เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน

ดัชนี พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน

การให้บัพติศมาแก่ Neophytes วาดโดยมาซัชโช เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันเก็บอยู่ที่ฟลอเรนซ์ พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน (ศัพท์ประชากรศาสตร์) พิธีบัพติศมาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 88 (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ศีลล้างบาป (ศัพท์คาทอลิก) (Baptism มาจากภาษากรีก baptismos แปลว่า การล้าง) เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ ทำขึ้นเพื่อรับ "ผู้ที่เพิ่งรับเชื่อ" เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของคริสตจักร คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ระบุว่ายอห์นผู้ให้บัพติศมาเริ่มประกอบพิธีนี้ให้สาวกของตน โดยให้ผู้รับจุ่มตัวลงในแม่น้ำลึก ถือเป็นสัญลักษณ์ของการกลับใจและรอคอยอาณาจักรสวรรค์ซึ่งกำลังจะมาถึง พระเยซูทรงรับบัพติศมาจากยอห์นในครั้งนั้นด้วย จากนั้นจึงเริ่มปฏิบัติพระภารกิจของพระองค์ ต่อมาในศาสนาคริสต์ยุคแรก ผู้ให้บัพติศมาจะให้ผู้รับเปลือยกายลงแช่ในแม่น้ำ ซึ่งมีทั้งแบบให้จุ่มทั้งตัว ยืน หรือคุกเข่าในน้ำ แล้ว "ผู้ให้บัพติศมา" จะตักน้ำรดลงบน "ผู้รับบัพติศมา" ในปัจจุบันบางคริสตจักรยังรักษาวิธีการแบบเดิม บางคริสตจักรก็ใช้วิธีเทน้ำรดลงบนหน้าผากของผู้รับสามครั้ง การเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ก็ถือว่าเป็นการรับบัพติศมาด้วย เรียกว่า "พิธีบัพติศมาด้วยเลือด" เชื่อว่ามรณสักขีนั้นได้รับความรอดแล้วแม้จะยังไม่ได้รับบัพติศมาด้วยน้ำก็ตาม คริสตจักรโรมันคาทอลิกปัจจุบันรับรอง "พิธีบัพติศมาแห่งความปรารถนา" ซึ่งหมายถึงความตั้งใจจะรับบัพติศมาแต่เสียชีวิตเสียก่อนเข้าพิธี ก็ถือว่าได้รับความรอดแล้ว คริสต์ศาสนิกชนบางนิกายประกอบพิธีบัพติศมาแก่ทารกด้วย เพราะเชื่อว่าบัพติศมาเป็นทางแห่งความรอด จนเมื่อฮุลดริช ซวิงลี นักเทววิทยาศาสนาคริสต์สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 กล่าวว่าพิธีนี้ไม่จำเป็น คริสตจักรแบปทิสต์จึงประกอบพิธีบัพติศมาแก่ผู้เชื่อเองเท่านั้น ทุกวันนี้คริสต์ศาสนิกชนหลายกลุ่ม โดยเฉพาะเควเกอร์และแซลเวชันอาร์มีถือว่าพิธีนี้ไม่จำเป็นและไม่ประกอบพิธีนี้เลย แต่กลุ่มที่ยังมีพิธีนี้อยู่ก็มีรูปแบบพิธีแตกต่างกันไป ส่วนมากรับบัพติศมา "ในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์" (โปรเตสแตนต์) หรือ "เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต" (คาทอลิก) โดยถือตามพระมหาบัญชาก่อนการเสด็จขึ้นสวรรค์ของพระเยซู.

สารบัญ

  1. 73 ความสัมพันธ์: บารัก โอบามาบาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโยบาป (ศาสนาคริสต์)บุญมาก กิตติสารบุญเกิด กฤษบำรุงฟรันซิสโก คาเบียร์ฟราอันเจลีโกพระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ)พระเยซูพระเยซูทรงรับบัพติศมาพระเจ้าพระบุตรพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าอัลเฟรดมหาราชพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรพิธีกรรมพิธีศักดิ์สิทธิ์กาย ฟอกส์การประกาศข่าวดีการประกาศเป็นบุญราศีมาร์ติน ลูเทอร์มาร์แต็งแห่งตูร์ยอห์นผู้ให้บัพติศมาวัดพระแม่สกลสงเคราะห์วิลเลียม ลอดวิลเลียม เมอร์รีย์ เอิร์ลแห่งแมนส์ฟิลด์วิลเลียมดาบยาววณี เลาหเกียรติศาสนสถานศาสนาคริสต์ศีลศักดิ์สิทธิ์สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะสหคริสตจักรแบ๊บติสต์ในประเทศไทยหลักข้อเชื่อไนซีนหอล้างบาปอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตันอาสนวิหารบลัวอาสนวิหารลียงอาณาจักรของพระเป็นเจ้าอิซาเบลลาแห่งอังกฤษอ่างล้างบาปฮุลดริช ซวิงลีจอห์น วิลเลียม วอเทอร์เฮาส์จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซียธงศาสนาคริสต์ดีกัน... ขยายดัชนี (23 มากกว่า) »

บารัก โอบามา

รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและบารัก โอบามา

บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย

“เด็กขายผลไม้” (The Little Fruit Seller) - ค.ศ. 1670 บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย (Bartolomé Esteban Murillo) รับศีลล้างบาปเมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 1618 ที่เซบิยา ประเทศสเปน และเสียชีวิตที่เซบิยาเช่นกันเมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและบาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย

บาป (ศาสนาคริสต์)

ในศาสนาคริสต์ บาป (sin; חָטָא khatah ทำผิด) คือการไม่บรรลุถึงความครบถ้วนแห่งกฎหมายอันชอบธรรมที่พระเจ้าทรงจัดเตรียมสำหรับมนุษย์ (กฎทางศีลธรรม) การไม่บรรลุเช่นนั้น ยังผลให้มนุษย์ตกเข้าสู่แนวทางการดำเนินชีวิตที่ไม่สมบูรณ์ ความไม่สมบูรณ์อันเป็นผลจากบาปได้เป็นเหมือนนายที่กดขี่เขา ให้อยู่ในสภาพเป็นทาส สภาพเช่นนั้นคือ ความบกพร่องของทั้งจิตวิญญาน (ทั้งหมดในตัวบุคคล) ที่ต้องเสื่อมลงทุกด้าน และที่สุดคือ ความตาย ดังที่คัมภีร์ไบเบิลกล่าวไว้ว่า "เพราะ‍ว่า​ค่า‍จ้าง​ของ​บาป​คือ​ความ​ตาย".

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและบาป (ศาสนาคริสต์)

บุญมาก กิตติสาร

ญมาก กิตติสาร เป็นผู้นำคริสเตียนไทยนิกายโปรเตสแตนต์ที่มีบทบาทสำคัญในการนำการสอนของกลุ่มคณะเพ็นเทคอสตอลมาเผยแพร่ในประเทศไทยในกลางศตวรรษที่ 20.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและบุญมาก กิตติสาร

บุญเกิด กฤษบำรุง

ญราศีนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง (31 มกราคม พ.ศ. 2438 – 12 มกราคม พ.ศ. 2487) เป็นบาทหลวงชาวนครปฐม สังกัดมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ เมื่อรับศีลอนุกรมเป็นบาทหลวงแล้วได้ทำงานแพร่ธรรมในหลายจังหวัด จนกระทั่งเกิดกรณีพิพาทอินโดจีนขึ้น บาทหลวงบุญเกิดถูกตำรวจจับในข้อหา "กบฏภายนอกราชอาณาจักร" ศาลตัดสินให้จำคุก 15 ปีที่เรือนจำกลางบางขวาง และถึงแก่กรรมด้วยวัณโรคหลังจากติดคุกได้ 3 ปี บาทหลวงบุญเกิดได้รับยกย่องจากคริสตจักรโรมันคาทอลิกว่าเป็นมรณสักขี และได้รับการประกาศเป็นบุญราศีเมื่อวันที่ 5 มีนาคม..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและบุญเกิด กฤษบำรุง

ฟรันซิสโก คาเบียร์

นักบุญฟรันซิสโก คาเบียร์ (Francis Xavier, Francisco Javier, Frantzisko XabierkoaFranciscus Xaverius) ชื่อจริง Francisco de Jaso y Azpilicueta (อ่านว่า ฟรันซิสโก เด คาโซ อี อัซปีลีกูเอตา) ในประเทศไทยรู้จักในนาม ฟรังซิสเซเวียร์ เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวแคว้นนาวาร์ ประเทศสเปน เป็นผู้นำศาสนาคริสต์มาเผยแพร่ที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นคนแรกตลอดจนประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย ศรีลังกา มาเลเซีย จีน ญี่ปุ่น เสียชีวิต ณ หมู่เกาะซ้างชวน ประเทศจีน และได้รับการประกาศเป็นนักบุญ ฟรันซิสโก คาเบียร์ เป็นสมาชิกแรกเริ่ม และหนึ่งในสมาชิกที่มีชื่อเสี่ยงมากที่สุดคนหนึ่งของคณะแห่งพระเยซูเจ้า ซึ่งเขามีความสนิทสนมกับ นักบุญอิกเนเชียสแห่งโลโยลาผู้ก่อตั้งคณ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและฟรันซิสโก คาเบียร์

ฟราอันเจลีโก

“ฟราอันเจลีโก” โดย ลุคา ซินยอเรลลิ ภราดาทูตสวรรค์ หรือทับศัพท์ว่าฟราอันเจลีโก (Fra Angelico) เป็นสมญานามของภราดาโจวันนีแห่งฟีเอโซเล (ชื่อเมื่อแรกเกิดคือ กวีโด ดี ปีเอโตร, ราว ค.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและฟราอันเจลีโก

พระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ)

ระพรหมมุนี นามฉายา สุวโจ (นามเดิม: ผิน ธรรมประทีป) เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 5 ของวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร และอดีตสังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การเผยแผ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและพระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ)

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและพระเยซู

พระเยซูทรงรับบัพติศมา

''พระคริสต์ทรงรับพิธีล้าง'' ของฟรันเชสโก อัลบานีสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17''Medieval art: a topical dictionary'' by Leslie Ross 1996 ISBN 978-0-313-29329-0 page 30 เหตุการณ์พระเยซูทรงรับบัพติศมา (โปรเตสแตนต์) หรือ พระเยซูทรงรับพิธีล้าง (คาทอลิก) (Baptism of Jesus) ถือเป็นจุดเริ่มต้นการปฏิบัติพระภารกิจของพระเยซู เหตุการณ์นี้ถูกบันทึกในพระวรสารทั้ง 4 ฉบับ คือ มัทธิว มาระโก ลูกา และยอห์น และถือเป็นหนึ่งในห้าเหตุการณ์สำคัญในชีวิตของพระเยซู อีกสี่เหตุการณ์ที่เหลือ ได้แก่ การจำแลงพระกาย การถูกตรึงที่กางเขน การกลับคืนพระชนม์ และการเสด็จขึ้นสวรรค์Essays in New Testament interpretation by Charles Francis Digby Moule 1982 ISBN 0-521-23783-1 page 63 ยอห์นผู้ให้บัพติศมาประกาศพิธีบัพติศมาด้วยน้ำเพื่อแสดงการกลับใจและขอรับการอภัยบาปจากพระเจ้า ท่านกล่าวว่าจะมีผู้หนึ่งมาภายหลัง ผู้นั้นจะให้บัพติศมาด้วยพระวิญญาณบริสุทธิ์และไฟ ท่านจึงได้เตรียมหนทางขององค์พระผู้เป็นเจ้าพระองค์นั้น พระเยซูได้เสด็จไปแม่น้ำจอร์แดนและรับบัพติศมาจากยอห์นด้วย พระวรสารยังบรรยายเหตุการณ์ขณะนั้นว่าฟ้าสวรรค์ได้เปิดออก พระวิญญาณบริสุทธิ์ปรากฏรูปเหมือนนกพิราบบินลงมาเหนือพระเยซู พร้อมกับมีเสียงจากสวรรค์ประกาศว่า "ท่านเป็นบุตรที่รักของเรา เราชอบใจท่านมาก" คริสต์ศาสนิกชนส่วนมากถือว่าเหตุการณ์นี้เป็นเหตุการณ์สำคัญ และเป็นต้นกำเนิดของพิธีบัพติศมาซึ่งเป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ แนวคิดบุตรบุญธรรมนิยมซึ่งศาสนาคริสต์ยุคแรกประณามว่าเป็นความเชื่อนอกรีตก็เกิดขึ้นเพราะให้ความสำคัญกับเหตุการณ์นี้ ศาสนาคริสต์ตะวันออกจัดฉลองพระเยซูทรงรับบัพติศมาในวันที่ 6 มกราคม ส่วนคริสตจักรโรมันคาทอลิก แองกลิคันคอมมิวเนียน และบางนิกายจัดการฉลองในสัปดาห์ถัดมาเรียกว่าวันฉลององค์พระผู้เป็นเจ้าทรงรับพิธีล้าง.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและพระเยซูทรงรับบัพติศมา

พระเจ้าพระบุตร

ตามหลักเทววิทยาศาสนาคริสต์ ถือว่าพระเจ้าพระบุตร (God the Son) คือพระบุคคลที่สองในตรีเอกภาพ โดยเชื่อว่าพระเจ้าพระบิดา พระเจ้าพระบุตร และพระเจ้าพระวิญญาณบริสุทธิ์ เป็นพระเจ้าในสารัตถะเดียว แต่ต่างบุคคลกัน และเชื่อว่าพระเจ้าพระบุตรก็คือพระเยซู ตามความเชื่อนี้ พระเจ้าพระบุตรดำรงอยู่มาก่อนที่จะรับสภาพมนุษย์เป็นพระเยซู และเป็นพระเป็นเจ้าที่ดำรงอยู่ชั่วนิรันดร์เช่นเดียวกับพระบิดาและพระวิญญาณบริสุทธิ์ คำว่า "พระเจ้าพระบุตร" จึงเน้นถึงความเป็นพระเจ้าของพระเยซู ต่างจากคำว่า พระบุตรของพระเจ้า ที่เน้นความเป็นมนุษย์มากกว.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและพระเจ้าพระบุตร

พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าวิลเลียมที่ 4 (William IV) (21 สิงหาคม ค.ศ. 1765 – 20 มิถุนายน ค.ศ. 1837) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรฮันโนเวอร์ สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ แห่งระหว่างปี..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร

พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVIII de France; หลุยส์ดีซุยต์เดอฟร็องส์; หลุยส์ สตานิสลาส กซาวีเย, 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1755 - 16 กันยายน ค.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช

ระเจ้าอัลเฟรดมหาราช (Alfred the Great; Ælfrēd) (ค.ศ. 849 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 899) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรเวสเซ็กซ์ในสมัยราชวงศ์เวสเซ็กซ์ เสด็จพระราชสมภพที่เวนเทจ บาร์กเชอร์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเอเธลวูล์ฟแห่งเวสเซกซ์และออสเบอร์กา ทรงเสกสมรสกับเอลสวิธ และทรงราชย์เป็นกษัตริย์ของชนแองโกล-แซ็กซอนภายใต้ราชอาณาจักรเวสเซกซ์ระหว่างวันที่ 23 เมษายน ค.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช

พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (George V of the United Kingdom) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ซึ่งทรงสถาปนาขึ้นจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายอังกฤษ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ พระองค์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดียและปฐมกษัตริย์เสรีรัฐไอร์แลนด์อีกด้วย พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร

พิธีกรรม

ีกรรม หรือ ศาสนพิธี (Ritual) หมายถึง การบูชา แบบอย่างหรือแบบแผนต่าง ๆ ที่ปฏิบัติในทางศาสน.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและพิธีกรรม

พิธีศักดิ์สิทธิ์

ในศาสนาคริสต์ พิธีศักดิ์สิทธิ์ (Sacrament) คือ พิธีกรรมที่เชื่อว่าพระเยซูทรงกำหนดไว้ให้คริสต์ศาสนิกชนนำไปปฏิบัติเพื่อเป็นการระลึกถึงและนมัสการพระเป็นเจ้า และจะได้มีส่วนร่วมในแผนการแห่งความรอด ชาวโรมันคาทอลิกเรียกพิธีศักดิ์สิทธิ์ว่า "ศีลศักดิ์สิทธิ์" มีอยู่ 7 ศีล แต่ชาวโปรเตสแตนต์ถือว่าพระเยซูทรงกำหนดไว้เพียง 2 พิธี คือ พิธีบัพติศมาและพิธีมหาสนิทศักดิ์สิท.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและพิธีศักดิ์สิทธิ์

กาย ฟอกส์

กาย ฟอกส์ (Guy Fawkes; 13 เมษายน 1570 – 31 มกราคม 1606) ที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า กวีโด ฟอกส์ (Guido Fawkes) อันเป็นชื่อที่เขาใช้ขณะสู้รบให้กับสเปนในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ เป็นสมาชิกกลุ่มคาทอลิกอังกฤษแขวงผู้วางแผนแผนดินปืน (Gunpowder Plot) ที่ล้มเหลวในปี 1605 ฟอกส์เกิดและได้รับการศึกษาในยอร์ก บิดาเขาเสียชีวิตเมื่อฟอกส์อายุได้แปดขวบ จากนั้น มารดาเขาสมรสกับผู้นับถือคาทอลิกที่ไม่เข้าร่วมกิจการของศาสนจักรแห่งอังกฤษ (recusant) ภายหลังฟอกส์เปลี่ยนมานับถือคาทอลิกและเดินทางไปแผ่นดินใหญ่ยุโรป ที่ซึ่งเขาสู้รบในสงครามแปดสิบปี โดยอยู่ฝ่ายสเปนคาทอลิก และสู้รบกับนักปฏิรูปดัตช์โปรเตสแตนต์ เขาเดินทางไปสเปนเพื่อแสวงการสนับสนุนกบฏคาทอลิกในอังกฤษ แต่ไม่สำเร็จ ภายหลังเขาพบทอมัส วินเทอร์ (Thomas Wintour) ซึ่งเดินทางกลับอังกฤษพร้อมกับเขาด้วย วินเทอร์แนะนำฟอกส์ให้รู้จักรอเบิร์ต เคตส์บี (Robert Catesby) ผู้วางแผนลอบปลงพระชนม์พระเจ้าเจมส์ที่ 1 และฟื้นฟูพระมหากษัตริย์คาทอลิกสู่ราชบัลลังก์ กลุ่มผู้วางแผนเช่าห้องใต้ดินใต้สภาขุนนาง และฟอกส์ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบระเบิดดินปืนที่พวกเขาเก็บสะสมไว้ที่นั่น ทางการค้นพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในช่วงเช้ามืดวันที่ 5 พฤศจิกายนหลังได้รับการแจ้งเตือนจากจดหมายนิรนาม และพบฟอกส์กำลังเฝ้าระเบิดอยู่ เขาถูกสอบสวนและทรมานอยู่สองสามวันจนยอมเปิดเผยข้อมูลในที่สุด ก่อนการประหารชีวิตในวันที่ 31 มกราคม ฟอกส์กระโดดจากตะแลงแกงที่เขากำลังจะถูกแขวนคอ และคอหัก จึงไม่ได้รับความทรมานจากการถูกตัดและคว้านอวัยวะที่ตามมา ชื่อของฟอกส์กลายเป็นคำพ้องกับแผนระเบิดดินปืน มีการเฉลิมฉลองความล้มเหลวของแผนดังกล่าวในอังกฤษตั้งแต่วันที่ 5 พฤศจิกายน 1605 ตามประเพณีมีการเผาหุ่นจำลองของเขาบนกองไฟ ซึ่งมักร่วมด้วยการแสดงดอกไม้ไฟ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและกาย ฟอกส์

การประกาศข่าวดี

การประกาศข่าวดี (ศัพท์คาทอลิก) หรือ การประกาศข่าวประเสริฐ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Evangelism) คือการเผยแพร่พระวรสารหรือประกาศข่าวดีตามความเชื่อของคริสต์ศาสนิกชนว่าพระเยซูเป็นพระเจ้าผู้มารับสภาพมนุษย์และถูกตรึงกางเขนจนสิ้นพระชนม์ เพื่อไถ่มนุษย์ผู้เชื่อจากบาป หลังจากนั้น 3 วัน ก็ทรงคืนพระชนม์แล้วเสด็จขึ้นสวรรค์ คริสต์ศาสนิกชนเชื่อว่าผู้เชื่อข่าวดีนี้จะถูกไถ่จากบาปทันทีและได้ขึ้นสวรรค์หลังจากเสียชีวิต จนถึงการพิพากษาครั้งสุดท้ายก็จะได้รับบำเหน็จจากพระเจ้า การประกาศข่าวดีถือเป็นพันธกิจสำคัญที่พระเยซูฝากไว้แก่สาวกของพระองค์ก่อนจะเสด็จขึ้นสวรรค์ ดังปรากฏในพระวรสารนักบุญมัทธิวว่า "ท่านทั้งหลายจงออกไปและนำชนทุกชาติมาเป็นสาวกของเรา จงบัพติศมาพวกเขาในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์" ผู้อุทิศตนทำงานประกาศข่าวดีเรียกว่า ผู้ประกาศข่าวดี (ศัพท์โรมันคาทอลิก) หรือ ผู้ประกาศข่าวประเสริฐ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Evangelist).

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและการประกาศข่าวดี

การประกาศเป็นบุญราศี

็ดบุญราศีมรณสักขีแห่งสองคอน เป็นคริสต์ศาสนิกชนชาวไทยกลุ่มแรกที่ได้รับการประกาศเป็นบุญราศี การประกาศเป็นบุญราศี (Beatification) คือกระบวนการที่คริสตจักรโรมันคาทอลิกกำหนดขึ้นเพื่อรับรองว่าบุคคลหนึ่งได้เข้าสู่สวรรค์และสามารถวอนขอพรจากพระเป็นเจ้าแทนมนุษย์บนโลกได้ กระบวนการนี้ถือเป็นขั้นตอนที่สี่ของการประกาศเป็นนักบุญ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและการประกาศเป็นบุญราศี

มาร์ติน ลูเทอร์

มาร์ติน ลูเทอร์ (Martin Luther) (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2026 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2088) เป็นหนึ่งในผู้ปฏิรูปศาสนาคริสต์ โดยแยกมาเป็นนิกายโปรเตสแตนต์ เพราะไม่เห็นด้วยกับคำสอนของคริสตจักรโรมันคาทอลิกบางข้อ โดยการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เรียกว่าการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ นิกายที่ถือหลักเทววิทยาตามแนวคิดของลูเทอร์เรียกว่านิกายลูเทอแรนซึ่งเป็นนิกายย่อยในนิกายโปรเตสแตนต.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและมาร์ติน ลูเทอร์

มาร์แต็งแห่งตูร์

นักบุญมาร์แต็งแห่งตูร์ (Martin de Tours; Martin of Tours; Martinus) เกิดราวปี..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและมาร์แต็งแห่งตูร์

ยอห์นผู้ให้บัพติศมา

อห์นผู้ให้บัพติศมา (โปรเตสแตนต์เดิมเรียกว่ายอห์นผู้ให้รับบัพติศมา) ยอห์นผู้ทำพิธีล้าง(คาทอลิก) หรือนักบุญยอห์น แบปติสต์(คาทอลิก) (John the Baptist; John the Baptizer) เป็นนักเทศน์ชาวยิวในคริสศตวรรษที่ 1 ถือว่าเป็นผู้เผยพระวจนะในสี่ศาสนาคือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาบาไฮ และ “Mandaeanism” ท่านถูกกล่าวถึงในพระวรสาร คัมภีร์อัลกุรอาน และคัมภีร์ของศาสนาบาไฮ นักบุญยอห์นแบปติสต์บางทีก็รู้จักกันในชื่อ “ยอห์นผู้มาก่อน” (John the Forerunner) เพราะถือกันว่านักบุญยอห์นเป็นผู้มาล่วงหน้าก่อนพระเยซู.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและยอห์นผู้ให้บัพติศมา

วัดพระแม่สกลสงเคราะห์

วัดพระแม่สกลสงเคราะห์ (Beata Maria Virginis Omnis Gratiae Mediatricis; The Blessed Virgin Mary The Mediatrix of all Graces Church) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิก ขนาดใหญ่ที่สุดในเขตอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 179 หมู่ 5 ตำบลโสนลอย บนที่ดินบริเวณหลังตลาดสดเทศบาลเมืองบางบัวทอง ริมคลองขุนพระพิมลราชา ใกล้กับถนนกาญจนาภิเษก มีพิธีเสกวัดเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและวัดพระแม่สกลสงเคราะห์

วิลเลียม ลอด

วิลเลียม ลอด (William Laud) (7 ตุลาคม ค.ศ. 1573 - (10 มกราคม ค.ศ. 1645) เป็นอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีระหว่างปี ค.ศ. 1633 ถึงปี ค.ศ. 1645 ผู้สนับสนุนนิกายแองกลิคันและเป็นปฏิปักษ์ต่อการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มพิวริตัน วิลเลียม ลอดสนับสนุนนโยบายทางศาสนาของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ซึ่งในที่สุดก็เป็นผลทำให้ถูกประหารชีวิตระหว่างสงครามการเมืองอังกฤษที่หอคอยแห่งลอนดอน วิลเลียม ลอด เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและวิลเลียม ลอด

วิลเลียม เมอร์รีย์ เอิร์ลแห่งแมนส์ฟิลด์

วิลเลียม เมอร์รีย์ เอิร์ลที่ 1 แห่งแมนส์ฟิลด์ (William Murray, 1st Earl of Mansfield) เป็นเนติกร นักการเมือง และผู้พิพากษาชาวอังกฤษ เป็นบุคคลที่มีส่วนสำคัญในการปฏิรูปกฎหมายจารีตของอังกฤษ เขาเกิดในตระกูลขุนนางสกอตแลนด์ เข้ารับการศึกษาในเมืองเพิร์ทของสกอตแลนด์ก่อนที่จะย้ายไปกรุงลอนดอนเมื่อมีอายุได้ 13 ขวบ และเข้าศึกษาที่โรงเรียนเวสต์มินสเตอร์ และต่อมาเข้าศึกษาที่โบสถ์คริสต์แห่งมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เขาเริ่มทำงานการเมืองในปี 1742 จากการได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกในรัฐสภาและได้รับแต่งตั้งเป็นรองอธิบดีกรมอัยการ และกลายเป็นกระบอกเสียงหลักของฝ่ายรัฐบาลในสภาสามัญชนและได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นบุคคลที่มีโวหารคมคาย เขาได้รับแต่งตั้งจากเซอร์ไรเดอร์ให้เป็นอัยการสูงสุดในปี 1754 และได้ขึ้นเป็นลอร์ดหัวหน้าศาลในอีกไม่กี่เดือนต่อมาหลังการถึงแก่อนิจกรรมของเซอร์ไรเดอร์ และดำรงตำแหน่งนี้ยาวนานถึง 31 ปี เขาได้รับบรรดาศักดิ์ "เอิร์ลแห่งแมนส์ฟิลด์" ในปี 1776.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและวิลเลียม เมอร์รีย์ เอิร์ลแห่งแมนส์ฟิลด์

วิลเลียมดาบยาว

วิลเลี่ยมผู้ดาบยาว (William Longsword, Guillaume Longue-Épée, Willermus Longa Spata, ภาษานอร์สโบราณ: Vilhjálmr Langaspjót; ค.ศ. 893 – 17 ธันวาคม ค.ศ. 942) เป็นผู้ปกครองคนที่สองของนอร์ม็องดี ตั้งแต..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและวิลเลียมดาบยาว

วณี เลาหเกียรติ

วณี สมประสงค์ (สกุลเดิม: เลาหเกียรติ; 3 เมษายน พ.ศ. 2464) หรือชื่อเดิมว่า เอเวอลีน เลาหเกียรติ เป็นนางสาวสยาม..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและวณี เลาหเกียรติ

ศาสนสถาน

นสถาน (Place of worship) คือสถานทางศาสนา ใช้ประกอบศาสนพิธี เช่น การอาราธนาศีลและสมาทานศีลในวัด และการละหมาดในมัสยิดอิสลาม เป็นต้น.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและศาสนสถาน

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและศาสนาคริสต์

ศีลศักดิ์สิทธิ์

''7 ศีลศักดิ์สิทธิ์'' (''The Seven Sacraments'') โดย โรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน, ราว ค.ศ. 1448 ศีลศักดิ์สิทธิ์ เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ (Sacraments) ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นเครื่องหมายภายนอกที่แสดงว่าผู้รับศีลศักดิ์สิทธิ์นั้นเป็นคริสต์ศาสนิกชน.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและศีลศักดิ์สิทธิ์

สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม (การออกเสียงภาษาอื่น: His Majesty King Philippe of the Belgians; Sa Majesté le Roi Philippe des Belges; Zijne Majesteit de Koning Filip der Belgen; Seine Majestät der König Philipp der Belgier, เสด็จพระราชสมภพ 15 เมษายน ค.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี

มเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี (Queen Elizabeth, The Queen Mother), เอลิซาเบธ แองเจลา มาร์เกอริต โบวส์-ลีออน (Elizabeth Angela Marguerite Bowes-Lyon; 4 สิงหาคม พ.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี

สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ

มเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ (20 ตุลาคม พ.ศ. 2477) มีพระนามเดิมว่า มิชิโกะ โชดะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ เข้าสู่พระราชวงศ์จากการเสกสมรสกับเจ้าชายอะกิฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น มิชิโกะจึงดำรงพระอิสริยยศเป็น มกุฎราชกุมารี ครั้นสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะสวรรคต มกุฎราชกุมารอะกิฮิโตะจึงสืบราชสมบัติเป็นจักรพรรดิ และมกุฎราชกุมารีมิชิโกะจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินี ตามลำดั.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ

สหคริสตจักรแบ๊บติสต์ในประเทศไทย

หคริสตจักรแบ๊บติสต์ในประเทศไทย (ส.ค.บ.; Thailand Baptist Convention; TBC) เป็นองค์การทางศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อประสานงานด้านศาสนาและดูแลสมาชิกของมูลนิธิคริสตจักรคณะแบ๊บติสต์, หน้า 166-167 โดยมี ศาสนาจารย์ บุญครอง ปิฏกานนท์ เป็นประธานคนแรก.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและสหคริสตจักรแบ๊บติสต์ในประเทศไทย

หลักข้อเชื่อไนซีน

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 และเหล่ามุขนายกสมาชิกสภาสังคายนาถือคำประกาศหลักข้อเชื่อไนซีน หลักข้อเชื่อไนซีนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 177 (Nicene Creed; Symbolum Nicaenum) คือการประกาศศรัทธาและหลักข้อเชื่อที่ถูกใช้มากที่สุดในพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์ และเป็นบรรทัดฐานความเชื่อในคริสต์ศาสนากระแสหลักในปัจจุบัน แม้หลักข้อเชื่อฉบับนี้จะถูกเรียบเรียงขึ้นโดยสภาสังคายนาคอนสแตนติโนเปิลครั้งที่หนึ่งเมื่อปี..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและหลักข้อเชื่อไนซีน

หอล้างบาป

หอล้างบาปกลมเมืองปีซาตั้งอยู่ข้างตัวมหาวิหาร หอล้างบาปประจำมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน หอล้างบาปที่ฟลอเรนซ์ หอล้างบาป หรือ หอบัพติศมา (Baptistery หรือ BaptistryCatholic Encyclopedia.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและหอล้างบาป

อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน

อมพล อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน (Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington) เป็นทหารและรัฐบุรุษ และเป็นหนึ่งในผู้กำหนดนโยบายทางการทหารและการเมืองของอังกฤษในศตวรรษที่ 19 เขาสามารถมีชัยเหนือนโปเลียนแห่งฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วอเตอร์ลูในปี 1815 ซึ่งทำให้เขากลายเป็นวีรบุรุษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกองทัพอังกฤษ และมีสมญานามว่า ดยุกเหล็ก ทั้งนี้ ในปี 2002 ชื่อของเขาอยู่ในอันดับ 15 ของชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ เกิดที่ดับลินในไอร์แลนด์ เริ่มจากการเป็นนายธงในกองทัพอังกฤษในปี 1787 โดยประจำการในไอร์แลนด์ในฐานะทหารคนสนิทของข้าหลวงใหญ่แห่งไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาสามัญชน (สภาล่าง) ของไอร์แลนด์ และดำรงยศเป็นพันเอกในปี 1796 โดยเข้าร่วมราชการสงครามในเนเธอร์แลนด์ในช่วงสงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หนึ่ง และในอินเดียในช่วงสงครามอังกฤษ-ไมซอร์ครั้งที่สี่ และจึงได้รับแต่งตั้งเป็นข้าหลวงประจำศรีรังคปัฏนาและไมซอร์ในปี 1799 และต่อมาจึงได้รับแต่งตั้งเป็นพลตรีภายหลังชัยชนะเหนือจักรวรรดิมราฐาในปี 1803 เวลสลีย์เป็นผู้บัญชาการศึกคาบสมุทรในสงครามนโปเลียน และได้รับการเลื่อนขึ้นขึ้นเป็นจอมพลภายหลังสามารถนำกองทัพพันธมิตรมีชัยเหนือฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วิกตอเรียในปี 1813 ซึ่งตามมาด้วยการเนรเทศนโปเลียนในปีต่อมา เวลสลีย์เข้ารับตำแหน่งเป็นราชทูตประจำฝรั่งเศส และได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดยุก ต่อมาระหว่างสมัยร้อยวันในปี 1815 กองทัพพันธมิตรของเขาร่วมกับกองทัพปรัสเซียที่นำโดยพลโทบลือเชอร์ มีชัยเหนือนโปเลียนในยุทธการที่วอเตอร์ลู ชีวิตทหารของเขานั้นเป็นที่น่ายกย่องอย่างยิ่ง จากรายงานราชการสงคราม ตลอดชีวิตทหารของเขาได้ผ่านศึกสงครามมากว่า 60 ครั้ง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการปรับตัวและใช้กลยุทธ์ในการตั้งรับข้าศึกจนสามารถมีชัยนับครั้งไม่ถ้วนเหนือข้าศึกที่มีกำลังเหนือกว่า ในขณะที่ตัวเขาเองก็ได้รับบาดเจ็บน้อยมาก เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้บัญชาฝ่ายตั้งรับตลอดกาล กลยุทธ์และแผนการรบของเขาจำนวนมากถูกนำไปสอนในวิทยาลัยการทหารชั้นนำของโลก ภายหลังออกจากราชการทหาร เขาก็กลับคืนสู่งานการเมือง โดยได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัยโดยสังกัดพรรคทอรี ระหว่างปี 1828 ถึง 1830 และอีกครั้งเป็นช่วงเวลาไม่ถึงเดือนในปี 1834 ต่อมาเขาได้ดำรงตำแหน่งผู้นำในสภาขุนนาง จนกระทั่งเกษียณอายุแต่ยังคงเป็นผู้บัญชาการกองทัพอังกฤษจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน

อาสนวิหารบลัว

อาสนวิหารบลัว (Cathédrale de Blois) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญหลุยส์แห่งบลัว (Cathédrale Saint-Louis de Blois) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลบลัว ตั้งอยู่ในเขตเมืองบลัว จังหวัดลัวเรแชร์ ในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญหลุยส์ อาสนวิหารแรนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและอาสนวิหารบลัว

อาสนวิหารลียง

อาสนวิหารนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญสเทเฟนแห่งลียง (La Primatiale Saint-Jean-Baptiste-et-Saint-Étienne) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์น (Cathédrale Saint-Jean) และ อาสนวิหารลียง (Cathédrale de Lyon) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกที่อยู่ในระดับสูงกว่าอาสนวิหารทั่วไปหรือที่เรียกว่า primatial cathedral เป็นที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลลียง โดยตามตำแหน่งแล้ว อัครมุขนายกแห่งลียงยังรั้งตำแหน่งผู้นำแห่งชาวกอลทั้งปวง (Primat des Gaules) อีกด้วย อาสนวิหารตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่าของเมืองลียง จังหวัดโรน แคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้แก่สองอัครทูตสำคัญ คือนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาและนักบุญสเทเฟน โดยแต่แรกอาสนวิหารนี้ตั้งใจสร้างเพื่ออุทิศให้แก่นักบุญสเทเฟน และให้เกียรติแก่ผู้ให้ศีลล้างบาปแก่พระองค์ด้วย นั่นคือนักบุญยอห์น จึงเป็นที่มาของชื่อทั้งสองของอาสนวิหารแห่งนี้ อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและอาสนวิหารลียง

อาณาจักรของพระเป็นเจ้า

อาณาจักรของพระเป็นเจ้าพจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล, หน้า 303 (ศัพท์ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ พระอาณาจักรของพระเจ้า (ศัพท์คาทอลิก) หรือ แผ่นดินของพระเจ้า (โปรเตสแตนต์) หมายถึง พระอำนาจของพระเป็นเจ้าในการปกครองทุกสิ่งโดยตลอดชั่วนิรันดร์ ในศาสนาคริสต์ถือว่าเรื่องอาณาจักรของพระเป็นเจ้าเป็นหัวใจของการประกาศข่าวดี พระวรสารนักบุญยอห์นระบุว่า พระเยซูสอนว่าเฉพาะผู้เกิดใหม่ด้วยน้ำและพระวิญญาณบริสุทธิ์เท่านั้นจึงจะเข้าในอาณาจักรนี้ได้ พระวรสารนักบุญมัทธิวเรียกอาณาจักรของพระเป็นเจ้าว่า "อาณาจักรสวรรค์" (ศัพท์คาทอลิก) หรือ "แผ่นดินสวรรค์" (โปรเตสแตนต์).

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและอาณาจักรของพระเป็นเจ้า

อิซาเบลลาแห่งอังกฤษ

อิซาเบลลาแห่งอังกฤษ (Isabella of England; ค.ศ. 1214 – 1 ธันวาคม ค.ศ. 1241) เป็นจักรพรรดินีโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, พระราชินีของชาวเยอรมัน และพระราชินีคู่สมรสแห่งซิซิลี พระองค์เป็นลูกคนที่สี่และพระธิดาคนที่สองของพระเจ้าจอห์นแห่งอังกฤษ กับอิซาเบลลาแห่งอ็องกูแลม.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและอิซาเบลลาแห่งอังกฤษ

อ่างล้างบาป

อ่างล้างบาปที่มหาวิหารวอมส์ ประเทศเยอรมนี อ่างล้างบาปสมัยกลาง จากเมือง Norrköping ประเทศสวีเดน อ่างล้างบาป (Baptismal font) คือภาชนะที่ใช้ทำพิธีบัพติศมาสำหรับเด็กและผู้ใหญ่ “พิธีบัพติศมา” ก็มีหลายแบบ -- พรมน้ำ รดน้ำ หรือจุ่มลงไปในน้ำทั้งตัว อย่างคำในภาษากรีกว่า βαπτιζω คำนี้แปลว่าดำลงไป แต่อ่างล้างบาปโดยทั่วไปจะเล็กเกินกว่าที่จะใช้วิธีนี้ได้นอกจากกับเด็กทารก.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและอ่างล้างบาป

ฮุลดริช ซวิงลี

ลดริช ซวิงลี ฮุลดริช ซวิงลี (Huldrych Zwingli; 1 มกราคม ค.ศ. 1484 – 11 ตุลาคม ค.ศ. 1531) หรือ อุลริช ซวิงลี (Ulrich Zwingli) เป็นศิษยาภิบาลและนักเทววิทยาศาสนาคริสต์ชาวสวิส และเป็นผู้นำในการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ในสวิตเซอร์แลน.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและฮุลดริช ซวิงลี

จอห์น วิลเลียม วอเทอร์เฮาส์

อห์น วิลเลียม วอเทอร์เฮาส์ (John William Waterhouse; 6 เมษายน ค.ศ. 1849 – 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917) เป็นจิตรกรกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอลชาวอังกฤษ เกิดที่กรุงโรม เป็นบุตรของจิตรกร วิลเลียมและอิซาเบลลา วอเทอร์เฮาส์ วันเกิดที่แท้จริงของวอเทอร์เฮาส์ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่เขาเข้าพิธีศีลล้างบาปเมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและจอห์น วิลเลียม วอเทอร์เฮาส์

จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย (Catherine II of Russia) ซึ่งทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า "แคทเธอรีนมหาราชินี" (หรือ Екатерина II Великая; Katharina die Große; 2 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย

ธงศาสนาคริสต์

งศาสนาคริสต์ หรือธงคริสเตียน ธงศาสนาคริสต์ หรือ ธงคริสเตียน (Christian Flag) เป็นสัญลักษณ์ของศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ถูกออกแบบในช่วงคริสศตวรรษที่ 20 และได้รับความนิยมมากที่สุดในกลุ่มของโบสถ์นิกายโปรเตสแตนต์ ในทวีปอเมริกา แอฟริกา และละตินอเมริกา โดยสีพื้นของธงเป็นสีขาว ประกอบด้วยสัญลักษณ์กางเขนละตินสีแดง บนกรอบสีน้ำเงินสี่เหลี่ยม.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและธงศาสนาคริสต์

ดีกัน

ันธบริกรคาทอลิกในชุดดัลมาติก (Dalmatic) ซึ่งเป็นเครื่องแบบในศาสนพิธี ดีกันราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 201 (deacon) เป็นตำแหน่งหนึ่งในการบริหารคริสตจักร พบได้ในทุกนิกาย แต่มีการกำหนดหน้าที่และคุณสมบัติไว้แตกต่างกัน นิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทยใช้คำว่าสังฆานุกร.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและดีกัน

ครอก็องบุช

รอก็องบุช (croquembouche, croque-en-bouche) เป็นของหวานฝรั่งเศสชนิดหนึ่ง ได้จากการนำพรอฟีทรอลแต่ละลูกมาจัดเรียงซ้อนกันเป็นทรงกรวย จากนั้นพันรอบ ๆ ด้วยน้ำตาลเคี่ยวที่ทำเป็นเส้นบาง ๆ อาจตกแต่งด้วยของหวานอื่น เช่น ช็อกโกแลต อาลมอนด์เคลือบน้ำตาล ดอกไม้ที่กินได้ เป็นต้น บางครั้งก็ใช้มาการงแทนพรอฟีทรอล หรือราดด้วยกานัช (ซอสช็อกโกแลต) ในฝรั่งเศสและอิตาลีมักเสิร์ฟของหวานชนิดนี้ในพิธีแต่งงาน พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน และพิธีรับศีลมหาสนิทครั้งแรก.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและครอก็องบุช

คิม แท-ก็อน

นักบุญอันดรูว์ คิม แท-ก็อน (김대건 안드레아 Gim Dae-geon Andeurea) เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวเกาหลีองค์แรก ได้พลีชีพเป็นมรณสักขี และได้รับการประกาศเป็นนักบุญในปี..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและคิม แท-ก็อน

คณะนักบวชคาทอลิก

ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก คณะนักบวช หรือ สถาบันนักบวช (religious institute) เป็นสถาบันชีวิตที่ถวายแล้วประเภทหนึ่ง สมาชิกประกอบด้วยชาวคาทอลิกที่สละชีวิตทางโลกมาถือคำปฏิญาณของนักบวชตลอดชีวิต เพื่ออุทิศตนทำงานรับใช้พระศาสนจักรเพียงอย่างเดียว และอยู่รวมกันเป็นคณะ (order/society/congregation) โดยแต่ละคณะมีแนวทางการทำงานและเน้นวัตรปฏิบัติแตกต่างกันไป นอกจากเรียกว่า "คณะนักบวช" แล้ว ราชบัณฑิตยสถานยังใช้คำว่า คณะนักพรต และ คณะนักบวชถือพรต โดยถือว่ามีความหมายเดียวกันราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 163, 421-2 ส่วนประมวลกฎหมายพระศาสนจักร ค.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและคณะนักบวชคาทอลิก

ประทีป ม. โกมลมาศ

ราดา ประทีป มาร์ติน โกมลมาศ เป็นนักบวชคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้มีคุณธรรม อุทิศตนทำงานด้านการบริหารการศึกษา จนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาต.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและประทีป ม. โกมลมาศ

ปีพิธีกรรม

วันสำคัญในศาสนาคริสต์ (Liturgical year) ส่วนใหญ่กำหนดตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน มีบ้างที่กำหนดโดยอิงปฏิทินจันทรคติ สำหรับวันสำคัญที่มีมาแต่ศาสนายูดาห.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและปีพิธีกรรม

นักบุญฟีโลเมนา

รูปปั้นของนักบุญฟิโลเมนา นักบุญฟีโลเมนา หรือ นักบุญฟิโลมินา (Philomena) เป็นเด็กหญิงพรหมจารีย์ซึ่งเป็นนักบุญในนิกายโรมันคาทอลิก ที่เชื่อในพระเยซูคริสต์อย่างสุดชีวิต ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นบุคคลที่มีการมรณสักขีที่น่าจะมีอายุน้อยที่สุด เพราะเธอมีอายุเพียง13ปีเท่านั้น.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและนักบุญฟีโลเมนา

นักบุญคริสโตเฟอร์

นักบุญคริสโตเฟอร์ (Saint Christopher; Άγιος Χριστόφορος) เป็นชาวคานาอัน ต่อมาได้นับถือศาสนาคริสต์และพลีชีพเป็นมรณสักขีในรัชสมัยจักรพรรดิเดซิอุสแห่งจักรวรรดิโรมันราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 และเป็นหนึ่งในนักบุญผู้ช่วยศักดิ์สิทธิ์สิบสี่องค์ คริสตจักรโรมันคาทอลิกถือว่านักบุญคริสโตเฟอร์เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ผู้เดินทางและนักกีฬา แต่เมื่อปี..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและนักบุญคริสโตเฟอร์

นิกายในศาสนาคริสต์

นิกายในศาสนาคริสต์ (Christian denominations) คือการแบ่งสาขาของศาสนาคริสต์ตามแนวปรัชญาและหลักการปฏิบัติ ในแต่ละนิกาย (denomination) ก็แบ่งย่อยเป็นคริสตจักร (church) รายการข้างล่างนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและนิกายในศาสนาคริสต์

นโปเลียนที่ 2

นโปเลียน ฟร็องซัว ชาร์ล โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต (Napoléon François Charles Joseph Bonaparte; 20 มีนาคม พ.ศ. 235422 กรกฎาคม พ.ศ. 2365) ดำรงพระอิสริยยศเป็นพระราชกุมาร (Prince Imperial) กษัตริย์แห่งโรม และเจ้าชายแห่งปาร์มา ปลาเซนตีอา และกัสตัลลา นอกจากนี้ยังทรงเป็นที่รู้จักในราชสำนักออสเตรียตั้งแต่ปี..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและนโปเลียนที่ 2

แม่พระปฏิสนธินิรมล

''La Purisima Inmaculada Concepcion'' วาดโดยบาร์โตโลเม เอสเตบัน มูรีโย ปี 1678 ปัจจุบันอยู่ที่ มูเซโอเดลปราโด ประเทศสเปน พระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล หรือ แม่พระปฏิสนธินิรมล.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและแม่พระปฏิสนธินิรมล

แท่นบูชา

แท่นบูชา แท่นบูชา (altar) เป็นโต๊ะศักดิ์สิทธิ์ ที่ใช้วางสิ่งของที่ใช้ในพิธีมิสซาในคริสต์ศาสนสถาน ต้องจัดวางไว้ให้เด่นที่สุดในโบสถ์ และไม่ใช่เป็นโต๊ะวางสิ่งของจิปาถะ แท่นบูชาใช้วางผ้ารองศีล ผ้าเช็ดกาลิกส์ หนังสือมิสซา ถ้วยกาลิกส์ และแผ่นปัง แท่นบูชามีประโยชน์ใช้สอยทางสถาปัตยกรรมในฐานะเป็นองค์ประกอบสำคัญในการประกอบพิธีกรรม และไม่ใช่เป็นเพียงเครื่องประดับตกแต่งอาคาร บนแท่นบูชานี้ จะต้องจัดให้สามารถนำภาชนะศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ สำหรับภาคถวายมาวางไว้ได้อย่างสะดวกในเวลาประกอบพิธี เช่น จานรองศีล พร้อมแผ่นปัง กาลิกส์ที่มีเหล้าองุ่น นอกจากนี้ยังมีหนังสือพิธีมิสซา ไมโครโฟน และสิ่งอื่นเท่าที่จำเป็น แท่นบูชาไม่ใช่โต๊ะวางของ จึงควรมีเฉพาะสิ่งที่จำเป็นสำหรับภาคถวายเท่านั้น แท่นบูชาของคริสตชนในสมัยแรกเป็นโต๊ะไม้เคลื่อนที่ได้ ต่อมาเป็นแบบตั้งอยู่กับที่ และในจารีตละตินให้เป็นแบบทำศิลาหรือหินเพื่อให้สอดคล้องกับธรรมเนียมของพระศาสนจักรที่รับสืบทอดกันมา และให้สอดคล้องกับ สัญลักษณ์จากพระคัมภีร์เกี่ยวกับแท่นบูชาจะต้องทำด้วยหิน และหินธรรมชาติด้วย ซึ่งแท่นหรือหินเป็นรูปแบบที่ชาวอิสราเอลใช้เป็นที่ถวายเครื่องบูชาแด่พระเจ้า แท่นบูชามี 2 แบบ คือ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและแท่นบูชา

ในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์

การกล่าวถึงพระตรีเอกภาพ (Trinitarian formula) ว่า "ในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์" (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ "เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต" (ศัพท์โรมันคาทอลิก) (In the name of the Father, and of the Son, and of the Holy Spirit; in nomine Patris, et Filii, et Spiritus Sancti; εἰς τὸ ὄνομα τοῦ Πατρὸς καὶ τοῦ Υἱοῦ καὶ τοῦ Ἁγίου Πνεύματος) มีที่มาจากพระวรสารนักบุญมัทธิว ความว่า "เพราะ‍ฉะนั้น ท่าน‍ทั้ง‍หลาย​จง​ออก​ไป​และ​นำ​ชน​ทุก​ชาติ​มา​เป็น​สาวก​ของ​เรา จง​บัพ‌ติศ‌มา​พวก‍เขา​ใน​พระ‍นาม​ของ​พระ‍บิดา พระ‍บุตร และ​พระ‍วิญ‌ญาณ‍บริ‌สุทธิ์" (มัทธิว 28:19) คริสต์ศาสนิกชนกล่าวคำนี้ในโอกาส เช่น การอธิษฐาน ในการประกอบพิธีศักดิ์สิทธิ์ เช่น พิธีบัพติศมา และการทำเครื่องหมายกางเขน หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ได้มีความพยายามที่จะเปลี่ยนบทนี้เนื่องจากคิดว่าเป็นการยกย่องเพศชายแต่ฝ่ายเดียว ทั้งที่จริง ๆ แล้วพระเจ้าทรงไม่มีเพศ บางกลุ่มเลือกที่จะใช้ "ในนามพระผู้สร้าง พระผู้ไถ่ และพระผู้ทำให้บริสุทธิ์" ทั้งนี้คริสตจักรโรมันคาทอลิกและคริสตจักรตะวันออกบางแห่งถือว่าเป็นการไม่ถูกต้อง.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์

โบสถ์คริสต์

อารามเอททัล โบสถ์แบบฟื้นฟูคลาสสิกเซนต์นิโคโลที่เมืองมองทู โรโร ประเทศอิตาลี มหาวิหารแฮรฟอร์ด, อังกฤษ ด้านหน้ามหาวิหารปิซา, อิตาลี โบสถ์น้อยที่ Malsch ประเทศเยอรมนี แท่นบูชาภายในคูหาสวดมนต์ มหาวิหารอาเคิน ประเทศเยอรมนี ภายในโบสถ์น้อยแม่พระในมหาวิหารกลอสเตอร์, อังกฤษ อนุสาวรีย์พระตรีเอกภาพที่ประเทศสโลเวเนีย หอล้างบาปที่ปิซา อิตาลี สักการสถานริมทางในประเทศโปแลนด์ โบสถ์คริสต์ หมายถึง ศาสนสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมในศาสนาคริสต.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและโบสถ์คริสต์

โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท

วล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) 27 มกราคม พ.ศ. 2299 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1756 - 1791) เป็นนักประพันธ์ดนตรีคลาสสิกชาวออสเตรียที่มีชื่อเสียงก้องโลก โมซาร์ทเกิดที่เมืองซาลซ์บูร์ก เขามีงานประพันธ์เพลง 700 ชิ้นรวมทั้งอุปรากร (ดนตรีซึ่งมีเนื้อเรื่อง) ชื่อ ดอน โจวันนี (Don Giovanni) และ ขลุ่ยวิเศษ (Die Zauberflöte) ปัจจุบันผลงานต่าง ๆ ของเขาได้ถูกนำมาจัดจำหน่ายเป็นสื่อต่าง ๆ มากม.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและโปรเตสแตนต์

เลโอนอร์ เจ้าหญิงแห่งอัสตูเรียส

ลโอนอร์ เจ้าหญิงแห่งอัสตูเรียส (Leonor, Princesa de Asturias; ประสูติ: 31 ตุลาคม พ.ศ. 2548) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 แห่งสเปน และสมเด็จพระราชินีเลตีเซียแห่งสเปน ทรงอยู่ในอันดับแรกของลำดับการสืบราชบัลลังก์สเปน แรกประสูติมีพระอิสริยยศเป็นอินฟันตาแห่งสเปน (Infanta of Spain) ภายหลังพระราชบิดาขึ้นครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 ได้สถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็น เจ้าหญิงแห่งอัสตูเรียส (Princess of Asturias).

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและเลโอนอร์ เจ้าหญิงแห่งอัสตูเรียส

เหงียน ฟุก กั๋ญ

หงียน ฟุก กั๋ญ (Nguyễn Phúc Cảnh, จื๋อโนม: 阮福景; 24 มีนาคม ค.ศ. 1780 – 6 เมษายน ค.ศ. 1801) หรือพระนามลำลองว่า เจ้าชายกั๋ญ (Hoàng tử Cảnh, 皇子景) ต่อมาได้เป็นพระยุพราชเจ้าแห่งเวียดนาม มีพระนามาภิไธยว่า มกุฎราชกุมารอัญเส่ว (Anh Duệ thái tử, 英睿太子) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิซา ล็อง หรือองเชียงสือ (Gia Long, 嘉隆) พระองค์ทรงเป็นเจ้านายที่มีชื่อเสียง เนื่องจากขณะมีพระชันษาได้ 7 ปี ได้เสด็จเยือนประเทศฝรั่งเศสกับปีแยร์ ปีโญ เดอ เบแอน (Pierre Pigneau de Béhaine) หรือบ๊า ดา หลก (Bá Đa Lộc, 百多祿) บาทหลวงชาวฝรั่งเศส เพื่อลงพระนามาภิไธยในสนธิสัญญาการเป็นพันธมิตรระหว่างฝรั่งเศสกับเวียดนาม แม้พระองค์จะมีพระอิสริยยศเป็นมกุฎราชกุมารสืบราชสมบัติตามกฎมนเทียรบาล แต่พระองค์ก็ทิวงคตเสียในปี..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและเหงียน ฟุก กั๋ญ

เอดิท ชไตน์

อดิท ชไตน์ (Edith Stein) หรือนักบุญเทเรซา เบเนดิกตา แห่งไม้กางเขน (Saint Teresa Benedicta of the Cross) เป็นนักพรตหญิงนิกายโรมันคาทอลิกชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ท่านได้ถูกขังที่ค่ายกักกันเอาชวิทซ์ และถึงแก่มรณกรรมจากการถูกรมด้วยก๊าซพิษ คริสตจักรโรมันคาทอลิกยกย่องท่านเป็นพรหมจารีและมรณสักขี และได้รับการประกาศเป็นนักบุญโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ในปี..

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและเอดิท ชไตน์

เจ้าชายกาเบรียล ดยุกแห่งดาลาร์นา

้าชายกาเบรียล ดยุกแห่งดาลาร์นา (Prins Gabriel, Hertig av Dalarna; 31 สิงหาคม พ.ศ. 2560) เป็นพระโอรสพระองค์ที่สองในเจ้าชายคาร์ล ฟิลิป ดยุกแห่งแวร์มลันด์ กับเจ้าหญิงโซเฟีย ดัชเชสแห่งแวร์มลันด์ และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ กับสมเด็จพระราชินีซิลเวีย พระองค์อยู่ในลำดับที่หกแห่งการสืบราชบัลลังก์สวีเดน.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและเจ้าชายกาเบรียล ดยุกแห่งดาลาร์นา

เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์

้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ หรือ วิลเลียม อาร์เธอร์ ฟิลิป หลุยส์ (His Royal Highness Prince William Duke of Cambridge; William Arthur Philip Louis; ประสูติ: 21 มิถุนายน พ.ศ.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์

เจ้าหญิงอาเดรียน ดัชเชสแห่งเบลคิงแง

้าหญิงอาเดรียน ดัชเชสแห่งเบลคิงแง (9 มีนาคม พ.ศ. 2561) เป็นพระบุตรพระองค์ที่สามในเจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์ กับคริสโตเฟอร์ โอนีล และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ และสมเด็จพระราชินีซิลเวียแห่งสวีเดน ทรงอยู่ในลำดับที่สิบของการสืบราชสันตติวงศ์สวีเดน.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและเจ้าหญิงอาเดรียน ดัชเชสแห่งเบลคิงแง

เจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายโทโมฮิโตะ

้าหญิงโนะบุโกะ พระชายาในเจ้าชายโทะโมะฮิโตะ มีพระนามเดิมว่า โนะบุโกะ อะโซ เป็นพระชายาหม้ายของเจ้าชายโทะโมะฮิโตะแห่งมิกะซะ เป็นหลานสาวของชิเงะรุ โยะชิดะและเป็นน้องสาวของทะโร อะโซอดีตนายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและเจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายโทโมฮิโตะ

เฉิน (นักร้อง)

ม จง-แด (เกิดวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1992) รู้จักกันในชื่อที่ใช้ในวงการคือ เฉิน เป็นนักร้องนักแต่งเพลงชาวเกาหลีใต้ หนึ่งในสมาชิกและนักร้องเสียงหลักของวงบอยแบนด์สัญชาติเกาหลีใต้-จีน วง EXO มียูนิตย่อย EXO-CBX ร่วมกับสมาชิกวงหลัก อีกทั้งยังได้เข้าร่วมในโปรเจกต์กลุ่มนักร้องบัลลาด S.M.

ดู พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชนและเฉิน (นักร้อง)

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ศีลล้างบาปบัพติศมาพิธีบัพติศมา

ครอก็องบุชคิม แท-ก็อนคณะนักบวชคาทอลิกประทีป ม. โกมลมาศปีพิธีกรรมนักบุญฟีโลเมนานักบุญคริสโตเฟอร์นิกายในศาสนาคริสต์นโปเลียนที่ 2แม่พระปฏิสนธินิรมลแท่นบูชาในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์โบสถ์คริสต์โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทโปรเตสแตนต์เลโอนอร์ เจ้าหญิงแห่งอัสตูเรียสเหงียน ฟุก กั๋ญเอดิท ชไตน์เจ้าชายกาเบรียล ดยุกแห่งดาลาร์นาเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์เจ้าหญิงอาเดรียน ดัชเชสแห่งเบลคิงแงเจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายโทโมฮิโตะเฉิน (นักร้อง)