โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พิชัย รัตตกุล

ดัชนี พิชัย รัตตกุล

ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..

54 ความสัมพันธ์: ชวลิต อภัยวงศ์ชวน หลีกภัยชาติชาย ชุณหะวัณพรรคประชาธิปัตย์พิชัย (แก้ความกำกวม)พิจิตต รัตตกุลพนักงานมหาวิทยาลัยไทยกลุ่ม 10 มกราการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทยรายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยรายนามประธานรัฐสภาไทยรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยวันมูหะมัดนอร์ มะทาวีรพงษ์ รามางกูรวีระกานต์ มุสิกพงศ์สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอาณัฐชัย รัตตกุลอุทัย พิมพ์ใจชนอุปดิศร์ ปาจรียางกูรถนัด คอมันตร์ดำรง ลัทธพิพัฒน์คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 45คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53ประวัติพรรคประชาธิปัตย์โรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการโรตารีสากลไพโรจน์ รัตตกุลเกษม จาติกวณิช...เล็ก นานาเอเชียนเกมส์ 1998เจะอามิง โตะตาหยงเทพ โชตินุชิต ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »

ชวลิต อภัยวงศ์

วลิต อภัยวงศ์ เป็นอดีตรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระตะบอง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและชวลิต อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและชาติชาย ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย (แก้ความกำกวม)

ัย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและพิชัย (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

พิจิตต รัตตกุล

ตต รัตตกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 90/2557 อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิร.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและพิจิตต รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พนักงานมหาวิทยาลัยไทย

นักงานมหาวิทยาลัย หรือ พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา คือ บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญจ้างให้ปฏิบัติหน้าที่ราชการในสถาบันอุดมศึกษา โดยได้รับค่าจ้างหรือค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน หรือเงินรายได้ของสถาบันอุดมศึกษ.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและพนักงานมหาวิทยาลัยไทย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่ม 10 มกรา

กลุ่ม 10 มกรา กลุ่มการเมืองที่ก่อตัวขึ้นภายใน พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งมีส่วนสำคัญทำให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นต้องประกาศยุบสภา กลุ่ม 10 มกรา ก่อตั้งโดยนายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตเลขาธิการพรรคช่วงปี..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและกลุ่ม 10 มกรา · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทย

รายชื่อพรรคการเมืองไทย ปัจจุบันมีพรรคการเมืองในประเทศไทยทั้งหมด 69 พรรคที่จดทะเบียนและยังมีสถานะเป็นพรรคการเมืองอยู่ ณ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 นอกเหนือจากนั้นเป็นพรรคที่ยกเลิกการดำเนินงาน หรือยุบเพื่อรวมกับพรรคอื่น หรือถูกสั่งให้ยุบโดยคำวินิจฉัยของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและรายชื่อพรรคการเมืองในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานรัฐสภาไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและรายนามประธานรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ทความนี้รวบรวมรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยลำดับประธานสภาในบทความนี้ระบุเฉพาะประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ไม่นับประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่มาจากการแต่งตั้ง หลังการเกิดรัฐประหาร.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

วันมูหะมัดนอร์ มะทา

วันมูหะมัดนอร์ มะทา นักการเมืองมุสลิม แกนนำกลุ่มวาดะห์ อดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นชาวไทยมุสลิม อดีตรองนายกรัฐมนตรี มีชื่อเรียกกันโดยทั่วไปว่า "วันนอร์" เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น อดีต..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและวันมูหะมัดนอร์ มะทา · ดูเพิ่มเติม »

วีรพงษ์ รามางกูร

วีรพงษ์ รามางกูร หรือ ดร.โกร่ง รองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตที่ปรึกษาเศรษฐกิจในหลายรัฐบาล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและวีรพงษ์ รามางกูร · ดูเพิ่มเติม »

วีระกานต์ มุสิกพงศ์

วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 219 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512 โดยมาจากการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลถนอม กิตติขจร เข้ายึดอำนาจตัวเอง เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 (26 มกราคม พ.ศ. 2518 - 12 มกราคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 269 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 โดยมีสาเหตุมาจากพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลขาดเอกภาพ ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรค ในการบริหารราชการแผ่นดิน.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 (4 เมษายน - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 279 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรง แบบผสม ระหว่างเขตกับแบ่งดขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน นำโดย พลเรือเอกสงัด ชลออยู่ เข้ายึดอำนาจการปกครองในประเทศ ในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 (24 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 324 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 347 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ในแต่ละเขตเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน ถือเกณฑ์ราษฏร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 357 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยึดอำนาจจากการปกครองแผ่นดินของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 393 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516

นิติบัญญัติแห่งชาต..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร มี 33 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อาณัฐชัย รัตตกุล

อาณัฐชัย รัตตกุล ผู้อำนวยการศูนย์นโยบายสาธารณะและการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต และอดีตนักการเมืองชาวไท.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและอาณัฐชัย รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

อุทัย พิมพ์ใจชน

นายอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 8 สมั.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและอุทัย พิมพ์ใจชน · ดูเพิ่มเติม »

อุปดิศร์ ปาจรียางกูร

อุปดิศร์ ปาจรียางกูร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ต่อจากพิชัย รัตตกุล ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ถึง 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 ผู้ดำรงตำแหน่งคนต่อไปคือพลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา ในสมัยของนายธานินทร์ กรัยวิเชียร และเป็นเอกอัครราชทูตแห่งราชอาณาจักรไทยประจำสมาพันธรัฐสวิส ต่อจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 ถึง พ.ศ. 2516 ผู้ดำรงตำแหน่งคนต่อไปคือพลตรี หม่อมราชวงศ์สังขดิศ ดิศกุล อุปดิศร์ ปาจรียางกูร หรือ ดร.อุปดิศร์ ปาจรียางกูร เคยร่วมก่อตั้งพรรคการเมืองกับพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ในปี..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและอุปดิศร์ ปาจรียางกูร · ดูเพิ่มเติม »

ถนัด คอมันตร์

.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ขณะกำลังให้สัมภาษณ์วิทยุบีบีซีภาคภาษาไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2559) อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จนถึงรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและถนัด คอมันตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดำรง ลัทธพิพัฒน์

ำรง ลัทธพิพัฒน์ (29 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและดำรง ลัทธพิพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 สีเขียวคือจำนวนสมาชิกฝ่ายรัฐบาล สีแดงคือจำนวนสมาชิกฝ่ายค้านรัฐบาล การจัดตั้งรัฐบาล คณะรัฐมนตรี คณะที่ 35 สีเขียวคือจำนวนฝ่ายรัฐบาล และ สีแดงคือจำนวนฝ่ายค้านในสภา คณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 – 13 มีนาคม พ.ศ. 2518) คณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 รัฐบาลของ ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช จัดตั้งหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 37 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 37 ของไทย (20 เมษายน พ.ศ. 2519 - 23 กันยายน พ.ศ. 2519) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี นำคณะรัฐมนตรีคณะที่ 38 เข้าเฝ้าฯ เพื่อถวายสัตย์ปฏิญาณ ที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน คณะรัฐมนตรี คณะที่ 38 ของไทย (25 กันยายน พ.ศ. 2519 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43

ลเอกเปรม ติณสูลานนท์''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 16 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 43 คณะรัฐมนตรี คณะที่ 43 ของไทย (30 เมษายน พ.ศ. 2526 - 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการเมื่อวันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 43 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 44 ของไทย (5 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531) พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 44 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 45

ณะรัฐมนตรี คณะที่ 45 ของไทย (4 สิงหาคม พ.ศ. 2531 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533) พลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ (ยศในขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53

นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 (14 พฤศจิกายน 2540 - 9 พฤศจิกายน 2543) นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2540 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53 · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติพรรคประชาธิปัตย์

รุปประวัติการทำงานของ พรรคประชาธิปัตย์ ตั้งแต่ก่อตั้งพรรคจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและประวัติพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ

รงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ (Assumption Samutprakarn School, ACSP) (ชื่อเดิม โรงเรียนอัสสัมชัญสำโรง, Assumption College Samrong, ACSR) โรงเรียนเอกชน ในเครือมูลนิธิคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2522 ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านทิพวัล หมู่ที่ 5 ตำบลเทพารักษ์ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการเป็นสถาบันการศึกษา ลำดับที่ 13 ของมูลนิธิเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย โดยมีปณิธานร่วมกัน ดังนี้ “เราชาวอัสสัมชัญ ต้องตั้งมั่นในคุณธรรมของศาสนา ต้องเชื่อมั่นในคุณค่าและศักดิ์ศรีของคน ต้องมุ่งมั่นในความเป็นเลิศด้านวิชาการ ต้องยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม”.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและโรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

โรตารีสากล

รตารีสากล (Rotary International) เป็นองค์กรของนักธุรกิจและผู้นำด้านวิชาชีพจากทั่วโลก ผู้ซึ่งให้บริการเพื่อมนุษยชาติ สนับสนุนมาตรฐานจริยธรรมในทุกวิชาชีพ และช่วยส่งเสริมไมตรีจิตและสันติภาพในโลก โรตารี เป็นสโมสรบริการแห่งแรกของโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 1905 ขึ้นที่นครชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา ปัจจุบัน มีสมาชิกทั่วโลกกว่า 1,211,723 คน มีสโมสรกว่า 31,603 สโมสร มี 529 ภาค ครอบคลุม 166 ประเทศทั่วโลก โรแทเรียน มีการประชุมทุกสัปดาห์ เพื่อมิตรภาพและโปรแกรมที่น่าสนใจที่ให้ความรู้ในหัวข้อเกี่ยวกับท้องถิ่นและของโลก สมาชิกภาพสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นตัวแทนของกลุ่มชนทุก ๆ กลุ่มในชุมชน โรตารี ซึ่งแต่ละปีจะจัดสรรเงินประมาณ 90 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อเป็นทุนการศึกษาระหว่างประเทศ ทุนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและโครงการเพื่อมนุษยชาติทั้งน้อยใหญ่ เพื่อเป็นการปรับคุณภาพชีวิตของผู้มีโอกาสน้อยนับล้าน ๆ คนทั่วโลก ให้ดียิ่งขึ้น โรตารีเป็นที่ยอมรับกันกว้างขวางว่า เป็นองค์กรเอกชนที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ให้ทุนการศึกษาระหว่างประเทศ โรตารี คือ โปลิโอพลัสที่โรตารีสากลได้ให้คำมั่นสัญญาที่จะดำเนินงานร่วมกับนานาชาติ และองค์การอนามัยโลก โดยตั้งเป้าที่จะกำจัดโรคโปลิโอให้สิ้นไปจากโลก โดยตั้งเป้าที..2005 ซึ่งเป็นปีโรตารีมีอายุครบ 100 ปี เด็ก ๆ มากกว่าหนึ่งพันล้านในประเทศที่กำลังพัฒนาได้รับวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอผ่านทางสนับสนุนโปลิโอพลัสของโรตารีสากล.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและโรตารีสากล · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ รัตตกุล

ร้อยตรี ไพโรจน์ รัตตกุล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว อดีตนายกสมาคมมวยสากลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย และเป็นน้องชายนายพิชัย รัตตกุล (อดีตประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์) ปัจจุบันเป็นกรรมการผู้จัดการ แล.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและไพโรจน์ รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

เกษม จาติกวณิช

นายเกษม จาติกวณิช อดีตประธานกรรมการบริษัท BTSC (รถไฟฟ้า BTS) ผู้ก่อตั้งและผู้ว่าการคนแรกของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารรัฐวิสาหกิจพร้อมกันถึง 4 แห่งคือ ไทยออยล์, บางจากปิโตรเลียม, ปุ๋ยแห่งชาติ และ เอเชียทรัสต์ นอกจากนี้เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้รับสมญานามจากสื่อมวลชน ว่า "ซูเปอร์เค" หรือ "ด็อกเตอร์เค".

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและเกษม จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

เล็ก นานา

นายเล็ก นานา (18 มีนาคม พ.ศ. 2468 - 1 เมษายน พ.ศ. 2553) เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 9 อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร หลายสมั.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและเล็ก นานา · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนเกมส์ 1998

อเชียนเกมส์ 1998 เป็นการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 จัดขึ้นที่ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 6 ธันวาคม ถึง 20 ธันวาคม พ.ศ. 2541 มีประเทศเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 41 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 36 ชนิด โดยสนามแข่งขันที่ใช้เป็นหลัก คือ ศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รังสิต ศูนย์กีฬาหัวหมาก การกีฬาแห่งประเทศไทย และ ศูนย์กีฬาเมืองทองธานี มาสคอตของการแข่งขันครั้งนี้ คือ ช้าง ไชโย และมีคำขวัญว่า Friendship beyond Frontiers หรือ มิตรภาพไร้พรมแดน.

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและเอเชียนเกมส์ 1998 · ดูเพิ่มเติม »

เจะอามิง โตะตาหยง

อามิง โตะตาหยง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส พรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 เกิดวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2497 ที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรของ นายหะยีเจ๊ะดาราแม และนางหะยีวาเย๊าะ โตะตาหยง นายเจะอามิง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา จาก มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา อดีตนักข่าวและเป็นเจ้าของ ธุรกิจการค้ายางพารา โรงเลื่อยไม้ยางพารา และ รับเหมาก่อสร้าง ก่อนเข้าสู่วงการเมืองระดับประเทศ เคยทำงานการเมืองระดับท้องถิ่นมาก่อน จนกระทั่งได้รับตำแหน่งเป็น ประธานสภาจังหวัดนราธิวาส นายเจะอามิง เป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทแสดงความคิดเห็นผ่านสื่อสาธารณะ เกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างสม่ำเสมอ ทั้งการให้สัมภาษณ์ และเขียนบทความลงใน หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน โดยได้รับมอบหมายจากพรรคให้ดูแล นโยบายการแก้ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในฐานะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและเจะอามิง โตะตาหยง · ดูเพิ่มเติม »

เทพ โชตินุชิต

นายเทพ โชตินุชิต เป็นอดีตนักการเมือง นักกฎหมาย และทนายความชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีที่ไม่ประจำกระทรวง และเป็นหัวหน้าพรรคการเมือง 2 พรรค คือ พรรคเศรษฐกร (พ.ศ. 2498 - พ.ศ. 2501) และพรรคแนวร่วม-เศรษฐกร (พ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2514).

ใหม่!!: พิชัย รัตตกุลและเทพ โชตินุชิต · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

นายพิชัย รัตตกุล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »