลม อาจมีความสูงกว่าหนึ่งเมตรเมื่อเวลาผ่านไปหลายปี เมื่อโตเต็มที่จะมีริ้วมากถึง 35 ริ้ว แต่ในต้นที่ยังเล็กอยู่จะมองไม่เห็นริ้วนี้ แต่เห็นเป็นปุ่ม ๆ แทน หนามแหลมยาวตรงหรือโค้งเล็กน้อย มีสีเหลืองหรือบางครั้งมีสีขาวด้วย ออกดอกเป็นสีเหลืองเล็ก ๆ ในฤดูร้อน ที่ยอดของต้น แต่กว่าจะออกดอกต้องอย่างน้อย 20 ปีขึ้นไป.

ดู พืชและถังทอง

ถั่วพร้า

ั่วพร้า เป็นพืชประเภทหนึ่งที่ได้รับความสนใจในปัจจุบัน เพราะเป็นพืชที่ให้ธาตุไนโตรเจนในปริมาณสูง จึงนำมาทำเป็นปุ๋ยพืชสดได้เป็นอย่างดี ซึ่งทางภาครัฐก็ให้การสนับสนุนในการเพาะปลูก เนื่องจากสามารถเพาะปลูกได้ง่าย มีค่าใช้จ่ายต่ำในการนำมาใช้ประโยชน์ และไม่ส่งกระทบต่อสิ่งแวดล้อม.

ดู พืชและถั่วพร้า

ถั่วพู

ั่วพู เป็นพืชล้มลุก ดอกสีขาวอมม่วง ผลเป็นฝักแบนยาวมี 4 ปีก ความยาวของฝักประมาณ 3-4 นิ้ว ภายในมีเมล็ดกลมเรียบ นิยมนำถั่วพูมาประกอบอาหารประเภทยำหรือกินสด ถั่วพูเป็นผักที่เสียเร็ว เหี่ยวง่ายและเกิดสีน้ำตาลเร็ว เก็บได้ไม่นาน คุณค่าทางอาหาร ถั่วพูมีคาร์โบไฮเดรต เส้นใย โปรตีน ไขมัน แคลเซียม เหล็ก ฟอสฟอรัส วิตามินเอ ซี อี บี1 บี2 ไนอะซิน สรรพคุณทางยาบำรุงกำลัง แก้อ่อนเพลีย บรรเทาอาการปวดเมื่อย แก้ตัวร้อน ลดไข้ ในอาหารไทยนำฝักอ่อนมาลวก กินกับน้ำพริก ยำ หั่นใส่ในแกงส้ม แกงป่าหรือกินกับขนมจีน หั่นผสมในทอดมัน ยอดอ่อนและดอกใช้จิ้มน้ำพริก ใบอ่อนทำสลัดหรือใส่ในแกงจืด เมล็ดแก่คั่วให้สุกรับประทานได้ หัวแก่ใช้เชื่อมเป็นของหวานหรือเผารับประทานเช่นเดียวกับมันเทศหรือมันสำปะหลัง ในพม่า นำหัวถั่วพูไปต้มจิ้มน้ำจิ้ม กินเป็นอาหารว่าง ใบอ่อนกินเป็นสลัด ในปาปัวนิวกินีนำหัวถั่วพูไปห่อใบตองหรือใบไผ่แล้วย่างรับประทาน ในอินโดนีเซียนำเมล็ดถั่วพูไปทำเทมเป้เช่นเดียวกับถั่วเหลือง หัวถั่วพูนำมาสับ ตากแห้งคั่วให้เหลือง ชงน้ำดื่มต่างน้ำ เป็นยาบำรุงกำลัง ในทางสิ่งแวดล้อม ถั่วพูสามารถส่งเสริมการย่อยสลายแอนทราซีนและฟลูออรีนในไรโซสเฟียร์ได้ดี.

ดู พืชและถั่วพู

ถั่วฝักยาว

มล็ดถั่วฝักยาว ถั่วฝักยาว (subsp. sesquipedalis) เป็นถั่วชนิดหนึ่งที่เป็นไม้เลื้อย มีชื่อสามัญในภาษาต่างๆที่หลากหลาย เช่น สิบสองปันนาเรียก ถั่วลิ้นนาค ภาษาอังกฤษเรียกว่า yardlong bean (ตรงตัว:ถั่วยาวหนึ่งหลา) ภาษาจีนกวางตุ้งเรียกว่า dau gok ภาษาจีนกลางเรียก jiang dou (豇豆) ภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายูเรียก kacang panjang ภาษาตากาล็อกเรียก 'SITAO' or 'SITAW' ภาษาอีโลกาโนเรียก utong ในหมู่เกาะเวสต์อินดีสเรียกว่า bora หรือ bodi ภาษาเบงกาลีเรียกว่า vali, Borboti ในรัฐกัว อินเดีย เรียก eeril ภาษาเวียดนามเรียก đậu đũa และภาษาญี่ปุ่นเรียก ju-roku sasage (十六ササゲ) อย่างไรก็ตาม ฝักของถั่วชนิดนี้ยาวเพียงครึ่งหลา ชื่อของสับสปีชีส์ sesquipedalis (หมายถึงยาวฟุตครึ่ง)ใกล้เคียงกับความยาวจริงๆของฝักถั่วมากกว.

ดู พืชและถั่วฝักยาว

ถั่วลันเตา

''Pisum sativum'' ถั่วลันเตา จัดอยู่ในตระกูลถั่ว มีถิ่นกำเนิด แถบประเทศ เอธิโอเปีย ต่อมา แพร่กระจายปลูก ในแถบ เมดิเตอร์เรเนียน และเอเชีย และเขตอบ อุ่นต่างๆ ของโลก ถั่วลันเตา เป็นพืชฤดูเดียว มีใบแบสลับ ปลายใบเปลี่ยน เป็นมือเกาะ การเจริญ เติบโตแบบพุ่ม หรือขึ้นค้าง บางสายพันธุ์ อาจมีเฉพาะ ใบบางพันธุ์ อาจมีเฉพาะ มือเกาะ ใบมีสีเขียวอ่อน ถึงสีเขียวเข้ม ลำต้นเล็ก เป็นเหลี่ยม รากเป็นระบบ รากแก้ว ดอกเป็นแบบ ดอกสมบูรณ์เพศ ผสมตัวเอง สามารถแบ่ง ประเภทของ ถั่วลันเตาเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ประเภท ฝักเหนียว และแข็ง เมล็ดโต นิยมปลูกเพื่อ รับประทานเมล็ด ส่วนอีกชนิดปลูก เพื่อรับประทานฝักสด โดยฝักจะมี ขนาดใหญ่ มีปีก เป็นต้น.

ดู พืชและถั่วลันเตา

ถั่วลิสง

ั่วลิสง หรือ ถั่วดิน จัดเป็นพืชตระกูลถั่ว.

ดู พืชและถั่วลิสง

ถั่วดำ

ั่วดำ เป็นพืชล้มลุก มีขนสีน้ำตาล ดอกเป็นช่อสีเหลือง ฝักแห้งแตก เปลือกหุ้มเมล็ดเป็นสีดำ มีสารพวกแอนโทไซยานิน ใช้แต่งสีขนม โดยต้มเคี่ยวกับน้ำหรือบดผสมกับแป้ง ในทางสมุนไพร มีรสหวาน บำรุงเลือด ขับของเหลวในร่างกาย ขับลม ขจัดพิษ บำรุงไต ขับเหงื่อ แก้ร้อนใน บำรุงสายตา เหมาะสำหรับผู้ที่มีอาการบวมน้ำ เหน็บชา ดีซ่าน ไตเสื่อม ปวดเอว มีโปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต แคโรทีน ไนอะซิน วิตามินบี 1 และบี 2 และสารที่ช่วยบรรเทาอาการปวดลำไส้เล็ก.

ดู พืชและถั่วดำ

ถั่วปากอ้า

ั่วปากอ้า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Vicia faba) เป็นสปีชีส์หนึ่งของถั่วมีฝักในวงศ์ Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบแอฟริกาเหนือและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ถั่วปากอ้ามีสารพิษที่ทำให้เกิดโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกง.

ดู พืชและถั่วปากอ้า

ถั่วแปบ (พืช)

ั่วแปบ เป็นชื่อไม้เถาชนิด Dolichos lablab L. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีม่วงฝักแบน ๆ ภาษากะเหรี่ยงเรียก เบ่าะบาสะถั่วแปบเป็นพืชตระกูลถั่วที่มีแหล่งกระจายพันธุ์มาจากประเทศอินเดีย แล้วจึงกระจายพันธุ์ไปทางภูมิประเทศแบบเขตร้อนหรือร้อนชื้น ถั่วแปบมีโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ (2n.

ดู พืชและถั่วแปบ (พืช)

ถั่วแปบช้าง

ั่วแปบช้าง หรือ กันภัย (Afgekia Sericea) เป็นไม้ที่มีสกุลเดียวในโลก พบทางภาคอีสานของประเทศไท.

ดู พืชและถั่วแปบช้าง

ถั่วไมยรา

ถั่วไมยรา หรือ ถั่วเดสแมนธัส หรือ เฮดจ์ ลูเซอร์น (Desmanthus virgatus หรือ hedge ltcern) เป็นพืชตระกูลถั่วค้างปีจำพวกกระถิน กระถินณรงค์ นิยมปลูกเพื่อเป็นอาหารสัตว์ หมวดหมู่:วงศ์ย่อยสีเสียด.

ดู พืชและถั่วไมยรา

ถั่วเหลือง

ั่วเหลือง เป็นพืชเศรษฐกิจที่เหมาะสำหรับปลูกสลับกับการปลูกข้าว ได้มีรายงานการปลูกถั่วเหลืองในประเทศจีนเมื่อเกือบ 5,000 ปีมาแล้ว แต่ก็ยังไม่แน่ชัดว่าส่วนใดของประเทศจีนเป็นถิ่นกำเนิดที่สันนิษฐานและยอมรับกันโดยทั่วไปคือบริเวณหุบเขาแม่น้ำเหลือง (ประมาณเส้นรุ้งที่ 35 องศาเหนือ) เพราะว่าอารยธรรมของจีนได้ถือกำเนิดที่นั่น และประกอบกับมีการจารึกครั้งแรกเกี่ยวกับถั่วเหลือง เมื่อ 2295 ปีก่อนพุทธกาล ที่หุบเขาแม่น้ำเหลือง จากนั้นถั่วเหลืองได้แพร่กระจายสู่ประเทศเกาหลีและญี่ปุ่น เมื่อ 200 ปีก่อนคริสตกาล แล้วเข้าสู่ยุโรปในช่วงหลัง..

ดู พืชและถั่วเหลือง

ถั่วเขียว

ั่วเขียว เป็นพืชตระกูลถั่ว ที่ให้เมล็ดที่มีเปลือกสีเขียว แต่เนื้อเมล็ดสีเหลือง ถั่วเขียวเป็นพืชที่มีอายุสั้น หรือวงจรชีวิตของถั่วเขียวมันสั้น จึงใช้น้ำน้อยกว่าพืชไร่อื่นหลายชนิด และงอกได้เร็ว สามารถใช้ในระบบปลูกพืช เช่น ทดแทนข้าวนาปรัง ปลูกก่อนข้าวโพดในพื้นที่ประสพภัยแล้ง ใช้ปลูกก่อนหรือหลังการทำนาหรือทำไร่ เพื่อตัดวงจรการระบาดของศัตรูพืช ช่วย บำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ตรึงไนโตรเจนได้ดี สามารถใช้เป็นปุ๋ยพืชสดให้ปริมาณไนโตรเจนสูง ถั่วเขียวใช้เป็นวัตถุดิบ ในการผลิตแป้งวุ้นเส้น เพาะถั่วงอก และประกอบอาหารอื่นๆ ถั่วเขียวมีสองชนิด ได้แก่ ถั่วเขียวผิวมัน และถั่วเขียวผิวดำ.

ดู พืชและถั่วเขียว

ถุงมือจิ้งจอก

งมือจิ้งจอก หรือ ดิจิทาลลิส (Digitalis, Foxglove) เป็นสกุลของไม้ 20 ชนิดของสมุนไพรที่เป็นพืชสองปี (Perennial plant) ที่เรียกเป็นภาษาพื้นบ้านว่า “foxgloves” หรือ “ถุงมือจิ้งจอก” เดิมจัดอยู่ในวงศ์มณเฑียรทอง (Scrophulariaceae) แต่หลังจากการพิจารณาทางไฟโลเจเนติกส์ ก็ได้รับการจัดให้อยู่ในตระกูลที่ใหญ่กว่าในวงศ์เทียนเกล็ดหอย (Plantaginaceae) ถุงมือจิ้งจอกเป็นไม้ที่มีถิ่นฐานอยู่ในยุโรป, เอเชียตะวันตก เอเชียกลางและทางตะวันตกเฉียงเหนือของแอฟริกา ชื่อวิทยาศาสตร์แปลว่า “เหมือนนิ้ว” เพราะขนาดของดอกพอดีกับการที่เอาปลายนิ้วสอดเข้าไปได้พอดี ดอกออกบนกิ่งเรียวยาวชลูดขึ้นไปจากกอที่ติดดิน ตัวดอกมีลักษณะเป็นหลอดสั้น ๆ สีก็มีต่าง ๆ ที่รวมทั้งม่วง ชมพู ขาวและเหลือง ชนิดที่พบบ่อยเรียกว่า Digitalis purpurea ถุงมือจิ้งจอก นอกจากจะเป็นไม้ที่ขึ้นง่ายโดยทั่วไปเป็นดอกไม้ป่าแล้วก็ยังเป็นไม้บ้านเป็นพืชสองปีที่มักปลูกเป็นไม้ประดับเพราะดอกที่มีความเด่นที่มีสีและแต้มด้านในของดอกต่าง ๆ ปีแรกที่ปลูกจะมีเพียงแต่ใบ ปีที่สองจึงออกดอก ความสูงของก้านประมาณระหว่าง 0.5 ถึง 2.5 เมตร คำว่า “ดิจิทาลลิส” ยังหมายถึงสารดิช็อกซินที่สกัดจากไม้ที่ใช้ในการทำคาร์ดิแอกไกลโคไซด์ สำหรับการรักษาโรคหัวใจ แต่ “ถุงมือจิ้งจอก” บางพันธุ์ก็เป็นไม้มีพิษร้ายแรงทั้งต้นทั้งดอกที่ทำให้ได้สมญาว่า “กระดิ่งคนตาย” หรือ “ถุงมือแม่มด” ต้นถุงมือจิ้งจอก เป็นต้นไม้ที่ในความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ของยุโรปยุคกลางเชื่อว่า เป็นส่วนผสมที่ผสมกับสารเคมีอย่างอื่น เช่น ฝิ่น ทำให้ผู้ที่ทากลายร่างเป็นสัตว์ป่าที่ดุร้ายหรือมนุษย์หมาป่าได้.

ดู พืชและถุงมือจิ้งจอก

ถ้วยทอง

ถ้วยทอง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Solandra grandiflora Sw., ชื่อสามัญ: Showy chalicevine) เป็นไม้เลื้อยที่มีดอกขนาดใหญ่ ใช้เป็นไม้ประดับ เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกา หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:ไม้เลื้อย หมวดหมู่:วงศ์มะเขือ.

ดู พืชและถ้วยทอง

ทรงบาดาล

ทรงบาดาล หรือ ขี้เหล็กหวาน เป็นไม้พุ่ม สูง 3 - 5 เมตร ใบ ประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 4 - 6 คู่ รูปไข่หรือรูปไข่แกมขอบขนาน ขนาดกว้าง 1 - 2 เซนติเมตร ยาว 2.5 - 4 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน ดอก สีเหลืองออกตามซอกใบ และปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 - 3 เซนติเมตร ผล เป็นฝักแบน กว้าง 1 - 1.5 เซนติเมตร ยาว 7 - 20 เซนติเมตร ถิ่นกำเนิดเอเชียเขตร้อนและจาไมก้า ออกดอก ตลอดปี ขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด วิธีเตรียมเมล็ด ก่อนเพาะ นำเมล็ดมาแช่น้ำร้อน 80 - 90 องศาเซลเซียส แล้วทิ้งไว้ให้เย็น 16 ชั่วโมง ไฟล์:Songba.jpg.

ดู พืชและทรงบาดาล

ทวีปแอนตาร์กติกา

วเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา แอนตาร์กติกา (Antarctica) เป็นทวีปที่อยู่ใต้สุดของโลกตั้งอยู่ในภูมิภาคแอนตาร์กติกในซีกโลกใต้และเป็นที่ตั้งขั้วโลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ในวงกลมแอนตาร์กติกและล้อมลอบด้วยมหาสมุทรใต้ มีพื้นที่ประมาณ 14,000,000 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่าทวีปออสเตรเลียถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เกือบจะถึงเหนือสุดของคาบสมุทรแอนตาร์กติก โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มีหยาดน้ำฟ้าเฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน แม้ว่าช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย −63 °C แต่อุณหภูมิอาจต่ำถึง −89.2 °C (และอาจถึง -94.7 ° C หากวัดจากอากาศ) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวกสาหร่าย แบคทีเรีย เห็ดรา พืช โพรทิสต์และสัตว์บางชนิดเช่นตัวเห็บ ตัวไร นีมาโทดา เพนกวิน สัตว์ตีนครีบและหมีน้ำส่วนพืชก็จะเป็นพวกทันดรา แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบเพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง..

ดู พืชและทวีปแอนตาร์กติกา

ทองพันชั่ง

ทองพันชั่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhinacanthus nasutus Kurz) หรือทองคันชั่ง หรือหญ้ามันไก่ มีลักษณะเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 0.5-2 เมตร กิ่งอ่อนและลำต้นมักเป็นเหลี่ยม ส่วนที่ยังอ่อนมักมีขนปกคลุมใบรูปคล้ายรูปไข่หรือวงรี กว้าง 2-4 ซม.

ดู พืชและทองพันชั่ง

ทองกวาว

ทองกวาว, ทอง หรือ ทองธรรมชาติ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางในวงศ์ถั่ว มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ จากประเทศปากีสถาน, อินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, ศรีลังกา, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย และทางตะวันตกของอินโดนีเซีย ทองกวาวมีชื่ออื่นอีกคือ กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ), จอมทอง (ภาคใต้), จ้า (เขมร), ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง), ดอกจาน (อีสาน).

ดู พืชและทองกวาว

ทองหลางลาย

ทองหลางลาย, ทองหลางด่าง หรือ ทองเผือก (ภาคเหนือ) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 5-10 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ ใบกลางจะโตกว่าสองใบด้านข้าง ออกดอกเป็นช่อยาวประมาณ 30–40 เซนติเมตร รูปดอกถั่ว สีแดงเข้ม ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ ผลเป็นฝักยาว 15–30 เซนติเมตร ทองหลางลายกระจายพันธุ์ในเอเชียทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น เจริญได้ในสภาพดินทุกชนิด ชอบดินร่วนซุย กลางแจ้ง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดและปักชำ.

ดู พืชและทองหลางลาย

ทองอุไร

ทองอุไร (Yellow elder, Trumpetbush, Trumpetflower, Yellow trumpet-flower, Yellow trumpetbush) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กสูง 2-4 เมตร ลำต้นเล็ก แผ่กิ่งด้านบนเป็นพุ่มกลม โปร่ง ใบประกอบขนนกมีใบย่อยที่ปลายสุด จำนวน 7 - 11 ใบ สีเขียวอ่อน ขอบใบย่อยหยิกเป็นฟันเลื่อย ผิวสัมผัสละเอียด ลำต้นสีน้ำตาลนวลตลอดทั้งต้น ก้านใบช่อดอกอ่อนเป็นสีเขียว ดอกสีเหลืองสด มีรูปลักษณ์คลายระฆัง หรือแตร หรือทรัมเป็ต ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกดกมาก กลีบดอกติดกันเป็นรูปกรวยยาว 3 - 4 เซนติเมตร ปลายกลีบมี 5 กลีบ มีลักษณะกลมเป็นคลื่นเล็กน้อย กลีบเลี้ยงเป็นรูปกระดิ่งสีเหลือง แยก 5 แฉกกลีบดอกปลายแยก 5 กลีบรับกัน เกสรตัวผู้ เติบโตได้ดีในดินร่วนทุกชนิด ที่ความชื้นปานกลาง ระบายน้ำได้ดี แสงแดดจัดเต็มวัน ทองอุไรดอกสีเหลืองสดใส ปลูกง่าย เกิดง่าย ในเขตร้อนทั่วไป ไม่ควรปลูกในที่มีระดับน้ำใต้ดินสูง นิยมปลูกข้างถนน เกาะกลางถนน และเหมาะสำหรับปลูกมุมใดมุมหนึ่งของบ้านที่แดดถึง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดและตอนกิ่ง.

ดู พืชและทองอุไร

ทะเลสาบแทนกันยีกา

ทะเลสาบแทนกันยีกา (Lake Tanganyika) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในเขตรอยต่อ 4 ประเทศด้วยกัน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม), แทนซาเนีย, แซมเบีย และบุรุนดี เป็นแหล่งน้ำจืดที่สำคัญเป็นอันดับที่สองในแอฟริการองจากทะเลสาบวิกตอเรีย นอกจากนั้นยังเป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทวีปแอฟริกาและลึกที่สุดในทวีปแอฟริกาอีกด้วย จุดที่มีความลึกที่สุดลึกกว่า 1,470 เมตร ทะเลสาบแทนกันยีกาเกิดจากการทรุดตัวของแผ่นเปลือกโลกและภูเขาไฟระเบิด เมื่อราว 20 ล้านปีมาแล้ว นับเป็นทะเลสาบแห่งหนึ่งที่มีอายุเก่าแก่ในทวีปแอฟริกา ซึ่งตั้งอยู่ในแนวเกรตริฟต์แวลลีย์ โดยคำว่า "แทนกันยีกา" นั้นมาจากภาษาสวาฮิลีสองคำ คือ "tangan" หมายถึง "เรือใบ" และ "nyika" หมายถึง "ป่า" หรือ "ไม่มีที่อยู่" โดยรวมอาจหมายความว่า "เรือใบที่แล่นในถิ่นทุรกันดาร" ก็ได้ ทะเลสาบแทนกันยีกา มีความยาวจัดจากเหนือจรดใต้ได้ถึง 673 กิโลเมตร แต่มีความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 50 กิโลเมตร มีพื้นที่โดยรวมประมาณ 3,2892 ตารางกิโลเมตร ความยาวรอบชายฝั่งวัดรวมกันได้ 1,828 กิโลเมตร และยังเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่มีความลึกเป็นอันดับสองของโลกรองจากทะเลสาบไบคาล ในไซบีเรีย มีดินแดนติดกับคองโกราวร้อยละ 45 และติดกับแทนซาเนียร้อยละ 41 โดยประมาณ น้ำในทะเลสาบไหลสู่แม่น้ำคองโกในตอนกลางของทวีป และจะไหลไปลงทะเลที่ตอนแอฟริกาตะวันตกที่มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลสาบแห่งนี้มีความโดดเด่นเรื่องของอุณหภูมิที่ค่อนข้างเสถียร เรื่องจากข้างล่างทะเลสาบยังคงมีภูเขาไฟ น้ำมีการเปลี่ยนแปลงในแนวตั้งน้อยมาก ในความลึกเกิน 300 เมตร ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำค่อนข้างน้อย จึงมักไม่ค่อยมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ อุณหภูมิโดยเฉลี่ยมีความเปลี่ยนแปลงต่างกันไม่เกิน 5 ฟาเรนไฮต์ โดยบริเวณผิวน้ำจะมีอุณหภูมิประมาณ 73-88 ฟาเรนไฮต์ ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำอยู่ที่ประมาณ 7.5-9.3 (pH) ระบบนิเวศของทะเลสาบแทนกันยีกา แบ่งออกได้เป็นสองส่วนหลัก คือ ระบบชายฝั่งและพื้นที่นอกชายฝั่ง ซึ่งสามารถแบ่งระบบนิเวศตามสภาพแวดล้อมที่ต่างกันได้ ดังนี้.

ดู พืชและทะเลสาบแทนกันยีกา

ทับทิม (ผลไม้)

ผลทับทิม แกะออก เห็นเมล็ดข้างใน บทความนี้กล่าวถึง "ทับทิม" ในฐานะผลไม้ชนิดหนึ่ง สำหรับทับทิมในความหมายอื่นๆ ดูได้ใน ทับทิม ทับทิม ชื่อท้องถิ่น เซี๊ยะลิ้ว, พิลา, พิลาขาว, มะก่องแก้ว, มะเก๊าะ, หมากจัง เป็นไม้ผลขนาดเล็ก มีขนาดประมาณ 5-8 เซนติเมตร ทับทิมมีถิ่นกำเนิดจากตะวันออกของประเทศอิหร่าน ทางตอนใต้ของอัฟกานิสถานและทางตอนเหนือของเทือกเขาหิมาลัย ทับทิมจึงชอบอากาศหนาวเย็นและอยู่บนพื้นที่สูงกว่าระดับน้ำทะเลอย่างน้อย 300 เมตร ยิ่งอากาศหนาวเนื้อทับทิมจะมีสีแดงเข้มมากขึ้น.

ดู พืชและทับทิม (ผลไม้)

ทามาริสก์

ทามาริสก์ (Tamarix,tamarisk, salt cedar; الأثل อ่านว่า อัลอัซล์) มี 50- 60 สายพันธุ์เป็นพืชในตระกูล Tamaricaceae เป็นพืชท้องถิ่นในเขตแห้งแล้งของทวีปยุโรป และแอฟริกา ทามาริสก์จะเขียวชอุ่มตลอดปี เป็นพืชผลัดใบและเป็นไม้พุ่ม มีความสูงตั้งแต่ 1-18 เมตร Tamarix aphylla จะเขียวชอุ่มอยู่เสมอและอาจสูงถึง 8 เมตร โดยปกติจะเจริญเติบโตในดินเค็ม มีความอดทนต่อภาวะเป็นพิษของความเค็มถึง 15000 ppm และยังอดทนต่อความเป็นด่าง มีลักษณะแผ่กิ่งก้านเรียวยาว มีใบเขียวอมเทา เปลือกของกิ่งในขณะเป็นต้นอ่อนมีลักษณะเกลี้ยงเรียบ สีน้ำตาลแดง เมื่อตอนมีอายุช่วงสุดท้าย เปลือกไม้จะเป็นร่องมีรอยย่น และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลม่วง มีใบขนาดเท่า ๆ กัน ยาวประมาณ 1-2 มิลลิเมตร และใบจะทับซ้อนกันตามความยาวของก้าน มักจะมีน้ำเกลือไหลออกมาห่อหุ้มลำต้นอยู่เสมอ จะออกดอกอย่างหนาแน่นตรงปลายรวงของกิ่งยาว 5-10 เซนติเมตร ซึ่งจะออกดอกในเดือนมีนาคม ถึง กันยายน แต่บางสายพันธุ์มีแนวโน้มจะออกดอกในช่วงฤดูหนาว.

ดู พืชและทามาริสก์

ทานตะวัน

ทานตะวัน มีชื่อตามภาษาถิ่นพายัพว่า บัวผัด เป็นพืชปีเดียว (annual plant) อยู่ในแฟมิลี Asteraceae มีฐานรองกลุ่มดอก (Inflorescence) ขนาดใหญ่ ลำต้นโตได้สูงถึง 3 เมตร ฐานรองกลีบดอกอาจกว้างได้ถึง 30 เซนติเมตร ชื่อ"ทานตะวัน"ถูกใช้อ้างอิงถึงพืชทั้งหมดในสกุล Helianthus ด้วยเช่นกัน ทานตะวัน เป็นพืชท้องถิ่นของอเมริกากลาง มีหลักฐานแสดงให้เห็นว่ามีการปลูกดอกทานตะวันในประเทศเม็กซิโกตั้งแต่ประมาณ 2600 ปีก่อนคริสตกาล.

ดู พืชและทานตะวัน

ทิวลิป

ในดอก ทิวลิป เป็นดอกไม้เมืองหนาวที่เป็นสัญลักษณ์ของฮอลแลนด์ มีอยู่หลายสี ดอกทิวลิปจะปลูกได้ต้องใช้อุณหภูมิที่เหมาะสม คือไม่เกิน 25 องศาเซลเซี.

ดู พืชและทิวลิป

ทุ้งฟ้า

ทุ้งฟ้า เป็นไม้ยืนต้นอยู่ในวงศ์ Apocynaceae สูง 15-30 เมตร ไม่ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรง กิ่งใหญ่ตั้งฉากกับลำต้น เปลือกสีขาวอมเทา มีน้ำยางสีขาว เรีอนยอดค่อนข้างโปร่ง ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงรอบข้อข้อละ 3-4 ใบสลับกันไปตามปลายกิ่ง แผ่นใบรูปหอกกลับ ออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาวหรือขาวอมเหลือง ออกดอกระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม ผลเป็นฝักเรียวยาว เมื่อฝักแก่จะบิดเป็นเกลียวและแตกออก ปล่อยให้เมล็ดที่มีขนสีขาวปลิวไปตามลม เนื้อไม้ใช้ทำพื้นกระดาน ฝา และเครื่องใช้ทั่วไป และสามารถใช้เปลือกต้นและราก บำรุงกำลังและบำรุงกำหนัด แก้ไข้ แก้บิด รักษาบาดแผล.

ดู พืชและทุ้งฟ้า

ทุเรียน

ทุเรียน เป็นไม้ผลในวงศ์ฝ้าย (Malvaceae) ในสกุลทุเรียน (Durio) (ถึงแม้ว่านักอนุกรมวิธานบางคนจัดให้อยู่ในวงศ์ทุเรียน (Bombacaceae) ก็ตาม) เป็นผลไม้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นราชาของผลไม้วันดี กฤษณพันธ์, สมุนไพรน่ารู้, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 3..

ดู พืชและทุเรียน

ทุเรียนเทศ

ผลทุเรียนเทศ ทุเรียนเทศพันธุ์''subonica'' ดอกทุเรียนเทศ ทุเรียนเทศ หรือ ทุเรียนน้ำ (Soursop, Prickly Custard Apple.; L.) ชื่อเรียกอื่น ๆ คือ ทุเรียนแขก (ภาคกลาง) หมากเขียบหลดหรือหมากพิลด (ภาคอีสาน) ทุเรียนน้ำ (ภาคใต้) และ มะทุเรียน (ภาคเหนือ) เป็นพืชในวงศ์เดียวกับน้อยหน่าและกระดังงา ใบเดี่ยว กลีบดอกแข็ง มีกลิ่นหอมตอนเช้า ผลมีรูปร่างคล้ายทุเรียน มีหนาม เปลือกสีเขียว เนื้อสีขาว ฉ่ำน้ำ รสหวานอมเปรี้ยว เมล็ดแก่สีดำ ปลูกมากในแถบอเมริกากลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นพืชที่ชอบที่ที่มีความชื้นสูง.

ดู พืชและทุเรียนเทศ

ที่ดินบราวน์ฟิลด์

ที่ดินบราวน์ฟิลด์ (Brownfield land) คือที่ดินที่มีหรือเคยมีอสังหาริมทรัพย์ประเภทพาณิชยกรรมหรืออุตสาหกรรมที่ถูกปล่อยปละละเลย ใช้งานไม่สมค่าหรือถูกทิ้งร้างและเป็นเหตุให้การขยาย การฟื้นฟูหรือการพัฒนาเมืองต้องประสบความยุ่งยาก หรือในแง่ของสิ่งแวดล้อมถือเป็นที่ดินที่ยังมีมลภาวะหรือมีมลพิษตกค้าง ในการผังเมืองที่ดินบราวน์ฟิลด์ในสหรัฐฯ หมายถึงที่ดินที่เคยใช้ด้านการอุตสาหกรรมหรือด้านพาณิชยกรรมเฉาะด้านอย่างใดอย่างหนึ่งมาก่อน และเป็นที่ดินที่อาจแปดเปื้อนด้วยของเสีย หรือจากมลพิษที่ไม่เข้มข้นมากนัก และเป็นที่ดินที่มีศักยภาพที่จะนำกลับมาใช้ใหม่ได้หลังการทำความสะอาดแล้ว ที่ดินที่แปดเปื้อนของเสียหรือมลพิษที่มีความเข้มสูงมาก เช่นที่ดินที่ประกาศเป็นพื้นที่หายนะทางมลพิษโดยกฎหมายสิ่งแวดล้อม (ของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า “Superfund” –ที่ต้องใช้งบประมาณสูงมากในการแก้ไข) หรือเป็นที่ดินที่มีของเสียเป็นพิษตกค้างด้วยความเข้มสูงมากๆ ไม่จัดอยู่ในประเภทของการเป็นที่ดินบราวน์ฟิลด์ สำหรับประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย คำว่าที่ดินบราวน์ฟิลด์มีความหมายเพียงการเป็นที่ดินที่เคยถูกใช้งานมาก่อนเท่านั้น คำว่า “บราวน์ฟิลด์” ซึ่งแปลตรงๆ เป็นภาษาไทยได้ว่า “ทุ่งสีน้ำตาล” (ซึ่งไม่ตรงความหมาย –จึงเรียกว่าบราวน์ฟิลด์ทับศัพท์ไปก่อน) คำนี้มีผู้นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อ..

ดู พืชและที่ดินบราวน์ฟิลด์

ท่าเรือโยโกฮามะ

แผนผังทางทะเลในภาพ แสดงให้เห็นบริเวณของท่าเรือโยโกฮามะใน พ.ศ. 2417 อ่าวโอซานบาชิ สัญลักษณ์แห่งท่าเรือสมัยใหม่ ท่าเรือโยโกฮามะ (Port of Yokohama) เป็นท่าเรือในเมืองโยโกฮามะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยสำนักงานท่าเรือและอ่าวแห่งเมืองโยโกฮามะ ท่าเรือนี้ตั้งอยู่ที่ละติจูด 35.27.–00° เหนือ และลองจิจูด 139.38–46° ตะวันออก หันหน้าออกสู่อ่าวโตเกียว ทางทิศใต้ของท่าเรือคือท่าเรือโยะโกะสึกะ และทางทิศเหนือคือท่าเรือคะวะซะกิ และกรุงโตเกียว.

ดู พืชและท่าเรือโยโกฮามะ

ท้อ

ลูกท้อ (桃; Peach; ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus persica) เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน จัดเป็นไม้พุ่มผลัดใบ อยู่ในสกุล Prunus อันเป็นสกุลเดียวกันกับ ซากุระ, บ๊วย, เชอร์รี่ หรือนางพญาเสือโคร่ง ท้อจัดเป็นไม้เมืองหนาวที่จะขึ้นได้ดีในที่ ๆ มีความสูงตั้งแต่ 3,000 ฟุตขึ้นไป อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 10 องศาเซลเซียส ทนแล้งได้ดี เป็นไม้ใบเดี่ยว เรียงสลับ ขอบใบจัก ดอกเดี่ยว มักออกเป็นกระจุก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวหรืออาจเป็นสีแดง หรือชมพู ดอกจะแตกออกมาก่อนใบ ผลเป็นผลสดเมล็ดเดี่ยว มีขนปกคลุมทั่วบริเวณผิว ท้อนับเป็นผลไม้ที่ใช้ประโยชน์ในการรับประทานมาอย่างยาวนาน และได้รับความนิยมไปทั่วโลก นอกจากนี้แล้วในวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ จะมีท้อเข้ามาร่วมอยู่ด้วย ได้แก่ ชาวจีนมีความเชื่อว่า ท้อเป็นสัญลักษณ์ของการมีอายุยืนยาว และเกี่ยวข้องกับการกับการป้องกันสิ่งชั่วร้าย ถ้าดอกท้อของบานในระหว่างการฉลองวันปีใหม่ หมายถึง ปีต่อไปจะเป็นปีของโชคลาภ และดอกท้อยังใช้ประดับตกแต่งภายในบ้านเพื่อความเป็นสิริมงคล ป้องกันสิ่งชั่วร้ายอีกด้วย นอกจากนี้แล้วในสมัยโบราณ การเขียนป้ายคำอวยพรก็นิยมเขียนลงไม้ที่ทำมาจากต้นท้อ ในนิทานพื้นบ้านของญี่ปุ่น โมโมทาโร่ (桃太郎) ซึ่งเป็นเด็กชายที่มีพละกำลังมากมายและเป็นผู้นำในการปราบปีศาจ ก็กำนิดมาจากลูกท้อ เป็นต้น สำหรับในประเทศไทย ท้อมีการนำเข้ามาปลูกในพื้นที่ภาคเหนือ เช่น โครงการหลวง โดยมีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น มะฟุ้ง, มักม่น, มักม่วน, หุงคอบ, หุงหม่น เป็นต้น.

ดู พืชและท้อ

ขมิ้น

มิ้นชัน เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ขิง มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เนื้อในของเหง้าเป็นสีเหลือง มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว มีสีเหลืองเข้ม จนสีแสดจัด มีชื่อสามัญอื่นอีกคือ ขมิ้นแกง (เชียงใหม่) ขมิ้นชัน (กลาง, ใต้) ขมิ้นหยอก (เชียงใหม่) ขมิ้นหัว (เชียงใหม่) ขี้มิ้น (ตรัง, ใต้) ตายอ (กะเหรี่ยง กำแพงเพชร) สะยอ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) และ หมิ้น (ตรัง, ใต้).

ดู พืชและขมิ้น

ขานาง

ขานาง ((Vent.) Benth.) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่มีความสูง 15 - 30 เมตร เปลือกต้นสีขาวนวล เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลนุ่ม ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่ ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีเหลืองอ่อน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด การดูแลรักษา ขานางชอบดินที่มีหินปูนปนอยู่มาก น้ำและความชื้นปานกลาง ขานางมีชื่อพื้นเมืองอื่น ขางนาง คะนาง (ภาคกลาง), ค่านางโคด (ระยอง), ช้างเผือกหลวง (เชียงใหม่), แซพลู้ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ปะหง่าง (ราชบุรี), เปลือย (กาญจนบุรี), เปื๋อยคะนาง เปื๋อยนาง (อุตรดิตถ์), เปื๋อยค่างไห้ (ลำปาง), ลิงง้อ (นครราชสีมา) นอกจากนี้ยังเป็นต้นไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดกาญจนบุรี หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:ต้นไม้ประจำจังหวัด หมวดหมู่:วงศ์สนุ่น.

ดู พืชและขานาง

ขิง

ง เป็นพืชล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน เปลือกนอกสีน้ำตาลแกมเหลือง เนื้อในสีนวลมีกลิ่นหอมเฉพาะ แทงหน่อหรือลำต้นเทียมขึ้นเป็นกอประกอบด้วยกาบหรือโคนใบหุ้มซ้อนกัน ใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันเป็นสองแถว ใบรูปหอกเกลี้ยงๆ กว้าง 1.5 - 2 ซม.

ดู พืชและขิง

ขิงแดง

งแดง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Alpinia purpurata (Vielle.) Schum.) เป็นพืชพื้นเมืองของมาเลเซียที่มีดอกสวยงาม ส่วนที่เป็นมีสีสดใสเป็นกาบหุ้มช่อดอก ส่วนดอกจริงมีขนาดเล็กอยู่ข้างบน แบ่งเป็นสองสายพันธุ์คือ Jungle King และ Jungle Queen ขิงแดงสามารถพบได้ในฮาวาย ปวยร์โตรีโก และหลายประเทศในอเมริกากลาง รวมทั้งเบลีซ พบได้ในซามัวซึ่งเป็นดอกไม้ประจำชาติของซามัว มีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่า "teuila" นอกจากนั้น ยังพบในทางใต้ของฟลอริดา บริเวณที่ไม่มีหิมะปกคลุม ชอบอากาศที่มีร่มเงาและชุ่มชื้น ทนต่อแสงแดดจัดได้ แต่ไม่ชอบอากาศแล้ง สามารถปลูกเป็นไม้ในบ้านได้ และเป็นไม้ตัดดอกได้เช่นกัน.

ดู พืชและขิงแดง

ขึ้นฉ่าย

ึ้นฉ่าย (芹菜) เป็นผักและสมุนไพรที่มีกลิ่นหอม นิยมใช้ในการปรุงอาหารที่ต้องการดับกลิ่นคาว หรือเพิ่มความหอมของน้ำซุป หรือ นำไปผัดเพื่อดับคาวปล.

ดู พืชและขึ้นฉ่าย

ขี้กาแดง

ี้กาแดง (Kurz.) ชื่ออื่นๆ แตงโมป่า มะกาดิน ขี้กาขาว เป็นไม้เถาเลื้อย ลำเถาอวบน้ำและสากมีขนสีขาวสั้นตั้งตรงเกาะติดหนาแน่น ใบเป็นใบเดี่ยว การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเวียนและมีหนวดที่โคนก้านใบ ใบรูปไข่เกือบกลม 5 เหลี่ยม ขนาดประมาณ 10 x 15 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนเว้าเป็นติ่งหู ขอบหยักบิดเป็นคลื่น แผ่นใบผิวหยาบสากเป็นลอนตามรอยกดเป็นร่องของเส้นใบ หลังใบมีขนสั้นสีขาวจำนวนมาก ก้านใบสีเขียวอ่อนแกมเหลืองยาว มีขนชนิดเดียวกัน ดอกเป็นดอกเดี่ยวแยกเพศกัน เกิดที่ซอกใบ ดอกสีขาวกลีบดอกส่วนโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดส่วนปลายแยกเป็นกลีบ 4 - 5 กลีบ ดอกเพศเมียที่ฐานดอกมีรังไข่ทรงกลม ดอกเพศผู้ไม่มีรังไข่ ผลทรงกลมโตเท่าผลส้มเขียวหวาน ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียว มีริ้วสีขาวจางๆ ผลสุกนั้นจะมีสีแดงห้อนเป็นระย้า ผลสุกใช้ตากแห้งจะแข็งและหนา ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดทรงกลมรีแบนมีเยื่อหุ้มเมล็ดเป็นเมือกใสสีเขียวเข้มเกือบดำ เยื่อหุ้มเมล็ดจะมีสีเขียวเข้ม ขี้กาแดงเป็นพืชมีพิษ ผลเมื่อรับประทานแล้วทำให้ท้องเดินอย่างแรง เมล็ดมีพิษ ถ้ารับประทานเพียงเล็กน้อยทำให้เสียชีวิตได้.

ดู พืชและขี้กาแดง

ขี้ครอก

ี้ครอก (Caesar weed, Hibiscus burr, Jute africain) ชื่ออื่นๆของขี้ครอก คือ ขมดง ชบาป่า บอเทอ ปะเทาะ ปอเส้ง ปูลุ เส้ง หญ้าผมยุ้ง หญ้าอียู หญ้าหัวยุ่ง นางนวล จัดอยู่ในวงศ์ Malvaceae ขี้ครอกเป็นพืชมีพิษ หนามมีขนทำให้ระคายเคือง ทุกส่วนของลำต้นถ้ารับประทานเป็นพิษต่อหัวใจทำให้หมดความรู้สึก ขี้ครอกเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 1 - 2 เมตร เปลือกเหนียว ลำต้นสีเขียวแกมเทา มีขนรูปดาวปกคลุมตลอดลำต้น ยอดอ่อน ใบและก้านใบ ใบ เป็นใบเดี่ยวมีการเกาะติดของใบบนต้นเรียงตัวแบบสลับ ใบรูปไข่ ปลายใบเว้าเป็น 3 พู ปลายแต่ละพูมนหรือแหลม โคนใบมน ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย แผ่นใบเป็นคลื่นมีขนสากมือ มีหูใบ 1 คู่ รูปรี ดอกเดี่ยว เกิดที่ซอกใบ สีชมพูแกมม่วง กลีบดอกรูปไข่กลับ 5 กลีบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบประดับ 5 กลีบ เกสรเพศผู้จำนวนมากสีชมพูม่วง ก้านชูสีขาวนวลรวมกันเป็นหลอดหุ้มเกสรเพศเมียไว้ ปลายเกสรแยกเป็น 10 ก้านสั้นๆ ส่วนปลายเป็นตุ่ม ผล ทรงกลมแป้นแบ่งเป็น 5 พู ผิวผลมีหนามแข็งสั้นและมีน้ำเหนียวติด เมล็ด รูปไตสีน้ำตาล มีพูละ 1 เมล็.

ดู พืชและขี้ครอก

ขี้เหล็ก

ี้เหล็ก จัดเป็นพืชในวงศ์ Leguminosae นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน เช่น ขี้เหล็กแก่น (ราชบุรี) ขี้เหล็กบ้าน (ลำปาง) ขี้เหล็กหลวง (ภาคเหนือ) ขี้เหล็กใหญ่ (ภาคกลางบางที่) ผักจี้ลี้ (ฉาน-แม่ฮ่องสอน) ยะหา (มลายู-ปัตตานี) และขี้เหล็กจิหรี่ (ภาคใต้) เป็นต้น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของต้นขี้เหล็กเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงปานกลาง ผลัดใบ สูงประมาณ 8-15 เมตร ลำต้นมักคดงอเป็นปุ่มเปลือกสีเทาถึงสีน้ำตาลดำ ยอดอ่อนสีแดงเรื่อๆ ใบประกอบเป็นแบบขนนก เรียงสลับกัน มีใบย่อย 5-12 คู่ ปลายสุดมีใบเดียว ใบย่อยรูปขอบขนานด้านบนเกลี้ยง ดอกช่อสีเหลืองอยู่ตามปลายกิ่ง ดอกจะบานจากโคนช่อไปยังปลายช่อ กลีบเลี้ยงมี 3-4 กลีบ กลีบดอกมี 5 กลีบ เกสรตัวผู้10 อัน ผลเป็นฝักแบนยาวมีสีคล้ำ เมล็ดรูปไข่ยาวแบนสีน้ำตาลอ่อนเรียงตามขวางมี 20-30 เมล็ด เนื้อไม้มีสีน้ำตาลแก่เกือบดำ ส่วนของดอกและใบขี้เหล็กใช้เป็นอาหารในหลายประเทศ เช่น ไทย พม่า อินเดีย และมาเลเซีย เป็นต้น ในตำราการแพทย์แผนไทยได้มีการบันทึกประโยชน์ของขี้เหล็กในหลายด้าน เช่น ใช้แก้อาการท้องผูก ใช้แก้อาการนอนไม่หลับ ใช้ทำความสะอาดเส้นผม ทำให้ผมชุ่มชื่นเป็นเงางาม ไม่มีรังแค ช่วยเจริญอาหาร บำรุงน้ำดี และบำรุงโลหิต เป็นต้น ในปี..

ดู พืชและขี้เหล็ก

ขนุน

นุน (หรือ A. heterophylla) ภาคอีสานเรียกบักมี่ ภาคเหนือเรียกบ่าหนุน สิบสองปันนาเรียกหมากมี่ หรือ หมากหนุน กาญจนบุรีเรียกกระนู ภาษาไทใหญ่เรียก ลาง เป็นไม้ผลยืนต้นในวงศ์ Moraceae มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้และแพร่หลายมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และได้รับความนิยมมากในคาบสมุทรมลายู ไม่ปรากฏว่าเข้ามายังประเทศไทยเมื่อใด แต่มีกล่าวถึงในเอกสารโบราณตั้งแต่สมัยสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา ชื่อสามัญของขนุนในภาษาอังกฤษคือ jackfruit มาจากภาษาโปรตุเกส jaka ที่เพี้ยนมาจากภาษามลายู chakka นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ดู พืชและขนุน

ข่อย

อย มีชื่อทางการค้าคือ Siamese rough bush, Tooth brush tree ส่วนชื่อพื้นเมืองอื่นได้แก่ กักไม้ฝอย (ภาคเหนือ), ข่อย (ทั่วไป), ซะโยเส่ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), ตองขะแหน่ (กะเหรี่ยงกาญจนบุรี), ข่อย(ร้อยเอ็ด), สะนาย (เขมร).

ดู พืชและข่อย

ข่า (พืช)

ป็นพืชที่มีลำต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า "เหง้า" อยู่ในวงศ์ขิง เป็นไม้ล้มลุก เป็นพืชสมุนไพรที่นำมาใช้ในการประกอบอาหารในประเทศไทยและอินโดนีเซีย ข่ามีชื่อสามัญอื่นอีกคือ กฎุกกโรหินี (กลาง) ข่าหยวก (เหนือ) ข่าหลวง (ตะวันออกเฉียงเหนือ,เหนือ) สะเอเชย (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) และ เสะเออเคย (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน).

ดู พืชและข่า (พืช)

ข้าวบาร์เลย์

้าวบาร์เลย์ เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ที่อยู่ในตระกูลหญ้า มีประโยชน์มากทั้งแก่มนุษย์และสัตว์ ทั้งยังสามารถแปรรูปทำเป็นแป้งและเบียร์ได้ด้วย เป็นพืชที่สามารถสะสมอะลูมิเนียมได้ 1,000 mg/kgGrauer & Horst 1990,McCutcheon & Schnoor 2003, Phytoremediation.

ดู พืชและข้าวบาร์เลย์

ข้าวสาลี

้าวสาลี (Triticum spp.) Belderok, Bob & Hans Mesdag & Dingena A. Donner.

ดู พืชและข้าวสาลี

ข้าวหลามดง

้าวหลามดง ชื่ออื่น จำปีหิน (ชุมพร) นมงัว (ปราจีนบุรี) เป็นไม้ตระกูลเดียวกับกระดังงา เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-7 เมตร ทรงพุ่มโปร่ง เปลือกต้นสีเทาอมดำ เนื้อไม้เหนียว ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ ใช้เป็นสมุนไพรหลังคลอดบุตร ทางภาคอีสานแก่นต้นเป็นส่วนผสมของยารักษาโรคซางในเด็ก.

ดู พืชและข้าวหลามดง

ข้าวทริทิเคลี

้าวทริทิเคลี (triticale) เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างข้าวสาลี (Triticum) กับ ข้าวไรย์ (Secale) โดยมีถิ่นกำเนิดมาจากประเทศสกอตแลนด์และประเทศสวีเดน การใช้ชื่อ ทริทิเคลี เกิดจากการผสมคำของภาษาละตินระหว่างคำว่า Triticum (ข้าวสาลี) กับคำว่าSecale (ข้าวไรย์) ซึ่งมีที่มาจากการใช้เกสรตัวผู้ของข้าวสาลีผสมพันธุ์กันกับเกสรตัวเมียของข้าวไรย์ ดังนั้นจึงเลือกที่จะใช้สองพยางค์แรกของคำว่าTriticum มานำหน้าพยางค์สุดท้ายของคำ Secale การเปรียบเทียบลักษณะของข้าวสาลี (ซ้าย),ข้าวทริทิเคลี (กลาง),ข้าวไรย์ (ขวา).

ดู พืชและข้าวทริทิเคลี

ข้าวโพด

ลักษณะของข้าวโพด ''Zea mays "fraise"'' ''Zea mays "Oaxacan Green"'' ''Zea mays "Ottofile giallo Tortonese”'' ข้าวโพด (Linn.) ชื่ออื่นๆ ข้าวสาลี สาลี (เหนือ) คง (กระบี่) โพด (ใต้) บือเคเส่ะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) เป็นพืชตระกูลเดียวกับหญ้ามีลำต้นสูง โดยเฉลี่ย 2.2 เมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น 0.5-2.0 นิ้ว เมล็ดจากฝักใช้เป็นอาหารคนและสัตว.

ดู พืชและข้าวโพด

ข้าวโอ๊ต

้าวโอ๊ต เป็นธัญพืชชนิดหนึ่ง ใช้เป็นอาหารของมนุษย์และสัตว.

ดู พืชและข้าวโอ๊ต

ข้าวไรย์

ข้าวไรย์ (rye) เป็นพืชชนิดหนึ่งในตระกูลข้าวสาลี ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับข้าวสาลีและข้าวบาร์เลย์มาก เมล็ดของมันเป็นธัญพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง อีกทั้งมีประโยชน์มากสำหรับมนุษย์และสัตว์ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปแปรรูปทำเป็นแป้ง ขนมปัง วิสกี้และเบียร์ได้อีกด้วย หมวดหมู่:ธัญพืช หมวดหมู่:หญ้า หมวดหมู่:อาหารหลัก ar:شيلم.

ดู พืชและข้าวไรย์

ดวงอาทิตย์

วงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรงเกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนท่พาซึ่งผลิตสนามแม่เหล็กผ่านกระบวนการไดนาโม ปัจจุบันเป็นแหล่งพลังงานสำคัญที่สุดสำหรับสิ่งมีชีวิตบนโลก มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39 ล้านกิโลเมตร ใหญ่กว่าโลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณ 99.86% ของมวลทั้งหมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตย์เป็นไฮโดรเจน ส่วนที่เหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลัก โดยมีปริมาณธาตุหนักกว่าเล็กน้อย รวมทั้งออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหล็ก ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ลำดับหลักระดับจี (G2V) ตามการจัดประเภทดาวฤกษ์ ซึ่งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า "ดาวแคระเหลือง" ดวงอาทิตย์เกิดเมื่อประมาณ 4.6 พันล้านปีก่อนจากการยุบทางความโน้มถ่วงของสสารภายในบริเวณเมฆโมเลกุลขนาดใหญ่ สสารนี้ส่วนใหญ่รวมอยู่ที่ใจกลาง ส่วนที่เหลือแบนลงเป็นแผ่นโคจรซึ่งกลายเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมากจนเริ่มเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ แก่น ซึ่งเชื่อว่าเป็นกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณครึ่งอายุขัย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักเป็นเวลากว่า 4 พันล้านปีมาแล้วและจะค่อนข้างเสถียรไปอีก 5 พันล้านปี หลังฟิวชันไฮโดรเจนในแก่นของมันลดลงถึงจุดที่ไม่อยู่ในดุลยภาพอุทกสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตย์จะมีความหนาแน่นและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นส่วนชั้นนอกของดวงอาทิตย์จะขยายออกจนสุดท้ายเป็นดาวยักษ์แดง มีการคำนวณว่าดวงอาทิตย์จะใหญ่พอกลืนวงโคจรปัจจุบันของดาวพุทธและดาวศุกร์ และทำให้โลกอาศัยอยู่ไม่ได้ มนุษย์ทราบความสำคัญของดวงอาทิตย์ที่มีโลกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และบางวัฒนธรรมถือดวงอาทิตย์เป็นเทวดา การหมุนของโลกและวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซึ่งเป็นปฏิทินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน.

ดู พืชและดวงอาทิตย์

ดอกบุกยักษ์

อกบุกยักษ์ หรือ ดอกซากศพ (Titan arum) เป็นพืชที่มีดอกลักษณะคล้ายกับองคชาต ซึ่งจะบาน 72 ชั่วโมง และมีกลิ่นเหม็นคล้ายปลา เนื้อสัตว์เน่า หรือซากศพ ถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อปี..1878 ทางหมู่เกาะสุมาตรา สูงโดยเฉลี่ยราว 1.6 เมตร.

ดู พืชและดอกบุกยักษ์

ดอกดิน (พืช)

อกดิน ชื่ออื่นๆคือ ดอกดินแดง ซอซวย ปากจะเข้ สบแล้ง หญ้าดอกขอ เป็นพืชขนาดเล็ก ไม่มีใบ มีชีวิตอยู่แบบกาฝาก ต้นเป็นปุ่มปมเบียนอยู่กับรากไม้หรือหญ้า ลำต้นเกาะอยู่ตามรากไม้ใต้ดิน เช่นรากไผ่หรือรากหญ้าคา ก้านดอกสีขาวนวล ดอกโผล่มาเหนือดิน กลีบดอกเป็นหลอด สีม่วงเข้ม ตอนปลายเป็นแฉก พบในที่ร่มและชื้นช่วงฤดูฝน ในดอกมีสารสีดำชื่อออคิวบิน ใช่แต่งสีดำในขนมบางชนิดเช่นขนมดอกดิน โดยนำดอกสดไปผึ่งแดดพอหมาด แล้วสับรวมกับแป้งข้าวเหนียว แป้งข้าวเจ้า และกะทิ ขนมนี้ถ้าใส่ดอกดินอย่างเดียว จะไม่เป็นสีดำ แต่เป็นสีน้ำตาลคล้ายกาแฟ ใส่มากขึ้นทำให้ขนมขื่น จึงแต่งสีดำด้วยกาบมะพร้าวเผาไฟ แล้วนำไปนึ่งให้สุก.

ดู พืชและดอกดิน (พืช)

ดองดึง

องดึง (Climbing Lily, Turk's cap, Superb Lily) หรือ ดาวดึง, หัวฟาน, หัวขวาน, พันมหา (อีสาน) เป็นพืชชนิดหนึ่งจำพวกหัว ต้นมีลักษณะเป็นเถาปลายตั้ง ใบเดี่ยวรูปหอก ส่วนปลายแหลมยาวบิดม้วนช่วยยึดเกาะ ลักษณะของดอกเป็นดอกเดี่ยว กลีบเรียวยาว ขอบของดอกบิดเป็นคลื่นปลายกลีบมีสีแดง ที่โคนหากบานใหม่ ๆ จะมีสีเหลือง แต่เมื่อแก่จะมีสีส้ม ผลเป็นรูปกระสวยเมื่อแก่จะแตกออก เมล็ดมีสีส้ม หัวกลมเรียวมีหงอนเหมือนขวาน มักขึ้นตามป่าดงดิบเขาชื้น หรือที่รกร้างว่างเปล่าที่มีความชุ่มชื้นสูง ขยายพันธ์ด้วยเมล็ดหรือแยกเหง้.

ดู พืชและดองดึง

ดอนญ่าควีนสิริกิติ์

อนญ่าควีนสิริกิติ์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Mussaenda philippica 'Queen Sirikit', Dona Queen Sirikit) เป็นพุ่มไม้ประดับของฟิลิปปินส์ ดอกสีชมพูอ่อนมีกลีบ 5 กลีบ ขอบกลีบเป็นสีชมพูเข้ม ออกดอกเกือบตลอดทั้งปี เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินเยือนฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ.

ดู พืชและดอนญ่าควีนสิริกิติ์

ดาวกระจาย (C. sulphureus)

วกระจาย (Sulfur Cosmos หรือ Yellow Cosmos) เป็นชื่อไม้ล้มลุกชนิด C. sulphureus Cav.

ดู พืชและดาวกระจาย (C. sulphureus)

ดาวประดับ

วประดับ (ชื่อวิทยาศาสตร์ Cryptostegia grandiflora R.Br.) เป็นไม้เถามีโคนแหลม ถิ่นกำเนิดจากประเทศอินเดี.

ดู พืชและดาวประดับ

ดาวเรือง

วเรือง (L.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า คำปู้จู้ (ภาคเหนือ) นิยมปลูกตัดดอก เป็นดาวเรืองในกลุ่ม African หรือ American marigold เป็นพันธุ์ดอกใหญ่ พันธุ์ที่ใช้เป็นการค้าในประเทศไทยได้แก่พันธุ์ซอเวอริน (soverign) นอกจากนี้ยังมีสายพันธุ์ใหม่ ๆ ที่นำเข้ามาได้แก่ พันธุ์จาเมกาและอื่น ๆ อีกหลายพันธุ์ ดาวเรืองขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดเป็นหลัก อาจใช้การปักชำได้ แต่ต้นที่ได้จะให้ดอกที่มีขนาดเล็กกว.

ดู พืชและดาวเรือง

ดาหลา

ต้นดาหลา เป็นพืชล้มลุกประเภทใบเลี้ยงเดี่ยวชนิดหนึ่งซึ่งมีดอกที่สวยงาม มีความนิยมปลูกเป็นไม้ตัดดอก ที่อยู่ในวงศ์ขิง(Zingiberales) ซึ่งจัดเป็นพืชที่อยู่ในวงศ์เดียวกันกับขิงและข่านั้นเอง ส่วนลำต้นดาหลาจะอยู่ใต้ดินที่พวกเราเรียกว่าเหง้าซึ่งเหง้าที่พูดถึงนี้จะเป็นจุดกำเนิดของหน่ออ่อนของทั้งต้นและดอกดาหลาต่อไป ต้นดาหลานอกจากจะนำมาเป็นไม้เพื่อชมความสวยงามของดอกแล้วยังสามารถนำดอกมาประกอบอาหารได้และก็มีคุณค่าทางสมุนไพรสูงมากด้ว.

ดู พืชและดาหลา

ดาดตะกั่ว

ตะกั่ว (Redivy; T. Anders.) เป็นพืชในวงศ์ Acanthaceae ลักษณะเป็นไม้คลุมดิน ต้นทอดเลื้อยไปตามดิน ใบด้านบนสีเหลือบเงิบ เขียงปนม่วง ด้านล่างสีม่วง ปลายใบแหลม ขอบหยัก ดอกสีขาว เป็นพืชพื้นเมืองของอินเดียและเกาะชวา นิยมปลูกเป็นไม้ประดั.

ดู พืชและดาดตะกั่ว

ดีปลี

ีปลี มีชื่อท้องถิ่นอื่นอีกคือ: ดีปลีเชือก (ภาคใต้) ประดงข้อ ปานนุ (ภาคกลาง).

ดู พืชและดีปลี

ดีเอ็นเอ

กลียวคู่ดีเอ็นเอ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (deoxyribonucleic acid) หรือย่อเป็น ดีเอ็นเอ เป็นกรดนิวคลีอิกที่มีคำสั่งพันธุกรรมซึ่งถูกใช้ในพัฒนาการและการทำหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดเท่าที่ทราบ (ยกเว้นอาร์เอ็นเอไวรัส) ส่วนของดีเอ็นเอซึ่งบรรจุข้อมูลพันธุกรรมนี้เรียกว่า ยีน ทำนองเดียวกัน ลำดับดีเอ็นเออื่น ๆ มีความมุ่งหมายด้านโครงสร้าง หรือเกี่ยวข้องกับการควบคุมการใช้ข้อมูลพันธุกรรมนี้ ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอและโปรตีนเป็นหนึ่งในสามมหโมเลกุลหลักที่สำคัญในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่ทราบ ดีเอ็นเอประกอบด้วยพอลิเมอร์สองสายยาวประกอบจากหน่วยย่อย เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ โดยมีแกนกลางเป็นน้ำตาลและหมู่ฟอสเฟตเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเอสเทอร์ ทั้งสองสายนี้จัดเรียงในทิศทางตรงกันข้าม จึงเป็น antiparallel น้ำตาลแต่ละตัวมีโมเลกุลหนึ่งในสี่ชนิดเกาะอยู่ คือ นิวคลีโอเบส หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เบส ลำดับของนิวคลีโอเบสทั้งสี่ชนิดนี้ตามแกนกลางที่เข้ารหัสข้อมูลพันธุกรรม ข้อมูลนี้อ่านโดยใช้รหัสพันธุกรรม ซึ่งกำหนดลำดับของกรดอะมิโนในโปรตีน รหัสนี้ถูกอ่านโดยการคัดลอกดีเอ็นเอเป็นกรดนิวคลีอิกอาร์เอ็นเอที่เกี่ยวข้องในขบวนการที่เรียกว่า การถอดรหัส ดีเอ็นเอภายในเซลล์มีการจัดระเบียบเป็นโครงสร้างยาว เรียกว่า โครโมโซม ระหว่างการแบ่งเซลล์ โครโมโซมเหล่านี้ถูกคัดลอกในขบวนการการถ่ายแบบดีเอ็นเอ ทำให้แต่ละเซลล์มีชุดโครโมโซมที่สมบูรณ์ของตัวเอง สิ่งมีชีวิตยูคาริโอต (สัตว์ พืช ฟังไจและโพรทิสต์) เก็บดีเอ็นเอส่วนมากไว้ในนิวเคลียส และดีเอ็นเอบางส่วนอยู่ในออร์แกเนลล์ เช่น ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์ ในทางตรงข้าม โปรคาริโอต (แบคทีเรียและอาร์เคีย) เก็บดีเอ็นเอไว้เฉพาะในไซโทพลาสซึม ในโครโมโซม โปรตีนโครมาติน เช่น ฮิสโตนบีบอัดและจัดรูปแบบของดีเอ็นเอ โครงสร้างบีบอัดเหล่านี้นำอันตรกิริยาระหว่างดีเอ็นเอกับโปรตีนอื่น ช่วยควบคุมส่วนของดีเอ็นเอที่จะถูกถอดรหั.

ดู พืชและดีเอ็นเอ

ครอบฟันสี

รอบฟันสี หรือ หมากก้นจ้ำ (อังกฤษ:Country mallow; ชื่อวิทยาศาสตร์:Abutilon indicum)เป็นพืชสมุนไพรไทย มีดอกสีแสดเหลือง ที่มีสรรพคุณหลากหลาย โดยเฉพาะ คนป่วยเป็นโรคเบาหวานต้มกินเพื่อใช้คุมระดับน้ำตาลในเลือ.

ดู พืชและครอบฟันสี

คราม (พืช)

รามหรือนาโค อยู่ในวงศ์ Leguminosae เป็นไม้พื้นเมืองในเอเชีย เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ฝักตรงหรือโค้งงอเล็กน้อย ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ ใช้ทำสีย้อม ต้นครามมีกลูโคไซด์อินดิแคน เมื่อนำต้นไปแช่น้ำ สารน้ถูกเปลี่ยนเป็นอินดอกซิลและเมื่อถูกอากาศจะถูกเปลี่ยนเป็นอินดิโก-บลู ให้สีคราม ใช้เป็นยารักษาอาการทางประสาท บรรเทาอาการปวดแผลที่เกิดในบริเวณเยื่ออ่อน คนสมัยโบราณนิยมนำกิ่งครามทั้งใบมาแช่น้ำด่าง เพื่อหมักเอาน้ำคราม มาย้อมผ้า สีที่ได้คือสีน้ำเงินเข้ม เรียกว่า สีคราม นั่นเอง แต่ต้องย้อมซ้ำหลายครั้ง ครั้งแรก ๆ อาจได้เป็นสีฟ้าเข้ม ในการหมักนั้นมีกรรมวิธีที่เรียกว่าการ 'เลี้ยงคราม' หากทำไม่ถูกขั้นตอน ครามจะไม่ให้สี เรียกว่า 'ตาย' น้ำสีที่ยังไม่สมบูรณ์จะเห็นเป็นสีเขียวเข้ม เมื่อโดนอากาศ จะเข้มขึ้นจนเป็นสีน้ำเงิน ถึงสีครามในที่สุด ชาวอีสานเรียกสีครามว่าสีนิล สีหม้อ หรือสีหม้อนิล ชาวอีสานตอนบนนิยมนำไปย้อมผ้า และมัดเป็นลาย เรียกว่า ผ้าย้อมคราม แหล่งผลิตผ้าทอมือย้อมครามที่มีคุณภาพมากที่สุดแห่งหนึ่งคือจังหวัดสกลนครเนื่องจากเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวผู้ไทและมีการต่อยอด ออกแบบสีและลวดลายให้มีความปราณีตสวยงาม.

ดู พืชและคราม (พืช)

คริสต์มาส (พรรณไม้)

ริสต์มาส หรือ พอยน์เซตเทีย (Christmas star, poinesettia) ในภาษาไทยเรียก สองฤดู หรือ โพผัน เป็นไม้ดอกพื้นเมืองของอเมริกาใต้ แถบเม็กซิโก และกัวเตมาลา เข้ามาแพร่หลายในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี..

ดู พืชและคริสต์มาส (พรรณไม้)

คลอโรฟิลล์

ลอโรฟิลล์พบได้ตามคลอโรพลาสต์ คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) เป็นสารประกอบที่พบได้ในส่วนที่มีสีเขียวของพืช โดยพบมากที่ใบของพืชนอกจากนี้ยังพบได้ที่แบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ และยังพบได้ในสาหร่ายเกือบทุกชนิด นอกจากนี้คลอโรฟิลล์ทำหน้าที่เป็นโมเลกุลรับพลังงานจากแสง และนำพลังงานดังกล่าวไปใช้ในการสร้างพลังงานเคมีโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เพื่อสร้างสารอินทรีย์ เช่น น้ำตาล และนำไปใช้เพื่อการดำรงชีวิต คลอโรฟิลล์ อยู่ในโครงสร้างที่เรียกว่า เยื่อหุ้มไทลาคอยล์ (Thylakoid membrane) ซึ่งเป็นเยื่อหุ้มที่อยู่ภายใน คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) ภาคภูมิ พระประเสร.

ดู พืชและคลอโรฟิลล์

คลอโรพลาสต์

องค์ประกอบภายในของคลอโรพลาสต์ คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เป็นออร์แกแนลล์ภายในไซโทพลาสซึม ชนิดเยื่อยูนิตสองชั้น (Double unit membrane) ภายในเป็นของเหลวที่เรียกว่า (Stroma) ภายในสโตรมานี้มีชั้นที่พับไปมา เรียกว่ากรานูล บริเวณผิวของกรานูลนี้เรียกว่า ไทลาคอยด์ ซึ่งเป็นที่อยู่ของสารสีสำหรับการสังเคราะสโตรมาห์ด้วยแสง ระหว่างกรานูลมีเยื่อที่เชื่อมโยงแต่ละกรานูลไว้ เรียกว่าสโตรมาลาเมลลา (Stroma lamella) คลอโรพลาสต์ (chloroplast) เป็นออร์แกแนลที่พบในพืช เป็นพลาสติด ที่มีสีเขียว พบเฉพาะในเซลล์พืช และสาหร่าย เกือบทุกชนิด พลาสติดมีเยื่อหุ้มสองชั้น ภายในโครงสร้างพลาสติด จะมีเม็ดสี หรือรงควัตถุบรรจุอยู่ ถ้ามีเม็ดสีคลอโรฟิลล์ (chlorophyll) เรียกว่า คลอโรพลาสต์ ถ้ามีเม็ดสีชนิดอื่นๆ เช่น แคโรทีนอยด์ เรียกว่า โครโมพลาส พลาสติดไม่มีเม็ดสี เรียกว่า ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) ทำหน้าที่ เป็นแหล่งเก็บสะสมโปรตีน หรือเก็บสะสมแป้ง ที่เรียกว่า เม็ดสี (starch grains) เรียกว่า amyloplast ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสารคลอโรฟิลล์ ภายในคลอโรพลาสต์ ประกอบด้วยส่วนที่เป็นของเหลว เรียกว่า สโตรมา (stroma) มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้อง กับการสังเคราะห์ด้วยแสง แบบที่ไม่ต้องใช้แสง (dark reaction) มี DNA RNA และไรโบโซม และเอนไซม์อีกหลายชนิด ปะปนกันอยู่ ในของเหลวเป็นเยื่อลักษณะคล้ายเหรียญ ที่เรียงซ้อนกันอยู่ เรียกว่า กรานา (grana) ระหว่างกรานา จะมีเยื่อเมมเบรน เชื่อมให้กรานาติดต่อถึงกัน เรียกว่า อินเตอร์กรานา (intergrana) หน่วยย่อย ซึ่งเปรียบเสมือน เหรียญแต่ละอัน เรียกเหรียญแต่ละอันว่า กรานาลาเมลลา (grana lamella) หรือ กรานาไทลาคอยด์ (grana thylakoid) ไทลาคอยด์ในตั้งเดียวกัน ส่วนที่เชื่อมติดกัน เรียกว่า สโตรมา ไทลาคอยด์ (stroma thylakoid) ไม่มีทางติดต่อกันได้ แต่อาจติดกับไทลาคอยด์ในตั้งอื่น หรือกรานาอื่นได้ ทั้งกรานา และอินเตอร์กรานา เป็นที่อยู่ของคลอโรฟิลล์ รงควัตถุอื่นๆ และพวกเอนไซม์ ที่เกี่ยวข้อง กับการสังเคราะห์ด้วยแสง แบบที่ต้องใช้แสง (light reaction) บรรจุอยู่ หน้าที่สำคัญ ของคลอโรพลาส คือ การสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) โดยแสงสีแดง และแสงสีน้ำเงิน เหมาะสม ต่อการสังเคราะห์ ด้วยแสงมากที.

ดู พืชและคลอโรพลาสต์

คล้าน้ำช่อตั้ง

''Thalia dealbata'' คล้าน้ำช่อตั้ง พุทธรักษาน้ำ หรือ สังฆรักษา (Powdery thalia, Hardy canna, Powdery alligator-flag) เป็นพืชน้ำในวงศ์ Marantaceae มีถิ่นกำเนิดในรัฐทางใต้ของสหรัฐอเมริกา ต้นสูงประมาณ 1.8 เมตร มีดอกสีม่วงบนช่อแยกแขนงยาวประมาณ 20 ซม.

ดู พืชและคล้าน้ำช่อตั้ง

ความหลากหลายทางชีวภาพ

วามหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) หมายถึง การมีสิ่งมีชีวิตน้อยนิด พันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือง่ายๆ คือ การที่มีชนิดพันธุ์ (Species) สายพันธุ์ (Genetic) และระบบนิเวศ (Ecosystem.) ที่แตกต่างหลากหลายบนจักรวาล ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ระหว่างชนิดพันธุ์ และระหว่างระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์ ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ ความแตกต่างระหว่างพันธุ์พืชและสัตว์ต่างๆ ที่ใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ทำให้สามารถเลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว ตามที่ต้องการได้ หากไม่มีความหลากหลายของสายพันธุ์ต่างๆ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตำปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็นได้ ความแตกต่างที่มีอยู่ในสายพันธุ์ต่างๆ ยังช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุ์ปศุสัตว์ เพื่อให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาดได้ เช่น ไก่พันธุ์เนื้อ ไก่พันธุ์ไข่ดก วัวพันธุ์นม และวัวพันธุ์เนื้อ เป็นต้น ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธุ์ สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปถึงความแตกต่างระหว่างพืชและสัตว์แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ที่อยู่ใกล้ตัว เช่น สุนัข แมว จิ้งจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และนกกระจอก เป็นต้น หรือสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในป่าเขาลำเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี และวัวแดง เป็นต้น พื้นที่ธรรมชาติเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุษย์ได้นำเอาสิ่งมีชีวิตมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม น้อยกว่าร้อยละ 5 ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในความเป็นจริงพบว่ามนุษย์ได้ใช้พืชเป็นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชมีท่อลำเลียง (vascular plant) ที่มีอยู่ทั้งหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทั้งๆ ที่ประมาณร้อยละ 25 ของพืชที่มีท่อลำเลียงนี้สามารถนำมาบริโภคได้ สำหรับชนิดพันธุ์สัตว์นั้น มนุษย์ได้นำเอาสัตว์เลี้ยงมาเพื่อใช้ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้งหมดที่มีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP 1995) ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป็นความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งซับซ้อน สามารถเห็นได้จากความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่น ป่าดงดิบ ทุ่งหญ้า ป่าชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ทุ่งนา อ่างเก็บน้ำ หรือแม้กระทั่งชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี้ สิ่งมีชีวิตก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยู่อาศัยแตกต่างกัน ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทำให้โลกมีถิ่นที่อยู่อาศัยเหมาะสมสำหรับสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดำรงชีวิตของมนุษย์แตกต่างกัน หรืออีกนัยหนึ่งให้ 'บริการทางสิ่งแวดล้อม' (environmental service) ต่างกันด้วย อาทิเช่น ป่าไม้ทำหน้าที่ดูดซับน้ำ ไม่ให้เกิดน้ำท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทำหน้าที่เก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจนบริเวณปากอ่าวตื้นเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝั่งจากกระแสลมและคลื่นด้วย เป็นต้น.

ดู พืชและความหลากหลายทางชีวภาพ

ความเจ็บปวด

วามเจ็บปวด (Pain) เป็นความทุกข์ทางกายที่เกิดเพราะสิ่งเร้าที่รุนแรงหรืออันตราย แต่เพราะมันเป็นปรากฏการณ์ที่ซับซ้อน ที่เป็นอัตวิสัย การนิยามมันจึงเป็นเรื่องยาก องค์การมาตรฐานสากล International Association for the Study of Pain (IASP) ได้กำหนดนิยามที่ใช้อย่างกว้างขวางว่า "ความเจ็บปวดเป็นประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและทางอารมณ์ ที่สัมพันธ์กับโอกาสหรือการเกิดขึ้นจริง ๆ ของความเสียหายในเนื้อเยื่อ หรือที่บอกโดยใช้คำซึ่งกล่าวถึงความเสียหายเช่นนั้น" Derived from ในการวินิจฉัยทางการแพทย์ ความเจ็บปวดพิจารณาว่าเป็นอาการของโรคที่เป็นเหตุ ความเจ็บปวดปกติจะจูงใจให้บุคคลถอยตัวออกจากสถานการณ์ที่ทำให้เสียหาย ให้ปกป้องรักษาอวัยวะที่บาดเจ็บเมื่อกำลังหาย และให้หลีกเลี่ยงประสบการณ์คล้าย ๆ กันในอนาคต ความเจ็บปวดโดยมากจะหายไปเองเมื่อหมดสิ่งเร้าอันตรายและเมื่อแผล/การบาดเจ็บหายดี แต่ก็อาจคงยืนต่อไปได้ ความเจ็บปวดบางอย่างสามารถเกิดแม้เมื่อไม่มีสิ่งเร้าอันตราย ไม่มีความเสียหาย และไม่มีโรค ในประเทศพัฒนาแล้ว ความเจ็บปวดเป็นเหตุสามัญที่สุดให้คนไข้หาหมอ มันเป็นอาการสามัญที่สุดในโรคต่าง ๆ และสามารถบั่นทอนคุณภาพและความเป็นอยู่ในชีวิตของคนไข้ ยาแก้ปวดธรรมดา ๆ ใช้ได้ในกรณี 20-70% ปัจจัยทางจิตอื่น ๆ รวมทั้งการได้ความช่วยเหลือจากสังคม การสะกดจิต ความตื่นเต้น หรือเครื่องล่อความสนใจต่าง ๆ มีอิทธิพลอย่างสำคัญต่อความทุกข์เนื่องจากความเจ็บปว.

ดู พืชและความเจ็บปวด

คว่ำตายหงายเป็น

ว่ำตายหงายเป็น เป็นพืชล้มลุก อวบน้ำ ใบเดี่ยว รูปไข่ โคนและปลายมน ขอบใบจักเป็นฟันตื้น ๆ เนื้อใบอวบหนา ออกดอกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกสีแดงและเขียว ทรงกระบอก ห้อยคว่ำลง ปลายเป็น 4 แฉก ผลเป็นพวง เมล็ดขนาดเล็ก ในทางสมุนไพร ใช้ใบเผาไฟเล็กน้อย หรือตำพอกแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ฝี ตาปลา ใบตำคั้นน้ำแก้บิด ขับปัสสาวะ โรคไขข้ออักเสบ ใบมีรสเย็นเฝื่อน พอกฝีแก้ปวด น้ำคั้นจากใบผสมการบูร ทาถูนวดแก้เคล็ดขัดยอก จากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ปัจจุบันพบว่า มีสารต้านอนุมูลอิสระ ลดความดัน เบาหวาน ซึมเศร้า ป้องกันแผลในกระเพาะอาหาร คลายกังวล ต้านการชัก ลดการบีบตัวที่ไวของกระเพาะอาหาร รวมถึงต้านมะเร็ง รวมถึงใช้ยังประโยชน์ในทางพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น เอาดอกไปไว้ในยุ้งข้าว บูชารถ ขึ้นบ้านใหม่ เอาใบใส่พานบายศรีสู่ขวัญบ่าวสาว ทำขวัญนาค และปลูกไว้เพื่อความเป็นมงคล คว่ำตายหงายเป็น ยังมีชื่ออื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ต้นตายใบเป็น, ต้นตายปลายเป็น, กระลำเพาะ, นิรพัตร, เบญจฉัตร, กะเร, มะตบ, ล็อบแล็บ, ลุบลับ, ลุมลัง, ตาวาร (3 จังหวัดชายแดนภาคใต้), ประฉู่ชิคะ (ภาษากะเหรี่ยง), ค้ำ (อำเภอนาแห้ว), ปู่ย่า (อำเภอภูหลวง), ประเตียลเพลิง, เพรอะแพระ, ยาเท้า, ส้มเช้า, หญ้าปล่องไฟ, หญ้าหวาน (ภาษาไทใหญ่) และผักเบี้ยใหญ.

ดู พืชและคว่ำตายหงายเป็น

คอร์นฟลาวเวอร์

อร์นฟลาวเวอร์ (Cornflower) เป็นพืชดอกขนาดเล็กที่ออกดอกปีละครั้ง จัดอยู่ในแฟมิลี Asteraceae เป็นพืชพื้นเมืองของยุโรป พืชชนิดนี้สูง 40-90 เซนติเมตร ลำต้นและกิ่งก้านเป็นสีเทาอมเขียว ใบเรียวแหลมยาว 1-4 เซนติเมตร ดอกสีน้ำเงินเข้ม ดอกอยู่เป็นกลุ่มโดยอยู่บนฐานรอง (capitula) เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 เซนติเมตร ดอกวางตัวกระจายออกเป็นรัศมีรอบๆฐาน รงควัตถุสีน้ำเงินในดอกคือ โพรโทไซยานิน ในอดีต พืชชนิดนี้เป็นวัชพืชในไร่นา แต่ปัจจุบันการเกษตรกรรมที่ขยายตัวทำให้แหล่งที่อยู่ของมันมีอันตราย เนื่องจากมีการใช้สารกำจัดวัชพืช อย่างไรก็ตาม พืชดอกชนิดนี้ได้รับการแนะนำให้ปลูกเป็นพืชประดับสวนและปลูกร่วมกับพืชเกษตรกรรม หลายๆประเทศได้มีพืชชนิดนี้ปลูกจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ เช่น อเมริกาเหนือ และบางส่วนของออสเตรเลีย ดอกคอร์นฟลาวเวอร์เป็นเครื่องตกแต่งอาหารได้ และใช้เป็นส่วนผสมในชา ไฟล์:CentaureaCyanus-overz-kl.jpg|แหล่งที่อยู่ ไฟล์:Centaurea_cyanus_flowers.jpg|ฐานรองกลุ่มดอก ไฟล์:Centaureacyanus.jpg ไฟล์:Centaurea cyanus in situ.jpg|การปลูกร่วมกับข้าวโพด หมวดหมู่:วงศ์ทานตะวัน หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ.

ดู พืชและคอร์นฟลาวเวอร์

คอนสวรรค์ (พืช)

อนสวรรค์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ipomoea quamoclit L.) หรือชื่อพื้นเมืองอื่นคือ สนก้างปลา ดาวนายร้อย มี 3 สีคือแดง ชมพู ขาว เป็นพืชพื้นเมืองในแถบลาตินอเมริกา ทางใต้ของอินเดียเรียกว่า มายิล มานิกกัม (மயில் மாணிக்கம்) เป็นไม้เลื้อ.

ดู พืชและคอนสวรรค์ (พืช)

คอแลน

อแลน ชื่ออื่นๆคือ บักแงว (ภาษาอีสาน), คอลัง (ภาษาใต้) อยู่ในวงศ์ Sapindaceae (วงศ์เดียวกับลิ้นจี่ ลำไย เงาะ รวมทั้งมามอนซีโย ด้วย) เป็นไม้ยืนต้นสูง มีพูพอน ใบประกอบ ดอกออกปลายกิ่หรือตามซอกใบ กลีบดอกมี 6 กลีบหรือไม่มี ผลมีปุ่มปมหนาแน่น สีแดง เปลือกภายนอกมีลักษณะคล้ายกับลิ้นจี่แต่เนื้อข้างในคล้ายเงาะมีรสเปรี้ยว รับประทานได้ เมล็ดไม่สามารถรับประทานได้เนื่องจากแข็งและมีพิษ.

ดู พืชและคอแลน

คัดเค้า

คัดเค้า (Randia siamensis) ดอกมีลักษณะเมื่อแรกบานจะเป็นสีขาว บานประมาณ 1 อาทิตย์ก่อนจะกลายเป็นสีเหลือง ออกดอกพร้อมกันทั้งต้น แต่จะทยอยบาน ดอกมีกลิ่นหอมมาก หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:วงศ์เข็ม.

ดู พืชและคัดเค้า

คาบอมบ้าแดง

อมบ้าแดง (Red cabomba, Cabomba furcata, Cabomba piauhyensis) เป็นพืชใต้น้ำจำพวกสาหร่าย ชนิดหนึ่ง พบในทวีปอเมริกาใต้ ทางตอนเหนือของประเทศคิวบาและบางส่วนของรัฐฟลอริดา เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่มีความสูงระหว่าง 30 ถึง 80 เซนติเมตร แผ่กิ่งก้านได้ประมาณ 8 เซนติเมตร นิยมนำมาเลี้ยงเป็นไม้ประดับ แต่เจริญเติบโตยาก เนื่องจากคาบอมบ้าแดงมีความต้องการแสงมากเกินกว่าที่แสงจะผ่านน้ำไปได้ตามปกติ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และสถานะของน้ำที่ใสสะอาดเป็นสิ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของคาบอมบ้าแดง.

ดู พืชและคาบอมบ้าแดง

คาร์บอน

ร์บอน (Carbon) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ C และเลขอะตอม 6 เป็นธาตุอโลหะที่มีอยู่มาก มีวาเลนซ์ 4 และมีหลายอัญรูป.

ดู พืชและคาร์บอน

คาวทอง

ผักคาวทอง เป็น ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 15-30 ซม.

ดู พืชและคาวทอง

คำฝอย

''Carthamus tinctorius'' คำฝอย (Safflower) เป็นไม้ล้มลุก ในวงศ์ทานตะวัน (Asteraceae) มีความสูง 40-130 เซนติเมตร ลำต้นเป็นสันแตกกิ่งก้านมาก ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปวงรี ใบหอก หรือขอบขนาน ขอบใบหยักฟันเลื่อย ปลายเป็นหนามแหลม ใบประดับแข็งเป็นหนาม รองรับช่อดอก ดอกเป็นดอกช่อ มีดอกย่อยขนาดเล็ก ๆ จำนวนมาก ออกที่ปลายยอด ดอกอ่อนเป็นสีเหลืองแล้วเปลี่ยนเป็นสีแดงภายหลัง ผลแห้งไม่แตก เมล็ดเป็นรูปสามเหลี่ยม สีขาว ขนาดเล็ก สารสีเหลืองส้มในกลีบดอกคือคาร์ทามินและ แซฟฟลาเวอร์เยลโลว์ ใช้แต่งสีอาหาร โดยนำดอกมาแช่น้ำร้อนและใช้ทำสีย้อมผ้ามาแต่โบราณ นอกจากนี้แล้ว ดอกของคำฝอยยังทำมาชงน้ำร้อนดื่มเพื่อสุขภาพได้แบบเก็กฮวยหรือน้ำชาได้อีกด้ว.

ดู พืชและคำฝอย

คำแสด

ผลคำแสด คำแสด หรือ คำเงาะ หรือ คำใต้ (Annatto Tree) เป็น ไม้ต้นขนาดเล็กสูงราว 3-5 เมตร เปลือกสีน้ำตาลอ่อนหรือน้ำตาลเข้ม เปลือกด้านในสีส้ม กิ่งอ่อนมีเกล็ดสีสนิมหนาแน่น ใบเดี่ยว เรียงเวียนรอบลำต้น ใบรูปไข่ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอดของกิ่ง กลีบดอกสีชมพู สีขาวหรือสีเหลืองอมม่วง กลีบเลี้ยงสีเขียวขนาดเล็ก เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก อับเรณูสีม่วง ผลรูปไข่มีขนสีแดงคล้ายผลเงาะ แก่แล้วเป็นสีแดง เมื่อผลแก่ จะแตกออก ภายในมีเมล็ดจำนวนมากและเปลือกหุ้มสีแดง.

ดู พืชและคำแสด

คู่มือภาคสนาม

คู่มือภาคสนาม โดยทั่วไป หมายถึง หนังสือสำหรับจำแนกชนิด สัตว์ หรือ พืช หรือ วัตถุทางธรรมชาติ อื่นๆ เช่น หินแร่, เมฆ ท้องฟ้าและสภาพอากาศ, กลุ่มดาวและวัตถุทางดาราศาสตร์ เป็นต้น เช่น คู่มือภาคสนามของนกในประเทศไทย คู่มือภาคสนามของกล้วยไม้ป่าในประเทศไทย แต่อาจรวมไปถึงคู่มือระเบียบการปฏิบัติทางเทคนิคต่างๆ เช่น คู่มือภาคสนามสำหรับการสัมภาษณ์ผู้ป่วย ลักษณะของคู่มือสนามโดยทั่วไป มักแบ่งเป็น หมวดหมู่ และมีระบบ การอ้างอิงค้นหา ที่สะดวก เช่น การค้นหา ชนิดของนก จาก ลักษณะภายนอก ลักษณะการบิน ลักษณะสถานที่ที่พอเห็น เป็นต้น หมวดหมู่:หนังสือ.

ดู พืชและคู่มือภาคสนาม

ค้อ

รายละเอียดลำต้นค้อที่แข็งแกร่ง ค้อ หรือบะก๊อ ภาษากะเหรี่ยงเรียก โลหล่า มีถิ่นกำเนิดที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นปาล์มต้นเดี่ยว ชอบขึ้นอยู่บนภูเขา ขนาดของลำต้นประมาณ 30 เซนติเมตร สูงได้ถึง 25 เมตร ใบเป็นรูปพัด จักเว้าลึกไม่ถึงครึ่งตัวใบ จีบเวียนรอบใบสวยงาม ใบอ่อนสีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกช่อดอกออกระหว่างกาบใบ ช่อยาว 1.50 เมตร ผลกลมรี ขนาด 2 เซนติเมตร ผลแก่สีเขียวคล้ำ ผลสุกรับประทานได้ ใบตากแห้งใช้มุงหลัง.

ดู พืชและค้อ

งา (พืช)

งา เป็นพืชล้มลุก ผลเป็นฝัก มีเมล็ดเล็กๆ สีขาว สีดำ และสีแดง มีการเพาะปลูกมานานเพราะต้องการใช้เมล็ดงานี้เป็นอาหาร เครื่องเทศ และบีบเอาน้ำมันได้ มีการใช้เมล็ดงากันมากเป็นพิเศษในแถบตะวันออกกลาง และเอเชียเพื่อเป็นอาหาร กลิ่นและรสของเมล็ดงาคล้ายกับถั่ว องค์ประกอบสำคัญในเมล็ดก็คือน้ำมัน ซึ่งมีอยู่ประมาณ 44-60% น้ำมันงานั้นต่อต้านการเกิดออกซิไดซ์ได้ดี มีการใช้ในอาหารพวกสลัด หรือเป็นน้ำมันปรุงอาหาร และมาการีนและในการผลิตสบู่ ยา และน้ำมันหล่อลื่น และยังเป็นส่วนผสมของเครื่องสำอางบางชนิด เดิมนั้นงาอาจเป็นพืชพื้นเมืองของเอเชีย หรือตะวันออกของแอฟริกา แต่ปัจจุบันพบได้ในพื้นที่เขตร้อน กึ่งร้อน และร้อนทางใต้ในทุกเขตทั่วโลก ก่อนสมัยโมเสส ชาวไอยคุปต์ใช้เมล็ดงาป่นแทนแป้งธัญพืช ส่วนชาวจีนรู้จักงามาอย่างน้อยก็ 5,000 ปีมาแล้ว พวกเขาเผาเมล็ดงาเพื่อใช้ทำแท่งหมึกจีนที่คุณภาพดี ส่วนชาวโรมันบดเมล็ดงาผสมขนมปังเป็นอาหารรสดี ชาวไทยก็มีขนมที่ใช้เมล็ดงา เรียกว่า ขนมงาตัด ใช้งากวนกับน้ำตาล แล้วตัดเป็นแผ่น ในบางถิ่นมีความเชื่อว่าเมล็ดงามีอำนาจอาถรรพณ์ และยังปรากฏในนิทานเรื่อง อาหรับราตรี ตอน อาลีบาบา กับโจรทั้งสี่สิบ ซึ่งมีคำกล่าวว่า เปิดเมล็ดงา (Open sesame) ต้นงานั้นมีความสูงระหว่าง 0.5-2.5 เมตร ขึ้นกับสภาพที่ปลูก บางพันธุ์ก็มีกิ่งก้าน บ้างก็ไม่มี ที่แกนในแกนหนึ่งมีดอกราว 3 ดอก เมล็ดนั้นสีขาว ยาวราว 3 มิลลิเมตร เมื่อแห้ง เปลือกเมล็ดจะเปิดอ้า และเมล็ดจะหลุดออกมา การเก็บงาจึงต้องอาศัยแรงงานคนเพื่อมิให้เมล็ดงาร่วงหล่น ภายหลังเมื่อไม่นานมานี้ มีการพัฒนาพันธุ์มิให้เมล็ดแตะกระจาย ทำให้สามารถเก็บด้วยเครื่องจักรได้ หมวดหมู่:วงศ์งา หมวดหมู่:เครื่องเทศ.

ดู พืชและงา (พืช)

งิ้ว (พืช)

งิ้ว ชื่ออื่นๆ งิ้วหนาม งิ้วบ้าน งิ้วแดง งิ้วปง งิ้วปงแดง เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ลำต้นสูง 25-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามากในช่วงเรือนยอด เป็นไม้เนื้ออ่อนมีหนามแหลมอยู่ตามลำต้น ใบรวมประกอบด้วยใบย่อย 4-7 ใบ ใบเป็นมันค่อนข้างหนา ใบย่อยรูปรีปลายใบเรียวแหลมเรียงกันคล้ายกับรูปนิ้วมือ มีสีเขียวไม่มีขน ก้านใบสีขาวมองเห็นชัดเจน ดอกขนาดใหญ่ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกมี 5 กลีบ สีออกแดงหรือส้มปนสีเหลือง กลีบดอกมีขนปกคลุมและกลีบดอก ดอกบานเต็มที่ประมาณ 10 ซม มีลักษณะแข็งเลื่อมเป็นมัน เมื่อมีดอกต้นจะทิ้งใบทั้งหมดส่วนกลางออกเป็นเกสรตัวผู้เรียง 3 แถว ยาวยื่นออกมาเป็นเส้นๆ ผลรูปรีปลายแหลมยาว 6-8 นิ้ว เมื่อผลแก่จะเป็นสีน้ำตาลเปลือกผลแข็งเมื่อผลแก่จะมีปุยสีขาวปลิวออกมาตามลม เมล็ด เมล็ดสีดำ ใบรวมก้านใบก้านหนึ่งมีใบย่อยอยู่ 4-7 ใบ ใบย่อยนี้จะดอกมีขนาดใหญ่ออกเป็นช่ออยู่ตามปลายกิ่ง ช่อหนึ่งมีดอกอยู่ 3-5 ดอก สีแสดแดง สีส้ม สีเหลือง มี 5 กลีบ กลีบรองดอกเป็นสีเขียวมีลักษณะเป็นรูปถ้วยมนแข็ง กลางดอกมีเกสรซ้อนเรียงกันอยู่ 3 ชั้น ตามกลีบดอกมีขนมันเป็นเงาปกคลุมอยู่ เวลาที่ออกดอกจะทิ้งใบหมดมี 5 กลีบ กลีบรองดอกเป็นสีเขียวมีลักษณะเป็นรูปถ้วยมนแข็ง ดอกบานเต็มที่ประมาณ 10 ซม.

ดู พืชและงิ้ว (พืช)

ตะแบกนา

ตะแบกนา (ตะแบกไข่, เปื๋อยนา, เปื๋อยหางค่าง) เป็นต้นไม้ผลัดใบ 15-30 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามหรือเยื้องกันเล็กน้อยใบอ่อนสีแดงมีขนสั้นอ่อนนุ่มปกคลุม ใบแก่ขนจะหลุดหายไป แผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 5 - 7 เซนติเมตร ยาว 12 - 20 เซนติเมตร ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนสอบ ดอกสีม่วงอมชมพูต่อมาเปลี่ยนเป็นสีขาวหรือเกือบขาว ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล รูปรี ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ออกดอก กรกฎาคม - กันยายน ไม่แน่นอนแล้วแต่สภาพพื้นที่และสิ่งแวดล้อม เก็บเมล็ดได้ประมาณเดือน ธันวาคมขึ้นไป ผลแก่ จะแตกเพื่อโปรยเมล็ดในราวเดือน มีนาคม การขยายพันธุ์โดยเมล็.

ดู พืชและตะแบกนา

ตะโก

ตะโก เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางประเภทใบเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ EBENACEAE โดยมีชื่อสามัญว่า Ebony ส่วนชื่อวิทยาศาสตร์นั้นก็คือ Diospyios rhodcalyx.

ดู พืชและตะโก

ตะไคร้

ตะไคร้; ชื่อท้องถิ่น: จะไคร (ภาคเหนือ), หัวซิงไค (ภาคอีสาน), ไคร (ภาคใต้), คาหอม (แม่ฮ่องสอน), เชิดเกรย, เหลอะเกรย (เขมร-สุรินทร์), ห่อวอตะโป่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)) เป็นพืชล้มลุก ความสูงประมาณ 4-6 ฟุต ใบยาวเรียว ปลายใบมีขนหนาม ลำต้นรวมกันเป็นกอ มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นช่อยาวมีดอกเล็กฝอยเป็นจำนวนมาก ตะไคร้เป็นพืชที่สามารถนำส่วนต้นหัวไปประกอบอาหาร และจัดเป็นพืชสมุนไพรด้ว.

ดู พืชและตะไคร้

ตะเคียน

ตะเคียน หรือ ตะเคียนทอง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ไม้ตะเคียน สามารถพบในประเทศบังกลาเทศ, ประเทศกัมพูชา, ประเทศอินเดีย, ประเทศลาว, ประเทศมาเลเซีย, ประเทศพม่า, ประเทศไทย และประเทศเวียดนาม ตะเคียนยังมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: กะกี้ โกกี้ (กะเหรี่ยง เชียงใหม่) แคน (ตะวันออกเฉียงเหนือ, เลย) จะเคียน (เหนือ) จืองา (มลายู นราธิวาส) จูเค้ โซเก (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี) ตะเคียนใหญ่ (กลาง) ตะเคียนทอง (กลาง, ประจวบคีรีขันธ์) ไพร (ละว้า เชียงใหม่).

ดู พืชและตะเคียน

ตั้งโอ๋

ตังโอ๋ เป็นผักชนิดหนึ่ง (Leucanthemum coronarium, Chrysanthemum coronarium) อยู่ในสกุลเดียวกับเบญจมาศ ลำต้นและใบใช้รับประทานได้ นิยมใช้เป็นส่วนประกอบในตำรับอาหารจีน.

ดู พืชและตั้งโอ๋

ตาล

ตาล หรือ ตาลโตนด หรือ โหนด ในภาษาใต้ เป็นพันธุ์ไม้พวกปาล์มขนาดใหญ่ สกุล Borassus ในวงศ์ปาล์ม (Arecaceae) เป็นปาล์มที่แข็งแรงมากชนิดหนึ่ง และเป็นปาล์มที่แยกเพศกันอยู่คนละต้น ต้นสูงถึง 40 เมตร และโตวัดผ่ากลางประมาณ 60 เซนติเมตร ลำต้นเป็นเสี้ยนสีดำแข็งมาก แต่ไส้กลางลำต้นอ่อน บริเวณโคนต้นจะมีรากเป็นกลุ่มใหญ่ ใบเหมือนพัดขนาดใหญ่ กว้าง 1 – 1.5 เมตร มีก้านเป็นทางยาว 1 – 2 เมตร ขอบของทางของก้านทั้งสองข้าง มีหนามเหมือนฟันเลื่อยสีดำแข็ง ๆ และคมมาก โคนก้านแยกออกจากกันคล้ายคีมเหล็กโอบหุ้มลำต้นไว้ ช่อดอกเพศผู้ใหญ่ รวมกันเป็นกลุ่มคล้ายนิ้วมือ เรียกว่านิ้วตาลแต่ละนิ้วยาวประมาณ 40 เซนติเมตร และโตวัดผ่า กลางประมาณ 1.5 – 2 เซนติเมตร โคนกลุ่มช่อจะมีก้าน ช่อรวมและมีกาบแข็ง ๆ หลายกาบหุ้มโคนก้านช่ออีกทีหนึ่ง ช่อดอกเพศเมียก็คล้าย ๆ กัน แต่นิ้วจะเป็นปุ่มปม ปุ่มปมคือดอกที่ติดนิ้วตาล ดอกหนึ่ง ๆ โตวัดผ่ากลางประมาณ 2 เซนติเมตร และมีกาบแข็ง ๆ หุ้ม แต่ละดอก กาบนี้จะเติบโตไปเป็นหัวจุกลูกตาลอีกทีหนึ่ง ผลกลมหรือรูปทรงกระบอกสั้น ๆ โตวัดผ่ากลางประมาณ 15 เซนติเมตร ผลเป็นเส้นใยแข็งเป็นมัน มักมีสีเหลืองแกมดำคล้ำเป็นมันหุ้มห่อเนื้อเยื่อสีเหลืองไว้ภายใน ผลหนึ่ง ๆ จะมีเมล็ดใหญ่แข็ง 1 – 3 เมล็.

ดู พืชและตาล

ตาลปัตรฤๅษี

ตาลปัตรฤๅษี (ชื่อวิทยาศาสตร์: Limnocharis flava (L.) Buchenau) หรือ ผักพาย หรือ ผักต้นจอง ของอิสาน มีชื่อพื้นเมืองอื่นได้แก่ บอนจีน นางกวัก หรือ ตาลปัตรยายชี เป็นไม้น้ำ เป็นไม้น้ำ พบบริเวณนาข้าว และบริเวณที่มีน้ำขัง ลำต้นเหง้าฝังจมอยู่ในโคลนเจริญเป็นต้น บางครั้งมีไหลสั้น ๆ จำนวนมาก ใบเป็นใบเดี่ยว รูปร่างกลมรี ยาว 15-18 ซม.

ดู พืชและตาลปัตรฤๅษี

ตาว

ตาว, ต๋าว หรือ ชก (จังหวัดระนองเรียก "ฉก" หรือ "กาฉก")มัณฑนา นวลเจริญ.

ดู พืชและตาว

ตานหม่อน

ตานหม่อน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Vernonia elliptica DC. (Compositae)) ไม้เถาหรือไม้พุ่มเลื้อย ขึ้นแทรกในซอกหินตามหน้าผาชัน ลำต้น แตกกิ่งแขนงระเกะระกะ ห้อยระย้าลงมาตามหน้าผา กิ่งก้านเล็กเรียว มีสันตามยาว ขนสีเงิน ใบเดี่ยว เรียงสลับรูปใบหอกกลับ ขอบใบเรียบ เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนสีเงิน ด้านบนสีเขียว ด้านล่างสีขาว ดอกเล็ก ดอกเป็นช่อกระจุกแน่น เริ่มบานเป็นสีม่วง เมื่อโรยเป็นสีขาว มีกลิ่นหอม ออกที่ยอดหรือซอกใบ กลีบดอกสีนวล ผลเป็นผลแห้งไม่แตก ผลแห้งมีต่อมใสๆ สีน้ำตาลอ่อน กระจายตามผิวผล มีขนเป็นพู่ติดรอบปลายผล ตานหม่อน จัดเป็นสมุนไพรที่สามารถนำมาทำเป็นยาขับพยาธิได้ ใช้เป็นยาแก้พิษตานซาง ใช้ขับพยาธิไส้เดือนในท้อง.

ดู พืชและตานหม่อน

ตำลึง

ตำลึง ((L.) Voigt) เป็นไม้เลื้อยที่มีมือจับใช้สำหรับเลื้อยเกาะต้นไม้ใหญ่หรือไม้ปักหลัก มีสีเขียวจัดเป็นสมุนไพรไทย ตำลึงมีชื่อท้องถิ่นอื่นอีกคือ ผักแคบ (ภาคเหนือ) แคเด๊าะ (กะเหรี่ยงและแม่ฮ่องสอน) ตำลึง,สี่บาท (ภาคกลาง) ผักตำนิน (ภาคอีสาน).

ดู พืชและตำลึง

ตุ่น

ำหรับ ติ่ง ที่เป็นความหมายสแลงดูที่ ติ่งหู ตุ่น หรือ ติ่ง (Moles) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมวงศ์หนึ่ง ในอันดับตุ่น (Soricomorpha) ใช้ชื่อวงศ์ว่า Talpidae ซึ่งครั้งหนึ่ง (หรือบางข้อมูล) จะจัดให้ตุ่นอยู่ในอันดับสัตว์กินแมลง (Insectivora) ตุ่น มีลักษณะคล้ายหนูตะเภาตัวอ้วน ๆ ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Rodentia) แต่ทว่าตุ่นมีอันดับแยกออกมาเองต่างหาก ซึ่งใกล้เคียงกับหนูผี (Soricidae) มากกว่า มีขนอ่อนนุ่ม สีคล้ำอย่างสีเทาหรือสีดำ ตลอดทั้งลำตัว ซึ่งขนนี้มีคุณลักษณะพิเศษที่สามารถบิดไปในทิศทางใดก็ได้ แตกต่างจากสัตว์ประเภทอื่น ๆ ส่วนหางสั้น ตุ่นอาศัยในโพรงใต้ดินตลอดเวลา จะไม่ขึ้นมาบนพื้นดิน หากไม่จำเป็น ดังนั้นจึงมีหูและตาเล็กมาก เพราะแทบไม่ได้ใช้ประโยชน์ และถูกเก็บซ่อนอยู่ใต้ขน เพื่อป้องกันมิให้ดินเข้าเวลาขุดดิน ในบางชนิดจะมีหนังพิเศษปิดเหนือตาด้วย ขาคู่หน้าของตุ่นซ่อนอยู่ใต้ขน ซึ่งจะยื่นออกมาแต่ส่วนปลายเป็นข้อมือที่มีเล็บที่แข็งแรง 5 เล็บ ซึ่งใช้ในการขุดโพรงดิน แต่จะใช้เดินบนพื้นดินไม่ได้เลย หากตุ่นขึ้นมาบนดินจะทำได้เพียงแค่คืบคลาน ในโพรงใต้ดินของตุ่น มีทางยาวมาก โดยมักจะขุดให้ลึกไปจากผิวดินราว 3 นิ้วครึ่งถึงครึ่งฟุต เป็นทางยาวขนานไปกับผิวดิน และลึกจากหน้าดินราวหนึ่งฟุตก็มีอีกโพรงหนึ่งเป็นคู่ขนานด้วยเช่นกัน ซึ่งทั้งสองสายนี้เชื่อมไว้ด้วยทางเชื่อมเล็ก ๆ ในแนวตามจุดต่าง ๆ เป็นระยะ ๆ แต่ในบางจุดอาจมีแนวดิ่งลึกลงไปถึง 4 ฟุต ผนังโพรงราบเรียบสม่ำเสมอกัน ที่ปลายสุดของโพรงจะใช้เป็นที่กลับตัว ซึ่งมีความกว้างเพียงขนาดเท่าตัวของตุ่น ดินที่ขุดขึ้นทำโพรงนั้นจะถูกอัดไปตามผนังโพรงเพื่อให้แน่นและแข็งแรง แต่บางส่วนก็จะถูกดันขึ้นไปเหนือพื้นดิน เห็นเป็นเนิน ๆ ซึ่งเรียกในภาษาไทยว่า "โขย" ตุ่น กินอาหารหลัก คือ ไส้เดือนดิน และก็สามารถกินอาหารอื่นได้ เช่น หนอน, หอยทาก และพืชประเภทหัว เช่น มัน หรือ แห้ว หลายชนิด ในวันหนึ่ง ๆ ตุ่นสามารถที่จะกินอาหารได้เท่ากับน้ำหนักตัว จึงเป็นสัตว์ที่ไม่อาจอดอาหารได้นาน ในฤดูแล้งที่อาหารขาดแคลน ตุ่นสามารถจะสะสมอาหารเป็นเสบียงได้ ในโพรงดินส่วนที่เป็นห้องเก็บอาหาร โดยมีรายงานว่า ตุ่นบางตัวเก็บหนอนไว้ในห้องเก็บอาหารนับร้อยตัว โดยที่หัวของหนอนเหล่านี้ถูกกัดจนหัวขาดแล้ว แต่ยังไม่ตาย ไม่อาจจะหนีไปไหนได้ ตามปกติ ตุ่นเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ลำพัง นอกจากในฤดูผสมพันธุ์ ซึ่งในฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้ต้องต่อสู้แย่งชิงตัวเมียเสียก่อน ตัวเมียจะเป็นฝ่ายสร้างรั งขนาดลูกรักบี้ที่บุด้วยใบไม้และฟางหรือกิ่งไม้เล็ก ๆ โดยจะอยู่ลึกจากหน้าดินประมาณ 2 ฟุต หรือตื้นกว่านั้น มีทางแยกออกจากรังหลายทาง เพื่อที่จะเข้าออกได้หลายทาง เพื่อความสะดวกและปลอดภัย ซึ่งรังของตุ่นจะสะอาดสะอ้านอยู่เสมอ ตุ่นมักจะมีลูกครอกละ 2-7 ตัว ลูกอ่อนที่เกิดใหม่จะยังไม่ลืมตา และขนจะเริ่มงอกเมื่อมีอายุได้สัก 10 วัน และลืมตาในเวลาต่อมา และจะออกจากรังเมื่อมีอายุได้ราว 5 สัปดาห์ มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 3 ปี ตุ่นกระจายพันธุ์ไปในทุกพื้นที่ทั่วโลก ยกเว้นในเขตขั้วโลกและโอเชียเนีย สามารถแบ่งออกได้เป็น 17 สกุล และ 3 วงศ์ย่อย (ดูในตาราง) พบประมาณ 44 ชนิด ซึ่งบางชนิดมีขนสีทอง บางชนิดมีส่วนหางยาว บางชนิดที่จมูกมีเส้นขนเป็นอวัยวะรับสัมผัสเป็นเส้น ๆ 22 เส้น ลักษณะคล้ายดาว และมีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่บนดินและว่ายน้ำได้เก่งอีกด้วย ขณะที่บางชนิดก็สามารถปีนต้นไม้ได้ และอาศัยอยู่เป็นฝูง สำหรับในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียว คือ ตุ่นโคลส (Euroscaptor klossi).

ดู พืชและตุ่น

ตีนเป็ดทราย

ผลตีนเป็ดทรายดิบในอินโดนีเซีย ตีนเป็ดทราย เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Apocynaceae ยางสีขาว รากแผ่กว้างเพื่อยึดกับทราย ใบยาวรี ค่อนข้างหนา ผิวเคลือบใบหนา ดอกสีขาว ผลทรงกลมรี เมื่อสุกสีแดง มีพิษ รับประทานไม่ได้ ใบใช้เป็นยารักษาโรคผิวหนัง ชื่อสามัญของพืชนี้ในแต่ละถิ่นจะต่างกันไป ภาษาอังกฤษเรียก sea mango (ตรงตัว: มะม่วงทะเล), ในมาดากัสการ์เรียก tanguin samanta tangena, ในซามัวเรียก leva, ในตองงาเรียก toto, ในฟีจีเรียก vasa ส่วนในภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู และภาษาซุนดาเรียก bintaro.

ดู พืชและตีนเป็ดทราย

ต้อยติ่ง

thumb ต้อยติ่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ruellia tuberosa) เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็กในวงศ์ Acanthaceae เติบโตได้ดีทั้งกลางแจ้งและในร่ม ต้นเจริญเต็มที่สูง 6½ นิ้ว ใบกลมรี ตาแตกยอดได้สี่ข้าง ออกดอกสีม่วงน้ำเงินเฉพาะตอนฤดูฝน เมื่อผสมเกสรแล้วจะให้เมล็ด ประมาณ 25-32 เมล็ดอยู่ในฝัก เมื่อฝักแก่จะกลายเป็นสีน้ำตาลหรือสีดำ พอฝักโดนน้ำ (โดยธรรมชาติคือน้ำฝน) ก็จะแตกออกทำให้เมล็ดกระเด็นไปตกที่อื่น ซึ่งเป็นเทคนิคของการขยายพันธุ์ (เด็ก ๆ ชอบเล่นโดยนำฝักแก่ใส่ลงในน้ำให้แตก) ชื่ออื่นที่เรียกเช่น อังกาบฝรั่ง, เป๊าะแป๊ะ, minnieroot, popping pod, cracker plant เป็นต้น รากของต้อยติ่งสามารถใช้เป็นยารักษาโรคไต โรคไอกรน หรือแม้แต่เป็นยาขับเลือด ถ้าใช้ในปริมาณที่เจือจางก็สามารถกำจัดสารพิษในเลือด บรรเทาอาการสารพิษตกค้างในปัสสาวะ ส่วนใบของต้อยติ่งสามารถใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ หรือใช้พอกแก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ แต่ต้อยติ่งมักจะถูกถอนทิ้งเพราะคนคิดว่าเป็นวัชพืช สรรพคุณของต้อยติ่ง สรรพคุณต้นต้อยติ่ง รากช่วยรักษาโรคไอกรน (ราก) รากใช้เป็นยาขับเลือด (ราก) รากต้อยติ่งสามารถนำมาใช้เป็นยารักษาโรคไตได้ (ราก) สรรพคุณต้อยติ่งฝรั่ง รากช่วยดับพิษในร่างกาย (ราก) ช่วยทำให้อาเจียน (ราก) สรรพคุณต้อยติ่ง ใบใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ (ใบ) รากหากนำมาใช้ในปริมาณที่เจือจางสามารถช่วยจำกัดสารพิษในเลือดได้ (ราก) ช่วยบรรเทาอาการสารพิษตกค้างในปัสสาวะ (ราก) ช่วยขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ (ราก) ใบใช้พอกแก้อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้ (ใบ) เมล็ดใช้พอกฝีเพื่อดูดหนองและช่วยลดการอักเสบ (เมล็ด) เมล็ดใช้พอกแผลเรื้อรัง ช่วยสมานบาดแผล แผลมีฝ้ามีหนอง และช่วยเรียกเนื้อ (เมล็ด) เมล็ดมีสรรพคุณช่วยทำให้แผลหายเร็วยิ่งขึ้น (เมล็ด) สรรพคุณสมุนไพรต้อยติ่ง เมล็ดช่วยแก้อาการผดผื่นคัน (เมล็ด) ต้อยติ่งทั้งต้นเอาชนิดที่ไม่แก่ ดอกยังไม่ร่วงโรย นำมาถอนเอาทั้งรากไม่ให้รากขาดและอย่าให้เมล็ดแตก ประมาณ 4-5 ต้น แล้วนำไปล้างน้ำให้สะอาด โขลกค้นเอาแต่น้ำมาดื่ม ตะช่วยแก้อาการปวดเข่า ขาชา ร้าวลงได้ ซึ่งใช้เวลาในการรักษาเพียง 7 วันก็หาย (ทั้งต้น) รากใช้ผสมเป็นยาแก้พิษ ดับพิษ และทำเป็นยาเบื่อ (ราก) ประโยชน์ของต้อยติ่ง ฝักใช้เป็นของเล่นของเด็กๆ ด้วยการสะสมฝักแก่จัด (สีน้ำตาลเข้มเกือบดำ) เก็บไว้ในที่แห้งเมื่อมีโอกาสก็นำมาจุ่มน้ำ (หรือน้ำลาย) แล้วเอาไปโยนใส่เพื่อนๆ สักพักหนึ่งฝักก็จะแตกตัวออกดังแป๊ะ พร้อมกับดีดเมล็ดออกโดยรอบ ทำให้เพื่อนตกใจหรือเจ็บคันๆ หรือบางครั้งก็แอบไปใส่ในกระเป๋าเสื้อ กระเป๋ากางเกง หรือแม้แต่คอเสื้อ ซึ่งแม้จะรู้ตัวแต่ก็มักจะเอาออกไม่ทัน ฝักก็จะแตกออกเสียก่อน (ฝัก).

ดู พืชและต้อยติ่ง

ต้นชา

''Camellia sinensis'' ต้นชาเป็นพืชที่นำใบและยอดอ่อนไปผลิตเป็นชาจีน อยู่ในสกุล Camellia (ภาษาจีน: 茶花; พินอิน: Cháhuā, ตรงตัว: "ดอกชา") และอยู่ในวงศ์ Theaceae ชาขาว ชาเขียว ชาอูหลง และชาดำถูกเก็บเกี่ยวจากพืชสปีชีส์นี้ทั้งหมด แต่กระบวนการผลิตต่างกัน ทำให้มีระดับของปฏิกิริยาออกซิเดชันต่างกัน กูกิชะ (Kukicha)ทำมาจากต้นชาชนิดเดียวกันแต่ใช้กิ่งและก้านแทนใบ มีสองสายพันธุ์คือ ชาจีน (Camellia sinensis var.

ดู พืชและต้นชา

ต้นฝิ่น

ต้นฝิ่น มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Papaver somniferum L. เป็นดอกป๊อปปี้พันธุ์หนึ่ง ในวงศ์ Papaveraceae ชื่อสกุล Papaver เป็นชื่อภาษาละตินสำหรับเรียกพืชที่เรียกกันในภาษาอังกฤษว่า Opium poppy ส่วนชื่อชนิด somniferum แปลว่า ทำให้นอนหลั.

ดู พืชและต้นฝิ่น

ต้นไม้ (แก้ความกำกวม)

ต้นไม้ อาจหมายถึง.

ดู พืชและต้นไม้ (แก้ความกำกวม)

ซานชี

ซานชี หรือ เถียนชี เป็นพืชสมุนไพรอยู่ในตระกูล "โสมคน" ซานชีเป็นภาษาจีน แปลว่า "สามเจ็ด" เป็นไม้ยืนต้น แต่ละต้นมีกิ่ง 3 กิ่ง แต่ละกิ่งมีใบไม้ 7 ใบ เลยตั้งชื่อว่า สามเจ็ดกิ่ง.

ดู พืชและซานชี

ซ่อนกลิ่น

ซ่อนกลิ่น มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า หอมไกล หรือ หอมไก๋ (ภาคเหนือ) ดอกเข่า (ภาคอีสาน)เป็นพรรณไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง ประเภทพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีดอกสีขาว กลิ่นหอม มีหัวอยู่ใต้ดิน อยู่ในวงศ์ Amaryllidaceae ส่วนชื่อสามัญคือ Tuberose มาจากภาษาละติน tuberosa มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ มักขึ้นได้ดีในดินที่ระบายน้ำได้สะดวก สารสกัดของพืชชนิดนี้ใช้เป็นเครื่องหอมมาตั้งแต่สมัยโบราณ หมวดหมู่:วงศ์ย่อยศรนารายณ์ หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ.

ดู พืชและซ่อนกลิ่น

ประยงค์

ประยงค์ เป็นไม้ในวงศ์ Meliaceae อยู่ในสกุลเดียวกับลางสาด ลองกอง ใบมีสีเขียวเข้ม หนา มีใบย่อย 5 ใบ ใบรูปร่างโค้งมนปลายแหลม ออกดอกเป็นช่อ ดอกขนาดเล็กรูปร่างเป็นเม็ดกลม ๆ มี 20-30 ดอกต่อช่อ ดอกมีสีเหลือง พบในกัมพูชา จีน อินโดนีเซีย พม่า ไต้หวัน ไทย เวียดนาม และอาจจะมีในลาว ในประยงค์มีสารออกฤทธิ์หลายชนิด เช่น สารกลุ่ม Cyclopentabenzofuran ซึ่งเป็นอนุพันธ์ของสาร Rocaglamide, Odorine, Aglain, Lignanes และ Triterpenes สารเหล่านี้มีฤทธิ์ในการกำจัดแมลงวันผลไม้ได้ สารสกัดด้วยน้ำจากกิ่งอ่อนยับยั้งการเจริญเติบโตของผักโขมและหญ้าข้าวนกได้ ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประ ประเทศมาเลเซียนำดอกไปแช่น้ำใช้ลดไข้.

ดู พืชและประยงค์

ประทัดจีน

ประทัดจีน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Russelia equisetiformis Schlecht. & Cham; ชื่อสามัญ: Fountainbush; Firecracker plant; Coral plant; Coralblow; Fountain plant).

ดู พืชและประทัดจีน

ประทัดไต้หวัน

ประทัดไต้หวัน หรือ ประทัดฟิลิปปินส์ (Scarlet bush, Firebush, Hummingbird Bush, Redhead) Jacq.

ดู พืชและประทัดไต้หวัน

ประดู่บ้าน

ลำต้นเคลือบด้วยเปลือกเป็นเม็ด ๆ ประดู่บ้านเต็ม สมิตินันทน.

ดู พืชและประดู่บ้าน

ประดู่แดง

ประดู่แดง (ชื่อวิทยาศาสตร์:Phyllocarpus septentrionalis Donn. Smith) เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่มีความสูงประมาณ 10 -12 เมตร ผิวเปลือกลำต้นมีสีน้ำตาลอ่อน เรือนยอดแผ่กว้างกิ่งลู่ลง ผลัดใบ ใบเป็นรูปมนรีออกเป็นคู่ สลับกันตามลำต้น ลักษณะของใบปลายแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ มีสีเขียว ออกดอกเป็นช่อ ช่อดอกสีแดงสด ดอกจะบานไม่พร้อมกัน จะทยอยกันบานไล่ขึ้นไปตั้งแต่โคนก้านช่อจนถึงปลายช่อ เวลาบานจะแดงสพรั่งทั้งต้น เกสรยาวยื่นออกมากลางดอก ดอกมีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนมกราคม*มีนาคม ผลเป็นฝักแบนรูปขอบขนานโค้งเล็กน้อย เมล็ดแบน มีถิ่นกำเนิดในประเทศกัวเตมาลา ทวีปอเมริกาใต้.

ดู พืชและประดู่แดง

ปรากฏการณ์เรือนกระจก

แผนภูมิแสดงการแลกเปลี่ยนพลังงานระหว่างดวงอาทิตย์ พื้นผิวโลก ชั้นบรรยากาศของโลก และอวกาศ ความสามารถของชั้นบรรยากาศในการจับและนำพลังงานที่แผ่ออกมาจากพื้นผิวโลกกลับมาใช้ใหม่เป็นลักษณะนิยามของปรากฏการณ์เรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) คือ ขบวนการที่รังสีความร้อนจากพื้นผิวโลกจะถูกดูดซับโดยก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ และแผ่รังสีออกไปอีกครั้งในทุกทิศทาง เนื่องจากการแผ่รังสีออกไปอีกครั้งถูกส่งกลับมายังพื้นผิวโลกและบรรยากาศด้านล่าง เป็นผลทำให้ระดับอุณหภูมิพื้นผิวโลกเฉลี่ยสูงขึ้นถ้าไม่มีก๊าซเหล่านี้A concise description of the greenhouse effect is given in the Intergovernmental Panel on Climate Change Fourth Assessment Report, "What is the Greenhouse Effect?", IIPCC Fourth Assessment Report, Chapter 1, page 115: "เพื่อความสมดุลของพลังงานที่ส่งมาจากดวงอาทิตย์ โลกโดยเฉลี่ยต้องแผ่รังสีพลังงานจำนวนที่เท่ากันกลับไปสู่อวกาศ เพราะว่าโลกเย็นกว่าดวงอาทิตย์ โลกจึงแผ่รังสีที่ความยาวคลื่นที่ยาวกว่าในแถบความถี่อินฟราเรด รังสีความร้อนที่ปล่อยออกมาจากพื้นดินและมหาสมุทรจำนวนมากนี้จะถูกดูดซับในชั้นบรรยากาศรวมทั้งหมู่เมฆและแผ่รังสีอีกครั้งกลับมายังโลก ขบวนการนี้เรียกว่าปรากฏการณ์เรือนกระจก" Stephen H.

ดู พืชและปรากฏการณ์เรือนกระจก

ปริก (พรรณไม้)

ปริก หรือ ปริกน้ำค้าง เป็นพืชในวงศ์ Asperagaceae เป็นไม้คลุมดิน ใบจริงลดรูปลงเป็นหนาม ส่วนที่สีเขียวคล้ายใบรูปเข็มเป็นลำต้นที่มีสีเขียว แตกกิ่งเป็นพุ่มห้อยลง ดอกสีขาว ขนาดเล็ก ผลเมื่อสุกสีแดง เป็นพืชพื้นเมืองของแอฟริกาใต้.

ดู พืชและปริก (พรรณไม้)

ปรง

ปรง (Cycad) เป็นพืชที่มีขนาดเล็กคล้ายกับใบของปาล์ม แต่การเรียงตัวของใบนั้นคล้ายกับเฟิร์นข้าหลวง คือมีการเรียงตัวอยู่รอบ ๆ ศูนย์กลางของลำตัว ปรงเป็นพืชที่เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตช้ามาก คือ 1 ปีจะเกิดใบเพียงแค่ใบ เดียวเท่านั้น ปรงสามารถทนต่อการขาดน้ำได้เป็นอย่างดีและถ้าขาดน้ำนาน ๆ ใบของปรงจะแห้งเหี่ยวตายไป แต่พอได้รับน้ำอีกครั้งใบก็จะเกิดขึ้นมาใหม่อีกครั้งหนึ่ง.

ดู พืชและปรง

ปลากระดูกอ่อน

ปลากระดูกอ่อน (ชั้น: Chondrichthyes; Cartilaginous fish) เป็นชั้นของปลาจำพวกหนึ่ง ซึ่งมีโครงสร้างกระดูกประกอบไปด้วยเซลล์กระดูกอ่อนอย่างเดียว โดยมีหินปูนมาประกอบเป็นบางส่วน ส่วนมากมีเหงือกแยกออกเป็นช่อง 5 ช่อง มีเกล็ดแบบพลาคอยด์ ที่จะไม่โตไปตามตัว มีลักษณะสากเมื่อสัมผัส ตัวผู้มีรยางค์เพศที่ครีบท้องเป็นติ่งยื่นเรียก แคลสเปอร์ หรือที่ในภาษาไทยเรียก เดือย โดยมากจะออกลูกเป็นตัว ขากรรไกรแยกออกจากกะโหลก ปลาจำพวกนี้พบทั่วโลกประมาณ 800 ชนิด เป็นปลากินเนื้อ ส่วนมากเป็นปลาทะเล ในน้ำจืดมีเพียงไม่กี่สิบชนิด มีหลายอันดับ หลายวงศ์ หลายสกุล โดยปลาในกลุ่มปลากระดูกอ่อนนี้ที่รู้จักกันดี ก็ได้แก่ ปลาฉลาม, ปลากระเบน, ปลาฉนาก, ปลาโรนัน เป็นต้น ปลากระดูกอ่อนส่วนใหญ่มีรูปร่างเรียวยาว ยกเว้น ปลากระเบน ที่มีรูปร่างแบน ส่วนใหญ่อยู่ในทะเล พบในน้ำจืดเพียงไม่กี่ชนิด เช่น ปลากระเบนน้ำจืด มีขนาดแตกต่างกันตามแต่ละสกุล แต่ละชนิด ตั้งแต่มีความยาวเพียงไม่ถึงหนึ่งฟุต จนถึง 20 เมตร หนักถึง 34 ตัน คือ ปลาฉลามวาฬ (Rhincodon typus) ซึ่งเป็นปลาที่ใหญ่ที่สุดในโลก.

ดู พืชและปลากระดูกอ่อน

ปลาการ์ตูน

ปลาการ์ตูน เป็นปลากระดูกแข็งขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในทะเล จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Amphiprioninae ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae).

ดู พืชและปลาการ์ตูน

ปลาลิ่น

ปลาลิ่น หรือปลาเกล็ดเงิน หรือปลาหัวโต เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Hypophthalmichthys molitrix ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีส่วนหัวโต ตาเล็กอยู่ต่ำกว่ามุมปาก ปากและข้างแก้มกว้าง ครีบหลังเล็กอยู่ประมาณกึ่งกลางลำตัว ครีบก้นเล็ก ครีบหางเว้าลึก เกล็ดเล็กแบบขอบเรียบ ด้านท้องเป็นสันแคบ ตัวมีสีเงินคล้ำที่ด้านหลัง และสีเงินแวววาวที่ด้านท้อง หัวมีสีคล้ำอมแดงหรือสีเนื้อ ครีบมีลักษณะสีจาง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 30-50 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 105 เซนติเมตร หนักได้ถึง 50 กิโลกรัม เป็นปลาพื้นเมืองของจีนแผ่นดินใหญ่มีถิ่นกำเนิดในแม่น้ำฮวงโหและแม่น้ำอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงกัน เป็นปลาที่ชาวจีนนิยมบริโภคเพราะมีรสชาติดีแม้ว่าจะมีก้างเยอะก็ตาม ปัจจุบัน นิยมเลี้ยงในบ่อและถูกปล่อยลงในแหล่งน้ำที่ถูกสร้างขึ้น เช่น บ่อปลาในโครงการต่าง ๆ ของกรมประมงหรือหมู่บ้านหรืออ่างเก็บน้ำ โดยให้ปลาลิ่นกินเศษอาหารและแพลงก์ตอนจากการกินพืชจำพวกหญ้า และมูลจากปลาชนิดอื่น เช่น ปลาไน (Cyprinus carpio) เป็นต้น ขยายพันธุ์ได้ด้วยการผสมเทียมเท่านั้น ไม่พบการแพร่พันธุ์เองในแหล่งน้ำธรรมชาติของไทย ถูกนำเข้ามาในประเทศในปี พ.ศ.

ดู พืชและปลาลิ่น

ปลาหางนกยูง

ปลาหางนกยูง เป็นปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสอด (Poeciliidae).

ดู พืชและปลาหางนกยูง

ปลาอะโรวานาแอฟริกา

ปลาอะโรวานาแอฟริกา หรือ ปลาตะพัดแอฟริกา (African arowana, Nile arowana, African bonytongue) เป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาอะราไพม่า (Arapaimidae) ซึ่งมีเพียงชนิดเดียวในสกุล Heterotis นี้ (ในข้อมูลเก่าจะระบุให้อยู่ในวงศ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae)) ปลาอะโรวานาแอฟริกา มีลักษณะส่วนหัวค่อนข้างกลมหนาและสั้น ตาโต ปากเล็ก ริมฝีปากหนา ไม่มีหนวด ลำตัวกลมและแบนข้างที่หาง สีลำตัวสีน้ำตาลอมเขียวและดำ โดยสีสันนี้สามารถแปรเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม บริเวณส่วนท้องซีดจาง ครีบและหางค่อนข้างเล็กและสีเดียวกับลำตัว เกล็ดมีขนาดเล็ก เกล็ดตามเส้นข้างลำตัวมี 32–38 เกล็ด โดยเส้นข้างลำตัวเริ่มจากจุดเหนือแผ่นปิดเหงือกไปจรดที่จุดกึ่งกลางของโคนหาง ขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 1 เมตร อีกทั้งยังกินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ และยังสามารถกินแพลงก์ตอนเป็นอาหารได้อีกด้วย โดยการผ่านการกรองที่ช่องเหงือก โดยจะหากินทุกระดับน้ำ อีกทั้งยังสามารถฮุบอากาศหายใจโดยตรงได้ด้วย แพร่พันธุ์ด้วยการสานรัง โดยพ่อแม่ปลาจะคาบไม้น้ำประเภทกกมาวางซ้อนสานกันเป็นวงกลมคล้ายตะกร้าลอยอยู่ผิวน้ำ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4 ฟุต ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัว 2 วัน ไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 มิลลิเมตร แพร่กระจายอยู่บริเวณแม่น้ำไนล์ในแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันตก แถบประเทศอียิปต์, เซเนกัล, ซาอีร์ เป็นต้น เป็นปลาที่ชาวพื้นเมืองใช้เป็นอาหาร และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม แม้จะไม่มีสีสันสวยงามเลยก็ตาม ซึ่งในสถานที่เลี้ยง ปลาอะโรวานาแอฟริกาไม่มีนิสัยก้าวร้าวเหมือนปลาชนิดอื่น ๆ ในวงศ์เดียวกัน หนังสือ (แอบ)คุยเรื่องปลาตู้ โครงการ 2: ปลาอโรตัวเป็นวาน่าเลี้ยง โดย Nanconnection (ตุลาคม, พ.ศ.

ดู พืชและปลาอะโรวานาแอฟริกา

ปลาคู้ดำ

ปลาคู้ดำ หรือ ปลาเปคูดำ (Blackfin pacu, Black pacu) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Colossoma macropomum อยู่ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาปิรันยา ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน หากแต่ปลาคู้ดำจะมีส่วนเว้าของหน้าผากเว้าเข้ามากกว่า โคนหางจะคอดเล็ก ฟันภายในปากมีสภาพเป็นหน้าตัดคล้ายฟันมนุษย์ไม่แหลมคม เมื่อเทียบกับส่วนของลำตัว ลำตัวและปลายหางจะมีสีเงินปนดำ และเมื่อปลาโตยิ่งขึ้นในส่วนของสีดำนี้ก็จะเห็นชัดขึ้นด้วย มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 1 เมตร หนักได้ถึง 40 กิโลกรัม มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาใต้ในลุ่มแม่น้ำอเมซอนและแม่น้ำโอริโนโคซึ่งเป็นแม่น้ำสาขา มีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่รวมเป็นฝูง กินได้ทั้งพืชและสัตว์ ซึ่งแตกต่างไปจากปลาปิรันยาที่จะกินเพียงสัตว์อย่างเดียว และยังสามารถกินเมล็ดพืชที่ตกลงน้ำได้อีกด้วย โดยมักไปรอกินบริเวณผิวน้ำ ปลาคู้ดำ จัดเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ย่อย Serrasalminae อันเป็นวงศ์ย่อยเดียวกับปลาปิรันยา แต่ไม่มีนิสัยดุร้ายเท่า มีชื่อเป็นภาษาพื้นเมืองเรียกว่า Tambaqui หรือ Cachama หรือ Gamitana และเป็นปลาเพียงชนิดเดียวด้วยที่อยู่ในสกุล Colossoma เป็นปลาที่นิยมบริโภคกันในท้องถิ่น สามารถนำไปปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย เช่นเดียวกับปลาปิรันยาชนิดอื่น ๆ สำหรับในประเทศไทย ปลาคู้ดำได้เข้ามาสู่ประเทศไทยในฐานะเป็นปลาเศรษฐกิจที่กรมประมงส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยง โดยมีชื่อเรียกกันในแวดวงเกษตรว่า "ปลาจะละเม็ดน้ำจืด" เช่นเดียวกับ ปลาคู้แดง (Piaractus brachypomus) ด้วย นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย ซึ่งจากการนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามนี้ เมื่อปลาโตขึ้นผู้เลี้ยงไม่สามารถเลี้ยงต่อไปได้ไหว จึงนิยมนำไปปล่อยตามแหล่งน้ำธรรมชาติต่าง ๆ ทำให้ในปัจจุบัน มีปลาคู้ดำในแหล่งน้ำธรรมชาติตามที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ เช่น เขื่อนศรีนครินทร์ เป็นต้น จัดเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมในจำพวกชนิดพันธุ์ต่างถิ่นอีกชนิดหนึ่ง.

ดู พืชและปลาคู้ดำ

ปลาคู้แดง

ปลาคู้แดง หรือ ปลาเปคูแดง (Red bellied pacu) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) วงศ์ย่อย Serrasalminae มีรูปร่างเหมือนกับปลาปิรันยาแดง (Pygocentrus nattereri) แต่ปลาคู้แดงมีขนาดลำตัวที่ใหญ่กว่า กรามล่างไม่ยื่นยาวออกมาและลักษณะของฟันไม่แหลมคมเหมือนกับปลาปิรันยาแดง เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียด มีสีสันแวววาวเหมือนกับปลาปิรันยาแดง แต่ในส่วนของสีแดงไม่เข้มเท่า แต่ลูกปลาวัยอ่อนมีจุดกลมสีแดงเหมือนกัน และจุดเหล่านี้จะค่อย ๆ เล็กลงและหายไปเมื่อปลาโตขึ้น ปลาคู้แดง มีขนาดโตเต็มที่ยาวได้ 80 เซนติเมตร น้ำหนักหนัก 25 กิโลกรัม (ขนาดและน้ำหนักโดยเฉลี่ยคือ 45 เซนติเมตร และน้ำหนัก 2-3 กิโลกรัม) มีถิ่นกำเนิดในลุ่มแม่น้ำอเมซอนและแม่น้ำโอริโนโคในประเทศอาร์เจนตินา นิยมอยู่รวมกันเป็นฝูง กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ โดยเฉพาะพืชเช่นเมล็ดพืชหรือลูกไม้ที่ร่วงหล่นจากต้น โดยจะไปรอกินถึงบริเวณผิวน้ำเลยทีเดียว ปลาคู้แดงขณะเมื่อยังเล็ก ที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม เป็นปลาที่นิยมทำเป็นอาหารของชนพื้นถิ่น มีชื่อเรียกในภาษาพื้นเมืองว่า Pirapitinga ในประเทศไทยปลาคู้แดงถูกนำเข้ามาครั้งแรกในฐานะปลาสวยงาม เมื่อปี..

ดู พืชและปลาคู้แดง

ปลาฉลามกบ

ปลาฉลามกบ หรือ ปลาฉลามปล้องอ้อย (Brownbanded bamboo shark, Banded cat shark) เป็นปลาฉลามขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chiloscyllium punctatum อยู่ในวงศ์ Hemiscylliidae มีลำตัวและหางเรียวยาว จะงอยปากกว้างอยู่บริเวณด้านหน้าของตาทั้ง 2 ข้าง ตามีขนาดเล็ก ครีบหางแฉกบนโค้งเรียวยาวกว่าแฉกล่าง ในลูกปลาวัยอ่อนจะมีลายเป็นแถบสีขาวสลับดำคาดตามขวางลำตัวและจะค่อย ๆ จางลงเมื่อโตขึ้นและกลายเป็นสีน้ำตาลแทน และมีอวัยวะคล้ายหนวดบริเวณส่วนหน้าด้วย จึงได้อีกชื่อเรียกหนึ่งว่า "ปลาฉลามแมว" ขนาดเมื่อโตเต็มที่ความยาวที่เคยพบสูงสุด คือ 121 เซนติเมตร พบทั่วไปตามพื้นทรายแนวปะการังในเขตน่านน้ำอินโด-แปซิฟิก ตั้งแต่ อินเดีย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, เวียดนาม, จีน, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น, ฟิลิปปินส์ จนถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย และไทย พบทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน เป็นปลาฉลามที่หากินอยู่บริเวณหน้าดิน มีพฤติกรรมชอบอยู่นิ่ง ๆ กินแต่พืชและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร ออกลูกเป็นไข่ โดยที่ตัวเมียจะไม่ดูแลไข่ แต่จะวางไข่อยู่บริเวณแนวปะการังที่มีสาหร่ายล้อมรอบอยู่ และสร้างเปลือกไข่ที่แข็งแรงเพื่อปกป้องตัวอ่อน จัดเป็นปลาทะเลอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม จากการที่เป็นปลาขนาดเล็กและสีสันที่สวยงาม ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในตู้เลี้ยง ตั้งแต่ยังเป็นไข่ โดยมีการเพาะฟักจนกลายเป็นปลาวัยอ่อนและนำไปปล่อยคืนสู่ทะเลเพื่อเป็นการอนุรักษ.

ดู พืชและปลาฉลามกบ

ปลาซิวเจ้าฟ้า

ปลาซิวเจ้าฟ้า หรือ ปลาซิวเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Amblypharyngodon chulabhornae อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีสีโปร่งใส เห็นแกนดำของกระดูกสันหลังชัดเจน ตาโต หลังค่อม ท้องเป็นสีเงินแวววาว บริเวณส่วนหัวด้านบนมีสีเขียวเหลือบทอง มีความยาวเต็มที่ 4 เซนติเมตร พบอาศัยอยู่เป็นฝูงใหญ่ในแหล่งน้ำขนาดใหญ่ของภาคเหนือ ภาคกลาง และพบโดยมากในภาคอีสานของประเทศไทย กินตัวอ่อนของแมลงน้ำ และพืชหรือตะไคร่น้ำ เป็นอาหาร เป็นปลาที่ใช้บริโภคในท้องถิ่น มีรสชาติไม่ขม จึงนิยมทำเป็นปลาจ่อม มีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่า "ปลาแตบแก้ว" เป็นปลาที่เพิ่งค้นพบใหม่ในปี พ.ศ.

ดู พืชและปลาซิวเจ้าฟ้า

ปลาปอด

ปลาปอดในสวนสัตว์พาต้า ปลาปอด (Lungfish, Salamanderfish, Amphibious fish) เป็นปลาน้ำจืดจำพวกหนึ่งที่อยู่ในชั้นย่อย Dipnoi เป็นปลาเพียงจำพวกเดียวในโลกที่ยังมีการสืบสายพันธุ์จนปัจจุบันนี้ที่หายใจด้วยอวัยวะที่คล้ายกับปอดของสัตว์ทั่วไป โดยไม่ใช้เหงือกเหมือนปลาชนิดอื่น ๆ ปลาปอดได้ชื่อว่าเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต เพราะเป็นปลาที่ไม่ได้เปลี่ยนรูปร่างมากนักจากยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยปลาปอดจัดอยู่ในชั้นใหญ่ Sarcopterygii ซึ่งจะมีลักษณะเด่น คือ มีพู่เนื้อหรือเนื้อเยื่อเป็นครีบ มีครีบหางเดี่ยว มีครีบ 2 คู่ มีเกล็ดแบบ Cosmoid ซึ่งแตกต่างไปจากปลาชนิดอื่น ๆ ในโลก ซึ่งปลาในกลุ่มนี้จะแยกออกได้เป็น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ 1.

ดู พืชและปลาปอด

ปลาปิรันยา

ปลาปิรันยา (piranha) เป็นชื่อสามัญเรียกปลาน้ำจืดกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอยู่ในวงศ์ Serrasalmidae (หรือในวงศ์ Characidae) โดยทั่วไป ปลาที่ได้ชื่อว่า "ปิรันยา" นั้นจะหมายถึงปลาในสกุล Pristobrycon, Pygocentrus, Pygopristis และ Serrasalmus แต่ก็อาจรวมถึงปลาในสกุล Catoprion ด้วย รวมกันแล้วประมาณ 40 ชนิดFace Ripper, "River Monsters" สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต.

ดู พืชและปลาปิรันยา

ปลาเทโพ

ปลาเทโพ (Black ear catfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasiidae) มีส่วนหัวและจะงอยปากมน ปากอยู่ค่อนไปทางด้านล่าง รูปร่างป้อมสั้น ปลาขนาดใหญ่มีลำตัวส่วนท้องลึก ปลายครีบหลัง ครีบท้อง ครีบอก ครีบท้อง และครีบก้นยื่นเป็นเส้นยาวเรียว มีแต้มสีดำเห็นชัดเจนที่ฐานครีบอก ตัวมีสีเทาคล้ำอมน้ำตาล ด้านข้างมีสีเทาจาง ด้านท้องสีจางอมชมพู ครีบสีจาง ครีบก้นมีแถบสีคล้ำตามยาว ครีบหางมีแถบสีคล้ำทั้งตอนบนและตอนล่าง มีขนาดประมาณ 50 เซนติเมตร ใหญ่สุดได้ถึง 1.5 เมตร ปลาขนาดเล็กกินแมลง ปลาขนาดใหญ่กินพืช เช่น ผลไม้, เมล็ดพืช, ปลา, หอย, แมลง ตลอดจนถึงซากสัตว์ อาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่และสาขาทั่วประเทศ โดยมักรวมฝูงกับปลาสวาย (P.

ดู พืชและปลาเทโพ

ปักษาสวรรค์

''Strelitzia reginae'' ปักษาสวรรค์ หรือ เบิร์ดออฟพาราไดส์ (Bird of paradise) เป็นพืชดอก มีลำต้นทั้งที่เป็นลำต้นเดี่ยว และออกเป็นกอ มี 2 ลักษณะ คือ มีลำต้นใต้ดินเป็นเหง้า และชนิดที่มีลำต้นเหนือดินเห็นชัดเจน มีลักษณะลำต้น ใบ และดอกคล้ายเฮลิโคเนีย แต่ไม่ได้อยู่วงเฮลิโคเนียแต่อย่างใด ซึ่งปักษาสวรรค์อยู่วงศ์ Strelitziaceae ส่วนเฮลิโคเนียอยู่วงศ์ Heliconiaceae.

ดู พืชและปักษาสวรรค์

ปากนกแก้ว (เฮลิโคเนีย)

ปากนกแก้ว หรือ รอสตราตา (Rostrata; ชื่อวิทยาศาสตร์: Heliconia rostrata) เป็นพืชในสกุลเฮลิโคเนีย มีชื่ออื่นเช่น Hanging Heliconia, Lobster Claw, สร้อยกัทลี.

ดู พืชและปากนกแก้ว (เฮลิโคเนีย)

ปาล์ม (พืช)

ปาล์ม (Palm) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ Arecacae (ชื่อเดิมคือ Palmae) นับเป็นพืชวงศ์ใหญ่ที่สุด (รองจากหญ้า) ทั้งในแง่จำนวนของชนิด และปริมาณที่มีอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ จำแนกได้กว่า 210 สกุล ราว 3,800 ชนิด เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวไม่แยกกิ่งก้านสาขา พืชจำพวกปาล์มนี้มีร่องรอยในซากดึกดำบรรพ์ที่เก่าแก่ถึงประมาณ 80 ล้านปีมาแล้ว ปัจจุบันนี้เราพบปาล์มได้ในหลากหลายพื้นทั่วโลก อันเนื่องจากปาล์มสามารถเติบโตในสภาพภูมิอากาศที่หลากหลาย แม้ว่าส่วนใหญ่จะเป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อน และกึ่งเขตร้อนก็ตาม แต่ปาล์มสามารถเติบโตได้ตั้งแต่ละติจูด 30 องศาเหนือ ลงมาจนถึงละติจูด 30 องศาใต้ ปาล์มที่พบในเขตเหนือสุด คือ ปาล์มพัดยุโรป (Chamaerops humilis) ซึ่งเติบโตในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และแอฟริกาตอนเหนือ ส่วนปาล์มที่พบตอนใต้สุด คือปาล์มนิเกา (Rhopalostylis sapida) ที่พบในนิวซีแลนด์ และหมู่เกาะแชแธม ปาล์มก็ยังเติบโตบนพื้นที่สูงถึง 3,000 เมตร (บนเทือกเขาแอนดีส) ส่วนที่แห้งแล้งอย่างทะเลทราย (อินทผลัม) และที่ชื้นแฉะ ก็ยังเป็นที่อาศัยส่วนใหญ่ของปาล์มหลากหลายชนิด (เช่น จาก ชิด สาคู).

ดู พืชและปาล์ม (พืช)

ปาล์มบังสูรย์

ปาล์มบังสูรย์ เป็นปาล์มที่พบทางภาคใต้ของประเทศไทย ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ลำต้นเลื้อยใต้ดิน เป็นปาล์มแบบสมบูรณ์เพศ เป็นไม้พื้นล่างของป่า ต้องการร่มเงาของไม้ใหญ่ในการบังแสงแดดและลม หากอยู่กลางแจ้งสีจะซีดไม่สวยงาม หากโดนลมแรงใบจะแหว่งและขาด มีแผ่นใบติดขนาดใหญ่ที่สวยงามมาก จัดเป็นปาล์มที่เลี้ยงค่อนข้างยาก เพราะไม่ทนทาน ต่อความแห้งแล้ง และการกระทบกระเทือนของระบบราก แต่หากมีที่ร่มใต้ต้นไม้ใหญ่จะสามารถเลี้ยงให้สวยงามได้ ใช้เวลาปลูกตั้งแต่เมล็ดงอกจนมีขนาดที่สวยงามประมาณ 10 ปี ขึ้นไป หมวดหมู่:วงศ์ย่อยลาน หมวดหมู่:ปาล์ม หมวดหมู่:ไม้ประดับ.

ดู พืชและปาล์มบังสูรย์

ปาล์มสิบสองปันนา

องปันนา เป็นชื่อปาล์มชนิดหนึ่ง อยู่ในสกุลเดียวกับอินทผลัม เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไป.

ดู พืชและปาล์มสิบสองปันนา

ปาล์มขนนก

ปาล์มขนนก หรือ ปาล์มตีนช้าง (Canary Island Date Palm) มีถิ่นกำเนิดที่หมู่เกาะคะเนรี ประเทศสเปน เป็นปาล์มใบแหลมเล็ก นิยมปลูกกันในประเทศไทยมานานแล้ว เพราะมีรูปร่างทรวดทรงเหมาะที่จะปลูกประดับไว้ตามมุมห้องหรือข้างโต๊ะทำงานในออฟฟิศ ปาล์มขนนกพืชที่เจริญเติบโตช้า และทนต่อความร่มเย็นภายในห้องหรืออาคารสถานที่ได้เป็นอย่างดี หมวดหมู่:สกุลฟีนิกซ์ หมวดหมู่:ไม้ประดับ.

ดู พืชและปาล์มขนนก

ปาล์มน้ำมัน

ปาล์มน้ำมัน เป็นพืชตระกูลปาล์มลักษณะลำต้นเดี่ยว ขนาดลำต้นประมาณ 12 -20 นิ้ว เมื่ออายุประมาณ 1-3 ปี ลำต้นจะถูกหุ้มด้วยโคนกาบใบ แต่เมื่ออายุมากขึ้นโคนกาบใบจะหลุดร่วงเห็นลำต้นชัดเจน ผิวของลำต้นคล้ายๆ ต้นตาล ลักษณะใบเป็นรูปก้างปลา โคนกาบใบจะมีลักษณะเป็นซี่ คล้ายหนามแต่ไม่คมมาก เมื่อไปถึงกลางใบหนามดังกล่าวจะพัฒนาเป็นใบ การออกดอกเป็นพืชที่แยกเพศ คือต้นที่เป็นเพศผู้ก็จะให้เกสรตัวผู้อย่างเดียว ต้นที่ให้เกสรตัวเมียจึงจะติดผล ลักษณะผลเป็นทะลายผลจะเกาะติดกันแน่นจนไม่สามารถสอดนิ้วมือเข้าไปที่ก้านผลได้ เวลาเก็บผลปาล์มจึงต้องใช้มีดงอเกี่ยวที่โคนทะลายแล้วดึงให้ขาด ก่อนที่จะตัดทะลายปาล์มต้องตัดทางปาล์มก่อนเพราะผลปาล์มจะตั้งอยู่บนทางปาล์ม กระบวนการตัดทาง(ใบ)ปาล์มและตัดเอาทะลายปาล์มลง เรียกรวมๆ ว่า แทงปาล์ม ปาล์มน้ำมันจัดเป็น พืชเศรษฐกิจ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา เป็นพืชที่ให้ผลผลิต น้ำมันต่อหน่วยพื้นที่สูงกว่าพืชน้ำมันทุกชนิด สามารถนำมาแปรรูปทำเป็นทั้งในรูปแบบของน้ำมันพืชที่ใช้ในการประกอบอาหาร และใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารต่างๆ เช่น ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป นมข้นหวาน ครีมและเนยเทียม เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน ไบโอดีเซลรวมถึงเป็นส่วนผสมในเพื่อช่วยลดการใช้น้ำมันดีเซล เพิ่มความมั่นคงทางด้านพลังงานให้กับประเทศ อีกทั้งยังจะช่วยลดปัญหาผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมอีกด้วย และยังสามารถแปรรูปเป็น สบู่ ผงซักฟอก เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์เคมีภัณฑ์ต่างๆ และอาหารสัตว์ ด้วย ใบมาบดเป็นอาหารสัตว์ กะลาปาล์มเป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิง ทะลายปาล์มใช้เพาะเห็ด และกระทั่งการปลูกลงดินไปแล้วก็ช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในการช่วยลดภาวะโลกร้อนได้อีก ในประเทศไทยมีการปลูกทั้งทางภาคใต้และภาคตะวันออก พันธุ์ปาล์มน้ำมันที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูก เป็นปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอรา โดยเฉพาะที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ช่วงปี 2547 - 2550 มีการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่นาร้าง โดยกรมพัฒนาที่ดิน มีการขุดร่องให้ฟรี ให้พันธุ์และปุ๋ย โดยให้เหตุผลในการส่งเสริมการปลูกเนื่องจากเป็นปาล์มที่ให้นำมันใช้ได้ทั้งการบริโภคและใช้เป็นไบโอดีเซลได้โดยประเทศที่ปลูกปาล์มนำมันได้แก่ อินโดนีเซีย 50ล้านไร่ มาเลเซีย 35ล้านไร่ ส่วนไทย 5.5ล้านไร่ปัจจุบันภาครัฐของไทยมีเป้าหมายจะปลูกปาล์มให้ได้ทั้งสิ้น 10ล้านไร่ภายในปี 2572 จากพื้นที่มีศักยภาพ ทั้งสิ้น 20ล้านไร่ ปัจจุบัน ประเทศที่ผลิตและส่งออกน้ำมันปาล์มรายใหญ่ที่สุดในโลกคือประเทศมาเลเซีย ผลิตเป็นสัดส่วนมากถึงร้อยละ 47 ของการผลิดของโลก ปาล์มน้ำมันแต่ละต้นจะกำหนดปริมาณการให้ช่อดอกตัวผู้ และช่อดอกตัวเมีย ล่วงหน้า 33 เดือน โดยขึ้น กับปริมาณน้ำ ที่ต้นปาล์มน้ำมันนั้น ๆ ได้รับ เช่น หากต้นปาล์มได้รับน้ำ ในปริมาณที่เหมาะสมในวันนี้ต้นปาล์มก็จะกำหนดให้ลำต้นออกช่อดอกตัวเมียมากกว่าช่อดอกตัวผู้ ในทางกลับกัน หากต้นปาล์มนั้น ๆได้รับน้ำ ในปริมาณที่ไม่เพียงพอในวันนี้ต้นปาล์มก็จะกำหนดให้ลำต้นออกช่อดอกตัวผู้มากกว่าช่อดอกตัวเมีย ซึ่งช่อดอกทั้ง ตัวผู้และตัวเมียที่ถูกกำหนดล่วงหน้านี้จะไปผลิออกเป็นช่อดอกในอีก 33 เดือนข้างหน้า ดังนั้น ปาล์มที่ปลูกโดยอาศัยน้ำ ฝนจากธรรมชาติเพียงอย่างเดียว จะให้ผลผลิตตามปริมาณน้ำ ฝนที่ได้รับ ยิ่งถ้าพื้นที่ที่ปลูกปาล์มน้ำมันมีช่วงฝนแล้ง หรือขาดน้ำ หลายเดือน ปาล์มนั้น ๆ ก็จะให้ช่อดอกตัวผู้ในปริมาณมาก หรือแทบไม่ให้ช่อดอกตัวเมียเลย ต้นปาล์มจะมีลักษณะสูงเร็ว เพราะไม่ต้องสูญเสียธาตุอาหารในการออกลูกออกผลปาล์มน้ำมันที่ขาดน้ำ เป็นระยะเวลาหลายเดือน จะให้แต่ช่อดอกตัวผู้ หรือแทบจะไม่ให้ช่อดอกตัวเมียเลย แม้ว่าเราจะให้น้ำ ให้ปุ๋ยอย่างเต็มที่กับต้นปาล์มในเวลาต่อมา ก็ไม่สามารถแก้ไขให้ต้นปาล์มออกช่อดอกตัวเมียมากขึ้น ได้ เพราะปริมาณการออกช่อดอกตัวเมียได้ถูกกำหนดไว้แล้วเมื่อ 33 เดือนที่แล้วตามปริมาณน้ำ ที่ต้นปาล์มน้ำมันต้นดังกล่าวได้รับ แต่การให้น้ำ ให้ปุ๋ยอย่างเต็มที่กับต้นปาล์มในเวลาต่อมา จะไปมีผลให้ต้นปาล์มออกช่อดอกตัวเมียมากขึ้น ในอีก 33 เดือนข้างหน้าอย่างไรก็ตามหากช่อดอกตัวเมียที่ออกมา กระทบกับช่วงฤดูแล้ง หรือภาวะต้นปาล์มขาดน้ำ ช่อดอกตัวเมียดังกล่าวก็อาจจะฝ่อไม่ให้ผล เพื่อลดการสูญเสียน้ำ อายุปลูกลงดิน 1 ½ - 3 ½ ปี: ต้นปาล์มจะเริ่มออกดอก ให้ผลผลิต มีผลปาล์มออกดกรอบต้น เนื่องจากต้นปาล์มได้น้ำ จากแปลงเพาะต้นกล้า ในช่วงอายุปลูกประมาณ 2 ½ ขึ้น ไป การกำหนดปริมาณช่อดอกตัวผู้-ตัวเมีย จะขึ้น อยู่กับปริมาณน้ำ ที่ต้นปาล์มได้รับบนแปลงปลูกนั้น ๆ(น้ำ จากฝน และการรดน้ำ) อายุปลูกลงดินประมาณ 3 ½ ปี เป็นช่วงปาล์มขาดคอ ต้นปาล์มจะให้ช่อดอกตัวผู้ในปริมาณมากเป็นระยะเวลาประมาณ 3-6 เดือน ขึ้น อยู่กับสภาพภูมิอากาศและการได้รับน้ำ ในแปลงปลูกนั้น ๆ อายุปลูกลงดิน 4 – 7 ปี ปาล์มน้ำมันพันธุ์ดีจะเริ่มให้ผลผลิตมากขึ้น ๆเรื่อย ถ้าเกษตรกรมีการให้ทั้ง ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยคอกอย่างถูกต้อง รวมทั้ง ถ้ามีการให้น้ำ ได้ตลอดทั้ง ปี ปริมาณน้ำ หนักทะลายปาล์มเป็นตันต่อไร่ต่อปีที่รับประกันเอาไว้โดยผู้ผลิตแต่ละแหล่ง สามารถที่ จะรับประกันได้ที่อายุต้นปาล์ม 8 ปี อายุปลูก8 ปีขึ้น ไป ปาล์มน้ำมันจะให้ผลผลิตสม่ำเสมอ ถ้าเกษตรกรมีการให้ทั้ง ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยคอกอย่างถูกต้อง และถ้ามีการให้น้ำ ได้ตลอดทั้ง ปี ปริมาณน้ำ หนักทะลายปาล์มเป็นตันต่อไร่ต่อปี ต้องได้ตามปริมาณที่แต่ละแหล่งผลิตรับประกันด้วย อย่างไรก็ตามเนื่องจากวิธีการเก็บเกี่ยวผลปาล์มที่ต้นสูงมาก ไม่สามารถใช้เสียมแทงปาล์มได้ต้องใช้เคียวตัดทางใบล่างออกก่อนแล้วจึงจะสามารถใช้เคียวตัดทะลายปาล์มลงมาได้ด้วยวิธีดังกล่าว จะทำให้ต้นปาล์มมีทางใบน้อยลง เสมือนมีขนาดโรงครัวปรุงอาหารเล็กลง ทำให้ปาล์มน้ำมันให้ผลผลิตน้อยลงตามไปด้วย การให้นํ้ากับต้นปาล์มนํ้ามันในปริมาณที่เหมาะสม จากการศึกษาทางวิชาการ เสนอไว้ว่า ปาล์มน้ำมันแต่ละต้นต้องการน้ำ วันละ200 ลิตรซึ่งเป็นเรื่องยากสำหรับเกษตรกรที่จะต้องจัดหาน้ำ ปริมาณดังกล่าว เพื่อใช้รดให้กับต้นปาล์มน้ำมันอูติพันธุ์พืชเสนอให้ใช้วิธีสังเกตยอดต้นปาล์มที่มียอดแหลม ไม่คลี่ออก คล้ายหอก หากปรากฏว่าปาล์มน้ำมันต้นใดมียอดแหลม ไม่คลี่ คล้ายหอก สูงในระดับใกล้เคียงกัน มากกว่า 2 ยอดหอกแสดงว่าปาล์มน้ำมันต้นดังกล่าวขาดน้ำ แล้ว ต้องให้น้ำ แก่ต้นปาล์มนั้น ๆมากขึ้นลักษณะการให้น้ำ ด้วยท่อพีอี พันรอบลำต้นปาล์มและใส่หัวฉีดขนาดเล็กจำนวน 3 หัว พ่นน้ำ หันออกจากลำต้นทำให้ไม่เกะกะและเสียหายจากการเก็บเกี่ยวผลปาล์มน้ำมันลักษณะของยอดปาล์มที่แหลม ไม่คลี่ใบออก คล้ายหอกหากมียอดหอกดังกล่าว ที่มีความสูงระดับใกล้เคียงกันมากกว่า 2 ยอด แสดงว่าปาล์มอยู่ในภาวะขาดน้ำ หรือได้รับน้ำ ไม่เพียงพอ ต้องเพิ่มการให้น้ำ.

ดู พืชและปาล์มน้ำมัน

ปาล์มแชมเปญ

ปาล์มแชมเปญ เป็นปาล์มมีลักษณะเด่นที่ลำต้นป่องตรงกลาง ลักษณะใบเป็นแบบขนนก ใบย่อยเป็นรูปตัววีคว่ำ ขอบใบมีสีน้ำตาลเล็กน้อย ลำต้นโตประมาณ 30 - 40 ซ.ม.

ดู พืชและปาล์มแชมเปญ

ปูเสฉวนบก

ปูเสฉวนบก (Land hermit crabs) เป็นปูเสฉวนในสกุล Coenobita (มาจากคำในภาษาละตินว่า coenobivm และคำในภาษากรีกโบราณว่า κοινόβιον แปลว่า "ชีวิตในประชาคม, อาราม") มีทั้งหมด 15 ชนิด ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 นิ้ว มีรูปร่างหน้าตาคล้ายปูเสฉวนทั่วไป และอาศัยอยู่ในเปลือกหอย แต่ไม่สามารถที่จะอาศัยอยู่ในน้ำได้ เนื่องจากระบบการหายใจถูกพัฒนาให้รับออกซิเจนโดยตรง ถ้าลงไปในน้ำจะสำลักน้ำตายได้เหมือนปูมะพร้าว (Birgus latro) แต่จะลงไปกินน้ำทะเลเพื่อต้องการเกลือแร่ อีกทั้งยังต้องการน้ำจืดอีกด้วย ปูเสฉวนบกมีถิ่นกำเนิดที่ทวีปอเมริกาเหนือ, ทะเลแคริบเบียน, หมู่เกาะเบอร์มิวดา, ออสเตรเลีย และอินโดนีเซีย จะอาศัยอยู่บนบกหรือในป่าริมชายทะเล กินอาหารจำพวกซากพืช ซากสัตว์เหมือนปูเสฉวนทั่วไป ปัจจุบันปูเสฉวนบกกำลังได้รับความนิยมในฐานะเป็นสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ซึ่งผู้เลี้ยงนิยมใช้สีทาบนเปลือกหอยให้เป็นสีสันและลวดลายต่าง ๆ แต่เป็นปูที่ค่อนข้างมีความยุ่งยากในการเลี้ยง เนื่องจากถึงแม้ว่าจะอาศัยอยู่บนบกก็ตาม แต่ในสถานที่เลี้ยงต้องใช้ความชุ่มชื้นด้วย และปูพื้นด้วยกรวดทรายและขอนไม้หรือมะพร้าวผุ และมีความจำเป็นต้องใช้แคลเซียมเพื่อเป็นแร่ธาตุด้วย ไม่เช่นนั้นอาจตายได้.

ดู พืชและปูเสฉวนบก

ปีบทอง

ปีบทอง, อ้อยช้าง หรือ กาสะลองคำ (ชื่ออื่น: กากี, สำเภาหลามต้น, จางจืด, สะเภา) เป็นไม้ต้นผลัดใบในวงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) สูงประมาณ 10 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบเป็นประเภทใบประกอบแบบ 2-3 ชิ้น ใบย่อยรูปไข่ปลายใบแหลม ขึ้นตามธรรมชาติบนเทือกเขาหินปูนที่ค่อนข้างชื้น พบตั้งแต่พม่าตอนใต้ไปจนถึงเกาะไหหลำ ดอกมีสีเหลืองอมส้มหรือสีส้ม ออกเป็นกระจุกตามกิ่งและลำต้น กระจุกละ 5-10 ดอก บานไม่พร้อมกัน กลีบเลี้ยงรูปถ้วยสีม่วงแดง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ยาว 4-7 เซนติเมตร ปลายเป็นแฉกสั้น ๆ 5 แฉก ผลเป็นฝัก ยาว 26-40 เซนติเมตร เมื่อแก่จะแตกเป็น 2 ซีก ปีบทองเป็นพันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลประจำจังหวัดเชียงราย และเป็นเป็นพรรณไม้ประจำมหาวิทยาลัยสองแห่ง คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (เรียกว่า "กาสะลองคำ") และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (เรียกว่า "ปีบทอง").

ดู พืชและปีบทอง

ปทุมมา

ปทุมมา, กระเจียวบัว, ขมิ้นโคกเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและปทุมมา

ป่าสันทราย

ป่าสันทรายที่มีให้เห็นอยู่ทั่วไป ป่าสันทราย เป็นป่าที่มีความพิเศษกว่าป่าอื่น ๆ ที่มีอยู่ ซึ่งสามารถที่จะเกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ของโลก ที่มีเขตพื้นที่ติดกับทะเลส่วนใหญ่จะมีความเป็นหาดทรายที่เกิดจากการทับถมกันของกรวดและหิน ก้อนเล็ก ๆ จากการพัดมาของลมทะเล ระยะเวลาการเกิดใช้เวลานาน กว่าจะเป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ มีพันธุ์พืชนานาชนิด ซึ่งอยู่ห่างจากชายฝั่งไม่มากนัก หากอยู่ห่างจากฝั่งมากก็เป็นการบ่งบอกถึงเวลาว่ามีอายุที่มากกว่าป่าที่อยู่บริเวณใกล้กับชายฝั่ง มีจุดเด่นคือ เกิดจากแรงลมพัดทรายมากองทับถมกันคล้ายกับ Sand dunes แต่ไม่ได้เกิดกับหาดทรายทั่วไป มีพันธุ์ไม้และพันธุ์พืชหลากหลายชนิด บ้างก็ใช้รับประทาน บ้างก็ใช้เป็นสมุนไพร เป็นยารักษาโรค เกิดประโยชน์กับคนในชุมชน กระบวนการเกิดป่าสันทรายอาจต้องใช้เวลาหลายร้อยหลายพันปี กว่าจะเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ ใช้องค์ประกอบหลายอย่างด้วยกัน ตามสภาพแวดล้อมที่มีของแต่ละสถานที่วงจรของป่าสันทรายวนเวียนอยู่อย่างนี้ ตลอดไป.

ดู พืชและป่าสันทราย

นกหัวโตทรายใหญ่

'' Charadrius leschenaultii '' นกหัวโตทรายใหญ่ เป็นนกชายเลนในสกุลนกหัวโต และเป็นนกอพยพในกลุ่มที่ผลัดขนในฤดูผสมพันธุ์ และมีความแตกต่างระหว่างเพศในฤดูผสมพันธุ์ โดยฤดูผสมพันธุ์มีถิ่นอาศัยบริเวณกึ่งทะเลทรายในประเทศตุรกี ต่อเนื่องถึงเอเชียกลาง ส่วนฤดูหนาวจะอพยพมาทางเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับในประเทศไทย พบได้ในแหล่งน้ำใกล้ป่าชายเลน ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามันช่วงประมาณเดือน พฤศจิกายน ถึง มกราคม ชื่อชนิดทางวิทยาศาสตร์ (leschenaultii) ดัดแปลงมาจากชื่อของบุคคล คือ Jean Baptiste Leschenault de la Tour (ค.ศ.

ดู พืชและนกหัวโตทรายใหญ่

นกแขกเต้า

นกแขกเต้า เป็นนกแก้วชนิดหนึ่ง ถือว่าเป็นนกประจำถิ่นที่พบได้ทุกภาคของประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้เท่านั้นที่ไม.

ดู พืชและนกแขกเต้า

นมสวรรค์

นมสวรรค์ หรือ พนมสวรรค์ (Pagoda flower) เป็นไม้ล้มลุก มีพุ่มขนาดกลาง สูงประมาณ 1 เมตร พบขึ้นในที่มีน้ำท่วมขังหรือริมน้ำ ลำต้นอยู่ใต้ดิน เป็นเหง้าเลื้อยในแนวขนานกับพื้น ใบเดี่ยวเรียงสลับ กว้าง 1-2 ซม.

ดู พืชและนมสวรรค์

นมตำเลีย

นมตำเลีย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Hoya parasitica (Roxb.) Wall. ex Wight เป็นหนึ่งในพืชสกุลนมตำเลีย (Hoya) เป็นไม้เถาเลื้อยขนาดเล็ก สามารถพบได้ในป่าทั่วทุกภาคของประเทศไทย รวมไปถึงบางเกาะกลางทะเลในเขตประเทศไทย และมีความหลากหลายของขนาดและรูปร่างใบ สีสันของดอก รูปทรงของมงกุฏ (corona) ทุกส่วนของต้นมีน้ำยางสีขาว ดอกมักออกในช่วงฤดูร้อนของปี จนถึงต้นฤดูฝน ช่อดอกทรงกลม เมื่อดอกบานกลีบดอก (corola) จะพลิกกลับไปด้านหลัง ดอกมีกลิ่นหอมรุนแรง ดอกขนาด 1 - 1.5 ซม.

ดู พืชและนมตำเลีย

นางพญาเสือโคร่ง

นางพญาเสือโคร่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus cerasoides กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,, สืบค้นวันที่ 21 ก.ย. 2552, Wild Himalayan Cherry) เป็นพืชดอกในสกุล Prunus ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ พบทั่วไปบนภูเขาตั้งแต่ความสูง 1,200-2,400เมตรจากระดับน้ำทะเล เช่น ภูลมโล จังหวัดเลย, ดอยแม่สลอง จังหวัดเชียงราย, ดอยเวียงแหง ดอยอ่างขาง ขุนช่างเคี่ยน ขุนแม่ยะ จังหวัดเชียงใหม่, ขุนสถาน ดอยวาว ดอยภูคา มณีพฤกษ์ จังหวัดน่าน, ภูทับเบิก จังหวัดเพชรบูรณ์, ภูหินร่องกล้า จังหวัดพิษณุโลก ฯลฯ โดยเป็นดอกไม้ประจำอำเภอเวียงแหง นางพญาเสือโคร่ง เป็นพรรณไม้ที่มีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติอยู่ที่ตอนเหนือของประเทศไทย ในต่างประเทศ พบในประเทศพม่า รัฐฉานและรัฐคะฉิ่น, ประเทศอินเดียพบบนเทือกเขาหิมาลัย ในรัฐอรุณาจัลประเทศยาวไปจนถึงรัฐหิมาจัลประเทศทางตอนเหนือของอินเดีย หรือที่เรียกว่าHimalayas, ประเทศภูฏาน, ประเทศเนปาล และประเทศจีนพบในมณฑลยูนนาน นางพญาเสือโคร่งถูกนิยมเรียกว่า"ซากุระเมืองไทย" เพราะมีลักษณะคล้ายซากุระในประเทศญี่ปุ่น แม้จะเป็นคนละชนิดกันก็ตาม.

ดู พืชและนางพญาเสือโคร่ง

นางแย้ม

นางแย้ม เป็นไม้พุ่มเนื้ออ่อน พบทั่วไปตามป่าของประเทศไท.

ดู พืชและนางแย้ม

นิเวศวิทยา

นิเวศวิทยา (ecology) (มาจากภาษากรีก: οἶκος "บ้าน"; -λογία, "การศึกษาของ") คือ การวิเคราะห์และการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มีต่อกันและกัน และปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตที่มีกับสิ่งแวดล้อมแบบ'อชีวนะ' (abiotic) ของสิ่งมีชีวิตนั้น หัวข้อนักนิเวศวิทยามักสนใจจะรวมถึงความหลากหลายทางนิเวศวิทยา การกระจาย ปริมาณ (ชีวมวล) จำนวน (ประชากร) ของสิ่งมีชีวิต เช่นเดียวกับการแข่งขันระหว่างพวกมันภายในและระหว่างระบบนิเวศ ปฏิสัมพันธ์ที่เป็นองค์ประกอบของระบบนิเวศมีลักษณะเป็นไดนามิค ซึ่งประกอบไปด้วย สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ ชุมชนของสิ่งมีชีวิตที่พวกมันสร้างขึ้น และองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิตของสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต กระบวนการในระบบนิเวศ (ecosystem process) เช่น การผลิตโดยผู้ผลิต (เช่น พืช สาหร่าย) การเกิดขึ้นของดิน (pedogenesis) วัฏจักรสารอาหาร และกิจกรรมการสร้างสภาวะที่เหมาะสม (niche construction) จะเป็นตัวกำหนดการไหลของพลังงานและสสารจากสถานะหนึ่งไปยังอีกสถานะหนึ่งในระบบนิเวศ กระบวนการเหล่านี้จะทำงานอย่างเป็นปกติโดยสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทที่เฉพาะเจาะจงและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้น โดยความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) ที่หมายถึงความหลากหลายของสายพันธุ์ ของยีน และของระบบนิเวศ จะช่วยเพิ่มการบริการในระบบนิเวศ (ecosystem services) นิเวศวิทยาเป็นสาขาการศึกษาแบบสหวิทยาการที่รวมชีววิทยาและวิทยาศาสตร์โลก โดยคำว่า "ระบบนิเวศ" ("Ökologie") เกิดขึ้นในปี 1866 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน แอรนส์ แฮกเกล (Ernst Haeckel) (1834-1919) ความคิดเกี่ยวกับนิเวศวิทยาเป็นผลลัพธ์ที่เกิดจากความคิดในเชิงปรัชญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากจริยธรรมและการเมือง นักปรัชญากรีกโบราณเช่น Hippocrates และ อริสโตเติล ได้วางรากฐานของนิเวศวิทยาในการศึกษาเรื่อง 'ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ' (natural history) ของพวกเขา นิเวศวิทยาสมัยใหม่ถูกแปลงให้เป็น 'วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ' ที่เข้มงวดมากขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แนวคิดวิวัฒนาการในการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตและ 'การคัดเลือกโดยธรรมชาติ' กลายเป็นเสาหลักของ 'ทฤษฎีทางนิเวศวิทยาสมัยใหม่' คำว่านิเวศวิทยาเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับ 'ชีววิทยาวิวัฒนาการ' พันธุศาสตร์ และ พฤฒิกรรมของสัตว์ที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติ (ethology) ความเข้าใจถึงกระบวนการที่ความหลากหลายทางชีวภาพจะสามารถส่งผลกระทบต่อการทำงานของระบบนิเวศเป็นหัวข้อที่สำคัญในการศึกษาระบบนิเวศ โดยนักนิเวศวิทยาพยายามที่จะอธิบายดังต่อไปนี้.

ดู พืชและนิเวศวิทยา

นิเวศวิทยาชุมชนเมือง

นิเวศวิทยาชุมชนเมือง (Urban ecology) เป็นสาขาย่อยของวิชานิเวศวิทยา เกี่ยวข้องกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างพืช สัตว์และมนุษย์ในสิ่งแวดล้อมของชุมชนเมือง เป็นการวิเคราะห์ชุมชนเมืองในแง่ของระบบนิเวศ (เฝ้ามองวัฏจักรของสสารและการเคลื่อนไหวของพลังงานในระบบนิเวศของเมือง) ซึ่งจะมีผลต่อผู้อยู่อาศัยในชุมชนในเชิงที่จะเอื้อให้พืช สัตว์และผู้คนในชุมชนเมืองนั้นมีสุขภาพที่ดีขึ้นและเอื้อให้มีการดูแลจัดการชุมชนได้ดีขึ้น นิเวศวิทยาชุมชนเมืองเป็นการศึกษาปัจจัยต่างๆ ซึ่งจะเอื้อให้พืชพรรณและสัตว์พื้นถิ่นสามารถอยู่รอดและอาจเติบโตขยายพันธุ์ได้ในสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างในชุมชนเมือง เป็นการศึกษาการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและศึกษาวิธีการจัดการพื้นที่นั้นให้มีความน่าอยู่ นอกจากนี้ นิเวศวิทยาชุมชนเมืองยังเกี่ยวข้องกับการศึกษาผลกระทบจากรูปแบบการพัฒนาที่เกิดขึ้นในชุมชนเมืองภายใต้เงื่อนไขของระบบนิเวศ เป็นการเน้นวิธีการวางผังชุมชนเมืองให้มีสภาวะแวดล้อมในแบที่ยั่งยืนโดยใช้วิธีการออกแบบและการเลือกใช้วัสดุที่จะส่งเสริมสุขภาพของผู้อยู่อาศัยให้ดีขึ้น ส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพให้มีเพิ่มมากขึ้นในระบบนิเวศชองชุมชนเมืองนั้น.

ดู พืชและนิเวศวิทยาชุมชนเมือง

นุ่น

นุ่น ชื่ออื่น ง้าว งิ้วน้อย งิ้วสร้อย งิ้วสาย (เหนือ) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสูงประมาณ 10–15 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ผลอ่อนสีเขียวลักษณะยาว ๆ คล้ายผลแตงกวา แต่มีขนาดใหญ่กว่า เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล เนื้อข้างในเป็นปุยและมีเมล็ดสีดำจำนวนมาก ลำต้นและกิ่งก้านสีเขียว มีหนามสั้น ๆ ที่โคนต้น กิ่งทอดขนานกับพื้น ทิ้งใบในฤดูแล้ง ดอกสีขาวนวล ผลทรงรูปกระสวย ออกผลช่วงเดือน กุมภาพันธ์-เมษายน.

ดู พืชและนุ่น

นนทรี

นนทรี เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ถั่ว ทรงพุ่มสูงได้ถึง 25 เมตร กึ่งผลัดใบ เรือนยอดรูปร่ม แผ่กว้าง ใบเป็นใบประกอบขนนกสองชั้นรูปไข่ ออกดอกเป็นช่อตั้งขนาดใหญ่ที่ปลายกิ่ง สีเหลือง มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ออกดอกในฤดูแล้งช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน นนทรีมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีก ดังนี้ กระถินแดง (ตราด) กระถินป่า (ตราด, สุโขทัย) และสารเงิน (เชียงใหม่, เหนือ)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและนนทรี

น้อยหน่า

น้อยหน่า (Sugar apple; Linn.) ชื่ออื่น ๆ หมักเขียบ (ตะวันออกเฉียงเหนือ), ลาหนัง (ปัตตานี), มะนอแน่, มะแน่ (เหนือ), หน่อเกล๊ะแซ (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน), มะออจ้า, มะโอจ่า (เงี้ยว-เหนือ), เตียบ (เขมร) เป็นพืชยืนต้น ผลมีเนื้อสีขาว เมล็ดดำ รสหวาน ถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบอเมริกากลาง และใต้ แต่จะพบอยู่ทั่วไปในเขตร้อน ในประเทศไทยปลูกมากทางภาคกลางและตะวันออกเฉียงเหนือ.

ดู พืชและน้อยหน่า

น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์

น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์ (motor oil, engine oil) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า น้ำมันหล่อลื่น หรือ น้ำมันเครื่อง ประกอบไปด้วย 2 ส่วนที่สำคัญคือ น้ำมันพื้นฐาน และสารเพิ่มคุณภาพ น้ำมันเครื่องมีหน้าที่ลดแรงเสียดทานของวัตถุชิ้นที่เสียดสีกัน ระบายความร้อนของเครื่องยนต์ เคลือบช่องว่างระหว่างผิวสัมผัส ทำความสะอาดเขม่าและเศษโลหะภายในเครื่องยนต์ ป้องกันการกัดกร่อนจากสนิมและกรดต่างๆ และป้องกันกำลังอัดของเครื่องยนต์รั่วไหล เป็นต้น.

ดู พืชและน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์

น้ำมันหอมระเหย

น้ำมันหอมระเหย (essential oil) เป็นน้ำมันที่สกัดได้มาจากพืชเช่น ส่วนดอก ใบ ผล ลำต้น มาใช้ในการบำบัดตามศาสตร์สุคนธบำบัด(Aromatherapy) ซึ่งหมายถึง การบำบัดรักษา โดยการใช้กลิ่นหอมของสารหอมในพืช โดยทั่วไปน้ำมันหอมระเหยจะถูกสกัดได้หลายรูปแบบ เช่น การกลั่น(Distillation) การสกัดโดยใช้ไขมัน (Enfleurage) การสกัดด้วยตัวทำละลาย (Solvent extraction) การบีบอัด (Expression) การใช้คาร์บอนไดออกไซด์เหลวภายใต้ความดันสูง (Supercritical fluid extraction) ซึ่งการกลั่นหลายประเภทนี้ถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมน้ำหอม เครื่องสำอาง สบู่ ธูปและผลิตภัณฑ์อื่นๆ เพื่อเพิ่มความหอม และบางครั้ง ทำให้คนผ่อนคลายได้ด้ว.

ดู พืชและน้ำมันหอมระเหย

น้ำมันประกอบอาหาร

น้ำมันมะกอก น้ำมันประกอบอาหาร (Cooking oil) คือ ส่วนประกอบในการทำอาหาร ซึ่งอาจทำจากไขมันของ พืช, หรือสัตว์ โดยนำมาใช้ ทอด หรือ ผัด หรือ ผสมในน้ำสลั.

ดู พืชและน้ำมันประกอบอาหาร

น้ำป่า

้านจัดสรรชานเมืองอุตรดิตถ์ถูกน้ำป่าหลากท่วมฉับพลัน Bangkok Post น้ำป่า หรือ น้ำท่วมฉับพลัน (flash flood) คือน้ำท่วมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมากในบริเวณที่ลุ่มต่ำ ในแม่น้ำ ลำธารหรือร่องน้ำที่เกิดจากฝนที่ตกหนักมากติดต่อกันหรือจากพายุฝนที่เกิดซ้ำที่เดิมหลายครั้ง น้ำป่าอาจเกิดจากที่สิ่งปลูกสร้างโดยมนุษย์ เช่น เขื่อนหรือฝายพังทล.

ดู พืชและน้ำป่า

น้ำนมราชสีห์

น้ำนมราชสีห์ เป็นพืชล้มลุก ลำต้นแผ่ไปตามดิน ลำต้นและใบมีขน ยางสีขาวคล้ายน้ำนม ใบเดี่ยว ออกตามข้อเป็นคู่ ดอกออกระหว่างใบกับลำต้น ช่อแบบกระจุก ผลกลม แก่แตกเป็น 3 ซีก เมล็ดสีน้ำตาลเข้ม ในทางสมุนไพร น้ำนมราชสีห์ทั้งต้นมี มีรสขม ทำให้เกิดน้ำนม ต้นตากแห้งแล้วคั่วนำมาขงน้ำมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ สรรพคุณแก้ไข้จับสั่น อักเสบ ผื่นคัน ยางใช้กัดหูด และยังใช้รักษา บิด ขับปัสสาวะ แก้หืด ผื่นคัน หนองใน ปัสสาวะเป็นเลือด หูดตาปลา ถ่ายพยาธิ องค์ประกอบทางเคมีที่สำคัญของน้ำนมราชสีห์ได้แก่ ฟลาโวนอยด์ โพลีฟีนอล แทนนิน ไตรเทอร์พีน ไฟโตสเตอรอล มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียหลายชนิด สารสกัดเมทานอลมีฤทธิ์ยับยั้ง Bacillus cereus และ Pseudomonas aeruginosa ได้ดี.

ดู พืชและน้ำนมราชสีห์

น้ำเต้า

น้ำเต้า คือพืชล้มลุกชนิดหนึ่งที่อยู่ในตระกูลแตง อยู่ในวงศ์ Cucurbitaceae น้ำเต้ามีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาตอนใต้ เป็นไม้เถาล้มลุกอายุปีเดียว พบได้ในทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย มีหลายสายพันธุ์ เช่น น้ำเต้าทรงเซียน นิยมทำเป็นเครื่องประดับ น้ำเต้าขมไม่นิยมปลูกหาได้ยาก ส่วนใหญ่ปลูกเพื่อทำเป็นยาเท่านั้น ในทางสมุนไพรชาวอินเดียจะใช้ผลของน้ำเต้าในการประกอบอาหารให้ผู้ช่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรับประทาน และในประเทศจีนมีการรับประทานน้ำเต้าเพื่อควบคุมเบาหวาน สรรพคุณเป็นยาเย็นและชื้น มีประโยชนสำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจและชร.

ดู พืชและน้ำเต้า

น้ำเต้าพระฤๅษี

น้ำเต้าพระฤๅษี (Nepenthes smilesii; ได้ชื่อตามสไมลซ์ (Smiles), นักพฤกษศาสตร์) เป็นชนิดที่แพร่กระจายอย่างกว้างขวางในอินโดจีน น้ำเต้าพระฤๅษีถูกบันทึกไว้ว่าพบในพื้นที่ชื้นแฉะ เปิดโล่ง ดินเป็นแบบดินปนทราย สามารถทนต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีเยี่ยม.

ดู พืชและน้ำเต้าพระฤๅษี

น้ำเต้าลม

น้ำเต้าลม (Nepenthes thorelii) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของอินโดจีน เรารู้น้อยมากเกี่ยวกับมัน แม้แต่นักอนุกรมวิธานยังติดป้ายชื่อของ N.

ดู พืชและน้ำเต้าลม

น้ำเต้าต้น

น้ำเต้าต้น (Calabash Tree) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae) มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง.

ดู พืชและน้ำเต้าต้น

แบล็กเบอร์รี

แบล็กเบอร์รี (blackberry) มีชื่อในภาษาไทยว่า ไข่กุ้ง, ไข่ปู, บ่าฮู้ เป็นผลไม้ป่าประเภทที่กินได้ เป็นไม้ผลประเภทผลกลุ่ม (aggregate fruit) (แบบน้อยหน่า) จากพุ่มไม้หนาม (Bramble) ซึ่งเป็นพืชที่อยู่ในสกุลกุหลาบในวงศ์กุหลาบที่มีด้วยกันทั้งหมดเป็นร้อยสปีชีส์เป็นพันธุ์ไม้ที่พบทั่วไปในบริเวณที่มีอากาศอุ่นในซีกโลกเหนือHuxley, A., ed.

ดู พืชและแบล็กเบอร์รี

แบคทีเรีย

แบคทีเรีย หรือ บัคเตรี เป็นประเภทของสิ่งมีชีวิตประเภทใหญ่ประเภทหนึ่ง มีขนาดเล็ก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ส่วนใหญ่มีเซลล์เดียว และมีโครงสร้างเซลล์ที่ไม่ซับซ้อนมาก และโดยทั่วไปแบคทีเรียแบ่งได้หลายรูปแ.

ดู พืชและแบคทีเรีย

แพรเซี่ยงไฮ้

แพรเซี่ยงไฮ้เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและแพรเซี่ยงไฮ้

แพลงก์ตอน

แพลงก์ตอน แพลงก์ตอน (plankton) มาจากคำว่า πλανκτος ("planktos") ในภาษากรีกแปลว่า wanderer หรือผู้ท่องเที่ยวไปโดยไร้จุดหมาย คือสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ที่ล่องลอยไปตามกระแสน้ำ ไม่สามารถว่ายน้ำไปยังทิศทางที่ต้องการอย่างอิสร.

ดู พืชและแพลงก์ตอน

แพงพวยฝรั่ง

'' Catharanthus roseus'' แพงพวยฝรั่ง เป็นพืชดอกถิ่นเดียวของประเทศมาดากัสการ์ ในธรรมชาติอยู่ในสภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เพราะการถางและเผาเพื่อการเกษตรกรรมDrugDigest: แต่อย่างไรก็ตามมันกลับได้รับการปลูกเลี้ยงอย่างกว้างขวางในพื้นที่เขตร้อนทั่วโลก แพงพวยฝรั่งเป็นไม้ไม่ผลัดใบพุ่มเตี้ยหรือพืชโตชั่วฤดูสูงประมาณ 1 ม.

ดู พืชและแพงพวยฝรั่ง

แก๊สเรือนกระจก

ice core) ล่าง: ปริมาณสุทธิของคาร์บอนที่เพิ่มในบรรยากาศเปรียบเทียบกับคาร์บอนที่ปลดปล่อยจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (fossil fuel) แก๊สเรือนกระจก (greenhouse gas) หรือบางครั้งเรียกย่อๆว่า GHG คือแก๊สในบรรยากาศที่ดูดซับและปลดปล่อยรังสีภายในช่วงความถี่(คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า)อินฟราเรดร้อน (thermal infrared range) ทำให้เกิดการสูญเสียความร้อนบางส่วนออกสู่ห้วงอวกาศภายนอกและปลดปล่อยความร้อนกลับสู่พื้นผิวโลก ขบวนการนี้จึงเป็นสาเหตุพื้นฐานของปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse effect) แก๊สเรือนกระจกมีความจำเป็นและมีความสำคัญต่อการรักษาระดับอุณหภูมิของโลก หากปราศจากแก๊สเรือนกระจก โลกจะหนาวเย็นจนสิ่งมีชีวิตอยู่อาศัยไม่ได้ อุณหภูมิในโลกจะต่ำกว่าปัจจุบันที่ 14 °C (57 °F) ลงอีก 33 °C (59 °F) แต่การมีแก๊สเรือนกระจกมากเกินไปก็เป็นเหตุให้อุณหภูมิสูงขึ้นถึงระดับเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตดังที่เป็นอยู่กับบรรยากาศของดาวศุกร์ซึ่งมีบรรยากาศที่ประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์มากถึงร้อยละ 96.5 มีผลให้อุณหภูมิผิวพื้นร้อนมากถึง 467 °C (872 °F) คำว่า “แก๊สเรือนกระจก” บนโลกหมายถึงแก๊สต่างๆ เรียงตามลำดับความอุดมคือ ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ โอโซน และ คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon) แก๊สเรือนกระจกเกิดเองตามธรรมชาติและจากกระบวนการอุตสาหกรรมซึ่งปัจจุบันทำให้ระดับคาร์บอนไดออกไซด์มีในบรรยากาศ 380 ppmv และที่ปรากฏในแกนน้ำแข็งตัวอย่าง (ดูแผนภูมิ) จะเห็นว่าระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศปัจจุบันสูงกว่าระดับเมื่อก่อนยุคอุตสาหกรรมประมาณ 100 ppmv.

ดู พืชและแก๊สเรือนกระจก

แกแล

แกแล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Maclura cochinchinensis Corner) มีเกิดตามป่าโปร่งทางภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ มีชื่ออื่น แกก้อง (แพร่) แกแล สักขี เหลือง (กลาง) แกล แหร (ใต้) เข (นครราชสีมา) ช้างงาต้อก (ลำปาง) น้ำเคี่ยโซ่ (ปัตตานี) หนามเข (ประจวบคีรีขันธ์) กะเลอะเซอะ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) กระจายพันธุ์ตั้งแต่เทือกเขาหิมาลัยไปจนถึงญี่ปุ่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และออสเตรเลีย แกแลเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย ตามเถามีหนามตลอดเถา เนื้อไม้สีค่อนข้างขาว มียางขาว เปลือกลำต้นสีเทา แก่นเป็นสีเหลือง ใบเดี่ยว เรี่ยงสลับ เวียนรอบกิ่งรูปวงรี กว้าง 1 - 3.5 ซม.

ดู พืชและแกแล

แก่นตะวัน

แก่นตะวัน หรือ ทานตะวันหัว (Jerusalem artichoke หรือ sunchoke) เป็นพืชดอกในตระกูลทานตะวัน มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ ชาวอินเดียนแดงปลูกไว้รับประทานหัว โดยเชื่อว่ามีสรรพคุณช่วยทำให้เจริญอาหาร ต่อมาจึงแพร่หลายไปในสหรัฐอเมริกาและยุโรป สนั่น จอกลอย วีรยา ลาดบัวขาว รัชนก มีแก้ว.

ดู พืชและแก่นตะวัน

แก้ว (พรรณไม้)

แก้ว (Orange Jessamine, Satin-wood, Cosmetic Bark Tree) เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ใบออกเป็นช่อเป็นแผงออกใบเรียงสลับกันช่อหนึ่งประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 4-8 ใบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ชื่อพื้นเมืองอื่น: กะมูนิง (มลายู ปัตตานี) แก้วขาว (กลาง) แก้วขี้ไก่ (ยะลา) แก้วพริก (เหนือ) แก้วลาย (สระบุรี) จ๊าพริก (ลำปาง) และ ตะไหลแก้ว (เหนือ)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและแก้ว (พรรณไม้)

แก้วกาญจนา

แก้วกาญจนา หรือ เขียวหมื่นปี หรือ อโกลนีมา (Aglaonema) เป็นสกุลของพืชไม้ประดับที่มีความสวยงามที่ใบ ได้ชื่อว่าเป็นราชาแห่งไม้ประดับ เป็นลำดับพืชที่มีมากกว่า 40 ชนิด ปัจจุบันมีการปรับปรุงพันธ์เพื่อให้สีสรรสวยงามนิยมเพาะเลี้ยงเพื่อความสวยงาม และจัดเป็นไม้มงคล ชื่อภาษาอังกฤษ มีรากศัพท์จากภาษากรีก คำว่า aglos แปลว่า แสงสว่าง หรือความสดใส คำว่า nema แปลว่า thread คือเส้นใยบาง ๆ หรือเกลียว มีการตั้งชื่อสายพันธุ์ภาษาไทยที่สื่อความหมายทางโชคลาภ เช่น กวักมหามงคล บัลลังก์ทับทิม บัลลังก์ทอง หยกกาญจน.

ดู พืชและแก้วกาญจนา

แก้วเจ้าจอม

แก้วเจ้าจอม เป็นพันธุ์ไม้ประจำถิ่นแคริบเบียน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำพันธุ์ไม้ชนิดนี้เข้าสยามจากชวา (อินโดนีเซีย) ครั้งเสด็จประพาส แล้วทรงนำมาปลูกในเขตพระราชอุทยานวังสวนสุนันทา ปัจจุบันมีเพียงต้นเดียวเท่านั้นที่เป็นต้นดั้งเดิม บริเวณด้านหลังเนินพระนางหรือพระบรมราชานุสรณ์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์พระบรมราชเทวี และภายหลังได้กลายมาเป็นดอกไม้สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา แก้วเจ้าจอมมีใบจำนวน 3 คู่ กลีบดอกสีม่วง-คราม จำนวน 5-6 กลีบ เกสรสีเหลือง เป็นต้นไม้ที่ต้องการแสงแบบรำไร ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ใช้ทำป้องยาสูบ ที่บดยา ที่บดกาแฟ.

ดู พืชและแก้วเจ้าจอม

แมกโนเลีย

กุลแมกโนเลีย (magnolia) เป็นพืชดอกในวงศ์จำปีที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 210 สปีชีส์ สกุลของพืชตั้งตามชื่อนักชีววิทยาชาวฝรั่งเศสชื่อปีแยร์ มาญอล (Pierre Magnol) ศูนย์กลางถิ่นฐานของแมกโนเลียอยู่ทางตอนกลางของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และศูนย์กลางอีกแห่งหนึ่งอยู่ในอเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง, แคริบเบียน และบางสกุลในอเมริกาใต้ แมกโนเลียเป็นสกุลไม้โบราณที่วิวัฒนาการขึ้นมาก่อนที่จะมีผึ้ง รูปทรงของดอกจึงเป็นทรงที่ล่อให้ด้วงมาช่วยผสมพันธุ์ ฉะนั้นเกสรตัวเมีย (carpel) จึงค่อนข้างแข็งแรงเพื่อป้องกันความเสียหายจากการถูกปีนและถูกแทะโดยด้วง ซากดึกดำบรรพ์ของ Magnolia acuminata ที่พบมีอายุกว่า 20 ล้านปีและพืชที่เป็นของวงศ์จำปีมีอายุกว่า 95 ล้านปี ลักษณะอีกอย่างหนึ่งแสดงว่าเป็นพันธุ์ไม้โบราณคือการขาดลักษณะแตกต่างของกลีบเลี้ยง (sepal) หรือกลีบดอก (petal).

ดู พืชและแมกโนเลีย

แมคาเดเมีย

แมคาเดเมีย (macadamia) เป็นไม้ยืนต้นจำพวกหนึ่งที่อยู่ในวงศ์เหมือดคน (Proteaceae) ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Macadamia integrifolia แม้ว่าแมคาเดเมียจะมีลักษณะเหมือนถั่ว แต่มันกลับไม่ใช่พืชตระกูลถั่ว เพราะไม่ได้อยู่ในวงศ์ Fabaceae แต่ถึงอย่างไรก็ตามมันก็เป็นต้นไม้ประเภทนัทที่มีคุณค่าทางอาหารสูงมากและมีราคาสูง ต้นไม้ชนิดนี้จะให้ผลดีก็ต่อเมื่อปลูกบนพื้นที่ค่อนข้างสูงเท่านั้น แมคาเดเมียเป็นพืชหนึ่งในเก้าสายพันธุ์ของดอกพืชในวงศ์ Proteaceae ซึ่งมีอยู่ตามพื้นที่ทางภาคตะวันออกของออสเตรเลีย นิวแคลิโดเนียและ สุลาเวสี ในอินโดนีเซี.

ดู พืชและแมคาเดเมีย

แมงลัก

แมงลัก (ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum × citriodourum) เป็นพืชล้มลุกในสกุลกะเพรา-โหระพา แมงลักมีใบเล็ก สีอ่อน บอบบาง ช้ำง่ายและเหี่ยวง่ายกว่า ชื่อสามัญเดิมเรียกกันว่า hoary basil (hoary แปลว่าผมหงอก) โดยนำมาจากลักษณะที่มีขนอ่อนสีขาวๆ บริเวณก้านใบและยอดอ่อน ต่อมาก็เปลี่ยนมาเรียกว่า lemon basil ตามลักษณะกลิ่นที่คล้ายส้ม-มะนาว ส่วนแมงลักศรแดงของไทยเรียกว่า thai lemon basil แมงลักนำไปใช้ได้ทั้งใบและเมล็ด ใบมีกลิ่นฉุน ใช้ประกอบอาหารเช่นเดียวกับกะเพราและโหระพา ส่วนมากจะใช้รับประทานกับขนมจีน หรือใส่เครื่องแกงต่างๆ ส่วนเมล็ดแมงลักใช้ทำเป็นขนมอื่นๆ ได้ นอกจากนี้ เมล็ดแมงลักนำมาทำเป็นยาระบายและอาหารเสริมลดความอ้วนได้ แมงลักในประเทศไทยนั้น มี หลากหลายยี่ห้อและหลากหลายสายพันธุ์ ไม่ใช่ยี่ห้อดังยี่ห้อเดียวอย่างที่เข้าใจ ลักษณะพันธุ์ที่ดีใบต้องใหญ่พอดิบพอดี ไม่เล็กจนแคระแกร็น ดอกสีขาวเป็นชั้นๆ คล้ายฉัตร.

ดู พืชและแมงลัก

แมนเดรก

แมนเดรก (Mandrake) เป็นชื่อสามัญของสมาชิกในสกุลพืช Mandragora โดยเฉพาะอย่างยิ่งพรรณ Mandragora officinarum ซึ่งอยู่ในวงศ์ไม้มะเขือ (Solanaceae) เพราะแมนเดรกมีโทรเพนอัลคาลอยด์สารก่อประสาทหลอน อาทิ อะโทรพิน สโคโปลามีน อะโปอะโทรพิน ไฮออสไซอามีน และบางครั้ง รากมีการแยกสองง่ามทำให้ดูคล้ายร่างมนุษย์ รากของแมนเดรกมีการใช้ในพิธีกรรมทางเวทมนตร์มานาน ซึ่งปัจจุบันยังมีอยู่ในศาสนาลัทธินอกศาสนาใหม่ เช่น วิคคา และลัทธินอกศาสนาใหม่เยอรมัน เช่น ลัทธิโอดิน (Odinism) หมวดหมู่:พืชมีพิษ หมวดหมู่:วงศ์มะเขือ หมวดหมู่:ต้นไม้ในตำนาน.

ดู พืชและแมนเดรก

แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ

แม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ (bioelectromagnetism) หรือ ไฟฟ้าชีวภาพ (bioelectricity) หมายถึงพลังงานไฟฟ้า พลังงานแม่เหล็ก หรือสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากเซลล์ เนื้อเยื่อ หรือสิ่งมีชีวิตต่างๆ ตัวอย่างนี้รวมไปถึง ศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ (membrane potential) และกระแสไฟฟ้าที่ไหลอยู่ในเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ ซึ่งก่อให้เกิดศักยะงาน (action potential) คำนี้ไม่ควรสับสนกับ bioelectromagnetics ซึ่งเป็นการศึกษาผลกระทบของสิ่งมีชีวิตจากพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าภายนอก.

ดู พืชและแม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพ

แย้มปีนัง

แย้มปีนัง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Strophanthus gratus (Wallich & Hook. ex Benth.) Baillon) มีชื่อพื้นเมือง เช่น บานทน และ หอมปีนังเป็นไม้ที่มีดอกหอมแรง แย้มปีนังเป็นไม้พุ่ม แตกกิ่งมาก ลำต้นตั้งตรง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีแกมขอบขนาน ใบดกทึบ ค่อนข้างหนา ผิวเรียบมัน สีเขียวเข้ม ท้องใบสีเขียวปนม่วง ดอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อย 5-20 ดอก กลิ่นหอม กลีบดอกสีม่วงแกมชมพู เชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ผลเป็นฝัก รูปเรียวยาว เมล็ดสีน้ำตาล มีขน ขึ้นง่ายในดินทั่วไป ออกดอกตลอดปี หากปลูกในที่ร่มมากจะกลายเป็นไม้เลื้อยได้ เมล็ด มีสารที่ออกฤทธิ์กระตุ้นหัวใจ คือสาร ouabain มีความเป็นพิษสูงไม่ควรรับประทาน หากเข้าสู่ร่างกาย ทำให้คลื่นไส้ ท้องเสีย หัวใจเต้นแรง และเร็ว ต้องรีบทำให้อาเจียน และนำส่งโรงพยาบาลทันที.

ดู พืชและแย้มปีนัง

แรดขาว

แรดขาว (White rhinoceros, White rhino, Square-lipped rhinoceros) เป็นแรดชนิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ceratotherium simum จัดว่าเป็นสัตว์บกที่ใหญ่ที่สุดในโลกรองลงมาจากช้าง เพราะแรดขาวสามารถที่จะมีความยาวลำตัวได้ถึง 3.6-5 เมตร ความสูงของไหล่ 1.6-2 เมตร น้ำหนัก 2.3-3.6 ตัน มีผิวสีน้ำตาลอมเทาหรือเหลือง จนได้ชื่อว่า "แรดขาว" มีนอ 2 นอ ความยาวของนอที่ใหญ่ที่สุดอาจยาวได้ถึง 1.5 เมตร ริมฝีปากบนของแรดขาวจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมไม่มีติ่งยื่นแหลมออกมาเหมือนแรดชนิดอื่น ๆ ทั้งนี้เพราะแรดขาวชอบที่จะกินหญ้าหรือพืชที่อยู่ตามพื้นดินหรือพุ่มไม้เตี้ย ๆ มากกว่าใบไม้ มีหูที่ยาวและปลายแหลม หน้าผากลาดและมน หัวไหล่นูนเป็นก้อน ผิวหนังเป็นตุ่มนูนเล็กน้อย ตามลำตัวไม่มีขน ยกเว้นที่ปลายหูและหาง กีบเท้ามีทั้งหมด 3 กีบ แรดขาวมีการกระจายพันธุ์บริเวณทวีปแอฟริกาตอนใต้ พบตั้งแต่ซูลูแลนด์ ถึงอุทยานแห่งชาติครูเกอร์ในแอฟริกาใต้ และยังพบได้ใน ซูดานตอนใต้, ยูกันดา และบริเวณใกล้ ๆ คองโก มีทั้งหมด 2 ชนิดย่อย คือ แรดขาวเหนือ (C.

ดู พืชและแรดขาว

แร็กคูน

แร็กคูน (raccoon, common raccoon) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมชนิดหนึ่ง ในอันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Procyon lotor อยู่ในวงศ์แร็กคูน (Procyonidae) มีความยาวลำตัวราว 2 ฟุต มีหางเป็นพวงมีแถบสีดำคาดเป็นปล้อง ๆ ยาวราว 10 นิ้ว ขนตามลำตัวสีน้ำตาลปนเทา ใบหน้าสีขาวมีแถบสีดำคาดจากตาไปเป็นแถบตลอดแก้ม แลดูคล้ายเหมือนโจรสวมหน้ากาก เป็นสัตว์ที่กระจายพันธุ์ไปทั่วในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกากลางในหลายพื้นที่ ทั้งในป่า หรือแม้แต่ชุมชนของมนุษย์ เป็นสัตว์ที่สามารถปรับตัวได้เป็นอย่างดี กินอาหารได้หลากหลายประเภททั้งเนื้อสัตว์และพืช อีกทั้งยังชอบที่จะอยู่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำด้วยการจับสัตว์น้ำกินเป็นอาหาร เช่น กบ, ปลา, กุ้ง และปู หรือเต่าขนาดเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งนกหรือแมลงปีกแข็งขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ด้วย แต่ไม่สามารถที่จะว่ายน้ำได้ จะใช้วิธีการจับในน้ำตื้น ๆ ที่ขาหยั่งถึงแทน ในช่วงฤดูแล้งที่อาหารขนาดแคลนก็จะกินลูกไม้, ผลไม้ และดอกข้าวโพด เป็นอาหาร หรืออาจจะบุกเข้าไปในบ้านเรือนของมนุษย์ ขุดคุ้ยหาขยะหรือเศษอาหาร หรือแม้กระทั่งเปิดตู้เย็นหากิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ใช้เท้าหน้าได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนมือสำหรับหยิบจับอาหาร ซึ่งสามารถกระทำได้ถึงขนาดคลายปมเชือก และยังเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมพิเศษ คือ ก่อนจะกินอาหาร มักจะนำไปล้างน้ำเสียก่อน จนมีความเชื่อว่าเป็นสัตว์รักสะอาด แต่ความจริงแล้ว เป็นพฤติกรรมที่จะนวดอาหารให้นิ่มซะก่อน ก่อนที่จะกิน แร็กคูน เป็นสัตว์ที่ปีนต้นไม้เก่ง ทำรังอยู่บนยอดไม้และใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ ในเวลากลางวันจะนอนขดอยู่ตามพงไม้ หรือซอกหิน หรือนอนผึ่งแดดอยู่ในรัง ในตอนกลางคืนจะออกหากิน โดยใช้เส้นทางเดิม และมักจะใช้เส้นทางที่เป็นพื้นแข็ง เพื่อไม่ให้เกิดรอยเท้า ตัวเมียออกลูกครั้งละ 4-6 ตัว ในโพรงไม้ ในช่วงฤดูหนาวที่หิมะตกและอาหารขาดแคลน แร็กคูนจะใช้เวลาช่วงนี้ในการจำศีลตลอดฤดูกาล แร็กคูน เป็นสัตว์ที่มีความน่ารัก จึงมีผู้นำมาเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง อีกทั้งขนและหนังมีความหนานุ่มและสีสวย จึงมีการล่าเพื่อทำเป็นเสื้อขนสัตว์ด้วย ปัจจุบันกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในภูมิภาคยุโรปกลาง โดยแร็กคูนถูกนำเข้าไปในเยอรมนีครั้งแรกเมื่อปี..

ดู พืชและแร็กคูน

แววมยุรา

แววมยุรา เป็นพืชไม้ดอกล้มลุก สูงประมาณ 15-50 เซนติเมตร จะมีสีดอกหลายสี ทั้งสีแดง สีชมพู สีม่วงเข้ม สีม่วงอ่อน โคนกลีบจะมีสีขาว กลีบล่างอาจมีแต้มสีเหลือง จะออกเป็นช่อ กระจายตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ปลายแยกเป็น 5 แฉก จะมีขนาดไม่เท่ากัน ดอกจะบานทุกฤดูกาล.

ดู พืชและแววมยุรา

แว่นแก้ว

แว่นแก้ว หรือ บัวแก้ว ผักหนอกใหญ่ (Water Pennywort; L.เป็นไม้น้ำมีอายุหลายฤดู ลำต้นเป็นไหลทอดยาวตามพื้นดิน มีข้อปล้อง มีรากและใบงอกตามข้อทุกส่วน มีกลิ่นหอม ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะและริมน้ำ พบมากในภาคเหนือ และภาคกลาง ใบเป็นใบเดี่ยว แตกออกสลับข้อละ 1–2 ใบ ก้านใบอวบ ยาว 10–15 ซม.

ดู พืชและแว่นแก้ว

แสลงใจ

แสลงใจ หรือ ตูมกาแดง เป็นไม้ยืนต้นในป่าเบญจพรรณ เป็นที่มาของชื่ออุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง.

ดู พืชและแสลงใจ

แหนแดง

แหนแดง (อังกฤษ: Mosquito fern, Water fern) เป็นพืชน้ำเล็ก ๆ พวกเฟิร์นพบเจริญเติบโตอยู่บนผิวน้ำในที่มีน้ำขังในเขตร้อนและอบอุ่นทั่วไป.

ดู พืชและแหนแดง

แห้วหมู

ก้านช่อดอกตัดตามขวาง หัวของแห้วหมูซึ่งยาวประมาณ 20 มิลลิเมตร แห้วหมู หรือหญ้าแห้วหมู หรือ หญ้าขนหมู เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวในวงศ์กก เป็นพืชจำพวกไม้ล้มลุก ลำต้นอยู่ใต้ดิน มีลักษณะเป็นหัวกลม สั้น มีตาจำนวนมาก และสามารถแทงไหลไปได้ไกลแล้วเกิดหัวใหม่เจริญขึ้นต้นเหนือดิน ใบของแห้วหมูเกิดที่ลำต้น ชิดแน่นโดยเป็นกาบใบหุ้มซ้อนม้วนทับกัน ชูขึ้นเหมือนลำต้นแล้วแผ่เป็นแผ่นใบแบนรูปแถบยาว ปลายแหลม กลางใบเป็นสันร่อง ผิวใบเรียบสีเขียวเข้ม กว้างประมาณ 0.5 เซนติเมตร ยาว 25 เซนติเมตร ดอกของแห้วหมูเกิดที่ปลายยอด ก้านช่อดอกเป็นรูปเหลี่ยมสีเขียวเข้มแทงขึ้นสูง ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร แล้วแตกเป็นช่อย่อยอีกหลายช่อ ดอกย่อยสีน้ำตาลจำนวนมาก ผลรูปขอบขนาน ปลายแหลมสีน้ำตาลหรือดำ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหรือหัวใต้ดิน.

ดู พืชและแห้วหมู

แอฟริกันไวโอเล็ต

แอฟริกันไวโอเล็ต (African Violet หรือ Saintpaulias)เป็นพืชในวงศ์ Gesneriaceac มีถิ่นกำเนิดอยู่ตามแถบภูเขาในทางตอนเหนือของประเทศแทนซาเนีย และทางตอนใต้ของเคนยาในประเทศแอฟริกา พบครั้งแรกที่แทนซาเนีย เมื่อปี..

ดู พืชและแอฟริกันไวโอเล็ต

แอฟริกากลาง

สหพันธ์แอฟริกากลาง (ยกเลิก) แอฟริกากลาง เป็นดินแดนในทวีปแอฟริกา ได้ถูกนิยามไว้สองอย่างคือ Central Africa และ Middle Africa (นิยามโดยสหประชาชาติ) ประกอบด้วยประเท.

ดู พืชและแอฟริกากลาง

แอร์โรว์เฮด (พรรณไม้)

แอร์โรว์เฮด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Sagittaria montevidensis Cham. et Schlecht) ชื่อสามัญ: Arrow Head, Aztex Head, Giant Arrow Head เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่ง มีใบที่ดูเหมือนหัวลูกศรหรือหัวปลายธนู เป็นไม้น้ำขนาดกลางไม้โผล่เหนือน้ำ เจริญเป็นกอ สูงประมาณ 50 ซม.

ดู พืชและแอร์โรว์เฮด (พรรณไม้)

แอลแฟลฟา

แอลแฟลฟา (alfalfa) หรือ ลูเซิร์น (lucerne) จัดเป็นพืชตระกูลถั่วที่มีฝัก เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันตกและแถบเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก เป็นพืชชนิดแรก ๆ ที่ใช้เพื่อการเพาะปลูก เติบโตได้ในแถบทุกอากาศทั่วโลก แอลแฟลฟามีระบบรากที่มหัศจรรย์มาก ในบางพื้นที่รากของ แอลแฟลฟาสามารถชอนไชลงไปได้ลึกกว่า 130 ฟุต จึงมีประสิทธิภาพในการดูดซึมธาตุอาหารได้มากกว่าและบริสุทธิ์กว่า อีกทั้งตัวของ แอลแฟลฟาเองก็จะไม่สะสมสารพิษ ชาวอาหรับโบราณรู้จักใช้ประโยชน์จาก "แอลแฟลฟา" มากว่า 2,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยใช้เป็นพืชเลี้ยงสัตว์ เพื่อเพิ่มความเร็วและแข็งแรงให้กับม้า อีกทั้งยังใช้ใบมาตากแห้งชงเป็นชาดื่ม ด้วยคุณค่าทางอาหารที่มากมายชาวอาหรับจึงขนานนาม แอลแฟลฟาให้เป็น AL-FAS-FAH-SHA หรือ "ราชาแห่งอาหารทั้งมวล" ได้มีการใช้แอลแฟลฟาเพื่อการรักษาทางการแพทย์มาตั้งแต่ในสมัยโบราณ โดยแพทย์ชาวจีนได้ใช้ใบแอลแฟลฟาอ่อนในการรักษาอาการย่อยไม่ปกติ เช่นเดียวกันกับแพทย์ชาวอินเดียที่ใช้ใบและดอกสำหรับการรักษากระบวนการย่อยทำงานที่ทำงานได้น้อย นอกจากนี้ แอลแฟลฟายังใช้เพื่อการบำบัดโรคข้อต่ออักเสบ ชาวอินเดียนในอเมริกาเหนือได้แนะนำให้ใช้ แอลแฟลฟาในการรักษาโรคดีซ่าน และช่วยสนับสนุนการจับตัวของเลือด แพทย์ที่ใช้สมุนไพรเพื่อการบำบัดในสหรัฐอเมริการได้แนะนำให้ใช้ แอลแฟลฟาเป็นยาสำหรับอาการย่อยไม่เป็นปกติ ภาวะโลหิตจาง เบื่ออาหารและอาการการดูดซึมอาหารไม่ดี นอกจากนี้ยังแนะนำว่า แอลแฟลฟามีส่วนกระตุ้นให้การหลั่งน้ำนมในแม่ดีขึ้นอีกด้ว.

ดู พืชและแอลแฟลฟา

แค

แค เป็นต้นไม้ขนาดเล็กในสกุลโสน มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้: แคบ้าน (กลาง) แคขาว แคแดง (กทม. เชียงใหม่) แค (กลาง) แคดอกแดง แคดอกขาว.

ดู พืชและแค

แคฝรั่ง

แคฝรั่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gliricidia sepium (Jacq.) Kunth ex Walp. ชื่อสามัญ:Mata Raton) ในฮอนดูรัสเรียก Cacao de nance หรือ cacahnanance ในฟิลิปปินส์เรียก Kakawate ในกัวเตมาลาเรียก Madre Cacao หรือ Madre de Cacao ในนิคารากัวเรียก Madero negro เป็นพืชตระกูลถั่วที่มีเนื้อไม้ขนาดกลาง เป็นพืชที่ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ในประเทศไทย ดอกแคฝรั่งนี้เป็นดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ดอกแคฝรั่งในติมอร์ตะวันตก ประเทศอินโดนีเซีย 150px.

ดู พืชและแคฝรั่ง

แคร์รอต

''Daucus carota subsp. maximus'' แคร์รอต (carrot) เป็นพืชกินหัวชนิดหนึ่ง มีลักษณะยาว หัวแคร์รอตมีหลายสี เช่น เหลือง ม่วง ส้ม แต่ที่นิยมรับประทานในปัจจุบันคือสีส้ม แคร์รอตเป็นพืชแถบเอเชียตะวันออกและเอเชียกลาง มีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กเท่าแท่งดินสอ หรือที่เรียกว่าเบบีแคร์รอต (baby carrot) ไปจนถึงขนาดใหญ.

ดู พืชและแคร์รอต

แคลเซียม

แคลเซียม (Calcium) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์เป็น Ca มีเลขอะตอมเป็น 20 แคลเซียมเป็นธาตุโลหะหนักประเภทอะคาไลที่มีสีเทาอ่อน มันถูกใช้เป็นสารรีดิวซิ่งเอเยนต์ในการสกัดธาตุ ทอเรียมเซอร์โคเนียม และยูเรเนียม แคลเซียมอยู่ในกลุ่ม 50 ธาตุที่มีมากที่สุดบนเปลือกโลก มันมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะในระบบสรีระวิทยาของเซลล์และการยืดหดตัวของกล้ามเนื้อ แคลเซียมมีพื้นดินเป็นแหล่งรองรับจะถูกพืชดูดไปใช้เป็นประโยชน์และสัตว์กินพืชก็ได้รับสารประกอบแคลเซียมเข้าไปด้วย เมื่อสีตว์และพืชตาย แคลเซียมก็จะกลับลงสู่ดินอีก.

ดู พืชและแคลเซียม

แคทลียาควีนสิริกิติ์

แคทลียาควีนสิริกิติ์ เป็นกล้วยไม้ที่อยู่ในสกุลแคทลียาสีขาว กลางดอกสีเหลือง ช่อหนึ่งมี 2-3 ดอก ออกดอกได้ตลอดทั้งปี มีลักษณะสูงประมาณ 20-40 เซนติเมตร ลำลูกกล้วยรูป ทรงกระบอก ใบ รูปขอบขนาน กว้าง 3.5-4.5 เซนติเมตร ยาว 17-20 เซนติเมตร ดอก ออกเดี่ยวหรือเป็นช่อ 1-4 ดอก จากปลายลำลูกกล้วย สีขาวนวล กลีบเลี้ยงรูปรี แกมสามเหลี่ยม ขอบเรียบ กลีบดอกและกลีบปาก แผ่กว้าง ขอบกลีบย่นเป็นคลื่น กลีบปากส่วนกลาง มีหยักเว้าลึกและมีแต้มสีเหลืองทองด้านในชัดเจน ดอกบานเต็มที่กว้าง 12-14 เซนติเมตร ฝักมีรูปทรงสามเหลี่ยมยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร เป็นกล้วยไม้ที่ชอบที่โปร่ง ไม่ชอบความชื้นมากนัก และไม่ทนต่อความร้อน โดยเป็นกล้วยไม้พันธุ์ผสมระหว่าง Cattleya "Bow Bells" และ C.

ดู พืชและแคทลียาควีนสิริกิติ์

แคแสด

แคแสด (African tulip tree, Fire bell, Fouain tree, Flame of the Forest) เป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของแอฟริกา ปัจจุบันกระจายพันธุ์ทั่วไปในเขตร้อน สามารถปลูกในทรายริมทะเลได้ ถ้าปลูกในที่แห้งจะผลัดใบ แต่ไม่พร้อมกันทั้งต้น มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆ ดังนี้: แคแดง (กรุงเทพฯ), ยามแดงเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและแคแสด

แตงกวา

แตงกวา หรือ แตงร้านhttp://frynn.com/%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2/ เป็นไม้เลื้อยในวงศ์ Cucurbitaceae (วงศ์เดียวกันกับแตงโม ฟักทอง บวบ มะระ น้ำเต้า) มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย นิยมปลูกเพื่อใช้ผลเป็นอาหาร มีอายุตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว 30-45 วัน แตงกวาสามารถนำไปปรุงอาหารได้มากมายหลายชนิดเช่น แกงจืด ผัด กินกับน้ำพริก หรืออาจแปรรูปเป็นแตงกวาดอง.

ดู พืชและแตงกวา

แตงโม

ใบแตงโม แตงโม เป็นผลไม้ที่มีน้ำประกอบอยู่เป็นจำนวนมาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า จังหวัดตรังเรียกแตงจีน ถิ่นกำเนิดอยู่ในทะเลทรายคาลาฮารีทวีปแอฟริกา ชาวอียิปต์เป็นชาติแรกที่ปลูกแตงโมไว้รับประทานเมื่อสี่พันปีมาแล้ว ชาวจีนเริ่มปลูกแตงโมที่ซินเกียงสมัยราชวงศ์ถัง และชาวมัวร์ได้นำแตงโมไปสู่ทวีปยุโรป แตงโมแพร่หลายเข้าสู่ทวีปอเมริกาพร้อมกับชาวแอฟริกาที่ถูกขายเป็นทาส แตงโมต้องการดินที่มีความชุ่มชื้นพอเหมาะ น้ำไม่ขัง มักปลูกกันในดินร่วนปนทราย ในประเทศไทยมีการปลูกแตงโมทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดู แตงโมเป็นพืชในวงศ์เดียวกับแคนตาลูปและฟัก เป็นพืชล้มลุกเป็นเถา อายุสั้น เถาจะเลื้อยไปตามพื้นดิน มีขนอ่อนปกคลุม ผลมีทั้งทรงกลมและทรงกระบอก เปลือกแข็ง มีทั้งสีเขียวและสีเหลือง บางพันธุ์มีลวดลายบนเปลือก ในเนื้อมีเมล็ดสีดำแทรกอยู่ แตงโมที่นิยมปลูกโดยทั่วไปมี 3 พันธุ์คือปลาดุก.

ดู พืชและแตงโม

แปะก๊วย

''Ginkgo biloba'' แปะก๊วย (;) เป็นพืชสมุนไพรที่มีต้นกำเนิดจากทางตะวันออกของประเทศจีน (แถบภูเขาด้านตะวันตกของนครเซี่ยงไฮ้) ที่มีการแยกต้นเป็นเพศผู้ และเพศเมีย ใบมีลักษณะคล้ายใบพัด แยกออกเป็น 2 กลีบพบว่ามีการนำเข้าไปปลูกในประเทศญี่ปุ่น พร้อมกับการเผยแผ่ศาสนาพุทธนิกายเซน เมื่อประมาณ ช่วงราว..

ดู พืชและแปะก๊วย

ใบระบาด

มล็ดของใบระบาด ใบระบาด ((Burm.f.) Bojer) มีชื่อพื้นเมืองเช่น ผักบุ้งเงิน ผักระบาด หรือ เมืองมอน เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ในวงศ์ผักบุ้ง ลำต้นสีเขียว เลื้อยพันได้ ใบสีเขียวเทา ใต้ใบและผิวนอกของกลีบดอกมีขนสีขาวแกมเงิน วงกลีบดอกรูปหลอด ภายในสีชมพูอมม่วงอ่อน ผลเป็นแบบกระเปาะมีกลีบเลี้ยงติด เป็นไม้พื้นเมืองของอินเดียมีชื่อในภาษาสันสกฤตว่า विधारा (Vidhara) มีการกระจายพันธุ์ไปทั่วโลก รวมทั้งในฮาวายและประเทศแถบทะเลแคริบเบียน พบมากที่ฮาวาย สามารถกลายเป็นพืชรุกรานได้ มีสารเออร์โกลีนและเอไมด์ของกรดไลเซอร์กิก มีฤทธิ์หลอนประสาท.

ดู พืชและใบระบาด

ใบไม้สีทอง

ใบไม้สีทอง หรือ ย่านดาโอ๊ะ เป็นไม้เถาขนาดใหญ่ ใบอ่อนมีมีขนสีน้ำตาลแดง หรือขนสีทองแดงซึ่งเป็นที่มาของชื่อ เป็นพืชถิ่นเดียวพบเฉพาะในเขตจังหวัดปัตตานี นราธิวาส และยะลาเป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบครั้งแรกโดย ดร.ชวลิต นิยมธรรม ที่น้ำตกบาโจ จังหวัดนราธิว.

ดู พืชและใบไม้สีทอง

ใยอาหาร

ใยอาหาร (dietary fiber) คือ ส่วนของพืช ผัก ผลไม้ที่มนุษย์รับประทานได้ แต่ไม่ถูกย่อยโดยน้ำย่อยของคน แต่อาจถูกย่อยโดยจุลินทรีย์บางชนิดในทางเดินอาหารของคน ใยอาหารเป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ ๆ ใยอาหารแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ.

ดู พืชและใยอาหาร

โบตั๋น (พรรณไม้)

ตั๋นมีชื่อในภาษาไทยว่า "นางพญานิรมล" เป็นไม้ดอกสกุล Paeonia ซึ่งเป็นสกุลเดียว ในวงศ์ Paeoniaceae เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชีย, ตอนใต้ของทวีปยุโรป และตะวันตกของอเมริกาเหนือ ในอดีต โบตั๋นมักถูกจัดอยู่ในวงศ์ Ranunculaceae พืชสกุลโบตั๋นส่วนใหญ่เป็นไม้ล้มลุกหลายปี สูงประมาณ 0.5–1.5 เมตร บางชนิดเป็นพุ่ม ลำต้นมีเนื้อไม้ สูง 1.5-3 เมตร ลักษณะของใบเป็นใบประกอบ มีแฉกลึก ดอกใหญ่ และมักมีกลิ่นหอม มีหลายสี ตั้งแต่ แดง บานเย็น เหลือง จนถึงขาว มักออกดอกในช่วงต้นฤดูร้อน.

ดู พืชและโบตั๋น (พรรณไม้)

โพ

(มักเขียนว่า โพธิ์) (คำว่า "โพ" มาจากภาษาสิงหล; Sacred fig) เป็นต้นไม้สปีชีส์หนึ่งของไทรหรือมะเดื่อ เป็นพืชพื้นเมืองของอินเดีย, เนปาล, ศรีลังกา, ตะวันตกเฉียงใต้ของจีน และ อินโดจีน เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน สูงได้ถึง 30 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลางได้ถึง 3 เมตร รูปใบโดยทั่วไปของต้นโพ ใบมีรูปหัวใจปลายยาว ยาว 10-17 เซนติเมตร กว้าง 8-12 เซนติเมตร ก้านใบยาว 6-10 เซนติเมตร ผลมีขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 เซนติเมตร สีเขียวเมื่อสุกมีสีม่วง โพเป็นต้นไม้ที่ถูกสักการะในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนาเชน และ พระพุทธศาสนา ด้วยเหตุนี้จึงมีชื่อว่า "Sacred fig" พระโคตมพุทธเจ้าก็ได้ตรัสรู้เมื่อนั่งอยู่ใต้ต้นโพเช่นกัน โดยต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าตรัสรู้นั้นชื่อ "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" ปัจจุบันยังคงมีชีวิตอยู่ที่ประเทศอินเดีย จึงเชื่อกันว่าโพเป็นสัญลักษณ์แห่งความสุข, ความสำเร็จ, อายุยืน และ ความโชคดี และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดปราจีนบุรี.

ดู พืชและโพ

โพลีคีไทด์

รประกอบโพลีคีไทด์ (polyketide) เป็นกลุ่มของสารประกอบเคมีที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ (natural product) สามารถพบได้ทั้งใน พืช รา และ แบคทีเรีย สารประกอบโพลีคีไทด์นั้นเป็นสารประกอบที่มีหมู่คาร์บอนนิลหลายหมู่ในโมเลกุล ได้รับความสนใจค้นคว้าเนื่องจากสารประกอบจำพวกนี้มีคุณสมบัติทางชีวภาพหลายประการ อย่างเช่น มีคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อโรค และต่อต้านเนื้องอก สารประกอบโพลีคีไทด์ที่พบในธรรมชาติสามารถแบ่งได้เป็น 1.

ดู พืชและโพลีคีไทด์

โกงกางใบเล็ก

กงกางใบเล็ก เป็นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ที่ขึ้นได้ในดินเลนที่ค่อนข้างอ่อน ลึกและมีน้ำทะเลท่วมถึงตลอดเวลา ดังนั้นจึงพบไม้ชนิดนี้ขึ้นตามชายฝั่งทะเลริมแม่น้ำ, ชายคลองและป่าชายเลน นอกจากประเทศไทยแล้วยังสามารถพบในตอนเหนือของออสเตรเลีย, กวม, ศรีลังกา, อินเดีย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ไมโครนีเซีย, นิวแคลิโดเนีย, ปาปัวนิวกินี, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, หมู่เกาะโซโลมอน, ไต้หวัน, ประเทศวานูอาตู, และเวียดนาม มีชื่อพื้นเมืองดังนี้: โกงกาง (ระนอง), โกงกางใบเล็ก (ภาคกลาง), พังกาทราย (กระบี่), พังกาใบเล็ก (พังงา).

ดู พืชและโกงกางใบเล็ก

โมก

มก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Wrightia religiosa Benth.) เป็นดอกไม้ มีลักษณะดอกเป็นช่อสีขาว มี 3-5 กลีบ ใบมีขนาดเล็ก ใบเดี่ยว เนื้อใบบางรูปรี หรือรูปหอกกว้าง 0.8-2.0 ทำการขยายพันธุ์โดยการปักชำ หรือ เพาะเมล็ด โมกยังมีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกดังนี้ ปิดจงวา (เขมร สุรินทร์) โมกซ้อน (กลาง) โมกบ้าน (กลาง) และ หลักป่า (ระยอง)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและโมก

โมกแดง

มกแดง หรือจำปูนแดง(Sims) Spreng.โมกแดงเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 2-4 เมตร ลำต้นมีรอยขีดสีขาวตามยาว แตกกิ่งน้อย ทรงพุ่มโปร่ง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี กว้าง 5-8 เซนติเมตร ยาว 8-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ดอกเป็นดอกเดี่ยว บางครั้งออกเป็นกระจุก กระจุกละ 1-4 ดอก ดอกทรงระฆังคว่ำ ห้อยลง กลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายกลีบแหลม ด้านหน้ากลีบดอกมีสีส้มแดงอมชมพู ด้านหลังมีสีขาวนวล เมื่อดอกบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 เซนติเมตร มีกลิ่นหอม ดอกบานวันเดียวแล้วร่วง ออกดอกตลอดปี โมกแดงชอบอยู่ในที่ที่แสงแดดรำไร มีความชื้นในดินและในอากาศค่อนข้างสูง ดินที่ปลูกควรเป็นดินร่วนซุยระบายน้ำดี ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง แยกหน่อที่แตกจากรากใต้ดิน ปลูกเป็นไม้ประดับ ดอกสวยงาม มีกลิ่นหอม ผลใช้ปรุงเป็นยาขับระบบไหลเวียนโลหิต ยอดใช้เป็นผักสด นำมาใส่แกงได้.

ดู พืชและโมกแดง

โมลิบดีนัม

มลิบดีนัม (Molybdenum) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 42 และสัญลักษณ์คือ Mo โมลิบดีนัมเป็นโลหะทรานซิชัน มีสีขาวเงินมีเนื้อแข็งมากอยู่กลุ่มของธาตุที่มีจุดหลอมเหลวสูงที.

ดู พืชและโมลิบดีนัม

โมแกเล-อึมแบมเบ

วาดโมแกเล-อึมแบมเบ โมแกเล-อึมแบมเบ (Mokèlé-mbèmbé; ลิงกาลา: Mokɛle-mbɛmbe) เป็นชื่อเรียกของสัตว์ลึกลับขนาดใหญ่ที่พบในหนองน้ำหรือทะเลสาบของตอนกลางของทวีปแอฟริกา ได้แก่บริเวณลุ่มแม่น้ำคองโกของประเทศแคเมอรูน, สาธารณรัฐคองโก, สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และแซมเบีย โมแกเล-อึมแบมเบมีรูปร่างคล้ายไดโนเสาร์จำพวกซอโรพอด เช่น แบรคิโอซอรัสหรือบรอนโตซอรัส โดยชื่อนี้เป็นภาษาลิงกาลามีความหมายว่า "ผู้เดียวที่หยุดการไหลของน้ำได้" โมแกเล-อึมแบมเบเป็นสัตว์ที่อยู่ในตำนานเล่าขานของชนเผ่าพื้นเมือง เช่น ปิกมี ว่าเป็นสัตว์ดุร้าย มักทำร้ายคนหรือสัตว์ที่เข้าใกล้ตัว โดยจะฆ่าให้ถึงตายแต่จะไม่กิน มีรายงานการพบเห็นอย่างเป็นทางการครั้งแรกใน ค.ศ.

ดู พืชและโมแกเล-อึมแบมเบ

โรสแมรี

รสแมรี (Rosemary; Rosmarinus officinalis) เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองของแถบเมดิเตอร์เรเนียน จัดอยู่ในวงศ์กะเพรา ใบมีรูปร่างคล้ายเข็ม ยาว 2-4 เซนติเมตร กว้าง 2-5 มิลลิเมตร มีกลิ่นหอม และเขียวอยู่ตลอดปี ด้านบนของใบมีสีเขียว ด้านท้องใบเป็นสีขาวและมีขนปกคลุม ดอกมีหลายสี เช่น สีขาว สีชมพู สีม่วง หรือสีฟ้า ใช้ปรุงอาหารทำให้มีกลิ่นหอม.

ดู พืชและโรสแมรี

โลบีเลีย

ลบีเลีย คาร์ดินาลิส (syn. L. fulgens, cardinal flower) เป็นสายพันธุ์ของ โลบีเลีย มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกา, แคนาดาบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ผ่านทางทิศใต้ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก อเมริกากลาง และทางเหนือของโคลัมเบียGermplasm Resources Information Network.

ดู พืชและโลบีเลีย

โสม

ม (Ginseng) เป็นพืชในสกุล Panax ในวงศ์ Araliaceae โตได้ในบริเวณซีกโลกเหนือ ในทวีปเอเชีย และทวีปอเมริกาเหนือ.

ดู พืชและโสม

โสน (สกุล)

น (อ่านว่า) เป็นพืชในสกุล Sesbania เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ใบประกอบแบบขนนก ดอกช่อ สีเหลือง รูปร่างแบบดอกแคหรือดอกถั่ว.

ดู พืชและโสน (สกุล)

โอ๊ก

อ๊ก (oak) หรือ ก่อ เป็นไม้ยืนต้นหรือไม้พุ่มในสกุล Quercus (ภาษาละติน "oak tree") มี 600 สปีชีส์ โอ๊กอาจจะหมายถึงพืชบางชนิดในสกุล Lithocarpusด้วย พืชสกุลนี้เป็นพืชพื้นเมืองในซีกโลกเหนือ แพร่กระจายตั้งแต่เขตที่อากาศหนาวเย็นไปจนถึงเขตร้อนในเอเชียและอเมริก.

ดู พืชและโอ๊ก

โอเอซิส

อเอซิสแห่งหนึ่งในลิเบีย ส่วนหนึ่งของทะเลทรายซาฮารา โอเอซิสอีกแห่งในลิเบีย ในทาง ภูมิศาสตร์ โอเอซิส หมายถึงอาณาบริเวณส่วนใดของทะเลทราย ที่มีพืชขึ้นอยู่ในลักษณะที่ไม่ใช่สังคมพืชทะเลทราย ซึ่งโดยปกติ จะปรากฏรอบๆตาน้ำ หรือแหล่งน้ำประเภทอื่นๆ โอเอซิสมักเป็นแหล่งพักพิงของสัตว์ต่างๆ และอาจรวมถึงมนุษย์ด้วย หากโอเอซิสนั้นมีพื้นที่มากพอ ตำแหน่งที่ตั้งของโอเอซิสนั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งยวด ในการค้า หรือการขนส่งผ่านทะเลทราย กองคาราวานจำเป็นที่จะต้องแวะพักยังโอเอซิสต่างๆ เพื่อสะสมน้ำและอาหาร ในการเดินทางต่อๆไป.

ดู พืชและโอเอซิส

โทงเทง

ทงเทง หรือ พุ้งพิ้ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Physalis minima Linn.) เป็นพืชในวงศ์ Solanaceae มีชื่อเรียกแตกต่างกันในแต่ละท้องที่ เช่น เชียงใหม่ เรียก ต้อมต๊อก หรือ บาตอมต๊อก ปัตตานี เรียก ปุงปิง หนองคาย เรียก ปิงเป้ง เป็นไม้ล้มลุกฤดูเดียว สูง 30 - 40 เซนติเมตร ใบนุ่มและเรียบ ดอกสีเหลือง ผลสีเหลืองมีลักษณะคล้ายผลมะเขือเทศ มีกลีบเลี้ยงหุ้มรูปร่างเหมือนโคมไฟ ชอบดินทรายและที่แห้ง ขยายพันธุ์ด้วยเมล็.

ดู พืชและโทงเทง

โด่ไม่รู้ล้ม

ม่รู้ล้ม ชื่ออื่น ชื่อ เช่น หนาดมีแคลน, หนาดผา, ตะชีโกวะ, หนาดผา,ขี้ไฟนกคุ่ม คิงไฟนกคุ่ม เคยโบ้ หญ้าไก่นกคุ่ม หญ้าปลาบ หญ้าไฟนกคุ่ม หญ้าสามสิบสองหาบ ลักษณะเป็นไม้เนื้ออ่อน ต้นแข็ง ตั้งตรง รากที่มีอายุมากจะมีลัษณะคล้ายเหง้า รากแขนงกลมยาว ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับที่โคนใกล้ผิวดิน ขอบใบหยัก มีขนปกคลุมทั้งสองด้าน ใบมีขนสีขาวตรงละเอียด ตรง ห่าง สาก ทอดขนานกับผิวใบ ทั้งสองด้าน ท้องใบมีขนมากกว่าหลังใบ ใบรูปหอกกลับ หรือรูปไข่แกมใบหอกกลับ ส่วนที่ค่อนไปทางปลายใบ ผายกว้าง แล้วสอบแหลมทู่ๆ ส่วนโคนใบสอบแคบจนถึงก้านใบ ขอบใบหยักมน หรือจักฟันเลื่อยห่างๆ เนื้อใบหนาสาก ดอกช่อ แบบช่อกระจุกแน่น ก้านช่อดอกยาว ดอกสีม่วงหรือขาว การขยายพันธุ์ เพาะเมล็.

ดู พืชและโด่ไม่รู้ล้ม

โคกกระออม

''Cardiospermum halicacabum'' โคกกระออม (L.; Balloon vine; Balloonvine; Heart seed; Heart pea; Love in a puff) เป็นพรรณไม้เถาขนาดกลาง ลักษณะของเถานั้นจะเป็นรูปห้าเหลี่ยม เถาจะโตเท่าก้านไม้ขีดไฟ หรือ จะเล็กกว่านั้นก็มีส่วยผิวของเถาจะเป็นสีเขียว เป็นเถาที่มีความยาวเลื้อยเกาะพันกันขึ้นไปบนต้นไม้ หรือตามกิ่งไม้ หรือเลื้อยไปตามพื้นดินและตรงข้อของเถานั้นจะมีมือสำหรับยึดเกาะ ใบรับประทานได้ ใช้ลวกจิ้มน้ำพริก.

ดู พืชและโคกกระออม

โคมญี่ปุ่น

มญี่ปุ่น (ชื่อวิทยาศาสตร์: Fuchsia L.; ชื่อสามัญ: Fuchsia) เป็นสกุลของพืชมีดอก มักเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก Fuchsia triphylla, ซึ่งเป็นพืชชนิดแรกที่พบว่าอยู่ในสกุลนี้ ค้นพบครั้งแรกที่เกาะฮิสปานิโอลา (ปัจจุบันคือสาธารณรัฐโดมินิกันและเฮติ) เมื่อ..

ดู พืชและโคมญี่ปุ่น

โคลงเคลง

วาดทางพฤกษศาสตร์ ไมร์ทาเลส มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี --> โคลงเคลง หรือ สำเหร่ (Malabar melastome (Indian rhododendron)) เป็นไม้ดอกล้มลุกประเภทใบเลี้ยงคู่ กิ่งสี่เหลี่ยมมักมีขนปกคลุม ใบเป็นใบเดี่ยวคู่ตรงข้าม เรียงแบบสลับน้อย เส้นใบ 3-9 ออกจากจุดเดียวกันตรงฐานใบ แล้วเบนเข้าหาปลายใบ เส้นใบย่อยเรียงแบบขั้นบันได ไม่มีหูใบ ออกดอกเป็นช่อ สมบูรณ์เพศ มีสมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 3-6 (ส่วนใหญ่ 5) กลีบดอก 5 เรียงเกยซ้อนกันในดอกอ่อน เกสรเพศผู้ (ก้านชูอับละอองเรณู) มีประมาณ 10 เกสรเรียงเป็น 2 วงและมีรยางค์ รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ผลเมื่อแก่เปลือกจะแห้ง และแตกออก ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก มีสรรพคุณเป็นยาพื้นบ้าน แก้คอพอก แก้อาเจียนเป็นเลือด และถ่ายเป็นเลือด รากใช้เป็นยา แก้ร้อนในกระหายน้ำ.

ดู พืชและโคลงเคลง

โคล่า

ล่า (Cola) เป็นพืชไม่ผลัดใบสกุลหนึ่ง มีด้วยกันประมาณ 125 สปีชีส์ เป็นพืชพื้นเมืองในเขตป่าดงดิบของทวีปแอฟริกา จำแนกอยู่ในวงศ์ Malvaceae วงศ์ย่อย Sterculioideae (หรืออาจแยกเป็นวงศ์ Sterculiaceae ต่างหาก ก็มี) ถือว่ามีความสัมพันธ์กับพืชสกุล Theobroma (โกโก้) ในทวีปอเมริกาใต้ ต้นโคล่านั้นมีความสูงเต็มที่ 20 เมตร มีใบมันวาว คล้ายรูปไข่ ยาวเต็มที่ 30 เซนติเมตร;สปีชีส์อื่น.

ดู พืชและโคล่า

โซเดียมคาร์บอเนต

ซเดียมคาร์บอเนต หรือ โซดา แอช หรืออีกชื่อคือ โซดาซักผ้า สูตรเคมี คือ Na2CO3 เป็นสารประกอบเกลือของกรดคาร์บอนิก มีลักษณะเป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น สามารถดูดความชื้นจากอากาศได้ดี ละลายได้ในน้ำ มีฤทธิ์เป็นด่างแก่เมื่อละลายน้ำ ละลายได้เล็กน้อยในแอลกอฮอล์ พบในขี้เถ้าของพืชหลายชนิดและสาหร่ายทะเล (จึงได้ชื่อว่า โซดา แอช เนื่องจาก แอช ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ขี้เถ้า) เป็นสารเคมีที่ใช้ในอุตสาหกรรมหลายชนิด เช่น แก้ว เซรามิคส์ กระดาษ ผงซักฟอก สบู่ การแก้ไขน้ำกระด้าง โซเดียมคาร์บอเนต พบได้ในธรรมชาติในเขตแห้งแล้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแหล่งแร่ที่เกิดจากทะเลสาบที่ระเหยแห้งไป ในสมัยอียิปต์โบราณ มีการขุดแร่ที่เรียกว่า เนทรอน (natron) (ซึ่งเป็นเกลือที่ประกอบด้วยโซเดียมคาร์บอเนต (หรือ โซดา แอช) และโซเดียมไบคาร์บอเนต (เบกกิ้ง โซดา) และมีโซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) และโซเดียมซัลเฟต ปนอยู่เล็กน้อย) จากก้นทะเลสาบที่แห้ง ใกล้แม่น้ำไนล์ และนำมาใช้ในการทำมัมมี่ ใน ปี พ.ศ.

ดู พืชและโซเดียมคาร์บอเนต

โป๊ยเซียน (พืช)

ป๊ยเซียน เป็นหนึ่งในไม้มงคล จัดอยู่ในวงศ์ Euphorbiaceae อยู่ในสกุล Euphorbia ซึ่งเป็นสกุลเดียวกับพืชหลายชนิด เช่น ต้นคริสต์มาส และส้มเช้า โป๊ยเซียน (八仙) มาจากภาษาจีน แปลว่าเทพยดาทั้ง 8 องค์ ได้แก่ เซียนทิก๋วยลี้ เซียนฮั่นจงหลี เซียนลือท่งปิน เซียนเจียงกั๋วเล้า เซียนหลันไฉ่เหอ เซียนฮ่อเซียนโกว เซียนหันเซียงจือ เซียนเชาก๊กกู๋ เชื่อกันว่า ถ้าบ้านใดมีดอกโป๊ยเซียนครบ 8 ดอก จะนำความโชคดีมาให้แก่บ้านของผู้นั้น.

ดู พืชและโป๊ยเซียน (พืช)

ไฟลัม

ฟลัม (phylum) เป็นขั้นอนุกรมวิธานขั้นหนึ่งในการจำแนกสัตว์ในทางวิทยาศาสตร์ (ในทางพืชนิยมใช้คำว่า ส่วน แทนไฟลัม ไฟลัมถือเป็นการจัดกลุ่มในขั้นสูงที่สุดแยกตามสายวิวัฒนาการ แต่บางครั้งก็มีการรวมไฟลัมเป็นไฟลัมใหญ่ (superphylum) อีกทีหนึ่ง เช่น สัตว์ที่มีการลอกคราบในการเจริญเติบโต (Echdysozoa) ประกอบด้วยสัตว์มีเปลือกแข็งและหนอนตัวกลม และ สัตว์ที่มีช่องปากเกิดภายหลังช่องทวาร (Deuterostomia) ประกอบด้วยปลาดาวและสัตว์มีแกนสันหลัง ไฟลัมของสัตว์ที่รู้จักกันมากที่สุด ได้แก่ มอลลัสกา, ฟองน้ำ, ไนดาเรีย, หนอนตัวแบน, นีมาโทดา, หนอนปล้อง, สัตว์ขาปล้อง, เอคคิโนเดอร์มาทา และสัตว์มีแกนสันหลัง (ซึ่งมนุษย์อยู่ในไฟลัมนี้) ถึงแม้ว่าจะมีไฟลัมทั้งหมดประมาณ 35 ไฟล่า (หน่วยของไฟลัม) ไฟลัมที่กล่าวทั้ง 9 ตัวนี้ครอบคลุมสปีชีส์ส่วนใหญ่ และทุกไฟลัมยกเว้นหนอนกำมะหยี่ ต่างก็มีสมาชิกอาศัยในมหาสมุทร.

ดู พืชและไฟลัม

ไฟลัมย่อย

ฟลัมย่อย (subphylum) เป็นขั้นอนุกรมวิธานขั้นหนึ่งในการจำแนกสัตว์ในทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งอยู่ระหว่าง ไฟลัม (phylum) และ ชั้นใหญ่ (superclass) ไฟลัมย่อยเทียบเท่ากับ ส่วนย่อย (subdivision) ในพืชและฟังไจ ไฟลัมบางประเภทเท่านั้นที่มีไฟลัมย่อย ดังตัวอย่างต่อไปนี้.

ดู พืชและไฟลัมย่อย

ไพล

ล เป็นพืชชนิดหนึ่งในวงศ์ขิง ป็นพืชลงหัว มีเหง้าใหญ่ เนื้อในสีเหลือง มีกลิ่นหอมใบเรียวยาวปลายแหลมดอกออกรวมกันเป็นช่ออยู่บนก้านช่อดอก ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา เก็บเหง้าแก่จัด หลังจากต้นไพลลงหัวแล้ว ไพลใช้ผสมในน้ำพริกแกงป่าทางจังหวัดระยอง ช่วยดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ป่าทำให้น้ำแกงสีเหลือง ส่วนของไพลที่ใช้เป็นยาคือเหง้าแก่จัด แก้ฟกช้ำ บวม เคล็ด ยอก ปวดเมื่อย ขับลม ท้องเดิน ช่วยขับระดูหรือประจำเดือนของสตรีนิยมใช้หลังจากที่คลอดบุตรแล้ว เหง้าไพลมีน้ำมันหอมระเหย ร้อยละ 0.8 และมีสารที่ให้สี ซึ่งจากการทดลองพบว่ามีฤทธิ์ลดอาการอักเสบ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีการค้นคว้าสารสำคัญที่มีสรรพคุณแก้หอบหืดและมีการวิจัยทางคลีนิค โดยใช้รักษาโรคหืดในเด็ก และไม่มีพิษเฉียบพลัน.

ดู พืชและไพล

ไมยราบ

ฝักและเมล็ดของไมยราบ ไมยราบ (อ่านว่า "ไม-ยะ-ราบ") (มาจากภาษาละติน: pudica แปลว่า "อาย ชมดชม้อย เหนียมอาย หรือหดลง") ภาษาอังกฤษ: sensitive plant, sleepy plant หรือ the touch-me-not ก็เรียก เป็นพืชล้มลุก ต้นสีน้ำตาลแดง แผ่ไปตามพื้น ชูยอดขึ้นข้างบน ต้นมีหนามขนาดสั้น ใบประกอบ ดอกเป็นช่อกลมสีชมพู ก้านดอกยาว ฝักยาวเรียวแบน มีขนเหนียวติดมือ เมล็ดสีน้ำตาลอ่อน ไมยราบมักถูกปลูกขึ้นตามความอยากรู้อยากเห็นของผู้ปลูก โดยที่ใบประกอบสามารถพับเข้าหากันด้านใน หรือหุบได้ เมื่อถูกสัมผัส หรือเขย่า เพื่อป้องกันตนเองจากภัยคุกคามต่าง ๆ และจะบานออกอีกครั้งเมื่อผ่านไปราวหนึ่งนาที พืชในตระกูลใกล้เคียงกันและมีคุณสมบัติเช่นเดียวกันได้แก่ ผักกระเฉด ในทางสมุนไพร ไมยราบมีรสจืดเฝื่อน มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ ระดูขาว แก้ไตพิการ ต้นแห้งต้มกับน้ำกินแก้อ่อนเพลีย ตานขโมย โรคกระเพาะอาหาร ใช้ทาแก้ผื่นคันและหัด ใบสดตำผสมกับเกลือและพิมเสน ใช้พอกแผลพุพอง รากแห้ง ต้มน้ำแก้ปวดประจำเดือน ปวดศีรษ.

ดู พืชและไมยราบ

ไม้ล้มลุก

อกเวอโรนิคา ลองกิโฟเลีย (Veronica longifolia) ซึ่งเป็นพืชโตชั่วฤดูชนิดหนึ่ง ไม้ล้มลุก (Herbaceous plant ในภาษาพฤกษศาสตร์เรียกสั้นๆ ว่า “Herb”) เป็นพืชที่ใบและก้านตายราบลงไปถึงดินเมื่อสิ้นฤดูการปลูก พืชโตชั่วฤดูอาจจะเป็นพืชปีเดียว, พืชสองปี หรือไม้ล้มลุกหลายปีก็ได้ พืชโตชั่วฤดูที่เป็นพืชปีเดียวจะตายโดยไม่ฟื้นเมื่อสิ้นฤดูการปลูก หรือเมื่อออกดอกและผลแล้วก็จะปลูกจากเมล็ดได้อีกในฤดูการปลูกของปีต่อมา ไม้ล้มลุกหลายปีและพืชสองปีจะมีก้านที่ตายราบลงเมื่อสิ้นฤดูการปลูกแต่บางส่วนที่ติดดินของยังคงมีเซลล์ที่มีชีวิตอยู่ต่อไปในฤดูที่จะมาถึง (ในกรณีพืชสองปีก็จะมีชีวิตอยู่จนถึงฤดูการปลูกในปีต่อมาก่อนที่จะออกดอกและตาย) ส่วนที่จะโตขึ้นใหม่ในฤดูการปลูกในปีถัดมาจะก่อตัวขึ้นบนดินหรือใต้ดินที่รวมทั้วราก หัว ไรโซม หรือ หน่อ หรือกิ่งใต้ดินแบบต่างๆ ตัวอย่างของพืชโตชั่วฤดูที่เป็นพืชสองปีก็ได้แก่แครอท และ พาร์สนิพ ไม้ล้มลุกหลายปีก็ได้แก่โบตั๋น, ฮอสตา, สะระแหน่ และ เฟิร์นเกือบทุกชนิด ในทางตรงกันข้ามพืชที่ไม่ใช่ไม้ล้มลุกหลายปีจะเป็นไม้แข็ง (woody plant) ที่มีกิ่งเหนือดินที่ยังมีชีวิตอยู่ระหว่างช่วงที่หยุดเจริญเติบโต และแตกหน่อในฤดูการปลูกในปีต่อมาจากกิ่งที่อยู่เหนือดินซึ่งรวมทั้งต้นไม้ ไม้พุ่ม และ ไม้เถา ลักษณะการเติบโตเช่นที่กล่าวนี้เกิดขึ้นในบริเวณภูมิภาคที่อากาศเย็นและมีสี่ฤดูที่ฤดูการปลูกจะอยู่ในช่วงระหว่างฤดูใบไม้ผลิจนถึงฤดูร้อน.

ดู พืชและไม้ล้มลุก

ไม้ประดับ

ปาล์มตัวอย่างไม้ดอก:ดาวเรือง ไม้ประดับ หมายถึงพืชที่ปลูกไว้เพื่อความสวยงาม ใช้ประดับตกแต่งอาคารบ้านเรือนให้เกิดความเจริญตา ส่วนใหญ่ไม้ประดับมักเป็นพืชดอก จึงเรียกรวมกันว่า ไม้ดอกไม้ประดับ ซึ่งความเป็นจริงแล้วไม้ประดับไม่จำเป็นต้องมีดอกก็ได้ เพียงมีใบที่ดูดีหรือมีสีสันสวยงามก็ใช้ได้ ไม้ประดับมีขนาดเล็กหรือขนาดย่อมพอเหมาะแก่พื้นที่จัดตกแต่ง อาจปลูกไว้ในกระถาง ปลูกลงดิน หรือแขวนห้อยไว้ก็ได้ ไม้ประดับมีหลายชนิด ดังเช่น.

ดู พืชและไม้ประดับ

ไลลัก

ลลัก (Lilac) หรือ ซิริงกา (Syringa) เป็นพืชดอกที่อยู่ในสกุลSyringaในวงศ์มะลิที่มีด้วยกันทั้งหมดราว 20 ถึง 25 สปีชีส์ เป็นพืชยืนต้นที่มีถิ่นฐานอยู่ในยุโรปและเอเชียFlora Europaea: Flora of China: Flora of Pakistan: Germplasm Resources Information Network: ไลลักเป็นพืชผลัดใบแบบพืชพุ่มหรือพืชต้นขนาดเล็กที่สูงตั้งแต่ราว 2 ถึง 10 เมตร และมีลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 20 ถึง 30 เซนติเมตร ออกดอกในฤดูใบไม้ผลิต้นฤดูร้อนแล้วแต่สายพันธุ์ แต่ละดอกมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 5 ถึง 10 เซนติเมตร สีม่วงต่าง ๆ ชมพู ขาว นวล และบางครั้งแดงเข้ม.

ดู พืชและไลลัก

ไวรัส

วรัส เป็นศัพท์จากภาษาลาตินแปลว่า พิษ ในตำราชีววิทยาเก่าของไทยอาจเรียกว่า วิสา อันเป็นการทับศัพท์ในยุคแรกจากภาษาสันสกฤตที่แปลว่า พิษ เช่นเดียวกัน ปัจจุบันคำว่า ไวรัส หมายถึงจุลินทรีย์ที่สามารถก่อให้เกิดการติดเชื้อได้ (infectious agents) ทั้งในมนุษย์, สัตว์, พืช และ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เป็นสิ่งมีชีวิตมีเซลล์ (cellular life) ทำให้เกิดโรคที่ส่งผลกระทบกว้างขวาง จึงมีความสำคัญที่จะต้องศึกษาทั้งในทางการแพทย์และทางเศรษฐกิจ ไวรัสเป็นปรสิตอยู่ในร่างของสิ่งมีชีวิตอื่น (obligate intracellular parasite) ไม่สามารถเติบโตหรือแพร่พันธุ์นอกเซลล์อื่นได้ ไวรัสอาจถือได้ว่าเป็นจุลินทรีย์ที่มีลักษณะของการเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงประการเดียวคือสามารถแพร่พันธุ์ หรือการถ่ายทอดสารพันธุกรรมของตนเองจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง อย่างไรก็ตามไวรัสไม่ใช่จุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ยังมีจุลินทรีย์ที่มีขนาดเล็กกว่าไวรัสคือ ไวรอยด์ (viroid) และ พรีออน (prion) ไวรัสชนิดแรกที่ค้นพบคือไวรัสใบยาสูบด่าง(TMV หรือ Tobacco Mosaic Virus) ซึ่งค้นพบโดยมาร์ตินัส ไบเยอรินิค ใน ค.ศ.

ดู พืชและไวรัส

ไวรัสทิวลิปแตกสี

ียนสีน้ำของทิวลิป “Semper Augustus” โดยจิตรกรนิรนามของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เป็นทิวลิปที่ได้ชื่อว่ามีราคาสูงที่สุดที่ขายระหว่างความคลั่งทิวลิป การแตกสีเกิดจากไวรัสที่ทำให้ออกมาเป็นสีต่างๆ ในดอกเดียว ไวรัสทิวลิปแตกสี หรือ ไวรัสทิวลิปโมเสก หรือ ไวรัสลิลลีแตกสี(Tulip breaking virus หรือ Tulip breaking potyvirus หรือ Lily streak virus หรือ Tulip mosaic virus หรือ TBV) เป็นไวรัสพืชที่มีชื่อเสียงจากการทำให้ดอกทิวลิปแตกเป็นสีต่างๆ ในดอกเดียวเมื่อติดเชื้อ ซึ่งเป็นลักษณะของดอกที่เป็นชนวนในการทำให้ราคาหัวทิวลิปที่ค้าขายกันในตลาดหลักทรัพย์ถีบตัวสูงขึ้นจนเกินเลยความจริง ในเหตุการณ์ที่มารู้จักกันว่า “ความคลั่งทิวลิป” ที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในเนเธอร์แลนด์ ในปัจจุบันทิวลิปที่แตกสีเป็นผลมาจากการผสมพันธุ์มิใช่มาจากการติดเชื้อไวรั.

ดู พืชและไวรัสทิวลิปแตกสี

ไฮอะซินท์

อะซินท์ (hyacinth) เป็นดอกไม้ตระกูลที่ปลูกจากหัว (bulbous plants) เดิมจัดอยู่ในวงศ์ลิลี (Liliaceae) แต่ในปัจจุบันถือว่าเป็นตระกูลอิสระของตนเอง “Hyacinthaceae” เป็นดอกไม้ที่มาจากทางตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเรื่อยไปทางตะวันออกจนถึงอิหร่านและเติร์กเมนิสถาน.

ดู พืชและไฮอะซินท์

ไฮเดรนเจีย

รนเจีย (hydrangea) เป็นสกุลของพืชมีดอก 70-75 ชนิดที่เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออก (จีน ญี่ปุ่น คาบสมุทรเกาหลี เทือกเขาหิมาลัย อินโดนีเซีย) อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ ความหลากหลายส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะจีน ญี่ปุ่น คาบสมุทรเกาหลี.

ดู พืชและไฮเดรนเจีย

ไผ่

ผ่ เป็นไม้พุ่มหลายชนิดและหลายสกุลใน วงศ์หญ้า (วงศ์ Poaceae; เดิมคือวงศ์ Gramineae) วงศ์ย่อย Bambusoideae เป็นไม้ไม่ผลัดใบใน ขึ้นเป็นกอ ลำต้นเป็นปล้องๆ เช่น ไผ่จีน (Arundinaria suberecta Munro) ไผ่ป่า (Bambusa arundinacea Willd.) ไผ่สีสุก (B.

ดู พืชและไผ่

ไทเทเนียม

ทเทเนียม (Titanium) เป็นธาตุเคมี มีสัญลักษณ์เป็น Ti มีเลขอะตอมเท่ากับ 22 มีความหนาแน่นต่ำ แข็ง ทนการกัดกร่อน (น้ำทะเล, น้ำประสานทอง (aqua regia) และ คลอรีน) เป็นโลหะทรานซิชันสีเงิน ไทเทเนียมได้รับการค้นพบในคอร์นวอลล์ บริเตนใหญ่ โดย วิลเลียม เกรเกอร์ (William Gregor) ในปี..

ดู พืชและไทเทเนียม

ไข่ดาว (พรรณไม้)

ไข่ดาว (ชื่อวิทยาศาสตร์: Oncoba spinosa Forsk) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 2 - 3 เมตร มีดอกสีขาว กลีบดอกบางกลม หรือรูปไข่ กว้าง 2 - 3 เซนติเมตร มีเกสรเพศผู้เส้นเล็กๆ สีเหลืองจำนวนมากอยู่กลางดอก มีกลิ่นหอมอ่อนๆ หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ หมวดหมู่:วงศ์สนุ่น.

ดู พืชและไข่ดาว (พรรณไม้)

ไข่เน่า (พืช)

น่า หรือ ฝรั่งโคก หรือ ขี้เห็น หรือ คมขวาน เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบชนิดหนึ่ง ขนาดใหญ่ เจริญเติบโตดีในพื้นที่แห้งแล้ง นิยมปลูกเป็นไม้ร่มเงาเพราะไม่ผลัดใบ เริ่มให้ผลผลิตเมื่ออายุ 3-4 ปีหลังปลูก ช่วงพักต้นหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตต้องการความแล้ง ช่วงออกดอกติดผลต้องการน้ำสม่ำเสมอ ดอกติดผลปีละรุ่น ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศผสมตัวเองหรือต่างต้นต่างดอกได้ ออกดอกช่วงเดือน ม..- ก..

ดู พืชและไข่เน่า (พืช)

เบญจมาศ

ญจมาศ หรือ (Chrysanthemum) เป็นไม้ตัดดอกอีกชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกเลี้ยงและใช้กัน มีการซื้อขายมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากกุหลาบ (2537) เนื่องจากเป็นไม้ดอกที่มีรูปทรงสวยงาม สีสันสดใส ปลูกเลี้ยงง่าย และมีหลายพันธุ์ให้เลือก มีถิ่นกำเนิดในประเทศญี่ปุ่นและจีน ดอกเบญจมาศมีอยู่หลายสายพันธุ์ ชนิดเลื่องชื่อคือ เบญจมาศสวน (Chrysanthemum indicum Linn.

ดู พืชและเบญจมาศ

เชอร์รี

อร์รี เป็นผลไม้ชนิดหนึ่ง มีรสชาติหวานอมเปรี้ยว ต้นเชอร์รีเป็นไม้ยืนต้นในสกุล Prunus สกุลย่อย Cerasus เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ชอบอากาศหนาวเย็น ใบเขียวเข้ม ดอกสีขาวอมชมพู ผลกลม ขนาดเล็ก เปลือกมีทั้งสีแดงเข้ม สีส้มและสีเหลือง โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือเชอร์รีหวานกับเชอร์รีหวานอมเปรี้ยว แหล่งที่ปลูกเชอร์รีมากคือทวีปอเมริกา ออสเตรเลีย ยุโรป และญี่ปุ่น.

ดู พืชและเชอร์รี

เชอร์รีสเปน

วามหมายอื่นดูที่: พิกุล เชอร์รีสเปน หรืออาเซโรลา เป็นไม้ผลเมืองร้อน ต้นเป็นกึ่งพุ่มกึ่งต้นไม้ขนาดเล็ก อยู่ในวงศ์ Malpighiaceae มีชื่อสามัญคือ Acerola, Barbados Cherry, West Indian Cherry และ Wild Crapemyrtle.

ดู พืชและเชอร์รีสเปน

เชื้อเพลิง

ม้ เชื้อเพลิงชนิดหนึ่ง เชื้อเพลิง คือวัสดุใดๆ ที่นำไปเผาไหม้หรือแปรเปลี่ยนเพื่อนำมาซึ่งพลังงาน เชื้อเพลิงจะปลดปล่อยพลังงานผ่านปฏิกิริยาทางเคมีเช่นการเผาไหม้ หรือปฏิกิริยานิวเคลียร์เช่นการแตกตัวหรือการรวมตัวของนิวเคลียส อย่างใดอย่างหนึ่ง คุณสมบัติสำคัญของเชื้อเพลิงที่มีประโยชน์คือพลังงานที่มีอยู่สามารถถูกบรรจุและปลดปล่อยได้ตามต้องการ และการปลดปล่อยนั้นถูกควบคุมในทางใดทางหนึ่งเพื่อให้สามารถใช้สร้างงานทางวิศวกรรมได้ สิ่งมีชีวิตที่มีคาร์บอนเป็นพื้นฐาน (carbon-based life) ทุกชนิด คือตั้งแต่จุลชีพไปจนถึงสัตว์รวมทั้งมนุษย์ ใช้เชื้อเพลิงเป็นแหล่งพลังงาน เซลล์ต่างๆ จะต้องเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางเคมีที่เรียกว่า เมแทบอลิซึม (metabolism) ซึ่งดึงเอาพลังงานออกมาจากอาหารหรือแสงอาทิตย์ในรูปแบบที่สามารถใช้ในการดำรงชีวิต นอกจากนั้นมนุษย์ใช้เทคนิคที่หลากหลายเพื่อแปรเปลี่ยนพลังงานรูปแบบหนึ่งไปสู่อีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งการสร้างพลังงานก็เพื่อจุดประสงค์ที่มากไปกว่าพลังงานในร่างกายมนุษย์ การใช้พลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกจากเชื้อเพลิงมีตั้งแต่ การทำความร้อนเพื่อการปรุงอาหาร การผลิตไฟฟ้า หรือแม้แต่การเพิ่มแสนยานุภาพของอาว.

ดู พืชและเชื้อเพลิง

เฟิร์น

ฟิร์น หรือ เฟิน (fern) เป็นหนึ่งในกลุ่มของพืชที่มีราว ๆ 20,000 สปีชีส์ ที่ถูกจำแนกในไฟลัม Pteridophyta หรือ Filicophyta พืชกลุ่มนี้ยังเป็น Polypodiophyta หรือ Polypodiopsida ด้วย เมื่อถือตามส่วนย่อยของพืชมีท่อลำเลียง คำว่า เทอริโดไฟต์ (pteridophyte) ใช้เพื่อกล่าวถึงพืชมีท่อลำเลียงที่ไม่มีเมล็ดทั้งหมด ทำให้มันหมายถึง "เฟิร์นและพืชใกล้เคียงเฟิร์น" ซึ่งสามารถสร้างความสับสนเมื่อสมาชิกของเฟิร์นในส่วน Pteridophyta บางครั้งอ้างเป็นเทอริโดไฟต์ได้ด้วยเหมือนกัน การศึกษาในเรื่องของเฟิร์นและเทอริโดไฟต์อื่น ๆ เรียกว่า วิทยาเฟิร์น (Pteridology).

ดู พืชและเฟิร์น

เฟื่องฟ้า

ฟื่องฟ้า เป็นไม้ยืนต้นประเภทพุ่มกึ่งเลื้อย ขนาดตั้งแต่พุ่มเล็กถึงพุ่มใหญ่ มีหนามขึ้นตามลำต้นอยู่ ใบเดี่ยว แตกออก สลับกับกิ่ง หรือเยื้องกัน มีขนขึ้นปกคลุมเล็กน้อย มีสีเขียวหรือใบด่าง รูปร่างรีแหลมยาว 3-6 ซม.

ดู พืชและเฟื่องฟ้า

เพชรพระอุมา

รพระอุมา เป็นนวนิยายแนวผจญภัยที่มีขนาดความยาวมากที่สุดในประเทศไทย และนับว่าเป็นนวนิยายที่มีความยาวมากที่สุดในโลกรักษ์ชนก นามทอน, เจาะลึกเบื้องหลังเพชรพระอุมา คำนิยมจากบรรณาธิการ, สำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม, 2544 บทประพันธ์โดย พนมเทียน ซึ่งเป็นนามปากกาของนายฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ ตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ และตีพิมพ์ต่อเนื่องในหนังสือพิมพ์รายวัน ใช้ระยะเวลาในการประพันธ์ยาวนานกว่า 25 ปี โดยพนมเทียนเริ่มต้นการประพันธ์เพชรพระอุมาในวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู พืชและเพชรพระอุมา

เพกา

กา (ชื่อสามัญ: Broken Bone tree,Damocles tree,Indian Trumpet Flower; ชื่อวิทยาศาสตร์: Oroxylum indicum (L) Kurz) เป็นพืชในวงศ์แคหางค่าง มีชื่อท้องถิ่นอื่นๆดังนี้: ดอก๊ะ ด๊อกก๊ะ ดุแก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) เบโด (มาเลเซีย-นราธิวาส) มะลิดไม้ มะลิ้นไม้ (เหนือ) ลิ้นฟ้า หมากลิ้นฟ้า บ่าลิ้นไม้ (เลย) เพกาเป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมในอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประเทศไทย โดยพบขึ้นอยู่ตามธรรมชาติในป่าเบญจพรรณและป่าชื้นทั่วๆไป แม้เพกาจะขึ้นอยู่ในหลายประเทศ แต่ดูเหมือนจะมีแต่ชาวไทยเท่านั้นที่นำเพกามากินเป็นผัก เพกาเป็นผักที่อยู่ในหมวดดอกฝัก.

ดู พืชและเพกา

เพอริสโตม

แผนภาพแสดงตำแหน่งเพอริสโตมใน Sarracenia เพอริสโตม ได้มาจากภาษากรีก peri ที่หมายถึง 'โอบล้อม' หรือ 'เกี่ยวกับ' และ stoma ที่หมายถึง 'ปาก' มันถูกใช้ในการพรรณาแบ่งแยกทางโครงสร้างของพืชและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอย่างสัตว์จำพวกหอย หมวดหมู่:กายวิภาคศาสตร์ของพืช หมวดหมู่:พฤกษศาสตร์.

ดู พืชและเพอริสโตม

เกรปฟรูต

กรปฟรูต เป็นไม้ผลกึ่งเขตร้อนในสกุล Citrus ที่เพาะปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผล ซึ่งแต่เดิมเคยเรียกว่า ผลไม้ต้องห้ามแห่งบาร์เบโดส ปกติแล้วไม้ไม่ผลัดใบชนิดนี้จะพบว่าสูงประมาณ 5-6 เมตร แต่ความจริงแล้วสามารถสูงได้ถึง 13-15 เมตร ใบมีสีเขียวเข้ม รูปร่างยาว (มากกว่า 15 เซนติเมตร) และผอม ดอกมี 4 กลีบ สีขาว ขนาด 5 เซนติเมตร ผลมีเปลือกสีเหลือง รูปกลมแป้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร เนื้อผลแบ่งเป็นกลีบ สีเหลืองแบบกรด ผลเป็นที่นิยมตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 ก่อนหน้านั้นเพียงแต่ปลูกเป็นไม้ประดับ สหรัฐอเมริกากลายเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ มีสวนอยู่ในฟลอริดา เท็กซัส แอริโซนา และแคลิฟอร์เนีย ในภาษาสเปน ผลไม้ชนิดนี้รู้จักในชื่อว่า Toronja หรือ Pomelo.

ดู พืชและเกรปฟรูต

เกล็ดปลาหมอ

เกล็ดปลาหมอ มีลักษณะเป็นไม้พุ่ม ลำต้นตรง ลักษณะใบเป็นแบบขนนกเรียงสลับจะมีใบย่อย 3 ใบ ดอกของมันจะเป็นกระจุกที่ซอกใบ มีใบประดับลักษณะคล้ายเกล็ดปลา ประกบหุ้มไว้ 2 ใบ กลีบดอกสีขาว รูปดอกถั่ว ผลเป็นฝักแบนยาว มีสรรพคุณทางสมุนไพร ใช้รากต้มน้ำดื่มเพื่อแก้โรคตับพิการ หมวดหมู่:สมุนไพร หมวดหมู่:วงศ์ย่อยถั่ว.

ดู พืชและเกล็ดปลาหมอ

เกาลัด

กาลัด เป็นไม้ยืนต้นที่อยู่ในสกุล Castanea ที่พบได้ในเขตภูมิอากาศเย็น ซึ่งนิยมเพาะปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจเพื่อจำหน่ายเมล็ดในการบริโภค เป็นพืชคนละวงศ์กับเกาลัดไทย (Sterculia monosperma).

ดู พืชและเกาลัด

เกด

กด หรือ ราชายตนะ เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชื่อเกดปรากฏในวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนและรามเกียรติ์ (เรื่องหลังเป็นพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1) ในพุทธประวัติ ต้นราชายตนะเป็นที่ประทับในสัปดาห์ที่ 7 หลังจากการตรัสรู้.

ดู พืชและเกด

เก๋ากี่

ก๋ากี่ หรือ เก๋ากี้, เก๋ากี๋, เก๋าคี่ (ชื่อทางการค้า: โกจิเบอรี่; Wolfberry) เป็นชื่อทั่วไปที่ใช้เรียกผลไม้ซึ่งมีสปีชีส์ที่ใกล้เคียงกันสองชนิด คือ Lycium barbarum และ L.

ดู พืชและเก๋ากี่

เภสัชศาสตร์

ร้านยาแผนปัจจุบันในประเทศนอร์เวย์ เภสัชศาสตร์ ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยกระบวนการต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องยาบำบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค โดยศึกษาตั้งแต่วัตถุดิบที่จะนำมาผลิตยา การปรุงยา การเก็บรักษา ตลอดจนกระบวนการกระจายยา โดยศึกษาตั้งแต่แหล่งของยา โครงสร้างทางเคมีของยา การผลิตเป็นรูปแบบยาเตรียมต่างๆ การควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพยาและเภสัชภัณฑ์ การวิจัยและการพัฒนายาและเภสัชภัณฑ์ ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร์ เภสัชพลศาสตร์ การใช้ยาทางคลินิกในโรคของระบบต่างๆ อาการไม่พึงประสงค์ของยา การติดตามผลของยา การประเมินการใช้ยา ไปจนถึงการบริหารจัดการเรื่องยาและกฎหมายเกี่ยวกับยา ทั้งนี้ยังครอบคลุมไปถึงเครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สารเสพติด สารพิษ และวัตถุหรือสารออกฤทธิ์ประเภทต่างๆ เภสัชศาสตร์กำเนิดขึ้นควบคู่กับวิวัฒนาการของมนุษยชาติ ในการบำบัดรักษาคนป่วยในสมัยโบราณได้นำพืช สัตว์ และแร่ธาตุในการบำบัดรักษา โดยศึกษาวิธีการจากสิ่งมีชีวิตรอบตัว จนได้มีการจดบันทึกสั่งสมองค์ความรู้สู่การพัฒนาเภสัชตำรับฉบับแรกของโลกโดยชาวสุเมเรียน และได้เริ่มมีการศึกษาฤทธิ์ของยาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้นในสมัยของฮิปโปเครตีส การเรียนการสอนทางเภสัชศาสตร์ในสมัยโบราณเป็นการศึกษาในวงจำกัดของชนชั้นสูงในสังคมอาหรับและการสืบทอดตำราโดยบาทหลวงเท่านั้น จนกระทั่งสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 ทรงประกาศกฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพเภสัชกรรม และการฝึกหัดทางเภสัชศาสตร์ทำให้มีการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบยิ่งขึ้น เภสัชศาสตร์เป็นศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สุขภาพอย่างยิ่ง การเรียนการสอนทางเภสัชศาสตร์เน้นหลักในวิชาการด้านเคมีเป็นส่วนใหญ่ มีการแบ่งสาขาวิชาทางเภสัชศาสตร์จำแนกย่อยอีกหลายสาขา โดยแบ่งเป็นด้านวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม ประกอบด้วยสาขาเภสัชวิทยา เภสัชเวท เภสัชเคมี เภสัชวิเคราะห์และเภสัชภัณฑ์ จวบจนกระทั่งเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้น การผลิตยาจึงได้ประยุกต์สู่ด้านเภสัชอุตสาหกรรมด้วย ด้านเภสัชบริบาลศาสตร์ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการบริบาลผู้ป่วยและดูแลรักษาควบคุมการใช้ ตลอดจนติดตามผลการรักษาจากการใช้ยา ประกอบด้วยสาขาเภสัชกรรมคลินิกและเภสัชกรรมโรงพยาบาล และด้านเภสัชสาธารณสุข เภสัชศาสตร์สังคมและบริหารเภสัชกิจที่ดูแลการใช้ยาในระดับประชากรและการบริหารจัดการเรื่อง.

ดู พืชและเภสัชศาสตร์

เภสัชเวท

ัชเวท (Pharmacognosy) เป็นศาสตร์ทางเภสัชศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับยาอันมีที่มาจากแหล่งธรรมชาติ เภสัชเวทสมาคมแห่งสหรัฐอเมริกาได้ให้คำจำกัดความของเภสัชเวทไว้ว่า "เป็นการศึกษาลักษณะทางกายภาพ, เคมี, ชีวเคมี และคุณสมบัติทางชีวภาพของยา, สารที่นำมาใช้เป็นยาที่มีที่มาจากธรรมชาติ และการวิจัยค้นพบยาใหม่จากแหล่งธรรมชาติ" สมุนไพรที่นำมาใช้เป็นยาได้ภายหลังผ่านกระบวนการทางเภสัชกรรมเราเรียกว่า "เครื่องยา" โดยมีการจัดจำแนกตามคุณสมบัติของเครื่องยาตามวิธีการของศาสตร์ต่างๆ อาทิ เภสัชวิทยา, กลุ่มสารเคมี, การเรียงลำดับตามตัวอักษรละตินและภาษาอังกฤษ เป็นต้น เภสัชเวทเป็นหนึ่งในศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดศาสตร์หนึ่งของทางการแพทย์ และนับเป็นต้นกำเนิดของวิชาเภสัชศาสตร์ ในสมัยโบราณมีการใช้ยาจากธรรมชาติในการบำบัดรักษาเสียทั้งสิ้น ก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมซึ่งนำมาสู่การสังเคราะห์ยาจากสารเคมีทดแทนวิธีการทางธรรมชาติ อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันมีความนิยมการใช้ยาสมุนไพรมากขึ้น ทำให้เภสัชเวทเป็นอีกศาสตร์หนึ่งที่ได้รับการส่งเสริมในปัจจุบัน เภสัชเวทยังครอบคลุมไปถึงการประยุกต์ใช้ทางการแพทย์เช่น ไฟเบอร์, ยาง ในการศัลยกรรมรักษา และการใช้เพื่อควบคุมภูมิคุ้มกันในร่างกาย รวมถึงการใช้เป็นสารปรุงแต่งทางเภสัชกรรม, เครื่องสำอาง.

ดู พืชและเภสัชเวท

เภสัชเคมี

ัชเคมี (Pharmaceutical Chemistry) เป็นสาขาวิชาที่เกิดจากการผสมผสานกันของศาสตร์หลายสาขาโดยเฉพาะเคมีและเภสัชกรรม เพื่อการค้นหาและออกแบบตัวยา เภสัชเคมีจะเกี่ยวข้องกับการศึกษาเอกลักษณ์ทางเคมีของตัวยา การสังเคราะห์ตัวยา และการพัฒนาสารเคมีตัวใหม่ที่เหมาะสำหรับการรักษาโรค รวมถึงการศึกษายาที่มีอยู่เดิมในส่วนของคุณสมบัติทางเคมีกับคุณสมบัติทางเภสัชวิทยา-พิษวิทยา เช่น ความสัมพันธ์เชิงปริมาณระหว่างการออกฤทธิ์และโครงสร้างของยา (Quantitative Structure-Activity Relationship: QSAR) เป็นต้น.

ดู พืชและเภสัชเคมี

เมลามีน

มลามีน Melamine เป็นเบสอินทรีย์ มีสูตรทางเคมีว่า C3H6N6, และชื่อทาง IUPAC ว่า 1,3,5-triazine-2,4,6-triamine เมลามีนเป็นสารที่ละลายน้ำได้เพียงเล็กน้อย เมลามีนเป็นไทรเมอร์ (หรือสารประกอบที่เกิดจากโมเลกุล 3 ตัวที่เหมือนกันแตกเป็นสามขา) ของไซยานาไมด์ (cyanamide) เช่นเดียวกันกับไซยานาไมด์ เมลามีนประกอบด้วยไนโตรเจน 66% (โดยมวล) เป็นสารที่มีคุณสมบัติหน่วงไฟเมื่ออยูในรูปของเรซินด้วยการปลดปล่อยไนโตรเจนออกมาเมื่อลุกใหม้หรือถูกเผา มีการนำเอา Dicyandiamide (หรือ cyanoguanidine), ที่เป็นไดเมอร์ (สองส่วน - dimer) ของไซยานาไมด์มาใช้เป็นสารหน่วงไฟเช่นกัน เมลามีนเป็นสารในกระบวนการสร้างและสลาย (metabolite) ของ “ไซโลมาซีน (cyromazine) ซึ่งเป็นยาฆ่าแมลงชนิดหนึ่ง เป็นสารที่เกิดขึ้นในตัวของสัตว์เลือดอุ่นที่ย่อยไซโลมาซีน มีรายงานด้วยเช่นกันว่าไซโลมาซีนเปลี่ยนเป็นเมลามีนในพื.

ดู พืชและเมลามีน

เมื่อยดูก

มื่อยดูก หรือ เมื่อยแดง() ชื่ออื่นๆได้แก่ เมื่อย ม่วย (นครราชสีมา ตราด) เมื่อยเลือด (หนองคาย) ม่วยแดง (อุบลราชธานี) กำแพงเพชรเจ็ดชั้น (กระบี่)เป็นพืชเมล็ดเปลือยในสกุลมะเมื่อย ลักษณะเป็น ไม้พุ่มรอเลื้อย เถาเป็นไม้เนื้อแข็ง คล้ายมะม่วย แต่ที่สตรอบิลัสจะมีขนสีน้ำตาลปกคลุมชัดเจน เปลือกเถาสีน้ำตาลอ่อน เมล็ดสุกแก่เป็นสีแดงคล้ำ ติดเมล็ดช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม เมื่อยดูกมีฤทธิ์เป็นยาสมุนไพร ใช้ เถา แก้เมื่อย ทำให้เส้นเอ็นหย่อน ทำให้จิตใจชุ่มชื่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้ ลำต้น ดองเหล้าดื่ม แก้ปวดเมื่อย ผสมแก่นกัดลิ้น ลำต้นขมิ้นเครือ และลำต้นพรมคตต้มน้ำดื่ม แก้อัมพฤกษ์ อัมพาต ทางภาคใต้ใช้ ลำต้น ผสมลำต้นตีนเป็ดน้ำ หรือรากหมากหมก ลำต้นเถาเอ็นอ่อน และแก่นกันเกรา ต้มน้ำดื่ม บำรุงเส้นเอ็น ผสมสมุนไพรอื่น ต้มน้ำดื่ม บำรุงโลหิตสตรี.

ดู พืชและเมื่อยดูก

เมแทบอลิซึม

กระบวนการสร้างและสลาย หรือ เมแทบอลิซึม (metabolism) มาจากภาษากรีก μεταβολή ("metabolē") มีความหมายว่า "เปลี่ยนแปลง" เป็นกลุ่มปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในเซลล์สิ่งมีชีวิตเพื่อค้ำจุนชีวิต วัตถุประสงค์หลักสามประการของเมแทบอลิซึม ได้แก่ การเปลี่ยนอาหารและเชื้อเพลิงให้เป็นพลังงานในการดำเนินกระบวนการของเซลล์ การเปลี่ยนอาหารและเชื้อเพลิงเป็นหน่วยย่อยของโปรตีน ลิพิด กรดนิวคลิอิกและคาร์โบไฮเดรตบางชนิด และการขจัดของเสียไนโตรเจน ปฏิกิริยาเหล่านี้มีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เพื่อให้สิ่งมีชีวิตเติบโตและเจริญพันธุ์ คงไว้ซึ่งโครงสร้างและตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม "เมแทบอลิซึม" ยังสามารถหมายถึง ผลรวมของปฏิกิริยาเคมีทั้งหมดที่เกิดในสิ่งมีชีวิต รวมทั้งการย่อยและการขนส่งสสารเข้าสู่เซลล์และระหว่างเซลล์ กลุ่มปฏิกิริยาเหล่านี้เรียกว่า เมแทบอลิซึมสารอินเทอร์มีเดียต (intermediary หรือ intermediate metabolism) โดยปกติ เมแทบอลิซึมแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ แคแทบอลิซึม (catabolism) ที่เป็นการสลายสสารอินทรีย์ ตัวอย่างเช่น การสลายกลูโคสให้เป็นไพรูเวต เพื่อให้ได้พลังงานในการหายใจระดับเซลล์ และแอแนบอลิซึม (anabolism) ที่หมายถึงการสร้างส่วนประกอบของเซลล์ เช่น โปรตีนและกรดนิวคลีอิก ทั้งนี้ การเกิดแคแทบอลิซึมส่วนใหญ่มักมีการปลดปล่อยพลังงานออกมา ส่วนการเกิดแอแนบอลิซึมนั้นจะมีการใช้พลังงานเพื่อเกิดปฏิกิริยา ปฏิกิริยาเคมีของเมแทบอลิซึมถูกจัดอยู่ในวิถีเมแทบอลิซึม (metabolic pathway) ซึ่งสารเคมีชนิดหนึ่งๆ จะถูกเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอนจนกลายเป็นสารชนิดอื่น โดยอาศัยการเข้าทำปฏิกิริยาของใช้เอนไซม์หลายชนิด ทั้งนี้ เอนไซม์ชนิดต่างๆ นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเกิดเมแทบอลิซึม เพราะเอนไซม์จะเป็นตัวกระตุ้นการเกิดปฏิกิริยาเคมีเหล่านั้น โดยการเข้าจับกับปฏิกิริยาที่เกิดเองได้ (spontaneous process) อยู่แล้วในร่างกาย และหลังการเกิดปฏิกิริยาจะมีปลดปล่อยพลังงานออกมา พลังงานที่เกิดขึ้นนี้จะถูกนำไปใช้ในปฏิกิริยาเคมีอื่นของสิ่งมีชีวิตที่ไม่อาจเกิดขึ้นได้เองหากปราศจากพลังงาน จึงอาจกล่าวได้ว่า เอนไซม์ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ทำให้ปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ของร่างกายดำเนินไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ เอนไซม์ยังทำหน้าที่ควบคุมวิถีเมแทบอลิซึมในกระบวนการการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในสิ่งแวดล้อมของเซลล์หรือสัญญาณจากเซลล์อื่น ระบบเมแทบอลิซึมของสิ่งมีชีวิตจะเป็นตัวกำหนดว่า สารใดที่มีคุณค่าทางโภชนาการและเป็นพิษสำหรับสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น โปรคาริโอตบางชนิดใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์เป็นสารอาหาร ทว่าแก๊สดังกล่าวกลับเป็นสารที่ก่อให้เกิดพิษแก่สัตว์ ทั้งนี้ ความเร็วของเมแทบอลิซึม หรืออัตราเมแทบอลิกนั้น ส่งผลต่อปริมาณอาหารที่สิ่งมีชีวิตต้องการ รวมไปถึงวิธีที่สิ่งมีชีวิตนั้นจะได้อาหารมาด้วย คุณลักษณะที่โดดเด่นของเมแทบอลิซึม คือ ความคล้ายคลึงกันของวิถีเมแทบอลิซึมและส่วนประกอบพื้นฐาน แม้จะในสปีชีส์ที่ต่างกันมากก็ตาม ตัวอย่างเช่น กลุ่มกรดคาร์บอกซิลิกที่ทราบกันดีว่าเป็นสารตัวกลางในวัฏจักรเครปส์นั้นพบได้ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่มีการศึกษาในปัจจุบัน ตั้งแต่สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอย่างแบคทีเรีย Escherichia coli ไปจนถึงสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ขนาดใหญ่อย่างช้าง ความคล้ายคลึงกันอย่างน่าประหลาดใจของวิถีเมแทบอลิซึมเหล่านี้เป็นไปได้ว่าอาจเป็นผลเนื่องมาจากวิถีเมแทบอลิซึมที่ปรากฏขึ้นในช่วงแรกของประวัติศาสตร์วิวัฒนาการ และสืบมาจนถึงปัจจุบันเพราะประสิทธิผลของกระบวนการนี้.

ดู พืชและเมแทบอลิซึม

เมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต

มแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต (carbohydrate metabolism) เป็นขบวนการทางชีวเคมีต่าง ๆ ซึ่งเป็นเหตุของการสร้าง การสลาย และการเปลี่ยนแปลงของคาร์โบไฮเดรตในสิ่งมีชีวิต คาร์โบไฮเดรตที่สำคัญที่สุด คือ กลูโคส ซึ่งเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่เกิดเมแทบอลิซึมได้ในสิ่งมีชีวิตแทบทุกชนิดเท่าที่ทราบ กลูโคสและคาร์โบไฮเดรตตัวอื่นมีส่วนในวิถีเมแทบอลิซึมอันหลากหลายในสปีชีส์ต่าง ๆ พืชสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรตจากแก๊สในบรรยากาศโดยการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งเก็บพลังงานที่ดูดซับมาไว้ภายใน มักอยู่ในรูปของแป้งหรือลิพิด ส่วนประกอบของพืชถูกสัตว์หรือฟังไจกิน และใช้เป็นเชื้อเพลิงในการหายใจระดับเซลล์ ออกซิเดชันของคาร์โบไฮเดรตหนึ่งกรัมให้พลังงานประมาณ 4 กิโลแคลอรี พลังงานที่ได้จากเมแมบอลิซึม (นั่นคือ ออกซิเดชันของกลูโคส) มักถูกเก็บไว้ในเซลล์ชั่วคราวในรูปของ ATP สิ่งมีชีวิตซึ่งสามารถหายใจแบบใช้ออกซิเจนสามารถเกิดเมแทบอลิซึมของกลูโคสและออกซิเจนเพื่อปลดปล่อยพลังงาน โดยมีคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำเป็นผลพลอยได้ คาร์โบไฮเดรตประกอบด้วยน้ำตาลซับซ้อนและน้ำตาลอย่างง่าย น้ำตาลเดี่ยวสามารถสลายได้โดยตรงในเซลล์ คาร์โบไฮเดรตซับซ้อนอย่างซูโครส (น้ำตาลโมเลกุลคู่) มีน้ำตาลเดี่ยวมากกว่าหนึ่งตัวในสายโซ่ คาร์โบไฮเดรตพวกนี้ถูกสลายในทางเดินอาหารโดยเอนไซม์เฉพาะที่สลายสายโซ่และให้น้ำตาลเดี่ยวออกมา แป้งเป็นพอลิเมอร์ของหน่วยกลูโคสและถูกสลายเป็นกลูโคส เซลลูโลสเป็นสายโซ่คาร์โบไฮเดรตที่สัตว์บางชนิดไม่สามารถย่อยได้ เช่น มนุษย์ ดังนั้น มนุษย์จึงไม่ได้รับพลังงานจากการทานพืช แบคทีเรียบางชนิดที่ผลิตเอนไซม์ย่อยเซลลูโลสอาศัยอยู่ในทางเดินอาหารของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม เช่น วัว และเมื่อวัวกินหญ้า เซลลูโลสจะถูกแบคทีเรียสลาย และบางส่วนจะถูกปล่อยเข้าสุ่ทางเดินอาหาร คาร์โบไฮเดรตเชื้อเพลิงระยะสั้นอันดับแรกของสิ่งมีชีวิต เพราะคาร์โบไฮเดรตเกิดเมแทบอลิซึมได้ง่ายกว่าไขมันหรือกรดอะมิโนของโปรตีนส่วนที่ใช้เป็นพลังงาน ในสัตว์ คาร์โบไฮเดรตที่สำคัญที่สุด คือ กลูโคส ระดับของกลูโคสถูกใช้เป็นการควบคุมหลักของฮอร์โมนอินซูลินซึ่งเป็นฮอร์โมนศูนย์กลางเมแทบอลิซึม คาร์โบไฮเดรตอย่างง่ายบางชนิดมีวิถีออกซิเดชันด้วยเอนไซม์ของมันเอง เช่นเดียวกับคาร์โบไฮเดรตซับซ้อนอีกเล็กน้อย ตัวอย่างเช่น น้ำตาลโมเลกุลคู่ แล็กโทส ต้องอาศัยเอนไซม์แลกเทสเพื่อสลายได้เป็นองค์ประกอบมอโนแซ็กคาไรด์ ซึ่งสัตว์หลายชนิดขาดเอนไซม์นี้เมื่อโตเต็มวัย คาร์โบไฮเดรตมักถูกเก็บอยู่ในรูปพอลิเมอร์สายยาวที่โมเลกุลกลูโคสต่อกันด้วยพันธะไกลโคซิดิก เป็นโครงสร้างค้ำจุน (นั่นคือ ไคติน เซลลูโลส) หรือเพื่อการเก็บสะสมพลังงาน (นั่นคือ ไกลโคเจน แป้ง) อย่างไรก็ดี ความชอบน้ำอย่างมากของคาร์โบไฮเดรตส่วนมากทำให้การเก็บสะสมคาร์โบไฮเดรตในปริมาณมากไม่มีประสิทธิภาพ เพราะน้ำหนักโมเลกุลที่มากของสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างน้ำกับคาร์โบไฮเดรต ในสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ คาร์โบไฮเดรตที่มากเกินไปจะเกิดแคแทบอลิซึมเป็นประจำเพื่อสร้างอะซิติลโค เอ ซึ่งสามารถเข้าวิถีการสังเคราะห์กรดไขมัน พลังงานระยะยาวตามปกติเก็บสะสมอยู่ในรูปของกรดไขมัน ไตรกลีเซอไรด์และลิพิดอื่น ๆ มากกว่า อย่างไรก็ดี สัตว์ รวมทั้งมนุษย์ ขาดกลไกเอนไซม์ที่จำเป็นในการสังเคราะห์กลูโคสจากลิพิด แม้กลีเซอรอลจะสามารถเปลี่ยนมาเป็นกลูโคสได้ก็ตาม.

ดู พืชและเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต

เมเปิล

มเปิล หรือ ก่วมลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ ดร.ก่องการดา ชยามฤต กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (Acer มาจากภาษาละตินแปลว่า: แหลม,คม หมายถึงปลายแหลมของใบ) คือสกุลของต้นไม้หรือพุ่มไม้ ซึ่งแบ่งได้หลายประเภทในวงศ์เดียวกัน มีประมาณ 125 สปีชีส์ ส่วนมากเป็นพืชในแถบเอเชีย แต่ก็มีบ้างในแถบยุโรป,ตอนเหนือของทวีปแอฟริกาและทวีปอเมริกาเหนือ มันถูกจัดเข้าสู่สกุลครั้งแรกโดย โจเชฟ ปีตตอง เดอ ตัวเนฟอร์ต (Joseph Pitton de Tournefort) นักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในปี..

ดู พืชและเมเปิล

เร่ว

ร่วเป็นพืชล้มลุก มีเหง้าหรือลำต้นอยู่ในดิน จัดเป็นพืชวงศ์เดียวกับ กระวาน ข่า ขิง ชื่อวิทยาศาสตร์:Amomum villosum Wall.

ดู พืชและเร่ว

เลมอน

ลมอน (lemon, เล-มอน, ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus limon) เป็นพืชในสกุลส้มเป็นไม้พุ่ม มีหนามเฉพาะปลายยอด ใบเดี่ยว เมื่อขยี้ใบจะได้กลิ่นหอมแรง ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม ผลรูปกลมรี ปลายผลมีติ่งแหลม ผลอ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีเหลือง เนื้อในฉ่ำน้ำ มีหลายเมล็ด ผลส่วนใหญ่จะใช้สำหรับนำมาทำเป็นน้ำเลมอน ถึงแม้ว่าบางครั้งจะมีการใช้กากและเปลือกในการทำอาหารหรือของหวาน เลมอนมีส่วนประกอบของ กรดซิตริก ประมาณ 5% ซึ่งทำให้เลมอนมีรสชาติที่เปรี้ยว และมีค่า pH ประมาณ 2 ถึง 3 ด้วยความเป็นกรดนี้เลมอนในบางประเทศจะถูกใช้นำเป็นวัตถุในการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ ทดแทนสารที่เป็นกรดอื่นที่ราคาสูงกว่า เลมอนที่นำมาทำเป็นน้ำจะเรียกว่า เลมอนเนด หรือน้ำเลมอน เปลือกเลมอนมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ใช้เป็นส่วนประกอบของขนมหวานเช่น พายเลมอน และนอกจากนี้เลมอนยังถูกนำมาใช้แต่งกลิ่นในน้ำอัดลม เช่น ในเครื่องดื่มยี่ห้อสไปรท์และเซเว่นอัพเปลือกมีสรรพคุณช่วยขับลม รักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียดได้.

ดู พืชและเลมอน

เล็บมือนาง

ล็บมือนาง เป็นไม้เลื้อยดอกหอมเป็นช่อ พบในแถบเอเชีย มีชื่อพื้นเมืองอื่นๆคือ จะมั่ง (เหนือ) จ๊ามั่ง (เหนือ) ไท้หม่อง (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) มะจีมั่ง (เหนือ) และ อะดอนิ่ง (มลายู ยะลา)เต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและเล็บมือนาง

เล็บครุฑ (พรรณไม้)

ำหรับความหมายอื่น ดูที่: เล็บครุฑ เล็บครุฑ (Polyscias) เป็นสกุลของพรรณไม้ยืนต้น ในสกุล Polyscias มีทั้งหมด 114 ชนิดGovaerts, R. & al.

ดู พืชและเล็บครุฑ (พรรณไม้)

เศรษฐีเรือนนอก

รษฐีเรือนนอก L. เป็นไม้ในวงศ์ Anthericaceae มีเหง้าใต้ดิน รากสีขาว อวบน้ำ ใบเป็นแถบยาวสีเขียว ขลิบขาวตามขอบใบ ดอกสีขาว ขนาดเล็ก มีกลิ่นหอม เป็นพืชพื้นเมืองของกาบอง ลักษณะดอกของ ''C.

ดู พืชและเศรษฐีเรือนนอก

เสม็ดขาว

อกเสม็ดขาว เสม็ดขาว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-ใหญ่ สูง 5-25 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ใบอ่อนสีแดง เปลือกสีน้ำตาลแดง มีใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม ใบรูปใบหอกแกมรูปไข่ ดอกสีขาว ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแยกแขนงตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอก ออก ก.พ - เม.ย ผลสดแบบมีเนื้อเมล็ดเดี่ยว ทรงกลม หรือ ไข่สีขาว ผล ออก มี.ค - ม.ย มีประโยชน์ ยอดอ่อน นำมาลวก หรือกินกับผักกับน้ำพริก มีรสเปรี้ยวอมฝาด ใบตำพอกแก้เคล้ดขัดยอกฟกบวม.

ดู พืชและเสม็ดขาว

เสม็ดแดง

ต้นเสม็ดแดง หรือ ไคร้เม็ด เม็ก เม็ดชุน เสม็ด เสม็ดเขา เป็นต้นไม้ มีความสูง 7 เมตร เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ยอดเป็นพุ่มกลม ใบอ่อนสีแดง เปลือกสีน้ำตาลแดง ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม ใบรูปใบหอกแกมรูปไข่ ดอกสีขาว ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแยกแขนงตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอก ออก ก.พ - เม.ย ผลสดแบบมีเนื้อเมล็ดเดี่ยว ทรงกลม หรือ ไข่สีขาว ผล ออก มี.ค - ม.ย ปลูกในสวนสมุนไพร หรือ ให้ร่มเงาในบ้านแข็งแรงและ ดูแลง่าย โดยยอดอ่อน ลวก หรือกินกับผักกับน้ำพริก มีรสเปรี้ยวอมฝาด ใบใช้รับประทานเป็นผักสด กินกับน้ำพริก ขนมจีนหรือข้าวยำ ตำพอกแก้เคล้ดขัดยอกฟกบวม.

ดู พืชและเสม็ดแดง

เสลา

ลา หรือ อินทรชิต (ชื่อวิทยาศาสตร์: Lagerstroemia loudoni Teijsm. & Binn.) เป็นต้นไม้ขนาดกลางโตช้า ผลัดใบ สูง 10-20เมตร เรือนยอดทรงกลมทึบ ใบดก กิ่งโน้มลงรอบทรงพุ่ม เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีรอยแตกเป็นทางยาวตลอดลำต้น ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 6-10 เซนติเมตร ยาว 16-24 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลมเป็นติ่ง โคนมน เนื้อใบหนาปานกลาง เส้นใบมีขนนุ่มทั้งสองด้าน ดอกสีม่วง ม่วงอมชมพู หรือม่วงกับขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง กีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5-8 แฉก กลีบดอกส่วนใหญ่เป็น 6 กลีบ รูปกลมบางยับย่น ขอบย้วย โคนคอดเป็นก้านสั้น ๆ เมื่อบาน เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 เซนติเมตร เกสรตัวผู้จำนวนมาก ผลรูปเกือบกลม ผิวแข็ง ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ผลแห้งแตกตามยาว 5-6 พู เมล็ดสีน้ำตาลเข้มจำนวนมาก มีปีก ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ต้นเสลาขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบ และป่าชายหาด พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง ลงไปถึงจังหวัดประจวบคีรีขัน.

ดู พืชและเสลา

เสลดพังพอน

ลดพังพอนตัวผู้ หรือ ชองระอา ชื่ออื่น พิมเสนต้น (ภาคกลาง) ทองระอา ช้องระอา ลิ้นงูเห่า คันชั่ง (ตาก) อังกาบ อังกาบเมือง (ไทย) ก้านชั่ง (พายัพ) เป็นไม้พุ่ม สีเขียวน้ำตาล สูงเต็มที่ประมาณ 2 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ใบมีลักษณะเรียงแคบ ผิวใบเกลี้ยง เส้นกลางใบมีสีแดง โคนก้านใบมีหนามสีม่วง ดอกช่อสีส้มเหลือง มีกลีบดอก 5 กลีบ เสลดพังพอน เป็นพืชสมุนไพร ใบใช้พอกฝี แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย แก้ช้ำบวม ทั้งต้นใช้แก้ปวดฟัน น้ำคั้นจากใบใช้แก้อาการปวดจากเงี่ยงปลาแทง แก้ปวดฟัน เหงือกบวม ริดสีดวงทวาร ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย ใช้ใบสดกำจัดหู.

ดู พืชและเสลดพังพอน

เสวี่ยเหลียนกว่อ

วี่ยเหลียนกว่อ (Yacon;ชื่อวิทยาศาสตร์: Smallanthus sonchifolius) หรือ ผลบัวหิมะ เป็นพืชหัวใต้ดินคล้ายมันเทศ แต่มีความหนาแน่นของแป้งน้อยกว่า มีปริมาณของน้ำมากกว่า มีรสหวานเฉพาะตัว ต้นสูง 2-3 เมตร เมื่อโตเต็มที่จะแทงดอกสีเหลืองประมาณ 4 – 5 ดอก.

ดู พืชและเสวี่ยเหลียนกว่อ

เสาวรส

วรส หรือ กะทกรกฝรั่ง หรือ กะทกรกสีดา หรือ กะทกรกยักษ์ (Passionfruit, Maracujá) เป็นไม้เถาเลื้อย ถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ บริเวณประเทศบราซิล ปารากวัย อาร์เจนตินา ผลเป็นรูปกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกมีหลายสีแล้วแต่พันธุ์ ทั้งสีม่วง เหลือง ส้ม ชั้นในสุดของเปลือกเป็นเยื่อสีขาวที่เรียกรก ภายในมีเมล็ดสีดำจำนวนมาก อยู่ในเยื่อหุ้มเมล็ดเป็นถุง กลิ่นคล้ายฝรั่งสุก รสเปรี้ยวจัด บางพันธุ์มีรสอมหวาน.

ดู พืชและเสาวรส

เสาวรสสิบสองปันนา

วรสสิบสองปันนา เป็นพืชในวงศ์Passifloraceae เป็นพืชพื้นเมืองในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน เถายาว 1–3 เมตร ดอกสีเขียวและเหลือง เส้นผ่านศูนย์กลาง 3.2–3.8 เซนติเมตรเมื่อบานเต็มที่ มี 1-2 ดอกต่อข้อ เจริญในที่ชื้นและมีแสงแดดส่องถึงในที่สูงถึง 1200 เมตร.

ดู พืชและเสาวรสสิบสองปันนา

เสือ

ือ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ฟิลิดีซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตรและหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ ซึ่งยกเว้นเสือชีต้า เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีสัตว์ที่อยู่ในวงศ์เสือและแมวประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย เสือจัดเป็นสัตว์นักล่าที่มีความสง่างามในตัวเอง โดยเฉพาะเสือขนาดใหญ่ที่แลดูน่าเกรงขราม ไม่ว่าจะเป็นเสือโคร่งหรือเสือดาว ผู้ที่พบเห็นเสือในครั้งแรกย่อมเกิดความประทับใจในความสง่างาม แต่ในขณะเดียวกันก็เกิดความหวาดหวั่นเกรงขามในพละกำลังและอำนาจภายในตัวของพวกมัน เสือจึงได้รับการยกย่องให้เป็นราชาแห่งสัตว์ปา และเป็นจ้าวแห่งนักล่าอย่างแท้จริง เสือ จ้าวแห่งนักล่า, ศลิษา สถาปรวัฒน์, ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, สำนักพิมพ์สารคดี, 2538, หน้า 14 ปัจจุบันจำนวนของเสือในประเทศไทยลดจำนวนลงเป็นอย่างมากในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี เสือกลับถูกล่า ป่าภายในประเทศถูกทำลายเป็นอย่างมาก สภาพธรรมชาติในพื้นที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง ทุกวันนี้ปริมาณของเสือที่จัดอยู่ในลำดับสุดท้ายของห่วงโซ่อาหารถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะการสูญสิ้นหรือลดจำนวนลงอย่างมากของเสือซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและระบบนิเวศทั้งหมด การลดจำนวนอย่างรวดเร็วของเสือเพียงหนึ่งหรือสองชนิดในประเทศไทย ทำให้ปริมาณของสัตว์กินพืชเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้ธรรมชาติเสียความสมดุลในที.

ดู พืชและเสือ

เหลืองจันทบูร

หลืองจันทบูร เป็นกล้วยไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ ชนิดหนึ่ง ออกดอกในช่วง เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ดอกเหลืองจันทบูรเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดจันทบุรี แหล่งกำเนิดอยู่ที่เขาคิชฌกูฏและเขาสอยดาว ลำลูกกล้วยยาว ต้นแก่เป็นสีเหลือง โดยออกดอกตามข้อ มีสองพันธุ์คือพันธุ์ที่ดอกเหลืองล้วน เมื่อแก่สีเข้มเหมือนสีจำปา กับพันธุ์ที่มีแต้มสีม่วงแดง.

ดู พืชและเหลืองจันทบูร

เหลืองคีรีบูน

หลืองคีรีบูน (Nees; อังกฤษ: Lollypops)เป็นพืชในเขตกึ่งร้อน มีสีเขียวตลอดปี ดอกช่อสีเหลือง ออกดอกในช่วงอากาศอบอุ่น เป็นไม้ประดับที่นิยมใช้ในการจัดสวน.

ดู พืชและเหลืองคีรีบูน

เหลืองปรีดียาธร

หลืองปรีดียาธร (Silver trumpet tree, Tree of gold,Paraguayan silver trumpet tree) ไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง จำพวกตาเบบูยา มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลางและหมู่เกาะอินดีสตะวันตก.

ดู พืชและเหลืองปรีดียาธร

เห็ดรา

ห็ดรา (Fungus) คือสิ่งมีชีวิตใดๆ ในกลุ่มยูแคริโอต ซึ่งประกอบด้วยทั้งสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอย่างยีสต์และรา และสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ที่ออกผลคล้ายกับพืช เห็ด สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ถูกจัดลงอยู่ในอาณาจักรเห็ดรา ซึ่งแยกออกจากสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์กลุ่มอื่นๆ ที่เป็นพืชและสัตว์ ลักษณะเฉพาะที่จัดเห็ดราให้อยู่แยกในอาณาจักรอื่นจากพืช แบคทีเรีย และโพรทิสต์บางชนิด คือ ไคตินที่ผนังเซลล์ เห็ดราเหมือนกับสัตว์ตรงที่เป็นสิ่งมีชีวิตเฮเทโรทรอพ กล่าวคือเป็นสิ่งมีชีวิตที่ได้รับอาหารโดยการย่อยโมเลกุลอาหารให้มีขนาดเล็กพอกับเซลล์ และไม่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้เช่นกัน การเติบโตของเห็ดราแสดงถึงการเคลื่อนไหวที่ชัดเจน ยกเว้นสปอร์ ที่อาจจะลอยไปตามอากาศหรือน้ำ เห็ดราเป็นผู้ย่อยสลายหลักในระบบนิเวศ ตามปกติเห็ดราโดยทั่วไปที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน ที่ไม่ว่าจะอยู่ส่วนไหนในอาณาจักรก็ตาม เรียกว่ายูเมโคตา (Eumycota) กลุ่มเห็ดรานี้แตกต่างจาก ไมเซโตซัว (ราเมือก) และโอไมซีต (ราน้ำ) ที่มีโครงสร้างคล้ายกัน การศึกษาเกี่ยวกับเห็ดรา เรียกว่า กิณวิทยา ในอดีตกิณวิทยาถูกจัดเป็นหนึ่งในสาขาของพฤกษศาสตร์ แม้ว่าทุกวันนี้จะเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า เห็ดรามีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับสัตว์มากกว่าพืช เห็ดราพบได้ทั่วโลก แต่ส่วนมากไม่มีความโดดเด่นเพราะมีขนาดเล็ก และมีการพรางตัวในดินหรือบนสิ่งที่ตายแล้ว เห็ดราบางชนิดยังมีการพึ่งพาอาศัยจากพืช สัตว์ เห็ดราประเภทอื่นหรือกระทั่งปรสิต พวกมันจะเริ่มเป็นที่สังเกตได้เมื่อออกผลแล้ว ไม่ว่าจะเป็นเห็ดหรือราก็ตาม เห็ดรามีบทบาทสำคัญในการย่อยสลายสารอินทรีย์และมีบทบาทโดยพื้นฐานในวัฏจักรสารอาหารและการแลกเปลี่ยนในธรรมชาติ พวกมันยังเป็นแหล่งอาหารโดยตรงมานานแล้ว ในรูปของเห็ด เป็นหัวเชื้อในการทำขนมปัง และในการหมักผลิตภัณฑ์หลายๆ อย่าง เช่น ไวน์ เบียร์ และซีอิ๊ว ตั้งแต่ช่วงคริสตทศวรรษที่ 1940 เห็ดราถูกนำมาใช้ในการแพทย์ เพื่อผลิตยาปฏิชีวนะ และล่าสุด นำมาใช้ผลิตเอนไซม์มากมาย ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมและในผงซักฟอก เห็ดรายังถูกใช้เป็นปราบแมลง โรคในพืช และวัชพืชต่างๆ สายพันธุ์มากมายของเห็ดราผลิตสารประกอบที่ออกฤทธิ์กับสิ่งมีชีวิต เรียกว่า ไมโซโทซิน เช่น อัลคาลอยด์และพอลิเคไทด์ ซึ่งเป็นพิษต่อสัตว์ รวมทั้งมนุษย์ โครงสร้างในบางสายพันธุ์ประกอบด้วยสารประกอบที่ออกฤทธิ์ต่อประสาท และถูกใช้บริโภค หรือในพิธีกรรมทางศาสนาแบบดั้งเดิม เห็ดรายังสามารถทำลายโครงร่างของวัตถุดิบและสิ่งก่อสร้างได้ และกลายเป็นเชื้อโรคแก่มนุษย์หรือสัตว์อื่นๆ การสูญเสียไร่เนื่องจากโรคทางเห็ดรา (เช่น โรคไหม้) หรืออาหารที่เน่าเสียสามารถมีผลกระทบขนาดใหญ่กับคลังอาหารของมนุษย์และระบบนิเวศโดยรอบ อาณาจักรเห็ดราประกอบไปด้วยความหลากหลายมากมายด้วยระบบนิเวศ การดำเนินชีวิต และสัณฐาน ตั้งแต่ไคทริดน้ำเซลล์เดียวไปจนถึงเห็ดขนาดใหญ่ ถึงกระนั้น ความหลากหลายทางชีวภาพที่แท้จริงของอาณาจักรเห็ดรายังไม่มีข้อมูลมากนัก ซึ่งได้มีการประมาณจำนวนสายพันธุ์ไว้ที่ 1.5 - 5 ล้านสายพันธุ์ โดยทีเพียง 5 % เท่านั้นที่ได้รับการจำแนกประเภทแล้ว นับตั้งแต่การสำรวจในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 โดยคาร์ล ลินเนียส คริสเตียน เฮนดริก เพอร์ซูน และเอเลียส แมกนัส ฟรีส์ เห็ดราได้ถูกจำแนกประเภทตามสัณฐาน (เช่นสีของสปอร์ หรือลักษณะในระดับเล็กๆ) หรือรูปร่าง ความก้าวหน้าในอณูพันธุศาสตร์ได้เปิดทางให้สำหรับการวิเคราะห์ดีเอ็นเอ เพื่อจัดลำดับตามอนุกรมวิธาน ซึ่งบางครั้งได้ขัดแย้งกับกลุ่มพันธุ์ที่ได้จัดไว้ก่อนในอดีตแล้ว การศึกษาในไม่กี่คริสต์ศตวรรษที่ผ่านมาได้ช่วยให้มีการตรวจสอบการจัดจำแนกประเภทใหม่ภายในอาณาจักรเห็ดรา ซึ่งได้แบ่งออกเป็นหนึ่งอาณาจักรย่อย เจ็ดไฟลัม และสิบไฟลัมย่อ.

ดู พืชและเห็ดรา

เอื้องมัจฉา

อื้องมัจฉา (Lindl.) หรือ มัจฉาลุยไฟ พบได้ทุกที่ของประเทศไทย ส่วนใหญ่พบในป่าดิบแล้งและป่าเบญจพรรณ ต้นเป็นลำสี่เหลี่ยม แผ่นใบค่อนข้างบาง เหนียวคล้ายหนัง ช่อดอกเป็นพวงห้อย เกิดตามข้อ กลีบดอกสีขาว กลีบปากสีเหลืองขอบขาว ดอกบานนาน 3-5 วัน มีกลิ่นอ่อนๆ ลักษณะใกล้เคียงกับเอื้องมัจฉาณุ ต่างกันที่ดอกของเอื้องมัจฉาณุจะมีสีม่วงตามขอบกลีบด้วย มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ อินเดีย จีน ไปจนถึงเวียดนามและลาว.

ดู พืชและเอื้องมัจฉา

เอื้องสำเภางาม

อื้องสำเภางาม (Cymbidium insigne) หรือสำเภางาม เป็นกล้วยไม้ดินขนาดใหญ่ ต้นสั้นมีใบหุ้ม พบเฉพาะตามภูเขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,000 เมตรขึ้นไป ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกยาวมากและตั้งตรง ดอกสีชมพู กลีบปากสั้น สีชมพูและมีจุดเข้ม ปลายกลีบแหลมและบิดเป็นคลื่น กลางกลีบมัสันสีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์ ในไทยพบได้ที่น่าน อุตรดิตถ์และเลย ชนิดที่พบบนเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง และบริเวณอื่นๆทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cymbidium insigne subsp.

ดู พืชและเอื้องสำเภางาม

เอื้องสีตาล

อื้องสีตาล หรือเอื้องแซะดง เอื้องสีจุน เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองในเทือกเขาหิมาลัย ยูนนาน เนปาล รัฐอัสสัม อินเดีย ศรีลังกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู พืชและเอื้องสีตาล

เอื้องคำกิ่ว

อื้องคำกิ่ว หรือเอื้องตีนเป็ด เอื้องตีนนก เอื้องเค้ากิ่ว เป็นกล้วยไม้สกุลDendrobium ลำต้นเจริญแบบแตกกอ มีลำลูกกล้วย เป็นกล้วยไม้อิงอาศัย ระบบรากเป็นแบบรากอากาศ แผ่นใบค่อนข้างหนา ก้านช่อดอกสั้น บางพันธุ์ดอกสีเหลืองล้วน บางพันธุ์มีแต้มสีม่วงเข้ม ขอบกลีบเป็นคลื่นเล็กน้อย ออกดอกช่วงมีนาคมถึงพฤษภาคม พบในป่าดิบแล้งทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไท.

ดู พืชและเอื้องคำกิ่ว

เอื้องตาเหิน

อื้องตาเหิน (Dendrobium infundibulum) เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกแบบกระจะจนาดสั้น ดอกสีขาว ที่กลีบปากมีเส้นสีส้ม ขอบกลีบจักเป็นคลื่น ดอกมีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนกันยายนถึงพฤษภาคม ในไทยพบที่เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน น่าน เลย และสงขล.

ดู พืชและเอื้องตาเหิน

เอื้องน้ำต้น

อื้องน้ำต้นเป็นกล้วยไม้ดินขนาดเล็ก ลำลูกกล้วยเป็นรูปน้ำเต้าทรงแคบ ใบแบนแผ่รูปรี จะทิ้งใบเมื่อผลิดอก ดอกออกเป็นช่อตั้งจากโคนกอ ดอกย่อยบานจากโคนช่อไปหาส่วนปลาย กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีชมพูเข้ม และเปลี่ยนเป็นสีส้มเมื่อใกล้โรยหรือสีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน.

ดู พืชและเอื้องน้ำต้น

เอื้องแปรงสีฟัน

อื้องแปรงสีฟัน (Toothbrush Orchid; Dendrobium secundum) มีชื่อพื้นเมืองอื่นอีกคือ เอื้องสีฟัน, เอื้องหงอนไก่, คองูเห่า เป็นกล้วยไม้ในสกุลหวาย วงศ์กล้วยไม้ เอื้องแปรงสีฟัน เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ช่อดอกแบบกระจะออกที่ปลายกิ่ง มีดอกจำนวนทาก ดอกสีชมพูหรือสีม่วง มักออกดอกเมื่อผลัดใบ ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน มีการกระจายพันธุ์ในประเทศไทย พม่า อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ในไทยพบได้ทุกภาค เช่น ที่สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เลย สกลนคร จันทบุรี.

ดู พืชและเอื้องแปรงสีฟัน

เอื้องไอยเรศ

อื้องไอยเรศ เป็นกล้วยไม้ในประเทศไทยมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchostylis retusa (L.) Blume มีลักษณะมีลำต้นใหญ่แข็งแรงคล้ายกล้วยไม้ช้าง แต่ใบยาวกว่าและแคบกว่า ใบยาวประมาณ 40 เซนติเมตร กว้างประมาณ 4 เซนติเมตร มีทางสีเขียวแก่สลับกับสีเขียวอ่อนตามความยาวของใบคล้ายกล้วยไม้ช้าง ปลายใบมีลักษณะเป็นฟันแหลมไม่เท่ากัน ช่อดอกเป็นรูปทรงกระบอก โค้งห้อยลง ยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร ก้านช่อยาวประมาณ 7-10 เซนติเมตร มีดอกแน่นช่อ ในหนึ่งช่อมีดอกประมาณ 150 ดอก มากกว่ากล้วยไม้ช้าง รูปร่างลักษณะของช่อดอกที่ยาวเป็นรูปทรงกระบอกคล้ายกับลักษณะของพวงมาลัย จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “พวงมาลัย” ต้นใหญ่ๆ มักจะแตกหน่อที่โคนต้น เกิดเป็นกอใหญ่ขึ้นได้ ดอกขนาดมีขนาดประมาณ 1.2-1.5 เซนติเมตร สีพื้นของกลีบนอกและกลีบในของดอกเป็นสีขาว มีจุดสีม่วงประปราย เดือยดอกมีสีม่วงอ่อน แผ่นปากมีลักษณะโค้งขึ้นบนแล้วยื่นไปข้างหน้า มีแต้มสีม่วงตรงกลางแผ่นปากส่วนโคนและปลายสุดแผ่นปากเป็นสีขาว ปลายแผ่นปากเว้า เส้าเกสรเห็นชัด ดอกจะบานอยู่ได้ประมาณ 2 สัปดาห์ ฤดูกาลออกดอกอยู่ในเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม พบได้ในทุกภาคของประเทศไทย เอื้องไอยเรศมีชื่อพื้นเมืองหลายอย่างไม่ว่า ไอยเรศ, เอื้องพวงหางรอก, เอื้องหางฮอก, เอื้องไอยเร.

ดู พืชและเอื้องไอยเรศ

เอื้องเงิน

อื้องเงิน (Dendrobium draconis) หรือ เอื้องตึง เอื้องงุม เป็นกล้วยไม้ที่ลำต้นเจริญทางด้านข้าง ดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อดอกแบบกระจุก ดอกสีขาวเป็นมัน กลีบเลี้ยงสีเหลืองหรือสีแดงขอบกลีบบิดเป็นคลื่น ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม ในไทยพบได้ทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ เช่น ที่ เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เลย สกลนคร เพชรบูรณ์ สระแก้ว กาญจนบุรี.

ดู พืชและเอื้องเงิน

เฮลิโคเนีย

ลิโคเนีย (Heliconia; spp.) เป็นสกุลพันธุ์ไม้ที่มีหลายสายพันธุ์มีชื่อภาษาไทยต่าง ๆ กัน เช่น ธรรมรักษา ก้ามกุ้ง ก้ามกั้ง สร้อยกัทลี เป็นไม้เขตร้อน ที่นิยมใช้เป็นไม้ตัดดอก ไม้กระถาง และตกแต่งสถานที่ ทั้งในและต่างประเทศมีมากมายหลายพันธุ์ เป็นไม้อวบน้ำยืนต้น มีลำต้นใต้ดิน เรียกว่าเหง้า ส่วนของลำต้นเหนือดินเรียกว่า “ต้นเทียม” (pseudostem) ประกอบด้วยส่วนของลำต้น (stem) และใบเมื่อเจริญเต็มที่ มักมีช่อดอก (infloescemce) แทงออกที่ส่วนกลางของต้นเทียม ลำต้นประกอบด้วยกาบใบ (leaf sheath) วางซ้อนสลับไปมา เฮลิโคเนียมีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาและหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียน โดยชื่อ เฮลิโคเนียนำมาจากชื่อ เฮลิคอน ที่เป็นภูเขาสถิตของเทพธิดา 9 พระองค์ที่เรียกว่า มิวส์ (Muses) ซึ่งมีความงามเป็นอมตะเช่นเดียวกับ เฮลิโคเนียที่มีอายุยืนยาว.

ดู พืชและเฮลิโคเนีย

เฮเทโรทรอพ

ทโรทรอพ (Heterotroph เป็นคำสมาสภาษากรีกมาจากคำว่า heterone แปลว่าผู้อื่น และ troph แปลว่าโภชนาการ) คือสิ่งมีชีวิตที่ต้องการอินทรียสารจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อใช้ในการเจริญเติบโตและการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ เฮเทโรทรอพ หรือเรียกกันว่าผู้บริโภคในห่วงโซ่อาหาร เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ซึ่งตรงข้ามกับออโตทรอพที่ต้องการแค่แหล่งพลังงานหรือแหล่งคาร์บอนที่มาจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือไบคาร์บอเนตก็สามารถสร้างอาหารเองได้ โดยไม่ต้องอาศัยสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร สัตว์ทุกชนิดถือว่าเป็นเฮเทโรทรอพ เช่นเดียวกันกับสิ่งมีชีวิตจำพวกเห็ดราหรือฟังไจ รวมถึงแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ และยังมีพืชประเภทกาฝากบางชนิดที่กลายไปเป็นเฮเทโรทรอพบางส่วน หรือเฮเทโรทรอพเต็มตัวก็มี แต่ในขณะที่พืชกินเนื้อนำเหยื่อที่เป็นแมลงไปเป็นแหล่งไนโตรเจนของพวกมัน แต่พืชจำพวกนี้ก็ยังถือว่าเป็นออโตทรอพ สิ่งมีชีวิตจำพวกเฮเทโรทรอพนั้นไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ ดังที่กล่าวข้างต้น นั่นคือ ความไม่สามารถในการสังเคราะห์อินทรียสารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลักจากแหล่งอนินทรียสารในสิ่งแวดล้อมได้ (ดังเช่นการที่สัตว์ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ ต่างจากพืชที่สามารถทำได้) และจึงต้องอาศัยแหล่งอาหารที่มาจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ทั้งออโตทรอพ และเฮเทโรทรอพ การที่จะกำหนดว่าสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใดที่อยู่ในจำพวกเฮเทโรทรอพ สิ่งมีชีวิตสายพันธุ์นั้นจะต้องอาศัยคาร์บอนมาจากอินทรียสารหรือสิ่งชีวิตอื่น แม้ว่าสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์นั้นจะอาศัยไนโตรเจนมาจากอินทรียสารหรือสิ่งมีชีวิตอื่น แต่ยังคงอาศัยคาร์บอนจากอนินทรียสาร ก็ยังถือว่าสายพันธุ์นั้นเป็นออโตทรอพ ถ้าสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใดๆ อาศัยคาร์บอนจากอินทรียสารหรือสิ่งมีชีวิตอื่น จะสามารถแบ่งเฮเทโรทรอพย่อยลงมาตามแหล่งพลังงานของแต่ละสายพันธุ์ได้อีก 2 ประเภทคือ.

ดู พืชและเฮเทโรทรอพ

เจตมูลเพลิงขาว

ตมูลเพลิงขาว (Ceylon Leadwort, doctorbush) หรือ ปิดปิวขาว (ภาคเหนือ) เป็นพืชในวงศ์ Plumbaginaceae มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ เป็นไม้พุ่มเตี้ยหรือไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 1-3 เมตร กิ่งก้านมักทอดยาว ใบรูปไข่ ยาว 3-13 ซม.

ดู พืชและเจตมูลเพลิงขาว

เจตมูลเพลิงแดง

ตมูลเพลิงแดง (Indian leadwort, scarlet leadwort) หรือ ปิดปิวแดง (ภาคเหนือ), ไฟใต้ดิน (ภาคใต้) เป็นพืชในวงศ์ Plumbaginaceae มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 0.5-2 เมตร กิ่งก้านมักทอดยาว ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปรีแกมรูปไข่ ยาว 3-13 ซม.

ดู พืชและเจตมูลเพลิงแดง

เจ้าหญิงรัตติกาล

้าหญิงรัตติกาล เป็นกล้วยไม้ขนาดเล็กและหายาก เป็นพืชพื้นเมืองของหมู่เกาะอินดีสตะวันตก เม็กซิโก เวเนซุเอลาและเปรู ดอกบานและส่งกลิ่นหอมตอนเย็น จำนวนโครโมโซมเป็น 2n.

ดู พืชและเจ้าหญิงรัตติกาล

เทพทาโร

ทพทาโร (ออกเสียง; Kosterm) เป็นต้นไม้หอมชนิดหนึ่งสกุลเดียวกับต้นอบเชย มีต้นขนาดใหญ่ อยู่ในวงศ์ Lauraceae และเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดพังงา เทพทาโรเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลับทึบ สีเขียวเข้ม ลำต้นเรียบไม่มีพูพอน เปลือกต้นสีเทาอมเขียวหรืออมน้ำตาล ค่อนข้างเรียบ แตกเป็นร่องยาวตามลำต้น เมื่อถากเปลือกออกจะมีกลิ่นหอม กิ่งมีลักษณะอ่อนเรียว เกลี้ยงและมักมีคราบขาว ใบเป็นชนิดใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน เป็นใบรูปรีแกมรูปไข่ หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยง ท้องใบมีคราบขาว ปลายใบแหลม โคนใบแหลมและกลม ยาวประมาณ 7 - 20 ซม.

ดู พืชและเทพทาโร

เทียนหยด

ทียนหยด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Duranta repens L.; Duranta erecta L.; ชื่อสามัญ: Sky flower; Golden dew drop; Pigeon berry; Duranta; ชื่อวงศ์: VERBENACEAE) มีชื่อพื้นเมืองหลายชื่อ ได้แก่ เครือ (แพร่); พวงม่วง; ฟองสมุทร; เทียนไข (กรุงเทพฯ); สาวบ่อลด (เชียงใหม่)เป็นไม้พุ่มใบเป็นใบเดี่ยวรูปมนรีเรียว สอบไปทางปลาย ขอบใบเป็นหยักห่างๆออกดอกเป็นช่อห้อยตามปลายยอด ดอกมีสีม่วงมีกลีบดอก 5 กลีบ สามารถติดผลเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กสีเหลืองคล้ายหยดเทียน ใช้ในการปลูกประดับทั่วไป เทียนหยดเป็นพืชที่มีพิษ โดย ผลสีส้มของเทียนหยด เป็นสารประกอบโปรตีนที่มีพิษ ไม่ควรรับประทาน หากรับประทานเข้าไปแล้วเคี้ยว อาจจะทำให้เสียชีวิตได้ (แต่ถ้าหากรับประทานเข้าไปแล้วไม่เคี้ยว จะไม่ก่อให้เกิดอันตราย) ภาพ:thianyot-thai.jpg|เทียนหยดไทย ภาพ:thianyot.jpg|เทียนหยดญี่ปุ่น.

ดู พืชและเทียนหยด

เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่

เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ คือ การใช้กระบวนการทางพันธุศาสตร์เป็น👍เครื่องมือในการปรับปรุงลักษณะที่ต้องการ ที่มีประโยชน์ของพืช สัตว์และจุลินทรีย์ เพื่อการผลิตอาหาร หรือยาโดยวิธีการเพิ่มเข้าไป หรือการเอาออกมาของหน่วยพันธุกรรมที่เลือกแล้ว เพื่อให้เกิดลักษณะตามต้องการ เป็นการเลือกหน่วยพันธุกรรมที่เฉพาะเจาะจง มีความแม่นยำกว่าวิธีปรับปรุงพันธุ์ และเป็นการเพิ่มทางเลือกแก่เกษตรกรที่จะพัฒนาการผลิตพืช หรือสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่เช่นการโคลนนิ่ง ซึ่งการโคลนนิ่งสิ่งมีชีวิตครั้งแรกคือการโคลนนิ่งแกะดอลลี่ โดยจะนำเซลล์ไข่ของแกะดอลลี่ตัวหนึ่งมาแล้วนำนิวเคลียสออก จากนั้นก็นำนิวเคลียสจากตัวต้นแบบมาใส่แทน เมื่อได้แล้วก็นำไปถ่ายฝากในครรภ์ของแกะตัวเมียอีกตัวหนึ่ง เมื่อได้ลูกแกะดอลลี่ออกมาแล้วจะมีลักษณะเหมือนตัวต้นแบบทุกประการ การโคลนนิ่งนี้เป็นการสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศและไม่มีการปฏิสนธิระหว่างเซลล์ไข่และอสุจิ หมวดหมู่:เทคโนโลยีชีวภาพ หมวดหมู่:พันธุศาสตร์.

ดู พืชและเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่

เขากวางอ่อน

ำหรับเขากวางอ่อนที่เป็นเขาสัตว์ของกวาง ดูที่ เขากวาง เขากวางอ่อน เอื้องม้าลาย หรือ เอื้องเขากวางอ่อน ชื่อวิทยาศาสตร์: Phalaenopsis cornu-cervi (Breda) Blume & Rchb.

ดู พืชและเขากวางอ่อน

เขาแกะ

แกะ หรือชื่อพื้นเมืองอื่น เอื้องเขาแกะ, เขาควาย, เอื้องขี้หมา เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดในอินโดจีน.

ดู พืชและเขาแกะ

เขนงนายพราน

นงนายพรานเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ดู พืชและเขนงนายพราน

เข็ม (พืช)

็ม เป็นไม้พุ่มจัดอยู่ในวงศ์ Rubiaceae ลักษณะของดอกจะเกิดจากการอยู่รวมกันเป็นช่อ ๆ มีหลากหลายสี มีคุณค่าทางสมุนไพร ดอกเข็มที่ยังตูมสามารถนำมาชุบแป้งหรือไข่ทอดทานเป็นอาหารได้ เข็มเป็นพืชที่ต้องการแสงแดดจัด ต้องการปริมาณน้ำปานกลาง สามารถทนต่อความแห้งแล้ง การให้น้ำ 3-5 วัน/ครั้ง ชอบดินร่วนซุย ดินร่วนปนทราย มีความชุ่มชื้น ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 0.5-1 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ 5-6 ครั้ง/ปี ขยายพันธุ์โดยการปักชำ การเพาะเมล็ด การตอน วิธีที่ได้ผลดีและนิยมกัน คือ การปักชำและการตอน ไม่ค่อยพบและมีปัญหาเรื่องโรค เพราะเป็นไม้ที่ทนทานต่อโรคได้ดี.

ดู พืชและเข็ม (พืช)

เข็มม่วง

็มม่วง (Violet Ixora; Lindau)เป็นไม้ป่าใน ประเทศ พบมากในป่าทางภาคใต้ เป็นไม้พุ่มเตี้ย สูง ประมาณเมตรเศษๆ ลำต้นเล็ก กิ่งก้านเปราะและมีสาขา ไม่มากนัก ใบยาวรี ผิวใบสาก ออกเป็นคู่ตามข้อต้น ดอกออกเป็นช่อตั้งตามยอด สีม่วง คล้ายดอกเข็ม แต่ ดอกไม่เกาะกลุ่มแน่นอย่างเข็ม ให้ดอกตลอดปี แต่โรยเร็ว ดอกมากในช่วงเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์ด้วยการตอนหรือตัดกิ่งปักชำ เป็นไม้ประดั.

ดู พืชและเข็มม่วง

เข็มอินเดีย

็มอินเดีย (accessdate, Starflower) เป็นไม้พุ่ม ดอกคล้ายดอกเข็ม มี 3 สี คือ สีขาว สีแดง และสีชมพู เข็มอินเดียเป็นไม้พุ่มเตี้ย เนื้ออ่อน ลำต้นสูงประมาณ 18 ฟุต มีขนอยู่ทั่วลำต้นและใบด้วย ลำต้นและกิ่งก้านจะเปราะ ใบรูปมนรี ปลายอาจจะแหลม ยาวประมาณ 1.5 ถึง 2 นิ้ว ดอกเป็นช่อ อยู่ตามยอดของต้นเช่นเดียวกับดอกเข็ม ดอกมี 3 สี คือ สีขาว สีแดง และสีชมพู ทุกส่วนของลำต้นมีขน ทำให้คัน บวมแดง.

ดู พืชและเข็มอินเดีย

เข้าพรรษา (พืช)

้าพรรษา หรือ กล้วยจะก่าหลวง หรือข่าเจ้าคุณวินิจ (dancing ladies หรือ dancing ladies ginger) เป็นพืชดอกในสกุลเทียนพรรษา วงศ์ขิง มีดอกเป็นช่อสีเหลือง มีเหง้าใต้ดิน กาบใบห่อขึ้นมาเป็นลำต้นเทียม ใบเดี่ยว ดอกช่อ มีริ้วประดับรูปไข่แกมรีสีม่วงแดงหรือสีขาวรองรับดอกย่อยสีเหลือง ผลรูปไข่มีสามพูออกดอกช่วงมิถุนายน – ตุลาคม พบในภาคเหนือและภาคกลาง พบครั้งแรกในไทยเมื่อ 4 กันยายน..

ดู พืชและเข้าพรรษา (พืช)

เดลฟินเนียม

ลฟินเนียม (Delphinium) เป็นสกุลพืชที่มีด้วยกันราว 300 สปีชีส์ ที่เป็นพืชโตชั่วฤดูยืนต้นประเภทพืชดอกในวงศ์พวงแก้วกุดั่น เป็นพืชที่มีถิ่นฐานทางซีกโลกตอนเหนือ (Northern Hemisphere) และบนที่สูงในบริเวณเขตร้อนในแอฟริกา ชื่อสามัญ “ลาร์คเสปอร์” ใช้ร่วมกับสกุล Consolida ที่ใกล้เคียงกัน ทรงใบเป็นรูปใบปาล์มเป็นอุ้งเป็นสามถึงเจ็ดแฉก กิ่งดอกชลูดขึ้นไป ขนาดของแต่ละสปีชีส์ก็ต่างกันออกไปที่สูงตั้งแต่ 10 เซนติเมตรไปจนถึงสองเมตร แต่ละก้านก็จะมีดอกรอบกระจายออกไปรอบก้าน สีก็มีตั้งแต่สี่ม่วง, น้ำเงิน, ฟ้า ไปจนถึงแดง เหลือง และขาว แต่ละดอกมีคล้ายกลีบนอกห้ากลีบแต่ติดกันตลอดเหมือนถุงที่มีจะงอยตรงปลาย ภายในกลีบนอกก็จะมีกลีบในสี่กลีบ เมล็ดมีขนาดเล็กและมักจะเป็นสีดำเป็นมัน ดอกบานตั้งแต่ปลายฤดูใบไม้ผลิไปจนถึงปลายฤดูร้อน ผสมพันธุ์โดยผีเสื้อและผึ้ง สปีชีส์ส่วนใหญ่เป็นพิษ.

ดู พืชและเดลฟินเนียม

เดวิด ลิฟวิงสโตน

วิด ลิฟวิงสโตน ดร.

ดู พืชและเดวิด ลิฟวิงสโตน

เครย์ฟิช

ำหรับเครย์ฟิชที่พบในทะเล ดูที่: ล็อบสเตอร์ และกุ้งมังกร เครย์ฟิช หรือ หรือ ล็อบสเตอร์น้ำจืด (10088/1372 Crawdad, Mudbug, Freshwater yabby) เป็นกุ้งน้ำจืดจำพวกหนึ่ง มีรูปร่างโดยรวมลำตัวใหญ่ เปลือกหนา ก้ามใหญ่แลดูแข็งแรง มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ, ทวีปยุโรป, โอเชียเนียและบริเวณใกล้เคียง เช่น อีเรียนจายา และเอเชียตะวันออก ปัจจุบันมีการอนุกรมวิธานเครย์ฟิชไปแล้วกว่า 500 ชนิด ซึ่งกว่าครึ่งนั้นเป็นเครย์ฟิชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่ก็ยังมีอีกหลายร้อยชนิดที่ยังไม่ได้รับการอนุกรมวิธาน อีกทั้งหลายชนิดยังมีความหลากหลายทางสีสันมากอีกด้วย สำหรับในประเทศไทยไม่มีกุ้งในลักษณะเครย์ฟิช ซึ่งกุ้งน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่สุดที่พบในประเทศไทย คือ กุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) ซึ่งในลักษณะกุ้งก้ามกรามนี้ ไม่จัดว่าเป็นเครย์ฟ.

ดู พืชและเครย์ฟิช

เครื่องเทศ

รื่องเทศนานาชนิด เครื่องเทศ หมายถึง ส่วนต่างๆ ของพืชเช่น เมล็ด เปลือกเมล็ด ผล ผิวนอกของผล ใบ ราก ลำต้น ฯลฯ ที่ทำให้แห้ง แล้วนำมาเป็นเครื่องปรุงในอาหาร เพื่อให้ได้รสชาติ สีสัน กลิ่น หรือคุณสมบัติอื่นๆ ที่ต้องการ ด้วยเหตุนี้เราจึงมีเครื่องเทศเป็นจำนวนมาก เช่น กระวาน กานพลู จันทน์เทศ ดีปลี ยี่หร่า หญ้าฝรั่น มะกรูด พริก พริกไทย อบเชย แม้กระทั่ง งา เครื่องเทศมีปรากฏในหลายวัฒนธรรมมาตั้งแต่ครั้งโบราณ เครื่องเทศของไทยแต่เดิมอาศัยพืชผักที่ปรากฏเฉพาะในท้องถิ่นของเรา แต่เมื่อได้ติดต่อกับต่างชาติ ทำให้เรารับเอาเครื่องเทศจากชาติอื่นมาใช้ด้วย ขึ้นชื่อว่าเครื่องเทศมีอยู่ 1 ชนิดที่ถูกกล่าวขานกันว่าเป็นราชาของเครื่องเทศนั้นก็คือพริกไทยมีรสชาติเผ็ดร้อนนิยมใช้กันเป็นเครื่องปรุงและเป็นส่วนประกอบในการทำอาหารชนิดต่างๆ อย่างไรก็ตามในชาติตะวันตก ถือว่าเครื่องเทศเป็นองค์ประกอบสำคัญของอาหาร จึงมีการเดินทางเสาะหาเครื่องเทศจากทั่วโลก ทำให้เกิดการค้าเครื่องเทศขึ้นอย่างจริงจัง และเป็นสาเหตุหนึ่งของการเดินทางสำรวจโลกของชาติตะวันตก นอกจากนี้ยังก่อให้เกิด "เส้นทางสายเครื่องเทศ" ขึ้นอีกด้ว.

ดู พืชและเครื่องเทศ

เงาะ

งาะ (Rambutan; Linn.) เป็นไม้ผลเมืองร้อน มีถิ่น กำเนิดในประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซีย โดยทั่วไปเงาะ เป็นไม้ผลที่เจริญเติบโตได้ดี ในบริเวณที่มีความชื้นค่อนข้างสูง เงาะในประเทศไทย จึงนิยมปลูกในบริเวณภาค ตะวันออกและภาคใต้ อาทิ พันธุ์สีทอง พันธุ์น้ำตาลกรวด พันธุ์สีชมพู พันธุ์โรงเรียน และพันธุ์เจ๊ะมง เป็นต้น แต่ พันธุ์เงาะที่นิยมปลูกเป็นการค้า มีแค่ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีทอง และพันธุ์สีชมพู ส่วนพันธุ์อื่นๆ จะมีปลูก กันบ้างประปรายและโดยมากมักใช้เพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือใช้ประโยชน์ เพื่อการศึกษาทางวิชาการ ในอดีตประ เทศที่ผลิตและส่งออกรายใหญ่ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แต่ปัจจุบันพบว่าประเทศผู้ผลิตใหม่ เช่น ออสเตรเลีย และฮอนดูรัส ได้เข้ามามีส่วนแบ่งในตลาดเพิ่มมากขึ้น.

ดู พืชและเงาะ

เตยหอม

ตยหอม เป็นไม้ยืนต้นพุ่มเล็ก ขึ้นเป็นกอ ลำต้นอยู่ใต้ดิน ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับเวียนเป็นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ใบเป็นทางยาว สีเข้ม ค่อนข้างแข็ง เป็นมันเผือก ขอบใบเรียบ ในใบมีกลิ่นหอมจากน้ำมันหอมระเหย Fragrant Screw Pine สีเขียวจากใบเป็นสีของคลอโรฟิลล์ ใช้แต่งสีขนมได้.

ดู พืชและเตยหอม

เต่าบิน

ต่าบิน หรือ เต่าจมูกหมู หรือ เต่าฟลายริเวอร์ (Pig-nosed turtle, Fly river turtle) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Carettochelys insculpta ซึ่งเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ Carettochelyidae และสกุล Carettochelys รูปร่างทั่วไปคล้ายตะพาบ คือ กระดองหลังอ่อนนุ่ม แต่ไม่มีกระดูกในชั้นหนังเหมือนตะพาบ สีกระดองสีเทา ในวัยเล็กจะเป็นสีชมพูและจะค่อย ๆ เข้มขึ้นตามอายุ บริเวณขอบกระดอกเป็นหยักเหมือนเต่า ใต้ท้องสีขาว ขาทั้ง 4 ข้างแผ่แบนเป็นครีบ มีเล็บ แต่เล็บไม่อาจเคลื่อนไหวได้ เมื่อวายน้ำจะไม่เหมือนกับเต่าอื่น ๆ คือ จะใช้ครีบคู่หน้าเป็นตัวว่าย และครีบคู่หลังควบคุมทิศเหมือนหางเสือ คล้ายกับเต่าทะเลหน้า 359-360, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก (พ.ศ.

ดู พืชและเต่าบิน

เต่ากระ

ต่ากระ หรือ เต่าปากเหยี่ยว (Hawksbill sea turtle) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลังชั้นสัตว์เลื้อยคลาน และเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Eretmochelys มีลักษณะคล้ายเต่าตนุ (Chelonia mydas) โดยที่เป็นเต่าทะเลขนาดกลาง มีลำตัวไม่ใหญ่มากนัก จะงอยปากแหลมงองุ้มคล้ายกับจะงอยปากของนกเหยี่ยว มีเกล็ดบริเวณหัวด้านหน้า 2 คู่ และเกล็ดบริเวณด้านข้างข้างละ 4 เกล็ด ลักษณะของกระดองมีลวดลายและสีสันสวยงาม ขอบกระดองเป็นหยักโดยรอบ ซึ่งในอดีตมักจะถูกนำไปทำเป็นเครื่องประดับและข้าวของต่าง ๆ เช่น หวี เมื่อโตเต็มที่ จะมีขนาดความยาวประมาณ 100 เซนติเมตร และมีน้ำหนักประมาณ 120 กิโลกรัม เต่ากระพบกระจายพันธุ์ในเขตอบอุ่นในมหาสมุทรทั่วทั้งโลก โดยมักอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่งที่สงบเงียบไม่มีการรบกวน จากการศึกษาพบว่า เต่ากระกินทั้งได้พืชและสัตว์ โดยใช้ปากที่งองุ้มนี้กินทั้งสาหร่ายทะเล, หญ้าทะเล รวมทั้งสัตว์น้ำประเภทต่าง ๆ รวมถึงปะการังด้วย วางไข่บนชายหาดครั้งละ 150-250 ฟอง จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 และจัดเป็น 1 ใน 4 ชนิดของเต่าทะเลที่พบได้ในน่านน้ำไท.

ดู พืชและเต่ากระ

เต่าญี่ปุ่น

ต่าญี่ปุ่น หรือ เต่าแก้มแดง (Red-eared slider) เป็นเต่าน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ จัดเป็นชนิดย่อยของเต่าแก้มแดง (T.

ดู พืชและเต่าญี่ปุ่น

เต่าร้างยักษ์น่าน

ต่าร้างยักษ์น่าน (Giant fishtail palm) เป็นปาล์มชนิดที่ค้นพบเป็นแห่งแรกที่จังหวัดน่าน เป็นไม้หายากและใกล้จะสูญพันธุ์ ชึ้นกระจัดกระจาย บนเทือกเขาหลวงพระบางระดับสูง บริเวณดอยภูคา จังหวัดน่าน เป็นปาล์มตระกูลเต่าร้าง ใบมีลักษณะรูปรูปขนนกสองชั้น สีเขียวเข้มเป็นมัน ลักษณะของใบย่อยคล้ายครีบหรือหางปลา เวลาลมพัดใบโบกสะบัดดูงดงามยิ่ง มีกาบหุ้มคอยอดมาก เมื่อโตเต็มที่จะออกลูกจากด้านยอดลงมาหาโคนและลำต้นแม่ก็จะตาย ลำต้นสูงใหญ่สูงได้ถึง 30 ฟุต เป็นเต่าร้างลำต้นเดี่ยว ไม่แตกกอเหมือนเต่าร้างทั่วไป เป็นไม้ต้องการแสงมาก แต่ก็สามารถปรับตัวให้เข้ากับบรรยาศภายในร่มที่มีแสงน้อยได้ จัดเป็นปาล์มชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เป็นพืชที่หายากและใกล้สูญพันธุ์มากชนิดหนึ่ง ในประเทศไทยพบเพียงแห่งเดียวคือ ที่ดอยภูคา จังหวัดน่าน ในป่าดิบเขาที่มีความสูง 1,500-1,700 เมตร ที่มีเมฆหมอกปกคลุมตลอดทั้งปี และยังพบเป็นปริมาณมาก ส่วนในต่างประเทศพบได้ที่รัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย และเชื่อว่ายังมีเหลืออยู่บ้างในป่าดิบเขาของเทือกเขาหลวงพระบางในประเทศลาว จัดเป็นพืชอีกชนิดหนึ่งที่มีกำเนิดมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ร่วมสมัยเดียวกับไดโนเสาร์ ที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันดอยภูคา ป่าแห่งพันธุ์ไม้หายาก, คอลัมน์ "อุทยานแห่งชาติ" โดย จักรพันธุ์ กังวาฬ หน้า 142-156.

ดู พืชและเต่าร้างยักษ์น่าน

เต่าตนุ

ต่าตนุ (Green turtle) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chelonia mydas อยู่ในวงศ์ Cheloniidae และเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Chelonia เป็นเต่าทะเลที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่และมีน้ำหนักมากเมื่อโตเต็มที่ โดยมีความยาวตั้งแต่หัวจรดหางประมาณ 1 เมตร น้ำหนักราว 130 กิโลกรัม หัวป้อมสั้น ปากสั้น เกล็ดเรียงต่อกันโดยไม่ซ้อนกัน กระดองหลังโค้งนูนเล็กน้อย บริเวณกลางหลังเป็นแนวนูนเกือบเป็นสัน ท้องแบนราบขาทั้ง 4 แบน เป็นใบพาย ขาคู่หลังมีขนาดเล็กกว่าขาคู่หน้ามาก ขาคู่หน้ามีเล็บแหลมเพียงข้างละชิ้น สีของกระดองดูเผิน ๆ มีเพียงสีน้ำตาลแดงเท่านั้น แต่ถ้าหากพิจารณาให้ละเอียด จะพบว่าเกล็ดแต่ละเกล็ดของกระดองหลังมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลอมเขียว ขอบเกล็ดมีสีอ่อน ๆ เป็นรอยด่างและมีลายเป็นเส้นกระจายออกจากจุดสีแดงปนน้ำตาล คล้ายกับแสงของพระอาทิตย์ที่ลอดออกจากเมฆ จึงมีชื่อเรียกเต่าชนิดนี้ว่าอีกชื่อหนึ่งว่า "เต่าแสงอาทิตย์" ขณะที่ชาวตะวันตกเรียกว่า "เต่าเขียว" อันเนื่องจากมีกระดองเหลือบสีเขียวนั่นเอง พบกระจายพันธุ์ทั้งในมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบทั้งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน นับเป็นเต่าทะเลชนิดที่พบได้บ่อยที่สุดในน่านน้ำไทย โดยมักพบในเขตที่มีอุณหภูมิน้ำที่ค่อนข้างอุ่น คือ สูงกว่า 20 องศาเซลเซียสขึ้นไป เต่าตนุเป็นเต่าที่กินทั้งพืชและสัตว์ แต่จะกินพืชเป็นหลัก โดยกินอาหารจำพวก หญ้าทะเลหรือสาหร่ายทะเล โดยมีสัตว์น้ำขนาดเล็กทั่วไป เช่น ปลาหรือแมงกะพรุน เป็นอาหารรองลงไป โตเต็มที่เมื่ออายุได้ 4-7 ปี เชื่อว่าอายุยืนถึง 80 ปี ฤดูวางไข่ตกอยู่ในราวเดือนมิถุนายนจนถึงเดือนกันยายนในบริเวณอ่าวไทยและอยู่ในราวเดือนกันยายนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ในทะเลอันดามัน จำนวนไข่ต่อครั้งมีตั้งแต่ 70-150 ฟอง เต่าขนาดโตเต็มที่แล้วจะว่ายน้ำหากินไปเรื่อย ๆ แต่จะกลับมาวางไข่บนชายหาดที่ถือกำเนิด เป็นเต่าที่มักพบในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งหรือตามเกาะต่าง ๆ สำหรับในน่านน้ำไทย พบเต่าชนิดนี้ขึ้นวางไข่มากที่เกาะครามและเกาะกระในอ่าวไทย และทางฝั่งทะเลอันดามันพบวางไข่มากที่อุทยานแห่งชาติตะรุเตา บนชายหาดและเกาะหลายแห่งในจังหวัดภูเก็ตและพังง.

ดู พืชและเต่าตนุ

เต่าแก้มแดง

ต่าแก้มแดง (Pond slider, Common slider) เป็นเต่าน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปอเมริกาเหนือ มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในพื้นที่ชุ่มน้ำแถบรัฐอิลลินอยส์, แม่น้ำมิสซิสซิปปี ไปจนถึงอ่าวเม็กซิโก ลักษณะเมื่อแรกเกิด กระดองจะเป็นสีเขียว เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนไปเป็นสีคล้ำ เท้าทั้ง 4 ข้างมีพังผืดใช้ว่ายน้ำได้ดี ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต โดยที่ตัวผู้จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมียเล็กน้อย กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ ผสมพันธุ์กันในน้ำระหว่างเดือนมีนาคม-มิถุนายน จากนั้นในเดือนสิงหาคม ตัวเมียจะขึ้นมาวางไข่ในหาดทราย ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 60-75 วัน อายุเมื่อพร้อมที่จะผสมพันธุ์ประมาณ 2 ปี และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 30 ปี.

ดู พืชและเต่าแก้มแดง

เฉียงพร้านางแอ

เฉียงพร้านางแอ(หรือ เขียงพร้า,กวางล่ามา(ตราด),บงมั่ง(ปราจีน),แสนฟ้านางแอ,โอ่งนั่ง,บ่งนั่ง(อุดร),วงคต,บงคต,สีฟันนางแอ,เฉียงพร้านางแอ่น,(พายัพ)คอแห้ง,เขียงฟ้า,(ภาคใต้),เขียงพร้านางแอ(ชุมพร),กูมุย(เขมรสุรินทร์)เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง จนถึง ขนาดใหญ่ แตกกิ่งก้านสาขาตรงเรือนยอดของต้น เปลือกต้นเป็นสีดำและขรุขระเล็กน้อย ใบเดี่ยว ออกใบสลับกันไปตามลำต้น มีสีเขียว มีเนื้อที่แข็ง ลักษณะของใบจะคล้ายกับใบไทรย้อย ใบดกและหนาทึบ ดอกออกเป็นช่อ อยู่ตรงส่วนปลายของลำต้น ดอกของต้นเฉียงพร้านางแอนี้มีขนาดเล็ก และมีสีเขียวเหลืองๆ เป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ที่ชอบความชื้นสูง มักขึ้นตามป่าชื้นและที่ลุ่มชื้นแฉะ ขยายพันธุ์ด้วยการตอน และเพาะเมล็ด เปลือก ใช้ปรุงเป็นยาแก้ไข้ระงับความร้อน แก้ไข้กล่อมเสมหะและโลหิต และ ยังแก้พิษร้อนภายในร่างกายแต่จะทำให้กระหายน้ำบ้าง ซึ่งจะมีรสฝาด เย็น และหวานเล็กน้อย (อ้างอิงจาก108สมุนไพรไทย เล่ม3) หมวดหมู่:สมุนไพร หมวดหมู่:วงศ์โกงกาง.

ดู พืชและเฉียงพร้านางแอ

เป็ดพม่า

ป็ดพม่า หรือ เป็ดรัดดี (Ruddy shelduck; ชื่อวิทยาศาสตร์: Tadorna ferruginea) เป็นนกอพยพชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Anatidae พบตามแม่น้ำสายใหญ่ เช่น แม่น้ำโขง นาเกลือ ตามชายทะเล และบึง แพร่กระจายพันธุ์ในทวีปยุโรป, แอฟริกา และเอเชีย ลำตัวมีขนาดใหญ่ ยาว 61-67 เซนติเมตร คล้ายห่าน ขนมีสีน้ำตาลแกมแดงหรือส้มเป็นหลัก ตัวผู้มีสร้อยรอบคอสีดำ ตัวเมียมีใบหน้านวลมากกว่า แต่ตัวเล็กกว่าตัวผู้ มีพฤติกรรมอยู่รวมตัวกันเป็นฝูงใหญ่ บางครั้งอาจถึงพันตัว ในพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ สามารถกินได้ทั้งพืชและสัตว์ขนาดเล็กทั่วไป.

ดู พืชและเป็ดพม่า

เนระพูสีไทย

นระพูสีไทย (Bat flower) เป็นพันธุ์ไม้ล้มลุก มีเหง้าหัว เจริญตามแนวราบใต้พื้นดิน ใบรูปหอกแกมรูปไข่ ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมนหรือเฉียง แผ่นใบสีเขียวเข้มกว่าท้องใบ ก้านใบสีเขียวคล้ำชูขึ้นสูงเหนือพื้นดินยาวประมาณ 1 – 1.5 ฟุต ก้านดอกชูขึ้นมาสูงจากกลางกอ ช่อดอกเป็นแบบช่อกระจุก ดอกออกแน่น ล้อมรอบด้วยใบประดับรูปไข่ 2 ใบ ตรงกลางดอกมีเกสรตัวผู้และตัวเมีย มีสีดำสนิท มีกลีบดอก 2 กลีบ ลักษณะรีรูปทรงกลม รังไข่ใต้วงกลีบดอกด้านในจะเป็นเส้นยาวคล้ายด้ายยื่นห้อยลงมา ดูแล้วคล้ายเส้นด้ายสีดำ หน้าตาดอกเหมือนกับค้างคาวกำลังกระพือปีกในเวลากลางคืน ดอกมีกลิ่นสาบหืน.

ดู พืชและเนระพูสีไทย

เนื้อไม้

หน้าตัดของต้นไม้ ส่วนหมายเลข 3 คือ เนื้อไม้ (ไซเลม) เนื้อไม้ หรือ ไซเลม (xylem) เป็นเนื้อเยื่อของพืชที่ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุต่าง ๆ ไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืช ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่ทำหน้าที่หลักในการลำเลียงน้ำ.

ดู พืชและเนื้อไม้

เนื้อเยื่อ

นื้อเยื่อ ในทางชีววิทยาคือกลุ่มของเซลล์ที่ทำหน้าที่ร่วมกันในสิ่งมีชีวิต วิชาการศึกษาเนื้อเยื่อ เรียกว่า มิญชวิทยา (Histology) หรือ จุลกายวิภาคศาสตร์ (Microanatomy) หรือหากเป็นการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโรคเรียกว่า จุลพยาธิวิทยา (histopathology) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเนื้อเยื่อโดยทั่วไปคือ แท่งขี้ผึ้ง (wax block), สีย้อมเนื้อเยื่อ (tissue stain), กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (optical microscope) ซึ่งต่อมามีการพัฒนาเป็นกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (electron microscopy), immunofluorescence, และการตัดตรวจเนื้อเย็นแข็ง (frozen section) เป็นเทคนิคและความรู้ใหม่ที่เพิ่งกำเนิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ ด้วยเครื่องมือต่างๆ เหล่านี้เราสามารถตรวจพยาธิสภาพ เพื่อการวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้.

ดู พืชและเนื้อเยื่อ

เนื้อเยื่อเจริญ

นื้อเยื่อเจริญ (meristem) คือเนื้อเยื่อในพืชที่ประกอบไปด้วยเซลล์ที่ยังไม่ผ่านการเปลี่ยนสภาพ (เซลล์ที่สามารถแบ่งตัวได้) ซึ่งมักพบในตำแหน่งที่พืชมีการเจริญเติบโต โดยปกติแล้วเซลล์พืชที่ทำการแบ่งตัวแล้วจะไม่สามารถแบ่งตัวออกมาได้อีก เนื้อเยื่อเจริญจึงเป็นองค์ประกอบสำคัญในการแบ่งตัวของเซลล์เนื่องจากประกอบไปด้วยเซลล์ใหม่ที่จะถูกนำไปขยายเนื้อเยื่อและนำไปสู่สร้างอวัยวะใหม่ เพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐานให้กับต้นพืช เซลล์ในเนื้อเยื่อเจริญนั้นมีรูปแบบการทำงานที่คล้ายคลึงกับเซลล์ต้นกำเนิดที่พบในสัตว์ คือมีบางเซลล์ที่ยังไม่ผ่านการเปลี่ยนสภาพ แต่สามารถที่จะทำการแบ่งเซลล์ในภายหลังได้ และเซลล์ทั้งสองประเภทยังมีขนาดเล็กและเต็มไปด้วยโปรโตพลาสซึม ทั้งยังมีแวคิวโอลที่มีขนาดเล็กมาก ส่วนไซโทพลาสซึมนั้นไม่มีพลาสติดที่ผ่านการเปลี่ยนสภาพประกอบอยู่ด้วย (คือคลอโรพลาสหรือโครโมพลาส) แม้ว่าจะโพรพลาสติดซึ่งเป็นขั้นก่อนของพลาสติดอยู่ก็ตาม เซลล์ในเนื้อเยื่อเจริญจะอัดแน่นอยู่ด้วยกันโดยไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์ และจะมีผนังเซลล์ที่บางมาก การดำรงสภาพกลุ่มเซลล์เหล่านี้ต้องการสมดุลระหว่างกระบวนการที่ตรงข้ามกันสองกระบวนการคือการเริ่มสร้างอวัยวะและการแทนที่เซลล์ต้นกำเนิด เนื้อเยื่อเจริญสามารถแบ่งประเภทได้ตามตำแหน่งที่อยู่ แบ่งได้เป็น 3 ประเภทได้แก.

ดู พืชและเนื้อเยื่อเจริญ

Dictamnus

Dictamnus เป็นชื่อสกุลของพืชดอกในวงศ์ส้ม โดยมีอยู่สปีชีส์เดียวคือ Dictamnus albus เป็นที่รู้จักในชื่อต่างๆกัน ได้แก่ Burningbush, False dittany, White dittany และ Gas-plant จัดเป็นพืชสมุนไพรพื้นเมืองของยุโรปตอนใต้ แอฟริกาตอนเหนือ เอเชียกลาง และเอเชียใต้.

ดู พืชและDictamnus

ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ดู พืชและICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง

ICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ดู พืชและICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก

ICD-10 บทที่ 20: สาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตาย

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ดู พืชและICD-10 บทที่ 20: สาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตาย

Lithops

''Lithops'' ภาพ ''การงอกใบใหม่ของ Lithops'' Lithops เป็นพืชชนิดหนึ่งในกลุ่มของพืชอวบน้ำ ชื่อนี้มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก คือ คำว่า "Lithos" ซึ่งแปลว่า "หิน" และ "-ops" ซึ่งแปลว่า "เหมือน" ดังนั้นคำว่า "Lithops" จึงแปลได้ว่า "เหมือนหิน" ซึ่งตรงกับลักษณะของพืชชนิดนี้ เพราะพืชชนิดนี้มีลักษณะเด่นที่แตกต่างจากพืชชนิดอื่นอย่างชัดเจน กล่าวคือทั้งรูปร่าง ลักษณะ สีสัน คล้ายคลึงกับ ก้อนหิน ก้อนกรวด จนมีผู้เรียก Lithops ว่า "หินมีชีวิต" เป็นพืชขนาดเล็ก ขึ้นอยู่ในพื้นที่แห้งแล้ง และอากาศเย็นในเวลากลางคืน ส่วนใหญ่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศนามิเบีย และประเทศแถบแอฟริกาใต้.

ดู พืชและLithops

Nepenthes adrianii

Nepenthes adrianii (ได้ชื่อตามแอดเรียน ยูซูฟ (Adrian Yusuf), ผู้ค้นพบในปี ค.ศ. 2004) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของจังหวัดชวากลางนอกจาก Nepenthes gymnamphora และ N.

ดู พืชและNepenthes adrianii

Nepenthes alata

Nepenthes alata (มาจากภาษาละติน: alatus.

ดู พืชและNepenthes alata

Nepenthes anamensis

Nepenthes anamensis (ภาษาละติน: Anam.

ดู พืชและNepenthes anamensis

Nepenthes argentii

Nepenthes argentii เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดที่สูง (highland) เป็นพืชพื้นเมืองบนภูเขากุดอิง-กุดอิง (Guiting-Guiting) บนเกาะซิบูยันในประเทศฟิลิปปินส์ มันอาจเป็นชนิดที่เล็กที่สุดในสกุล ต้นของมันไม่ปรากฏว่ามีการเลื้อยไต่Jebb, M.H.P.

ดู พืชและNepenthes argentii

Nepenthes attenboroughii

Nepenthes attenboroughii เป็นพืชกินสัตว์ในสกุลหม้อข้าวหม้อแกงลิง ชื่อถูกตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์ เดวิด เอดเทนบอร์ราวฟฮิไอ (David Attenboroughii) พิธีกรสารคดีชื่อดังของบีบีซีในประเทศอังกฤษ ผู้สนใจและกระตือรือร้นต่อสกุลนี้ หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้มีหม้อทรงระฆังหงายทั้งหม้อล่างและบน แต่หม้อบนแคบกว่า ฝาตั้งขึ้นRobinson, A.S., A.S.

ดู พืชและNepenthes attenboroughii

Nepenthes × cantleyi

Nepenthes × cantleyi (ได้ชื่อตาม ร็อบ แคนต์ลีย์ (Rob Cantley) นักอนุรักษ์ธรรมชาติและนักประดิษฐ์หม้อข้าวหม้อแกงลิงปลอม) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธามชาติระหว่าง N.

ดู พืชและNepenthes × cantleyi

Nepenthes × cincta

Nepenthes × cincta (มาจากภาษาละติน: cinctus.

ดู พืชและNepenthes × cincta

Nepenthes × ferrugineomarginata

Nepenthes × ferrugineomarginata (มาจากภาษาละติน: ferrugineus.

ดู พืชและNepenthes × ferrugineomarginata

Nepenthes × hookeriana

Nepenthes × hookeriana (ได้ชื่อตามโยเซพ ดาลตัน ฮุคเกอร์), หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Hooker's Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู พืชและNepenthes × hookeriana

Nepenthes × kuchingensis

Nepenthes × kuchingensis (ได้ชื่อตามเมืองกูชิง รัฐซาราวะก์) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. ampullaria และ N. mirabilis ถึงแม้ว่าจะได้ชื่อตามชื่อเมืองกูชิง แต่หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้กลับกระจายตัวเป็นวงกว้าง พบได้ในเกาะบอร์เนียว, เกาะนิวกินี, มาเลเซียตะวันตก, เกาะสุมาตรา, และประเทศไท.

ดู พืชและNepenthes × kuchingensis

Nepenthes × merrilliata

Nepenthes × merrilliata (เป็นการผสมคำกันระหว่าง merrilliana และ alata) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติของ N. alata และ N. merrilliana มันก็เหมือนกับพ่อและแม่ที่เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของประเทศฟิลิปปินส์ แต่จำกัดการแพร่กระจายตัวในธรรมชาติตามการกระจายตัวของ N.

ดู พืชและNepenthes × merrilliata

Nepenthes × pangulubauensis

Nepenthes × pangulubauensis (มาจากภาษาละติน: pangulubau.

ดู พืชและNepenthes × pangulubauensis

Nepenthes × sarawakiensis

Nepenthes × sarawakiensis (ได้ชื่อตามรัฐซาราวะก์บนเกาะบอร์เนียว) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. muluensis และ N.

ดู พืชและNepenthes × sarawakiensis

Nepenthes × sharifah-hapsahii

Nepenthes × sharifah-hapsahii หรือ Nepenthes × ghazallyana (ได้ชื่อตาม Ghazally Ismail) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. gracilis และ N. mirabilis ถูกบันทึกว่าพบในบอร์เนียว, สุมาตรา และ เพนนิซูล่า มาเลเซียClarke, C.M.

ดู พืชและNepenthes × sharifah-hapsahii

Nepenthes × trichocarpa

Nepenthes × trichocarpa (มาจากภาษากรีก: trikho- "ขน, เส้นด้าย", และ -carpus "ผล"), หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Dainty Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู พืชและNepenthes × trichocarpa

Nepenthes × truncalata

Nepenthes × truncalata (เป็นการผสมคำกันระหว่าง truncata และ alata) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. alata และ N. truncata เป็นพืชถิ่นเดียวของฟิลิปปินส์เหมือนกับพ่อและแม่ แต่จำกัดการกระจายตัวตามธรรมชาติตามการกระจายตัวของ N.

ดู พืชและNepenthes × truncalata

Nepenthes × tsangoya

Nepenthes × tsangoya (ได้ชื่อตาม Peter Tsang) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในเขตร้อนชื้น มันเป็นลูกผสมซ้อนทางธรรมชาติคือ (N. alata × N. merrilliana) × N.

ดู พืชและNepenthes × tsangoya

Nepenthes × ventrata

Nepenthes × ventrata (เป็นการผสมคำกันระหว่าง ventricosa และ alata) เป็นลูกผสมทางธรรมชาติระหว่าง N. alata และ N. ventricosa มันเป็นพืชถิ่นเดียวของฟิลิปปินส์เหมือนกับพ่อแม่ของมัน ชื่อของมันถูกใช้ครั้งแรกใน Carnivorous Plant Newsletter ในปี..

ดู พืชและNepenthes × ventrata

Nepenthes beccariana

Nepenthes beccariana (ได้ชื่อตามโอโดอาร์โด เบคคารี (Odoardo Beccari), นักพฤกษศาสตร์) เป็นพืชเขตร้อนชื้นในสกุลหม้อข้าวหม้อแกงลิง มันถูกจัดจำแนกโดยจอห์น มิวร์เฮด แมกฟาร์แลน (John Muirhead Macfarlane) ในปี..

ดู พืชและNepenthes beccariana

Nepenthes bellii

Nepenthes bellii (ได้ชื่อตาม ซี.อาร์. เบลล์ (C. R. Bell) นักพฤกษศาสตร์ชาวอเมริกัน) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเมืองซูริกาโอ (Surigao) จังหวัดของประเทศฟิลิปปินส์ในมินดาเนา เป็นพืชพื้นราบ ขึ้นสูงจากระดับน้ำทะเล 250 - 800 เมตร N.

ดู พืชและNepenthes bellii

Nepenthes bongso

Nepenthes bongso (จากภาษาอินโดนีเซีย: Putri Bungsu.

ดู พืชและNepenthes bongso

Nepenthes burkei

Nepenthes burkei เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงพื้นเมืองบนเกาะของมินโดโร (Mindoro) ในประเทศฟิลิปปินส์ มันเป็นญาติใกล้ชิดกับ N. sibuyanensis และ N.

ดู พืชและNepenthes burkei

Nepenthes campanulata

Nepenthes campanulata (มาจากภาษาละติน: campanulatus.

ดู พืชและNepenthes campanulata

Nepenthes carunculata

Nepenthes carunculata (caruncula เล็ก/แคระ caro.

ดู พืชและNepenthes carunculata

Nepenthes chaniana

Nepenthes chaniana (ได้ชื่อตาม ซี.แอล. เชน (C.L. Chan), กรรมการผู้จัดการของโรงพิมพ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ (บอร์เนียว)) เป็นพืชที่สูง ที่อยู่ในสกุลหม้อข้าวหม้อแกงลิง มีขนสีขาวหนาและยาว หม้อรูปทรงกระบอกมีสีขาวถึงเหลือง เป็นเวลานานมากที่หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้ถูกระบุผิดเป็น N.

ดู พืชและNepenthes chaniana

Nepenthes copelandii

Nepenthes copelandii (ได้ชื่อตาม อี.บี. คอปแลนด์ (E. B. Copeland), ผู้ดูแลหอพรรณไม้กรุงมะนิลา) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงท้องถิ่นของเกาะมินดาเนาในประเทศฟิลิปปินส์ มันเป็นพืชถิ่นเดียวของภูเขาอาโป (Apo) ใกล้เมืองดาเวา (Davao) และภูเขาพาเซียน (Pasian) ใกล้บิสลิก (Bislig) กายวิภาคของประชากรหม้อข้าวหม้อแกงลิงในถิ่นอาศัยทั้งสองที่ ต่างกันน้อยมาก N.

ดู พืชและNepenthes copelandii

Nepenthes danseri

Nepenthes danseri (ได้ชื่อตาม บี.เอช. แดนเซอร์ (B. H. Danser), นักพฤกษศาสตร์) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของฮัลมาเฮรา เกาะที่ใหญ่ที่สุดของหมู่เกาะโมลุกกะ และชายฝั่งด้านเหนือของเกาะไวเกียว (Waigeo) Listed as Vulnerable (VU B1+2b v2.3).

ดู พืชและNepenthes danseri

Nepenthes densiflora

Nepenthes densiflora (มาจากภาษาละติน: densus.

ดู พืชและNepenthes densiflora

Nepenthes distillatoria

Nepenthes distillatoria (จากภาษาละติน: destillo.

ดู พืชและNepenthes distillatoria

Nepenthes eymae

Nepenthes eymae เป็นพืชกินสัตว์ในสกุล หม้อข้าวหม้อแกงลิง มีถิ่นอาศัยเฉพาะในภูเขากลางเกาะซูลาเวซี เป็นญาติใกล้ชิดกับ N.

ดู พืชและNepenthes eymae

Nepenthes fallax

Nepenthes fallax (มาจากภาษาละติน: fallax.

ดู พืชและNepenthes fallax

Nepenthes flava

Nepenthes flava มาจากภาษาละติน flava แปลว่า "สีเหลือง" เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวทางด้านเหนือของสุมาตรา หม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดรู้จักกันมานานในชื่อ "Nepenthes spec.

ดู พืชและNepenthes flava

Nepenthes fusca

Nepenthes fusca (มาจากภาษาละติน: fuscus.

ดู พืชและNepenthes fusca

Nepenthes glabrata

Nepenthes glabrata (ภาษาละติน: glaber.

ดู พืชและNepenthes glabrata

Nepenthes glandulifera

Nepenthes glandulifera (จากภาษาละติน: glandis.

ดู พืชและNepenthes glandulifera

Nepenthes globosa

Nepenthes globosa มาจากภาษาละติน globosus แปลว่า "กลมคล้ายผลส้ม" เป็นพืชถิ่นเดียวพบได้ตามหมู่เกาะทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย เช่นเกาะพระทองเป็นต้น มันมีบางส่วนที่คล้ายกับ N.

ดู พืชและNepenthes globosa

Nepenthes gracilis

Nepenthes gracilis (มาจากภาษาละติน: gracilis.

ดู พืชและNepenthes gracilis

Nepenthes gracillima

Nepenthes gracillima (มีรากศัพท์มาจากคำในภาษาละติน: เป็นขั้นสุดของ gracilis "ยาว, เรียว") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูง เป็นพืชพื้นเมืองของเพนนิซูล่า มาเลเซียClarke, C.M.

ดู พืชและNepenthes gracillima

Nepenthes gymnamphora

Nepenthes gymnamphora (มาจากภาษากรีก: gymnos.

ดู พืชและNepenthes gymnamphora

Nepenthes hamata

Nepenthes hamata (มาจากภาษาละติน: hamatus.

ดู พืชและNepenthes hamata

Nepenthes hurrelliana

Nepenthes hurrelliana (ได้ชื่อตามแอนดริว เฮอร์เรลล์ (Andrew Hurrell), นักพฤกษศาสตร์) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงจากบอร์เนียว พบได้ในตอนเหนือของรัฐซาราวะก์, บรูไน และตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐซาบะฮ์ N.

ดู พืชและNepenthes hurrelliana

Nepenthes izumiae

? ''N. izumiae'' × ''N. jacquelineae'' Nepenthes izumiae เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดที่สูง เป็นพืชพื้นเมืองของสุมาตรา และเป็นญาติใกล้ชิดกับ N.

ดู พืชและNepenthes izumiae

Nepenthes lamii

Nepenthes lamii (ได้ชื่อตามเฮอร์แมน โจฮันนีส์ แลม (Herman Johannes Lam)) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่พบบนเกาะนิวกินี เหนือจากระดับน้ำทะเล 3 กิโลเมตร สูงกว่าหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดอื่นJebb, M.H.P.

ดู พืชและNepenthes lamii

Nepenthes macfarlanei

Nepenthes macfarlanei (ได้ชื่อตามจอห์น มิวร์เฮด แมกฟาร์แลน (John Muirhead Macfarlane), นักพฤกษศาสตร์) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเพนนิซูล่า มาเลเซีย มันมีหม้อเป็นจุด สีแดง หม้อล่างเป็นรูปไข่ถึงรูปทรงกระบอก สูงประมาณ 20 เซนติเมตร ผิวล่างของฝาปกคลุมด้วยขนสีขาว สั้น อย่างหนาแน่น นี่คือรูปล่างลักษณะของหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดนี้ แต่เรายังไม่รู้ว่าขนนั้น มีไว้ทำอะไร.

ดู พืชและNepenthes macfarlanei

Nepenthes mantalingajanensis

Nepenthes mantalingajanensis (มาจากภาษาPalawano: mantalingahan.

ดู พืชและNepenthes mantalingajanensis

Nepenthes maxima

Nepenthes maxima (มาจากภาษาละติน: maximus.

ดู พืชและNepenthes maxima

Nepenthes merrilliana

Nepenthes merrilliana (ได้ชื่อตาม Elmer Drew Merrill) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงพื้นราบ (lowland) ที่พบได้ในประเทศฟิลิปปินส์ มันอาจมีหม้อขนาดใหญ่ที่สุดในสกุลซึ่งเป็นคู่แข่งกับ N.

ดู พืชและNepenthes merrilliana

Nepenthes mindanaoensis

Nepenthes mindanaoensis มาจากภาษาละติน Mindanao เกาะฟิลิปปินส์ -ensis แปลว่า "จาก" เป็นพืชถิ่นเดียวบนเนินเขาศิลาแลงบนเกาะมินดาเนาในประเทศฟิลิปปินส์ เป็นญาติใกล้ชิดกับ N.

ดู พืชและNepenthes mindanaoensis

Nepenthes mira

Nepenthes mira (มาจากภาษาละติน: mirus "มหัศจรรย์") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงถิ่นเดียวของพาลาวันในประเทศฟิลิปปินส์ เติบโตที่ระดับความสูง 1500 ถึง 2000 ม.จากระดับน้ำทะเล N.

ดู พืชและNepenthes mira

Nepenthes naga

Nepenthes naga เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวจากภูเขาบาริซาน ในสุมาตรา มันมีลักษณะพิเศษคือมีรยางค์ปลายง่ามใต้ฝาและขอบฝาเป็นคลื่นAkhriadi, P., Hernawati, A.

ดู พืชและNepenthes naga

Nepenthes paniculata

Nepenthes paniculata (ภาษาละติน: panicula.

ดู พืชและNepenthes paniculata

Nepenthes pectinata

Nepenthes pectinata (จากภาษาละติน: pectinata.

ดู พืชและNepenthes pectinata

Nepenthes peltata

Nepenthes peltata (ภาษาละติน: peltatus.

ดู พืชและNepenthes peltata

Nepenthes petiolata

Nepenthes petiolata (มาจากภาษาละติน: petiolatus "มีก้านใบ") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเกาะมินดาเนาในประเทศฟิลิปปิน.

ดู พืชและNepenthes petiolata

Nepenthes philippinensis

Nepenthes philippinensis (จากภาษาละติน: Philippin.

ดู พืชและNepenthes philippinensis

Nepenthes platychila

Nepenthes platychila (มาจากภาษากรีก: platus "แบนราบ", cheilos "กลีบปาก") เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของภูเขาฮอส (Hose) รัฐซาราวะก์ตอนกลาง มีเพอริสโตมเรียบลื่น หม้อบนทรงกรว.

ดู พืชและNepenthes platychila

Nepenthes rafflesiana

Nepenthes rafflesiana (ได้ชื่อตามโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์) หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Raffles' Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู พืชและNepenthes rafflesiana

Nepenthes rajah

Nepenthes rajah (มาจากภาษามลายู: rajah.

ดู พืชและNepenthes rajah

Nepenthes sanguinea

Nepenthes sanguinea (จากภาษาละติน: sanguineus.

ดู พืชและNepenthes sanguinea

Nepenthes saranganiensis

Nepenthes saranganiensis (มาจากภาษาละติน: Sarangani.

ดู พืชและNepenthes saranganiensis

Nepenthes singalana

Nepenthes singalana (ได้ชื่อตามภูเขา Singgalang, สุมาตราตะวันตก) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงของสุมาตรา มีญาติใกล้ชิดคือ N. diatas และ N.

ดู พืชและNepenthes singalana

Nepenthes spathulata

Nepenthes spathulata เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงพื้นเมืองของเกาะชวาและเกาะสุมาตรา ขึ้นที่ระดับความสูง 1100 ถึง 2900 ม.จากระดับน้ำทะเล ชื่อ spathulata มาจากภาษาละตินจากคำว่า spathulatus หมายถึง "มีรูปร่างเหมือนช้อนปากแบนกว้าง" ซึ่งหมายถึงรูปทรงของแผ่นใบClarke, C.M.

ดู พืชและNepenthes spathulata

Nepenthes spectabilis

Nepenthes spectabilis เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของสุมาตรา เติบโตที่ระดับความสูง 1400 ถึง 2200 ม.จากระดับน้ำทะเล ชื่อ spectabilis มาจากภาษาละตินแปลว่า "เด่น" หรือ "สะดุดตา"Clarke, C.M.

ดู พืชและNepenthes spectabilis

Nepenthes stenophylla

Nepenthes stenophylla หรือ Narrow-Leaved Pitcher-Plant,Phillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู พืชและNepenthes stenophylla

Nepenthes surigaoensis

Nepenthes surigaoensis เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงทีมีถิ่นกำเนิดในประเทศฟิลิปปินส์ ได้ชื่อตามจังหวัดสุรีกาล์ว (Surigao) บนเกาะมินดาเนา สถานที่ตัวอย่างต้นแบบถูกเก็บได้ N.

ดู พืชและNepenthes surigaoensis

Nepenthes talangensis

Nepenthes talangensis (มาจากภาษาละติน: Talang.

ดู พืชและNepenthes talangensis

Nepenthes tenax

Nepenthes tenax (ภาษาละติน: tenax.

ดู พืชและNepenthes tenax

Nepenthes tentaculata

Nepenthes tentaculata (ภาษาละติน: tentacula.

ดู พืชและNepenthes tentaculata

Nepenthes tomoriana

Nepenthes tomoriana (ได้ชื่อตาม Tomori Bay, จากตัวอย่างแรกเริ่ม) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของเกาะซูลาเวซี.

ดู พืชและNepenthes tomoriana

Nepenthes treubiana

Nepenthes treubiana (ได้ชื่อตาม Melchior Treub) พบในป่าริมเกาะ Sorong และเกาะ Misool ทางชายฝั่งตะวันตกของ เกาะนิวกินีเป็นญาติใกล้ชิดกับ N. rafflesiana.

ดู พืชและNepenthes treubiana

Nepenthes truncata

Nepenthes truncata (มาจากภาษาละติน: truncatus.

ดู พืชและNepenthes truncata

Nepenthes veitchii

Nepenthes veitchii (ถูกตั้งชื่อตาม George Veitch, ผู้เป็นเจ้าของ Veitch Nurseries), หรือ Veitch's Pitcher-PlantPhillipps, A. & A. Lamb 1996.

ดู พืชและNepenthes veitchii

Nepenthes ventricosa

Nepenthes ventricosa (มาจากภาษาละตินใหม่: ventricosus.

ดู พืชและNepenthes ventricosa

Nepenthes vieillardii

Nepenthes vieillardii (ได้ชื่อตาม Eugène Vieillard ผู้เก็บต้นไม้จากนิวแคลิโดเนียและ Tahiti ระหว่าง ค.ศ. 1861 ถึง 1867) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของนิวแคลิโดเนีย กระจายไปทางฝั่งตะวันออกมากกว่าหม้อข้าวหม้อแกงลิงชนิดอื่น มีถิ่นอาศัยในป่าแล้งเขตร้อน พบว่ายุงในสกุล Tripteroides แพร่พันธุ์ในหม้อของพืชชนิดนี้.

ดู พืชและNepenthes vieillardii

Nepenthes vogelii

Nepenthes vogelii (ได้ชื่อตาม Art Vogel, นักพฤกษศาสตร์และผู้จัดการเรือนกระจกของ Hortus Botanicus Leiden) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงถิ่นเดียวของรัฐซาราวะก์, เกาะบอร์เนียว ปรากฏความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ N.

ดู พืชและNepenthes vogelii

Nepenthes xiphioides

Nepenthes xiphioides (จากภาษากรีก/ภาษาละติน: xiphos.

ดู พืชและNepenthes xiphioides

RNA interference

RNA interference RNA interference หรือ RNAi เป็นกระบวนการในการควบคุมการแสดงออกของลักษณะทางพันธุกรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งพบทั้งในพืช สัตว์ และมนุษย์ โดยอาศัยการทำงานของชิ้นส่วน double strand RNA (dsRNA) ซึ่งเมื่อผ่านกระบวนการต่าง ๆ แล้ว จะมีผลไปยับยั้งการทำงานของ messenger RNA (mRNA) ของยีนหนึ่ง ๆ อย่างจำเพาะ จึงมีผลยับยั้งการทำงานของยีนนั้นได้.

ดู พืชและRNA interference

Tabernaemontana

Tabernaemontana orientalis Tabernaemontana เป็นสกุลของพืชมีดอกในวงศ์ตีนเป็ด มี 100-110 สปีชีส์ เป็นพืชที่กระจายตัวในเขตร้อน เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ ใบเรียงตรงข้าม ยาว 3–25 เซนติเมตร ยางขาวเหมือนน้ำนม จึงมักเรียกพืชในสกุลนี้ว่า "milkwood" ดอกมีกลิ่นหอม สีขาว พุดจีบ (Tabernaemontana divaricata cv.

ดู พืชและTabernaemontana

หรือที่รู้จักกันในชื่อ PlantPlantaeVegetabiliaอาณาจักรพืชพืชสีเขียวพืชพรรณ

ช่อครามน้ำช้องนางช้องแมวช้างกระฟักทองฟักข้าวฟักแม้วฟ้าทะลายโจร (พืช)พญายอพญาสัตบรรณพญาคชราชพยับหมอกพรมกำมะหยี่พรมออสเตรเลียพระจันทร์ครึ่งซีกพระเจ้าห้าพระองค์ (พืช)พริกพริกชี้ฟ้าพริกขี้หนูพริกไทยพฤกษศาสตร์พลับพลับพลึงพลับพลึงตีนเป็ดพลับพลึงแดงพวงชมพูพวงหยกพวงทองต้นพวงครามพวงแสดพวงไข่มุกพอโลเนียพะยอมพะยูงพันธุศาสตร์พันธุ์พื้นเมืองพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทยพิกุลพิลังกาสาพิสตาชีโอพืชพืชบกพืชกินสัตว์พืชอวบน้ำพืชดอกพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวพืชไม่มีท่อลำเลียงพุทราอินเดียพุทธชาดพุทธรักษาญี่ปุ่นพุดชมพูพุดพิชญาพุดสามสีพุดจีบพุดทุ่งพุดตะแคงพุดตานพุดซ้อนพุดน้ำบุษย์กกอียิปต์กรรณิการ์กรวยบ้านกระบองเพชรกระชายกระชายดำกระสังกระจูดกระถินณรงค์กระถินเทพากระทิง (พรรณไม้)กระทือกระท่อม (พืช)กระท้อนกระดังงากระดังงาสงขลากระดุมทองเลื้อยกระดุมเงินกระต่ายกระแตใต้กระโถนพระรามกระโถนพระฤๅษีกระโถนนางสีดากระเจียวกระเจี๊ยบกระเจี๊ยบเปรี้ยวกระเทียมกระเทียมต้นกระเทียมเถากรดอะมิโนกลอยกลอสซอพเทอริสกลูโคสกล้วยบัวสีชมพูกล้วยพัดกล้วยหอมกล้วยไม้กล้วยไม้ดินกะพ้อกะทกรกกะเพรากะเพราควายกะเรกะร่อนปากเป็ดกัญชากัญชงกัลปพฤกษ์กันภัยมหิดลกันเกราการรับรู้รสการสังเคราะห์ด้วยแสงการจัดสวนการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์การคายน้ำการเวก (พืช)กาหลงกาฬพฤกษ์กานพลูกำลังช้างสารกำแพงเงินกุยช่ายกุหลาบกุหลาบกระเป๋าปิดกุหลาบมอญกุหลาบอินทจักรกุหลาบควีนสิริกิติ์กุหลาบน่านกุหลาบเมาะลำเลิงกุหลาบเหลืองโคราชก้ามปูก้ามปูหลุดฝรั่งฝ้ายฝ้ายคำภูมิศาสตร์มหาพรหมราชินีมหาหงส์มอสส์มะพร้าวมะพร้าวแฝดมะพลับมะกรูดมะกล่ำตาช้างมะกล่ำตาหนูมะกอกมะกอกโคกมะม่วยมะม่วงมะม่วงหิมพานต์มะยมมะระมะรุมมะละกอมะลิมะลิลามะลิวัลย์มะลุลีมะหลอดมะหาดมะฮอกกานีใบใหญ่มะจอเต๊ะมะขวิดมะขามมะขามป้อมมะดันมะคำดีควายมะค่าโมงมะตาดมะตูมมะปรางมะป่วนมะนาวมะนาวไม่รู้โห่มะแว้งต้นมะไฟมะเฟืองมะเกลือมะเขือยาวมะเขือเทศมะเขือเทศราชินีมะเดื่อมะเดื่อชุมพรมังกรคาบแก้วมังคุดมังเคร่ช้างมันฝรั่งมันสำปะหลังมันแกวมันเทศมามอนซีโยมาลัยแดงมิญชวิทยาม้ากระทืบโรงยาสูบ (พืช)ยางพารายาปฏิชีวนะยูคาลิปตัสยูแคริโอตยี่โถยี่โถปีนังย่าหยา (พืช)ย่านลิเภารสสุคนธ์รองเท้านารีฝาหอยรองเท้านารีอินทนนท์รองเท้านารีอินทนนท์ลาวรองเท้านารีดอยตุงรองเท้านารีเหลืองกระบี่รองเท้านารีเหลืองตรังรองเท้านารีเหลืองปราจีนระบบหายใจระกำระฆังแคนเตอร์บรีรัก (ไม้พุ่ม)รักเร่รังราชพฤกษ์รางจืดราตรี (พรรณไม้)รำเพยรุทรักษะรูปหลายเหลี่ยมลองกองละมุดลั่นทมลานไพลินลำดวนลำแพนลำโพงกาสลักลำไยลิลีลิงลมใต้ลิงจมูกยาวลิ้นมังกรลิ้นจี่ลูพินลูกปืนใหญ่ (พืช)ลูกใต้ใบลูกเดือยวอลนัตวาซาบิวิลเลียม เคนท์วิตามินบี12วงศ์ชบาวงศ์ชะมดและอีเห็นวงศ์บัวสายวงศ์กกวงศ์กะเพราวงศ์ก่วมวงศ์ส้มวงศ์จำปาวงศ์ถั่ววงศ์ขิงวงศ์ตีนเป็ดวงศ์ปลาซักเกอร์วงศ์แคหางค่างวงศ์โคกกระสุนวงศ์โคลงเคลงวงศ์เหงือกปลาหมอวงศ์เงาะว่านหางช้างว่านหางจระเข้ว่านจูงนางว่านนางคำว่านน้ำว่านน้ำทองศุภโชคสบู่ดำสกุล (ชีววิทยา)สกุลชบาสกุลบัวหลวงสกุลช้างสกุลกระโถนฤๅษีสกุลกล้วยสกุลกุหลาบ (กล้วยไม้)สกุลมะกอกสกุลมะม่วงสกุลมะเมื่อยสกุลรองเท้านารีสกุลลัดวิเจียสกุลส้มสกุลหวายสกุลหวาย (กล้วยไม้)สกุลขิงสกุลข้าวฟ่างสกุลแคทลียา (กล้วยไม้)สกุลแคตนิปสกุลเพชรหึงสกุลเจินจูฉ่ายสกุลเข็ม (กล้วยไม้)สมอไทยสมุนไพรสร้อยอินทนิลสวาดสวนแสนปาล์มสะระแหน่สะตอสะเดาสะเดาเทียมสับปะรดสัก (พรรณไม้)สัตว์เลื้อยคลานสันโสกสาบเสือสายหยุดสายน้ำผึ้ง (พรรณไม้)สารภี (พรรณไม้)สารอาหารสาละสาลี่ (ผลไม้)สาหร่ายสาหร่ายไกสาธร (พรรณไม้)สาเก (พรรณไม้)สิงโตพัดเหลืองสิงโตพู่รัศมีสิงโตก้ามปูแดงสิงโตรวงข้าวฟ่างสิงโตลินด์เลย์สิงโตหลอดไฟสิงโตดอกไม้ไฟสิ่งมีชีวิตสุพรรณิการ์สุคนธบำบัดสตรอว์เบอร์รีสปอร์สนวอลลีเมียสนดำญี่ปุ่นสนเกรวิลเลียส้มส้มมือส้มจี๊ดส้มโอสเตอรอยด์หญ้าหญ้ากุศะหญ้าฝรั่นหญ้ามิสแคนทัสหญ้ามิสแคนทัสช้างหญ้าลอยลมหญ้าละอองหญ้าหวานหญ้าหนวดแมวหญ้าน้ำค้างหญ้าแพรกหญ้าแฝกหญ้าไฟตะกาดหมากสงหมากแดงหมามุ้ยหมาจิ้งจอกทองหมาไม้หมูป่าหมีหมีกริซลีหมีสีน้ำตาลหมีเหม็นหม่อนหม้อข้าวหม้อแกงลิงหม้อแกงลิงหยาดหิมะหยาดน้ำค้าง (สกุล)หลังคาเขียวหลาวชะโอนทุ่งหลุมพีหว้าหอมต้นเดี่ยวหอมแดงหอมใหญ่หิรัญญิการ์หูกระจงหูปลาช่อนหีบไม้งามหงส์เหิรหนามแดง (พืช)หน้าวัวห้อมอวัยวะออมนิทริกซ์ออมนิทริกซ์ 2อะกาเวอัญชันอัลมอนด์อัคคีทวารอังกาบอังกาบสีปูนอันดับบ่างอันดับปลาตะเพียนอั้วนวลจันทร์อาร์ทิโชกอาร์เคียอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงอาหารอาหารสัตว์อาหารหมาอาหารแมวอาณาจักร (ชีววิทยา)อาเคเชียอิกัวโนดอนอินทผลัมอุทยานแห่งชาติไซออนอีเห็นข้างลายอีเห็นเครือองุ่นอนุกรมวิธานอโศกอินเดียอ้อยฮวานง็อกฮิอิรากิ (พืช)ผกากรองผลไม้ผักผักบุ้งรั้วผักบุ้งทะเลผักชีช้างผักชีล้อมผักกาดหอมผักกาดหัวผักกูดผักหวานบ้านผักหวานป่าผักหนามผักตบชวาผักแพวผักเหมียงผำผึ้งผีเสื้อราตรี (ไม้ล้มลุก)ผีเสื้อแสนสวยผนังเซลล์จอกบ่วายจอกหูหนูจันทร์กระจ่างฟ้าจันทน์กะพ้อจั๋งญี่ปุ่นจากจารุจินต์ นภีตะภัฏจำปาดะจำปาเทศจำปูนจำปีจำปีแขกจิ้งหรีดจุกนารีธรรมชาติวิทยาธาตุถังทองถั่วพร้าถั่วพูถั่วฝักยาวถั่วลันเตาถั่วลิสงถั่วดำถั่วปากอ้าถั่วแปบ (พืช)ถั่วแปบช้างถั่วไมยราถั่วเหลืองถั่วเขียวถุงมือจิ้งจอกถ้วยทองทรงบาดาลทวีปแอนตาร์กติกาทองพันชั่งทองกวาวทองหลางลายทองอุไรทะเลสาบแทนกันยีกาทับทิม (ผลไม้)ทามาริสก์ทานตะวันทิวลิปทุ้งฟ้าทุเรียนทุเรียนเทศที่ดินบราวน์ฟิลด์ท่าเรือโยโกฮามะท้อขมิ้นขานางขิงขิงแดงขึ้นฉ่ายขี้กาแดงขี้ครอกขี้เหล็กขนุนข่อยข่า (พืช)ข้าวบาร์เลย์ข้าวสาลีข้าวหลามดงข้าวทริทิเคลีข้าวโพดข้าวโอ๊ตข้าวไรย์ดวงอาทิตย์ดอกบุกยักษ์ดอกดิน (พืช)ดองดึงดอนญ่าควีนสิริกิติ์ดาวกระจาย (C. sulphureus)ดาวประดับดาวเรืองดาหลาดาดตะกั่วดีปลีดีเอ็นเอครอบฟันสีคราม (พืช)คริสต์มาส (พรรณไม้)คลอโรฟิลล์คลอโรพลาสต์คล้าน้ำช่อตั้งความหลากหลายทางชีวภาพความเจ็บปวดคว่ำตายหงายเป็นคอร์นฟลาวเวอร์คอนสวรรค์ (พืช)คอแลนคัดเค้าคาบอมบ้าแดงคาร์บอนคาวทองคำฝอยคำแสดคู่มือภาคสนามค้องา (พืช)งิ้ว (พืช)ตะแบกนาตะโกตะไคร้ตะเคียนตั้งโอ๋ตาลตาลปัตรฤๅษีตาวตานหม่อนตำลึงตุ่นตีนเป็ดทรายต้อยติ่งต้นชาต้นฝิ่นต้นไม้ (แก้ความกำกวม)ซานชีซ่อนกลิ่นประยงค์ประทัดจีนประทัดไต้หวันประดู่บ้านประดู่แดงปรากฏการณ์เรือนกระจกปริก (พรรณไม้)ปรงปลากระดูกอ่อนปลาการ์ตูนปลาลิ่นปลาหางนกยูงปลาอะโรวานาแอฟริกาปลาคู้ดำปลาคู้แดงปลาฉลามกบปลาซิวเจ้าฟ้าปลาปอดปลาปิรันยาปลาเทโพปักษาสวรรค์ปากนกแก้ว (เฮลิโคเนีย)ปาล์ม (พืช)ปาล์มบังสูรย์ปาล์มสิบสองปันนาปาล์มขนนกปาล์มน้ำมันปาล์มแชมเปญปูเสฉวนบกปีบทองปทุมมาป่าสันทรายนกหัวโตทรายใหญ่นกแขกเต้านมสวรรค์นมตำเลียนางพญาเสือโคร่งนางแย้มนิเวศวิทยานิเวศวิทยาชุมชนเมืองนุ่นนนทรีน้อยหน่าน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์น้ำมันหอมระเหยน้ำมันประกอบอาหารน้ำป่าน้ำนมราชสีห์น้ำเต้าน้ำเต้าพระฤๅษีน้ำเต้าลมน้ำเต้าต้นแบล็กเบอร์รีแบคทีเรียแพรเซี่ยงไฮ้แพลงก์ตอนแพงพวยฝรั่งแก๊สเรือนกระจกแกแลแก่นตะวันแก้ว (พรรณไม้)แก้วกาญจนาแก้วเจ้าจอมแมกโนเลียแมคาเดเมียแมงลักแมนเดรกแม่เหล็กไฟฟ้าชีวภาพแย้มปีนังแรดขาวแร็กคูนแววมยุราแว่นแก้วแสลงใจแหนแดงแห้วหมูแอฟริกันไวโอเล็ตแอฟริกากลางแอร์โรว์เฮด (พรรณไม้)แอลแฟลฟาแคแคฝรั่งแคร์รอตแคลเซียมแคทลียาควีนสิริกิติ์แคแสดแตงกวาแตงโมแปะก๊วยใบระบาดใบไม้สีทองใยอาหารโบตั๋น (พรรณไม้)โพโพลีคีไทด์โกงกางใบเล็กโมกโมกแดงโมลิบดีนัมโมแกเล-อึมแบมเบโรสแมรีโลบีเลียโสมโสน (สกุล)โอ๊กโอเอซิสโทงเทงโด่ไม่รู้ล้มโคกกระออมโคมญี่ปุ่นโคลงเคลงโคล่าโซเดียมคาร์บอเนตโป๊ยเซียน (พืช)ไฟลัมไฟลัมย่อยไพลไมยราบไม้ล้มลุกไม้ประดับไลลักไวรัสไวรัสทิวลิปแตกสีไฮอะซินท์ไฮเดรนเจียไผ่ไทเทเนียมไข่ดาว (พรรณไม้)ไข่เน่า (พืช)เบญจมาศเชอร์รีเชอร์รีสเปนเชื้อเพลิงเฟิร์นเฟื่องฟ้าเพชรพระอุมาเพกาเพอริสโตมเกรปฟรูตเกล็ดปลาหมอเกาลัดเกดเก๋ากี่เภสัชศาสตร์เภสัชเวทเภสัชเคมีเมลามีนเมื่อยดูกเมแทบอลิซึมเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรตเมเปิลเร่วเลมอนเล็บมือนางเล็บครุฑ (พรรณไม้)เศรษฐีเรือนนอกเสม็ดขาวเสม็ดแดงเสลาเสลดพังพอนเสวี่ยเหลียนกว่อเสาวรสเสาวรสสิบสองปันนาเสือเหลืองจันทบูรเหลืองคีรีบูนเหลืองปรีดียาธรเห็ดราเอื้องมัจฉาเอื้องสำเภางามเอื้องสีตาลเอื้องคำกิ่วเอื้องตาเหินเอื้องน้ำต้นเอื้องแปรงสีฟันเอื้องไอยเรศเอื้องเงินเฮลิโคเนียเฮเทโรทรอพเจตมูลเพลิงขาวเจตมูลเพลิงแดงเจ้าหญิงรัตติกาลเทพทาโรเทียนหยดเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่เขากวางอ่อนเขาแกะเขนงนายพรานเข็ม (พืช)เข็มม่วงเข็มอินเดียเข้าพรรษา (พืช)เดลฟินเนียมเดวิด ลิฟวิงสโตนเครย์ฟิชเครื่องเทศเงาะเตยหอมเต่าบินเต่ากระเต่าญี่ปุ่นเต่าร้างยักษ์น่านเต่าตนุเต่าแก้มแดงเฉียงพร้านางแอเป็ดพม่าเนระพูสีไทยเนื้อไม้เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อเจริญDictamnusICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอกICD-10 บทที่ 20: สาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตายLithopsNepenthes adrianiiNepenthes alataNepenthes anamensisNepenthes argentiiNepenthes attenboroughiiNepenthes × cantleyiNepenthes × cinctaNepenthes × ferrugineomarginataNepenthes × hookerianaNepenthes × kuchingensisNepenthes × merrilliataNepenthes × pangulubauensisNepenthes × sarawakiensisNepenthes × sharifah-hapsahiiNepenthes × trichocarpaNepenthes × truncalataNepenthes × tsangoyaNepenthes × ventrataNepenthes beccarianaNepenthes belliiNepenthes bongsoNepenthes burkeiNepenthes campanulataNepenthes carunculataNepenthes chanianaNepenthes copelandiiNepenthes danseriNepenthes densifloraNepenthes distillatoriaNepenthes eymaeNepenthes fallaxNepenthes flavaNepenthes fuscaNepenthes glabrataNepenthes glanduliferaNepenthes globosaNepenthes gracilisNepenthes gracillimaNepenthes gymnamphoraNepenthes hamataNepenthes hurrellianaNepenthes izumiaeNepenthes lamiiNepenthes macfarlaneiNepenthes mantalingajanensisNepenthes maximaNepenthes merrillianaNepenthes mindanaoensisNepenthes miraNepenthes nagaNepenthes paniculataNepenthes pectinataNepenthes peltataNepenthes petiolataNepenthes philippinensisNepenthes platychilaNepenthes rafflesianaNepenthes rajahNepenthes sanguineaNepenthes saranganiensisNepenthes singalanaNepenthes spathulataNepenthes spectabilisNepenthes stenophyllaNepenthes surigaoensisNepenthes talangensisNepenthes tenaxNepenthes tentaculataNepenthes tomorianaNepenthes treubianaNepenthes truncataNepenthes veitchiiNepenthes ventricosaNepenthes vieillardiiNepenthes vogeliiNepenthes xiphioidesRNA interferenceTabernaemontana